The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒฯ 2564-2567 (ปรับปรุงปี 2565)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by finance, 2022-07-13 10:31:52

แผนพัฒนาการศึกษา 2565 ฉ.2

แผนพัฒฯ 2564-2567 (ปรับปรุงปี 2565)

Keywords: แผนพัฒ,แผน 4 ปี

แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงครัง้ ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) ก

แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ ครัง้ ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) ข

คำนำ

โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2564 – 2567
เพ่ือเป็นกรอบทิศทาง แนวทางการพฒั นาการศึกษา และปรบั แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2562
– 2565 มุ่งให้เกิดความสอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน โดยมีสาระสำคัญประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานทาง
การศึกษาสภาพของหน่วยงาน ทิศทางการพัฒนาการศึกษา กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนาการศึกษา และ
โครงการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชมุ พร โดยเกดิ จากการระดมความคิดของผู้มีส่วนได้เสีย
ทุกระดับ ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน
คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน นกั เรยี น

โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา หวังเป็นอย่างยิ่งในการนำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ปกี ารศกึ ษา 2564 – 2567 ฉบบั นี้ จะเปน็ กรอบทศิ ทางและแนวทางในการขับเคล่ือนพฒั นาคุณภาพการศึกษา
ขั้นพื้นฐานได้อย่างเป็นรูปธรรม สามารถนำไปสู่เป้าหมายในการบริหารการจัดการศึกษาสำเร็จตามที่มุ่งหวัง
สอดรับกบั บรบิ ทโรงเรียน ท้องถิน่ ในทกุ ประการ

โรงเรยี นเกาะพะงนั ศึกษา
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี ชุมพร

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ คร้ังที่ 2 (5 เมษายน 2565) ค

คำเหน็ ชอบ

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐานโรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา
ได้พิจารณาและมี มตเิ ห็นชอบ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 – 2567
โรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎรธ์ านี ชมุ พร
ในการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ครง้ั ที่ 7/2565
เม่อื วันท่ี 5 เดือน เมษายน พ.ศ.2565 ณ ห้องประชมุ ผู้อำนวยการโรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา

จงึ ลงลายมือชื่อประธานคณะกรรมการฯ ไวเ้ ป็นหลักฐาน

ลงชือ่ .........................................................
(นายเศวต ธนวนิชนาม)

ประธานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานโรงเรยี นเกาะพะงนั ศึกษา

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงครั้งท่ี 2 (5 เมษายน 2565) ง

สารบญั

หน้า
ส่วนที่ 1 บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคญั …………………………………………………………………………………………… 1
ขอ้ มลู ทวั่ ไป ……………………………………………………………………………………………………………………. 2
โครงสรา้ งการบรหิ ารจดั การการศกึ ษาโรงเรยี นเกาะพะงนั ศึกษา ………………………………………….. 8
ขอ้ มูลจำนวนข้าราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา (ปีการศกึ ษา 2565) …………………………. 10
ข้อมูลจำนวนนักเรียน ……………………………………………………………………………………………………… 12
ผลการดำเนนิ การ …………………………………………………………………………………………………………… 12
สว่ นที่ 2 สถานภาพของสถานศึกษา
สรปุ ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT) …………………………………………………. 16
ข้นั ตอนการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน (7S) ………………………………………………………………... 16
ขนั้ ตอนการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก (C-PEST) ……………………………………………………… 23
ส่วนที่ 3 ทิศทางการบริหารจัดการศึกษา
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) ……………………………………………………………………. 38
แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) …………………… 41
มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ………………………………………………………………….. 44
วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ของโรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา ………………………………………………. 46
กลยุทธโ์ รงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา (พ.ศ. 2564 – 2567) ............................................................... 47
กลยทุ ธ์ยอ่ ย/แนวทางการพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา ……………………….……….………. 47
ส่วนท่ี 4 กลยุทธพ์ ัฒนาการศึกษา
กลยุทธ์ท่ี 1 ............................................................................................................................. ....... 48
กลยทุ ธท์ ่ี 2 .................................................................................................................................... 52
กลยุทธท์ ี่ 3 ............................................................................................................................. ....... 53
กลยุทธท์ ่ี 4 .................................................................................................................................... 54
โครงการและงบประมาณ
ส่วนท่ี 5 การบริหารแผนส่กู ารปฏบิ ตั ิ
บทบาทหนา้ ท่ีของผบู้ ริหาร ……………………………………………………………………………………………… 95
บทบาทหน้าที่ของครู ………………………………………………………………………………………….…………… 97
บทบาทหนา้ ที่ของนกั เรยี น ………………………………………………………………………………………….…. 104
บทบาทหนา้ ที่ของผู้ปกครองนกั เรยี น ………………………………………………………………….…………… 105
บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ............................................................ 106

