The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ระดับบัณฑิตศึกษา ปีกาณศึกษา 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chinathip, 2022-04-04 00:42:30

คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ระดับบัณฑิตศึกษา ปีกาณศึกษา 2562

คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ระดับบัณฑิตศึกษา ปีกาณศึกษา 2562

ก1

สารบญั (Contents)

 สารบญั หน้า
 สารจากคณบดี (Dean Massage) ก
 ประวตั ิ (History) 1
4
o พ.ศ. 2521-2530 ทศวรรษทห่ี นึง่ ยุคของการสร้างตัว 4
(1978-1987 The First Decade The Era of Foundation)
6
o พ.ศ. 2531-2540 ทศวรรษทสี่ อง ยคุ ของการขยายตัว
(1988-1997 The Second Decade The Era of Expansion) 8

o พ.ศ. 2541-2550 ทศวรรษที่สาม ยคุ ของการเปลยี่ นแปลง 9
(1998-2007 The Third Decade The Era of Change)
10
o พ.ศ. 2551-2555 คร่ึงทางของทศวรรษท่สี ี่ ยคุ มหาวทิ ยาลัยวิจยั 11
12
(2008-2012 Halfway into the Fourth Decade The Research) 17
o โครงสรา้ งการบรหิ าร (Administrative Structure) 21
o เอกลักษณ์ (Uniqueness) 43
o อัตลักษณ์ (Identity) 47
 บุคคลและหนว่ ยงานทีน่ กั ศกึ ษาควรทราบ (People and Organization)
 คณาจารยบ์ ณั ฑิตศกึ ษา (Lecture) 48
 จานวนนกั ศึกษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาทง้ั หมด (Graduate Students All)
 เวบ็ ไซตส์ านกั บรหิ ารและพัฒนาวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 59
(Bureau of Academic Administration and Development, Khon Kaen University Website) 62
o ปฏทิ ินการศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2558
65
(Khon Kaen University Academic Calendar Graduate Level, Academic Year of 2016) 66
o ระบบบรกิ ารการศกึ ษา (E-Register) 67
68
o การประเมนิ การเรยี นการสอนผ่านเวบ็ ไซต์ (Online Evaluation) 69
 บริการสาหรับนกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา (Services Available to Graduate Students)
74
o เวบ็ ไซต์บณั ฑติ วทิ ยาลยั (Graduate School Khon Kaen University Website)
o ทนุ การศึกษา (scholarship) 75
o เว็บไซตร์ ะบบสารสนเทศบณั ฑติ วทิ ยาลัย (Graduate School Management Information System)
o เว็บไซตห์ อ้ งสมดุ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Khon Kaen University Library) 77
o เวบ็ ไซตจ์ รยิ ธรรมคุณธรรมการทาดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ
79
(Ethical in the dissertation, thesis and independent study) 81
o เวบ็ ไซต์บรกิ ารภาษาองั กฤษเชงิ วชิ าการ (สอบ อบรม) 95

คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น (KKU-AELT) (KKU-AELT Website)
o เว็บไซตง์ านบณั ฑติ ศกึ ษา คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

(Graduate Section Website)

o Facebook (GS-HUSO) งานบัณฑติ ศึกษา คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
o เวบ็ ไซตข์ อ้ มลู บรกิ าร (Sutter Bus Service)
 ระเบียบระดบั บัณฑิตศกึ ษา (Graduate Regulations)
o ระเบียบและแนวปฏบิ ัติทคี่ วรทราบ (General Regulations)
o ระเบยี บทเี่ กีย่ วข้อง (Regulations)

2

 ขอ้ มลู หลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา Graduate Programs Information 173

o หลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าลมุ่ น้าโขงศกึ ษา (Master of Arts Program in Mekong Studies) 181

o หลกั สตู รสารสนเทศศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ 193

(Master Program in Information Science)

o หลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาสงั คมวิทยา (Master of Arts Program in Sociology) 207

o หลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย (Master of Arts Program in Thai) 237

o หลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาและวฒั นธรรมจนี 247

(Master of Arts Program in Chinese Language and Culture)

o หลักสตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาศาสตรป์ ระยกุ ต์ หลักสตู รนานาชาติ 259

(Doctor of Philosophy Program in Applied Linguistics (International Program)

o หลักสตู รปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวชิ าสารสนเทศศกึ ษา (Doctor of Philosophy in Information Studies) 267

o หลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาสงั คมวิทยา (Doctor of Philosophy Program in Sociology) 279

o หลักสตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวิชาภาษาไทย (Doctor of Philosophy Program in Thai) 289

ค่มู อื ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 1

สารจากคณบดี Dean Massage

พัฒนาการของสังคมโลกในทุกยุคทุกสมัย The development of the world
ถูกกาหนดด้วยความเจริญก้าวหน้าทางด้าน society in all ages has been determined by
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดังนั้นการลงทุน the advancements made in science and
ด้านการพัฒนาของประเทศต่างๆจึงมุ่งเน้นให้ technology. Therefore, more investments in
ควา มส า คัญ ต่ อกา รศึ กษา แ ละ วิจัย ทา ง each country’s development have been
วิ ทย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ทค โ นโ ล ยี ม า กกว่ า placed in education and research in science
มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ and technology rather than the humanities
and social sciences.
แท้จริงแล้วการดารงอยู่อย่างย่ังยืนของ
สังคมโลก ข้ึนอยู่กับปัจจัยที่สาคัญมากที่สุด As a matter of fact, humans are one
คือ มนุษย์ เพราะมนุษย์คือผู้สร้างความ of the main contributing factors for
เจริญก้าวหน้า ในขณะเดียวกันก็เป็นผู้ทาลาย a sustainable global society. They can
ธรรมชาตแิ ละสังคมด้วยเชน่ กนั ดังน้ัน การศึกษา bring about advancements in any society;
เพื่อสร้างความเจริญโดยการพยายามเอาชนะ however, at the same time, they can
ธรรมชาติอย่างเดียวจึงไม่เพียงพอ มีความจาเป็น destroy nature and the environment.
อย่างยิ่งที่มนุษย์เราต้องศึกษาเพื่อทาความเข้าใจ Thus, education in science and technology
ในเร่ืองความคิดของมนุษย์ และพฤติกรรมของ that helps human to overcome nature is
มนษุ ยซ์ ่งึ เรียกว่า มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ not enough. It is essential that we, as
ควบคู่ไปด้วย humans, study the humanities and
social sciences to understand human
การก่อต้ั ง คณะมนุ ษยศาสตร์ และ thought and behavior.
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันท่ี
18 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 มีวัตถุประสงค์ชัดเจน The foundation of the Faculty of
ใ น ก า ร ข ย า ย ข อ บ เ ข ต ก า ร ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต ข อ ง Humanities and Social Sciences on
มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ซง่ึ เริม่ ตน้ มีเพยี งสาขาวิชา the 18thof July 1978 has had a major
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ครอบคลุม goal of increasing the number of
สาขาวชิ ามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตรด์ ้วย Khon Kaen University’s graduates in the
humanities and social sciences areas, in
addition to producing graduates in
science and technology.

2 คู่มือปฐมนิเทศนักศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

นบั ตงั้ แต่เรม่ิ กอ่ ต้ังจนถึงปัจจุบันเป็นเวลา Since its establishment until the
36 ปีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ present, almost 36 years, the Faculty of
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ผลิตบัณฑิตที่มี Humanities and Social Sciences has
คุณภาพในสาขาวิชาต่างๆ ออกไปทางานรับใช้ produced innumerable graduates with
สังคมเป็นจานวนมากท้ังในระดับปริญญาตรี Bachelor’s, Master’s, and Doctorate
ปริญญาโท และปริญญาเอก ประกอบด้วย degrees, who excel in their abilities to
สาขาวชิ าภาษา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย perform, serve, and work in society. The
ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาสเปน Faculty has prepared these graduates in
ภาษาญ่ีปุ่น และภาษาจีน ทั้งยังเปิดสอนภาษา a number of fields, including Languages
ล า ว เ ข ม ร เ วี ย ด น า ม แ ล ะ เ ก า ห ลี อี ก (English, Thai, French, German, Spanish,
ดว้ ย สาขาวิชาสังคมศาสตร์ ไดแ้ ก่ สังคมวิทยา Japanese, and Chinese, as well as Lao,
และมานษุ ยวิทยา การพัฒนาสังคม การบริหาร Khmer, Vietnamese, and Korean), Social
กา ร พั ฒ นา รั ฐ ป ร ะ ศ า ส น ศ า ส ต ร์ แ ล ะ Sciences (Sociology and Anthropology,
พัฒนศาสตร์ สาขาวิชามนุษยศาสตร์ ได้แก่ Social Development, Development
ปรัชญาและศาสนา และลุ่มน้าโขงศึกษา และ Management, Public Administration, and
สาขาวิชาสารสนเทศและการส่ือสาร ได้แก่ Development Sciences), Humanities
สารสนเทศศาสตร์ การจัดการสารสนเทศ และ (Philosophy and Religion and Mekong
สารสนเทศศึกษา นอกจากน้ี คณะยังมีบทบาท Studies), and Information Science and
สาคัญในการให้บริการวิชาการแก่สังคมท้ังใน Communication (Information Science,
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและอนุภูมิภาคลุ่มน้า Information Management, and Information
โขง รวมไปถงึ การวิจัยในสาขาวิชามนษุ ยศาสตร์ Studies). The Faculty of Humanities and
และสังคมศาสตร์ ที่มีผลงานตีพมิ พเ์ ผยแพร่และ Social Sciences also plays a crucial role in
นาไปใช้ประโยชน์ท้ังในระดับชาติและระดับ providing academic services to societies
นานาชาติ in the Northeastern and Mekong
regions. Our published research studies
in the field of humanities and social
sciences have also made a significant
contribution to society both nationally and
internationally.

ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนักศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 3

ในอนาคตอันใกล้น้ีเพื่อตอบสนองต่อ In the near future, in order to achieve
บทบาทของมหาวิทยาลัยขอนแก่นในการเป็น the missions of Khon Kaen University as a
มหาวิทยาลัย วิจัยแห่งชาติ และภาวะคุกคาม leading world-class research university and
อันเกิดจากการรวมตัวเป็นหน่ึงเดียวของ to respond to the growing trends of the
ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. ASEAN Community by 2015, the Faculty of
2558 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จึง Humanities and Social Sciences aims at
มุ่งเน้นให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพ producing excellent graduates and research
บัณฑิตและคณุ ภาพงานวิจัยท่ีเป็นเลิศ สามารถ works, which can build up the university’s
สร้างชื่อเสียงและมีศักยภาพในแข่งขันได้ใน reputation to be proficiently competitive in
ระดับเอเชีย บณั ฑิตของคณะมนุษยศาสตร์และ Asia. Graduates from the Faculty of
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จะได้รับ Humanities and Social Sciences, Khon Kaen
การฝึกฝนให้เป็นผู้ที่มีความรู้ทางวิชาการที่เป็น University, will be endowed with the
มาตรฐานสากล มีความสามารถในการทางาน standard academic knowledge, the capacity
ในสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา to work in the workplace, the information
และมีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศและ technology skills, and the English and
ทักษะทางภาษา ทั้งภาษาอังกฤษและภาษา ASEAN languages that will make them the
อาเ ซีย น พร้ อม ต่อการ ทา งา นในต ลา ด best candidates for international workplaces.
สากล คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ จะ Additionally, the Faculty of Humanities
เป็นแหล่งฝึกอบรมภาษาต่างๆของประเทศ and Social Sciences will serve as the
สมาชิกอาเซียน ให้แก่นักศึกษาและบุคลากร ASEAN language-learning center for Khon
ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ข อ น แ ก่ น แ ล ะ ช า ว Kaen University students, employees, as
ต่างประเทศ นาไปสู่การแลกเปล่ียนนักศึกษา well as foreigners, which will lead us to the
คณาจารย์ และนักวิจัยในสาขามนุษยศาสตร์ exchange of humanities and social sciences
และสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง และจะให้ students, teachers, and researchers. The
ความสาคัญกับการสร้างสรรค์ผลงานวิจัยใน Faculty will also focus on creating research
ประเด็นทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ท่ีมี works on the issues relating to humanities
ผลต่อการพัฒนามนุษยแ์ ละสงั คมอย่างย่ังยืน and social sciences, which will provide a
significant impact to the sustainability of
รศ.ดร.กุลธดิ า ท้วมสุข human and social development.
คณบดี

Assoc Prof Dr. Kulthida Tuamsuk
Dean

4 คู่มือปฐมนิเทศนกั ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ประวตั ิ (History)

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ The Faculty of Humanities and

มหาวิทยาลัยขอนแก่น ก่อต้ังข้ึนเมื่อวันท่ี 18 Social Sciences, Khon Kaen University was
กรกฎาคม พ.ศ. 2521 ตามประกาศในหนังสือ founded on July 18, 1978 after the
ราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 25 ตอนที่ 72 หน้า proclamation in the Government Gazette
433-437 นบั ถงึ ปัจจุบันมีอายุครบสามทศวรรษ Volume 25, Chapter 72, pages 433-437.
และก้าวเขา้ สเู่ กือบครึง่ ทางของทศวรรษท่ี 4 Since its foundation, the Faculty has

existed for over three decades and is now

almost halfway into the fourth decade.

พ.ศ. 2521-2530 ทศวรรษที่หนึ่งยคุ ของการสรา้ งตวั

1978-1987 The First Decade The Era of Foundation

การ ก่ อต้ั งคณ ะมนุ ษยศ าสต ร์ แล ะ The foundation of the Faculty of

สังคมศาสตร์ เป็นคณะลาดับที่ 7 ของ Humanities and Social Sciences as the
มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน 7th Faculty of Khon Kaen University
คือ การรวมบุคลากรสาขามนุษยศาสตร์และ firmly aimed to gather scholars who
สังคมศาสตร์ที่กระจัดกระจายอยู่ในคณะต่างๆ were scattered across different faculties
ให้มาอยู่ในหน่วยงานเดียวกัน ลดความซ้าซ้อน in the fields of humanities and social
ด้านการสอนวิชาในสาขามนุษยศาสตร์และ sciences into the same organization; to
สังคมศาสตร์ และการควบคุมคุณภาพด้าน facilitate instruction in the area of
วิชาการและความเป็นเอกภาพด้านการบริหาร humanities and social sciences; and to
วชิ าการของมหาวทิ ยาลัย control the academic quality and unity

of University administration. Initially,
there were only 4 departments in the

Faculty of Humanities and Social
Sciences during the first era, namely
the Department of Foreign Languages,

คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 5

the Department of Library Science
(once under the Faculty of Science and
Arts), the Department of Social
Sciences, and the Department of
Humanities.

ดั ง น้ั น ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ To create such divisions, scholars

สังคมศาสตร์ในยุคแรกจึงมีเพียง 4 ภาควิชา lecturing on basic humanity modules
ได้แก่ ภาควิชาภาษาต่างประเทศ ภาควิชา under the Faculty of Education and those
บร ร ณา รั กษศ าส ต ร์ ซ่ึ งเ ดิ มสั งกั ด ค ณ ะ who lectured on economic modules
วทิ ยาศาสตร์-อักษรศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ under the Faculty of Agriculture were
และภาควิชามนุษยศาสตร์ ซึ่งได้รวบรวม unified.
บุคลากรท่สี อนรายวชิ าพ้ืนฐานด้านมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ที่สังกัดคณะศึกษาศาสตร์ และ
รายวิ ชาด้ านเศรษฐศาสตร์ ท่ีสั งกัดคณะ
เกษตรศาสตร์ มาไว้ด้วยกัน

เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 There were 4 programs offered as

หลักสูตรคือ ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา a Bachelor’s degree, which included
บรรณารักษศาสตร์ (พ.ศ. 2518) สาขาวิชา Bachelor of Arts in Library Science (1975),
ภาษาอังกฤษ (พ.ศ. 2523) สาขาวิชาพัฒนา English (1980), Community Development
ชุมชน (พ.ศ. 2527) และหลักสูตรบริหารธุรกิจ (1984), and Bachelor of Business
บัณฑิต สาขาวิชาการเงนิ (พ.ศ. 2527) Administration in Finance (1984).

6 ค่มู อื ปฐมนิเทศนกั ศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

พ.ศ. 2531-2540 ทศวรรษที่สอง ยคุ ของการขยายตวั

1988-1997 The Second Decade The Era of Expansion

มหาวิทยาลัยขอนแก่นมีนโยบายในการ และเปิดหลักสูตรระดับปริญญาโท 5 สาขาวิชา
คือ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคม
ขยายขอบเขตการผลิตบัณฑิตในสาขาวิชา วิทยาการพัฒนา (พ.ศ. 2531) สาขาวิชา
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มากข้ึน เพ่ือ บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (พ.ศ.
ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนในภาค 2537) สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา (พ.ศ.
ตะวันออกเฉียงเหนือ รวมถึงความจาเป็นในการ 2538) สาขาวิชาพัฒนาสังคม (พ.ศ. 2538) และ
บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร แ ก่ สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร วิ จั ย ด้ า น สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (พ.ศ. 2540)
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ซึ่งเป็นภารกิจท่ี
สาคัญของมหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ.2532 คณะ To meet the increasing need
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้จัดโครงสร้าง
การบริหารใหม่ โดยแบ่งเป็นสานักงานคณบดี of scholars in the Northeast, Khon Kaen
และเพ่ิมจานวนภาควิชาเป็น 8 ภาควิชา ได้แก่ University extended more areas of the
ภ า ค วิ ช า ภ า ษ า ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ภ า ค วิ ช า humanities and social sciences
บ ร ร ณ า รั ก ษ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ส า ร นิ เ ท ศ ศ า ส ต ร์ programs. This included the obligation
ภาควิชาสังคมศาสตร์ ภาควิชาสังคมวิทยาและ of academic service for the community
มานุษยวิทยา ภาควิชาพัฒนาสังคม ภาควิชา and research in the fields of humanities
ภาษาไทย ภาควิชาปรัชญาและศาสนา และ and social sciences, which were
ภาควิชาประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี considered important to the missions of
the University. In 1989, the Faculty of
น อ ก จ า ก น้ี ยั ง มี บ า ง ส า ข า วิ ช า แ ย ก ตั ว Humanities and Social Sciences
ออกไปตั้งคณะใหม่ ได้แก่ สาขาวิชาศิลปะและ restructured its administrative system,
ดนตรีในภาควิชามนุษยศาสตร์ แยกออกไป dividing the existing structure into the
ก่อต้ังคณะศิลปกรรมศาสตร์ และสาขาวิชา
บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ใ น ภ า ค วิ ช า
สังคมศาสตร์ แยกออกไปก่อต้ังคณะวิทยาการ
จัดการ ในยุคน้ีได้มีการเปิดหลักสูตรระดับ
ปริญญาตรีเพ่ิมอีก 2 สาขาวิชาคือ ศิลปศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาภาษาฝร่ังเศส (พ.ศ. 2531)
และสาขาวชิ าภาษาไทย (พ.ศ. 2532)

ค่มู ือปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 7

Dean’s Office and 8 other departments,
which included the Department of
Foreign Languages, the Department of
Library and Information Science, the
Department of Social Sciences, the
Department of Sociology and
Anthropology, the Department of Social
Development, the Department of Thai,
the Department of Philosophy and
Religion, and the Department of History
and Archeology. In addition, some
majors withdrew from the Faculty and
formed new faculties. These included
programs in Arts and Music under the
Department of Humanities—which
formed the Faculty of Fine Arts, and
programs in Business Administration
and Economics—which formed the
Faculty of Management Science. During
this era, 2 more Bachelor’s degree
programs—Bachelor of Arts in French
(1988) and Bachelor of Arts in Thai
(1989)—and 5 Master’s degree
programs—Master of Arts in
Sociological Development (1988),
Library and Information Science (1994),
Development Administration (1995),
Social Development (1995), and English
(1997)—were added.

