นอกจากนจี้ ากสถานการณ์ COVID-19 ทผี่ า่ น
มาคลินิกเทคโนโลยี เครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานีร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี ได้ด�ำเนินการผลิตและจัดส่งเจล
แอลกอฮอล์ขนาดพกพา จ�ำนวน 500 ชดุ แจกจา่ ย
ใหแ้ กก่ ลมุ่ เกษตรกรทเี่ คยมารบั บรกิ ารและประชาชน
ทวั่ ไปในพน้ื ท่ี
150
151
ชมุ ชนเขม้ แขง็ เพ่ิมสร้างรายได้
ขจัดความยากจน
พงศกร ศยามล
คณะวทิ ยาการจัดการ
โครงการแก้ปัญหาความยากจนในพ้ืนท่ี
จังหวัดระนองโดยงานบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น
ลงพื้นที่จังหวัดระนอง เพื่อขับเคล่ือนโครงการ
ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของครัวเรือนยากจนตาม
โครงการพระราโชบาย นับเป็นภารกิจท่ีส�ำคัญ
ประการหน่ึงของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ซึ่งพ้ืนท่ีรับผิดชอบหลัก ได้แก่ พ้ืนท่ีต�ำบลนาคา
และต�ำบลก�ำพวน อ�ำเภอสุขส�ำราญ จังหวัดระนอง
โดยการชเ้ี ปา้ หมายของผ้วู ่าราชการจังหวดั ระนอง
โครงการน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือช่วยให้ชุมชน
และกลุ่มแม่บ้านในพ้ืนที่มีฐานะความเป็นอยู่ตลอด
จนเศรษฐกิจท่ีดีข้ึนกลุ่มแรกได้แก่ บ้านทุ่งถั่ว
ต�ำบลนาคา อ�ำเภอสุขส�ำราญ จังหวัดระนอง
ทางมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ได้ถ่ายทอด
ความรู้ ส่งเสริมความคิดในการจัดกระบวนการ
จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ผักปลอดสารพิษพร้อมออกแบบ
บรรจภุ ณั ฑใ์ หม้ คี วามทนั สมยั เพอื่ ใหผ้ กั ปลอดสารพษิ
บ้านทงุ่ ถว่ั เปน็ ท่ีรจู้ ักและชาวบ้านมีรายได้เพิม่ ข้นึ
กลมุ่ ที่ 2 กลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชนทำ� ขนมบา้ นโต
นกรอยต�ำบลก�ำพวน อ�ำเภอสุขส�ำราญ การต้ังกลุ่ม
ของชมุ ชนมกี ารผลิตสินค้าชุมชน เชน่ ขนมกลว้ ยนวั
ขนมเคก้ ขนมกลว้ ยฉาบ ขนมทองมว้ น และขนมไข่
โดยทางมหาวิทยาลัยได้อบรมให้ความรู้ด้าน GMP
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ท�ำให้สมาชิกเข้าใจถึง
กระบวนการต้ังแต่การผลิตขนมที่ถูกต้องตาม
สุขลักษณะ การวางแผนการตลาด ช่องทางการจัด
จำ� หนา่ ย รวมถงึ บรรจภุ ณั ฑท์ สี่ ามารถสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ
กลุ่มท่ี 3 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหาร
ทะเลบ้านทะเลนอก ซึ่งชุมชนบ้านทะเลนอกมี
ผลิตภัณฑ์ อาทิ ปลาเค็มฝังทราย กะปิ ปลาหวาน
ปลาเค็มแดดเดยี ว โดยมวี ิธกี ารผลิตที่เป็นเอกลกั ษณ์
ของชมุ ชน ทางมหาวทิ ยาลยั ไดน้ ำ� ตวั อยา่ งบรรจภุ ณั ฑ์
152
วิชาภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีที่ 4–6 ของกลุ่ม ท้องถิ่นส่วนหน่ึงมาจากความเหล่ือมล�้ำและบริบท
โรงเรียนเครือข่ายเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบ พื้นท่ีที่แตกต่างกัน แน่นอนว่าเน้ือหาสาระใน
พัฒนาศักยภาพการเรียนการสอนให้เหมาะสม จาก การฝึกฝนทักษะการอ่านออกเขียนได้ก็แตกต่างกัน
ข้อมูลที่ได้รับจะเห็นได้ว่าอุปสรรคของการอ่านออก ไปด้วยเชน่ กัน