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงครัง้ ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) จ

สารบัญ (ตอ่ )

หนา้

แนวทางการตดิ ตามวัดและประเมินผล ……………………………………………………………………………… 109
ภาคผนวก

- ประกาศโรงเรยี นเกาะพะงนั ศึกษา เรื่องการใช้มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษา
ขั้นพ้ืนฐานเพอ่ื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐาน การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

- คำสงั่ แต่งตง้ั คณะกรรมการจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา ประจำปี
การศกึ ษา 2564-2567

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงคร้งั ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 1

สว่ นที่ 1
บทนำ

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญ

คณุ ภาพผู้เรยี นท่ีสังคมต้องการ ไดร้ ะบไุ วอ้ ยา่ งชัดเจนในพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 ทว่ี ่า “การจดั การศึกษาต้องเปน็ ไป เพื่อพัฒนาคนไทยให้
เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ (หมายถึง สุขกาย สุขใจ) สติปัญญา ความรู้ (หมายถึง เป็นคนเก่ง) และ
คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข(หมายถึงเป็น
คนดีของคนรอบข้างและสังคม)” และในมาตรา 7 ที่ว่า “ในกระบวนการ เรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่
ถูกตอ้ งเกี่ยวกบั การเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข รจู้ ักรกั ษา
และส่งเสริม สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เคารพกฎหมาย ความเสมอภาคและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภูมิใจ
ในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้ง ส่งเสริมศาสนา ศิลปะ
วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ ใฝ่รแู้ ละเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง อยา่ งตอ่ เน่ือง” และกระทรวงศึกษาธิการ ไดจ้ ัดทำแผนพัฒนาการศึกษา
ของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) สำหรับเป็นเครื่องมือในการกำกับทิศทางการ
ปฏิบัติงานของ กระทรวงศึกษาธิการ และส่วนราชการ/หน่วยงานในสังกัด โดยได้น้อมนําหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจ พอเพียงมาประยุกต์ใช้เป็นกรอบในการดําเนินงาน เพื่อสร้างผลผลิต ผลลัพธ์ให้เกิดกับผู้เรียนได้
อยา่ งมี ความสอดคล้องกับทิศทางการพฒั นาประเทศในชว่ งของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับ
ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ซึ่งได้ระบุสาระสำคัญเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ
ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ของกระทรวงศึกษาธิการ ที่สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายของ การพัฒนาประเทศ
ได้ทงั้ มติ ิความม่ันคง มติเศรษฐกิจ มิติสงั คม และมิติการบรหิ ารจัดการภาครฐั ได้อยา่ งเป็นรปู ธรรม

แผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากการรวบรวม
ปัจจัยพื้นฐานของโรงเรียนทีม่ ีในปจั จุบันในแตล่ ะด้าน เพื่อนำสูก่ ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเพื่อ
เกิดผลโดยองค์รวมในการพัฒนาการจัดการศึกษา มีความสอดรบั กับแผนพัฒนาประเทศ ตามแนวนโยบายของ
รัฐที่ได้ดำเนินการพัฒนาทางเศรษฐกิจ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พัฒนาสังคม โครงสร้างทางการเมืองและ
จริยธรรม และนโยบายการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล โรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา มีภารกิจที่
จะต้องดำเนินการจัดการและบริหารการศึกษาให้เปน็ ไปตามเจตนา ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน (สพฐ.) และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร และสนอง
นโยบายของรัฐในการจัดการศึกษาตามแนวการปฏิรูปที่ได้ประกาศไว้อย่าง ชัดเจนและเป็นรูปธรรมตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ตลอดระยะเวลา
ที่ผ่านมาโรงเรียนดำเนินการตามกระบวนการที่กำหนดไว้ใน แผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนมาโดยตลอด
เป็นที่น่าพอใจ มีระบบการบริหารขับเคล่ือนการศึกษาภายใต้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ชัดเจน และ
นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ การส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาสู่การรับรางวัลในการ
แข่งขันระดับประเทศ ระดับนานาชาติ มีการส่งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถ
พัฒนาการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาที่ขับเคลื่อนภายใต้นโยบายในแผนพัฒนา
การศกึ ษาจงึ ไดร้ บั การพัฒนาปรบั ปรงุ ใหส้ อดรบั กบั การพัฒนาและบริบทของโรงเรียนตอ่ ไป

แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ ครงั้ ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 2

ดงั นน้ั โรงเรียนเกาะพะงนั ศกึ ษา โดยคณะผบู้ รหิ าร คณะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน นักเรียน และผู้ปกครองได้ร่วมกันเพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT)
ปรับปรุงและพัฒนาแผนพัฒนาโรงเรียน ให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้นและให้เกิดผลต่อการพัฒนา และบูรณา
การ กระบวนการเรียนการสอนของครูและของนักเรียนให้ก้าวหน้าไปสู่อนาคต และหวังว่า แผนพัฒนา
การศึกษาฉบบั น้ี (พ.ศ.2564 – 2567) จะเป็นทศิ ทางในการขับเคล่อื นการบรหิ ารการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน
เกาะพะงันศึกษา แบบมีส่วนร่วมตามนโยบายของแผนงานหลัก เพื่อการบริหารจัดการ แนวทางการพัฒนา
การส่งเสริมศักยภาพทางวิชาการและพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุ เต็มตามศักยภาพ อีกทั้งเป็นแนวทางการจัด
กระบวนการเรียนการสอน การบูรณาการตามหลักสูตร การพัฒนาศักยภาพทุกมิตขิ องบุคลากรไปสู่เป้าหมาย
และความสำเรจ็ ทพี่ ึงประสงค์ร่วมกัน

