The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ratchaneekorn2553, 2022-02-06 06:08:04

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องคลื่นและสมบัติของคลื่น

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5/2,3,4
เร่ือง การหกั เหของคลน่ื
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เวลา 2 ช่วั โมง
หน่วยท่ี 1 คลน่ื และสมบัติของคลื่น
รายวชิ า ฟิสกิ ส3์ (ว32205)
ครผู ู้สอน นางสาวรชั นีกร นกึ สม

1. ผลการเรยี นรู้
2. สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำ รวมทั้งคำนวณ

ปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

2. สาระการเรียนรู้
คล่นื เกิดการหกั เหเม่อื คลื่นเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อระหว่างตวั กลางที่ต่างกนั แล้วอตั ราเร็วคล่ืนเปลี่ยนไปซ่ึงเป็นไป

ตามกฎการหกั เห

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ด้านความรู้ (Knowledge)
1. อธบิ ายการหักเหของคล่ืนได้
ดา้ นทักษะ (Process)
2. คำนวณและแก้โจทย์ปญั หาเกย่ี วกบั การหกั เหของคลนื่ ได้
3. ทดลองเพือ่ ศึกษาการหกั เหของคลน่ื ผิวนำ้ ได้
ดา้ นเจตคติ (Affective)
4. รบั ผิดชอบตอ่ งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย
5. นกั เรียนมีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ตั ิงาน

4. ความคดิ รวบยอด

คลื่นเกิดการหักเหเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อระหวา่ งตัวกลาง 2 ชนิด แล้วคลื่นมีการเปลี่ยนแปลงความเรว็
และความยาวคลื่น ซึ่งจะเป็นไปตามกฎการหักเห หรือกฎของสเนลล์ (Snell’s law) ที่ว่า อัตราส่วนระหว่าง
ค่าไซน์ของมมุ ตกกระทบกับค่าไซน์ของมมุ หักเหมีค่าคงท่ี

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส3์ (ว32205) ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ครูรัชนกี ร นึกสม

5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น

 ความสามารถในการส่อื สาร  ความสามารถในการคิด  ความสามารถในการแก้ปัญหา

 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์  ความซอ่ื สัตย์สจุ ริต  มีวินัย
 ความรกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  อยู่อย่างพอเพียง  มงุ่ มั่นในการทำงาน
 ใฝ่เรยี นรู้  มจี ิตสาธารณะ
 รักความเป็นไทย

7. แนวความคิดเพ่อื การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21  ทกั ษะด้านการเรียนรู้และนวตั กรรม
 สาระวิชาหลกั (Core Subjects)  ทักษะดา้ นชีวติ และอาชีพ
 ทกั ษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี

8. การบูรณาการการเรียนรู้
 พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของ ร.10

 ดา้ นท่ี 1 มีทัศนคตทิ ี่ถูกต้องต่อบ้านเมือง

 ด้านท่ี 2 มีพ้นื ฐานชีวิตทมี่ ัน่ คง มีคุณธรรม

 ดา้ นที่ 3 มีงานทำ มีอาชีพ

 ดา้ นที่ 4 เปน็ พลเมืองดี

 หลักปรัชญาเศรษฐกจิ ของพอเพียง
 หลกั สตู รเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ( หลกั สูตรทอ้ งถ่ิน)
 หลักสูตรต้านทุจริตศกึ ษา
 สะเต็มศึกษา
9. คำถามหลัก
- การหกั เหของคลนื่ เกดิ ข้ึนไดอ้ ย่างไร

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์3 (ว32205) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ครูรัชนกี ร นึกสม

10. กระบวนการจดั การเรียนรู้
วธิ ีสอน ใช้กระบวนการสบื เสาะความรู้ (Inquiry Cycle หรอื Inquiry Method : 5E)
1. ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement)

ส่ือการเรยี นรู้ : 1. แอพพลิเคชั่น Google meet
2. หนงั สือเรียนเพม่ิ เตมิ ฟิสิกส์ ม.5 เล่ม 1 , สนพ.แม็คเอด็ ดูเคชัน่
3. Power Point การหักเหของคลื่น

