The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการประจำปี 66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พรพนา สมัยรัฐ, 2023-03-25 07:38:28

แผนปฏิบัติการประจำปี 66

แผนปฏิบัติการประจำปี 66


ก ค ำน ำ โรงเรียนบ้านหยงสตาร์ได้จัดแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566) ตามแนวทางของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 เพื่อ ใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาการศึกษา ของโรงเรียนบ้านหยงสตาร์โดยมีสาระส าคัญ ประกอบด้วย สภาพทั่วไป การจัดการศึกษา ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ค่านิยมองค์กร ของโรงเรียนบ้าน หยงสตาร์ รวมทั้ง รายละเอียดแผนงาน/โครงการ และการบริหารแผนสู่การปฏิบัติ แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566) ได้ ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านหยงสตาร์ ในคราวประชุม ครั้งที่ 6/2565 วันที่ 27 กันยายน 2565 หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566) ฉบับนี้จะเป็นเครื่องมือส าคัญในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านหยงสตาร์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถน านโยบายสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม และขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการจัดท า แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566) จนส าเร็จ ด้วยดี (นางพรพนา สมัยรัฐ) ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านหยงสตาร์


ข สำรบัญ หน้ำ ค าน า ก สารบัญ ข ส่วนที่ 1 สภำพทั่วไปและสภำพกำรจัดกำรศึกษำ 1 บทน า 1 ๑. สถานที่ตั้งและข้อมูลทั่วไป ๑ ๒. อ านาจหน้าที่และโครงสร้าง ๔ ๓. โครงสร้างโรงเรียน ๕ 4. จ านวนบุคลากรทางการศึกษาและลูกจ้าง ๖ 5. ข้อมูลทางการศึกษา ๗ 6. โครงสร้างหลักสูตร ๑0 7. ภาระงาน/ปริมาณงาน ๑1 8. ผลการด าเนินงานที่ผ่านมา ๑3 9. ข้อมูลอาคารสถานที่ ๑3 10. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการใช้ ๑4 11. ด้านประสิทธิภาพ 14 ๑2. ผลงานที่ภาคภูมิใจ 15 13. รายรับสถานศึกษา 29 ส่วนที่ 2 สภำพปัจจุบัน ปัญหำ 30 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมสถานศึกษา (SWOT) 30 ส่วนที่ 3 ทิศทำงกำรพัฒนำกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ๓4 ๑. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 35 2. ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี 35 3. แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2561-2580 36 4. แผนการปฏิรูปประเทศ 37 5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 37 6. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 38 7. นโยบายที่เกี่ยวข้อง 41 7.1นโยบายรัฐบาล 41 7.2นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ 41


ค สำรบัญ (ต่อ) 7.3นโยบายส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน้ำ 45 8. ทิศทางการจัดการศึกษาส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรังเขต ๑ 48 9. ทิศทางการจัดการโรงเรียนบ้านหยงสตาร์ 71 10. ผลการด าเนินงานโครงการในรอบปีที่ผ่านมา 85 ส่วนที่ 4 แผนงำนโครงกำร/กิจกรรม 80 4.1 แผนการใช้จ่ายงบประมาณและโครงการตามแผนปฏิบัติการประจ าปี งบประมาณ 256๔ 80 4.2 รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม 84 - โครงการรักการอ่าน รู้คุณวันสุนทรภู่ รู้ค่าวันภาษาไทย 84 - โครงการวันวิทยาศาสตร์ แห่งชาติ 91 - โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ระดับปฐมวัย 97 - โครงการแก้ปัญหาและพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ 102 - โครงการนักประชาสัมพันธ์น้อย 110 - โครงการพัฒนาสมรรถนะครูผู้สอนสู่คุณภาพผู้เรียน 117 - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาที่เป็นนิติบุคล 125 - โครงการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 129 - โครงการขับเคลื่อนโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน 135 - โครงการขับเคลื่อนสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและ อบายมุขและความปลอดภัยในโรงเรียน 141 - โครงการสร้างสุข โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 149 - โครงการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และโรงเรียนสุจริต 155 - โครงการเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ฯ - โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนแผนพัฒนาคุณภาพและแผนปฏิบัติการ 159 165 ส่วนที่ 5 กำรก ำกับ ติดตำม ประเมินผลและรำยงำน 169 1.การก ากับติดตาม (Monitoring) 169 2.การประเมินผล (Evaluation) 169 3.การตรวจสอบ ( Audition) 169 4.การรายงานผล (Reporting) 169 ภำคผนวก - ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนแผนพัฒนาการศึกษา 171 - ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองโครงการ ประจ าปีงบประมาณ 256๖ 175 - ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการก ากับ ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล ฯ 176 - ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา 177 - คณะท างาน 178


ง ส่วนที่ 1 สภำพทั่วไปและสภำพกำรจัดกำรศึกษำ บทน ำ การจัดการศึกษามุ่งเน้นความส าคัญทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรมการบวน การเรียนรู้ และความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อพัฒนาคนให้มีความสมดุล โดยยึดหลักผู้เรียนส าคัญที่สุด ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มศักยภาพ ให้ความส าคัญต่อความรู้เกี่ยวกับตนเอง ความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ สังคมโลก รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคม และ ระบอบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบ ารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ความรู้และทักษะ ในการประกอบอาชีพ การด ารงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข 1. สถำนที่ตั้งและข้อมูลทั่วไป 1.1 ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบ้านหยงสตาร์ ตั้งอยู่เลขที่ 89/3 ถนน ตรัง-หยงสตาร์ หมู่ที่ 3 ต าบลท่าข้าม อ าเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสไปรษณีย์ 92120 โทรศัพท์ 075-289310 สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน 1.2 เปิดสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษา(อนุบาล 1-3) ถึงระดับประถมศึกษา (ป.1-6) 1.3 มีเขตพื้นที่บริการ 3 หมู่บ้านได้แก่หมู่ที่ 3 (บ้านพิกุลทอง) หมู่ที่ 2 (บ้านหยงสตาร์) และหมู่ที่ 7 (บ้านควน) 1.4 อำณำเขต ทิศเหนือ จดถนนสาธารณะ ทิศใต้ จดที่ดินนางตั้น ธรรมบุญฤทธิ์ ทิศตะวันออก จดถนนตรัง - หยงสตาร์ ทิศตะวันตก จดที่ดินนางตั้น ธรรมบุญฤทธิ์ 1.5 ค ำขวัญโรงเรียน “วินัยเด่น เน้นคุณธรรม น าวิชา พัฒนาสังคม” 1.6 อัตลักษณ์ “รักษ์สะอาดอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม” 1.7 เอกลักษณ์ “วินัยเด่น เน้นคุณธรรม น าวิชา พัฒนาสังคม”


1.8 สีประจ ำโรงเรียน น้ าเงิน - เหลือง สีน้ าเงิน หมายถึง ความสงบ ความสุขุม ความหนักแน่น สีเหลือง หมายถึง ความสดใส ความเบิกบาน ความรุ่งเรือง ความมั่งคั่ง 1.9 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการท างาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 9. กตัญญู 1.10 ประวัติโดยย่อ โรงเรียนบ้านหยงสตาร์ เปิดท าการสอน ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2471 จนถึงปัจจุบันโรงเรียนบ้านหยง สตาร์ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอ าเภอปะเหลียน ประมาณ 2.5 กิโลเมตรตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2471 ณ หมู่ที่ 2 ต าบลท่าข้าม อ าเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ในเนื้อที่ 3 งาน โดยนายอ าเภอเป็นผู้จัดตั้ง และราษฎร ได้ร่วมมือร่วมใจบริจาคเงิน ที่ดิน และแรงงานในการก่อสร้าง เปิดท าการสอนตั้งแต่ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ต่อมาราษฎรเห็นว่าที่ของโรงเรียนคับแคบไม่เพียงพอต่อความ ต้องการจึงพร้อมใจกันบริจาคเงินซื้อที่ดินในหมู่ที่ 3 ต าบลท่าข้าม เนื้อที่ 6 ไร่ และทางราชการให้งบประมาณ ในการก่อสร้างอาคารเรียนเปิดท าการสอนถึงชั้นประถมศึกษาตอนปลาย เมื่อปีการศึกษา 2516 1.11 ข้อมูลเกี่ยวกับชุมชน สภาพที่ตั้งชุมชนบ้านหยงสตาร์ ต าบลท่าข้าม เป็นชุมชนเก่าแก่ มีความรุ่งเรืองมาในอดีต เพราะเป็น เมืองท่าหน้าด้านที่ใช้ติดต่อค้าขายกับต่างชาติ สภาพพื้นที่เป็นเกาะชายฝั่งทะเลอันดามัน ประชากรส่วนใหญ่ นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 90 ศาสนาพุทธร้อยละ 10 ทั้งสองศาสนาอยู่ด้วยกันอย่าสันติ ใช้ภาษาถิ่นใต้ใน การสื่อสาร สภาพเศรษฐกิจของชุมชนพอมีพอกิน ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม และ การประมง ไม่มีการแพร่ ระบาดของยาเสพติดในชุมชน ผู้ปกครองส่วยใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา และผู้ปกครองเล็งเห็น ความส าคัญของการศึกษาประกอบกับชุมชนมีสถานที่ส าคัญและเป็นแหล่งเรียนรู้อยู่มากมาย แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 2


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 6 สภำพชุมชนโดยภำพรวม สภาพทั่วไปของชุมชนบ้านหยงสตาร์ มีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ จดคลองท่าข้าม มีสะพานสู่ตัวอ าเภอ ทิศใต้ จดทะเลอันดามัน ทิศตะวันออก จดทะเลอันดามัน ทิศตะวันตก จดทะเลอันดามัน ลักษณะภูมิประเทศ ประกอบด้วยเนินสูงบริเวณกลางของพื้นที่และค่อยๆลาดเอียงไปรอบ ๆทั้ง 4 ด้านและมีที่ราบ มีป่า ชายเลนรอบพื้นที่จนถึงชายฝั่ง สภำพสังคม สภาพสังคม ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ประมาณ 90 % ใช้ภาษาถิ่นใต้ ไม่มีปัญหาด้าน อาชญากรรม มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง มีศิลปะการแสดง เช่น รองแง็ง สภำพเศรษฐกิจ อาชีพหลักคือท าการประมง ท าสวนยางพารา และค้าขาย รายได้ส่วนใหญ่จากผลิตผลทางการประมง กำรปกครอง มี3หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 2, หมู่ที่ 3, หมู่ที่ 7 กำรศึกษำ เป็นชุมชนที่สนใจการศึกษามานาน และนิยมส่งบุตรหลานให้เรียนสูงที่สุดตามก าลังความสามารถของ ครอบครัว โอกำสและข้อจ ำกัดของโรงเรียน โรงเรียนบ้านหยงสตาร์อยู่ในชุมชนที่ประชาชนให้ความส าคัญกับการศึกษา ผู้ปกครองสนับสนุน การศึกษาของบุตรหลานเป็นอย่างดี ในชุมชนมีภูมิปัญญาชาวบ้านหลายด้าน เช่น การท าผ้าบาติก การท าขนม พื้นบ้าน การแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์น้ า การท ากุ้งแห้ง ปลาเค็ม การท ากะปิ ซึ่งโรงเรียนสามารถใช้เป็นแหล่ง เรียนรู้ได้อย่างดี ชุมชนหยงสตาร์ มีป่าชายเลนล้อมรอบ ท าให้นักเรียนมีโอกาสได้เรียนรู้ธรรมชาติ รักธรรมชาติ ศึกษา ระบบนิเวศน์ และปฏิบัติกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะป่าชายเลน ซึ่งเป็นแหล่ง อาหาร ที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ า และเป็นตัวช่วยลดภาวะโลกร้อนที่ส าคัญมาก ประกอบกับหมู่บ้านหยงสตาร์เป็น หมู่บ้านที่ได้รับความสนใจ ช่วยเหลือสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อม จากองค์กรต่าง ๆ ส่วนข้อจ ากัดของโรงเรียน คือ โรงเรียนมีพื้นที่น้อย การจัดการศึกษาในเรื่องการงานอาชีพโดยเฉพาะ การเพาะปลูก ท าได้ไม่สมบูรณ์ ด้อยในเรื่องการปลูกฝังให้รักในอาชีพการเกษตร ซึ่งเป็นอาชีพหลักอาชีพหนึ่ง ของหมู่บ้าน ท าให้นักเรียนไม่รักในอาชีพการเกษตร เท่าที่ควร