เขียนได้ของนักเรียนน้ัน คือ พ้ืนฐานความรู้ความ
เขา้ ใจของผเู้ รยี นขอ้ จำ� กดั ของผสู้ อนขอ้ จำ� กดั ดา้ นสอ่ื
การเรียนการสอน
เมื่อทราบถึงปัญหาและอุปสรรคทาง
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านไี ดน้ ำ� เสนอวธิ กี ารท่ี
จะชว่ ยพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นไดข้ องผเู้ รยี น
โดย
การจดั กลมุ่ ผเู้ รียนและออกแบบการเรยี น
การสอน
การใช้ส่อื การสอนประเภทแบบฝึกหดั
การใช้ส่ือการสอนประเภทเกมส์
การใชส้ อ่ื การสอนประเภทสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
หรือนวตั กรรม
การจัดการสอนเสรมิ
ท้ังน้ีการท่ีนักเรียนจะอ่านออกเขียนได้นั้น
จะต้องเกิดความร่วมมือกันระหว่างครู นักเรียน
ผปู้ กครอง และหนว่ ยงานตน้ สงั กดั เขา้ มาดแู ล ปญั หา
การศึกษาท่ีเกิดขึ้นในกลุ่มนักเรียนโรงเรียนชุมชน
157
158
ความสำ� เร็จของ “ผู้ + ประกอบ + การ”
ประสบการณ์ที่ผ่านเรยี นรูจ้ ากกจิ กรรม
SRU Startup Thailand 4.0
เตชธรรม สงั ข์คร
คณะวิทยาการจัดการ
กจิ กรรม SRU Startup Thailand 4.0 เปน็ ภายหลงั จากการดำ� เนนิ กจิ กรรมของโครงการ
กิจกรรมหลักในโครงการ “ยกระดับมาตรฐาน ได้เสร็จส้ินลงในปีแรก นอกจากผลสัมฤทธิ์ตาม
ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน OTOP” ของคณะวิทยาการจัดการ วัตถุประสงค์ของโครงการแล้ว ผู้จัดโครงการยังได้
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี ทม่ี กี ารดำ� เนนิ งาน ข้อมลู ทีน่ ่าสนใจในหลาย ๆ มิติ อยา่ งเช่น สินค้าหรอื
ตงั้ ปีงบประมาณ 2562 เป็นตน้ มา กิจกรรมดังกล่าว
มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบ
การในระดบั ชมุ ชนใหม้ ศี กั ยภาพทางการแขง่ ขนั ทเ่ี พม่ิ
ขน้ึ ตามนโยบายการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศไทย
หรือท่ีทุกคนรู้จักกันเป็นอย่างดีภายใต้ค�ำว่า“ไทย
แลนด์ 4.0” ในครงั้ น้ี มกี ลมุ่ เปา้ หมายคือผปู้ ระกอบ
การชุมชนใน 3 พ้ืนที่ ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
จังหวัดชมุ พร และจงั หวัดระนอง
ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนทเี่ กดิ มาจากภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ นหรอื
เกิดจากการได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐ
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ชุ ม ช น ท่ี มี
กระบวนการผลติ สนิ คา้ เพอ่ื ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน การขาย
และการตลาดในทัศนะของผู้ประกอบการชุมชน
การบริหารจัดการเพ่ือให้เกิดผลก�ำไร ตลอดจนเหตุ
ปัจจัยท่ีน�ำไปสู่ความส�ำเร็จและความล้มเหลวของ
ผปู้ ระกอบการชุมชน
ดว้ ยเหตุนี้ ผ้จู ัดโครงการเหน็ วา่ เปน็ ประเด็น
ทค่ี วรจะนำ� มาเลา่ สกู่ นั ฟงั เพอ่ื จะไดเ้ กดิ ประสบการณ์
ในการเรียนรู้ร่วมกัน หรืออาจจะเป็นแนวคิดใน
การน�ำไปประยุกต์ใช้ส�ำหรับผู้ประกอบการหรือผู้ที่
ก�ำลงั จะไปพัฒนาชมุ ชน โดยผูจ้ ัดโครงการ จะขอนำ�
เสนอผ่านนยิ ามเฉพาะด้วยคำ� ว่า “ผู้ + ประกอบ +
การ”
เริม่ ตน้ ค�ำแรกท่ีค�ำวา่ “ผู”้ ในที่นี้ค�ำวา่ “ผ้”ู