1. ครูถามนักเรยี นว่าถ้าเรานำดนิ สอใส่ลงไปในแกว้ ที่มีน้ำ ภาพที่เราเหน็ จะเกดิ อะไรขึน้ โดยไม่คาดหวัง
คำตอบ (แนวการตอบ : ดนิ สอจะไม่ตรงกนั ในส่วนของอากาศและในสว่ นของน้ำเพราะวา่ เกิดการหกั เห)
2. ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploration)

สอื่ การเรยี นรู้ : 1. แอพพลเิ คช่นั Google meet
2. แอพพลเิ คชั่น Google classroom
3. หนังสอื เรยี นเพม่ิ เติม ฟสิ ิกส์ ม.5 เล่ม 1 , สนพ.แม็คเอด็ ดเู คชั่น
4. Power Point การหกั เหของคล่ืน
5. ใบกิจกรรมท่ี 3 เรือ่ ง การหักเหของคลน่ื ผวิ น้ำ
6. วดิ โี อจาก https://www.youtube.com/watch?v=TIjGMDFCG4M

2. ครูให้นกั เรียนทำกจิ กรรมที่ 3 เรอ่ื ง การหกั เหของคล่ืนผวิ น้ำ โดยการดูวิดีโอจาก
https://www.youtube.com/watch?v=TIjGMDFCG4M ประกอบการทำใบกจิ กรรม

3. ให้นกั เรยี นถา่ ยใบกิจกรรมท่ีทำเสรจ็ แลว้ ส่งใน Google classroom
4. สมุ่ นกั เรียน 2-3 คน ใหน้ ำเสนอสรปุ ผลจากใบกิจกรรมที่ได้ทำไป
3. ขนั้ อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
สอ่ื การเรยี นรู้ : 1. แอพพลเิ คชั่น Google meet

2. หนังสอื เรยี นเพ่ิมเตมิ ฟสิ ิกส์ ม.5 เล่ม 1 , สนพ.แมค็ เอด็ ดเู คช่นั
3. Power Point การหกั เหของคล่นื
4. ใบกิจกรรมที่ 3 เรอ่ื ง การหกั เหของคล่นื ผิวนำ้
4. ครูและนักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายกจิ กรรมท่ี 3 เรอื่ ง การหักเหของคลื่นผวิ นำ้ จนได้ข้อสรปุ ว่า
“คลน่ื หกั เหมีความเร็วต่างไปจากคลืน่ ตกกระทบ แตค่ วามถ่ีของคลนื่ ในตวั กลางทง้ั สองเทา่ กนั เน่ืองจากมาจาก
แหลง่ กำเนดิ เดียวกนั ทำใหค้ วามยาวคลน่ื ตกกระทบกบั ความยาวคล่นื หักเหต่างกนั และในตัวกลางคู่เดมิ ค่ามุม

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์3 (ว32205) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ครรู ชั นกี ร นกึ สม

ตกกระทบและมุมหักเหของคลน่ื มีความสมั พนั ธก์ ับอตั ราเร็วในตวั กลางท้งั สองตามสมการ 1 = 1 ซงึ่ เป็น
2 2

กฎการหกั เหของคล่นื ”
5. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายความรู้เก่ยี วกบั การหักเห ในหนงั สอื หนา้ 50-53 หรือในสไลด์ Power Point
การหักเหของคลนื่
4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
สอ่ื การเรยี นรู้ : 1. แอพพลิเคช่นั Google meet