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 7 ปัญหำอุปสรรคในกำรจัดกำรศึกษำ 1. โรงเรียนมีพื้นที่น้อย มีข้อจ ากัดในการจัดกิจกรรมด้านการเกษตร 2. บุคลากร มีจ านวนจ ากัด ไม่มีครูผู้ชาย และขาดบุคลากรที่มีความสามารถด้านเทคโนโลยี ถูกจ ากัด ในการเรื่องทักษะอาชีพ และทักษะในการจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬาให้กับผู้เรียน ซึ่งเป็น ทักษะส าคัญที่จะส่งเสริมความสามารถของผู้เรียน 3. โรงเรียนเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก มีงบประมาณในการบริหารจัดการจ ากัด 4. ผู้ปกครองบางท่านขาดความรัก และศรัทธาในโรงเรียน ส่งบุตรหลานไปเรียนโรงเรียนนอกเขตพื้นที่ (หมู่บ้านในเขตพื้นที่บริการ คือ หมู่ 3 หมู่ 2 และ หมู่ 7 ต าบลท่าข้าม) 5. ข้าราชการครูส่วนใหญ่ มีอายุ 50 ปีขึ้นไปอายุเฉลี่ย 5๕.17 ปี และมีครูที่ก าลังจะเกษียณปี 2567 จ านวน 2 คน 2. อ ำนำจหน้ำที่และโครงสร้ำง ข้อมูลด้ำนกำรบริหำร ชื่อ-สกุลผู้บริหารนางพรพนา สมัยรัฐ ผู้อ านวยการช านาญการพิเศษ วุฒิการศึกษาสูงสุดปริญญาโท ศษ.ม.นวัตกรรมหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2562 จนถึงปัจจุบัน ผู้บริหำรโรงเรียนบ้ำนหยงสตำร์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีดังนี้ 1. ครูแดง ท่าวัง (ยุคก่อนเปิดโรงเรียน) พ.ศ. 2463 - 2471 2. นายนัด พลประสิทธิ์ พ.ศ. 2471 - 2473 3. นายกล่ า รุ่งธานี พ.ศ. 2473 - 2478 4. นายเอียง นาคช่วย พ.ศ. 2478 - 2479 5. นายเอียด อินทรนุรักษ์ พ.ศ. 2479 - 2479 6. นายมี ศรีสุข พ.ศ. 2479 - 2480 7. นายบุญเรือง ดิษฐพงษ์ พ.ศ. 2480 - 2481 8. นายเชิดพงษ์ หยงสตาร์ พ.ศ. 2481 - 2485 9. นายบ ารุง ใจสมุทร พ.ศ. 2485 - 2491, พ.ศ. 2494 - 2506 10. นายเทพ หยงสตาร์ พ.ศ. 2491 - 2494 11. นายมุนี พรหมศิวะพัลลภ พ.ศ. 2505 - 2525 12. นายวาสน์ กิจปกรณ์สันติ พ.ศ. 2525 - 2529 13. นายสนอง หวังชัย พ.ศ. 2529 - 2536 14. นายประทีป ยอดศรี พ.ศ. 2536 - 2542 15. นายประสาร ทุ่ยอ้น พ.ศ. 2542 - 2551 16. นายกาเรียง กาญจนาทิพย์ พ.ศ. 2551 - 2560 17. นางกุลวดี ใจสมุทร พ.ศ. 2561 - 2562 18. นางพรพนา สมัยรัฐ พ.ศ. 2562 ถึงปัจจุบัน


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 8


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 9 5. จ ำนวนบุคลำกรทำงกำรศึกษำและลูกจ้ำง (จ ำแนกตำมกลุ่ม และวุฒิกำรศึกษำ) ที่มำ : ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนำยน 2565 ประเภท เพศ ระดับกำรศึกษำสูงสุด อำยุ ประสบกำรณ์ บุคลำกร ชำย หญิง ต่ ำกว่ำ ป.ตรี ป.ตรี สูงกว่ำ ป. ตรี เฉลี่ย สอนเฉลี่ย ผู้อ ำนวยกำร นางพรพนา สมัยรัฐ - 1 - - 54 30 ครูประจ ำกำร นางสาวนวพร สมจริง นางพัชรา ชุติเดโช นางสาวสุรัตยา หยังหลัง นางจรรยา หยงสตาร์ นางสาวโยษิตา พลวัฒน์ นางสาวศิราพร ทองขาว - - (6) 1 1 1 1 1 1 - - (5) - (1) - - - - (45) 47 58 58 59 25 30 (17) 14 25 32 38 1 5 ครูอัตราจ้าง นางสาวปาริชาต หวังชัย นางสาวสุนิศา ส านักพงศ์ นางสาวสุนิศา คงเลิศ 1 1 1 26 24 26 4 2 3 วิทยากรอิสลาม นางสาวสานิดา หนกหลัง ครูธุรการ นางสาวอมรทิพย์ สาวะเดช - - 1 1 - - - - 34 46 5 6 รวม ๑๒ - ๑0 2 40.58 13.75


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 10 6. ข้อมูลทำงกำรศึกษำ 6.1. ข้อมูลจ ำนวนนักเรียน ข้อมูล ระดับชั้น จ ำนวน ห้องเรียน จ ำนวนนักเรียน (10 มิถุนำยน 2565) ชำย หญิง รวม อนุบาล 1 1 6 11 17 อนุบาล 2 1 7 8 15 อนุบาล 3 1 8 7 15 รวมระดับอนุบำล 3 21 26 47 ประถมศึกษาปีที่ 1 1 6 4 10 ประถมศึกษาปีที่ 2 1 6 13 19 ประถมศึกษาปีที่ 3 1 9 6 15 ประถมศึกษาปีที่ 4 1 6 6 12 ประถมศึกษาปีที่ 5 1 8 4 12 ประถมศึกษาปีที่ 6 1 8 8 16 รวมประถมศึกษำ 6 43 41 84 รวมทั้งสิ้น 9 64 67 131 6.2 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทำงกำรศึกษำ ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จ ำนวนนักเรียน ชั้น ป.๑ จ ำนวนนักเรียนที่เข้ำสอบ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เฉลี่ย คะแนน รวม กำรอ่ำนออก เสียง กำรอ่ำนรู้ เรื่อง ระดับโรงเรียน 14 39.28 59.28 49.28 ระดับเขตพื้นที่ 600 59.24 69.01 64.13 ระดับประเทศ 406,734 69.95 72.79 71.37


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 11 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อประกันคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2564 กำรประเมิน 2563 2564 ผลต่ำง คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย 62-63 ด้านการคิดค านวณ (Numeracy) 65.25 39.50 -25.75 ด้านภาษา ( Literacy) 60.93 56.33 -4.60 รวม 63.09 47.91 -14.18 0 10 20 30 40 50 60 70 ด้านการคิดค านวณ ด้านภาษา คะแนนเฉลี่ย วิชำ แผนภูมิแสดงกำรเปรียบเทียบผลกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำ ขั้นพื้นฐำนเพื่อประกันคุณภำพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษำปีที่ 3 ปีกำรศึกษำ 2563 - 2564 ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 12 เปรียบเทียบภาพรวมผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O - Net) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ วิชำ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๔ ผลต่ำง (+,-) คณิตศาสตร์ 26.67 50.67 24 ภาษาไทย 56.17 55.83 -0.34 วิทยาศาสตร์ 37.83 31.67 -6.16 ภาษาอังกฤษ 42.22 29.17 -13.05 รวม/เฉลี่ยทั้ง ๔ วิชำ 40.72 41.84 1.11 0 10 20 30 40 50 60 คณิตศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย วิชา แผนภูมิแสดงกำรเปรียบเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้น พื้นฐำน (O - Net) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ ปีการศึกษา2563 ปีการศึกษา2564


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 13 6. โครงสร้ำงหลักสูตร โรงเรียนบ้านหยงสตาร์ จัดสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) โรงเรียนได้จัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้และเวลาเรียน ดังแสดงในตารางต่อไปนี้ โครงสร้ำงเวลำเรียน หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พ.ศ. 2551 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้/ กิจกรรม เวลำเรียน(ชั่วโมง/ปี) ระดับประถมศึกษำ ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 วิทยาศาสตร์ 40 40 40 80 80 80 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 40 40 40 80 80 80 ประวัติศาสตร์ 40 40 40 40 40 40 สุขศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80 ศิลปะ 40 40 40 80 80 80 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80 ภาษาต่างประเทศ 200 200 200 80 80 80 รวมเวลำเรียน (พื้นฐำน) 840 840 840 840 840 840 รำยวิชำเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง 40 40 40 40 40 40 วิทยาการค านวณ 40 40 40 40 40 40 รวมเวลำเรียน (เพิ่มเติม) 80 80 80 80 80 80 กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน 120 120 120 120 120 120 กิจกรรมแนะแนว 30 30 30 30 30 กิจกรรมนักเรียน - กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี - ชุมนุม 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10 รวมเวลำเรียนทั้งหมด 1,040 ชั่วโมง/ปี หมำยเหตุ *ป.1-3 สำมำรถเพิ่มเติมสำระภำษำไทย หรือคณิตศำสตร์ เท่ำนั้น


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 14 โครงสร้ำงจ ำนวนชั่วโมงเรียน/สัปดำห์ หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประถมศึกษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ภาษาไทย 5 5 5 4 4 4 คณิตศาสตร์ 5 5 6 4 4 4 วิทยาศาสตร์ 2 2 2 2 2 2 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม - ประวัติศาสตร์ - ศาสนา ศีลธรรมและการด าเนินชีวิตในสังคม เศรษฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 สุขศึกษา+พลศึกษา 2 2 2 2 2 2 ศิลปะ 2 2 2 2 2 2 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 1 1 2 2 2 ภาษาต่างประเทศ 5 5 5 2 2 2 รวมเวลำเรียน(พื้นฐำน 21 21 21 21 21 21 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3 3 3 3 3 3 เพิ่มเติม 1* 1* 1* 1 1 1 รวมเวลำเรียนทั้งหมด 25 25 25 25 25 25 หมายเหตุ * - ป.1-3 สามารถเพิ่มเติมในสาระภาษาไทยหรือคณิตศาสตร์ เท่านั้น - ให้เพิ่มเติมในคาบเรียน 7. ภำระงำน/ปริมำณงำน โรงเรียนบ้านหยงสตาร์เป็นหน่วยงานของรัฐ สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีภารกิจ ดังนี้ 7.1. ภำรกิจหลัก 7.1.1 ระดับก่อนประถมศึกษา เป็นการจัดการศึกษาให้กับนักเรียนก่อนประถมศึกษา อายุ ๓ – 6 ปี เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนมีความพร้อมในการเข้าเรียนระดับประถมศึกษา มีพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา เปิดสอนชั้นอนุบาล 1 - 3 7.1.2 ระดับประถมศึกษา เป็นการจัดการศึกษาให้กับนักเรียนวัย อายุ 7 – 12 ปี ในวัยเรียน ภาคบังคับตามพระราชบัญญัติการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยจัดให้บุคคลมีสิทธิ และโอกาสเสมอกันทั้งบุคคลที่มี ความบกพร่อง และบุคคลที่มีความสามารถพิเศษ เน้นการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 15 มากที่สุด ฝึกการปฏิบัติให้ท าได้ ท าเป็น คิดเป็น รวมทั้งการปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร 7.1.3 ด าเนินการให้มีการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนเพื่อให้เด็กได้ศึกษาเล่าเรียน ได้มี ความรู้ความสามารถตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และตามความต้องการของท้องถิ่น 7.1.4 บริหารงบประมาณ โดยการใช้การบริหารงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงาน (SPBB) และอื่น ๆ ให้สามารถด าเนินการได้ตามแผนงาน/งาน /โครงการที่ก าหนดไว้ 7.1.5 ควบคุมก ากับติดตาม และ ประเมินผลการด าเนินงานประจ า และงานที่ระบุไว้ในแผนงาน/ งาน/โครงการ และท างานสรุปเสนอส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาตรังเขต ๑ 7.1.6 รวบรวมข้อมูล สารสนเทศ รวมทั้งการท าวิจัย และสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา 7.2 ภำรกิจเสริม 7.2.1 การด าเนินการประสานความร่วมมือตามแผน/โครงการ ในการพัฒนาด้านต่าง ๆ ร่วมกับ องค์กรท้องถิ่น ชุมชนและหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน 7.2.2 การด าเนินงานพิเศษ นโยบายของหน่วยเหนือ และตามความต้องการของชุมชนและ ท้องถิ่นด้านระบบบริหารจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และ มาตรฐานการศึกษา เพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก วัตถุประสงค์เฉพำะของสถำนศึกษำ ด้ำนผู้เรียน 1. นักเรียนมีความรู้และทักษะตามเกณฑ์มาตรฐานที่ก าหนด 2. นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3. นักเรียนมีความรู้ความสามารถตามกลุ่มสาระการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ด้ำนครู/บุคลำกร 1. ครูมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 2. บุคลากรพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ด้ำนบริหำรจัดกำร 1. บริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 2. ผู้บริหารมีภาวะเป็นผู้น าและมีวิสัยทัศน์ในการบริหารและจัดการ 3. ชุมชนและองค์กรมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 4. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อเสริมสร้างประสิทธิการบริหาร