ไม่ได้หมายถึงค�ำน�ำหน้าเพศ หรือหมายถึงเฉพาะ
ผู้ชาย แต่หมายความรวมถึงทุกคน ซึ่งก็คือ “คน”
และแนน่ อน “คน” เปน็ ทรพั ยากรแรกทีส่ �ำคญั ทีส่ ุด
ในการดำ� เนินธุรกจิ เพราะหากไมม่ ี “คน” ทุกอย่าง
ย่อมเกิดข้ึนไม่ได้ ดังนั้น การท�ำความเข้าใจเร่ือง
“คน” จึงจ�ำเป็นอย่างย่ิงยวดของการด�ำเนินธุรกิจ
159
ชมุ ชน จากลงทำ� โครงการจะพบเหน็ “คน” ในหลาย ๆ
ลักษณะที่มีความแตกต่างกันตามบริบทพ้ืนที่ แต่ที่
ส�ำคัญคืออะไรท�ำให้ “คน” เหล่านี้มาท�ำธุรกิจนอก
เหนอื จากประกอบอาชพี หลกั คอื การทำ� เกษตรกรรม
ซ่งึ ก็พบวา่ “คน” ในชมุ ชนท่เี ร่มิ ตน้ ท�ำธุรกจิ เกิดมา
จากการนำ� องคค์ วามรหู้ รอื ภมู ปิ ญั ญามาสานตอ่ ธรุ กจิ
บางส่วนท�ำธุรกิจจากการสนับสนุนของรัฐโดยผ่าน
การรวมกลุ่มและโครงการส่งเสริมต่าง ๆ ส่ิงที่น่า
ประหลาดใจก็คอื เราไดพ้ บขอ้ สงั เกตว่า กล่มุ คนทมี่ ี
การร่วมกลุ่มกันท�ำธุรกิจหรือท่ีเรียกว่า “กลุ่ม
วสิ าหกจิ ชมุ ชน” บางกลุ่มมสี มาชกิ หลายคนแต่กลับ
มีการด�ำเนินงานจริงด้วย “คน” เพียงคนเดียว ใน
ขณะทบี่ างกลมุ่ ไมม่ กี ารจดั ตง้ั เปน็ กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน
แต่กลับด�ำเนินธุรกิจกันหลายคนอย่างเหนียวแน่น
แสดงว่าลักษะของการรวมกลุ่มคนไม่ได้เป็นเหตุ
ปัจจัยน�ำไปสู่การร่วมมือร่วมใจในการด�ำเนินธุรกิจ สมบูรณ์คงต้องเสริมว่า “คนเดียวหัวหาย สองคน
แต่จะได้เปรียบในแง่ของการได้รับการสนับสนุน เพื่อตาย หลายคนสบายสบาย”
งบประมาณจากรัฐน่ันเองในประเด็นนี้ อาจจะต้อง คำ� ทสี่ องคอื คำ� วา่ “ประกอบ”นยิ ามในทนี่ ้ี คอื
กลับมาพิจารณาเหตุปัจจัยในเชิงลึกเพ่ือให้ทราบ หมายถงึ “ต่อกนั ” หรือ “รวมกนั ” ดงั น้ัน ในการท�ำ
ตน้ เหตขุ องการรวมกลมุ่ มาจากเหตใุ ด เพอื่ จะไดส้ ง่ เสรมิ ธุรกิจ จ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีผู้ประกอบการต้องเข้าใจ
ให้ตรงประเดน็ และเช่ือว่า คำ� ว่า “คนเดยี วหัวหาย ขั้นตอนหรือล�ำดับการด�ำเนินธุรกิจ โดยอาจจะ
สองคนเพื่อนตาย” ยังคงใช้ได้จริง แต่ถ้าจะให้ พิจารณาจาก “ทรัพยากรทางธุรกิจ” เป็นหลักท่ี
160
ประกอบดว้ ย ทนุ ทดี่ นิ แรงงาน และสถานประกอบการ เลือกท่ีจะให้ผู้อ่ืนรับความเสี่ยงน้ีแทน ดังน้ัน เม่ือ
ท้ังหมดน้ีคือแหล่งที่มาของการประกอบธุรกิจไม่ว่า ผปู้ ระกอบการชมุ ชนหรอื หนว่ ยงานภาครฐั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง
จะเป็นทรัพยากรท่ีเป็นตัวเงินหรือไม่เป็นตัวเงิน หากไม่เข้าใจในประเด็นน้ี ความส�ำเร็จในการดำ� เนิน
ทรัพยากรเป็นส่วนส�ำคัญท่ีท�ำหน้าท่ีพยุงธุรกิจให้ ธรุ กจิ ย่อมเกิดขึ้นไดย้ าก
ด�ำรงอยู่และเกิดรายได้ เกิดการจ้างงาน ในขณะ สว่ นคำ� สุดท้ายคอื ค�ำวา่ “การ” ในทีห่ มายถึง
เดยี วกนั ทรพั ยากรทน่ี ำ� มาใชใ้ นธรุ กจิ ยอ่ มมาพรอ้ มกบั “การก่อตัง้ การก่อตวั และการคงอย”ู่ ค�ำนี้ มีความ
ความเส่ียงท่ีเกิดขึ้น ผู้จัดโครงการพบว่า ผู้ประกอบ สำ� คญั มากตอ่ ความยงั่ ยนื ทางธรุ กจิ ไมว่ า่ ธรุ กจิ ตน้ ทาง
การชุมชนส่วนใหญ่เลือกท่ีไม่รับความเสี่ยงจาก จะเป็นอย่างไร แต่สุดท้ายปลายทางแล้ว ควรจะตั้ง