2. หนงั สือเรียนเพิ่มเติม ฟสิ ิกส์ ม.5 เลม่ 1 , สนพ.แมค็ เอ็ดดเู คช่นั
3. Power Point การหักเหของคล่ืน
6. ครูและนกั เรียนร่วมกันทำโจทยป์ ัญหาในหนงั สอื หนา้ 52-53 หรอื ในสไลด์ Power Point การหกั เหของคล่ืน
ตวั อยา่ งท่ี 2.7, 2.8 และ 2.9
5. ขน้ั ประเมนิ (Evaluation)
สื่อการเรยี นรู้ : 1. แอพพลเิ คชน่ั Google meet
2. แอพพลเิ คชัน่ Google classroom
3. หนงั สือเรียนเพมิ่ เตมิ ฟิสกิ ส์ ม.5 เล่ม 1 , สนพ.แมค็ เอด็ ดูเคชนั่
4. Power Point การหักเหของคลื่น
7. ครใู ห้นักเรยี นทำคำถามทา้ ยหน่วยการเรียนรหู้ น้าที่ 66 หรือในสไลด์ Power Point การหักเหของคลืน่ ขอ้ ที่
12 ลงในสมดุ และถ่ายสง่ ใน Google classroom
8. ครใู ห้นกั เรยี นทำผังมโนทัศน์เกีย่ วกับการหักเหของคลื่นลงในสมุดและถา่ ยสง่ ใน Google classroom
9. ครสู งั เกตพฤติกรรมการเรยี นรูข้ องนักเรียน

11. สือ่ การสอน/แหลง่ การเรยี นรู้
ส่ือการสอน

1. แอพพลเิ คช่ัน Google meet
2. แอพพลิเคชน่ั Google classroom
3. หนงั สือเรยี นเพ่มิ เตมิ ฟิสิกส์ ม.5 เลม่ 1 , สนพ.แม็คเอด็ ดูเคชน่ั
4. Power Point การหกั เหของคลืน่
5. ใบกจิ กรรมที่ 3 เร่ือง การหกั เหของคล่ืนผิวน้ำ
6. วิดีโอจาก https://www.youtube.com/watch?v=TIjGMDFCG4M

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์3 (ว32205) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ครรู ชั นีกร นึกสม

แหล่งการเรยี นรู้
1. ห้องสมุด
2. เว็บไซต์ต่าง ๆ เพอ่ื การเรยี นรู้

12. กระบวนการวัดและการประเมินผล

1. ความรู้ วิธกี ารวัด เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมิน ผปู้ ระเมนิ
ภาระ/ช้นิ งาน - ตรวจสอบการทำ - แบบประเมนิ ผล - ตอ้ งได้ไม่ตำ่ กว่าระดบั ครู
ผังมโนทัศนส์ รปุ เร่อื ง งานผงั มโนทัศน์ คุณภาพ 11
การทำผงั มโนทัศน์ การหกั เหของคล่ืน
สรุปเรอ่ื ง การตอ่
การหกั เหของคล่นื

2. ทักษะ/กระบวนการ

ภาระ/ชนิ้ งาน วธิ ีการวดั เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ ผูป้ ระเมิน
- ต้องได้ไม่ต่ำกวา่ ระดับ ครู
กิจกรรมท่ี 3 เร่ือง - ตรวจสอบการ - แบบประเมินการ คุณภาพ 7
การหกั เหของคลน่ื บันทกึ การตอบ บนั ทกึ การตอบ ครู
ผิวนำ้ คำถามและสรปุ ผล คำถามและสรปุ ผล - ต้องไดไ้ ม่ต่ำกว่าระดบั
การทดลอง การทดลอง คุณภาพ 3

การแก้โจทยป์ ญั หา - ตรวจสอบการทำ - แบบประเมินการ

คำถามท้ายหนว่ ย โจทยป์ ัญหา ทำโจทย์ปญั หา

การเรียนรู้ หนา้

66 ข้อ 12

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส3์ (ว32205) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ครรู ชั นีกร นกึ สม

3. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

คุณลกั ษณะ

อนั พึงประสงค์/ วธิ กี ารวดั เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน ผปู้ ระเมนิ
ครู
พฤตกิ รรม
ครู
พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมินพฤติกรรมการ - ต้องไดไ้ ม่ต่ำกวา่

เรียนรู้ การเรียนรู้ เรียนรู้ ระดับ 8

รายบุคคล

คุณลกั ษณะ - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมินคุณลักษณะ - ตอ้ งไดไ้ ม่ตำ่ กวา่