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 16 8. ผลกำรด ำเนินงำนที่ผ่ำนมำ นักเรียนที่ได้รับการเลื่อนชั้น การศึกษา ปีการศึกษา 2564 จ าแนกตามระดับชั้น ชั้น จ ำนวนห้อง จ ำนวนนักเรียนชำย จ ำนวนนักเรียนหญิง รวม อนุบาลปีที่ ๑ ๑ ๗ ๙ ๑๖ อนุบาลปีที่ ๒ ๑ ๘ ๖ ๑๔ อนุบาลปีที่ ๓ ๑ ๕ ๕ ๑๐ รวมอนุบำล ๓ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ๑ ๗ ๑๑ ๑๘ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ๑ ๘ ๖ ๑๔ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ๑ ๕ ๔ ๙ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ๑ ๗ ๔ ๑๑ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ๑ ๗ ๘ ๑๕ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ๑ ๑๑ ๔ ๑๕ รวมประถม ๖ ๔๕ ๓๗ ๘๒ รวมทั้งหมด ๙ ๖๕ ๕๗ ๑๒๒ นักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 ศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ จ านวนนักเรียน หมายเหตุ ชาย หญิง รวม ๑๑ 4 15 9. ข้อมูลอำคำรสถำนที่ อำคำรเรียนและอำคำรประกอบ อำคำรเรียน 1. อาคารเรียน หลังที่ 1 แบบ ป1 ก จ านวน 4 ห้องเรียน 1 ห้องมุข 2. อาคารเรียน หลังที่ 2 แบบ 017 จ านวน 8 ห้องเรียน อำคำรประกอบ 1. อาคารอเนกประสงค์แบบ 201/2526 จ านวน 1 หลัง 4 ห้อง 2. ส้วมแบบ 401 จ านวน 2 หลัง 5 ห้อง 3. อาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช. 201/26 จ านวน 1 หลัง


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 17 10. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญำท้องถิ่น และกำรใช้ - ห้องสมุดมีขนาด 6 X 9 ตารางเมตร จ านวนหนังสือในห้องสมุดทั้งหมด 2,270 เล่ม การสืบค้น หนังสือและการยืม-คืน ใช้ระบบ ดิวอี้ จ านวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษานี้ คิดเป็น 50 คน/วัน - แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน (นอกห้องสมุด) และแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน แหล่งเรียนรู้ภำยใน โรงเรียน ชื่อแหล่งเรียนรู้ สถิติกำรใช้ (จ ำนวน ครั้ง/ปี) แหล่งเรียนรู้ภำยนอกโรงเรียน ชื่อแหล่งเรียนรู้ สถิติกำรใช้ (จ ำนวน ครั้ง/ปี) 1. ห้องสมุด 180 1.น านักเรียนไปร่วมแข่งขันการปั้นดินน้ ามันและ ศึกษาดูงาน ณ เมืองทองธานี 1 2.ห้องปฏิบัติการวิทย์ฯ 80 2. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมปลูกหญ้าทะเล 2 3. ห้องคอมพิวเตอร์ 180 3. อนุรักษ์ป่าชายเลน 2 4. กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม (ณ มัสยิด) 1 11. ด้ำนประสิทธิภำพ ผลการประเมินภายนอกรอบ 4/รอบภายใต้สถานการณ์ COVID-19ส านักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) รับรองโรงเรียนบ้านหยงสตาร์ ได้รับการประกันคุณภาพภายนอก (พ.ศ. 2564 – 2568) การศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่วันที่ 23 กรกฎาคม 2564 ผลกำรประเมินภำยนอก 1. ระดับกำรศึกษำปฐมวัย มำตรฐำน ระดับคุณภำพ หมำยเหตุ มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพเด็ก ดี มาตรฐานที่ 2 ด้านกระบวนการบริหารจัดการ ดี มาตรฐานที่ 3 ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ ดี 2. ระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน มำตรฐำน ระดับคุณภำพ หมำยเหตุ มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพเด็ก ดี มาตรฐานที่ 2 ด้านกระบวนการบริหารจัดการ ดี มาตรฐานที่ 3 ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ ดี โรงเรียนบ้ำนหยงสตำร์ ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาจากส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)องค์การมหาชนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับดี


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 18 12. ผลงำนที่ภำคภูมิใจ ปีกำรศึกษำ 2560 -ได้รับรางวัลเกียรติบัตร ระดับเหรียญเงิน การแข่งขันกิจกรรม การสร้างภาพด้วยการฉีก ตัด ปะ กระดาษระดับปฐมวัย งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคครั้งที่ 67 (เด็กหญิงรภัทร ชาติ ชนบท, เด็กชายธนพนธ์ชายทุ่ย, เด็กชายวรัญชัย ลิ้มเลิศชัยทวี) - โรงเรียนผ่านการประเมินบ้านวิทยาศาสตร์น้อยรอบที่ 2 ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปีกำรศึกษำ 2561 - ได้รับรางวัลเกียรติบัตร ระดับเหรียญทอง กิจกรรม การสร้างภาพด้วยการฉีก ตัดปะ กระดาษ ระดับชั้นปฐมวัย งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาค ครั้งที่ 68 (เด็กหญิงพรพิชชา ใจสมุทร, เด็กหญิงซากีเราะ สุโสะ, เด็กหญิงประภัสสรินท์ รอดเจริญ - ได้รับเกียรติบัตร มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O–NET) ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน (เด็กหญิงวิไลลักษณ์ สาเหล้) - ได้รับเกียรติบัตร การรับรองมาตรฐาน โรงเรียน อย.น้อย ประจ าปีงบประมาณพ.ศ. 2561 ปีกำรศึกษำ 2562 ผลงำนนักเรียน ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อนักเรียน หน่วยงำนที่ มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ 1. มีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net)ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ปีการศึกษา 2561 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ คะแนน เต็ม 100 คะแนน ด.ญ.วิไลลักษณ์ สาเหล้ สพป.ตง 1 13 พ.ค. 2562 2 สอบห้องเรียนพิเศษส่งเสริมความ เป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ ด.ญ.วิไลลักษณ์ สาเหล้ รร.ปะ เหลียนผดุง ศิษย์ 16 พ.ค. 2562 3 การแข่งขันท่องอาขยานท านอง เสนาะป.1-ป.3ระดับเหรียญทอง ด.ญ.สิริสภา ช านาญเสนาะ สพป.ตง1 8-9 ต.ค. 2562 4 ชนะเลิศการแข่งขันวิ่ง 30ม.รุ่น 6 ปี หญิง ด.ญนัญภลักษณ์ เอ้งฉ้วน กลุ่มทุ่งยาว 12 ก.ค. 2562


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 19 ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อนักเรียน หน่วยงำนที่ มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ 5 ชนะเลิศการแข่งขันวิ่ง 40ม.รุ่น 6 ปี หญิง ด.ญ.กัญติชา สุดการงาน กลุ่มทุ่งยาว 12 ก.ค. 2562 6 ชนะเลิศการแข่งขันวิ่ง 60ม.รุ่น 6 ปี หญิง ด.ญ.นัญภลักษณ์ เอ้งฉ้วน กลุ่มทุ่งยาว 12 ก.ค. 2562 7 ชนะเลิศการแข่งขันยืนกระโดดไกล รุ่น 6 ปีหญิง ด.ญ.เศาะดารี สาเหล้ กลุ่มทุ่งยาว 12 ก.ค. 2562 8 ชนะเลิศการแข่งขันยืนกระโดดไกล รุ่น 6 ปีชาย ด.ช.ภูผา สาเหล้ กลุ่มทุ่งยาว 12 ก.ค.2562 9 ชนะเลิศการแข่งขันขว้างไกล รุ่น 6 ปี หญิง ด.ญ.แพรวา ท้ายหง้วน กลุ่มทุ่งยาว 12 ก.ค. 2562 10 ชนะเลิศการขันขันยืนกระโดดไกล ชาย รุ่น 6ปี ชาย ด.ช.ปัณณธร จิตรหลัง กลุ่มทุ่งยาว 12 ก.ค. 2562 11 ชนะเลิศการสร้างภาพด้วยการฉีก ตัดปะกระดาษ ระดับชั้นปฐมัย ด.ญ.นัญภลักษณ์ เอ้งฉ้วน ด.ญ.แพรวา ท้ายหง้วน ด.ญ.กันติชา สุดการงาน กลุ่มทุ่งยาว 12 ก.ค. 2562 12 ชนะเลิศการแข่งขันวิ่ง 80 ม. รุ่น 12 ปีชาย ด.ช.ภาคิน จิตเที่ยง กลุ่มทุ่งยาว 12 ก.ค.2562 13 ชนะเลิศการแข่งขันวิ่ง 100 ม. รุ่น 12 ปีชาย ด.ช.ภาคิน จิตเที่ยง กลุ่มทุ่งยาว 12 ก.ค.2562 14 ชนะเลิศการแข่งขันวิ่ง 200 ม. รุ่น 12 ปีชาย ด.ช.ภาคิน จิตเที่ยง กลุ่มทุ่งยาว 12 ก.ค.2562 15 ชนะเลิศการแข่งขันท่องบทอาขยาน ท านองเสนาะ ระดับชั้น ป.3 ด.ญ.สิรินภา ช านาญเหนาะ กลุ่มทุ่งยาว 4 ก.ย. 2562 16 ชนะเลิศการแข่งขันอัจฉริยะภาพ ทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ป.1-3 ด.ช.นวพล เพ็ชรเพ็ง กลุ่มทุ่งยาว 4 ก.ย. 2562 ผลงำนครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อครู หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ 1 ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ นางกุลวดี ใจสมุทร กลุ่มทุ่งยาว 24 มิ.ย.2562


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 20 ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อครู หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ คณิตศาสตร์ที่มีผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-Net)ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 ค่าคะแนน เฉลี่ยร้อยละ 55.00 เป็นล าดับที่ 1 2 ครูดีศรีโรงเรียน ประจ าปี 2561 นางกุลวดี ใจสมุทร กลุ่มทุ่งยาว 24 มิ.ย.2562 3 ชนะเลิศ ครูผู้สอนการสร้างภาพ ด้วยการ ตัด ปะ กระดาษ ระดับชั้น ปฐมวัย นางพัชรา ชุติเดโช กลุ่มทุ่งยาว 4 ก.ย. 2562 4 ครูผู้สอนการแข่งขันท่องบท อาขยานท านองเสนาะระดับชั้น ป. 1-3 ได้รับรางวัลชนะเลิศ นางสาวสุรัตยา หยังหลัง กลุ่มทุ่งยาว 4 ก.ย.2562 5 ครูผู้สอนการแข่งขันอัจฉริยภาพ ทางคณิตศาสตร์ ป.1-3 ได้รับ รางวัลชนะเลิศ นางสาวสุรัตยา หยังหลัง กลุ่มทุงยาว 4 ก.ย.2562 6 ครูผู้สอนที่มีผลการประเมินคุณภาพ กรศึกษาระดับชาติ (NT)ด้านเหตุผล ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ค่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 62.50 เป็น ล าดับที่ 2 ของกลุ่ม นางสาวสุรัตยาหลัยง หลัง กลุ่มทุ่งยาว 24 มิ.ย.2562 7 เป็นครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ มีผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-Net) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 เป็นล าดับที่ 1 ของกลุ่ม นางอรอนงค์ใจสมุทร กลุ่มทุ่งยาว 24 มิ.ย.2562


