The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ระดับบัณฑิตศึกษา ปีกาณศึกษา 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chinathip, 2022-04-04 00:42:30

คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ระดับบัณฑิตศึกษา ปีกาณศึกษา 2562

คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ระดับบัณฑิตศึกษา ปีกาณศึกษา 2562

98 ค่มู อื ปฐมนิเทศนกั ศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

2.1.5 องค์ความรู้ใหมห่ รือนวตั กรรมทจ่ี ะเกิดจากการวจิ ัย
2.1.6 เอกสารอ้างอิง
3. การเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธก์ ารดาเนินการเกยี่ วกบั การเสนอเค้าโครงวทิ ยานพิ นธ์
(Thesis proposal) มขี ้ันตอนดงั นี้
3.1 นักศึกษาท่ีมีอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์และได้ลงทะเบียนรายวิชา
วิทยานพิ นธแ์ ล้ว ตอ้ งดาเนนิ การพัฒนาเค้าโครงวทิ ยานิพนธต์ ามกรอบแนวคดิ ที่ไดน้ าเสนอ หรือ
อาจมีการเปลี่ยนแปลง/ปรบั ปรงุ ก็ได้ ภายใตค้ าแนะนาของอาจารย์ทปี่ รึกษาวทิ ยานิพนธ์
3.2 นักศึกษาแต่ละคน จะต้องนาเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์แบบปากเปล่า ใน
การสัมมนาวิทยานิพนธ์ของหลักสูตร พร้อมเอกสารท่ีมีรายละเอียดตามหัวข้อ 3.2.1-3.2.3
ตามวันเวลาที่กาหนด และตอบข้อซักถาม พร้อมรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของคณะ
กรรมการบริหารหลกั สูตร อาจารย์ประจาหลักสตู รและผู้ทรงคณุ วฒุ ไิ ด้รับเชิญเข้ารว่ มการสัมมนา
เคา้ โครงวทิ ยานิพนธท์ เี่ สนอในการสมั มนาประกอบด้วยหัวขอ้
3.2.1 ท่ีมาและความสาคัญของปัญหา คาถามการวิจัย วัตถุประสงค์
ขอบเขตการวิจยั ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั นยิ ามศัพทท์ ี่เกีย่ วข้อง
3.2.2 ทฤษฎีและแนวคิดทเ่ี กีย่ วขอ้ ง กรอบแนวคิดการวจิ ยั
3.2.3 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั
3.3 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจะประเมินเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์ของ
นกั ศึกษา ตามแนวทางดังนี้
3.3.1 หากเค้าโครงวิทยานิพนธ์มีความถูกต้องและชัดเจนตามหลักวิชาการ
(ประเด็นปัญหาการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย และวิธีวิจัยท่ีนาเสนอมีความสอดคล้อง
เชื่อมโยงกันอย่างถูกต้องเหมาะสมตามหลักวิธีการวิจัยและหลักวิชาการ มีประโยชน์ต่อการ
พฒั นาวิชาการหรอื การนาไปใช้) ถือว่านักศึกษาผ่านการนาเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์ท่ีสมบูรณ์
ตามองค์ประกอบของเค้าโครงวิทยานิพนธ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด ภายใต้คาแนะนาของ
อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาวิทยานพิ นธ์
3.3.2 หากเค้าโครงวิทยานิพนธ์ยังขาดความถูกต้องและชัดเจนตามหลัก
วิชาการ(ประเด็นปัญหาการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย และวิธีวิจัยที่นาเสนอยังมีข้อบกพร่อง
หรือไม่ชัดเจน) ถือว่านักศึกษายังไม่ผ่านการเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์ด้วยปากเปล่า จะต้อง
เสนอใหม่ในการสัมมนาวิทยานิพนธ์ของหลักสูตรคร้ังต่อไป จนกว่าจะผ่าน จึงจะดาเนินการตาม
ข้อ 3.3.1 ได้

คู่มอื ปฐมนเิ ทศนักศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 99

3.4 เมื่อนักศึกษาจัดทาเค้าโครงวิทยานิพนธ์และได้ผ่านความเห็นชอบของ
อาจารย์ที่ปรึกษาเรียบร้อยแล้วหลักสูตรจะส่งเอกสารเค้าโครงวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาให้
ผทู้ รงคณุ วุฒิหรือผเู้ ช่ียวชาญภายนอกพจิ ารณาตรวจอา่ นและใหข้ ้อเสนอแนะ

3.5 นักศึกษาปรับปรุงแก้ไขเค้าโครงวิทยานิพนธ์ตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิหรือ
ผู้เช่ียวชาญภายนอกเสนอภายใต้คาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา และดาเนินการตามขั้นตอน
เพอื่ ขออนุมตั ิเค้าโครงวทิ ยานพิ นธต์ อ่ คณะและบณั ฑิตวทิ ยาลยั

3.6 นักศึกษาท่ีสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ผ่านแล้วเท่านั้น
จงึ จะสามารถดาเนนิ การเพ่อื ขออนมุ ตั ิเคา้ โครงวทิ ยานิพนธต์ ่อคณะและบณั ฑติ วิทยาลยั

4. การรายงานความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธก์ ารดาเนนิ การเกยี่ วกับการรายงาน
ความกา้ วหนา้ ในการทาวทิ ยานิพนธ์ (Thesis progress report) มขี ้นั ตอนดังนี้

4.1 นักศึกษาจะต้องรายงานความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์ เสนอต่อ
อาจารยท์ ่ปี รึกษาวทิ ยานิพนธ์ ตามแบบฟอร์มท่ีหลักสูตรกาหนด โดยต้องส่งรายงานในสัปดาห์
สดุ ทา้ ยของแตล่ ะภาคการศึกษา หรอื วนั เวลาทีห่ ลักสตู รกาหนด

4.2 เมอื่ นกั ศึกษาดาเนินการวิจัยและได้รับการประเมินความก้าวหน้าในการวิจัย
ให้ได้ S จานวนถงึ 27 หน่วยกติ แลว้ นกั ศึกษาจะตอ้ งนาเสนอรายงานความก้าวหน้าของการวิจัย
แบบปากเปล่า โดยใหส้ รุปผลของการวิจัยจากการวิเคราะห์ข้อมูลในการสัมมนาวิทยานิพนธ์ของ
หลักสูตร ตามวันเวลาท่ีกาหนด และตอบข้อซักถาม พร้อมรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร อาจารย์ประจาหลักสูตร ผู้ทรงคุณวุฒิท่ีได้รับเชิญเข้าร่วม
การสมั มนา และผ้สู นใจทวั่ ไป

5. การสอบวิทยานพิ นธ์
การดาเนินการเกย่ี วกบั การสอบวทิ ยานพิ นธ์ ให้เปน็ ไปตามระเบยี บและประกาศ

ของมหาวิทยาลัยและบณั ฑิตวทิ ยาลยั
6. การเผยแพรผ่ ลงานวิทยานิพนธ์ ตามเงือ่ นไขของการสาเร็จการศึกษา
6.1 นกั ศกึ ษาทเี่ ขา้ ศกึ ษาก่อน ปีการศกึ ษา 2548 ใหด้ าเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี
6.1.1 นักศึกษาที่มีแผนการเรียนแบบ 1(2) จะต้องดาเนินการให้ผลงาน

วิทยานิพนธ์หรือบางส่วนของผลงานวิทยานิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์หรือยอมรับให้ตีพิมพ์ใน
วารสารวิชาการหรือนาเสนอในการประชุมวิชาการที่เป็นท่ียอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1
เรื่อง และได้รับการตีพิมพ์หรือยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติอย่างน้อย 1
เรอื่ ง

100 ค่มู ือปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

6.1.2 นักศึกษาท่ีมีแผนการเรียนแบบ 2(2) จะต้องดาเนินการให้ผลงาน
วิทยานิพนธ์หรือบางส่วนของผลงานวิทยานิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์หรือยอมรับให้ตีพิมพ์ใน
วารสารวชิ าการหรอื นาเสนอในการประชุมวชิ าการทีเ่ ป็นทีย่ อมรับในสาขาวชิ า อย่างนอ้ ย 1 เรอื่ ง

6.2 นักศึกษาท่เี ขา้ ศึกษาตงั้ แต่ ปกี ารศึกษา 2548 เป็นตน้ ไป ใหด้ าเนนิ การ
ดงั ตอ่ ไปน้ี

6.2.1 นักศึกษาท่ีเรียน แผนการเรียน แบบ 1.1 จะต้องดาเนินการให้ผล
งานวทิ ยานิพนธ์หรอื บางส่วนของผลงานวทิ ยานิพนธ์ไดร้ ับการตีพมิ พ์หรือหรือยอมรับให้ตีพิมพ์ใน
วารสารวิชาการหรือนาเสนอในการประชุมวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1
เรื่อง และได้รับการตีพิมพ์หรือยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์วิชาการท่ีมีกรรมการ
ภายนอกร่วมกลน่ั กรอง (Peer review) ก่อนการตีพมิ พ์ ระดับนานาชาติ อยา่ งนอ้ ย 1 เร่ือง

6.2.2 นกั ศกึ ษาท่เี รยี น แผนการเรยี น แบบ 1.2 ผลงานวิทยานิพนธ์จะตอ้ ง
ได้รบั การตีพิมพ์หรืออย่างน้อยดาเนินการให้ผลงานหรือส่วนหน่ึงของผลงานให้ยอมรับให้ตีพิมพ์
ในวารสารหรือส่งิ พิมพ์ทางวิชาการทม่ี ีกรรมการภายนอกร่วมกลนั่ กรอง (Peer review) ก่อนการ
ตีพิมพ์ และเปน็ ที่ยอมรบั ในสาขาวชิ า อยา่ งนอ้ ย 1 เรอ่ื ง

7. การประเมินผลวิทยานิพนธ์
การประเมนิ ผลรายวิชาวิทยานิพนธ์ของนกั ศกึ ษา ใหด้ าเนนิ การดงั นี้
7.1 การประเมินความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา ให้อาจารย์ท่ี

ปรึกษาประเมินความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา โดยพิจารณาจากรายงาน
ความกา้ วหน้าท่ีนักศึกษาเสนอและจากผลงานท่ีประเมินได้ตามความเป็นจริงและมีหลักฐานเชิง
ประจกั ษ์ โดยประเมินใหไ้ ด้สญั ลักษณ์ S ตามจานวนหน่วยกติ ทผ่ี ลงานผา่ นการประเมิน ท้ังนี้ให้
เป็นไปตามเกณฑ์การประเมินวิทยานิพนธ์ท่ีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรกาหนดในข้อ 8 ของ
ประกาศน้ี

7.2 นักศึกษาที่ยังสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying examination) ไม่ผ่าน จะไม่
สามารถประเมนิ ใหไ้ ดส้ ัญลกั ษณ์ S เกนิ 9 หน่วยกติ

7.3 การประเมินผลการสอบวทิ ยานพิ นธ์ ให้เป็นไปตามระเบยี บและประกาศของ
มหาวทิ ยาลยั และบัณฑิตวทิ ยาลยั

ค่มู อื ปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 101

เกณฑก์ ารประเมนิ วทิ ยานพิ นธ์ เกณฑ์การประเมินวทิ ยานิพนธ์ มดี ังนี้

กิจกรรมการประเมนิ หน่วยกิตท่ไี ด้

แบบ แบบ

1(2) 2(2)

1. นักศึกษาค้นคว้าเอกสารจนสามารถเขียนเอกสารนาเสนอกรอบ 3 3

แนวคิดหรือ Concept paper ได้รับการยอมรับจากอาจารย์ที่

ปรึกษาและนาเสนอในการสัมมนากรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์ของ

หลักสูตร และการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิภายในคณะและ

กรรมการบรหิ ารหลักสูตรเห็นควรใหเ้ สนอเป็นวิทยานิพนธ์ได้

2. การพัฒนากรอบแนวคิดจนเป็นเค้าโครงวิทยานิพนธ์และสามารถ 3 3

จดั ทาร่างของเค้าโครงวทิ ยานิพนธแ์ ละสามารถจดั ทาร่างของเค้าโครง

วิทยานิพนธ์ (ตามหัวข้อในข้อ 3.2.1-3.2.3) โดยให้อาจารย์ท่ีปรึกษา

ควบคุม ตรวจและให้ความเห็นชอบ เพื่อนาเสนอ ในการสัมมนา

วิทย านิ พนธ์ข อง หลัก สูตรแ ละ ผ่านก ารประ เมินจ าก คณ ะ

กรรมการบริหารหลักสูตร

3. การแกไ้ ขเค้าโครงวทิ ยานพิ นธท์ ส่ี มบูรณไ์ ด้รับการยอมรับจากอาจารย์ 3 3

ที่ปรึกษาและผ่านการประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้เช่ียวชาญ