อนั พงึ ประสงค์ อันพึงประสงค์ ระดับ 20

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์3 (ว32205) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ครูรชั นีกร นกึ สม

กิจกรรมที่ 3 เร่อื ง การหักเหของคลื่นผวิ น้ำ

ชอ่ื .............................. นามสกุล ....................................ชนั้ ............. เลขท่ี ..............
จุดประสงค์

1. เพ่ือศกึ ษาการหกั เหของคลืน่ ผวิ น้ำ
อปุ กรณ์การทดลอง

1. ชุดถาดคลืน่
2. กระดาษขาว
3. หม้อแปลงโวลต์ต่ำพร้อมสายไฟ
วธิ ที ดลอง
1. ใสน่ ้ำในถาดคลื่น วางแผนกระจกใสรปู สเ่ี หลย่ี มลงในถาดคล่ืน ใหผ้ วิ บนของกระจกใสอยู่ใตผ้ วิ น้ำประมาณ 1-
2 มิลลิเมตร
2. จัดแผ่นกระจกใสให้ขอบกระจกขนานกับแนวแผ่นกำเนิดคลื่นหน้าตรงบริเวณเหนือแผ่นกระจกใสจะเป็น
บรเิ วณน้ำตน้ื
3. ทำให้เกิดคลื่นหน้าตรงเคลื่อนที่จากบริเวณน้ำลึกสู่บริเวณน้ำตื้น (บริเวณเหนือแผ่นกระจกใส) สังเกตทิศ
ทางการเคล่อื นท่ีและความยาวคลืน่ ท้งั ในบริเวณนำ้ ลึกและน้ำตื้น
4. ทดลองซ้ำ โดยหมุนแผ่นกระจกใสให้ขอบของกระจกทำมุมต่าง ๆ กับหน้าคลื่นสังเกตทิศทางการเคลื่อนที่
และความยาวคลนื่ ทงั้ ในบริเวณน้ำลกึ และน้ำต้นื
5. จากน้ันทำการตอบถามท้ายกจิ กรรม

คำถามท้ายกจิ กรรม
1. เม่อื คลืน่ ผวิ นำ้ เคลือ่ นท่ีผ่านบริเวณรอยตอ่ ระหวา่ งเขตน้ำลึกและนำ้ ตน้ื ถา้ หน้าคลน่ื ตกกระทบขนานกับรอยต่อ ทิศ
ทางการเคลอ่ื นท่ีของคลืน่ และความยาวคลนื่ เปล่ยี นแปลงอย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์3 (ว32205) ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ครูรัชนีกร นึกสม

2. เมื่อคลื่นผิวน้ำเคลื่อนท่ีผ่านบรเิ วณรอยต่อระหว่างเขตน้ำลึกและน้ำตื้น ถ้าหน้าคลื่นตกกระทบทำมุมกับรอยต่อ ทิศ
ทางการเคล่ือนท่ีของคลนื่ และความยาวคลน่ื เปล่ยี นแปลงอย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

3. จากการสังเกตคลื่นผิวน้ำในถาดคลื่น เมื่อคลื่นผิวน้ำเคลื่อนที่มาถึงรอยต่อระหว่างเขตน้ำลึกและน้ำตื้น คลื่นมีการ
สะท้อนหรอื ไมอ่ ยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

อภปิ รายผลการทดลอง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์3 (ว32205) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ครูรัชนกี ร นกึ สม

เฉลย กิจกรรมท่ี 3 เรอื่ ง การหักเหของคล่ืนผิวนำ้

ช่อื .............................. นามสกุล ....................................ชน้ั ............. เลขท่ี ..............
จดุ ประสงค์