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 21 ผลงำนโรงเรียน ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อครู หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ 1 มีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net)ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ปีการศึกษา 2561 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ อันดับที่ 2 นางกุลวดี ใจสมุทร สพป.ตง 1 13 พ.ค. 2562 2 ผ่านเกณฑ์การประเมินเป็น สถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และอบายมุข ประเภทผลงานดีเด่น ระดับเงิน ประจ าปีการศึกษา 2561 นางจรรยา หยงสตาร์ สพป.ตง 1 29 พ.ค. 2562 3 ห้องเรียนคุณภาพคุณธรรม สพป.ตง 1 13 ม.ค. 2563 4 ได้รับการรับรองมาตรฐาน การศึกษา รอบสาม (พ.ศ.2554- 2558๗) ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานด้าน ปฐมวัย และ ประถมศึกษา ตั้งแต่วันที่ 26 มิ.ย. 2555 สมศ 11 ม.ค. 2556 ปีกำรศึกษำ 2563 ผลงำนนักเรียน ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อนักเรียน หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ 1 รางวัลเกียรติบัตร นักเรียนเรียนดี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ด.ญ.ประภัสสรินท์ รอดเจริญ รร.บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563 2 รางวัลเกียรติบัตร จิตอาสา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ด.ญ.พรพิชชา ใจสมุทร ด.ญ.กฤษณา มิ่งเมือง รร.บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563 3 รางวัลเกียรติบัตร นักเรียนมี ความคิดสร้างสรรค์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ด.ญ. กัญธิชา จงรักษ์ รร.บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 22 ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อนักเรียน หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ 4 รางวัลเกียรติบัตร นักเรียนที่แต่ง กายสุภาพเรียบร้อย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ด.ช.กันต์กวี วันแรก รร.บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563 ๕ รางวัล ชนะเลิศ ประเภทฟรีสไตล์ หญิง รุ่นน้ าหนัก 32 กก. รุ่นอายุ ไม่เกิน 13 ปี การแข่งขันกีฬามวย ปล้ า ฯ ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ประจ าปี 2563 ด.ญ.ประภาวรินทร์ ขาวดี สมาคมกีฬามวย ปล้ า และ จังหวัด อ านาจเจริญ 24 – 30 ตุลาคม 2563 ๖ รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ประเภทฟรีสไตล์หญิง รุ่นน้ าหนัก 28 กก. รุ่นอายุไม่เกิน 13 ปี การ แข่งขันกีฬามวยปล้ า ฯ ชิงชนะเลิศ แห่งประเทศไทย ประจ าปี 2563 ด.ญ.ชนาทิพย์ พลผอม สมาคมกีฬามวย ปล้ า และ จังหวัด อ านาจเจริญ 24 – 30 ตุลาคม 2563 ๗ เป็นนักเรียนที่มีความสามารถ (พหุปัญญา) ด้านภาษาไทยและการ สื่อสาร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ด.ญ.สิรินภา ช านาญเหนาะ รร.บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563 ๘ เป็นนักเรียนที่มีความสามารถ (พหุปัญญา) ด้านภาษาไทยและการ สื่อสาร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ด.ญ.โยษิตา เจะสา รร.บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563 ๙ เป็นนักเรียนที่มีความสามารถ (พหุปัญญา) ด้านภาษาไทยและการ สื่อสาร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ด.ช.อาซาน ทองสุกแสง รร.บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563 ๑๐ เป็นนักเรียนที่มีความสามารถ (พหุปัญญา) ด้านภาษาไทยและการ สื่อสาร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ด.ช.ธนชาติ ขันนุ้ย รร.บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 23 ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อนักเรียน หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ ๑๑ เป็นนักเรียนที่มีความสามารถ (พหุปัญญา) ด้านภาษาไทยและ การสื่อสาร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ด.ญ.จินตภา สุดการงาน รร.บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563 ๑๒ เป็นนักเรียนที่มีความสามารถ (พหุปัญญา) ด้านภาษาไทยและ การสื่อสาร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ด.ญ.คุณัญญา หยงสตาร์ รร.บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563 ๑๓ กิจกรรมตามโครงการน้อมน าพระ บรมราโชบายด้านการศึกษา มีงาน ท ามีอาชีพสู่การปฏิบัติและหา รายได้ระหว่างเรียนช่วงปิดภาค เรียน ปีการศึกษา 2563 ด.ญ.โยษิตา เจะสา รร.บ้านหยงสตาร์ 29 มิ.ย. 2563 ๑๔ ปลูกต้นไม้คนละต้นท าดีเพื่อ แผ่นดิน เด็กหญิงวิภาดา แดง โรงเรียน บ้านหยงสตาร์ 29 มิ.ย. ๒๕๖๓ ๑๕ ปลูกต้นไม้คนละต้นท าดีเพื่อ แผ่นดิน เด็กหญิงฮุซนียะซ์ ชายอีด โรงเรียน บ้านหยงสตาร์ 29 มิ.ย. ๒๕๖๓ ๑๖ ปลูกต้นไม้คนละต้นท าดีเพื่อ แผ่นดิน เด็กหญิงกัญญาพัชร เทศนอก โรงเรียน บ้านหยงสตาร์ 29 มิ.ย. ๒๕๖๓ ๑๗ ปลูกต้นไม้คนละต้นท าดีเพื่อ แผ่นดิน เด็กหญิงกันต์ฤทัย หยงสตาร์ โรงเรียน บ้านหยงสตาร์ 29 มิ.ย. ๒๕๖๓ ๑๘ ปลูกต้นไม้คนละต้นท าดีเพื่อ แผ่นดิน เด็กหญิงณิชานาฏ ชายทุ่ย โรงเรียน บ้านหยงสตาร์ 29 มิ.ย. ๒๕๖๓ ๑๙ ปลูกต้นไม้คนละต้นท าดีเพื่อ แผ่นดิน เด็กหญิงกานต์ธิดา เต้งเหี้ยง โรงเรียน บ้านหยงสตาร์ 29 มิ.ย. ๒๕๖๓ ๒๐ ปลูกต้นไม้คนละต้นท าดีเพื่อ แผ่นดิน เด็กหญิงธีรศักดิ์ เกียง เอีย โรงเรียน บ้านหยงสตาร์ 29 มิ.ย. ๒๕๖๓ ๒๑ ปลูกต้นไม้คนละต้นท าดีเพื่อ แผ่นดิน เด็กหญิงเอกณัฐ เจริญฤทธิ์ โรงเรียน บ้านหยงสตาร์ 29 มิ.ย. ๒๕๖๓


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 24 ๒๒ ปลูกต้นไม้คนละต้นท าดีเพื่อ แผ่นดิน เด็กหญิงณปภัช ลี้เด็น โรงเรียน บ้านหยงสตาร์ 29 มิ.ย. ๒๕๖๓ ๒๓ เด็กนักเรียนเรียนดีที่มีผลการ พัฒนาการในระดับยอดเยี่ยม เด็กหญิงกัญญาพัชร เทศนอก โรงเรียน บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563 ๒๔ เด็กที่มีความสามารถ (พหุปัญญา) ด้านภาษาและการสื่อสาร เด็กหญิงปาณิศา จิตรหลัง โรงเรียน บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563 ๒๕ เด็กที่มีความสามารถ (พหุปัญญา) ด้านภาษาและการสื่อสาร เด็กชายณปภัช ลี้เด็น โรงเรียน บ้านหยงสตาร์ 15 ธ.ค. 2563 ๒๖ นักเรียนที่มีพัฒนาการดี ด.ญ.ณภัทรสรณ์ ดารากัย โรงเรียน 7 เม.ย 2564 ๒๗ การประกวดวาดภาพระบายสี กิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวังและ ส่งเสริมสร้างสรรค์วันวาเลนไทน์ ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๔ ระดับชั้น ป.๔ - ป.๖ ด.ช.ชนชน พลผอม สพป.ตรังเขต ๑ ๒๔ ก.พ. ๒๕๖๔ ๒๘ สอบเข้าได้ล าดับที่ ๑ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ห้องเรียนพิเศษ ส่งเสริมความเป็นเลิศด้าน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ปี การศึกษา ๒๕๖๓ ด.ช.รัชชานนท์ หยังหลัง โรงเรียน ปะเหลียนผดุงศิษย์ ๑ ก.ค. ๒๕๖๓ ผลงำนครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อครู หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ ๑ ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา งานประชาสัมพันธ์บนสื่อออนไลน์ รุ่นที่ ๑/๒๕๖๓ นางพรพนา สมัยรัฐ (ผู้อ านวยการ) สพป.ตรัง เขต ๑ ๑๓ ส.ค.๒๕๖๓ ๒ เป็นวิทยากรการอบรมเชิง ปฏิบัติการ การน าเสนอแลกเปลี่ยน เรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียน การสอนและการจัดท าหน่วยการ เรียนรู้ Active Learning สู่การ นางพรพนา สมัยรัฐ (ผู้อ านวยการ) โรงเรียนหารเทารังสี ประชาสรรค์ อ าเภอ ปากพะยูน จังหวัด พัทลุง ๑๙ มิ.ย.๒๕๖๓


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 25 ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อครู หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ บันทึก PLC ใน Logb00k และ วิจัยในชั้นเรียน (๑๘-๑๙ มิ.ย. ๒๕๖๓) ๓ ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การ สร้างสื่อ และอินโฟกราฟฟ นางพรพนา สมัยรัฐ (ผู้อ านวยการ) โรงเรียนบ้านท่าข้าม อ าเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ๒๒ ส.ค.๒๕๖๓ ๔ Harnessing the power of parrents นางจรรยา หยงสตาร์ CAMBRIDGE UNIVERSITY PRESS 21 MAY 2020 ๕ เกียรติบัตร อบรม Onsite Online Onairสอนจริง เจ็บจริง ไม่ใช้แส ตนด์อิน in New Normal Age Ep 1 รับมือการสอนออนไลน์ด้วย หลากหลายเครื่องมือ นางจรรยา หยงสตาร์ คณะพาณิชยศาสตร์ และการจัดการหทา วิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขต ตรัง 15 มิ.ย.2563 ๖ เกียรติบัตร อบรม Onsite Online Onairสอนจริง เจ็บจริง ไม่ใช้แส ตนด์อิน in New Normal Age Ep 2 Online ทั้งที Happy ทุก ฝ่ายจากนโยบายสู่การปฏิบัติ นางจรรยา หยงสตาร์ คณะพาณิชยศาสตร์ และการจัดการหทา วิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขต ตรัง 23 มิ.ย.2563 ๗ รางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงาน ดีเด่น ระดับเงิน โครงการ สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุข ปีการศึกษา 2561 นางจรรยา หยงสตาร์ กระทรวง ศึกษาธิการ 29 ก.ค.2563 ๘ ได้รับประกาศเกียรติคุณเป็น “ครูดี ศรีโรงเรียน” กลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว ประจ าปี 2563 นางจรรยา หยงสตาร์ กลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว 18 ธ.ค. 2563 ๙ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ ที่มีผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน นางจรรยา หยงสตาร์ กลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว 18 ธ.ค. 2563


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 26 ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อครู หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ (O-Net)ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปี การศึกษา 2562 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาอังกฤษ อันดับที่ 2 ๑๐ ปฏิบัติตน เป็นครูดีไม่มีอบายมุข ประจ าปีการศึกษา 2563 เนื่องใน วันครูแห่งชาติ พุทธศักราช 2564 นางจรรยา หยงสตาร์ สสส 16 ม.ค. 2564 ๑๑ ได้เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ เนื่องในโอกาสวันครู ครั้งที่ 65 พ.ศ.2564 (รูปแบบออนไลน์) นางจรรยา หยงสตาร์ คุรุสภา 16 ม.ค. 2564 ๑๒ ผ่านการทดสอบวัดความรู้ หลักสูตร การนิเทศภายใน สถานศึกษา ด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ นางจรรยา หยงสตาร์ สพป.ก าแพงเพชร เขต 2 10 พ.ค.2563 ๑๓ ผ่านการอบรมโครงการโรงเรียน ปลอดภัยในประเทศไทย หลักสูตร ลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและ การปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงฯ นางจรรยา หยงสตาร์ สพฐ ร่วมกับ มูลนิธิ ศุภนิมิตแห่งประเทศ ไทย 24 พ.ค.2563 ๑๔ ผ่านการทดสอบวัดความรู้ หลักสูตร วิจัยในชั้นเรียน ด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ นางจรรยา หยงสตาร์ สพป.ก าแพงเพชร เขต 2 9 พ.ค.2563 ๑๕ ผ่านการทดสอบวัดความรู้ ออนไลน์ เรื่องความรู้พื้นฐานการ พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ นางจรรยา หยงสตาร์ สพป.ตรัง เขต 1 6 พ.ค.2563 ผลงำนโรงเรียน ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อครู หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ 1 รางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภท ผลงานดีเด่น ระดับเงิน โครงการ สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด - กระทรวง ศึกษาธิการ 29 ก.ค. 2563


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 27 ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อครู หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ และอบายมุข ปีการศึกษา 2561 2 มีผลการทดสอบระดับชาติขั้น พื้นฐานเฉลี่ย (O-Net) ปี การศึกษา 2562 สูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับประเทศ โดยใช้วิธีการ จัดการเรียนการสอนทางไกลผ่าน ดาวเทียม (DLTV) ร่วมกับการ จัดการเรียนการสอนวิธีอื่นๆ - สพฐ 17 ส.ค.2563 3 มีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net)ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ อันดับที่ 1 นางกุลวดี ใจสมุทร สพป.ตรัง เขต 1 1 ก.ย. 2563 4 มีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net)ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 รวมเฉลี่ยทุกกลุ่มสาระ อันดับที่ 1 - สพป.ตรัง เขต 1 1 ก.ย. 2563 ๕ ประกวดสื่อวีดิทัศน์ “นวัตกรรม การจัดการเรียนการสอนตาม หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา” ระดับ “ดีเด่น” นวัตกรรมชื่อ ความ ละอายและความไม่ทนต่อการ ทุจริต ตอน การลอกการบ้าน นางสาวปาริชาต หวังชัย สพป.ตรัง เขต 1 23 ก.ย. 2563 ๖ ประกวด คลิ๊ปวีดิทัศน์ ส าหับการ จัดการเรียนการสอนผ่านระบบ การศึกษาทางไกลและเตรียม ผู้เรียนให้สอดคล้องกับ ศตวรรษที่ 21 นางสาวปาริชาต หวังชัย สพป.ตรัง เขต 1 23 ก.ย. 2563 ๗ มีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net)ชั้น - กลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว 18 ธ.ค. 2563