ภายนอก

4. นกั ศกึ ษาสามารถแก้ไขเคา้ โครงวิทยานิพนธต์ ามที่ผทู้ รงคณุ วุฒิ/ 33

ผู้เชี่ยวชาญเสนอและสามารถเสนอขออนมุ ัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ต่อ

บัณฑิตวทิ ยาลัยได้

5. นักศึกษาสามารถวางแผนการวจิ ยั ออกแบบการวจิ ัย เลือกกลุม่ 6 6

ตัวอยา่ ง สร้างเครื่องมือการเกบ็ รวบรวมข้อมูล และทดสอบเครือ่ งมอื

แล้วเสร็จ พร้อมจะดาเนินการเก็บขอ้ มลู

6. นักศกึ ษาสามารถรวบรวมเก็บรวบรวมขอ้ มลู ได้ทง้ั หมด 33

7. วเิ คราะหข์ ้อมูลเสร็จส้นิ พรอ้ มท้ังสรุปการวิเคราะห์ข้อมลู ได้ 33

8. นักศกึ ษาสามารถนาเสนอผลการศกึ ษาตอ่ อาจารย์ท่ีปรึกษา 33

หน่วยกติ ที่ได้

แบบ แบบ

กิจกรรมการประเมนิ 1(2) 2(2)

102 ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

9. นาเสนอผลการศกึ ษาในการสมั มนาวิทยานิพนธ์ของหลักสตู ร 62

นกั ศกึ ษาแก้ไขปรับปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะจากการนาเสนอ ในการ

สมั มนาวิทยานิพนธข์ องหลักสูตร และสามารถเขียนรายงานผล

การศึกษา สรปุ อภิปรายผลและจัดทาวทิ ยานิพนธฉ์ บับรา่ ง ส่งให้

อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาตรวจแกไ้ ข

10. สามารถนาเสนอผลงานบางส่วนในที่ประชมุ ทางวิชาการหรอื ตีพิมพ์

ในวารสารท่เี ป็นที่ยอมรับในวงวชิ าชีพได้ 32

11. แก้ไขร่างวทิ ยานิพนธ์ตามข้อเสนอแนะของอาจารยท์ ี่ปรกึ ษาและ 63

จดั ทารายงานผลการศึกษาค้นควา้ เป็นวทิ ยานพิ นธฉ์ บับสมบูรณ์

พรอ้ มท่ีจะนาเสนอต่อกรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์

12. ผลวจิ ัยท่ีเป็นวิทยานพิ นธ์ไดร้ บั การตีพิมพ์ / ยอมรับให้ตีพมิ พ์ใน 5-

วารสารระดบั นานาชาติ

13. ทาเรอื่ งขอ้ สอบวิทยานิพนธ์ 11

14. สอบวทิ ยานพิ นธ์

15. แก้ไขวทิ ยานิพนธแ์ ละจดั ทาฉบับสมบูรณพ์ ร้อมสง่

แนวปฏิบัติใดๆ ที่ไม่ปรากฏในระเบียบนี้ ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับ /2544 เรื่องหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทา

วิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ หรือเป็นไปตามประกา ศบัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ทป่ี รับปรุงใหม่

ประกาศมา ณ วนั ท่ี ตุลาคม 2548

(ลงชื่อ) พีรสิทธิ์ คานวณศลิ ป์
(รองศาสตราจารยพ์ รี สทิ ธิ์ คานวณศลิ ป)์

คณบดี

ค่มู ือปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 103

แบบรายงานความกา้ วหนา้ และประเมนิ ผลวิทยานพิ นธ์
ของนักศกึ ษาปรญิ ญาเอกคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

ส่วนท่ี 1 : ขอ้ มูลเกี่ยวกับนักศกึ ษาและวิทยานิพนธ์

ส่วนท่ี 1.1 ข้อมลู เกี่ยวกบั นกั ศึกษา

1. ชือ่ -สกุล

2. รหสั /ช้ันปี รหัส.................................. ชัน้ ปี

...................

3. ปที ่ีเข้าศกึ ษา

4. ที่อยทู่ ีต่ ิดตอ่ ได้

โทรศพั ท์/Email โทรศพั ท.์ ....................... E-mail………………

5. การสอบวดั คณุ สมบตั ิ สอบวดั คณุ สมบตั ผิ า่ นแลว้ เมอ่ื วนั /

(Qualifying examination) เดือน/ป.ี ..............

ยังไมส่ อบ สอบไม่ผา่ น

6.การลาพักการศึกษา หรอื ไปทาวจิ ัย

ตา่ งประเทศ (โปรดระบกุ ิจกรรมและ

ช่วงเวลา)

สว่ นที่ 1.2 ข้อมลู เกย่ี วกบั การทาวทิ ยานิพนธ์

7.ชอ่ื วิทยานพิ นธ์ (ในกรณีทชี่ ือ่ เรื่องยงั

ไมแ่ น่นอน ใหก้ รอกหวั ขอ้ หรือเร่อื งท่ี

กาลงั ศึกษาและคาดวา่ จะทาเปน็

วิทยานิพนธ)์

8. อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา 1. อาจารยท์ ป่ี รึกษา

.....................................

2. อาจารย์ที่ปรึกษารว่ ม..............................

3. อาจารย์ทีป่ รึกษารว่ ม..............................

4. อาจารยท์ ี่ปรึกษาร่วม..............................

9. แผนการดาเนินการวิจยั ตลอดจน (กจิ กรรมการวจิ ยั อาจระบุตามหัวขอ้ ดัง

สาเรจ็ การศึกา(ใหร้ ะบกุ ิจกรรมการ กาหนดไว้ขา้ งลา่ ง แต่ในรายละเอยี ดนกั ศกึ า

วิจยั ระยะเวลา และวันเวลา) โดย สามารถกาหนดใหแ้ ตกตา่ งไปจากนีไ้ ดข้ นึ้ อยู่

104 คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

แยกเปน็ เอกสารแผนการดาเนินการ กบั ลักษณะงานวิจยั ของตนเอง)

วิจยั แนบมากบั แบบฟอรม์ น้ี 1.การศึกษาและพัฒนาเคา้ โครงการวิจัย

(ศกึ ษาเอกสารงานวิจยั และทฤษฎที ี่

เกยี่ วข้อง พัฒนาแนวกรอบความคดิ

นาเสนอกรอบแนวคดิ ในการสมั มนา พฒั นา

เคา้ โครงการวิจยั นาเสนอเคา้ โครงการวิจยั

ในการสมั มนา สง่ เค้าโครงให้ผเู้ ช่ียวชาญอา่ น

ขออนมุ ัติเคา้ โครงต่อบณั ฑติ วิทยาลัย

2. การสรา้ งเครอื่ งมอื หรอื การกาหนด

แนวทางในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

3.การเก็บรวบรวมข้อมูล (Field research)

4. การวเิ คราะห์สังเคราะหข์ อ้ มูล

5. การสรปุ ผลการวิจัย อภิปรายผล และ

เขียนรายงานวิทยานิพนธฉ์ บับรา่ ง

6. เขยี นบทความเพอ่ื เผยแพร่ผลงานวิจยั

7. เขยี นรายงานวิทยานพิ นธ์ฉบับสมบรู ณ์

8. สอบวิทยานิพนธ์

9. แก้ไขวิทยานพิ นธ์และสง่ บณั ฑติ วิทยาลยั

10. การนาเสนอกรอบแนวความคดิ ผ่านแล้ว เม่อื วันที่

ของการวิจยั ในการสมั มนาและผา่ น ...............................

ประเมินกรอบแนวคดิ ของเรอ่ื งท่ีจะทา ยังไม่เคยนาเสนอ/ไมผ่ า่ น

วิทยานิพนธ์ของภาควิชา

11. การนาเสนอเคา้ โครงวิทยานิพนธื นาเสนอแลว้ เมื่อวนั ที่

ในการสัมมนาเค้าโครงวทิ ยานิพนธ์ .........................

ของภาควชิ า ยงั ไมเ่ คยนาเสนอ

12. เคา้ โครงวทิ ยานิพนธ์ผา่ นการ ผ่านแล้ว เม่อื วันที่

ประเมินของผเู้ ชี่ยวชาญ ..............................

ยงั ไม่สง่ ผู้เชี่ยวชาญ

13. เสนอขออนุมตั ิเคา้ โครง เสนอ เม่ือวันท่ี

วทิ ยานพิ นธต์ อ่ บัณฑิตวทิ ยาลัย ......................................

ยงั ไม่เสนอ

ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 105

สว่ นท่ี 2 : รายงานความกา้ วหน้าของวิทยานิพนธ์โดยนกั ศกึ ษา

ภาคการศึกษา/ปกี ารศึกษา

หัวข้อรายงานและรายละเอยี ดของความก้าวหนา้ โดยนักศึกษา
1. ให้สรุปส้ันๆประมาณ 10-15 บรรทัดเกยี่ วกับความกา้ วหน้าโดยภาพรวมของงานวิจยั

2. ให้เขียนรายละเอยี ดของงานที่ทาในภาคการศกึ ษานี้
2.1 ให้ระบุกิจกรรมการวจิ ยั ท่ที าในภาคการศึกษานรี้ วมท้งั การเขา้ พบอาจารย์ท่ปี รึกษา

2.2 ให้ระบวุ ่างานทีส่ าเรจ็ อย่างเปน็ รูปธรรมของภาคการศกึ ษาน้คี อื อะไรบ้าง

3.การนาเสนอผลการวิจัยหรอื บางสว่ นงานวิจยั ในการสมั มนาทางวชิ าการหรอื ตีพิมพ์เป็น
บทความในวารสารทางวชิ าการโปรดระบุ (เขยี นในรปู บรรณานุกรม) และแนบเอกสารมา
ด้วย

4. ใหร้ ะบปุ ัญหาและอุปสรรคในการทาวจิ ัย

5. แผนงานทจ่ี ะทาในภาคการศกึ ษาตอ่ ไป

6. ให้นกั ศกึ ษาประเมินตนเองในการทาวทิ ยานพิ นธ์ความก้าวหน้าของการทาวิทยานิพนธ์

6.1 ทา่ นได้ดาเนินการทาวิทยานิพนธ์เปน็ ไปตามวางแผนทว่ี างไว้
ทาไดม้ ากกวา่ แผนท่ีวางไว้
เป็นไปตามแผนที่วางไว้
เป็นไปตามแผนท่ีวางไวบ้ างสว่ น บางสว่ นลล่าช้ากว่าแผน
ไม่เป็นไปตามแผนท่วี างไว้

6.2 การอทุ ศิ เวลาในการทาวทิ ยานิพนธ์ (ให้ระบุวา่ นักศึกษาไดอ้ ทุ ิศเวลาในการทา
วิทยานพิ นธ์เพยี งพอหรือไมร่ ะดับใด)

106 ค่มู อื ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

6.3 ความก้าวหน้าของงานและคณุ ภาพของงาน (ให้ระบดุ ว้ ยวา่ ความกา้ วหนา้ และ
คุณภาพอยู่ในระดับใด ดมี าก ดี พอใช้ และไมด่ เี ทา่ ท่ีต้องการใหเ้ ป็น)

6.4 ข้อคดิ เห็นอนื่ ๆ

นักศึกษา ลงช่ือ ........................................................ วันที่ .............................................
(........................................................)

ค่มู อื ปฐมนิเทศนกั ศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 107

ส่วนที่ 3 : การประเมินผลความกา้ วหนา้ ของวทิ ยานิพนธโ์ ดยอาจารยท์ ่ีปรึกษา

ขา้ พเจา้ ได้อ่านรายงานความกา้ วหน้าการทาวิทยานิพนธข์ องนกั ศึกษาทง้ั หมดแลว้ และ

ประเมินผลความกา้ วหนา้ ของวทิ ยานพิ นธ์ ดงั น้ี

1. ความกา้ วหนา้ อยู่ในระดบั พอใจมาก ก้าวหน้าตามแผนการท่ีวางไว้

ของการทา ไมก่ า้ วหน้าเท่าทค่ี วรแต่อย่ใู นวิสัยทแ่ี ก้ไขปรบั ปรุงได้

วทิ ยานพิ นธ์ ไมก่ ้าวหนา้ เลยต้องปรบั ปรุงอยา่ งมาก

2. ความสมา่ เสมอ เข้าพบอย่างสมา่ เสมอและมคี วามก้าวหนา้ ในการทางาน

ในการเขา้ พบ ทกุ คร้ังทพี่ บ

อาจารย์ทปี่ รึกษา เขา้ พบอย่างสม่าเสมอแต่งานไมก่ ้าวหน้า

เข้าพบไมส่ ม่าเสมอ

ในภาคการศึกษาน้ี เขา้ พบประมาณ ……………….. ครั้ง

3. โดยภาพรวม ในระดับดีมากและมีศักยภาพสูงทจ่ี ะสาเรจ็ การศึกษา

คุณภาพงานและ ในระดับปริญญาเอกได้

คุณภาพของ ในระดบั ดี และมีศักยภาพทจ่ี ะสาเรจ็ การศึกษา

นกั ศึกษาอยใู่ น ระดับปรญิ ญาเอกได้

ระดบั ใด ในระดบั พอใช้ ต้องพยายามและขยนั ให้มากข้นึ จงึ จะสาเร็จ

การศกึ ษาในระดับปริญญาเอกได้

ในระดบั ทีต่ ้องแกไ้ ขปรบั ปรุงอยา่ งมาก ถ้าตอ้ งการท่ีจะศกึ ษา

ในระดบั ปรญิ ญาเอกได้

ไมส่ ามารถศึกษาในระดับปรญิ ญาเอกตอ่ ไปได้

4. ความคิดเหน็

อนื่ ๆ

5. จานวนหน่วยกิต 1. จานวนหนว่ ยกิตของวิทยานพิ นธ์ ................................. หน่วยกิต

2. ไดร้ บั การประเมนิ ผลผ่านแล้วในภาคการศึกษาก่อน ...................