1. เพือ่ ศึกษาการหกั เหของคลนื่ ผวิ น้ำ
อุปกรณก์ ารทดลอง

1. ชุดถาดคลน่ื
2. กระดาษขาว
3. หมอ้ แปลงโวลต์ต่ำพร้อมสายไฟ
วธิ ีทดลอง
1. ใส่นำ้ ในถาดคลืน่ วางแผนกระจกใสรปู สีเ่ หล่ยี มลงในถาดคล่นื ให้ผวิ บนของกระจกใสอยใู่ ต้ผิวน้ำประมาณ 1-
2 มิลลเิ มตร
2. จัดแผ่นกระจกใสให้ขอบกระจกขนานกับแนวแผ่นกำเนิดคลื่นหน้าตรงบริเวณเหนือแผ่นกระจกใสจะเป็น
บรเิ วณน้ำตื้น
3. ทำให้เกิดคลื่นหน้าตรงเคลื่อนที่จากบริเวณน้ำลึกสู่บริเวณน้ำตื้น (บริเวณเหนือแผ่นกระจกใส) สังเกตทิศ
ทางการเคลือ่ นทีแ่ ละความยาวคลน่ื ท้ังในบรเิ วณนำ้ ลกึ และนำ้ ตนื้
4. ทดลองซ้ำ โดยหมุนแผ่นกระจกใสให้ขอบของกระจกทำมุมต่าง ๆ กับหน้าคลื่นสังเกตทิศทางการเคลื่อนที่
และความยาวคลืน่ ท้งั ในบรเิ วณน้ำลึกและน้ำต้ืน
5. จากน้ันทำการตอบถามท้ายกจิ กรรม

คำถามทา้ ยกจิ กรรม
1. เม่อื คลืน่ ผิวนำ้ เคล่อื นที่ผา่ นบริเวณรอยตอ่ ระหวา่ งเขตนำ้ ลกึ และน้ำต้นื ถา้ หนา้ คลืน่ ตกกระทบขนานกบั รอยต่อ ทศิ
ทางการเคลอ่ื นที่ของคลน่ื และความยาวคล่นื เปลี่ยนแปลงอยา่ งไร
ทศิ ทางของคลื่นไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ความยาวคลน่ื เปลีย่ นแปลงไป โดยความยาวคล่ืนน้อยลง

2. เม่ือคลื่นผิวน้ำเคล่ือนท่ีผ่านบริเวณรอยต่อระหว่างเขตนำ้ ลึกและนำ้ ตื้น ถ้าหน้าคลื่นตกกระทบทำมุมกับรอยต่อ ทิศ
ทางการเคลื่อนทขี่ องคล่ืนและความยาวคลนื่ เปล่ยี นแปลงอย่างไร
ทศิ ทางการเคลอ่ื นทขี่ องคลนื่ เปล่ยี นไป โดยมุมระหวา่ งหน้าคลื่นหักเหกบั รอยตอ่ มขี นาดเล็กกวา่ มมุ ระหว่างหน้าคลนื่ ตก
กระทบรอยต่อ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส3์ (ว32205) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 ครรู ชั นกี ร นึกสม

3. จากการสังเกตคลื่นผิวน้ำในถาดคลื่น เมื่อคลื่นผิวน้ำเคลื่อนที่มาถึงรอยต่อระหว่างเขตน้ำลึกและน้ำตื้น คลื่นมีการ
สะท้อนหรือไม่อยา่ งไร
เมอ่ื คลื่นผวิ น้ำเคลือ่ นที่มาถงึ รอยต่อระหว่างเขตนำ้ ลึกกบั เขตน้ำตื้น พบวา่ มีการสะท้อนของคลื่น ซง่ึ น้อยกวา่ คลื่นหักเห
อภิปรายผลการทดลอง
เมอ่ื หนา้ คลน่ื ตกกระทบขนานกับรอยต่อทศิ ทางคลื่นจะไม่เปลยี่ นแปลงแตค่ วามยาวคลน่ื จะลดลง
เมื่อหนา้ คล่ืนกระทบทำมุมทำกบั รอยตอ่ ทิศทางคล่ืนจะเปล่ียนไปและมุมท่ีหักเหกบั รอยต่อจะเลก็ กว่ามมุ ทห่ี น้าคลน่ื ตก
กระทบ