8 คู่มือปฐมนิเทศนกั ศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

พ.ศ. 2541-2550 ทศวรรษท่ีสาม ยคุ ของการเปลี่ยนแปลง

1998-2007 The Third Decade The Era of Change

ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ ใ น During the third decade, the Faculty

ทศวรรษที่สาม มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่าง of Humanities and Social Sciences changed
มากในหลายๆด้าน สอดรับกับยุทธศาสตร์การ
พั ฒ น า ม ห า วิ ท ย า ลั ย ข อ น แ ก่ น ที่ ไ ด้ ก า ห น ด significantly, thanks to the development
วิสัยทัศน์ให้เป็นมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัยและ strategy of the University, which
มหาวิทยาลัยชั้นนาในภูมิภาคอาเซียน มีการ designated the University to be a research-
เปิดหลักสูตรระดับปริญญาเอก ซึ่งเป็นฐาน led and leading university in ASEAN.
สาหรบั การวจิ ัยและสรา้ งความเขม้ แข็งด้านการ
3 Doctorate degree programs-Doctor

วิจัยในสาขาวิชาต่างๆ จานวน 3 หลักสูตร of Philosophy in Development Science

ได้แก่ ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา (1998), Information Studies (2003), and
พัฒนศาสตร์ (พ.ศ. 2541) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา (พ.ศ. 2546) และ Sociology (2007)-which were the basis of
ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา conducting and strengthening research,
(2550) นอกจากนี้ได้เปิดหลักสูตรระดับ were added. Moreover, more Bachelor’s
ปริญญาตรีด้านภาษาเพิ่มขึ้นอีกหลายภาษา degree programs in languages, namely
ได้แก่ ภาษาเยอรมัน ภาษาญ่ีปุ่น ภาษาสเปน German, Spanish, and Chinese, were

และภาษาจีน ในปี พ.ศ. 2549 คณะได้ปรับ introduced into the curriculum. In 2006,

โครงสร้างการบริหารตามนโยบายของ the Faculty restructured its administrative
มหาวิทยาลัย โดยยกเลิกการบริหารวิชาการ
แบบภาควิชา มาเป็นแบบกลุ่มวิชา โดยแบ่ง system according to University policy in
ออกเป็น 4 กลุ่มวิชาคือ กลุ่มวิชาภาษา กลุ่ม order to abolish departmental systems
วิชามนุษยศาสตร์ กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ และ and turn mainly to program areas by
กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร dividing the system into language programs,
และได้วางระบบการบริหารทั่วไปและงาน humanities programs, social sciences

สนับสนุนด้านต่างๆเป็นแบบรวมศูนย์ไว้ที่ programs, and information management

สานกั งานคณบดี and communication programs. In addition,

general administration and support offices

were centralized under the Dean’s Office.

คู่มือปฐมนิเทศนักศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 9

พ.ศ. 2551-2555 ครงึ่ ทางของทศวรรษที่สี่ ยคุ มหาวิทยาลยั วิจยั

2008-2012 Halfway into the Fourth Decade The Research

ในช่วงของการเร่ิมต้นทศวรรษท่ีสUี่ nคivณeะrsity Era the beginning of the fourth

During
มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ จาเป็นต้องพัฒนา decade, the Faculty of Humanities and
ในหลายๆด้านเพ่ือสามารถตอบสนองการเป็น Social Sciences was in need of various
มหาวิทยาลัยวิจัยและการมีชื่อเสียงได้รับการ self-improvements in order to become
ยอมรับในระดับสากล ได้รับการจัดอันดับในกลุ่ม a research-led and internationally
มหาวิทยาลัยของโลก ตามวิสัยทัศน์ของ accepted University, which would be
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในระยะ 4 ปีท่ีผ่านมา ranked among other world universities
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้เปิด and thus accord with the University
หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาจีน vision. In the last 4 years, the Faculty of
ธุรกิจ ซ่ึงเป็นหลักสูตรสองปริญญา โดยความ Humanities and Social Sciences has
ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเซาท์เวสท์ ประเทศจีน established a Bachelor’s degree
เปดิ หลกั สตู รระดับปรญิ ญาโท สาขาวิชาลมุ่ น้าโขง program in Business Chinese, which is
ศึกษา ซึ่งเป็นผลจากการมีศูนย์วิจัยพหุลักษณ์ now a double degree in collaboration
สังคมล่มุ นา้ โขง ท่ีมีผลงานด้านการวิจัยมีช่ือเสียง with Southwest University, China. The
เป็นท่ียอมรับท้ังในและต่างประเทศ มีความ Faculty now also has a Master’s
ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศในด้านการ program in Mekong Studies as a result
วิจัยและการเรียนการสอนมากข้ึน โดยเฉพาะ of the foundation of the Center for
อยา่ งย่งิ มหาวทิ ยาลัยในประเทศจีน ญ่ีปุ่น เกาหลี Research on Plurality in the Mekong
ไต้หวัน สิงคโปร์ ลาว เวียดนาม ออสเตรเลีย Region, which has published famous
องั กฤษ ฝร่ังเศส และเยอรมนี
and well-accepted research both

nationally and internationally. The

Faculty also established collaborations

on research and academia with more

international universities, especially

those in China, Japan, Taiwan,

Singapore, Laos, Vietnam, Australia,

England, France, and Germany.

10 ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

โครงสรา้ งการบรหิ าร
Administrative Structure

ค่มู อื ปฐมนิเทศนกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 11

เอกลกั ษณ์ (Uniqueness)

บรู ณาการมนษุ ยศาสตรแ์ ละ

สงั คมสสู่ งั คมและสากล

Integrating Humanities and Social

Sciences for the Local and Global

Societies

มคี วามหมายว่า
มีการบูรณาการเรยี นการสอน การ
วิจัย การบริการวชิ าการด้านมนุษยศาสตรแ์ ละ
สงั คมศาสตรท์ ม่ี คี วามหลากหลาย เพ่อื พฒั นา
คนและสงั คมอยา่ งยงั่ ยืนและตอบสนองบริบท
แห่งความเป็นสากล
Is defined as
An integration of the teaching, learning,
research, and academic services in the
fields of humanities and social sciences
for sustainable human and social
development and international
response

12 ค่มู ือปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

อตั ลกั ษณ์ (Identity)

คุณลักษณะท่ีโดดเด่นของบัณฑิตคณะ The key characteristics of
ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ Humanities and Social Sciences
คอื R3C: ประกอบดว้ ย graduates nvolve the following R3C:

(1) พร้อมทางาน มีความรู้ทางวิชาการ (1) Ready to Work Our graduates,
การและประสบการณ์การฝึกปฏิบัติ พร้อม fully equipped with academic
ทางานในสาขาวชิ าตามหลักสูตรเป็นอย่างดี knowledge and practical experience, are
ready to work in their particular fields.
(2) สื่อสารภาษาต่างประเทศ มีทักษะ
การสื่อสารภาษาองั กฤษเป็นอยา่ งดี และสอื่ สาร (2) Foreign Languages
ภาษาอาเซียน+3 (ได้แก่ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น Communication Our graduates have
และภาษาเกาหลีใต้) ได้อกี 1 ภาษา good communication skills in English
language and in an ASEAN+3 language.
(3) เรียนรู้ชุมชนเป็นฐาน มีความรู้ความ
เข้าใจเก่ียวกับชุมชน มีประสบการณ์ในการ (3) Community-based Learning
เรียนรู้และมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนา Our graduates know and understand
ชมุ ชน และ the community as well as have
experiences in learning and participating
(4) ทางานข้ามวัฒนธรรม มคี วามรู้ความ in community development activities.
เ ข้ า ใ จ แ ล ะ มี ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ น ก า ร ท า ง า น ใ น
สภาพแวดล้อมหรือองค์กรสมัยใหม่ที่มีเพื่อน (4) Cross-cultural Literacy Our
ร่วมงานจากภูมิหลงั ทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม graduates are knowledgeable and ready
ทแ่ี ตกต่างหลากหลาย to work in modern environment or
enterprise with colleagues from different
ethnic and cultural backgrounds.

ค่มู ือปฐมนเิ ทศนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 13

ปรชั ญา ปณิธาน วิสยั ทัศน์ พันธกิจ Philosophy: Intelligence, thought and
ปรัชญา: สตปิ ญั ญา ความคิด และคุณธรรม morality are the main point to maintain
and live together with others happily
เป็นหลักในการดารงตนและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ that could lead to permanently
อย่างมีความสุขอันจะนาไปสู่การพัฒนาตนเอง developing us and social.
และสังคมอย่างยัง่ ยืน

ป ณิ ธ า น :ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ Resolution: Faculty of Humanities
สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ มุ่ ง มั่ น ใ ห้ ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ and Social Sciences mainly focuses on
บัณฑิตผู้ถึงพร้อมทั้งสติปัญญาและคุณธรรม serving education to graduate
พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ โดยการวิจัยอย่าง students who are full of intelligence
ต่อเน่ือง บริการวิชาการ เพื่อสนับสนุนการ and morality to develop new
พัฒนาสังคมอย่างย่ังยืน และธารงรักษา knowledge by continuous researches
ศิลปวัฒนธรรมอนั ดีงาม and academic services for supporting
in social development permanently
and protecting art and culture.

วสิ ัยทศั น์ : ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ Vision: Faculty of Humanities and
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นคณะ Social Sciences, Khon Kaen University,
ช้ันนาท่ีมีความเป็นเลิศทางวิชาการและมี is the forefront of great faculty in
มาตรฐานเป็นท่ียอมรับท้ังภายในและภายนอก academic and has the standard that is
ประเทศและระดบั เอเชยี อาคเนย์ accepted in domestic, international
and Southeast Asian.

14 คู่มือปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

พนั ธกจิ : Mission:
1. ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี และระดับ 1. Generating well-educated

บัณฑิตศึกษาท่ีมคี วามรคู้ ู่คุณธรรม undergraduate and graduate students
2. กระจายโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาสู่ with morality.

ปวงชน 2. Separating chances and
3. วจิ ยั และพัฒนาองคค์ วามรทู้ ก่ี อ่ ใหเ้ กิดการ accessing education to people.

พัฒนาแบบองคร์ วม 3. Researching and developing
4. สรา้ งความรว่ มมอื ทางวิชาการทงั้ ด้านการ knowledge those lead to overall
development.
ผลิตบัณฑิตการวิจัยกับต่างประเทศโดยเน้น
ประเทศในภมู ภิ าคเอเชีย 4. Making the academic
cooperation both generating students
5. เสริมสร้างความร่วมมือกับชุมชนในการ and researches with international,
ใหบ้ รกิ ารวชิ าการแกช่ ุมชน especially in Asia.

6. ทานุบา รุง อนุรั กษ์ เ ผย แพร่ แล ะ 5. Supporting the cooperation with
แลกเปล่ียนศิลปวัฒนธรรมดีงาม โดยเฉพาะ community to provide academic
อยา่ งยิ่งจากภาคอสี าน services.