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 28 ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อครู หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 รวมเฉลี่ยทุกกลุ่มสาระ อันดับที่ 1 ๘ มีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net)ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ อันดับที่ 1 นางกุลวดี ใจสมุทร กลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว 18 ธ.ค. 2563 ๙ มีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net)ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ อันดับที่ 1 นางอรอนงค์ ใจสมุทร กลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว 18 ธ.ค. 2563 1๐ มีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net)ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ อันดับที่ 2 นางจรรยา หยงสตาร์ กลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว 18 ธ.ค. 2563 1๑ มีผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาระดับชาติ (NT) รวม เฉลี่ยสองด้าน ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 66.93 เป็นล าดับที่ 2 ของกลุ่ม โรงเรียนทุ่งยาว นางสาวสุรัตยา หยังหลัง กลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว 18 ธ.ค. 2563 1๒ มีผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาระดับชาติ (NT) ความสามารถด้านภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2562 ค่าคะแนนเฉลี่ย นางสาวสุรัตยา หยังหลัง กลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว 18 ธ.ค. 2563


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 29 ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อครู หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ ร้อยละ 66.62 เป็นล าดับที่ 2 ของกลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว 1๓ มีผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาระดับชาติ (NT) ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2562 ค่าคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ 67.25 เป็นล าดับที่ 2 ของกลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว นางสาวสุรัตยา หยังหลัง กลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว 18 ธ.ค. 2563 ปีกำรศึกษำ 2564 ผลงำนสถำนศึกษำ ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ 1 รางวัลการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง รอง ชนะเลิศอันดับ ๒ กศจ. ตรัง ปี ๒๕๖๔ กศจ. - 2 รางวัลการประกวดนวัตกรรมสร้างสุข ระดับดี ของ สพฐ. ประจ าปี ๒๕๖๔ สพฐ. - 3 โล่รางวัลโรงเรียนดีเด่น ด้านการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพศ วิถีศึกษาและทักษะชีวิต สพฐ. ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สพฐ. 5 พ.ค. 2565 4 โรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนระดับประเทศ ประเภท สถานศึกษาขนาดเล็ก สพป.ตรัง เขต 1 6 พ.ค. 2564 5 ได้รับการรับรองเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ระหว่างวันที่ 4 มิ.ย. 2561-4 มิ.ย. 2564 กรมอนามัย 4 มิ.ย. 2561- 4 มิ.ย. 2564 6 ได้รับการประกาศเป็นโรงเรียนผ่านการประเมินรอบที่สาม “บ้านวิทยาศาสตร์น้อย” ตามพระราชด าริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สพฐ.ร่วมกับ สสวท - 7 ได้รับการคัดเลือกนวัตกรรมที่มีระดับคุณภาพดีเด่น นวัตกรรม เพื่อส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของนักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา “รูปแบบการบริหารจัดการ 494 เสริมสร้างสุขภาวะที่ดีของ นักเรียน โรงเรียนบ้านหยงสตาร์” สพป.ตรัง เขต 1 2 มิ.ย. 2564


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 30 ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ 8 คณะกรรมการสภานักเรียนได้เข้าร่วมการแข่งขันโรงเรียน ต้นแบบสภานักเรียนระดับประเทศ สพฐ ประจ าปี 2565 เป็น ครั้งแรก และได้รับรางวัลล าดับที่ 1 ระดับภูมิภาค จาก ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. 5 ก.ย. 65 9 ประธานสภานักเรียน ปีการศึกษา 2565 นางสาวสิรินภา ช านาญเหนาะ ได้รับการคัดเลือกเด็กและเยาวชนดีเด่น ประจ าปี 2566 ของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน จากกระทรวงศึกษาธิการ เด็กและเยาวชนที่ได้รับการ คัดเลือกตามประกาศฯ จะได้รับการเข้าเยี่ยมคารวะ นายกรัฐมนตรี ในวันพุธที่ 11 มกราคม 2566 ณ ตึกสันติ ไมตรี ท าเนียบรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ 11 ม.ค. 65 ผลงำนผู้บริหำร ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อนักเรียน/ครู หน่วยงำนที่มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ 1 รางวัลผู้บริหารดีเด่นงานวันครู นางพรพนา สมัยรัฐ (ผู้อ านวยการ) สพป.ตรัง เขต 1 16 ม.ค.2565 2 ชนะเลิศเหรียญทองผู้อ านวยการ สถานศึกษ ายอดเยี่ยม ระดับ ประถมศึกษาขน าดเล็ก ด้ าน วิชาการ ระดับภูมิภาค นางพรพนา สมัยรัฐ (ผู้อ านวยการ) สพฐ. 3 ก.ย. 64 3 ร อ งช น ะ เ ลิ ศ เ ห รี ย ญ ท อ ง ผู้อ านวยการสถานศึกษายอด เยี่ยม ระดับประถมศึกษาขนาด เล็ก ด้านวิชาการ ระดับประเทศ นางพรพนา สมัยรัฐ (ผู้อ านวยการ) สพฐ. 18 เม.ย. 65


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 31 ผลงำนครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อนักเรียน/ครู หน่วยงำนที่ มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ ๑ ค รู ผู้ ส อ น ดี เ ด่ น ร ะ ดั บ เ ข ต พื้ น ที่ การศึกษาประจ าปี 2564 “บุคลากร สนับสนุนการสอนดีเด่น” นางสาวปาริชาต หวังชัย สพป.ตรัง เขต 1 1 6 ม . ค . 2565 ๒ รำงวัลครูดีเด่น ผู้จัดการเรียนรู้เพศวิถี ศึกษาและทักษะชีวิต สพฐ. นางสาวปาริชาต หวังชัย สพป.ตรัง เขต 1 1 ต.ค. 2565 ๓ รำงวัลครูดีเด่น ผู้จัดการเรียนรู้เพศวิถี ศึกษาและทักษะชีวิต สพฐ. นางสาวนวพร สมจริง สพป.ตรัง เขต 1 1 ต.ค. 2565 ๔ รำงวัลครูดีเด่น ผู้จัดการเรียนรู้เพศวิถี ศึกษาและทักษะชีวิต สพฐ. นางจรรยา หยงสตาร์ สพป.ตรัง เขต 1 1 ต.ค. 2565 ๕ ได้รับประกาศเกียรติคุณเป็น “ครูดีศรี โ รง เ รี ย น ” กลุ่ มโ รง เ รี ย นทุ่ง ย า ว ประจ าปี 2563 นางสาวนวพร สมจริง กลุ่มโรงเรียน ทุ่งยาว 8 ธ.ค. 2564 ผลงำนนักเรียน ที่ ชื่อผลงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ ชื่อนักเรียน/ครู หน่วยงำนที่ มอบให้ วัน เดือน ปี ที่ได้รับ 1 ได้รับคัดเลือก เข้าโครงการพัฒนา อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา ๒๕๖4 ด.ช. นวพล เพ็ชรเพ็ง สถาบันส่งเสริม การสอน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) 17 พ.ค. 2565 2 ผ่ำนกำรคัดเลือก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ห้องเรียนพิเศษ ส่งเสริมความเป็น เลิศด้านวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ปี การศึกษา ๒๕๖4 ด.ช.ปัณณวิชญ์หยงสตาร์ ด.ช.ภัทธดนย์ ขาวดี ด.ช.ชยพล ฤทธิ์ปรีชา ด.ญ.ฑิฆัมพร หยังหลัง โรงเรียน ปะเหลียนผดุง ศิษย์ ๑ ก.ค. ๒๕๖4 3 รับเหรียญลูกเสือบ ำเพ็ญประโยชน์ จากส านักงานลูกเสือแห่งชาติ ด.ญ.ประภาวรินทร์ ขาวดี ส านักงาน ลูกเสือแห่งชาติ ๑ ก.ค. ๒๕๖๓


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 32 13. รำยรับสถำนศึกษำ 1. งบเงินอุดหนุน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้น พื้นฐาน รายการ ปีงบประมาณ 256๖ ปีงบประมาณ 256๖ รวม หมาย เหตุ ภาคเรียนที่ 2/256๕ จ านวน ภาคเรียนที่ 1/256๖ จ านวน 1.1 ค่าจัดการเรียนการสอน (อุดหนุนรายหัว) ๑๒๙,๙๙๙ ๑๓๙ ๑๒๙,๙๙๙ ๑๓๙ ๒๕๙,๙๙๘ -ค่าจัดการเรียนการสอน (ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน) - - - - 1.2 ค่าหนังสือเรียน - - ๗๖,๔๗๕ ๑๓๙ ๗๖,๔๗๕ 1.3 ค่าอุปกรณ์การเรียน ๒๗,๑๓๐ ๑๓๙ ๒๗,๑๓๐ ๑๓๙ ๕๔,๒๖๐ 1.4 ค่าเครื่องแบบนักเรียน - ๕๒,๑๕๐ ๑๓๙ ๕๒,๑๕๐ 1.5 ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๓๒,๗๖๖ ๑๓๙ ๓๒,๘๕๙ ๑๓๙ ๖๕,๖๒๕ รวม ๑๘๙,๘๙๕ ๑๓๙ ๓๑๘,๖๑๓ ๑๓๙ ๕๐๘,๕๐๘ 2. เงินรายได้สถานศึกษาอื่น ๆ รายการ ภาคเรียน ๒/256๕ ภาคเรียน ๑/256๖ หมายเหตุ 2.1 เงินอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๕๘๓,๘๐0 ๕๘๓,๘๐0 2.2 เงินบริจาค - - 2.3 อื่น ๆ ระบุ................. 2.4 อื่น ๆ ระบุ................. 2.5 อื่น ๆ ระบุ.................


ส่วนที่ 2 สภำพปัจจุบันปัญหำ กำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมสถำนศึกษำ (SWOT) โรงเรียนบ้านหยงสตาร์ได้ตระหนักถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นสภาพแวดล้อม ภายในและภายนอกโรงเรียน ตลอดจนกลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรงเรียน (Stakeholders) ซึ่งอาจมีผลกระทบ ทั้งทางบวกและทางลบต่อแนว ทางการพัฒนาของโรงเรียน จึงจ าเป็นที่โรงเรียนต้องมีหลักเกณฑ์ และแนวทาง การด าเนินงานที่ชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อให้สามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ทั้งนี้เพื่อความอยู่รอด (Survive) และ ความเจริญก้าวหน้า (Growth) ของโรงเรียน โดยได้สรุปเกี่ยวกับจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค ของ โรงเรียนหลายประการ ดังนี้ สภำพแวดล้อมภำยในองค์กร จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) 1. บุคำกรมีควำมรู้ควำมสำมำรถ และกำรพัฒนำ ศักยภำพของตนเองอยู่เสมอ บุคลากรทางด้านการศึกษามีคุณวุฒิทางการศึกษา ที่ตรงกับสายงานที่สอนโดยมีวุฒิไม่ต่ ากว่าปริญญาตรี มีประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้ และบุคลากร สายสนับสนุนการเรียนการสอนมีวุฒิการศึกษาที่ตรง กับหน้าที่อีกทั้งบุคลากรทุกคนได้มีพัฒนาทักษะ ความรู้ พัฒนาศักยาภาพของตนเองอย่างเสมอ 2. ผู้บริหำรมีวิสัยทัศน์กว้ำงไกล และมุ่งมั่นพัฒนำ ผู้เรียนให้กล้ำคิด กล้ำท ำ กล้ำแสดงออก และมี วิสัยทัศน์ จากการเปิดโอกาสให้บุคลากรได้ศึกษาต่อระดับที่ สูงขึ้น มีการจัดอบรมเทคนิคการสอนอย่างต่อเนื่อง และมีการศึกษาดูงาน เพื่อน ามาพัฒนาการบริหารการ จัดการโรงเรียนในทุกด้าน 3. ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของผู้เรียน และผลกำร สอบระดับชำติO-NET / NT/ RT อยู่ในระดับที่ดี 1. โรงเรียนมีครูและบุคลำกรจ ำนวนน้อยไม่เพียงพอ ต่อจ ำนวนนักเรียน เนื่องด้วยโรงเรียนมีจ านวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้จ านวนครูไม่เพียงพอต่อ นักเรียนในการจัดการเรียนการสอน และการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนอย่างเต็มที่ 2. โรงเรียนมีสถำนที่/ห้องปฏิบัติกำร อยู่อย่ำงจ ำกัด ไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำร และขำดเครื่องมือและ อุปกรณ์ต่ำง ๆ ทำงด้ำน ICT โรงเรียนมีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และเครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ ด้านICT ไม่เพียงพอต่อความต้องการ ของจ านวนนักเรียน อีกทั้งนักเรียนบางส่วนยังไม่ ตระหนักถึงการใช้อุปกรณ์ส่วนรวมอย่างคุ้มค่า ใช้ อุปกรณ์อย่างผิดวิธี จึงท าให้อุปกรณ์เกิดความเสียหาย 3. นักเรียนบำงส่วนย้ำยมำจำกที่อื่นติดตำม