ทรพั ยากรจากการลงทนุ เอง แตท่ เ่ี ลอื กทจี่ ะผลกั ภาระ อยู่บนพื้นฐานของย่ังยืนไห้ได้อาจจะมีค�ำถามว่า
ให้กับหน่วยงานภาครัฐ จริงอยู่แม้ว่ารัฐบาลเองก็มี “แลว้ จะทำ� อยา่ งไรธรุ กจิ จงึ จะยง่ั ยนื ” คำ� ถามน้ี ตอบ
นโยบายสนับสนุนผู้ประกอบการชุมชนด้วยเช่นกัน ยาก เพราะมีเหตุปัจจัยหลายประการท่ีท�ำให้เกิด
แต่การเข้าใจและเข้าถงึ “ความเสีย่ ง” เป็นสง่ิ สำ� คัญ ความไม่ยั่งยืนท้ังปัจจัยที่ควบคุมได้และควบคุมไม่ได้
ในการด�ำเนินงานธุรกิจ จากค�ำกล่าวที่ว่า “กล้าได้ ในขณะเดียวกัน ด้วยสถานการณ์ที่ผันผวนทาง
กลา้ เสยี ” ยงั คงใช้ได้อยใู่ นปัจจบุ นั เพราะเมื่อขึ้นชอื่ เศรษฐกิจและเทคโนโลยี จงึ ท�ำให้ไมม่ ใี ครกล้ายืนยัน
ว่า “ธรุ กิจ” ยอ่ มต้องมาคกู่ บั ความเส่ยี ง ความเส่ียง ว่าธุรกิจจะยั่งยืนได้ แต่ผู้จัดโครงการมองเห็นว่า ส่ิง
ไม่ไดม้ ีแต่ขอ้ เสยี ตรงกันข้าม ความเสยี่ งกม็ ีขอ้ ดเี ช่น ส�ำคัญท่ีไม่ว่าเศรษฐกิจหรือเทคโนโลยีจะผันผวนไป
เดยี วกนั ขอ้ ดขี องความเสย่ี งกค็ อื ไมม่ ใี ครตอ้ งการให้ มากนอ้ ยเพยี งใด กอ็ าจจะไมม่ ผี ลกระทบหรอื กระทบ
มีความเส่ียง ดังนั้น ผู้ประกอบการจะท�ำงานอย่าง นอ้ ยมากตอ่ ธรุ กจิ นน่ั คอื “ความร”ู้ ความรตู้ อ้ งมาจาก
รอบคอบ มีความระมัดระวังมากข้ึน การตัดสินใจ การแสวงหาและเกดิ จากความสามารถในการเรยี นรู้
อะไรตา่ ง ๆ หากไมม่ ขี อ้ มลู สนบั สนนุ เพยี งพอ ไมม่ น่ั ใจ เพราะท้ังสองสิ่งคือทักษะทางธรรมชาติของมนุษย์
จะไม่ยอมทำ� แนน่ อน ด้วยเหตนุ นี้ ี่เองที่ผจู้ ดั โครงการ เพื่อความอยู่รอด ในแง่ของธุรกิจก็เช่นเดียวกัน
เห็นว่าเป็นส่ิงที่ผู้ประกอบการชุมชนขาดหายไปโดย ผู้ประกอบการชุมชนจ�ำเป็นต้องมีทักษะในด้านน้ี
161
และอนบุ าลช้นั ปที ี่ 3 (อายุ 5-6 ขวบ) ทง้ั น้ีโรงเรียน 1. บทบาทด้านการสอน การจัดกิจกรรมท่ี
ตำ� รวจตระเวนชายแดนไดป้ รบั เปลยี่ นการจดั ชนั้ เรยี น สอดคลอ้ งกบั พฒั นาการตามวยั และบรบิ ทของทอ้ งถน่ิ
ในเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงศึกษาธิการ ของโรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดน ซง่ึ ครผู ดู้ แู ลเดก็
ในมุมมองการจัดการศึกษาท่ีเปล่ยี นไป ท�ำให้ จะตอ้ งเขา้ ใจพฒั นาการและธรรมชาตขิ องวยั ของเดก็
ผู้บริหารและครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงความส�ำคัญ เพอื่ สามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ของการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยโดยครูผู้ดูแลเด็ก สง่ เสรมิ ให้เด็กคดิ เปน็ ทำ� เป็น แก้ปญั หาเปน็ เรียนรู้
ไดพ้ ฒั นาบทบาทของตนเองด้านตา่ งๆ ให้สอดคล้อง ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ผ่านการลงมือกระท�ำและ
กับการจดั การศกึ ษาท่เี ปลยี่ นไป ได้แก่ การเล่นอย่างสร้างสรรค์ รวมถึงการจัดสภาพ
แวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนปฐมวัยท่ี
เอื้อต่อการเรียนรู้ของเดก็ ปฐมวัย
2. บทบาทด้านการดูแลเด็กการดูแลในเร่ือง
สุขนิสัย สุขภาวะ โภชนาการให้ครบถ้วนสมบูรณ์
ส่งผลให้เด็กปฐมวัย มีสุขภาพพลานามัยท่ีแข็งแรง