หนว่ ยกติ

3. จานวนหน่วยกิตที่ลงทะเบยี นในภาคการศกึ ษาน้ี ........................

หน่วยกิต

4. จานวนหน่วยกิตทป่ี ระเมินผลผา่ นในภาคการศกึ ษานี้ ...................

หนว่ ยกติ

108 ค่มู ือปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

5. จานวนหน่วยกติ คงเหลอ่ื .................................... หน่วยกิต

6. จานวนหน่วยกติ ที่ใหล้ งทะเบยี นในภาคการศกึ ษาตอ่ ไป .........

หน่วยกิต

ลงชอ่ื อาจารย์ท่ีปรกึ ษา ................................................. วันที่ .....................................

(...................................................)

อาจารย์ทปี่ รึกษารว่ ม .................................................. วันที่ .....................................

(...................................................)

อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาร่วม .................................................. วันท่ี .....................................

(...................................................)

ผ่านทปี่ ระชมุ กรรมการบริหารหลกั สูตรเม่อื วนั ท่ี ............. เดือน .......... พ.ศ. ...................

ความเห็นของกรรมการบริหารหลกั สูตร

..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

ลงชอ่ื .................................. ประธานกรรมการ ลงชื่อ ................................. กรรมการ

ลงชื่อ ...................................กรรมการ ลงชอ่ื ................................ กรรมการ

ลงชื่อ ...................................กรรมการ ลงชอื่ ................................ กรรมการ

ลงชื่อ .................................. กรรมการ

(หมายเหตุ กรรมการตอ้ งลงชอื่ รับรองอยา่ งนอ้ ย 2 ใน 3)

คู่มอื ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 109

ประกาศคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ (ฉบับที่ 63/2548)
เร่ือง แนวปฏิบตั ใิ นการจัดทาและการส่งเอกสารการศกึ ษาอิสระและวทิ ยานิพนธ์

ของนักศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา
คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

เพื่อให้การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ตามประกาศบัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับท่ี 72/2548) เร่ือง หลักเกณฑ์และคุณสมบัติ
เกี่ยวกบั การทาวิทยานพิ นธ์และการศึกษาอิสระ ข้อ 11.1 คณะฯ โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการประจาคณะฯประชุมคร้ังท่ี 17/2548 เม่ือวันที่ 3 พฤศจิกายน 2548 จึง
กาหนดแนวปฏิบัติในการจัดทาและการส่งเอกสารการศึกษาและวิทยานิพนธ์ของ
นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ข อ ง ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์
มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ดังนี้

ข้อ 1 เน้อื หาทใี่ ช้ในการเสนอขออนมุ ตั ิเคา้ โครงวิทยานิพนธแ์ ละการศึกษา
อสิ ระดงั น้ี

1.1 ชอ่ื หวั ข้อเคา้ โครงภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
1.2 หลกั การและเหตผุ ล
1.3 วตั ถปุ ระสงค์
1.4 ผลงานวิจัยที่เกย่ี วขอ้ ง
1.5 วธิ ีการดาเนนิ การวจิ ยั

- ประชากร
- กลุ่มตวั อย่าง
- เครื่องมือ
- การเก็บรวบรวมข้อมลู
1.6 ขอบเขตและขอ้ จากดั ของการวิจัย
1.7 สถานท่ีทาการวิจัย
1.8 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
1.9 แผนการดาเนินการเกี่ยวกับกจิ กรรมและระยะเวลาทาการวิจยั
1.10 งบประมาณ
ขอ้ 2 เอกสารทใี่ ช้เสนอขอสอบป้องกันวทิ ยานพิ นธ์และการศึกษาอิสระ

110 ค่มู ือปฐมนเิ ทศนักศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

1.1 กรณีสอบป้องกันวทิ ยานิพนธ์เอกสารที่ใช้เสนอขอสอบป้องกันให้
ส่งเอกสารวิทยานิพนธ์และเอกสารบทความทางวิชาการ ตามความเห็นชอบของ
คณะกรรมการทป่ี รกึ ษา จานวนเอกสารตามจานวนกรรมการสอบ

1.2 กรณีสอบป้องกันการศึกษาอิสระเอกสารที่ใช้เสนอสอบให้ส่ง
เอกสารบทความทางวิชาการและสอบป้องกันบทความทางวิชาการจานวนเอกสารตาม
จานวนกรรมการสอบ

ขอ้ 3 การส่งวิทยานพิ นธแ์ ละการศกึ ษาอสิ ระใหป้ ฏิบตั ิดงั นี้
3.1 สาหรับนักศึกษาหลักสูตรแผน ก ทุกหลักสูตรให้นักศึกษาปฏิบัติตาม

ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 72/2548) สาหรับนักศึกษาท่ีเข้าศึกษา
ตงั้ แตป่ กี ารศกึ ษา 2548 เปน็ ต้นไป

ก. กรณีทีว่ ทิ ยานิพนธ์ยังไม่ไดร้ บั การตพี มิ พ์ให้นักศกึ ษาสง่
วิทยานิพนธ์ในรปู บทความวชิ าการจานวน 1 ชุด และ CD จานวน 1 แผ่น ใหค้ ณะ
ประกอบดว้ ยข้อมลู ดงั น้ี

- วทิ ยานิพนธ์ในรปู บทความวชิ าการ ชอ่ื ไฟล์ Joumal.doc
- บทคดั ยอ่ ภาษาไทยท่ีเปน็ สว่ นหนึง่ ของบทความชอ่ื ไฟล์
Abstract_T.doc
- บทคดั ย่อภาษาอังกฤษทเี่ ป็นสว่ นหนึ่งของบทความชื่อไฟล์
Abstract_E.doc
ข. หรอื กรณที ่วี ทิ ยานิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับ
ให้ตีพิมพ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือส่ิงพิมพ์
วารสาร หรือเสนอต่อท่ีประชุมวิชาการท่ีมีรายงานการประชุม (Proceeding) ให้ส่ง
เอกสารหลักฐานการนาเสนอหรือหลกั ฐานการตพี ิมพแ์ ละใหส้ ่งเอกสารในข้อ ก.
3.2 สาหรับนักศกึ ษาหลักสตู รแผน ข.
3.2.1 กรณสี อบผ่านโดยไมม่ เี ง่ือนไข

1) แบบสง่ การศึกษาอิสระ (มล.16)
2) ใบแจ้งความจานงสาเรจ็ การศกึ ษาและการตรวจสอบหนสี้ ิน(บว.20)
3) ใบรับรองการแกไ้ ข (บว 28)
4) แบบฟอรม์ แจ้งความจานงและแหลง่ การเผยแพรผ่ ลงาน
การศึกษาอสิ ระ (มส.37)
5) การรับทราบเร่อื งลิขสิทธิ์ในวทิ ยานพิ นธ/์ การศกึ ษาอสิ ระ (บว.38)

ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 111

6) ใบรบั รองวิทยานพิ นธ์ หรอื ใบรับรองการศึกษาอิสระ
ลงนามเฉพาะอาจารยท์ ป่ี รึกษา จานวน 1 แผ่น (ตามรูปแบบที่คณะกาหนด)

7) การศึกษาอสิ ระในรูปบทความวิจยั ทีเ่ สรจ็ สมบรู ณ์
พรอ้ มท่ีจะนาเผยแพรใ่ นวารสารจานวน 1 ชุด

8) บทคดั ยอ่ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่เป็นสว่ นหน่ึง
ของบทความจานวน 2 ชุด

9) CD จานวน 2 แผ่น ประกอบด้วยข้อมลู ดงั นี้
9.1) การศกึ ษาอสิ ระในรูปบทความวิชาการชื่อไฟล์

Joumal.doc
9.2) บทคัดยอ่ ภาษาไทยท่เี ป็นสว่ นหนง่ึ ของบทความ

ชอ่ื ไฟล์ Abstract_T.doc
9.3) บทคดั ย่อภาษาอังกฤษทีเ่ ป็นส่วนหนึ่งของ

บทความชื่อไฟล์ Abstract_E.doc
3.2.2 กรณสี อบผ่านโดยไม่มเี งอ่ื นไข ส่งเอกสารทกุ อยา่ งเหมอื น

สอบผ่านโดยไม่มเี งือ่ นไขยกเว้นขอ้ ข้อ3) ใบรบั รองการแก้ไข (บว.28) ไมต่ อ้ งส่ง
3.2.3 กรณไี ม่ต้องขอหมายเลข ISBN เพือ่ พมิ พล์ งบทความ
3.2.4 หลังจากสอบเสร็จให้ส่งบทความทางวิชาการที่ได้รับการ

แก้ไขปรบั ปรุงแลว้ ให้แก่เจ้าหน้าทีบ่ ัณฑิตศึกษาของคณะฯ ภายใน 45 วัน นับจากวันท่ีสอบ
ป้องกันการศึกษาอิสระเพื่อใช้ในการพิจารณาเสนออนุมัติให้เป็นผู้สาเร็จการศึกษา หาก
นักศึกษาไม่ส่งเอกสารและสื่อตามข้อ 3.2 ทางคณะฯ จะไม่สามารถขออนุมัติสาเร็จ
การศึกษาเนือ่ งจากคณุ สมบตั ไิ มค่ รบถว้ น

3.2.5 ใหถ้ อื เป็นแนวปฏิบัติสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
แ ผ น ข ทุ ก ห ลั ก สู ต ร ทุ ก ค น ข อ ง ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์
มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

ให้ประกาศนมี้ ผี ลบงั คบั ตั้งแต่วนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2548
ประกาศ ณ วนั ท่ี 23 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2548

(ลงช่ือ) พีรสทิ ธ์ิ คานวณศลิ ป์
(รองศาสตราจารย์พีรสิทธ์ คานวณศลิ ป)์
คณบดคี ณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์

112 คู่มอื ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน่ (ฉบบั ที่ 997/2548)

เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศกึ ษาสาหรบั หลกั สตู รโครงการพเิ ศษ ระดับปริญญาโท
คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

เพ่ือให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอ่ืนๆสาหรับหลักสูตร

โครงการพิเศษ ระดั บปริ ญญาโท ของคณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์

มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการบริหารและ

การจดั การ และบงั เกดิ ผลดีตอ่ มหาวทิ ยาลยั

อาศยั อานาจตามความในขอ้ 12 และขอ้ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ว่าด้วย การจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 5 ของประกาศ

มหาวิทยาลยั ขอนแก่น (ฉบบั ท่ี 619/2548) เร่ือง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตร

โครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ

คราวประชมุ คร้งั ท่ี 3/2548 เมื่อวนั ที่ 4 พฤศจกิ ายน 2548 จึงออกประกาศไว้ ดังน้ี

ขอ้ 1 ประกาศน้ีเรียกวา่ “ประกาศมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ (ฉบบั ที่ 997/2548)

เรื่อง ค่าธรรมเนยี มการศกึ ษาสาหรับหลักสตู รโครงการพิเศษ ระดบั ปริญญาโท คณะ

มนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

ขอ้ 2 ให้ประกาศนม้ี ผี ลบงั คบั ใชส้ าหรบั นักศึกษาทีเ่ ขา้ ศึกษาใน

มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ตง้ั แตภ่ าคการศึกษาตน้ ปกี ารศกึ ษา 2549 เป็นต้นไป

ข้อ 3 อตั ราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนยี มอ่นื ๆ สาหรับหลกั สตู ร

ปริญญาโททกุ สาขาวชิ า ทีจ่ ัดการเป็นหลักสตู รโครงการพเิ ศษ กาหนด ดงั นี้

3.2 คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษารายภาคการศกึ ษา

(1) ภาคการศกึ ษาปกติ 30,000 บาท

(2) ภาคการศึกษาฤดรู ้อน 15,000 บาท

3.3 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว หรือ

เป็นการลงทะเบียนภาคการศึกษาสุดทา้ ยเพื่อสาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่ต้อง