1.2 ข้อมลู ท่วั ไป

1.2.1 ประวตั ิโรงเรียนเกาะพะงนั ศกึ ษา
โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 145 หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านใต้ อำเภอเกาะพะงัน จังหวดั
สุราษฎรธ์ านี ประวัติการกอ่ ตง้ั โรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา
ปี พ.ศ. 2515 มีการเคลื่อนไหวเพื่อก่อตั้งโรงเรียนมัธยมประจำอำเภอเกาะพะงัน โดย
ประชาชนและกรรมการวัดอัมพวัน นำโดย นายบัญชา แท่งทองคำ และกำนัน จิ๋ว พิริยสถิต ได้ดำเนินการมา
ไดบ้ างส่วน
ปี พ.ศ.2516 ได้มีการดำเนินการต่อโดย นายนำ บุญช่วย กำนันตำบลบ้านใต้ และนาย
นรินทร์ พูลทรัพย์ สารวัตรกำนัน เป็นแกนนำ ดำเนินงานทั้งส่วนราชการและเอกชน ได้มีการระดม
ทรัพยากรด้านต่าง ๆ ทั้งการขอซื้อที่ดินบริเวณบางจามารุ (บางแกม้ โหลก) บางส่วนและได้รับบริจาคท่ีดินจาก
สกลุ “ธนวนิชนาม” ทง้ั ขอรบั บรจิ าคจากผู้มีจิตศรัทธาบ้าง จนสามารถตั้งโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ในบริเวณ
ที่ตั้งปัจจุบัน รวมจำนวนเนื้อที่ 35 ไร่ 3 งาน 78 ตารางวา และในปีเดียวกันนี้ จังหวัดสุราษฎร์ธานีสั่งให้
เปิดรับนักเรียน แต่ด้วยเหตุขัดข้องบางประการจึงไม่สามารถจะเปิดทำการเรียนการสอนได้ แกนนำผู้ก่อต้ัง
โรงเรยี นตอ้ งดำเนินการจนกระทงั่ ถึง
ปี พ.ศ.2517 แกนนำและชาวบ้านยังคงดำเนนิ การต่อเน่ืองเพื่อขอเปิดโรงเรียน จนกระทัง่ ใน
วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2517 จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีวิทยุแจ้งว่า กรมสามัญศึกษาสั่งให้โรงเรียนเปิดรับ
นกั เรยี น ดำเนินการสอนไดใ้ นปีการศึกษา 2517 ซ่ึงขณะน้นั มีนายยุทธชยั ศรสี วา่ ง ปลดั อำเภอ ผ้เู ปน็ หัวหน้า
กิ่งอำเภอเกาะพะงัน เมื่อได้รับแจ้งให้เปิดดำเนินการสอนได้แกนนำและชาวบ้าจึงช่วยกันปรับปรุงสถานที่ให้
เกิดความพร้อมตามสมควร แต่ยังติดขัดเรื่องครูผู้สอน จนในที่สุด นายโพธิ์ วิมล ได้มาทำหน้าที่ครูผู้สอนและ
ครูใหญ่ชั่วคราว ถือได้ว่าท่านเป็นผู้มีพระคุณต่อโรงเรียนเกาะพะงันศึกษาเป็นอย่างมาก ในการรับนักเรียนรนุ่
แรก จำนวน 35 คน ต่อมาเมื่อวนั ท่ี 15 พฤษภาคม 2517 ได้ทำพิธีเปิดอาคารเรยี น ในเวลา 09.39 น. ถือเป็น
ปฐมฤกษ์ให้นักเรียนได้เข้าห้องเรียน วันที่ 17 พฤษภาคม 2517 ทำพิธีเปิดป้ายโรงเรียน โดยนายกระจ่าง
ศิรินทรนนท์ โดยชื่อเดิมของโรงเรียนคือ โรงเรียนพงัน กระทรวงศึกษาธิการจึงสั่งให้เพิ่มคำว่า ศึกษา
จนกลายเปน็ โรงเรยี นเกาะพงันศกึ ษา
วนั ที่ 30 กรกฎาคม 2517 ได้มี นายทะนุ นิตยน์ รา เข้ารับตำแหนง่ ครูใหญ่ โดยในระยะแรก
ได้ร่วมสอนกับคณะครู คือ ครวู ริ ะยา เพชรเจริญ ครูบุปผา พ่มุ เจริญ ครณู รงค์ พรหมรกั ษ์ โดยมอี าคารเรียน
เริ่มแรกที่มุงและกันด้วยจาก จึงถูกเรียกว่า “อาคารคอกไก่” หรือ “อาคารคอกเป็ด” หรือบางคนเรียกว่า
“โรงเรยี นคอกเป็ด”

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ คร้งั ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 3

วันที่ 19 ธันวาคม 2519 ได้มีพิธีวางศลิ าฤกษ์อาคารหลังแรก ซึ่งยังไม่เสร็จสมบูรณ์แตไ่ ด้เปดิ
ให้นักเรยี นได้เข้าใช้เรยี น ในวนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2519

ปี พ.ศ. 2520 อาคารหลงั แรกได้สร้างเสรจ็ สมบูรณ์ และมีการเปล่ียนชื่อโรงเรียนอย่างไม่เป็น
ทางการจากเดิมคือ โรงเรียนเกาะพงันศึกษา เป็น โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ด้วยเหตุมีการเปลี่ยนชื่ออำเภอ
เกาะพงัน ไมม่ ี สระอะ เป็นอำเภอเกาะพะงัน มีสระอะ

โรงเรียนเกาะพะงันศึกษาเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดกลาง ปัจจุบัน (ปีการศึกษา
2564) มผี ้บู รหิ าร จำนวน 1 คน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษารวม จำนวน 35 คน จำนวนนักเรียน
624 คน (ขอ้ มูล 15 พ.ค. 2564) เว็บไซต์ของโรงเรยี น http://www.kss.ac.th