สมวัย พร้อมตอ่ การเรียนรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั
3. บทบาทดา้ นการสรา้ งสอื่ /นวตั กรรมการจดั
กิจกรรมส�ำหรับเด็กปฐมวัย ครูผู้ดูแลเด็กมีความ
จ�ำเป็นในการผลิตส่ือเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก
ปฐมวัย เน่ืองจากเด็กปฐมวัยเรียนรู้จากสื่อท่ีเป็น
รูปธรรม สามารถ หยิบจับสัมผัสได้จริง รวมถึงการ
พฒั นานวตั กรรมทนี่ ำ� สกู่ ารสง่ เสรมิ และแกป้ ญั หาของ
เดก็ ปฐมวยั
164
4. บทบาทด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ครู
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีเข้ามาบูรณาการกับการ
จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ไ ด ้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ โ อ ก า ส
สถานการณแ์ ละการเรยี นรู้ของผเู้ รียนเปน็ สำ� คญั
5. บทบาทด้านการพัฒนาตนครูผู้ดูแลเด็กมี
บุคลิกภาพท่ีเป็นแบบอย่างให้กับเด็กปฐมวัย
การพัฒนาตนเองในด้านวิชาการให้ทันต่อเหตุการณ์
ทท่ี นั สมัย
6. บทบาทด้านการสืบสานโครงการตาม
พระราชดำ� ริ ครผู ดู้ แู ลเดก็ มกี ารจดั การเรยี นการสอน
ที่บูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้กับโครงการตาม
พระราชด�ำริให้เด็กตระหนักถึงหลักการเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ของตน
การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในโรงเรียน
ต�ำรวจตระเวนชายแดน ผู้บริหารและครูผู้ดูแลเด็ก
เป็นกลไกในการขับเคล่ือนการพัฒนาด้านการศึกษา
ในระดบั ปฐมวยั เพอื่ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการแบบ
องค์รวม และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
.................................................................................
ผรู้ ว่ มโครงการ จนิ ดาพร แกว้ ลายทอง เสาวภาคย์ สวา่ งจนั ทร์
165
ขา้ วดง้ั เดมิ คอื ขา้ วหอมไชยา และตอ้ งเกบ็ รกั ษาขา้ ว การพฒั นาเศรษฐกจิ แบบพอเพยี ง ใหไ้ ดร้ บั การสง่ เสรมิ
พันธุ์นี้ไว้เพ่ือส่งต่อให้ลูกหลานในอนาคต” โดย ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น การสร้างรายได้
ปัจจุบัน ได้มีการรวมกลุ่มจัดต้ังเป็นกลุ่มวิสาหกิจ การชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั การพฒั นาความสามารถ
ชมุ ชนอนรุ กั ษพ์ นั ธข์ุ า้ วหอมไชยา แตด่ ว้ ยสมาชกิ กลมุ่ ในการจดั การ และพฒั นารปู แบบของวสิ าหกจิ ชมุ ชน
รวมถึงคณะกรรมการกลุ่มยังขาดความรู้ความเข้าใจ เพอ่ื ใหร้ ะบบเศรษฐกจิ ชมุ ชนมคี วามเขม้ แขง็ สามารถ
ในการบริหารจัดการกลุ่มจึงเป็นปัญหาอุปสรรคใน พัฒนาไปสู่การเป็นผู้ประกอบการของหน่วยธุรกิจ
การดำ� เนนิ งานตลอดมา และยงั ไมบ่ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ ทีส่ ูงขน้ึ ในชมุ ชนมีการรวมตวั กนั เพือ่ ประกอบธุรกจิ
ท่วี างไว้
งานบรกิ ารวชิ าการพฒั นาทอ้ งถนิ่ ซงึ่ รบั ผดิ ชอบ
ประสานการด�ำเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนาการ
ใชป้ ระโยชนจ์ ากขา้ วหอมไชยา ตามโครงการอนรุ กั ษ์
พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.