ลงทะเบียนอีกไม่เกิน 3 หน่วยกิต ให้จ่ายในอัตรากึ่งหน่ึงของค่าธรรมเนียมการศึกษา

สาหรบั ภาคการศกึ ษาปกติ

ขอ้ 4 คา่ ธรรมเนียมการสอบต่างๆต่อครั้ง

4.1 การสอบประมวลความรู้ 2,000 บาท

4.2 การสอบการศึกษาอิสระ 4,000 บาท

4.3 การสอบวิทยานิพนธ์ 5,000 บาท

ค่มู ือปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 113

ข้อ 5 คา่ ธรรมเนียมอ่ืนที่ไม่ได้กาหนดไว้ในประกาศนี้ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้
ในประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 639/2548) เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษา
สาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษและระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอ่ืนๆท่ี
เกี่ยวขอ้ งกับค่าธรรมเนียมการศกึ ษา

ข้อ 6 ให้อธกิ ารบดเี ปน็ ผูร้ กั ษาการตามประกาศน้ี กรณีท่ีมีปัญหาในการตีความ
หรือปัญหาการปฏบิ ตั ิตามประกาศน้ี ให้อธกิ ารเปน็ ผ้วู ินจิ ฉยั

ประกาศ ณ วนั ท่ื 8 ธนั วาคม พ.ศ. 2548

(ลงชือ่ ) กลุ ธดิ า ทว้ มสุข
(รองศาสตราจารย์กุลธดิ า ทว้ มสขุ )
รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวิชาการและวเิ ทศสัมพนั ธ์
ปฏบิ ัติราชการแทนอธิการบดมี หาวทิ ยาลัยขอนแก่น

114 ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ประกาศมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ (ฉบับท่ี 998/2548)
เรอื่ ง ค่าธรรมเนียมการศกึ ษาสาหรับหลกั สูตรโครงการพิเศษ ระดบั ปรญิ ญาเอก

คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

เพื่อให้การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอ่ืนๆ สาหรับหลักสูตร

โครงการพิเศษ ระดับปริญญาเอก ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ เปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อยและมปี ระสทิ ธภิ าพ เออ้ื ต่อการบริหารและ

การจัดการ และบงั เกิดผลดีต่อมหาวทิ ยาลยั

อาศัยอานาจตามความในข้อ 12 และข้อ 14 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ว่าด้วย การจัดการหลักสูตรโครงการพิเศษ พ.ศ. 2548 และข้อ 5 ของประกาศ

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับท่ี 639/2548) เร่ืองค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตร

โครงการพิเศษ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอานวยการหลักสูตรโครงการพิเศษ

คราวประชมุ คร้ังที่ 3/2548 เมอ่ื วันท่ี 4 พฤศจิกายน 2548 จึงออกประกาศไว้ดังนี้

ข้อ 1 ประกาศน้ีเรียกว่า”ประกาศมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (ฉบับท่ี 998/2548)

เร่ือง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับหลักสูตรโครงการพิเศษ ระดับปริญญาเอก คณะ

มนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

ข้อ 2 ให้ ป ร ะกา ศ น้ีมี ผ ล บังคั บ ใช้ ส า ห รับ นักศึกษา ท่ีเ ข้า ศึกษา ใน

มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ตัง้ แต่ภาคการศึกษาตน้ ปกี ารศกึ ษา 2549 เปน็ ต้นไป

ข้อ 3 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอ่ืนๆ สาหรั บ

หลกั สูตรระดับปรญิ ญาเอกทุกสาขาวชิ าท่จี ดั การเป็นหลกั สตู รโครงการพิเศษ กาหนดดงั น้ี

3.1 ค่าธรรมเนียมการศกึ ษารายภาคการศกึ ษา

3.1.1 ภาคการศกึ ษาปกติ 65,000 บาท

3.1.2 ภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ น 32,500 บาท

3.2 กรณีที่เป็นการลงทะเบียนครบตามระยะเวลาของหลักสูตรแล้ว

หรือเปน็ การลงทะเบียนภาคการศกึ ษาสดุ ทา้ ยเพ่อื สาเร็จการศึกษา โดยเหลือหน่วยกิตที่

ตอ้ งลงทะเบยี นอีกไม่เกิน 3 หนว่ ยกิต ใหจ้ า่ ยในอัตราก่ึงหนึ่งของค่าธรรมเนียมการศึกษา

สาหรับภาคการศกึ ษาปกติ

ข้อ 4 ค่าธรรมเนียมการสอบต่างๆ ตอ่ ครั้ง

4.1 การสอบวดั คณุ สมบัติ 3,000 บาท

4.2 การสอบวทิ ยานิพนธ์ 6,000 บาท

คู่มือปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 115

ขอ้ 5 คา่ ธรรมเนียมอ่ืนทไี่ มไ่ ด้กาหนดไวใ้ นประกาศน้ี ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้
ในประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับท่ี 639/2548) เรื่องค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับ
หลักสูตรโครงการพิเศษและระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นอื่นๆที่เก่ียวข้องกับ
ค่าธรรมเนยี มการศกึ ษา

ขอ้ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ กรณีที่มีปัญหาในการ
ตคี วามหรือปัญหาการปฏิบัติตามประกาศนี้ ใหอ้ ธิการบดีเปน็ ผวู้ ินจิ ฉยั

ประกาศ ณ วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2548

(ลงชื่อ) กุลธดิ า ท้วมสขุ
(รองศาสตราจารย์กลุ ธิดา ท้วมสขุ )
รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวิชาการและวเิ ทศสัมพันธ์
ปฏิบัติราชการแทนอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยขอนแกน่

116 ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนักศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ประกาศคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ (ฉบบั ท่ี 48/2550)
เรอ่ื ง แนวปฏบิ ัติในการทาวิทยานิพนธข์ องนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

เพ่ือให้การทาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโทคณะมนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์ ทุกสาขาวิชาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบังเกิดผลดีแก่นักศึกษา และ

เพื่อให้สอดคล้องกบั ระเบียบบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2548 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ

บัณฑิตศึกษาประจาคณะ ครั้งที่ 2/2550 เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2550 และผ่านความ

เห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะคร้ังท่ี 9/2550 เมื่อวันท่ี 5 กรกฎาคม 2550 จึง

แก้ไขแนวปฏิบัติการทาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโท คณะมนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์ ตามประกาศคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ฉบบั ที่ 8/2545 ดังต่อไปน้ี

ขอ้ 1. ประกาศน้ีเรยี กวา่ “ประกาศคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ (ฉบับ

ท่ี 48/2550) เร่ือง แนวปฏิบัติในการทาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโท

คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ขอ้ 2. ให้ยกเลิก ประกาศคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ (ฉบบั ที่ 8/2545)

เรอ่ื ง แนวปฏิบตั ิในการทาวิทยานพิ นธ์ ประกาศอ่นื ใดซง่ึ ขดั แยง้ กบั ประกาศนใี้ ห้ใช้

ประกาศฉบบั นี้แทน

ข้อ 3. ใหใ้ ชป้ ระกาศนก้ี บั นักศึกษาทุกชน้ั ปี ตง้ั แต่ภาคตน้ ปกี ารศกึ ษา 2550

ขอ้ 4. นกั ศึกษาจะลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ์ได้ ตอ่ เม่ือไดล้ งทะเบียน

รายวิชาทีม่ ีค่าคะแนนมาแลว้ ตามเง่ือนไขทหี่ ลกั สตู รกาหนด โดยไมต่ ิดสญั ลกั ษณ์ I ใน

รายวชิ าใดๆ และตอ้ งไดค้ า่ คะแนนเฉล่ียสะสมไม่ตา่ กวา่ 3.00

ขอ้ 5. จานวนหนว่ ยกิตทีล่ งทะเบยี นเพ่อื ทาวทิ ยานพิ นธค์ รั้งแรก ให้เปน็ ไปตาม

คาแนะนาของอาจารย์ทป่ี รกึ ษา แต่ต้องไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต

ขอ้ 6. การประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ในการทาวทิ ยานิพนธ์ มเี กณฑ์ดังนี้

6.1 เรยี บเรียงความสาคญั ของปญั หา วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย

และนิยามศัพทท์ ีใ่ ชใ้ นการวิจยั 1 หน่วยกิต

6.2 ทบทวนและเรยี บเรยี งวรรณกรรมทเี่ ก่ียวข้อง กาหนดกรอบ

แนวคิดการวจิ ัยพร้อมต้ังสมมตฐิ านการวิจยั หรือคาถามในการ

วิจัย (ถ้ามี) 2 หน่วยกติ

6.3 เรยี บเรียงวธิ กี ารดาเนนิ การวจิ ัย สอบและเสนอเคา้ โครง

วิทยานิพนธ์ 2 หน่วยกิต

ค่มู ือปฐมนิเทศนักศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 117

6.4 พัฒนาเครอื่ งมือวิจัย/กาหนดแนวทางในการเกบ็ ขอ้ มลู

และเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 2 หนว่ ยกติ

6.5 วเิ คราะหข์ ้อมูล เรียบเรียงผลการศึกษา

และอภปิ รายผลการวิจยั 2 หน่วยกิต

6.6 มีบทความทางวชิ าการพร้อมตพี ิมพ์

หรือหนงั สอื รบั รองการตพี ิมพห์ รือบทความที่

ได้รับการตพี ิมพ์ในวารสารทางวิชาการ 1 หนว่ ยกติ

6.7 เรยี บเรยี งบทสรปุ ผลการวิจยั และขอ้ เสนอแนะ

พรอ้ มเสนอร่างวิทยานิพนธฉ์ บับสมบรู ณโ์ ดย

มีองค์ประกอบครบตามที่บณั ฑติ วิทยาลยั กาหนด 2 หนว่ ยกิต

รวม 12 หนว่ ยกติ

หากนักศึกษาทางานได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด และคณะกรรมการที่ปรึกษา

วิทยานิพนธ์ให้ความเห็นชอบแล้ว จะได้รับการประเมินให้ได้ S ตามจานวนหน่วยกิตที่

ระบุ

ข้อ 7. นักศึกษาท่ีลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ์แล้ว ต้องเสนอเค้าโครง

วิทยานิพนธ์ที่ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษาต่อคณบดีเพ่ือพิจารณาอนุมัติ

ภายในเวลา 2 ภาคการศึกษา

ข้อ 8. ในกรณีที่นักศึกษาสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์แล้ว และมีการแก้ไข

จะต้องขอเสนออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ภายใน 30 วัน หลังจากวันสอบเค้าโครง

วิทยานิพนธ์ หากไม่ดาเนินการให้ถือว่าสอบครัง้ แรกเป็นโมฆะตอ้ งยน่ื ขอสอบใหม่

ข้อ 9. การดาเนินการอื่นๆ ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ฉบบั ที่ 72/2548 เรือ่ ง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเก่ียวกับการทา

วิทยานิพนธ์และการศกึ ษาอิสระ

ประกาศ ณ วนั ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

(ลงชื่อ) เยาวลักษณ์ อภิชาติวลั ลภ
(ผ้ชู ่วยศาสตราจารยเ์ ยาวลักษณ์ อภชิ าติวลั ลภ)
คณบดคี ณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

118 ค่มู ือปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ประกาศคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ (ฉบับท่ี 49/2550)
เรื่อง แนวปฏิบัตใิ นการทาการศึกษาอิสระของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาโท

คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
สาหรับรายวชิ าการศกึ ษาอสิ ระทมี่ ีจานวนหนว่ ยกติ 6 หน่วยกติ

เพื่อใหก้ ารทาการศกึ ษาอสิ ระของนักศึกษาระดับปริญญาโทคณะมนุษยศาสตร์

และสังคมศาสตร์ ทุกสาขาวิชาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบังเกิดผลดีแก่นักศึกษา

และเพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 โดยความเห็นชอบของ

คณะกรรมการบัณฑิตศกึ ษาประจาคณะ ครั้งท่ี 2/2550 เม่ือวันท่ี 22 พฤษภาคม 2550

และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะคร้ังที่ 9/2550 เม่ือวันท่ี 5

กรกฎาคม 2550 จึงแก้ไขแนวปฏิบัติการทาการศึกษาอิสระของนักศึกษาระดับปริญญา

โทคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ตามประกาศคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

ฉบบั ที่ 8/2545 ดังตอ่ ไปนี้

ข้อ 1. ประกาศน้เี รียกวา่ “ประกาศคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ (ฉบับ

ท่ี 49/2550) เรื่อง แนวปฏิบัติในการทาการศึกษาอิสระของนักศึกษาระดับปริญญาโท

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาหรับรายวิชาการศึกษาอิสระท่ีมีจานวน 6