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 34 สภำพแวดล้อมภำยในองค์กร จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) โรงเรียนมีผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียนอยู่ ในระดับที่ดีมาตลอด ทั้งผลการสอบเพื่อประเมิน ความสามารถในการอ่าน(RT) ผลการสอบประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน(NT และ O-NET) 4. สภำนักเรียนมีควำมเข้มแข็งในกำรขับเคลื่อน กิจกรรมต่ำงๆในโรงเรียน โรงเรียนได้น าเอากิจกรรมสภานักเรียนมาใช้ ขับเคลื่อนในการจัดกิจกรรมต่างๆ ภายในโรงเรียน และเป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนานักเรียนให้มีความเป็นผู้น า กล้าคิด กล้าพูด กล้าลงมือปฏิบัติ 5. สภำพแวดล้อมภำยในโรงเรียนมีควำมสะอำด ร่ม รื่น สวยงำม เอื้อต่อกำรเรียนรู้ของนักเรียน โรงเรียนมีทัศนียภาพสิ่งแวดล้อม มีแหล่งการ เรียนรู้และแหล่งค้นคว้าที่เพียงพอ และเอื้อต่อการ จัดการเรียนการสอนของนักเรียนได้เป็นอย่างดี 6. มีกำรจัดกิจกรรมและนวัตกรรมที่หลำกหลำยตรง ตำมควำมสนใจและควำมถนัดของผู้เรียน และ พัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง โรงเรียนได้จัดการเรียนการสอนรายวิชาเพิ่มเติม และกิจกรรมชมรมในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ อย่าง หลากหลาย เพื่อให้นักเรียนได้เลือกเรียนตามความ ถนัดและความสนใจ มีการสนับสนุนให้ครูผู้สอน ได้ จัดท าสื่อประกอบการสอน รวมถึงการใช้สื่อการสอน อิเล็กทรอนิกส์ การดึงข้อมูลและการใช้อินเตอร์เน็ต การดูสารคดี วิดิทัศน์ การปฏิบัติจริง ในการเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งในและนอกสถานที่ 7. โรงเรียนขับเคลื่อนกิจกรรมต่ำงๆ ตำมนโยบำย ของหน่วยงำนต้นสังกัดและเป็นผู้น ำในกำร ผู้ปกครองมำ บำงคนไม่มีพื้นฐำนด้ำนกำรอ่ำน กำร เขียน บำงคนมีปัญหำครอบครัว และต้องช่วย ครอบครัวท ำงำนหำรำยได้พิเศษ จนอำจท ำให้ เกิดผลกระทบด้ำนกำรเรียน นักเรียนบางคนมาจากครอบครัวที่มีปัญหา พ่อแม่ หย่าร้าง และต้องช่วยครอบครัวหารายได้เพื่อส่งตัวเอง เรียน ส่งผลให้เกิดปัญหาต่าง ๆ จนอาจท าให้นักเรียน สูญเสียโอกาสในการศึกษา และเกิดผลกระทบต่อการ เรียน และจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อเป็นเวลานานเกือบ 2 ปี เด็กนักเรียนเกิดภาะ ถดถอยทางการเรียนรู้


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 35 สภำพแวดล้อมภำยในองค์กร จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) ขับเคลื่อนนโยบำยต่ำงๆ โรงเรียนมีการปฏิบัติงานในด้านต่างๆ ตาม นโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด และได้รับความ ไว้วางใจจากหน่วยงานต้นสังกัดในการเป็นผู้น าการจัด กิจกรรมต่างๆ มากมาย 8. โรงเรียนมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่ำง ทั่วถึง นักเรียนทุกคนได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างทั่วถึง และมีความเป็นระบบ ท าให้นักเรียนทุกคนมีความ เสมอภาคและเท่าเทียมกัน สภำพแวดล้อมภำยนอก โอกำส (Opportunity) อุปสรรค/ข้อจ ำกัด/ภัยคุกคำม (Threats) 1. ชื่อเสียงของโรงเรียนที่เป็นที่ยอมรับของบุคคล ทั่วไป โรงเรียนจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาแบบบูรณา การที่เป็นมาตรฐาน และพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง จึงส่งผลให้ผลการทดสอบการศึกษาระดับประเทศ มีะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้ท าให้ได้รับความเชื่อมั่นจาก ผู้ปกครอง ส่งลูกหลานมาศึกษาที่โรงเรียน 2. ผู้ปกครองเครือข่ำย และภำคีเครือข่ำยต่ำง ๆ มี กำรสนับสนุนให้ควำมช่วยเหลือโรงเรียนอย่ำงเต็มที่ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ ให้ความร่วมมือในการจัด กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน รวมทั้งภาคีเครือข่าย และชุมชนโดยรอบ ท าให้การจัดกิจกรรมบรรลุ เป้าหมายที่วางไว้ และท าให้นักเรียนเกิดการพัฒนา อย่างมีประสิทธิภาพ 1. โรงเรียนอยู่ไกลจำกอ ำเภอเมืองและหน่วยงำนต้น สังกัด ที่ตั้งของโรงเรียน อยู่ห่างไกลจากอ าเภอเมืองและ หน่วยงานต้นสังกัด ส่งผลให้ต้องใช้เวลานานในการ เดินทางเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ 2. ปัญหำเศรษฐกิจสังคม และควำมเป็นอยู่ของ ครอบครัว เนื่องด้วยสถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบัน ท าให้ ความเป็นอยู่ของนักเรียนบางครอบครัวมีปัญหา เกิด ปัญหาครอบครัวแตกแยก ท าให้เด็กนักเรียนขาดการ ดูแลที่ดี


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 36 สภำพแวดล้อมภำยนอก โอกำส (Opportunity) อุปสรรค/ข้อจ ำกัด/ภัยคุกคำม (Threats) 3. เป็นชุมชนพหุวัฒนธรรม มีแหล่งกำรเรียนรู้ภูมิ ปัญญำท้องถิ่น สถำนที่ท่องเที่ยวที่ส ำคัญต่ำงๆ รวมทั้งมีพื้นที่ประวัติศำสตร์ท้องถิ่น ที่ตั้งของโรงเรียนอยู่ใกล้กับ“แหลมหยงสตาร์” ซึ่ง เป็นทั้งสถานที่ท่องเที่ยวและพื้นที่ประวัติศาสตร์ที่ ส าคัญ มีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย มีความเป็น ชุมชนพหุวัฒนธรรม คนในชุมชนมีความรักสามัคคีกัน จึงท าให้นักเรียนมีโอกาสในการค้นคว้าศึกษาจากสิ่ง ส าคัญเหล่านี้เป็นอย่างดี 4. คนในชุมชนมีควำมคิดส่งเสริมให้ลูกหลำนได้รับ กำรศึกษำที่ดี ส่วนใหญ่คนในชุมชนนั้นจะได้รับการศึกษาที่ดี และมีความคิดที่จะส่งเสริมให้ลูกหลานได้รับการศึกษา ในระดับที่ดีขึ้นต่อไป


ส่วนที่ 3 ทิศทำงกำรพัฒนำกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 1. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก 6 เมษำยน 2560 มาตรา 54 รัฐต้องด าเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบ การศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้องด าเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนา ก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพื่อพัฒนา ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการด าเนินการด้วย รัฐต้องด าเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการ เรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน ในการจัด การศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ด าเนินการ ก ากับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมี คุณภาพ และได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซึ่งอย่างน้อย ต้องมีบทบัญญัติ เกี่ยวกับการจัดท า แผนการศึกษาแห่งชาติ และการด าเนินการและตรวจสอบการด าเนินการ ให้เป็นไปตาม แผนการศึกษาแห่งชาติด้วย การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตาม ความถนัด ของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการด าเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษา ตาม วรรคสาม รัฐต้องด าเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา ตามความ ถนัดของตน ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความเหลื่อมล้ าในการศึกษาและ เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุน หรือใช้ มาตรการหรือ กลไกทางภาษีรวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษี ด้วย ทั้งนี้ ตามที่ กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องก าหนดให้การบริหารจัดการกองทุน เป็น อิสระและก าหนดให้มี การใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว มาตรา 65 รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ เป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลัก ธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดท าแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน เพื่อให้เกิดเป็นพลัง ผลักดัน ร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว การจัดท า การก าหนดเป้าหมาย ระยะเวลาที่จะบรรลุเป้าหมาย และสาระที่พึงมีในยุทธศาสตร์ชาติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ ทั้งนี้ กฎหมาย ดังกล่าวต้องมีบทบัญญัติ เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทุกภาคส่วนอย่าง ทั่วถึงด้วย


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 38 2. ยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) สาระส าคัญของยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์และเป้าหมายในการพัฒนาประเทศที่คนไทย ทุกคนต้องการบรรลุร่วมกัน รวมทั้งนโยบายแห่งชาติและมาตรการเฉพาะซึ่งเป็นแนวทาง ทิศทางและวิธีการที่ ทุก องค์กรและคนไทยทุกคนต้องมุ่งด าเนินการไปพร้อมกันอย่างประสานสอดคล้อง เพื่อให้บรรลุซึ่งสิ่งที่คนไทย ทุกคน ต้องการ คือ ประเทศไทยมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ในทุกสาขาของก าลังอ านาจแห่งชาติ อันได้แก่ การเมือง ภายในประเทศ การเมืองต่างประเทศ เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2.1 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีควำมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนำแล้ว ด้วยกำรพัฒนำตำมหลัก ปรัชญำของ เศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจ ำชำติว่ำ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เพื่อสนองตอบ ต่อ ผลประโยชน์ แห่งชาติอันได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตย การด ารงอยู่อย่างมั่นคง และยั่งยืนของ สถาบันหลักของ ชาติและประชาชน จากภัยคุกคามทุกรูปแบบ การอยู่ร่วมกันในชาติอย่างสันติสุข เป็นปึกแผ่น มีความมั่นคงทาง สังคมท่ามกลางพหุสังคม และการมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเติบโตของชาติความเป็น ธรรมและความอยู่ดีมีสุขของ ประชาชน ความยั่งยืนของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงทาง พลังงานและอาหาร ความสามารถ ในการรักษา ผลประโยชน์ของชาติภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาวะ แวดล้อมระหว่างประเทศ และการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติประสานสอดคล้องกันด้านความมั่นคงในประชาคม อาเซียนและประชาคมโลกอย่างมีเกียรติ และศักดิ์ศรี ความมั่นคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัย และการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศ 2.2 เป้ำหมำยในกำรพัฒนำประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและใน ทุก ช่วงวัยให้เป็นคนดีเก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบน คุณภาพชีวิตที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชน เพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผล การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 1) ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย 2) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ 3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ 4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ 6) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ 2.3 ยุทธศำสตร์ชำติ ในการที่จะบรรลุวิสัยทัศน์และท าให้ประเทศไทยพัฒนาไปสู่อนาคตที่พึงประสงค์นั้น จ าเป็นจะต้อง มีการวางแผนและก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะยาวและก าหนดแนวทางการพัฒนาของทุกภาคส่วนให้