สธ.-มรส.) โดยในปงี บประมาณ 2563 ไดจ้ ดั โครงการ
ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชนอนุรักษ์พันธุ์
ข้าวหอมไชยาข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
การบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และเป็น
พเี่ ลยี้ งในการดำ� เนนิ กจิ กรรมของกลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน
ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น น�ำไปสู่การพึ่งตนเอง
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หลักการส�ำคัญของวิสาหกิจชุมชน เป็นการ
ส่งเสริมสนับสนนุ เศรษฐกจิ ชุมชนซึง่ เป็นพ้ืนฐานของ
169
การบริหารงาน มีการก�ำหนดหน้าท่ีและบทบาท 5. มีส่วนรว่ มทกุ ข้ันตอน การมสี ่วนรว่ มของ
ของแต่ละฝ่าย แต่ละต�ำแหน่งไว้อย่างชัดเจนโดย สมาชิกในขั้นตอนต่างๆ ในการด�ำเนินงานกลุ่มเป็น
ไมซ่ ้�ำซ้อนกัน ปจั จยั สำ� คญั อยา่ งหนง่ึ ทที่ ำ� ใหก้ ลมุ่ ประสบความสำ� เรจ็
3. สมคั รใจ ไมม่ ใี ครบงั คบั การเขา้ มารวมกลมุ่ การมีส่วนร่วมของสมาชิก ได้แก่ การมีส่วนร่วมใน
กันของสมาชิกท่ีริเริ่มก่อตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน การเลือกคณะกรรมการกลุ่ม การออกความคิดเห็น
ควรใหเ้ ป็นไปโดยสมัครใจ ไมค่ วรเป็นการชกั จูงหรือ ในการก�ำหนดกิจกรรมกลุ่ม การรับรู้สถานการณ์
บังคับโดยหน่วยงานราชการ หรือกลุ่มผู้น�ำในชุมชน ด้านสินทรัพย์และงบบัญชี ความก้าวหน้าใน
แต่ต้องสร้างความเข้าใจอย่างแท้จริงให้ผู้ที่จะสมัคร การดำ� เนินธรุ กิจของกลมุ่ เปน็ ระยะ ๆ การมสี ่วนรว่ ม
สมาชกิ กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน เพอ่ื ประกอบการตดั สนิ ใจ ในการรับผลประโยชน์ของกลุ่ม อย่างเป็นธรรม
ดว้ ยตัวเอง การประชุมระหว่างกรรมการและสมาชิกอย่าง
4. มีความซ่ือสัตย์สุจริต ในการบริหารงาน สม่�ำเสมอล้วนถือเป็นการมีส่วนร่วมท่ีส�ำคัญเป็น
กลุ่ม ความซื่อสัตย์สุจริตของผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับ อย่างย่ิง
กลมุ่ ในทุก ๆ ระดับ ต้งั แต่ประธานกรรมการ คณะ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนพันธุ์ข้าวหอมไชยา เป็น
กรรมการ เลขานกุ าร เหรญั ญกิ สมาชกิ กลมุ่ ตลอดจน กลุ่มวิสาหกิจเล็กๆ ท่ีเกิดจากความร่วมมือ ร่วมใจ
เจา้ หนา้ ทท่ี ด่ี แู ลกลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน จะเปน็ สงิ่ สำ� คญั ของคนในชมุ ชน ทต่ี อ้ งการจะพฒั นาและอนรุ กั ษพ์ นั ธ์ุ
ทน่ี �ำไปสู่ความสำ� เร็จ ขา้ วหอมไชยา เปน็ กลมุ่ องคก์ รทจ่ี ะเรยี นรกู้ ารบรหิ าร
จัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อให้เกิดความมั่นคง
ยงั่ ยืนในชุมชนอยา่ งแทจ้ รงิ
171
• พนื้ ทส่ี ำ� คญั สำ� หรบั การพฒั นาประเทศและ • โจทยว์ จิ ยั มาจากพนื้ ที่ การดำ� เนนิ งานตอ้ ง
สามารถบูรณาการงานพัฒนาได้จริงคือ จังหวัดหรือ อาศยั ความรว่ มมอื ในการพฒั นา ไมว่ า่ จะเปน็ หนว่ ยงาน
กลุ่มจังหวัด เนื่องจากมีโครงสร้างและกลไก ภาครัฐและเอกชน และชุมชนในการด�ำเนินงาน
การพัฒนาท่ีส�ำคัญชัดเจนหากมีการพัฒนาพ้ืนท่ีให้มี โดยเร่ิมจากการน�ำปัญหาและโอกาสท่ีพ้ืนท่ีต้องการ
การเจริญเติบโตที่สมดุลย่อมเป็นการพัฒนาประเทศ พฒั นา ซงึ่ ในกระบวนการพฒั นาโจทยว์ จิ ยั ไดม้ กี ารนำ�
ทแี่ ท้จรงิ ปัญหาของพ้ืนที่เป็นตัวต้ัง และสอบทานข้อมูลเพ่ือ