หน่วยกิต

ข้อ 2. ให้ยกเลิก ประกาศคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับที่

8/2545) เร่อื ง แนวปฏบิ ัติในการทาการศึกษาอิสระ สาหรับรายวิชาการศึกษาอิสระที่มี

จานวน 6 หน่วยกติ

ประกาศอ่ืนใดซงึ่ ขัดแยง้ กับประกาศน้ใี หใ้ ช้ประกาศฉบบั น้แี ทน

ขอ้ 3. ให้ใชป้ ระกาศนีก้ ับนักศึกษาทกุ ชน้ั ปี ตั้งแตภ่ าคต้น ปีการศกึ ษา 2550

ขอ้ 4. นักศึกษาจะลงทะเบียนรายวิชาการศึกษาอิสระได้ ต่อเม่ือได้

ลงทะเบียนรายวิชาท่ีมีค่าคะแนนมาแล้วตามเง่ือนไขที่หลักสูตรกาหนด โดยไม่ติด

สญั ลกั ษณ์ I ในรายวชิ าใดๆ และตอ้ งได้ค่าคะแนนเฉลยี่ สะสมไม่ตา่ กว่า 3.00

ข้อ 5. จานวนหนว่ ยกติ ทล่ี งทะเบยี นเพื่อทาการศกึ ษาอิสระครั้งแรก ให้เป็นไป

ตามคาแนะนาของอาจารยท์ ่ปี รกึ ษา แตต่ ้องไม่นอ้ ยกวา่ 3 หนว่ ยกิต

ข้อ 6. การประเมินผลความก้าวหน้าในการทาการศกึ ษาอสิ ระ มเี กณฑด์ งั นี้

6.1 เรียบเรยี งความสาคญั ของปญั หา วัตถุประสงค์ของการวิจยั

และนยิ ามศพั ท์ท่ีใช่ในการวิจัย 1 หนว่ ยกิต

6.2 ทบทวนและเรยี บเรยี งวรรณกรรมท่ีเกยี่ วข้องพร้อม

คู่มือปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 119

ต้งั สมมตฐิ านการวิจัยหรือคาถาม 1 หน่วยกิต
ในการวิจยั (ถา้ มี)

6.3 เรียบเรียงวิธกี ารดาเนินการวจิ ยั สอบและ

เสนอเคา้ โครงการศึกษาอิสระ 1 หน่วยกติ

6.4 พัฒนาเครอื่ งมือวจิ ยั /กาหนดแนวทางในการเก็บข้อมูล

และเก็บรวบรวมข้อมลู 1 หนว่ ยกิต

6.5 วเิ คราะห์ข้อมลู เรยี บเรยี งผลการศึกษา

อภปิ รายผลการวิจยั และจัดทาบทความ 1 หนว่ ยกิต

6.6 เรยี บเรียงบทสรุปผลการวิจยั และข้อเสนอแนะ

พรอ้ มเสนอร่างรายงานการศกึ ษาอิสระ

ฉบับสมบรู ณโ์ ดยมีองคป์ ระกอบครบ

ตามท่บี ัณฑิตวทิ ยาลัยกาหนด 1 หน่วยกิต

รวม 6 หนว่ ยกติ

หากนักศึกษาทางานได้ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด และคณะกรรมการที่ปรึกษา

วิทยานพิ นธใ์ ห้ความเห็นชอบแลว้ จะได้รับการประเมินใหไ้ ด้ S ตามจานวนหนว่ ยกิตที่ระบุ

ขอ้ 7. นักศึกษาท่ีลงทะเบียนรายวิชาการศึกษาอิสระแล้ว ต้องเสนอเค้า

โครงการศึกษาอิสระที่ได้รับความเหน็ ชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษาต่อคณะบดีเพ่ือพิจารณา

อนมุ ตั ิ ภายในเวลา 2 ภาคการศึกษา

ขอ้ 8. ในกรณีที่นักศึกษาสอบเค้าโครงการศึกษาอิสระแล้ว และมีการแก้ไข

จะต้องเสนอขออนุมัติเค้าโครงการศึกษาอิสระภายใน 30 วันหลังจากวันสอบเค้า

โครงการศึกษาอิสระ หากไม่ดาเนินการให้ถือว่าสอบครั้งแรกเป็นโมฆะต้องยื่นข้อสอบ

ใหม่

ขอ้ 9. การดาเนินการอื่นๆ ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ฉบับที่ 72/2548 เร่อื ง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทา

วิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ

ประกาศ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.2550

(ลงช่อื ) เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ

(ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์เยาวลักษณ์ อภชิ าตวิ ัลลภ)

คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์

120 ค่มู อื ปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ประกาศคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ (ฉบบั ท่ี 65/2550)
เรอื่ ง แนวปฏบิ ัตใิ นการขอสอบเคา้ โครงวิทยานพิ นธ์หรอื การศกึ ษาอสิ ระ

คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

เพ่อื ใหก้ ารขอสอบเค้าโครงวิทยานพิ นธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทุกสาขาวิชาเป็นไปด้วยความ
เรียบร้อย และบังเกิดผลดีแก่นักศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
บัณฑิตศึกษาประจาคณะครั้งท่ี 12/2550 เมื่อวันท่ี 6 กันยายน 2550 จึงกาหนดแนว
ปฏิบตั ิในการขอสอบเค้าโครงวทิ ยานิพนธห์ รือการศกึ ษาอสิ ระ ดงั ตอ่ ไปน้ี

ขอ้ 1 ประกาศนเ้ี รยี กวา่ “ประกาศคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ (ฉบับ
ท่ี 8/2550) เรื่อง แนวปฏิบัติในการขอสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประกาศอื่นใดซ่ึงขัดแย้งกับ
ประกาศน้ีใหใ้ ช้ประกาศฉบับนแี้ ทน

ขอ้ 2 ให้ใช้ประกาศนก้ี บั นักศกึ ษาทกุ ช้นั ปี ต้ังแตภ่ าคต้น ปกี ารศกึ ษา 2551
ข้อ 3 การขอสอบเคา้ โครงวทิ ยานพิ นธ์หรือการศึกษาอสิ ระ

3.1 นกั ศกึ ษาท่ลี งทะเบยี นรายวิชาวิทยานิพนธ์หรอื การศึกษาอสิ ระ
แลว้ ตอ้ งสอบและเสนอเค้าโครงวทิ ยานพิ นธห์ รือการศึกษาอิสระ ภายใน 2 ภาคการศึกษา

3.2 ให้นักศึกษายน่ื คารอ้ งขอสอบ (แบบ บศ.01) พร้อมเค้าโครง
วทิ ยานิพนธห์ รือการศกึ ษาอสิ ระ ก่อนสอบ 5 วนั ทาการ

3.3 ให้ประธานกรรมการบรหิ ารหลักสตู รเสนอแต่งตง้ั กรรมการสอบ
เค้าโครง อยา่ งนอ้ ย 2 คน ประกอบด้วย

- อาจารยป์ ระจาซงึ่ ไม่เป็นอาจารย์ท่ปี รกึ ษาหลัก หรืออาจารย์
ที่ปรกึ ษารว่ ม หรอื ผู้ทรงคณุ วฒุ ภิ ายนอก จานวนไมน่ อ้ ยกว่า 1 ท่าน

- อาจารย์ท่ีปรึกษาหลักและอาจารย์ท่ีปรึกษาร่วม (กรณีมี
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม) โดยให้กรรมการคนใดคนหนึ่งซึ่งไม่ใช่อาจารย์ท่ีปรึกษาหลักหรือ
อาจารยท์ ่ปี รกึ ษารว่ มเปน็ ประธานคณะกรรมการสอบ

3.4 ในวันสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ต้องมี
คณะกรรมการสอบไมน่ อ้ ยกว่า จานวน 2 คน ถา้ มคี ณะกรรมการสอบไมค่ รบให้เลื่อนการ
สอบออกไปกอ่ น และในกรณีจาเป็นอาจเปล่ียนแปลงกรรมการสอบได้ โดยให้กาหนดวัน

คู่มอื ปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 121

สอบครง้ั ใหมใ่ ห้มเี วลาพอสมควรแก่การท่คี ณะกรรมการ จะไดใ้ ชเ้ วลาในการตรวจอ่านเคา้
โครงวทิ ยานพิ นธ์หรือการศกึ ษาอิสระได้

3.5 เม่ือนักศึกษาสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระผ่าน
เรยี บรอ้ ยแล้ว ให้ส่งเค้าโครงท่ีผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการที่ปรึกษา จานวน 5
ชดุ ที่ฝ่ายประสานงานบณั ฑิตศกึ ษาภายใน 30 วนั หลงั สอบ โดยหากนักศึกษาไม่สามารถ
ส่งเค้าโครงไดต้ ามกาหนดใหถ้ ือการสอบคร้ังนน้ั เป็นโมฆะ

ประกาศ ณ วันท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ.2550

(ลงชอ่ื ) ประสทิ ธ์ิ คุณรุ ตั น์
(รองศาสตราจารย์ประสทิ ธิ์ คณุ รุ ตั น์)
รองคณบดฝี ่ายบริหาร รักษาการแทน
คณบดีคณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์

122 ค่มู ือปฐมนิเทศนักศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ประกาศคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ (ฉบับท่ี 69/2550)

เร่ือง แนวปฏบิ ัตใิ นการทาการศึกษาอสิ ระ

สาหรับรายวิชาการศกึ ษาอสิ ระท่ีมจี านวนหนว่ ยกติ 3 หนว่ ยกติ

เพ่อื ให้การทาการศึกษาอิสระของนักศึกษาระดับปรญิ ญาโท ของคณะมนษุ ยศาสตร์

และสังคมศาสตร์ทุกสาขาวิชาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบังเกิดผลดีแก่นักศึกษา

และเพ่ือให้สอดคล้องกับระเบียบบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2546 โดยความเห็นชอบของ

คณะกรรมการประจาคณะ คร้ังที่ 12/2550 เม่ือวันท่ี 6 กันยายน 2550 จึงกาหนดแนว

ปฏิบัติการทาการศึกษาอิสระ สาหรับรายวิชาการศึกษาอิสระท่ีมีจานวนหน่วยกิต 3

หน่วยกติ ดังตอ่ ไปนี้

ขอ้ 1 ประกาศนเ้ี รียกวา่ “ประกาศคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับท่ี

69/2550) เรอื่ ง แนวปฏิบัตใิ นการทาการศกึ ษาอิสระ สาหรับรายวิชาการศึกษาอิสระที่มี

จานวน 3 หน่วยกิต ประกาศอนื่ ใดซงึ่ ขัดแย้งกบั ประกาศนใ้ี หใ้ ชป้ ระกาศฉบบั นี้แทน

ขอ้ 2 ใหใ้ ช้ประกาศน้กี บั นกั ศึกษาทุกชั้นปี ตงั้ แต่ภาคต้น ปกี ารศึกษา 2550

ขอ้ 3 นักศึกษาจะลงทะเบียนรายวิชาการศึกษาอิสระได้ ต่อเมื่อได้

ลงทะเบียนรายวิชาที่มีค่าคะแนนมาแล้วตามเงื่อนไขที่หลักสูตรกาหนด โดยไม่ติด

สัญลักษณ์ I ในรายวิชาใดๆ และต้องได้ค่าคะแนนเฉล่ียสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 และ

แต่งตั้งอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา พรอ้ มมีเอกสารเชงิ หลักการ

ข้อ 4 การประเมินผลความก้าวหนา้ ในการทาการศกึ ษาอสิ ระ มเี กณฑ์ดงั นี้

4.1 เรียบเรยี งความสาคญั ของปญั หา วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั และ

นิยามศัพท์ทใ่ี ช้ในการวิจยั ทบทวนและเรยี บเรยี งวรรณกรรมท่ี

เกี่ยวข้อง พร้อมตงั้ สมมติฐานการวิจัยหรอื คาถาม

ในการวิจัย (ถา้ มี) 1 หนว่ ยกติ

4.2 เรียบเรียงวธิ กี ารดาเนินการวจิ ยั เสนอขออนมุ ัตเิ คา้ โครง

การศกึ ษาอิสระและพฒั นาเครือ่ งมือวิจยั /กาหนด

แนวทางในการเกบ็ ขอ้ มลู และรวบรวมข้อมูล 1 หนว่ ยกิต

4.3 วเิ คราะห์ขอ้ มลู เรยี บเรยี งผลการศึกษา อภปิ รายผล

การวิจัยและจัดทาบทความและเรยี บเรยี งบทสรุปผล

การวจิ ัยและขอ้ เสนอแนะพร้อมเสนอรา่ งรายงาน

การศกึ ษาอิสระฉบับสมบูรณ์โดยมอี งค์ประกอบครบตาม

ท่บี ัณฑติ วิทยาลัยกาหนด 1 หน่วยกิต

รวม 3 หนว่ ยกิต

คู่มือปฐมนิเทศนักศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 123

หากนักศึกษาทางานไดต้ ามเกณฑท์ ก่ี าหนด และคณะกรรมการทป่ี รึกษาการศึกษาอิสระ
ใหค้ วามเห็นชอบแลว้ จะไดร้ บั การประเมนิ ใหไ้ ด้ S ตามจานวนหน่วยกิตทร่ี ะบุ