วฒั นธรรมองคก์ ร: 6. Keeping, caring presenting and
1. รกั และผกู พนั ในองค์กร exchanging art and culture, especially
2. เปน็ องค์กรแห่งการเรียนรู้ พร้อมต่อการ from South-eastern of Thailand’s
culture.
เปล่ยี นแปลง
3. ยดึ ม่นั ในระบบธรรมาภิบาล Corporate culture:
4. ยอมรับความหลากหลาย และร่วมงาน 1. Loving and being bound in

กนั ได้ เพ่อื เปา้ หมายขององคก์ ร organization.
5. องคก์ รวริ ิยะ สรา้ งสรรค์ ขยัน ซ่ือสัตย์ มี 2. Being the organization of

จิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบสงู learning and ready to change.
3. Adhering in Good Governance.
4. Accepting in variety and

working together for organization’s
goals.

ค่มู อื ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 15

5. Diligent organization, creative,
honest, generous and high-
responsible.

สมรรถนะองคก์ ร: Core Competencies:
1. การวิจัยเพื่อสร้างชุมชนท้องถิ่น 1. Researching for building local
2. การบรกิ ารวิชาการด้านภาษา สงั คม
communities.
และพหวุ ฒั นธรรม 2. Academic services in language,

คา่ นยิ มขององค์กร: social and multiculturalism.
WE ARE HUSO - เราคือมนุษยศาสตร์และ

สงั คมศาสตร์
WE- Well Being (ความอยดู่ มี ีสุข)

A - Achievement (การมงุ่
ผลสัมฤทธิ)์

R - Research (ใชก้ ารวิจยั เป็นฐาน)

E - Ethics (ยึดม่ันในจรรยาบรรณ)

H - Harmony (ความสมานฉันท)์

U - Unity (ความเปน็ หนง่ึ ดยี ว)

S - Social Responsibility (ความ
รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม)

O - Organizational Governance
(องค์กรแห่งธรรมาภบิ าล)

16 ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

คู่มือปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 17

บคุ คลและหน่วยงานท่ีนกั ศึกษาควรทราบ

(People and Organization)

ชื่อ-นามสกลุ ตาแหนง่ หมายเลขโทรศัพท์

(Name – Surname) (Position) (Telephone)

หมายเลขโทรศัพท์กลุ่มจัดการศึกษา งานวิชาการ (บณั ฑติ ศกึ ษา) โทร (Tel). (043) 202319 โทรสาร (Fax). (043)

203050

รศ.ดร.กุลธดิ า ท้วมสขุ คณบดีคณะมนษุ ยศาสตรฯ์ email:[email protected]

(Assoc. Prof. Dr. Kulthida (Dean)

Tuamsuk)

ผศ.ดร.สุขุม วสุนธราโศภติ รองคณบดีฝ่ายบริหาร email:[email protected]

(Asst.Prof.Dr.Sukhum (Associate Dean for Administration)

Wasuntarasophit)

อาจารยพ์ ราวพรรณ พลบญุ -ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบรหิ าร email:[email protected]
(Prawpun Pholboon) (Assistant to the Dean for
Administration)

ผศ.ดร.อังคณา ทองพูน พฒั นศร - รองคณบดีฝา่ ยวิชาการ email:[email protected]

(Asst. Prof. Dr. Angkana (Associate Dean for Academic Affairs)

Tongpoon) - ประธานกรรมการบริหารหลักสตู รสาขาวชิ า

ภาษาศาสตรป์ ระยกุ ต์

(Head of Program Doctor of

Philosophy Program in Applied

Linguistic (International Program)

อ.ดร.รักชนก ชานาญมาก - ผชู้ ว่ ยคณบดฝี า่ ยวิชาการ (Assistant Dean email:c.rukchanok@kkumail.

(Dr.Rukchanok Chumnanmak) for Academic Affairs) com

ผศ.ดร.กรวภิ า พูลผล - รองคณบดฝี ่ายแผนและประกนั คุณภาพ email:[email protected]

(Asst.Prof.Dr.Kornwipa Poonpon) (Associate Dean for Planning and

Information)

ผศ.ดร.รัตนา จันทรเ์ ทาว์ - รองคณบดฝี ่ายวิจัยและบรกิ ารวิชาการ email:[email protected]

(Asst. Prof. Dr.Rattana (Associate Dean for Research and

Chanthao) Academic Services)

- หลกั สูตรปรญิ ญาเอกภาษาไทย

(Program Doctor of Philosophy

Program in Thai)

18 ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ผศ.เฉลมิ เกียรติ มินา - รองคณบดีฝา่ ยพฒั นานักศึกษา email:[email protected]
(Asst. Prof.Chalermkiat Mina) (Associate Dean for Student email:[email protected]
Development)
ผศ.ดร.หอมหวล บวั ระภา
(Asst.Prof.Dr.Homhuan -ผชู้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยพฒั นานกั ศกึ ษา
Buarabha) (Assistant to the Dean for Student
Development)

ผศ.ดร.สธุ ดิ า โง่นคา -รองคณบดีฝา่ ยวเิ ทศสมั พันธ์ (Associate email:[email protected]

(Asst.Prof.Dr.Sutida Ngonkum) Dean for International Affairs)

นางเพ็ญนภา วันสาสบื -เลขานุการคณะฯ email:[email protected]
(Mrs.Penapa Wansaseub)
นางสาวอนงคน์ าถ โยคุณ - หัวหน้างานวชิ าการ email:[email protected]
(Miss.Anongnath Yokun) (Chief of Academic Services) email:[email protected]
- นักวิชาการศกึ ษา (งานบัณฑิตศึกษา)
นางสกลุ รัตน์ คาพลิ ะ (Graduate Study Services Section)
(Mrs.Sakulrat Kumpila)
-นกั วชิ าการศกึ ษา (งานบณั ฑิตศึกษา)
(Graduate Study Services Section)

รศ.ดร.ดารารตั น์ เมตตาริกานนท์ -ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รสาขาวชิ า email:[email protected]

(Assoc. Prof. Dr. Dararat ลุ่มนา้ โขงศึกษา (Head of Program

Mettarikanon) Master of Asrts in Mekong Studies)

ผศ.ดร.จงรักษ์ เล้ยี งพานชิ ย์ - ประธานกรรมการบริหารหลกั สตู รสาขาวิชา email:[email protected]
Asst.Prof.Dr.Chongrak Liangpait ภาษาองั กฤษ (Head of Program Master

of Arts in English)

รศ.ดร.มาลี กาบมาลา - ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รสาขาวชิ า email:[email protected]
Assoc. Prof. Dr. Malee Kabmala สารสนเทศศาสตร์ และประธาน

กรรมการบรหิ ารหลกั สตู รสาขาวชิ า
สารสนเทศศึกษา (Head of Master
Program in Information Science and
Doctor of Philosophy Program in
Information Studies)

คู่มือปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 19

ศ.ดร.เศกสรรค์ ยงวณิชย์ ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรรัฐ email: [email protected]

Prof. Dr. Sekson Yongvanit ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต (Head of
Public Administration Department

Master of Public Administration

Program)

อ.ดร.พชั รินทร์ ลาภานนั ท์ - ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรสาขาวิชา email:[email protected]

Lecturer Dr.Patcharin Lapanun สงั คมวทิ ยา (ปรญิ ญาโท) (Head of Doctor

of Philosophy Program in Sociology)

ผศ.ดร.วิรชั วงศ์ภินันทว์ ฒั นา -ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวชิ า email: [email protected]
ภาษาไทย (Head of Program Master of
Asst.Prof.Dr. Wirat
Arts in Thai)
Wongpinunwatana

ผศ.ดร.พทุ ธรักษ์ ปราบนอก -ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชา email: [email protected]

Asst.Prof.Dr.Puttharak Prabnok ปรชั ญาและศาสนาตะวันออก (Head of

Program Master of Arts in Philosophy

in Eastern Philosophy and Religion)

ผศ.ดร.วิภาวี กฤษณะภตู ิ -ประธานกรรมการบริหารหลักสตู รสาขาวชิ า email: [email protected]

Asst.Prof.Dr.Wipawee พัฒนาสงั คม และสาขาวิชาสหวิทยาการ

Grisanaputi สังคมศาสตร์ (Head of Program Master

of Arts in Social and Development

and Master of Arts in Trans-

Disciplinary Social Sciences)

รศ.ดร.บัวพันธ์ พรหมพกั พิง -ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรสาขาวิชา email: [email protected]

Assoc. Prof. Dr. Buapun พฒั นศาสตร์ (Head of Program Doctor

Promphakping of Philosophy Program in

Development Science)

รศ.ดร.สกุ ัญญา เอมอิ่มธรรม ประธานกรรมการบรหิ ารหลักสตู รสาขาวิชา email:[email protected]

Assoc. Prof. Dr. Sukanya Aim-Im- รฐั ประศาสนศาสตร์ (Head of Doctor of

Tham Philosophy Program in Public

Administration)

ผศ.ดร.ดษุ ฎี อายวุ ฒั น์ -ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรสาขาวชิ า email:[email protected]

Assoc. Prof. Dr. Dusadee Ayuwat สังคมวทิ ยา (ปรญิ ญาเอก)

(Head of Doctor of Philosophy

Program in Sociology)

20 คู่มอื ปฐมนิเทศนกั ศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ศ.ดร.ประยงค์ แสนบุราณ -ประธานกรรมการบริหารหลักสตู รสาขาวิชา email:[email protected]
Prof.Dr.Prayong Sanburan ปรัชญาและศาสนาตะวันออก (Head of
Doctor of Philosophy Program in
Doctor of Philosophy in Eastern
Philosophy and Religion)

ค่มู ือปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 21

คณาจารยบ์ ณั ฑิตศึกษา
Lecturer

22 ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ค่มู อื ปฐมนิเทศนกั ศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 23

อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาภาษาองั กฤษ (Lecturer in English)

- หลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิตสาขาวิชาภาษาองั กฤษ
(Master of Arts Program in English)

- หลกั สตู รปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวชิ าภาษาศาสตร์ประยกุ ต์ นานาชาติ
(Doctor of Philosophy Program in Applied Linguistic (International Program)

กรวิภา พลู ผล (ผศ.ดร.) ศศ.บ. (เกยี รตินิยมอนั ดับ 1, ภาษาอังกฤษ)

Asst.Prof.Dr.Kornwipa Poonpon มหาวิทยาลัยขอนแกน่

ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยมหิดล

Cert. in TESOL, Univ. of Califonia, Riverside, U.S.A.

Ph.D. (Applied Linguistics) Northern Arizona

University, U.S.A.