• โจทย์วิจัยต้องมาจากปัญหาและโอกาสท่ี ความถกู ตอ้ งและเข้าใจรว่ มกนั และก�ำหนดแนวทาง
ส�ำคัญของพื้นที่ระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ท่ีส่ง การพัฒนาโจทยว์ จิ ยั บนฐานความเปน็ ไปได้
ผลกระทบตอ่ คนจ�ำนวนมากในพนื้ ที่ • เข้าใจพื้นที่ในการด�ำเนินงานวิจัย
• ต้องมีกระบวนการวิจัยที่สร้างการมี การด�ำเนินงานการวิจัยเชิงพื้นที่ นักวิจัยต้องมีส่วน
ส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาพื้นที่ จนเกิดเป็นกลไก รว่ มกบั ชมุ ชนตงั้ แตก่ ระบวนการกำ� หนดโจทย์ ซงึ่ นกั วจิ ยั
การพัฒนาพื้นท่ี ดังนั้นรูปแบบการวิจัยนี้จึงเป็น จะลงพ้ืนที่ศึกษาข้อมูลและบริบทในการพัฒนา
รูปแบบใหม่ท่ีต้องมีการจัดการความท้าทายต่อ เพื่อให้ได้ปัญหาที่ตรงตามความต้องการของพื้นท่ี
กระบวนทศั นก์ ารวจิ ยั แบบดงั้ เดมิ และตอ้ งมงุ่ เนน้ ให้ อย่างแท้จริง ตลอดจนศึกษาบริบทพ้ืนที่ในมิติต่างๆ
เกิดผลงานวิจัยท่ีตอบสนองต่อการพัฒนาพ้ืนท่ี ผา่ นกระบวนการท�ำงาน เช่น เวทีประชุมของชมุ ชน
อยา่ งสมดุลไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ เวทปี ระชมุ กลุ่มย่อย เวทปี ระชาคม ตลอดจนพูดคยุ
กลไกการบริหารจดั การงานวิจยั
สถาบนั วิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภฏั
สุราษฎร์ธานี ได้ออกแบบกระบวนการวิจัยและ
พฒั นา โดยเนน้ กระบวนการทำ� งานเชงิ พนื้ ทส่ี ำ� คญั ๆ
ดงั นี้
173
แลกเปลย่ี นรว่ มกบั แกนนำ� ปราชญช์ าวบา้ นทม่ี คี วาม ท้องถ่ินและชุมชนเป็นหลัก โดยเชื่อมต่อหลักการ
เขา้ ใจในองคค์ วามรูแ้ ละปัญหาในเรือ่ งนั้น เพอ่ื ใหไ้ ด้ ความรู้เร่ืองใดเรื่องหน่ึงท่ีประสงค์จะท�ำวิจัยเข้ากับ
ข้อมูลทีต่ รงและสอดคล้องกบั สภาพความเปน็ จริง ข้อมูลข้อเท็จจริง จากศาสตร์หลายๆศาสตร์รวมกัน
• สร้างความม่ันใจให้กับพ้ืนที่จาก “ความ ไดแ้ ก่ เกษตรกรรม อาชีพ การท่องเทย่ี ว การศึกษา
น่าเชื่อถือ”จากตัวผู้วิจัย การด�ำเนินการวิจัยและ เรยี นรู้ สขุ ภาพและสาธารณสขุ วสิ าหกจิ และการผลติ
พฒั นา การทำ� งานรว่ มกบั พนื้ ทสี่ ว่ นมากนกั วจิ ยั มกั จะ ในชุมชน ทรัพยากรส่ิงแวดล้อมภูมิปัญญาดั้งเดิม
ติดปัญหาความเป็นตัวตนของตัวเองสูงดังนั้นเพื่อให้ ผ้าทอ อาหารการกนิ เทคโนโลยี ฯลฯเช่น โครงการ
สามารถแก้ไขปัญหาของพื้นท่ีได้อย่างแท้จริง และ การจดั การขยะ ไดม้ กี ารบรู ณาการศาสตรค์ วามรว่ มมอื
ได้รับความไว้วางใจจากชุมชนนักวิจัยจ�ำเป็นต้อง ของนกั วจิ ยั โดยมอี าจารยจ์ ากสาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์
เปลี่ยนบทบาทจากนักวิชาการเป็นผู้ร่วมเรียนรู้ ส่ิงแวดล้อมและอาจารย์สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
ร่วมกับพื้นที่ เพื่อน�ำองค์ความรู้ท่ีได้มาประมวลผล มารว่ มกนั เปน็ นกั วจิ ยั เพอื่ หาแนวทางการดำ� เนนิ การ
โดยการอ้างอิงทฤษฎีและผลงานวิชาการ เพื่อสร้าง วิจัยในพ้ืนท่ีโดยการน�ำการวิจัยเป็นเคร่ืองมือใน
ความนา่ เชื่อถอื ให้กบั พน้ื ท่ี การพัฒนา
• การผสมผสานเชอ่ื มโยงแนวคดิ และขอ้ มลู ดังนั้นรูปแบบงานวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีจึง
ในลักษณะสหวิทยาการ การวิจัยเชิงพ้ืนท่ีต้องมี เปน็ รปู แบบงานวจิ ยั ทเี่ นน้ การใชก้ ารวจิ ยั เปน็ เครอื่ งมอื
การเชื่อมโยงและดึงเอาแนวคิดและหลักความรู้จาก ในการสร้างกระบวนการการท�ำงานร่วมกันจนเกิด
หลากหลายแขนงทเ่ี รยี กวา่ “สหวทิ ยา” อาทิ ปรชั ญา องค์ประกอบที่เรียกว่า กลไกความร่วมมือเชิงพ้ืนท่ี