ข้อ 5. นกั ศกึ ษาที่ลงทะเบยี นรายวชิ าการศกึ ษาอสิ ระแลว้ ตอ้ งเสนอเคา้ โครงการ
ศึกษาอิสระที่ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษาต่อคณบดีเพ่ือพิจารณาอนุมัติ
ภายในภาคการศกึ ษาน้นั

ข้อ 6 การดาเนินการอื่นๆ ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับท่ี 72/2548 เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเก่ียวกับการ
ทาวิทยานพิ นธแ์ ละการศึกษาอสิ ระ

ประกาศ ณ วันท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ. 2550

(ลงช่ือ) ประสิทธ์ิ คณุ รุ ตั น์
(รองศาสตราจารยป์ ระสทิ ธ์ิ คณุ รุ ตั น)์
รองคณบดฝี ่ายบรหิ าร รกั ษาการแทน
คณบดีคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

124 คู่มอื ปฐมนิเทศนกั ศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

บัญชีที่ 1 คา่ ธรรมเนยี มการศึกษา สาหรบั หลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ในระบบปกติ

1. อตั ราค่าธรรมเนยี มการศึกษา (Tuition Fee) ตอ่ ภาคการศึกษาปกติ (บาท)

ประเภทหลกั สูตร

กลุม่ สาขาวิชา หลักสตู รปกติ หลกั สูตรนานาชาตแิ ละ

ศึกษาเปน็ ภาษาอังกฤษ

ปริญญาโท/ ปรญิ ญาเอก/ ปรญิ ญาโท/ ปรญิ ญาเอก/

ประกาศนีย- ประกาศนยี - ประกาศนีย- ประกาศนยี -

บตั ร บตั รชน้ั สงู บัตร บตั รชัน้ สูง

กลุ่มที่ 1 ประกอบดว้ ย

- สาขาวิชามนุษยศาสตร์และ

สงั คมศาสตร์ (ยกเวน้

สาขาวิชาภาษาตา่ งประเทศ) 19,000 25,000 40,000 60,000

- สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ บาท บาท บาท บาท

(ยกเวน้ สาขาวิชาเทคโนโลยี

การศึกษา)

-สาขาวชิ าศลิ ปกรรมศาสตร์

- สาขาวชิ าร่วมด้านมนุษย์

ศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์

-หลักสูตรประกาศนยี บตั ร

สาขาวิชาเภสชั บาบัด

กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย

- สาขาวชิ าเทคโนโลยี

การศึกษา 25,000 30,000 50,000 75,000

- สาขาวิชาภาษาตา่ งประเทศ บาท บาท บาท บาท

- สาขาวิชาบริหารธรุ กจิ และ

สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์

ค่มู อื ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 125

ประเภทหลกั สูตร

กลมุ่ สาขาวชิ า หลกั สตู รปกติ หลกั สตู รนานาชาติและ

ศึกษาเป็นภาษาอังกฤษ

ปรญิ ญาโท/ ปรญิ ญาเอก/ ปริญญาโท/ ปริญญาเอก/

ประกาศนยี - ประกาศนีย- ประกาศนีย- ประกาศนีย-

บัตร บัตรชน้ั สูง บตั ร บตั รช้ันสงู

กลมุ่ ท่ี 3 ประกอบดว้ ย

-สาขาวิชาเกษตรศาสตร์

-สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์

-สาขาวิชาวิทยาการ

คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยี

สารสนเทศ

-สาขาวิชาเทคโนโลยี 25,000 30,000 50,000 65,000

-สาขาวชิ าเทคนคิ การแพทย์ บาท บาท บาท บาท

-สาขาวชิ า แพทยศาสตร์

(ปรีคลนิ กิ และคลินิก)

-สาขาวชิ าพยาบาลศาสตร์

-สาขาวิชาเภสชั ศาสตร์

(สาขาวชิ าเภสชั กรรมคลินิก

สาขาวิชาการคมุ้ ครอง

ผบู้ รโิ ภคและการจัดการดา้ น

สุขภาพ สาขาวิชาการจดั การ

ทางเภสชั กรรม สาขาวิชา

เภสัชกรรมและระบบสขุ ภาพ)

-สาขาวชิ าสัตวแพทยศาสตร์

-สาขาวิชาร่วมดา้ น

วทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ

126 ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

ประเภทหลกั สูตร

กลุ่มสาขาวชิ า หลักสูตรปกติ หลกั สตู รนานาชาติและ

ศึกษาเป็นภาษาองั กฤษ

ปรญิ ญาโท/ ปรญิ ญาเอก/ ปริญญาโท/ ปริญญาเอก/

ประกาศนีย- ประกาศนยี - ประกาศนีย- ประกาศนยี -

บตั ร บตั รช้ันสูง บัตร บตั รช้นั สงู

กลุ่มท่ี 4 ประกอบดว้ ย

-สาขาวิชาวศิ วกรรมศาสตร์

- สาขาวชิ า สถาปตั ยกรรม

ศาสตร์

-สาขาวชิ าสาธารณสุขศาสตร์

-สาขาวิชาเภสชั ศาสตร์

(สาขาวิชาเภสัชภณั ฑ์

สาขาวชิ าเภสัชเคมีและ 30,000 37,500 50,000 65,000

ผลิตภณั ฑ์ธรรมชาติ สาขาวชิ า บาท บาท บาท บาท

พษิ วิทยา สาขาวิชาวจิ ัยและ

พัฒนาเภสชั ภณั ฑ)์

- สาขาวชิ าร่วมดา้ น

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กลมุ่ ที่ 5 ประกอบด้วย

-สาขาวชิ าทนั ตแพทยศาสตร์ 30,000 50,000 50,000 80,000

(ไมม่ คี ลินกิ )และ บาท บาท บาท บาท

ประกาศนยี บตั รช้ันสงู

คู่มอื ปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 127

ประเภทหลักสตู ร

กล่มุ สาขาวชิ า หลักสตู รปกติ หลักสูตรนานาชาติและ

กลมุ่ ที่ 6 ประกอบดว้ ย ศกึ ษาเปน็ ภาษาองั กฤษ
-สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์
(คลินกิ ) ปรญิ ญาโท/ ปรญิ ญาเอก/ ปริญญาโท/ ปริญญาเอก/

ประกาศนยี - ประกาศนีย- ประกาศนีย- ประกาศนยี -

บัตร บัตรชั้นสงู บตั ร บตั รชน้ั สูง

50,000 80,000 60,000 100,000
บาท บาท บาท บาท

2. คา่ ธรรมเนียมการศึกษาภาคฤดูร้อน เท่ากบั ครึง่ หน่งึ ของค่าธรรมเนยี ม
การศกึ ษาของภาคการศกึ ษาปกติ

3. คา่ ธรรมเนยี มนักศึกษาตา่ งชาติ ภาคการศึกษาละ 15,000 บาท
4. คา่ รักษาสถานภาพการเป็นนกั ศกึ ษา ภาคการศึกษาละ 2,500 บาท
(สาหรับนกั ศกึ ษาตา่ งชาติ ต้องชาระคา่ ธรรมเนยี มนกั ศึกษาต่างชาตดิ ว้ ย)

128 คู่มือปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

5. ค่าธรรมเนียมการสอบตา่ งๆ ตอ่ คร้งั (บาท)

ประเภทหลักสตู ร

การสอบ/ระดับการศึกษา หลักสตู รปกติ หลักสูตรนานาชาตแิ ละ

ศกึ ษาเปน็ ภาษาองั กฤษ

5.1 การสอบประมวลความรู้ สา 300 900

หรบั หลกั สูตรมหาบณั ฑติ

5.2 การสอบวิทยานิพนธ์ หรอื

การศกึ ษาอิสระ หรอื สาร 500 1,500

นิพนธ์ สาหรบั หลกั สตู ร

ประกาศนียบตั รบณั ฑติ

มหาบัณฑิต หรอื

ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ

(ชน้ั สูง)

5.3 การสอบวดั คณุ สมบัติ สาหรบั 500 1,500

หลักสตู รดุษฎีบณั ฑติ

5.4 การสอบภาษาองั กฤษ สาหรบั 1,500 1,500

หลกั สตู รดุษฎีบัณฑติ

5.5 การสอบวทิ ยานพิ นธ์ สาหรบั 1,500 3,000

หลักสตู รดุษฎีบัณฑิต

คู่มอื ปฐมนิเทศนักศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 129

ประกาศคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ (ฉบับที่ 7/2556)
เรอื่ ง แนวปฏิบตั ิในการเสนอขออนุมัติเคา้ โครงวทิ ยานิพนธห์ รอื การศกึ ษาอสิ ระ

คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

เพื่อให้การเสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของ
นกั ศึกษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา ของคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตรท์ กุ สาขาวิชา เปน็ ไป
ด้วยความเรียบร้อยและบังเกิดผลดีกับนักศึกษา สอดคล้องกับประกาศบัณฑิตวิทยาลัย
ฉบับที่ 88/2555 เร่ืองหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเก่ียวกับการทาวิทยานิพนธ์และ
การศึกษาอิสระ คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาคณะ ในการประชุมครั้งที่ 2/2556
เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะ
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในการประชุมครั้งที่ 3/2556 เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2556
จึงกาหนดแนวปฏิบัติในการเสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ
สาหรบั นกั ศึกษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ของคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ดังตอ่ ไปนี้

ข้อ 1 ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ฉบับท่ี
7/2556 เร่อื ง แนวปฏบิ ัติในการเสนอขออนุมัตเิ คา้ โครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ คณะ
มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

ขอ้ 2 ให้ยกเลิก “ประกาศคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ฉบับที่
65/2550 เรื่อง แนวปฏิบัติในการขอสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ คณะ
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น” และให้ใช้ประกาศฉบับน้ีแทน
โดยมีผลบงั คบั ใชต้ ง้ั แต่ภาคการศึกษาตน้ ปีการศกึ ษา 2556 เปน็ ตน้ ไป

ขอ้ 3 การเสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ให้
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรของแต่ละสาขาวิชากาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการในการ
พจิ ารณาและหรอื ประเมินเค้าโครงวิทยานพิ นธ์หรือการศึกษาอิสระ เพ่อื ให้นกั ศกึ ษาเสนอ
ขออนุมัตเิ ค้าโครงตอ่ คณะ โดยเลือกวธิ ีการจากขอ้ 3.1 หรือ 3.2 ดงั น้ี

3.1 กาหนดใหใ้ ช้วธิ กี ารสอบเคา้ โครงวทิ ยานิพนธห์ รอื การศกึ ษาอสิ ระ
ใหด้ าเนินการดังนี้

(1) ให้นักศึกษายื่นคาร้องขอสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือ
การศึกษาอิสระ ตามแบบฟอร์มคาร้องขอสอบเค้าโครง (บศ.01) พร้อมเอกสารเค้าโครงที่
ผา่ นความเหน็ ชอบของอาจารย์ที่ปรกึ ษาแลว้ กอ่ นการสอบ 5 วนั ทาการ

130 ค่มู ือปฐมนเิ ทศนักศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

(2) ให้ประธานกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอแต่งตั้งกรรมการ
สอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ อย่างน้อย 2 คน ประกอบด้วย อาจารย์
ประจาซ่ึงไม่เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาหลักหรืออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
ภายนอก ไม่นอ้ ยกวา่ 1 คน โดยใหค้ นใดคนหน่ึงเปน็ ประธานกรรมการสอบ และอาจารย์
ท่ปี รกึ ษาหลกั และอาจารย์ทีป่ รกึ ษารว่ ม (ถา้ มี) เป็นกรรมการสอบ

3.2 กาหนดให้ใช้วิธีการสัมมนาและกล่ันกรองในที่ประชุมแทนการ
สอบ นักศึกษาต้องนาเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระในการ
ประชุมสัมมนาตามท่ีสาขาวิชากาหนดอย่างน้อย 1 ครั้ง โดยให้มีการตอบข้อซักถามและ
การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะของคณาจารย์และหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับเชิญ
เข้ารว่ มการประชุมสัมมนา

หลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรแต่ละหลักสูตรต้อง
ออกเป็นแนวปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษร และแจ้งให้อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาใน
หลักสตู รสาขาวชิ านั้นๆ ทราบและถือปฏิบัติ