จงรกั ษ์ เล้ียงพานิชย์ (ผศ.ดร.) ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษ) มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

Asst.Prof.Dr.Chongrak Liangpanit ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

ศศ.ด. (ภาษาอังกฤษศกึ ษา) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี

จอมรฐั พัฒนศร (ผศ.ดร.) ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Asst.Prof.Dr.Chomraj Patanasorn ศศ.ม. (ภาษาองั กฤษ) มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

M.A. (Teaqching English as a Second Language)

Northearn Ariaona Univeristy

Ph.D. (Applied Linguistics) Northearn Ariaona

University

พภิ าวิน ศุภวัฒน์ ศรใี คร (ผศ.) ศศ.บ.(ภาษาอังกฤษ)มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Asst.Prof.Phiphawin Suphawat Srikrai วทิ ยาเขตปตั ตานี

M.A. (Applied Linguistics) Macquarie Univ.,

Australia

Graduate Diploma (Business Systems), Royal

Melboume Institute of Technology Univ.,

Australia

ภรณี ดรี าษฎร์วิเศษ (ผศ.ดร.) ศศ.บ. (เกียรตนิ ยิ มอนั ดับ 1, ภาษาอังกฤษ)

Asst.Prof.Dr.Poranee Deerajviset มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

M.Phil. (Education) Univ. of Cambridge, UK.

Ph.D. (Education) The Univ. of Sydney, Australia.

24 คู่มอื ปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ดารารตั น์ คาภแู สน (ผศ.ดร.) ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษ)

Asst.Prof.Dr.Dararat Khampusaen มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ มหาสารคาม

ศศม. (ภาษาองั กฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ)

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Ph.D. (English Language) The University of South

Australia, Australia

สขุ มุ วสนุ ธราโศภิต (ผศ.ดร.) ศศ.บ.(เกียรตนิ ยิ มนั ดับ 2, ภาษาองั กฤษ)

Asst.Prof.Dr.Sukhum Wasuntarasobhit มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

ศศ.ม.(ภาษาองั กฤษเพอื่ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกลา้ ธนบรุ ี

ศศ.ด.(English Language Studies)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

สุธิดา โงน่ คา (ผศ.ดร.) ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษ) มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

Asst.Prof.Dr.Sutida Ngonkun M.A. (Teaching English) Indiana State Univ., U.S.A.

Ph.D. (Teaching English to Speakers of

Other Languages) Univ. of South

Australia, Australia

ศรีสอางค์ นิตวิ รคณุ าพันธุ์ (ผศ.) อ.บ. (องั กฤษ) จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย

Asst.Prof.Srisa-ang Nitivorakunapan กศ.ม. (ภาษาอังกฤษ) มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ

มหาสารคาม

ศศิกานต์ โฆษติ ตระกูล (ผศ.) กศ.บ.(เกียรตินยิ มอันดับ 1, ภาษาองั กฤษ) มหาวิทยาลัย

Asst.Prof.Sasikan Kosittrakun ศรีนครนิ ทรวิโรฒมหาสารคาม

กศ.ม.(ภาษาองั กฤษ) มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ

ประสานมิตร

อุทยั วรรณ ด่านวิวฒั น์ (ผศ.ดร.) อ.บ.(ภาษาองั กฤษ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

Asst.Prof.Dr.Uthaivan Danvivath ค.ม. (การสอนภาษาองั กฤษ) จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย

M.A.(Applied Linguistics) Victoria University of

Wellington, New Zealand

Ph.D. (Applied Linguistics) Victoria

University of Wellington, New Zealand

คู่มือปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 25

อังคณา ทองพนู พัฒนศร(ผศ.ดร.) ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Asst.Prof.Dr. Angkana Tongpoon ศศ.ม. (ภาษาองั กฤษ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Patanasorn M.A. (Teaching English as a Second Language)

เกวลนิ ปวบญุ สิริวงศ์ (อ.) North Arizona Univ., U.S.A.
Lecturer.Kewalin Pawabunsiriwon Cert. in TESOL, Univ. of California, U.S.A.
Ph.D.(Applied Linguistics) Northern Arizona
กนกพรรณ ทองปอ้ ง (อ.)
Lecturer.Kanokphan Tongpong University., U.S.A.
ศศ.บ. (เกียรตินยิ มอันดับ 1, ภาษาอังกฤษ)
นวลจนั ทร์ ประดจุ ชนม์ (อ.)
Lecturer.Nuanchan Pradutshon มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
บุษบามินตรา ฉลวยแสง (อ.ดร.)
Dr. Bussabamintra Chalauisaeng ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยขอนแกน่
ศกึ ษาตอ่ ระดับปริญญาเอก
บญั ชาการ สมเี พ็ชร ศศ.บ. (เกยี รตนิ ยิ มอันดบั 2, ภาษาองั กฤษ)
Lecturer. Banchakarn Sameephet
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษใน ฐานะภาษาต่างประเทศ)

จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ครู มหาวิทยาลยั มหามกุฏ
ราชวิทยาลยั
ศศ.บ.(ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
Grad. Dip in TESOL, Univ. of Technology,

Sydney, Australia
ศศ.บ.(ภาษาและวรรณคดอี ังกฤษ)

มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒปทุมวนั
ศศ.ม.(ภาษาศาสตร์ประยกุ ต์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

พระจอมเกลา้ ธนบุรี
MSC.(Applied Linguists University of Edinburgh,

United Kingdom
Ph.D.(Linguists and English Language) University of

Durham, United Kingdom
ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ศศ.ม. (ภาษาศาสตรป์ ระยุกต์ด้านการสอนภาษาอังกฤษ)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ศึกษาต่อระดับปรญิ ญาเอก ณ ประเทศนิวซแี ลนด์

26 ค่มู ือปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ปรดี าพร ศรสี าคร (อ.ดร) ศศ.บ.(ภาษาศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
Dr. Preedaporn Srisakorn ศศ.ม.(ภาษาศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
ปยิ ะพร ปณุ ณกะศริ ิกุล (อ.) ปร.ด. (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลยั มหิดล
Lecturer. Piyaporn Punkasirikul ศศ.บ. (เกยี รตินยิ มอนั ดับ 1, ภาษาอังกฤษ)

พีรวชิ ญ์ สทั ธรรมนุวงศ์ (อ.) มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
Lecturer. Bhirawit Satthamnuwong อ.ม. (ภาษาองั กฤษ) จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั
ลาศึกษาต่อระดับปริญญาเอก
สุบรรณ แกว้ กันยา (อ.ดร.) ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Dr. Suban Keowkanya
ศศ.ม.(ภาษาองั กฤษ) มหาวิทยาลยั ธรรรมศาสตร์
ศิรายุ โพธ์วิ ันนา (อ.) Postgraduate Dip. Course in Applied
Lecturer.Sirayu Phowanna
Linguistics, The SEAMEO
อนงคน์ าฏ นุศาสตรเ์ ลิศ (อ.) Regional Languge Center, Singapor
Lecturer. Anongnard Nusartlert กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม
อ.ม. (ภาษาองั กฤษ) จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
M.S. (Curriculum and Instruction)
University Wisconsin Madison, U.S.A.
Ph.D. (Curriculum and Instruction)
University Wisconsin Madison, U.S.A.
ศศ.บ. (เกียรตนิ ยิ มอนั ดับ 2, ภาษาองั กฤษ) Lecturer.
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
กศ.ม. (ภาษาองั กฤษ) มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
ลาศกึ ษาต่อระดับปรญิ ญาเอก
ศศ.บ. ( ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
อ.ม. (ภาษาศาสตร)์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย

ศรปี ัญญา ใจใหญ่ (ผศ.ดร.) อาจารยพ์ ิเศษ : สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ
อ.บ. (ภาษาอังกฤษ) จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั
M.Ed. (Secondary Education, TESL), University of
Alberta,Canada
Ph.D. in Education (TESL) Massey University,
New Zealand

คู่มอื ปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 27

Mr. John Charles Draper B.A.(Modern Histry) Oxford Univ., U.K.
Mr. Karl Eric Griffith M.A.(Applied Linguistics) The univ. of
Southern Queensland Australia
B.A.(Anthropology and Behavioral Science)
San Jose State Univ., U.S.A.
M.A.(International Affairs, Linguistics) Ohio Univ., U.S.A.

28 คู่มอื ปฐมนิเทศนกั ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

อาจารย์ประจาสาขาวิชาภาษาไทย (Lecturer in Thai)

- หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าไทย
(Master of Arts Program in English)

- หลักสตู รปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวิชาภาษาไทย
(Doctor of Philosophy Program in Thai)

กัลยรตั น์ อุ่นทานนท์ (ผศ.) ศศ.บ.(เกยี รตินิยมอันดับ 2, ภาษาฝร่ังเศส)
Asst.Prof. Kanyarat Unthanon
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
จักรกฤษณ์ ดวงพัตรา (รศ.ดร) ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์และภาษาเอเชียอาคเนย์)
Assoc.Prof.Dr. Jackkrit Duangpattra
มหาวิทยาลยั มหิดล
ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรอื (ผศ.ดร.) ศกึ ษาต่อระดับปริญญาเอก
Dr. Thinnawat Sroikudrua กศ.บ. (ภาษาไทย)
มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร
มารศรี สอทิพย์ (ผศ.ดร.) ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
Asst.Prof.Dr. Marasri Sorthip กศ.ม. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ

รตั นา จนั ทรเ์ ทาว์ (ผศ.ดร) ประสานมติ ร
Asst.Prof.Dr. Rattana Chanthao ปร.ด. (วิจยั ศลิ ปะและวัฒนธรรม)

มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
ศศ.บ. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพครู

มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ศศ.ม. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปร.ด. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศษ.บ. (เกยี รตนิ ิยมอันดับ 2, การสอนภาษาไทย)

มหาวิทยาลัยศิลปากร
อ.ม. (ภาษาไทย) จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั
อ.ด. (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั
ศศ.บ. (เกยี รตินิยมอันดบั 2, ภาษาไทย)

มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์และภาษาเอเชียอาคเนย์)

มหาวิทยาลัยมหิดล
ปร.ด. (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล

ค่มู อื ปฐมนิเทศนักศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 29

วาลี ขนั ธุวาร (ผศ.ดร.) ศศ.บ. (เกียรตนิ ยิ มอันดับ 2, วรรณคดีไทย)

Asst.Prof.Dr. Walee Khanthuwan มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

นศ.ม. (การหนังสือพมิ พ์) จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั

ปร.ด. (สือ่ สารมวลชน) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

วิรัช วงศภ์ ินันทว์ ัฒนา (ผศ.ดร.) กศ.บ. (ภาษาไทย) มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ

Asst.Prof.Dr. Wirat Wongpinunwatana ประสานมิตร

ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคาแหง

นศ.บ. (วทิ ยโุ ทรทัศน์) มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ค.ม. (การสอนภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

ศษ.ด. (หลกั สูตรและการสอน) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

อรทยั เพียยรุ ะ (ผศ.ดร.) ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

Asst.Prof.Dr.Orathai Piayura M.A.(English Language in Literary Studies), Univ.

of Nottingham, England

Ph.D. (Gender Studies and Thai Literature) Univ.

of London

แก้วตา จันทรานุสรณ์ (อ.ดร.) ศศ.บ. (เกยี รตินยิ มอนั ดับ 2, ภาษาไทย)

Dr. Kaewta Chantranuson มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ศศ.ม. (ไทยคดีศกึ ษา) มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ปร.ด. (ไทศึกษา) มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ศภุ กติ บัวขาว (อ.ดร.) วท.บ. (ภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ

Dr. Supakit Buakaw ปร.ด. (ภาษาศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล (โท-เอก)

อศิ เรศ ดลเพ็ญ (อ.ดร.) อ.บ. (เกียรตนิ ยิ มอันดับ 2, ภาษาไทย)

Dr. Itsarate Dolphen จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

อ.ม. (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

ปร.ด.(ภาษาศาสตร)์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล

อุมารินทร์ ตลุ ารกั ษ์ (อ.ดร.) ศศ.บ. (เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั 1, ภาษาและวรรณคดไี ทย)

Dr. Umarin Tularak มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์

อ.ม. (วรรณคดเี ปรียบเทยี บ) จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั

ปร.ด. (ไทศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

30 คู่มอื ปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าสารสนเทศและการสอื่ สาร

(Information and Communication))
- หลกั สตู รสารสนเทศศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าสารสนเทศศาสตร์

(Master Program in Information Science)
- หลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ัณฑติ สาขาวิชาสารสนเทศศกึ ษา

(Doctor of Philosophy Information Studies)

กุลธิดา ทว้ มสขุ (รศ.ดร.) อ.บ. (เกียรตนิ ยิ มอนั ดับ 1, บรรณารักษศาสตร์)
Assoc.Prof.Dr.Kulthida Tuamsuk มหาวิทยาลัยขอนแกน่

ลาปาง แม่นมาตย์ (รศ.ดร.) อ.ม. (บรรณารกั ษศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
Assoc.Prof. Dr. Lampang Manmart Dip. in Information Science, Shizuoka Univ., Japan
D.A. in Library & information Science, Simmons
มาลี กาบมาลา (รศ.ดร.)
Assoc.Prof. Dr. Malee Kabmala College, U.S.A.
อ.บ. (เกียรตนิ ยิ มอนั ดับ 2, บรรณารักษศาสตร์)
กนั ยารัตน์ เควยี เซน่ (ผศ.ดร.)
Asst.Prof.Dr. Kanyarat Kwiecien มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อ.ม. (บรรณารักษศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
M.ED. (Educational Technology) University of

Tsukuba, Japan
Ph.D. (Communication Information Studies)

Univ. of Canberra, Australia
อ.บ.(บรรณารกั ษศาสตร์) มหาวิทยาลยั ศิลปากร
ศศ.ม. (บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์)

มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร
ปร.ด. (สารสนเทศศกึ ษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ศศ.บ. (บรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารนิเทศศาสตร์)
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

อ.ม. (บรรณารกั ษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์)
จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

ค.ด. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ค่มู ือปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 31

ขนิษฐา จติ แสง (ผศ.) ว.บ. (วิทยุ-โทรทัศน)์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Asst.Prof. Khanittha Jitsaeng นศ.ม. (นเิ ทศศาสตรการพฒั นาการ)

ชมนาด บุญอารีย์ (ผศ.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
Asst.Prof. Chommanaad Boonaree ศศ.บ. (บรรณารักษศาสตร์และสารนเิ ทศศาสตร)์

ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ (ผศ.ดร) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Asst.Prof.Dr. Chollabhat Vongprasert อ.ม.(บรรณารักษศาสตร์และสารนเิ ทศศาสตร์)

ปุญณิศา วิเศษสินธุ์ (ผศ.) จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
Asst.Prof. Bhunnisa Wisassinthu อ.บ. (บรรณารักษศาสตร์) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
กศ.ม. (บรรณารักษศาสตร์) มหาวิทยาลยั
เพ็ญพันธ์ เพชรศร (ผศ.)
Asst.Prof. Penpan Pecharasorn ศรีนครินทรวโิ รฒ
จฑุ าทิพย์ ไชยกาบัง (อ.) กศ.ด. (พฒั นศึกษาศาสตร์) มหาวิทยาลยั
Lecturer. Juthatip Chaikhambung
ศรีนครินทรวิโรฒ
ศกั ดา จนั ทร์ประเสริฐ (อ.ดร.) ศศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2, การสื่อสารมวลชน)
Dr. Sakda Chanprasert มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่
ว.ม. (สอื่ สารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สมเพช็ ร จุลลาบุดดี (อ.) ศศ.บ. (บรรณารกั ษศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Lecturer. Sompejch Junlabuddee อ.ม. (บรรณารกั ษศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.บ. (สถิต)ิ มหาวิทยาลัยขอนแกน่
วท.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยี

พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ศึกษาต่อระดับปรญิ ญาเอก
ค.บ. (การบรหิ ารโรงเรยี น) วทิ ยาลยั ครเู ลย
ศศ.ม.(บรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์)

มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปร.ด. (สารสนเทศศึกษา) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
บธ.บ. (ระบบสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคล
วท.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ) มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่
ศึกษาต่อระดับปรญิ ญาเอก

32 ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

อาจารย์พิเศษ : การจัดการสารสนเทศ, สารสนเทศศึกษา

ยุพิน เตชะมณี (รศ.ดร.) กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) วิทยาลยั วชิ าการศึกษา ปทุมวัน

M.L.S.(Library Science) Queens College of the City

University of New York, U.S.A.

Ph.D. (Library Science) Texas Woman’s

University, U.S.A.

สมาน ลอยฟ้า (รศ.ดร.) กศ.บ. (ชีววทิ ยา) วิทยาลัยวิชาการ3ศกึ ษา มหาสารคาม

กศ.ม. (บรรณารกั ษศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทร

วิโรฒประสานมติ ร

Ph.D. (Continuing Education) University of North

Texas, U.S.A.

ค่มู อื ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 33

อาจารย์ประจาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)

-หลักสตู รรัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

(Public Administration Department Master of Public Administration Program)

-หลักสตู รปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์

(Doctor of Philosophy Program in Public Administration)

เศกสรรค์ ยงวณชิ ย์ (ศ.ดร.) วท.บ.(ภมู ศิ าสตร์) มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่

Assoc.Prof. Dr. Sekson Yongvanit Vor-Dip. (Geographie) Universitact zu Koeln, Germany

ประสิทธ์ิ คณุ ุรตั น์ (รศ.ดร.) Cert. in Program for Development Manager,
Assoc.Prof. Dr. Prasit Kunurat Philippines

พธิ ันดร นติ ยสุทธ์ิ (รศ.) Dr. rer. Nat (Physical Geography) Tuebingen
Assoc.Prof. Pitundorn Universitaet, Germany
Nityasuiddhi
สถาพร เรงิ ธรรม (รศ.ดร.) กศ.บ. (เกยี รตนิ ิยมอนั ดบั 2, ภมู ศิ าสตร์)
Asst.Prof.Dr. Sataporn Roengtam วิทยาลยั วชิ าการศกึ ษาประสานมิตร

สมศกั ด์ิ ศรีสนั ติสุข (รศ.ดร.) กศ.ม. (ภูมศิ าสตร์) มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ
Assoc.Prof. Dr. Somsak Srisontisuk ประสานมิตร

Cert. in Program for Development Manager,
Philippines

ปร.ด. (ไทศกึ ษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ศศ.บ.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคาแหง
M.Phil.(Development Administration) University of

Hull, England
ศึกษาต่อระดบั ปริญญาเอก
วท.บ. (บรหิ ารสาธารณสุข)มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
รป.ม. (รฐั ประศาสนศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั บรู พา
ปร.ด. (สหวิทยาการ) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ศึกษาต่อระดับปรญิ ญาเอก
สม.บ. (เกียรตนิ ิยมดี, สังคมวิทยาและมานษุ ยวิทยา)

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สค.ม. (สงั คมวทิ ยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
M.S. (Rural Sociology), Iowa State Univ., U.S.A.
Ph.D. (Sociology) Kansas State Univ., U.S.A.

34 คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

สุกญั ญา เอมอิม่ ธรรม (รศ.ดร.) ร.บ.(การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
Assoc.Prof. Dr. Sukanya M.P.A. (Public Services Administration)
Aim-Im-Tham
Central Missouri State University, U.S.A.
วยิ ทุ ธ์ จารัสพนั ธ์ุ (ผศ.ดร.) Cert. In Role of Labour Movement for National
Asst.Prof.Dr. Viyouth
Chamruspanth Development,International Institute , Israel.
NRCT-JSPS Research Fellow in “Return Migration
จกั รกฤษ กมทุ มาศ (อ.)
Lecturer. Jackrit Kamudhamas in Japan : Comparative Study with Thailand-Japan.
ชนะวิทย์ อนุสเุ รนทร์ (อ.) Ph.D. (Geography) Komazawa University , Japan.
Lecturer. Chanawit Anusuren
พรสรรค์ ปิยนันทิศักด์ิ (อ.) England
Lecturer. Pornsan Piyanantisak ร.บ.(การเมืองและการปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ร.ม.(บรหิ ารรฐั กจิ ) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รงุ่ อรณุ บญุ สายันต์ (อ.ดร.) Ph.D. in Rural Sociology, Iowa State University, U.S.A.
Dr. Rungarun Boonsayan Dip. in Rural Policy and Project Planning, Institute
อมิ รอน โสะสัน (อ.)
Lecturer. Imron Sohsan of Social Studies, The Hague, Netherlands.
ศศ.บ. (เกยี รตนิ ิยมอนั ดับ 1, รัฐประศาสนศาสตร์)

มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
ศกึ ษาต่อระดับปริญญาโท
ศศ.บ. (รัฐศาสตร)์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง
ศศ.ม. (สงั คมวิทยาการพัฒนา) มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
ศึกษาตอ่ ระดับปริญญาเอก
ร.บ. (เกียรตนิ ิยมอันดับ 1, ความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเทศ)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
M.S. (Global Studies and International Affairs)