วันสถาปนาโรงเรยี น : 17 พฤษภาคม 2517

1.2.2 รายชอื่ ผบู้ ริหารโรงเรียน

ช่อื - สกุล ปีทด่ี ำรงตำแหนง่
2517 – 2524
นายทนุ นติ ย์นรา 2524 – 2531
2531 – 2533
นายพรเทพ มีเดช 2533 – 2536
2536 – 2539
นายจันทร พลสงิ ห์ 2539 – 2543
2543 – 2543
นายจารึก พญาพนัง 2543 – 2546
2546 – 2551
นายจำเนยี ร เจริญสุข 2546 – 2554
2554 – 2556
นายทวี ทองปลกู 2556 – 2562
2562 – ปจั จุบัน
นายปราโมทย์ จันทรธ์ ำรง

นายทวี ทองปลกู

นายพสิ ิษฐ ศักดา

นายเกรยี งไกร แก้วมศี รี

นางเสาวนิตย นาคะสงิ ห์

นายศักสนิ ธ์ ตนั เกยี รติพงนั

ว่าท่ีร้อยโทพลากร ประสงค์

1.2.3 ตราประจำโรงเรียน

โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา มยี อ่ อกั ษรย่อ “ ก.ศ.

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ คร้ังท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 4

สัญลักษณ์ของโรงเรียน : เป็นรูปเสมาธรรมจักร (ตามแบบของกรมสามัญศึกษา) ในวงกลมเป็น
ภาพดอกบวั บานมีหนังสอื และเทยี นไขเปลง่ รัศมี หมายถงึ ความแตกฉานแหง่ ปญั ญา เหนือวงกลมเป็นคติพจน์
ภาษาบาลีว่า “สุสฺสูสํ ลภเต ปัญฺญํ” ใต้วงกลมเป็นรูปตรี ตามสัญลักษณ์ของกรมสามัญศึกษา แนบข้างด้วย
ตัวอกั ษร ก.ศ.

1.2.4 คตพิ จน์ ปรชั ญา คำขวัญ อัตลกั ษณแ์ ละเอกลักษณ์
คติพจน์ของโรงเรยี น : สุสสฺ ูสํ ลภเตปญั ญํ หมายถงึ ตั้งใจศึกษายอ่ มได้ปญั ญา
คำขวญั โรงเรยี น : พัฒนา สามัคคี มวี นิ ยั ใฝ่คุณธรรม
ปรชั ญาโรงเรยี น : เก่งและดี เป็นคุณสมบัติของยุวชน
สปี ระจำโรงเรยี น
สเี ขยี ว หมายถงึ ความเจริญงอกงาม สดชน่ื
สขี าว หมายถึง ความบรสิ ุทธ์ิ คณุ ธรรม จริยธรรม

อตั ลักษณ์ สัมมาคารวะดี มจี ิตสาธารณะ
คำอธบิ าย

สัมมาคารวะดี ( Respectation ) หมายถงึ นกั เรยี นโรงเรียนเกาะพะงัน
ศึกษาแสดงออกถงึ ความเคารพ นบนอบต่อผ้ใู หญ่ หรือผู้ท่ีอาวุโสกวา่ ครู
อาจารย์ ตลอดจนแขกผู้มาเยี่ยมโรงเรยี น
มีจิตสาธารณะ (Public mind) หมายถึง นกั เรียนโรงเรยี นเกาะพะงัน
ศึกษามีความรสู้ ึกตระหนักของปัญหาที่เกิดขนึ้ ในสงั คม ทำให้เกดิ ความรู้สึก
ท่ีจะร่วมชว่ ยเหลอื สังคม
เอกลักษณ์ มีแหลง่ เรียนรู้ คู่บริการชุมชน

บริบท : โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ตั้งอยู่บนเกาะพะงัน ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด

สุราษฎร์ธานี ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 100 กิโลเมตร ไปทางทิศเหนือของเกาะสมุย ประมาณ 20
กิโลเมตร อำเภอเกาะพะงัน ประกอบด้วย 3 ตำบล คือ ตำบลเกาะพะงัน (แบ่งเป็น เขตเทศบาลตำบล
เกาะพะงัน 2 หมู่บ้าน คอื หม่ทู ี่ 1 และหมทู่ ่ี 2 เขตเทศบาลตำบลเพชรพงัน คือ หมู่ท่ี 3,หมู่ที่4,หมู่ที่5,หมู่ท่ี6,
หมู่ที่7 และ หมู่ที่ 8) ตำบลบ้านใต้ (แบ่งเป็นเขตเทศบาลตำเกาะพะงัน คือ หมู่ที่ 1 เขตเทศบาลตำบลบา้ นใต้
คอื หมทู่ ่ี 2, หมทู่ ่ี 3, หมทู่ ี่ 4 , หมู่ที่ 5, หมทู่ ่ี 6) ตำบลเกาะเต่า ประกอบด้วย 3 หม่บู า้ น อยูใ่ นสังกัดองค์การ
บริหารส่วนตำบลเกาะเต่า ซึ่งอำเภอเกาะพะงันมีพื้นที่ 170 ตารางกิโลเมตร และตำบลเกาะเต่ามีพื้นท่ี
17.96 ตารางกิโลเมตร

สภาพทางภูมิศาสตร์ มีพื้นที่เป็นเกาะหนึ่งในจำนวน 48 เกาะ ที่ตั้งอยู่ในบริเวณหมู่เกาะอ่างทอง
ภูมิประเทศของเกาะมีภูเขาอยู่ตรงกลางเกาะทอดตัวจากทิศเหนือจดทิศใต้ ทางด้านทิศตะวันตกของเกาะ
ส่วนทิศตะวันออกเป็นเทือกเขาจดทะเลบางแห่งก็มีอ่าวเล็ก อ่าวน้อย เรือเข้าจอดได้เป็นบางฤดู ช่วงมรสุม
ตง้ั แตเ่ ดือนตุลาคม ถึง เดอื นมกราคม จะมลี มตะวนั ออกพดั ผ่าน ซึง่ ไม่เหมาะแกก่ ารทอ่ งเที่ยว

แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเกาะพะงนั ศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ ครัง้ ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 5

อาคารที่ดนิ ส่งิ ก่อสรา้ ง

1. ทด่ี นิ โรงเรยี นจำนวนท้ังสิน้ 1 แปลง รวมเนื้อที่ 35 ไร่ 3 งาน 78 ตารางวา
2. อาคารเรยี นถาวร จำนวน 2 หลงั

2.1 อาคาร 216 ก (12 ห้องเรียนไม่เต็มรปู )
2.2 อาคาร CS 208 A
3. อาคารเรียนชั่วคราวจำนวน 1 หลัง (ชำรดุ ปรบั ปรุงเปน็ อาคารเรียนช่วั คราว)
4. อาคารโรงฝกึ งาน จำนวน 2 หลงั 3 หน่วย

4.1 โรงฝึกงาน GEN A
4.2 โรงฝึกงาน GEN H,I

5. หอประชมุ โรงอาหาร จำนวน 1 หลัง (100/27)
6. บา้ นพักครู จำนวน 3 หลัง

6.1 บ้านพกั ครู 203/27 จำนวน 2 หลงั
6.2 บ้านพักครูแบบ (ไม่ทราบชือ่ ) จำนวน 1 หลงั
7. บา้ นพักภารโรง 1 หลัง (ชำรดุ )
8. สว้ มนกั เรยี นนอกอาคาร จำนวน 2 หลัง
8.1 แบบมาตรฐาน 6 ท่ี (ชำรุด)
8.2 แบบไม่ทราบช่อื 8 ท่ี (ปรบั ปรุง)
9. โรงรถจำนวน 1 หลงั
10. สนามบาสเกตบอล จำนวน 1 สนาม
11. สนามฟตุ บอล จำนวน 1 สนาม
12. หอถงั บ่อพกั น้ำ บ่อน้ำตน้ื พร้อมเคร่ืองสูบ 1 ชุด
13. ฝ 33 2 ชุด
14. หมอ้ แปลงไฟฟ้า 100 KVA 1 ลกู ระบบไฟฟ้าในโรงเรยี น 3 เฟส