ขอ้ 4 ให้นักศึกษาส่งเอกสารเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของ
นักศึกษา ทผ่ี ่านกระบวนการตาม ข้อ 3.1 หรือ 3.2 ตามทีค่ ณะกรรมการบริหารหลักสูตร
กาหนดเรียบร้อยแล้ว จานวน 5 ชุด ที่งานบัณฑิตศึกษาของคณะเพื่อเสนอขออนุมัติต่อ
คณบดี ตามแบบฟอรม์ ขออนุมตั ิเค้าโครง (บว.23)

ประกาศ ณ วนั ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556

(ลงชอื่ ) กลุ ธิดา ทว้ มสุข
(รองศาสตราจารยก์ ลุ ธิดา ทว้ มสุข)
คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คู่มอื ปฐมนิเทศนักศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 131

ประกาศคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ (ฉบบั ที่ 8/2556)
เรือ่ ง แนวปฏิบตั ิในการทาวิทยานิพนธ์ สาหรบั นักศกึ ษาระดบั ปริญญาโท

แผน ก แบบ ก 1
คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

เพื่อให้การทาวทิ ยานิพนธข์ องนักศึกษาระดับปริญญาโทคณะมนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์ ทุกสาขาวิชาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบังเกิดผลดีแก่นักศึกษา และ

เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

พ.ศ. 2548 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาคณะฯ ครั้งที่

1/2556 เม่ือวันที่ 11 มกราคม 2556 และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจา

คณะฯ ครง้ั ที่ 4/2556 เมื่อวันท่ี 7 มีนาคม 2556 ดังตอ่ ไปนี้

ข้อ 1. ประกาศน้ีเรียกวา่ “ประกาศคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ฉบบั ที่

8/2556 แนวปฏิบตั ิในการทาวิทยานิพนธ์ สาหรับนักศกึ ษาระดบั ปริญญาโทแผน ก แบบ ก

1 คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประกาศอ่นื ใดซ่ึงขัดแย้งกับ

ประกาศนี้ให้ใช้ประกาศฉบับน้ีแทน

ข้อ2. ให้ใชป้ ระกาศนี้กบั นักศกึ ษาหลกั สตู รระดับปริญญาโท แผน ก แบบ ก

1 ทเี่ ขา้ ศกึ ษาต้ังแต่ภาคการศึกษาตน้ ปีการศกึ ษา 2556

ขอ้ 3. นักศกึ ษาสามารถลงทะเบยี นรายวชิ าวิทยานพิ นธไ์ ด้เมอื่ ผ่านการอนุมตั ิ

จากหลักสตู ร

ข้อ 4. จานวนหนว่ ยกิตทล่ี งทะเบยี นเพ่ือทาวิทยานิพนธ์คร้งั แรก ให้เป็นไปตาม

คาแนะนาของอาจารยท์ ่ปี รึกษาวิทยานพิ นธ์

ข้อ 5. การประเมนิ ผลความกา้ วหนา้ ในการทาวทิ ยานิพนธ์ มีเกณฑ์ดงั น้ี

5.1 เรียบเรียงความสาคญั ของปัญหา วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย

และนยิ ามศัพท์ทีใ่ ช้ในการวิจัย 3 หนว่ ยกิต

5.2 ทบทวนและเรยี บเรยี งวรรณกรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ งกาหนดกรอบแนวคดิ

การวิจยั พรอ้ มต้ังสมมติฐานการวจิ ยั หรือคาถาม

ในการวจิ ัย (ถา้ มี) 6 หนว่ ยกิต

5.3 เรยี บเรยี งวิธีการดาเนนิ การวจิ ยั สอบและเสนอเคา้ โครง

วทิ ยานิพนธ์

6 หน่วยกิต

132 ค่มู ือปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

5.4 พัฒนาเคร่อื งมอื วิจัย/กาหนดแนวทางในการเกบ็ ขอ้ มลู และ

รวบรวมขอ้ มลู

6 หน่วยกติ

5.5 วิเคราะห์ขอ้ มลู เรยี บเรยี งผลการศึกษา และอภปิ รายผลการวิจยั

5.6 มีบทความทางวิชาการพรอ้ มตพี มิ พ์ หรือหนงั สือรบั รองการตีพมิ พ์

หรือบทความทไี่ ด้รับการตพี ิมพ์ในวารสารวิชาการ 3

หนว่ ยกิต

5.7 เรยี บเรยี งบทสรุปผลการวจิ ยั และข้อเสนอแนะ พร้อมเสนอรา่ ง

วทิ ยานพิ นธฉ์ บับสมบูรณโ์ ดยมอี งคป์ ระกอบครบ

ตามที่บัณฑติ วทิ ยาลัยกาหนด 6 หนว่ ยกติ

รวม

หากนักศึกษาทางานได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด และคณะกรรมการท่ีปรึกษา

วทิ ยานิพนธใ์ ห้ความเห็นชอบแล้วจะได้รับการประเมินใหไ้ ด้ S ตามจานวนหนว่ ยกิตที่ระบุ

ข้อ 6. การดาเนนิ การอนื่ ๆ ใหเ้ ป็นไปตามประกาศบณั ฑติ วทิ ยาลยั

มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

ประกาศ ณ วนั ท่ี 13 มีนาคม 2556

(ลงช่ือ) กุลธิดา ทว้ มสุข
(รองศาสตราจารย์กลุ ธิดา ทว้ มสขุ )
คณบดีคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์

ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 133

134 ค่มู ือปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

คู่มือปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 135

แบบประเมนิ ผลการสอบ  ดษุ ฎีนิพนธ์  วทิ ยานิพนธ์  การศกึ ษาอสิ ระ บศ.27
คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

วนั ท่ี………..เดือน………………..

พ.ศ………

นกั ศกึ ษาช่อื (นาย,นาง,นางสาว)…………………………………………..……รหสั

ประจาตวั ……………………….
เปน็ นกั ศึกษาระดับ  ปรญิ ญาโท  ปริญญาเอก หลกั สตู ร…………………………….

สาขาวชิ า………………
ทา ดษุ ฎีนิพนธ์  วิทยานิพนธ์  การศกึ ษาอสิ ระ

เรือ่ ง……………………………………………………

….………………..……………………………………………………………..……………..…………………………………

……………

ลาดบั ท่ี หวั ขอ้ ประเมนิ คะแนน คะแนน

ทไี่ ด้

ส่วนที่ 1 คณุ ภาพของผลงานดุษฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ หรือการศกึ ษาอสิ ระ

1. ความสาคัญของปญั หาการวิจยั (ความชดั เจนของปัญหาการวจิ ยั และเหตผุ ลทต่ี อ้ งทาการ 5

วิจัยและความเกยี่ วข้องของปญั หาการวจิ ยั กบั สาขาวิชาทศ่ี ึกษา)

2. ความชัดเจนของวตั ถปุ ระสงค์การวิจยั และหรือคาถามการวจิ ยั 5

3. การทบทวนวรรณกรรมท่ีครอบคลมุ แนวคิด ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยเกย่ี วขอ้ ง 5

4. การเชอื่ มโยงวรรณกรรมสู่การกาหนดกรอบแนวคิดการวิจยั ท่เี หมาะสม 5

5. ระเบียบวธิ ีวจิ ยั ท่ีเหมาะสม และหรือคุณภาพของเครือ่ งมอื การวจิ ยั ความถูกต้องเหมาะสม 10

ของเทคนคิ การเก็บรวบรวมข้อมูล

6. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและนาเสนอผลงานวิจัยทถ่ี กู ต้องเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ 10

การวิจยั

7. การอภปิ รายผลการวิจยั (ความสามารถในการบูรณาการความร้จู ากงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง และ 5

สะทอ้ นถึงขอ้ ดีของงานวจิ ัย)

8. คณุ ภาพการอา้ งอิง คณุ ภาพการเขียน การใชภ้ าษา การจัดลาดับโครงสร้างเนอ้ื หา 5

รวม 50

สว่ นท่ี 2 การสอบปากเปลา่ ในการนาเสนอผลงานดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอสิ ระ

1. ความเหมาะสมของวธิ กี ารนาเสนอ สือ่ เน้อื หา และเวลาการนาเสนอ 10

2. ความสามารถในการสรุปผล 10

3. ความสามารถในการให้เหตผุ ล อา้ งหลกั ฐานสนับสนุนการตอบคาถาม 10

รวม 30

136 ค่มู ือปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

สว่ นท่ี 3 คุณคา่ ทางวชิ าการและการเผยแพร่ผลงานดุษฎนี ิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์ หรือการศกึ ษาอสิ ระ

- มีคุณคา่ ทางวิชาการ สามารถนาไปใชถ้ า่ ยทอดความรู้หรืออ้างองิ ได้

- มปี ระโยชน์ต่อการนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการทางาน การแก้ปญั หา การกาหนดแนวปฏบิ ตั หิ รอื การ

กาหนดนโยบายได้

- มกี ารตพี ิมพ์ผลงานในเอกสารประชมุ วิชาการระดับชาติท่มี ผี ทู้ รงคุณวุฒิพจิ ารณาผลงาน

- มีการตีพมิ พผ์ ลงานในเอกสารประชุมวชิ าการระดบั นานาชาตทิ ี่มผี ู้ทรงคุณวุฒพิ จิ ารณาผลงาน

หรือมกี ารตพี มิ พห์ รอื ตอบรับให้ตพี ิมพผ์ ลงานในวารสารวิชาการทีเ่ ป็นที่ยอมรบั ในสาขาวิชาใน

ระดบั ชาตทิ ่ีมีชอื่ ปรากฏอย่ใู นประกาศของ สมศ. 5-20

- มีการตพี ิมพห์ รือตอบรับใหต้ พี มิ พผ์ ลงานในวารสารวิชาการที่เปน็ ที่ยอมรับในสาขาวชิ าในระดบั

นานาชาติท่ปี รากฏในฐานขอ้ มูลการจดั อันดบั วารสาร SJR (SCIMAGO JOURNAL RANK:

WWW.SCIMAGOJR.COM)

- มกี ารตีพิมพ์หรือตอบรับใหต้ ีพิมพ์ผลงานในวารสารวิชาการท่ีเป็นท่ียอมรบั ในสาขาวชิ าในระดบั

นานาชาติ ทม่ี ีชอ่ื อยู่ในฐานขอ้ มูล SCOPUS, ISI

รวม 20

รวมท้ังหมด

หมายเหต:ุ

1. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน (90-100% = Excellent), (80-89 = Good), (70-79% = Passed),

(ต่ากวา่ 70% = Failed)

2. ตามเกณฑก์ ารให้คะแนนผลงานที่จะไดร้ ับการประเมนิ ให้ได้ระดับ Excellent จะต้องเป็นไป

ตามเงือ่ นไขน้ี

- ปรญิ ญาโท ตอ้ งมผี ลงานการตีพิมพ์หรือตอบรับให้ตีพิมพใ์ นวารสารที่มชี อ่ื อยู่ในฐานขอ้ มลู

TCI กลมุ่ 1 และ 2 หรือสูงกว่านัน้

- ปริญญาเอก ตอ้ งมีผลงานการตีพมิ พ์หรอื ตอบรับใหต้ พี มิ พ์ในวารสารท่มี ีช่ืออยู่ในฐานข้อมูล

SCOPUS, ISI

3. หลักเกณฑอ์ ่ืนทเี่ กย่ี วขอ้ งให้องิ ตามระเบยี บมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น วา่ ด้วยการศกึ ษา ระดบั

บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2559

ค่มู ือปฐมนิเทศนักศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 137

Announcement of Faculty of Humanities and Social Sciences
(Announcement No. 6/2538)

Subject: Guidelines for completing the graduate courses with “I”
symbol

In order to ensure that the management of Graduate Study Section of the
Faculty of Humanities and Social Sciences is carried properly and effectively
and to develop the quality of the students of the Faculty, the Board of
Committee of Graduate Study Section, Faculty of Humanities and Social

Sciences in the meeting 1/2538 on January 18, 1995 agreed to set up
guidelines in completing the graduate courses with “I” symbol as follows.

4. Duration for completing courses with “I” symbol
Students who earn “I” symbol have to contact an instructor for

completing assignments and / or operation within the next semester.
Otherwise, the “I” is automatically changed to an “F”.

5. Request for extension of completing the courses with “I” grade
If students cannot complete “I” symbol within the stated timeframe for

any reasons, they must request for an extension from the Board of Committee of
Graduate Section, Faculty of Humanities and Social Sciences not later than the
last day of the study in the semester that the students need to complete the “I”
symbol.

The request for an extension of completing the courses with “I”
symbol, an extension will be granted for only a single additional semester. If
students cannot complete “I” symbol within the stated timeframe, the “I” is
automatically changed to an “F”, except only the case that the instructor

cannot complete the grading for the students for any reasons.
6. Result of completing the courses with “I” symbol
For the courses that students enroll with CREDIT, “I” can be changed

to not higher than “B +” in order to maintain the quality and standard of
graduate study of the faculty.