Northeastern University, U.S.A.
ศศ.บ.(รฐั ศาสตร์) มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ

ศศ.ม.(การบริหารการพัฒนา) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง
ศศ.บ. (ภาษาอาหรับ) มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์

วทิ ยาเขตปตั ตานี
M.A.( Conflict Analysis and Management) Royal

Roads University, Canada
ศศ.ม. (สงั คมวิทยาการพัฒนา) มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

ศึกษาต่อระดับปริญญาเอก

คู่มอื ปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 35

เกรียงศกั ด์ิ เขียวยง่ิ (รศ.) อาจารย์พิเศษ : สาขาวชิ ารฐั ประศาสตร์
วท.บ.(สขุ าภิบาล) มหาวิทยาลยั มหิดล
นายใจ อึง๊ ภากรณ์ พบ.ม.(รฐั ประศาสนศาสตร์) สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์
Cert. Rural Development Management, Philippines
นายณรงค์ วงศ์บา Cert. In Regional Development Planning, Japan
ปรญิ ญาตรี สาขา ชีวเคมี University of Sussex
ร.ต.อ.ดร.นิติภมู ิ นวรตั น์ ปรญิ ญาโท สาขาส่งิ แวดลอ้ ม University of Durham
ประเทศอังกฤษ
ประยทุ ธ แสงสรุ ินทร์ ปริญญาเอก สาขาการเมืองเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ S.O.A.S.
นายปราณตี โชติกีรตเิ วช
นายไพบูลย์ วัฒนศริ ธิ รรม มหาวิทยาลยั ลอนดอน
นายวรทัศน์ ธลุ ีจนั ทร์ ปริญญาตรี(วทิ ยาศาสตร์การแพทย์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นายวิสุทธ์ิ โพธิแทน่ ปริญญาโท (สาธารณสขุ ศาสตร์ชุมชนเขตเมือง)

มหาวิทยาลยั มหดิ ล
ปริญญาเอก (บรหิ ารสาธารณสขุ ) มหาวิทยาลัยมหดิ ล
รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์การทตู )

มหาวิทยาลยั รามคาแหง
ร.ม.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ปริญญาเอก สาขาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลยั มอสโก

ประเทศสหภาพโซเวียต
พย.บ.(พยาบาล) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
ศศ.ม.(การจดั การพฒั นาชนบทมหาบณั ฑติ )

มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วทบ.(เศรษฐศาสตร์เกษตร) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
B.Sc. (Econ). University of Hull ประเทศองั กฤษ
ศศ.บ.(รฐั ศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง
ศศ.ม.(การบรหิ ารการพัฒนา) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
รฐั ศาสตรบณั ฑติ (เกียรตนิ ยิ มดี) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
M.A. in Government , Univ. of Queensland, Austratia.
Post-Graduate Diploma in International Relations and
Development (with Distinction), Institute of Social

Studies, the Netherlands.

36 ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

นายสงั ศติ พริ ยิ ะรงั สรรค์ (ผศ.ดร.) ศรษฐศาสตรบณั ฑิต (หลกั สตู รภาษาอังกฤษ)
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑติ (หลกั สตู รภาษาอังกฤษ)

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดษุ ฎีบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับ 1
คณะรฐั ศาสตร์ (สงั คมศาสตรเ์ พื่อการพัฒนา) University of

Bielefled, Germany.

นายเอกพร รกั ความสุข น.บ.(นิตศิ าสตร์) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ร.ม.(รฐั ศาสตร์) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

ศ.ดร.กนกวงษต์ ระหงา่ น Ph.D. (Political Science)

ศ.ดร.จรสั สวุ รรณมาลา Ph.D. (Public Administration)

ศ.ดร.วรเดช จันทรศร Ph.D. (Public Administration)

ศ.ดร.ศุภชยั ยาวะประภาษ Ph.D. (Public Administration)

ศ.ดร.สมบตั ิ ธารงธัญวงศ์ ปร.ด. (พัฒนบริหารศาสตร)์

ศ.ดร.สภุ างค์ จันทวานิช Ph.D. (Sociology) (U.Grenable)

ศ.ดร. Richard Pratt Ph.D. (Public Administration)

ศ.ดร.Satoh Tetsuo Ph.D. (Geography)

ศ.ดร.Satoshi Nakagawa Ph.D. (Economic)

รศ.ดร.โคริน เฟอื่ งเกษม Ph.D. (Political Science)

รศ.ดร.ดารง วัฒนา Ph.D. (Public Administration)

รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี Ph.D. in Political Science ( International Relations)

รศ.ดร.ธงชัย วงศ์ชยั สวุ รรณ Ph.D. (Social Science-Interdisciplinary)

รศ.ดร.พัชรี สิโรรส Ph.D. (Political Science in Policy Studies)

รศ.ดร.มนตรี เจนวิทยก์ าร Ph.D. (Political Science)

รศ.ดร.สุพิน เกชาคปุ ต์ Ph.D. (Government)

รศ.ดร.ธนั ยวัฒน์ รตั นสัค Ph.D. (Social Science and Policy)

ค่มู อื ปฐมนิเทศนักศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 37

อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าสังคมวทิ ยาและมานษุ ยวิทยา (Sociology and Anthropology)

-หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาสังคมวิทยา

(Master of Arts Program in Sociology)

-หลักสตู รปรัชญาดุษฎีบณั ฑิตสาขาวิชาสังคมวิทยา
(Doctor of Philosophy Program in Sociology)

ดษุ ฏี อายวุ ัฒน์ (รศ.ดร.) ศษ.บ.(คณติ ศาสตร์-ชีววิทยา) มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
Assoc.Prof.Dr. Dusadee Ayuwat ศษ.ม. (ประชากรศึกษา) มหาวทิ ยาลัยมหิดล
ปช.ด. (ประชากรศาสตร์) มหาวิทยาลยั มหดิ ล
พรอมั รินทร์ พรหมเกดิ (รศ.ดร.) น.บ. (กฎหมาย) มหาวิทยาลัยรามคาแหง
Assoc.Prof.Dr. Pornamarin Promgird สม.ม. (สังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Ph.D. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยบรหิ ารรัฐกจิ
ปิ่นปินทั ธ์ เผอื กพนั ธ์ (ผศ.) น.บ.(กฎหมาย) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
Asst. Prof.Pinpinath Phuekpan สค.ม. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม) มหาวิทยาลยั มหิดล
กรี ตพิ ร จตู ะวิรยิ ะ (ผศ.ดร.) วท.บ.(เศรษฐศาสตรก์ ารเกษตร) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
Asst. Prof.Dr.Keeratiporn Jutaviriya M.A. (Sociology) University of the Ryukyus, Japan
Ph.D. (Comparative Culture and Area Studies)
จกั รพนั ธ์ ขดั ชุ่มแสง (อ.ดร.) University of the Ryukyus, Japan
Dr.Jaggapan Cadchumsang วท.บ. (เกียรตนิ ยิ มอันดับ 2, สงั คมวิทยาและมานุษยวิทยา)

พชั รนิ ทร์ ลาภานันท์ (อ.ดร.) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่
Dr.Patcharin Lapanun สม.ม. (มานุษยวทิ ยา) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
Ph.D. (Anthropology) University of Toronto, Canada
รกั ชนก ชานาญมาก (อ.ดร.) วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
Dr.Rukchanok Chumnanmak วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
M.A. (Sociology) Univ. of Guelph, Canada

Ph.D. (Anthropology) VU University Amsterdam,
Netherlands

วท.บ. (สงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวิทยา) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่
ศศ.ม. (สงั คมวิทยาการพัฒนา) มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ M.A.
M.A. (Conflict Analysis and Management)

Royal Roads University Canada.
ปร.ด.(สงั คมวิทยา) มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

38 คู่มอื ปฐมนิเทศนักศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

สมใจ ศรหี ล้า (อ.) ศศ.บ. (บรรณารักษศาสตร์) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
Lecturer Somjai Srila มน.ม. (มานษุ ยวิทยา) จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั

คู่มือปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 39

อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าพฒั นาสังคม (Social Development)

-หลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวชิ าพัฒนาสังคม
(Master of Arts Program in Social Development)
-หลักสูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาพัฒนศาสตร์
(Doctor of Philosophy Program in Development Science)

บวั พันธ์ พรหมพกั พงิ (รศ.ดร.) ศศ.บ. (รฐั ศาสตร์) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่

Assoc.Prof.Dr Buapun Promphakping พบ.ม. (พัฒนาสงั คม) สถาบนั บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์

M.A. (Gender and Development) University of

Sussex , England.

Ph.D.(Development Studies) University of Bath, England.

วิภาวี กฤษณะภูติ (ผศ.ดร.) ศศ.บ.(ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

Asst. Prof.Dr.Wipawee Grisanaputi สส.ม.(สวัสดิการแรงงาน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

M.A. (Urban and Reginnal Planning) Verginia Polytechnic

Institute and State University

Ph.D.(Environmental Design and Planning) Verginia

Polytechnic Institute and State University, U.S.A.

ธนพฤกษ์ ชามะรตั น์ (ผศ.ดร.) คอ.บ.(วิศวกรรมโยธา) เทศโนโลยรี าชมงคล

Dr.Thanapauge Chamaratana ศศ.ม.(รัฐศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง

ปร.ด.(สงั คมวิทยา) มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

ศิลปกจิ ตีข่ นั ตกิ ลุ (ผศ.ดร.) ศศ.บ. (การพัฒนาชมุ ชน) มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

Dr.Silapakit Teekantikun สม.ม. (มานุษยวทิ ยา) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

Ph.D. (Ethnology) Vietnam National University-Hanoi,

Vietnam

กนษิ ฐา แยม้ โพธใิ์ ช้ (อ.ดร.) ศศ.บ. (พัฒนาสงั คม)

ศศ.ม. (พัฒนาสงั คม)

ปร.ด. (การบริหารการพัฒนาสงั คม)

มานะ นาคา (อ.ดร.) ศศ.บ.(ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ

Lecturer Mana Nakham ศศ.ม.(สังคมวิทยาการพัฒนา) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

สมพันธ์ เตชะอธิก (อ.ดร.) ศศ.บ.(สังคมศึกษา) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่

Dr.Somphant Techaatik พบ.ม.(พัฒนาสงั คม) สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ศศ.ด. (พัฒนาสงั คม) มหาวิทยาลัยนเรศวร

40 คู่มือปฐมนิเทศนกั ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ทนงศกั ด์ิ คุ้มไขน่ ้า (ผศ.ดร.) อาจารย์พเิ ศษ : สาขาวิชาพัฒนาสังคม
กศ.บ. (สงั คมศกึ ษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ บางแสน
วไิ ลวจั ส์ กฤษณะภูติ (รศ.) ศศ.บ. (รฐั ศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคาแหง
นายบณั ฑร ออ่ นดา กศ.ม. (บริหารการศึกษา) มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร
กศ.ด. (บริหารการศึกษา) มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทร
วิโรฒประสานมิตร
Cert.in Program for Development Manager ,University

of the Philippines
ร.บ.(การบรหิ าร) จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั
สส.บ. มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
สค.ม. (สังคมศาสตร์) จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั
รบ.(การปกครอง) จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั
Ms.(Rural Sociology) Cornell University, Usa.