เบอร์โทรศัพท์ตดิ ต่อ

โทรศพั ท์ 077-377357 ติดต่อห้องธุรการ กด 11, ติดต่อห้องผูอ้ ำนวยการ กด 12,
ติดตอ่ ห้องการเงิน/พสั ดุ กด 13, ติดตอ่ หอ้ งวิชาการ กด 14, ตดิ ต่อห้องบรหิ ารทั่วไป กด 15
ตดิ ตอ่ ห้องศิษยเ์ กา่ กด 16, ติดตอ่ หอ้ งสมดุ กด 17

โทรสาร 077-377066

1.2.6 ท่ีต้งั ของโรงเรยี น
ในปจั จบุ ันโรงเรียนมีอาณาเขต ดังน้ี
ทิศเหนอื จรดกบั ถนนสายทอ้ งศาลา-บา้ นใต้
ทิศใต้ จรดกับ ถนนส่วนบุคคล
ทิศตะวันออก จรดกบั ถนนส่วนบคุ คล
ทศิ ตะวนั ตก จรดกบั ทางสาธารณะประโยชน์ และคลองบางเจมารุ

แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงครัง้ ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 6

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงครั้งท่ี 2

1.3 โครงสรา้ งการบรหิ ารจดั การศกึ ษา โรงเรยี นเกาะพะงนั ศกึ ษา ปีการศึกษา 2564-

คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ผูอ้ ำนวยการ

ฝา่ ยบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบรหิ ารงานงบประมาณ

1. การพัฒนาหรอื การด าเนินการเกย่ี วกบั การให้ความเหน็ การ 1. การจัดท าแผนงบประมาณและค าขอตง้ั งบประมาณ
พฒั นาสาระหลักสตู รทอ้ งถ่นิ
เพื่อเสนอตอ่ ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ หรอื
2. การวางแผนงานด้านวชิ าการ
3. การจัดการเรยี นการสอนในสถานศกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
แล้วแตก่ รณี
4. การพัฒนาหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
5. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 2. การจัดท าแผนปฏบิ ตั ิการใชจ้ ่ายเงินตามทีไ่ ด้รบั จัดสรร
6. การวัดผล ประเมนิ ผล และด าเนินการเทียบโอนผลการ งบประมาณจากส านักงานคณะกรรมการ การศกึ ษา

เรียน ขั้นพน้ื ฐานโดยตรง
7. การวิจยั เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาในสถานศึกษา
8. การพัฒนาและสง่ เสริมให้มแี หลง่ เรยี นรู้ 3. การอนมุ ตั กิ ารใช้จา่ ยงบประมาณท่ีไดร้ ับจัดสรร
4. การขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณ

9. การนิเทศการศึกษา 5. การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ

10. การแนะแนว 6. การตรวจสอบตดิ ตามและรายงานการใชง้ บประมาณ

11. การพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐาน 7. การตรวจสอบตดิ ตามและรายงานการใชผ้ ลผลติ จาก

การศึกษา งบประมาณ
12. การสง่ เสรมิ ชมุ ชนให้มีความเขม้ แข็งทางวิชาการ 8. การระดมทรัพยากรและการลงทนุ เพื่อการศึกษา
13. การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกบั 9. การปฏิบตั งิ านอนื่ ใดตามที่ไดร้ ับมอบหมายเกย่ี วกบั

สถานศกึ ษาและองคก์ รอ่นื กองทุนเพื่อการศกึ ษา
14. การสง่ เสรมิ และสนับสนุนงานวิชาการแกบ่ ุคคล ครอบครวั 10. การบริหารจดั การทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษา
11. การวางแผนพัสดุ
องคก์ ร หนว่ ยงานสถานประกอบการ และสถาบันอน่ื ท่จี ัด 12. การก าหนดรูปแบบรายการ หรือคณุ ลกั ษณะเฉพาะ
การศกึ ษา
15. การจัดท าระเบยี บและแนวปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับงานด้านวชิ าการ ของครภุ ณั ฑ์ หรอื สงิ่ กอ่ สรา้ งทใ่ี ชเ้ งนิ งบประมาณ