7. This announcement is active to all graduate students of all majors of the
faculty.

138 ค่มู ือปฐมนเิ ทศนักศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

Announced on February 3rd, 1995

(Signature) Associate Professor Dr. Yupin Techamanee
(Associate Professor Dr. Yupin Techamanee)

Dean, Faculty of Humanities and Social Sciences

ค่มู อื ปฐมนเิ ทศนักศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 139

Subject: Regulations and Guidelines for
Comprehensive Examination Score Recheck

In order to ensure that the comprehensive examination score recheck at the
Faculty of Humanities and Social Sciences is carried out efficiently and fairly, and
based on Section 27 of the University Act, B.E. 2541 on the approval of the Faculty of
Humanities and Social Committee No. 20/2546 on 27 November 2003, the rules and
the practices on the comprehensive examination score recheck are set as follows.

1. Students who register for each comprehensive examination can
recheck the comprehensive examination score for only one time.

2. Students who wish to recheck the comprehensive examination score
are required to submit the request to the Educational Service Section of the
faculty with 200 Baht fee. The request will be presented to the Dean of the
Faculty of Humanities and Social Sciences within three weeks after the
announcement of the examination result.

3. The Head of the Department with the chairperson/ the committee of
the program and the chairperson / the committee of the comprehensive
examination check and report the result of the recheck to the dean of the
Faculty of Humanities and Social Sciences within one week.

4. The Educational Service Section informs the result to the students
with the following guidelines.

4.1 If the score is correct without correction, the fee mentioned in
Item 2 will be charged by the Faculty of Humanities and Social Sciences.

4.2 If the score is incorrect, the fee mentioned in Item 2 will be paid
back to students.

5. The result based on Item 3 is finalized.
This announcement is effective from the announcement date onwards.

Announced on December 1st, 2003

(Signature) Assistant Professor Dr. Sripanya Chaiyai
(Assistant Professor Dr. Sripanya Chaiyai)

Dean, Faculty of Humanities and Social Sciences

140 คู่มอื ปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

Announcement of Faculty of Humanities and Social Sciences

(Announcement No. 57/2548)

Subject: Guidelines and Criteria for Evaluating Thesis for Ph. D.
Students

of Faculty of Humanities and Social Sciences

In order to ensure that the thesis for Ph. D. students of Faculty of
Humanities and Social Sciences Khon Kaen University is carried out properly and
effectively, guidelines and criteria for evaluating the thesis are issued as follows:

1. Thesis enrollment
1.1 Qualifications of students who are eligible for thesis
enrollment
1.1.1 Students of Plan 1(2) who started the Ph.D. program

before Academic Year 2005 or students of Plan 1.1 who have started the
Ph.D. program since Academic Year 2005 at the discretion of the program
committee.

1.1.2 Students of Plan 2(2) who started the Ph.D. program
before Academic Year 2005 or students of Plan 1.2 who have started the
Ph.D. program since Academic Year 2005 and have completed all the
compulsory courses with no “I” symbol in any courses and with a GPA of no
less than 3.00.

1.2 Students will be able to enroll for a thesis only after their
thesis advisors have been appointed. The number of thesis credits enrolled
should be approved by their thesis advisors.

2. The process for appointing a thesis advisor is as follows:
2.1 A student has to develop a concept paper on the topic of

his/her doctoral thesis and submit it to the Chairperson of the Program on
the due date. The concept paper must include the following:

2.1.1 Research rationale
2.1.2 Research questions
2.1.3 Objectives of the study

ค่มู อื ปฐมนิเทศนักศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 141

frameworks 2.1.4 Theoretical concepts, literature review, and

2.1.5 New knowledge or innovation yielded from the study
2.1.6 References

3. The process for presenting a thesis proposal is as follows:
3.1 A student who has already had a thesis advisor and had

enrolled for a thesis has to develop a thesis proposal based on the

submitted concept paper or he/she can revise the concept paper under the
supervision of his/her thesis advisor.

3.2 Each of the students has to orally present their thesis
proposal in the thesis seminar organized by the program; they also have to
submit all the documents (3.2.1-3.2.3) on the due date; they have to be
prepared for answering questions, and accepting comments and suggestions
of the program committee, the lectures in the program, and the experts
invited to participate in the seminar. Thesis proposal must include the

followings:
3.2.1 Research rationale, research questions, objectives of the

study, scope of the study, expected outcome, and definitions of terms
3.2.2 Theoretical concepts and frameworks
3.2.3 Methodology

3.3 The program committee will evaluate the thesis proposal
based on the following guidelines:

3.3.1 The thesis proposal is academically accurate and clear

(research questions, theoretical framework, and methodology are properly
interconnected, and yield academic or practical outcomes), The student
completely passes the thesis proposal presentation according to the criteria
of the Graduate School under the supervision of the thesis advisor.

3.3.2 In case that the thesis proposal lacks academic
accuracy and clarity (research questions, theoretical framework, and
methodology are still imprecise or unclear). The student, who fails the thesis

142 คู่มือปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

proposal presentation, has to re-present his/her thesis proposal again in the
next seminar until he/she passes, then follow the process as stated in 3.3.1.

3.4 When the student has developed the thesis proposal under
the approval of his/her thesis advisor, the program will submit the thesis
proposal to the external expert for comments and suggestions.

3.5 The student revises his/her thesis proposal according to the
comments and suggestions of the external expert under the supervision of
the thesis advisor, and follows the procedures for requesting for thesis
proposal approval from the Faculty and from the Graduate School.

3.6 Only the student who passes the qualifying examination is
eligible for following the procedures in asking for thesis proposal approval
from the Faculty and from the Graduate School.

4. The process for thesis progress report is as follows:
4.1 The student has to submit his/her thesis progress report

based on the form of the program to his/her thesis advisor on last week of
the semester or on the date arranged by the program.

4.2 After the student has conducted his/her research and has
been evaluated for his/her progress, and has been granted the "S"s for 27
credits, he/she has to orally present his/her thesis progress by summarizing
the research results in the thesis seminar of the program on the arranged
date, and preparing for answering questions, accepting comments and
suggestions of the program committee, the lectures in the program, the
experts invited to participate in the seminar, and other audiences.

8. Thesis Examination
The process of thesis examination should comply with the

regulations and announcements of the University and the Graduate School.
9. Thesis publication in accordance with the graduation conditions
6.1 Students who started the program before Academic Year

2005 should follow the procedure below:
6.1.1 Students of Plan 1(2) must have at least one article

based on his/her thesis or parts of his/her thesis published or have been
accepted to be published in a journal or present in an academic conference

คู่มอื ปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 143

which is accepted in that field of study, and have at least one article
published in an international journal.

6.1.2 Students of Plan 2(2) must have at least one article
based on his/her thesis or parts of his/her thesis published or have been
accepted to be published in a journal or present in an academic conference
which is accepted in that field of study.

6.2 Students who has started the program since Academic Year
2005 should follow the procedure below:

6.2.1 Students of Plan 1(2) must have at least one article
based on his/her thesis or parts of his/her thesis published or have been
accepted to be published in a journal or present in an academic conference
which is accepted in that field of study, and have at least one article
published in an international journal which is peer reviewed.

6.2.2 Students of Plan 2(2) must have at least one article
based on his/her thesis or parts of his/her thesis published or have been
accepted to be published in a journal which is peer reviewed and accepted

in that field of study.
7 Thesis evaluation
The process for thesis evaluation is as follows:
7.1 The thesis advisor should evaluate the thesis progress

based on the student progress report and the amount of work done with
evidences by granting an "S" according to the number of credits passed.
Thesis evaluation should comply with the criteria for evaluating thesis (Item 8
of this announcement) issued by the program committee.

7.2 Students who have not passed the qualifying examination
are not eligible for being granted an "S" more than 9 credits.

7.3 The evaluation of thesis examination should comply with
the regulations and announcements of the University and the Graduate
School.

144 ค่มู ือปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

Criteria for Evaluating Thesis

Activities for Evaluating Credit gained

Plan Plan

1(2) 2(2)

1. A student has researched related documents and developed a 3 3

concept paper which is approved by his/her thesis advisor. Then

he/she has presented the concept paper in the seminar organized

by the program, and both internal expert and the program

committee have approved that his/her concept paper can be

developed as a thesis.

2. A student has developed a thesis proposal from his/her concept 3 3

paper (as stated in 3.2.1-3.2.3) under the supervision and approval

of his/her thesis advisor to present the thesis proposal in the thesis

seminar of the program, and the thesis proposal has been approved

by the program committee.

3. A student has revised his/her thesis proposal under the approval of 3 3

the thesis advisor, the thesis proposal has been approved by an

external expert.

4. A student is able to revise the thesis proposal according to 3 3

comments and suggestions of the experts, and he/she can submit

the form for approving thesis proposal to the Graduate School.

5. A student is able to plan and design his/her study, select samples, 6 6

create tools for data collection, try out the tools, and is ready for

data collection.

6. A student is able to finish the process of data collection. 33

7. A student has finished the data analysis and is able to summarize 3 3

the data analysis.

8. A student is able to present the research findings to the thesis 33

advisor.

9. A student presents the research findings in the thesis seminar of the 6 2

program, revises research findings according to comments and

suggestions of the experts in the seminar, is able to write a report

about the findings, summary, discussion, and submit a draft of

ค่มู อื ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 145

his/her thesis to the thesis advisor.

10. A student is able to present some parts of his/her thesis in an 32

academic conference or publish some parts of his/her thesis in a

journal which is accepted in that field of study.

11. A student revises his/her thesis draft according to the suggestions of 6 3

his/her thesis advisor, and writes a complete thesis which is ready

to submit to the thesis examination committee.

12. The findings of the student's thesis are published/have been 5-

accepted to be published in an international journal.

13. Submit the form for thesis examination Thesis examination Revise 1 1

the thesis and write a complete thesis that is ready to be

submitted.

Other guidelines that are not stated in this announcement shall

comply with the announcement of the Graduate School Khon Kaen

University (Announcement No. /2544) Subject: Criteria and Guidelines for

Thesis and Independent Study or comply with the revised announcement of

Khon Kaen University

Announced on October, 2005

(Signature) Associate Professor Peerasit Kamnunansilpa
(Associate Professor Peerasit Kamnunansilpa)
Dean

146 คู่มอื ปฐมนเิ ทศนักศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS

Thesis Progress Report and Evaluation Form

for Ph. D. Students of Faculty of Humanities and Social Sciences,

Khon Kaen University

Part 1 : Information about student and thesis

Part 1.1 Information about student

1. Name-Last name

2. Student's ID/Year Student's ID............................................

Year...........................................................

3. Year of Program Entry

4. Contact Address

Telephone No./Email Tel. No. ...................................................

E-mail………………………………………………..

5. Qualifying examination Pass the qualifying examination on

dd/mm/yy ...........................................................

Has not taken yet

Fail

6. Intermission Leave or Leave for

doing research abroad (Please

specify the activity and period of

time)

Part 1.2 Information about thesis

7.Thesis title (if the thesis title

has not been approved yet, fill

in the title of the study that the

student is working on and will

be developed to be his/her

thesis)

8. Advisors 1. Thesis advisor...................................

2. Thesis Co-advisor............................

3. Thesis Co-advisor............................

4. Thesis Co-advisor............................

9. Thesis and Graduation Plan (Student may follow the activities in doing

ค่มู ือปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา:ORIENTATION HANDBOOK KKU HUSO-GS 147

(Specify activities, period of research as mentioned below, but the
time, and dates and time of details are depending on each individual
doing thesis) Plese sepearte this thesis)
part as a theis plan document 1. Theis Proposal Development (study
and attach it with this form.
related research and theoretical
10. Concept paper presentation concepts, develop a conceptual paper,
and evaluation in the seminar present the conceptual paper in the
organized by the program seminar, develop a thesis proposal,
11. Thesis proposal presentation present the thesis propsal in the seminar,
in thesis proposal semiar submit the thesis proposal to the experts,
organized by the program submit a request form for thesis proposal
12. Thesis proposal evaluation approval to the Graduation School)
by the experts 2. Create a research tool or plan for data
13. Submission for thesis colletion
3. Data collection (Field research)
4. Data analysis
5. Discussion, conclusion, and writing a
thesis draft
6. Writing an article for publication
7. Writing a complete thesis
8. Thesis examination
9. Revise thesis and submit the thesis to
the Graduate School

Pass on dd/mm/yy
.......................................

Has not presented yet/Fail

Already presented on dd/mm/yy
.............

Has not presented yet

Pass on dd/mm/yy
.......................................

Has not submitted to the experts yet

Submitted on dd/mm/yy .


Click to View FlipBook Version