คู่มือปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 41

อาจารย์ประจาสาขาวชิ าปรชั ญาและศาสนา (Philosophy and Religion)

-หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาปรชั ญา
(Master of Arts Program in Philosophy)
-หลักสตู รปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาปรชั ญาและศาสนาตะวนั ออก
(Doctor of Philosophy Program in Doctor of Philosophy in Eastern Philosophy and
Religion)

ประยงค์ แสนบุราณ (ศ.ดร.) ป.ธ.5, พ.ม.,ศน.บ. (ปรชั ญาและศาสนาตะวันออก)
Prof.Dr.Prayong Sanburan มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั

เอกศกั ด์ิ ยุกตะนันทน์ (รศ.) MA (W Phil) Banaras Hindu University India
Assoc.Prof. Aksak Yooktanan PhD (Philosophy) Magadh University, India
คาแหง วสิ ุทธางกรู (ผศ.ดร.) ค.บ. (เกยี รตนิ ิยมอันดบั 2,ดนตรี) จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย
Asst. Prof.Dr.Khamhaeng อ.ม.(ปรชั ญา) จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย
Visuddhangkoon ป.ธ.6,พธ.บ.(เกียรติยมอนั ดับ 2,ปรชั ญา)มหาจุฬาลงกรณร์ าชวิทยาลัย
พุทธรักษ์ ปราบนอก (ผศ.ดร.) M.A. (Philosophy) University of Pune
Asst.Prof.Dr.Puttharak Prabnok Ph.D. (Philosophy) University of Pune
ป.ธ.9 (บาลแี ละสนั สกฤต) สานกั เรียนคณะจงั หวดั
หอมหวล บวั ระภา (ผศ.ดร.) ศศ.บ. (มัธยมศึกษา) มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
Asst.Prof.Dr.Homhuan Buarapha ศศ.ม. (ปรัชญา) มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
ศศ.ม. (ภาษาสนั สกฤต) มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
อัครยา สงั ขจันทร์ (ผศ.) ศศ.ด. (ภาษาสันสกฤต) มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
Asst.Prof.Akaraya Sangkachan ป.ธ.4, พ.ม., ศน.บ. (ปรชั ญา) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
กรรณกิ า คาดี (อ.ดร.) M.A. (Philosophy) Kurukshetra Univ., India
Dr.Khanika Kamdee Ph.D. (Philosophy) Kurukshetra Univ., India
ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษ) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
อุดม บัวศรี (รศ.) อ.ม. (ปรัชญา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

ค.บ. (สงั คมศกึ ษา) มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
M.S. (Guidance and Counseling) De La Salle

University, Philippines
Ph.D. (Philosophy) Magadh University, India
อาจารย์พเิ ศษ : สาขาวิชาปรัชญา
พธ.บ.(พทุ ธศาสตร์) มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลยั
M.A.(Philosophy) V. Santinketon, India

42 ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนักศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาอาณาบรเิ วณศกึ ษา (Area Studies)
- หลกั สตู รศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาลุ่มน้าโขงศกึ ษา
(Master of Arts Program in Mekong Studies)

ดารารตั น์ เมตตาริกานนท์ (รศ.ดร.) ศศ.บ. (ประวตั ศิ าสตร์) มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ บางแสน
Assoc. Prof. Dr.Dararat Mettarikanon อ.ม. (ประวัตศิ าสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อ.ด.(ประวัตศิ าสตร์) จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย
ชลิต ชัยครรชิต (ผศ.)
Asst.Prof.Chalit Chaikanchit ศศ.บ.(โบราณคดี) มหาวิทยาลยั ศิลปากร
ธนนันท์ บนุ่ วรรณา (ผศ.ดร.) ศศ.ม.(มานษุ ยวิทยา) มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
Asst.Prof.Dr.Thananan Boonwanna ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
อ.ม. (ประวตั ิศาสตร์) จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
เบญจวรรณ นาราสัจจ์ (อ.ดร.) Ph.D. (History of Vietnam) The Social Sciences
Dr.Benjawan Narasat
and Humanity Hochiminh City,
เวยี งคา ชวนอุดม (อ.ดร.) ศศ.บ. (การพัฒนาชมุ ชน) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Dr.Wiangkum Choun-u-dom สม.ม. (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปร.ด. (สหวทิ ยาการ) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
จิราธร ชาติศิริ (อ.ดร.) ศศ.บ.(โบราณคดี) มหาวิทยาลยั ศิลปากร
ศศ.ม.(โบราณคดสี มยั ก่อนประวัติศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
Ph.D. (Archaeology) Deccan College Post-

Graduate and Research Institute, Pune, India

ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 1

จานวนนกั ศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษาทง้ั หมด

(Graduate Students All)

สารวจ ณ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 (July 2018)

ระดบั ปรญิ ญาโท (Master’s Degree)

สาขาวิชา นักศกึ ษาปจั จบุ นั จบการศกึ ษา

Program Current Graduate

Students

1. สังคมวิทยาการพัฒนา (เดมิ ) ปรับปรุงเปน็ สังคมวิทยา 11 275

(Sociology)

- ภาคปกติ (11) (161)

- ภาคพิเศษ - (114)

2. บรรณารกั ษศาสตร์และสารนเิ ทศศาสตร์, บรรณารกั ษศาสตร์ - 165

และสารสนเทศศาสตร,์ ปรบั ปรุงเปน็ การจัดการสารสนเทศ

(Information Management) และปรบั ปรงุ เปน็ หลักสตู ร 12 100

สารสนเทศศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าสารสนเทศศาสตร์

(Information Science)

- ภาคปกติ 11

- ภาคพเิ ศษ - (16)

- โครงการพิเศษ (11) (83)

3. การบริหารการพัฒนา (Development Administration) 0 382

(ปดิ หลกั สูตร ปี พ.ศ.2560)

- ภาคปกติ (0) (68)

- ภาคพเิ ศษ - (238)

-โครงการพเิ ศษ (0) (76)

สาขาวชิ า นักศึกษาปจั จุบนั สาเร็จ

2 คู่มอื ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

Program Current การศกึ ษา
Students Graduate
4. พัฒนาสงั คม (Social Development)
-ภาคปกติ 26 330
- ภาคพเิ ศษ (26) (45)
- โครงการพิเศษ - (247)
- (38)
5. ภาษาอังกฤษ (English) 56 210
- ภาคปกติ (34) (71)
- ภาคพเิ ศษ - 99
- โครงการพเิ ศษ (22) (33)
- โครงการพเิ ศษ ระบบชุดวชิ า - (7)
- 70
6.ปรชั ญา (Philosophy) - (43)
- ภาคปกติ - (27)
- ภาคพิเศษ - 63

7. การบรหิ ารอตุ สาหกรรมและวสิ าหกจิ (Industrial and - (3)
Enterprising Administration) (ปิดหลักสตู ร ปี พ.ศ.2560) (6)
- (54)
- ภาคปกติ 9 17
- ภาคพเิ ศษ (9) (17)
- โครงการพเิ ศษ 24 77
8. ล่มุ นา้ โขงศึกษา (Mekong Studies) (24) (77)
- ภาคปกติ 17 1
9. ภาษาไทย (Thai) (17) (1)
- โครงการพเิ ศษ 165 1,803
10. รฐั ประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
- โครงการพเิ ศษ

รวม (Total)

ค่มู อื ปฐมนิเทศนักศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 3

ระดบั ปริญญาเอก (Doctoral Degree)

สาขาวิชา นักศึกษาปจั จุบนั จบการศึกษา
Graduate
Program Current Students
64
1.พฒั นศาสตร์ (Development Science) 18 (12)
(52)
- ภาคปกติ (18) 2

- โครงการพิเศษ (0) (1)
(1)
2. พฒั นศาสตร์ (นานาชาติ) (Development - 68
(24)
Science (International Program)) (44)
24
- ภาคปกติ - (12)
(8)
- โครงการพิเศษ - (4)
-
3. สารสนเทศศึกษา (Information Studies) 28
-
- ภาคพิเศษ -
1
- โครงการพเิ ศษ (28) (1)
-
4. สงั คมวิทยา (Sociology) 13
-
- ภาคปกติ (13) -
-
- ภาคพเิ ศษ - 159

- โครงการพเิ ศษ -

5. รัฐประศาสนศาสตร์ 26

(Public Administration)

- ภาคปกติ (10)

- โครงการพเิ ศษ (16)

6. ปรชั ญาและศาสนาตะวนั ออก 15

- โครงการพิเศษ (15)

7. ภาษาศาสตรป์ ระยุกต์ (Applied 18

Linguistics (International Program))

- ภาคปกติ (18)

8. ภาษาไทย (Thai) 5

- โครงการพเิ ศษ (5)

รวม (Total) 123

4 คู่มือปฐมนเิ ทศนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

นกั ศึกษาเกา่ (Current Students) จานวน (Amount) 288 คน (Students)

นักศึกษาใหม่ (New Students) จานวน (Amount) 35 คน (Students)

รวมนักศกึ ษาทั้งหมด (Total Students) จานวน (Amount) 323 คน (Students)

คู่มือปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 47

REGISTRATION AND EENROLLMENT

สานกั บริหารและพฒั นาวิชาการ

(BUREAU OF ACADEMIC ADMINISTRATION AND

DEVELOPMENT, KHON KAEN UNIVERSITY)

 ระบบบรกิ ารการศึกษา (E-REGISTER)
 ประเมินการเรยี นการสอนออนไลน์ (ONLINE EVALUATION)

http://reg.kku.ac.th/


Click to View FlipBook Version