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 39 ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น จึงจ าเป็นจะต้องก าหนดยุทธศาสตร์ชาติในระยะยาว เพื่อถ่ายทอด แนว ทางการพัฒนาสู่การปฏิบัติในแต่ละเวลาอย่างต่อเนื่องและมีการบูรณาการ และสร้างความเข้าใจถึงอนาคตของ ประเทศไทยร่วมกัน และเกิดการรวมพลังของทุกภาคส่วนในสังคม ทั้งประชาชน เอกชน ประชาสังคม ในการ ขับเคลื่อนก า รพัฒน าเพื่อก า รส ร้ างแล ะ รักษ าไ ว้ซึ่งผลป ร ะโยชน์แห่งช าติแล ะบ ร รลุ วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” หรือคติพจน์ ประจ าชาติ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เพื่อให้ประเทศมีขีดความสามารถในการ แข่งขัน มีรายได้สูงอยู่ในกลุ่มประเทศ พัฒนาแล้ว คนไทยมีความสุข อยู่ดี กินดี สังคมมีความมั่นคง เสมอภาค และเป็นธรรม ซึ่งยุทธศาสตร์ชาติที่จะได้เป็น กรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ 20 ปี ต่อจากนี้ไป ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง 2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 3. แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2561-2580 (แผนระดับ 2 ตำมมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 ธันวำคม 2560) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่ก าหนดไว้ในยุทธศาสตร์ ชาติ ซึ่งแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนที่จัดท าไว้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ โดยจะ มีผล ผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้น รวมทั้งการจัดท างบประมาณรายจ่าย ประจ า ปีงบประมาณจะต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งประเด็นแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ 23 ประเด็น ประกอบด้วย 1) ความมั่นคง 2) การต่างประเทศ 3) การพัฒนาการเกษตร 4) อุตสาหกรรมและบริการ แห่งอนาคต 5) การท่องเที่ยว 6) การพัฒนาพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ 7) โครงสร้างพื้นฐานระบบโลจิสติกส์ และดิจิทัล 8) ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมยุคใหม่ 9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม 11) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต 12) การพัฒนาการเรียนรู้ 13) การ สร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี 14) ศักยภาพการกีฬา 15) พลังทางสังคม 16) เศรษฐกิจฐานราก 17) ความเสมอภาค และหลักประกันทางสังคม 18) การเติบโตอย่างยั่งยืน 19) การ บริหารจัดการหนี้ทั้งระบบ 20) การบริการประชาชน และประสิทธิภาพภาครัฐ 21) การต่อต้านการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ 22) กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม และ 23) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม กระทรวงศึกษาธิการ เป็นเจ้าภาพหลักการขับเคลื่อนแผนแม่บทที่ 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และเป็นเจ้าภาพ ร่วมแผนแม่บทที่ 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต แผนย่อย : การพัฒนาช่วงวัยเรียนและวัยรุ่น และ ปฏิบัติงานสนับสนุนแผนแม่บทอื่น ๆ


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 40 4. แผนกำรปฏิรูปประเทศ (แผนระดับ 2 ตำมมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 ธันวำคม 2560) แผนการปฏิรูปประเทศ จัดท าขึ้นเพื่อก าหนดกลไก วิธีการ และขึ้นตอนการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ โดย การปฏิรูปประเทศต้องด าเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วย ประเทศชาติมี ความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคี สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกัน เพื่อขจัดความเหลื่อมล ้า มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ การปฏิรูปประเทศต้อง สอดคล้องและเป็นไป ในทิศทางเดียวกันกับยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งแผนการปฏิรูปประเทศ ประกอบด้วย 12 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการเมือง 2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการ ยุติธรรม 5) ด้านเศรษฐกิจ 6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7) ด้านสาธารณสุข 8) ด้านสื่อสารมวล ซนและเทคโนโลยีสารสนเทศ 9) ด้านสังคม 10) ด้านพลังงาน 11) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ 12) ด้านการศึกษาโดยแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา มีแผนงานเพื่อการปฏิรูป 5 เรื่อง ได้แก่ 1) การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัย 2) การพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 3) การปฏิรูปกลไก และระบบการผลิต และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน 4) การจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคีและระบบอื่น ๆ ที่เน้นการฝึกปฏิบัติ อย่างเต็มรูปแบบ น าไปสู่การจ้างงานและการสร้างงาน 5) การปฏิรูปบทบาทการวิจัยและระบบธรรมาภิบาลของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทย ออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่างยั่งยืน 5. แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) (แผนระดับ 2 ตำมมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 ธันวำคม 2560) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ได้ก าหนดวัตถุประสงค์และ เป้าหมาย รวมทั้งยุทธศาสตร์การพัฒนา 10 ยุทธศาสตร์โดยมี 6 ยุทธศาสตร์ ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 และอีก 4 ยุทธศาสตร์เพิ่มเติม คือ 1) การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2) การ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ าในสังคม 3) การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้ อย่างยั่งยืน 4) การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 5) การเสริมสร้างความมั่นคง แห่งชาติ เพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่ง และยั่งยืน 6) การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย 7) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8) การ พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม 9) การพัฒนาภาคเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ และ 10) ความ ร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 41 6. แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560-2579 วิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมำย เป้ำหมำย ตัวชี้วัด และยุทธศำสตร์ของแผนกำรศึกษำแห่งชำติ แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับนี้ ก าหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ไว้ดังนี้ “คนไทยทุกคนได้รับกำรศึกษำและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่ำงมีคุณภำพ ด ำรงชีวิตอย่ำงเป็นสุข สอดคล้อง กับหลักปรัชญำองเศรษฐกิจพอเพียง และกำรเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา 4 ประการ คือ 1)เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัด การศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อพัฒนาคนไทยเป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและ สมรรถนะที่สอดคล้องกับ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ 3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกก าลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 4) เพื่อ น าประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล ้าภายในประเทศลดลง เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้น แผนการศึกษาแห่งชาติได้ วางเป้าหมายไว้ 2 ด้าน คือ เป้ำหมำยด้ำนผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนำผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะ และ ทักษะกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ประกอบด้วย ทักษะและคุณลักษณะต่อไปนี้ 3RS ได้แก่ การอ่านออก (Reading) การเขียนได้ (Writing) และการคิดเลขเป็น (Arithmetic) 8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจต่าง วัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross -cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือการท างานเป็นทีม และภาวะผู้น า (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและการ รู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) เป้าหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) 5 ประการ ซึ่งมีตัวชี้วัดเพื่อการบรรลุเป้าหมาย 53 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย เป้าหมายและตัวชี้วัดที่ส าคัญ ดังนี้ 1) ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทั่วถึง (Access) มีตัวชี้วัดที่ส าคัญ เช่น ประชากรกลุ่มอายุ 6-14 ปี ทุกคนได้เข้าเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า ที่รัฐต้องจัดให้ฟรี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ผู้เรียนพิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่ เหมาะสมทุกคน และประชากรวัยแรงงานมีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เป็นต้น


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 42 2) ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมาย ได้รับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างเท่าเทียม (Equity) 3) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพ (Quality) 4) ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาที่คุ้มค่าและบรรลุ เป้าหมาย (Efficiency) 5) ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและบริบทที่ เปลี่ยนแปลง (Relevancy) ยุทธศำสตร์ เป้ำหมำย และตัวชี้วัด แผนการศึกษาแห่งชาติ ได้ก าหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนา การศึกษา ภายใต้ 6 ยุทธศาสตร์หลักที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เพื่อให้แผนการศึกษาแห่งชาติ บรรลุเป้าหมายตาม จุดมุ่งหมาย วิสัยทัศน์ และแนวคิดการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้น ดังนี้ ยุทธศำสตร์ที่ 1 : การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงชองลังคมและประเทศชาติ มีเป้าหมาย ดังนี้ 1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักชองชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษได้รับการศึกษา และเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 3. คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษา การดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ ยุทธศำสตร์ที่ 2 : กำรผลิตและพัฒนำก ำลังคน กำรวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้ำงขีด ควำมสำมำรถ ในกำรแข่งขันของประเทศ มีเป้า, หมาย ดังนี้ 1. ก าลังคนมีทักษะที่ส าคัญจ าเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการ พัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษา ผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3. การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองศ์ความรู้ และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ยุทธศำสตร์ที่ 3 : การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีเป้าหมาย ดังนี้ 1. ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะที่จ าเป็นใน ศตวรรษที่ 21 2. คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐาน วิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ 3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมี คุณภาพและมาตรฐาน 4. แหล่งเรียนรู้ สื่อต าราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชน สามารถเข้าถึงได้โดยไม่จ ากัดเวลาและสถานที่


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 43 5. ระบบและกลไกการวัด การติดตาม และประเมินผล มีประสิทธิภาพ 6. ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้มาตรฐานระดับสากล 7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน ยุทธศำสตร์ที่ 4 : การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา มีเป้าหมายดังนี้ 1. ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ 2. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับคนทุกช่วงวัย 3. ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบัน เพื่อการวาง แผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมินและรายงานผล ยุทธศำสตร์ที่ 5 : การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมาย ดังนี้ 1.คนทุกช่วงวัย มีจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และน่าแนวคิดตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 2.หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ล่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการน่าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 3.การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ยุทธศำสตร์ที่ 6 : การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา มีเป้าหมาย ดังนี้ 1.โครงสร้าง บทบาทและระบบการบริหารจัดการศึกษามีความคล่องตัว ซัดเจน สามารถตรวจสอบได้ 2.ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ล่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษา 3.ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนและ พื้นที่ 4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษา รองรับลักษณะที่แตกต่างกันของ ผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการก าลังแรงงานของประเทศ 5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา มีความเป็นธรรม สร้างขวัญ ก าลังใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างเต็มตามศักยภาพ


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 44 7. นโยบำยที่เกี่ยวข้อง 7.1 นโยบำยรัฐบำล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ นำยกรัฐมนตรี) ค าแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) แถลงต่อรัฐสภา วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม 2562 โดยรัฐบาลได้ก าหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดิน จ าแนกเป็น นโยบายหลัก 12 ด้าน และนโยบายเร่งด่วน 12 เรื่อง ซึ่งนโยบายหลัก 12 ด้าน ประกอบด้วย 1) การปกป้อง และเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ 2) การสร้างความมั่นคง และความปลอดภัยของประเทศและ ความสงบสุขของประเทศ 3) การท านุบ ารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม 4) การสร้างบทบาทของไทยในเวที โลก 5) การพัฒนา เศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของไทย 6) การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและการ กระจายความเจริญสู่ภูมิภาค 7) การพัฒนาสร้างความเข้มแข็งจากฐานราก 8) การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย 9) การพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลักประกันทางสังคม 10) การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน 11) การปฏิรูปการ บริหารจัดการภาครัฐ 12) การป้องกัน และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนการ ยุติธรรมและนโยบายเร่งด่วน 12 เรื่อง ได้แก่ 1) การแก่ไขปัญหาในการด ารงชีวิตของประชาชน 2) การ ปรับปรุงระบบสวัสดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 3) มาตรการเศรษฐกิจเพื่อรองรับความผันผวน ของเศรษฐกิจโลก 4) การให้ความช่วยเหลือเกษตรกร และพัฒนานวัตกรรม 5) การยกระดับศักยภาพของ แรงงาน 6) การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต 7) การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 8) การแก่ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายราชการประจ า 9) การแก้ไข ปัญหายาเสพติด และสร้างความสงบสุขในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ 10) การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชน 11) การจัดเตรียมมาตรการรองรับภัยแล้งและอุทกภัย 12) การสนับสนุนให้มีการศึกษา การรับฟังความเห็น ของประชาชน และการด าเนินการเพื่อแก่ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ 7.2 นโยบำยและจุดเน้นประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566ของกระทรวงศึกษำธิกำร ดังนี้ 1. กำรจัดกำรศึกษำเพื่อควำมปลอดภัย 1.1 เร่งสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาเพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นของสังคม และป้องกันจากภัยคุกคาม ในชีวิตรูปแบบใหม่ และภัยอื่นๆ โดยมีการด าเนินการตามแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในรูปแบบต่างๆ อย่างเข้มข้น รวมทั้งด าเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผลการ ด าเนินการ และแสวงหาสถานศึกษาที่ด าเนินการได้ดีเยี่ยม (Best Practice) เพื่อปรับปรุง พัฒนาและขยายผล ต่อไป 1.2 เร่งปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง โดยบูรณาการอยู่ในกระบวนการจัดการ เรียนรู้ เพื่อสร้างโอกาสในการเรียนรู้และสร้างภูมิคุ้มกันควบคู่กับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงบวกและ สร้างสรรค์ พร้อมทั้งหาแนวทางวิธีการปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและบุคลากร ทางการศึกษา