เศรษฐศาสตร์ สงั คมวทิ ยา รฐั ศาสตร์ ศลิ ปวฒั นธรรม แล้วใช้ประเด็นหรือโจทย์วิจัยท่ีส�ำคัญมารวมกับ
ศาสนา มานษุ ยวทิ ยา กฎหมาย ฯลฯ หรอื อาศัยหลัก เครอ่ื งมอื การวจิ ยั หรอื สรา้ งองคค์ วามรเู้ พอื่ การแกไ้ ข
การความรทู้ ฤษฎที ไี่ ดศ้ กึ ษาจากการเรยี นในวชิ าตา่ งๆ ปัญหาส�ำคัญของพื้นท่ีน่ันเอง งานวิจัยรูปแบบน้ีจึง
(courseworks) แต่ยังคงอยู่ในกรอบการวิจัย เป็นงานวิจัยที่ท้าทายคําว่า วิจัยที่คุ้นเคยในแวดวง
ประยุกต์ (applied research) ท่ีเน้นการพัฒนา วิชาการ อย่างไรก็ตามกระบวนการวิจัยท่ีก่อให้เกิด
174
1. จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี การดำ� เนนิ งานในเฉพาะพนื้ ทจี่ งั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี จะเปน็ ความรว่ มมอื ระหวา่ ง
2 หนว่ ยงาน คอื ศนู ยบ์ ่มเพาะวสิ าหากจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ย มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี และ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
พืน้ ที่ ผลติ ภณั ฑ์
ชมุ ชนหมู่ 4 บ้านคลองเรือ ตำ� บลขุนทะเล ผลิตภณั ฑห์ ลกั ของกลมุ่ คอื สบูฟ่ ักข้าว
อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี ผลติ ภัณฑ์หลกั ของกลุ่ม 2 ชนดิ ประกอบด้วย
ชุมชนหมู่ 6 บ้านคลองเรอื ต�ำบลขนุ ทะเล น�ำ้ มลั เบอรร์ ี่ และแยมมลั เบอร์รี่
อำ� เภอเมือง จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ผลติ ภณั ฑห์ ลักของกลมุ่ คือ เคร่อื งแกง
ชมุ ชนหมู่ 7 บา้ นคลองเรือ ต�ำบลขนุ ทะเล ผลติ ภัณฑ์หลกั ของกลุ่ม 2 ชนดิ ประกอบดว้ ย
อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สุราษฎรธ์ าน ี ขนมไทย และ กระเป๋าสานจากเชือกรม่
ชมุ ชนหมู่ 9 บา้ นคลองเรือ ต�ำบลขุนทะเล ผลติ ภณั ฑห์ ลกั ของกลมุ่ คอื สบสู่ มนุ ไพรมะขามแท้
อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ชุมชนหมู่ 10 บ้านคลองเรือ ตำ� บลขนุ ทะเล
อ�ำเภอเมือง จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี
177
2. จงั หวดั ชุมพร กจิ กรรมและการดำ� เนินการในพ้นื ท่ี ดงั นี้
พ้ืนท่ี ผลิตภณั ฑ์
กลุ่มวสิ าหกิจชมุ ชนบ้านเสยี บญวน ผลติ ภัณฑ์หลักของกลมุ่ 6 ชนิด ประกอบด้วย
บ้านเสยี บยวน หมู่ 5 ต�ำบลด่านสวี 1) ไตปลา ไข่ปคู่ ัว่ กล้งิ 2) ชาเหงือกปลาหมอ
อ�ำเภอสวี จังหวดั ชมุ พร (สมุนไพรเหงอื กปลาหมอ) 3) ไข่ไกเ่ ค็มสมุนไพร
4) เมยี่ งค�ำ 5) ไม้กวาดดอกออ้ 6) ปุ๋ยอนิ ทรยี ์
178
3. จังหวัดระนอง กิจกรรมและการด�ำเนินการในพื้นที่ ซึ่งคณะวิทยาการจัดการได้พัฒนาสินค้าและ
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม จนท�ำใหส้ ามารถน�ำสินคา้ จัดแสดงในงานแสดงสินค้าท่จี งั หวดั ระนอง ดงั น้ี
พ้นื ที่ ผลติ ภัณฑ์
กล่มุ วิสาหกิจกาแฟคว่ั บา้ นไรใ่ น ผลิตภัณฑ์หลกั ของกลุ่ม 5 ชนดิ ประกอบด้วย
ต�ำบลนาคา อำ� เภอสุขส�ำราญ จงั หวัดระนอง สบจู่ ากกากกาแฟสบนู่ ำ้� ผงึ้ ชาดอกกาแฟนำ�้ ผง้ึ โพรง
พรมเช็ดเท้า เหรียญโปรยทาน
กล่มุ วิสาหกจิ ชมุ ชนสัมมาชพี ตำ� บลกำ� พวน ผลิตภัณฑห์ ลกั ของกลุ่ม 5 ชนิด ประกอบดว้ ย
ตง้ั อยทู่ ่ี ต�ำบลกำ� พวน อ�ำเภอสุขส�ำราญ ผ้ามัดย้อม ผ้าขาวม้า ผ้าปาเต๊ะเพนท์ลาย กะปิ
จังหวัดระนอง อาหารทะเลแปรรปู จากทะเลนอก นำ้� ปลาและขนม
ปยุ ฝ้าย จากบ้านโตนกลอย
179