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส3์ (ว32205) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ครรู ัชนกี ร นกึ สม





















































แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5/2,3,4
เรอื่ ง การแทรกสอดของคล่นื 1
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 1 คล่ืนและสมบัติของคล่ืน เวลา 2 ช่ัวโมง
รายวิชา ฟิสกิ ส3์ (ว32205)
ครผู สู้ อน นางสาวรัชนกี ร นึกสม

1. ผลการเรียนรู้
2. สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำ รวมทั้งคำนวณ

ปริมาณตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง

2. สาระการเรียนรู้
คลน่ื เกิดการแทรกสอดเมอื่ คล่นื สองคล่ืนเคลือ่ นทม่ี าพบกันแล้วรวมกนั ตามหลกั การซอ้ นทบั
คลื่นนิ่งเกิดจากคลื่นอาพันธ์สองขบวนแทรกสอดกันแล้วเกิดตำแหน่งที่มีการแทรกสอดแบบเสริมตลอดเวลา
เรยี กว่า ปฏบิ ัพ และตำแหนง่ ทม่ี ีการแทรกสอดแบบหักล้างตลอดเวลา เรยี กว่า บพั

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
ดา้ นความรู้ (Knowledge)
1. อธิบายการแทรกสอดของคล่นื ได้
ดา้ นทักษะ (Process)
2. ทดลองเพือ่ ศึกษาการแทรกสอดของคลน่ื ผวิ น้ำได้
ดา้ นเจตคติ (Affective)
3. รับผิดชอบต่องานท่ไี ด้รบั มอบหมาย
4. นักเรยี นมีความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัติงาน

4. ความคิดรวบยอด

คล่นื เกดิ การแทรกสอดเมือ่ คลื่นอาพันธ์ 2 ขบวน เคล่ือนท่ีมาซอ้ นทบั กนั และเกิดการรวมกันแบบเสริมและแบบ
หักล้าง ซึ่งการแทรกสอดแบบเสริมกันเกิดขึ้นเมื่อสันคลื่นซ้อนทับกับสันคลื่น หรือท้องคลื่นซ้อนทับกับ
ทอ้ งคลื่น และการแทรกสอดแบบหักล้างกันเกิดข้นึ เมอื่ สันคลื่นซ้อนทบั กบั ท้องคลน่ื

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส3์ (ว32205) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ครรู ัชนีกร นกึ สม

5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน

 ความสามารถในการสื่อสาร  ความสามารถในการคิด  ความสามารถในการแกป้ ัญหา

 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์  ความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ  มีวนิ ัย
 ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  อยู่อย่างพอเพียง  มุ่งม่นั ในการทำงาน
 ใฝเ่ รยี นรู้  มจี ติ สาธารณะ
 รักความเป็นไทย

7. แนวความคดิ เพ่ือการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21  ทกั ษะด้านการเรยี นรแู้ ละนวตั กรรม
 สาระวิชาหลัก (Core Subjects)  ทักษะดา้ นชวี ิตและอาชีพ
 ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ สอื่ และเทคโนโลยี

8. การบูรณาการการเรียนรู้
 พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของ ร.10

 ด้านท่ี 1 มที ศั นคตทิ ี่ถูกต้องตอ่ บา้ นเมือง

 ด้านท่ี 2 มีพ้นื ฐานชีวิตทมี่ นั่ คง มีคณุ ธรรม

 ดา้ นท่ี 3 มีงานทำ มอี าชีพ

 ด้านท่ี 4 เป็นพลเมืองดี

 หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ ของพอเพยี ง
 หลักสูตรเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ( หลกั สูตรท้องถน่ิ )
 หลกั สูตรตา้ นทุจรติ ศึกษา
 สะเต็มศกึ ษา
9. คำถามหลัก
- การแทรกสอดของคลื่นเกดิ ขึน้ ไดอ้ ยา่ งไร

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์3 (ว32205) ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5 ครรู ชั นกี ร นกึ สม


Click to View FlipBook Version