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 45 1.3 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึง ประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 1.4 เร่งพัฒนาบทบาทและภารกิจของหน่วยงานด้านความปลอดภัยที่มีอยู่ในทุกหน่วยงาน ในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการให้ด าเนินการอย่างคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ 2. กำรยกระดับคุณภำพกำรศึกษำ 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาน าหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ เพื่อ สร้างสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นส าหรับศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียน 2.2 จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ค้นพบพรสวรรค์ ความสนใจ ความถนัดในอาชีพของตนเอง ด้วยการ เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในห้องเรียน สถานประกอบการ รวมทั้งการเรียนรู้ ผ่าน แพลตฟอร์มและห้องดิจิทัลให้ค าปรึกษาแนะน า 2.3 พัฒนาและบูรณาการกระบวนการจัดการเรียนรู้และการวัดประเมินผลฐานสมรรถนะสู่การปฏิบัติ ในชั้นเรียน เพื่อสร้างความฉลาดรู้ด้านการอ่าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างตรรกะความคิดแบบเป็นเหตุ เป็นผลให้นักเรียนไทยสามารถแข่งขันได้กับนานาชาติ 2.4 พัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ส าหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลในโลกยุคใหม่ 2.5 พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมืองและศีลธรรมให้มีความ ทันสมัย น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น และการ เสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง 2.6 จัดการเรียนรู้ตามความสนใจรายบุคคลของผู้เรียนผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มที่หลากหลายและ แพลตฟอร์มการเรียนรู้อัจฉริยะที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อการสอนคุณภาพสูง รวมทั้งมีการประเมินและพัฒนาผู้เรียน 2.7 ส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน โดยบูรณาการการท างานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารออมสิน สหกรณ์ ฯลฯ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ และการเผยแพร่สื่อแอนิเมชันรอบรู้เรื่องเงิน รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดการลงทุนเชิงพาณิชย์เพื่อให้เกิดผลตอบแทน ที่สูงขึ้น 2.8 ปรับโฉมศูนย์วิทยาศาสตร์และศูนย์การเรียนรู้ ให้มีรูปลักษณ์ที่ทันสมัย สวยงาม ร่มรื่น จูงใจ ให้ เข้าไปใช้บริการ โดยมีมุมค้นหาความรู้ด้วยเทคโนโลยีทันสมัย มุมจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ของ ผู้เรียน หรือกลุ่มผู้เรียน และการร่วมกิจกรรมกับครอบครัว หรือจัดเป็นฐานการเรียนรู้ด้านต่างๆ ที่ผู้เรียนและ ประชาชนสามารถมาลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม และได้รับเอกสารรับรองการเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อน าไปใช้ ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้องหรือสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ได้ รวมทั้งมีบริเวณพักผ่อนที่มีบริการ ลักษณะบ้านสวนกาแฟเพื่อการเรียนรู้ เป็นต้น


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 46 2.9 ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาให้มีการน าผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติไปใช้ในการวาง แผนการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 2.10 พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 3. กำรสร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำค และควำมเท่ำเทียมทำงกำรศึกษำทุกช่วงวัย 3.1 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการส่งต่อไปยัง สถานศึกษาในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะระดับการศึกษาภาคบังคับ เพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน 3.2 ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไปทุกคน เข้าสู่ระบบการศึกษา เพื่อรับการ พัฒนาอย่างรอบด้าน มีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการร่วมงานกับ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.3 พัฒนาข้อมูลและทางเลือกที่หลากหลายให้กับผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง รวมทั้งกลุ่ม NEETs ในการเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ อย่างเท่าเทียม 3.4 พัฒนาระบบสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว (Home School) และการ เรียนรู้ที่บ้านเป็นหลัก (Home–based Learning) 4. กำรศึกษำเพื่อพัฒนำทักษะอำชีพและเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น แบบโมดูล (Modular System) มี การบูรณาการวิชาสามัญและวิชาชีพในชุดวิชาชีพเดียวกัน เชื่อมโยงการจัดการอาชีวศึกษาทั้งในระบบ นอก ระบบและระบบทวิภาคี รวมทั้งการจัดการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง (Block Course) เพื่อสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาอย่างเข้มข้นเพื่อการมีงานท า 4.2 ขับเคลื่อนการผลิตและพัฒนาก าลังคนตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ และยกระดับสมรรถนะก าลังคน ตามกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน และมาตรฐานสากล รวมทั้งขับเคลื่อนความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) โดยความร่วมมือกับภาคเอกชนและสถานประกอบการในการผลิตก าลังคนที่ตอบโจทย์ การพัฒนาประเทศ 4.3 พัฒนาสมรรถนะอาชีพที่สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ โดยการ Re-skill Up-skill และ New skill เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบ หลากหลายให้ครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งผู้สูงอายุ โดยมีการบูรณาการความร่วมมือระหว่าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4.4 ส่งเสริมการพัฒนาแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตามสมรรถนะ ที่จ าเป็นในการเข้าสู่อาชีพ และการน าผลการทดสอบไปใช้คัดเลือกเข้าท างาน ศึกษาต่อ ขอรับประกาศนียบัตร มาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) การขอรับวุฒิบัตรสมรรถนะภาษาอังกฤษ (English Competency) 4.5 จัดตั้งศูนย์ให้ค าปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Start up) ภายใต้ศูนย์พัฒนาอาชีพและการเป็น ผู้ประกอบการ และพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการส่งเสริม และพัฒนาผู้ประกอบการ


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 47 ด้านอาชีพทั้งผู้เรียนอาชีวศึกษาและประชาชนทั่วไป โดยเชื่อมโยงกับ กศน. และสถานประกอบการ ทั้งภาครัฐ และเอกชนที่สอดคล้องกับการประกอบอาชีพในวิถีชีวิตรูปแบบใหม่ 4.6 เพิ่มบทบาทการอาชีวศึกษาในการสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการและก าลังแรงงานในภาคเกษตร โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรอัจฉริยะ (Smart Farmer) และกลุ่มยุวเกษตรกรอัจฉริยะ (Young Smart Farmer) ที่ สามารถรองรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ 4.7 ส่งเสริม และสนับสนุนการผลิตและพัฒนาก าลังคนทุกช่วงวัยเพื่อการมีงานท า โดยบูรณาการ ความร่วมมือในการจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงาน องค์กรทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถาบันสังคมอื่น 4.8 พัฒนาหลักสูตรอาชีพส าหรับกลุ่มเป้าหมายผู้อยู่นอกระบบโรงเรียนและประชาชนที่สอดคล้อง มาตรฐานอาชีพ เพื่อการเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิวิชาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รวมทั้ง สามารถน าผลการเรียนรู้และมวลประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่การสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ได้ 5. กำรส่งเสริมสนับสนุนวิชำชีพครู บุคลำกรทำงกำรศึกษำ และบุคลำกรสังกัด กระทรวงศึกษำธิกำร 5.1 ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ Performance Appraisal (PA) โดยใช้ระบบการประเมินต าแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) 5.2 ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินการ พัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตามกรอบระดับ สมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) ส าหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับอาชีวศึกษา 5.3 พัฒนาครูให้มีความพร้อมด้านวิชาการและทักษะการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ รวมทั้งให้เป็นผู้วางแผนเส้นทางการเรียนรู้ การประกอบอาชีพ และ การด าเนินชีวิตของผู้เรียนได้ตามความสนใจและความถนัดของแต่ละบุคคล 5.4 พัฒนาขีดความสามารถของข้าราชการพลเรือนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ให้มีสมรรถนะที่ สอดคล้องและเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและการเปลี่ยนแปลงของโลกอนาคต 5.5 เร่งรัดการด าเนินการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ควบคู่กับการให้ ความรู้ด้านการวางแผนและการสร้างวินัยด้านการเงินและการออม 6. กำรพัฒนำระบบรำชกำร และกำรบริกำรภำครัฐยุคดิจิทัล 6.1 ขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการ 4.0 ด้วยนวัตกรรม และการน าเทคโนโลยีดิจิทัล มาเป็นกลไก หลัก ในการด าเนินงาน (Digitalize Process) การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data) การส่งเสริม ความร่วมมือ บูรณาการกับภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก 6.2 ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศให้สามารถใช้งานเครือข่ายสื่อสารข้อมูล เชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับระบบราชการ 4.0 สามารถตอบสนองความ ต้องการของประชาชนได้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์และทุกช่องทาง


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 48 6.3 ปรับปรุงระบบการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา โดยยึดหลักความจ าเป็นและ ใช้พื้นที่เป็นฐาน ที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นส าคัญ 6.4 น าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในระบบการคัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน ต าแหน่งและสายงานต่าง ๆ 6.5 ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินงานของส่วนราชการให้เป็นไปตามกลไกการประเมินคุณธรรมและ ความโปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ 7. กำรขับเคลื่อนกฎหมำยกำรศึกษำและแผนกำรศึกษำแห่งชำติ เร่งรัดการด าเนินการจัดท ากฎหมายล าดับรองและแผนการศึกษาแห่งชาติเพื่อรองรับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติควบคู่กับการสร้างการรับรู้ให้กับประชาชนได้รับทราบอย่างทั่วถึง 7.3 นโยบำยและจุดเน้นของส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็ฌนหน่วยงานหลักในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของประเทศ มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษามาอย่างต่อเนื่อง โดยปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ ได้ก าหนดแนวทางการพัฒนา “การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” ใน ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านโอกาส ด้านคุณภาพ และด้านประสิทธิภาพ และเพื่อเป็นการต่อยอดพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็น “วิถีอนาคต วิถีคุณภาพ” จึงก าหนดนโยบายและจุดเน้นของส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ดังนี้ นโยบำยของส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ๑. ด้ำนควำมปลอดภัย ๑.๑ พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยของผู้เรียนทุกคน พร้อมเสริมสร้างระบบและกลไก ในการ ดูแลความปลอดภัยอย่างเข้มข้น ให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา จากโรคภัยต่าง ๆ ภัยพิบัติ และ ภัยคุกคามทุกรูปแบบ ๑.๒ ส่งเสริมการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดีและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๑.๓ สร้างภูมิคุ้มกัน การรู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ในการด าเนินชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) และ ชีวิตวิถีปกติต่อไป (Next Normal) ๒. ด้ำนโอกำสและกำรลดควำมเหลื่อมล้ ำทำงกำรศึกษำ ๒.1 ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุ ๓ - ๖ ปีทุกคน เข้าสู่ระบบการศึกษา สร้าง สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการดูแลปกป้อง เพื่อให้มีพัฒนาการครบทุกด้าน โดยการมีส่วนร่วม ของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๒.๒ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้เข้าถึงโอกาส ความเสมอภาค และ ได้รับ การพัฒนาให้มีสมรรถนะส าหรับการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพในอนาคตให้สอดคล้องกับความต้องการ ของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ


แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ 256๖ : 49 ๒.๓ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ๒.๔ ส่งเสริมเด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพและจัดหาทางเลือก ในการ เข้าถึงการเรียนรู้ การฝึกอาชีพ เพื่อให้มีทักษะในการด าเนินชีวิต สามารถพึ่งตนเองได้ ๒.๕ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นรายบุคคล เพื่อใช้เป็น ฐานข้อมูลในการบริหารจัดการศึกษา โดยเฉพาะการดูแลและป้องกันไม่ให้นักเรียนหลุดออกจากระบบ การศึกษา และช่วยเหลือเด็กตกหล่น เด็กออกกลางคันให้กลับเข้าสู่ระบบ ๓. ด้ำนคุณภำพ ๓.1 ส่งเสริม สนับสนุน สถานศึกษาที่มีความพร้อม ให้น าหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ เน้นสมรรถนะไปใช้ตามศักยภาพของสถานศึกษา ให้สามารถออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับความต้องการ และบริบท ๓.๒ พัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่เหมาะสมช่วงวัย สามารถจัดการตนเอง มีการคิดขั้นสูงมี ความสามารถในการสื่อสาร สามารถจัดระบบและกระบวนการท างานของตนเองและร่วมกับผู้อื่น โดยใช้ การ รวมพลังท างานเป็นทีม เป็นพลเมืองที่ดี ศีลธรรม และอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืน รวมทั้งมี ความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ๓.๓ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ น าไปสู่การมีอาชีพ มีงานท า และ ส่งเสริมความเป็นเลิศของผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ๓.๔ ส่งเสริม และพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ให้ควบคู่การเรียนรู้ น าไปสู่การ พัฒนาการเรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรียนเป็นรายบุคคล รวมทั้งส่งเสริมการน าระบบธนาคารหน่วยกิต มาใช้ ในการเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ของผู้เรียนในสถานศึกษา ๓.๕ พัฒนา ส่งเสริม ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้ง บุคลากรสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานต าแหน่งและ มาตรฐานวิชาชีพ ๔. ด้ำนประสิทธิภำพ ๔.๑ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอ านาจและใช้พื้นที่เป็นฐาน ที่มุ่งเน้นการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นส าคัญ ตามหลักธรรมาภิบาล ๔.๒ น าเทคโนโลยีดิจิทัลและการจัดการฐานข้อมูล มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และการเรียนรู้ของผู้เรียน ๔.๓ ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนคุณภาพ ใช้พื้นที่เป็นฐาน ใช้นวัตกรรมในการขับเคลื่อน บริหารจัดการโดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน และแสวงหาการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ เพื่อให้ ประสบผลส าเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ๔.๔ ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในโรงเรียนที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ โรงเรียนที่ตั้ง ในพื้นที่ลักษณะพิเศษ และโรงเรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา


Click to View FlipBook Version