ของสถานศึกษา

16. การคัดเลือกหนังสอื แบบเรียนเพอ่ื ใช้ในสถานศกึ ษา โครงสร้าเเงพลกขือ่ าาเสธรกินบาอรตรค่อิหณปะลากัดรรกจรรมัดะกทการรวากงราศรศกึ ศษึกกึ าษษธาิกขาาน้ัรโพหรรน้ื อืงฐาเนรยี นเกา
17. การพัฒนาและใช้สอื่ เทคโนโลยีเพ่อื การศึกษา

แล้วแต่ กรณี

ฝ่ายบรหิ ารงานวิชาการ 13. การพฒั ฝน่าารยะบบบรขิห้อมาลู รแงละาสนารงสบนเปทศรเพะอ่ืมกาารณจัดทำ

และจัดหาพัสดุ
14. การจดั หาพสั ดุ
15.1ก3า.รกคาวรบพคฒั ุมนดาูแรละบบบำรขุง้อรมกั ลูษแาลแะลสะาจรำสหนนเา่ทยศพเพัสื่อดกุ ารจดั ทำ
16. การจแดัลหะจาผัดลหปาพระสั โดยุชนจ์ ากทรพั ยส์ ิน
17.1ก4า.รกเบารกิ จเงดั นิ หจาาพกสั คดลุ งั

15. การควบคุมดแู ล บำรุงรกั ษาและจำหนา่ ยพสั ดุ

2 (5 เมษายน 2565) 8

2567 เครอื ขา่ ยผปู้ กครองนกั เรยี น
สภานักเรียน/คณะกรรมการนกั เรียน
รโรงเรยี น

ฝ่ายบริหารงานบุคคล ฝา่ ยบริหารงานท่ัวไป

1. การวางแผนอัตรากำลงั 1. การพฒั นาระบบและเครอื ขา่ ยขอ้ มูลสารสนเทศ8
2. การจัดสรรอตั รากำลังข้าราชการครแู ละบุคลากร 2. การประสานงานและพัฒนาเครอื ข่ายการศึกษา
3. การวางแผนการบรหิ ารงานการศกึ ษา
ทางการศึกษา 4. งานวิจยั เพอื่ พฒั นานโยบายและแผน
3. การสรรหาและบรรจแุ ตง่ ตัง้ 5. การจดั ระบบการบรหิ ารและพัฒนาองคก์ ร
4. การเปลยี่ นตำแหนง่ ใหส้ งู ขึน้ การย้ายขา้ ราชการครู 6. การพฒั นามาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน
7. งานเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา
และบุคลากรทางการศกึ ษา 8. การด าเนินงานธุรการ
5. การดำเนนิ การเกย่ี วกบั การเล่ือนขนั้ เงนิ เดือน 9. การดแู ลอาคารสถานทแ่ี ละสภาพแวดลอ้ ม
6. การลาทกุ ประเภท 10. การจดั ทำสำมะโนผเู้ รียน
7. การประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน 11. การรับนักเรยี น
8. การด าเนินการทางวนิ ัยและการลงโทษ 12. การเสนอความเห็นเกย่ี วกับเรอื่ งการจดั ตง้ั ยุบ รวม
9. การสั่งพกั ราชการและการส่งั ใหอ้ อกจากราชการไว้
หรอื เลกิ สถานศกึ ษา
ก่อน 13. การประสานการจัดการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ
10. การรายงานการดำเนนิ การทางวนิ ยั และการลงโทษ
11. การอุทธรณแ์ ละการรอ้ งทุกข์ และตามอัธยาศยั
12. การออกจากราชการ 14. การระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา
13. การจดั ระบบและการจัดท าทะเบยี นประวตั ิ 15. การทศั นศกึ ษา
14. การจดั ทำบญั ชีรายชื่อและให้ความเหน็ เกยี่ วกบั การ 16. งานกจิ การนกั เรยี น
17.การประชาสัมพนั ธ์งานการศกึ ษา
เสนอขอพระราชทานเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์ 18. การส่งเสรมิ สนบั สนุนและประสานการจัดการศึกษา
15. การส่งเสรมิ การประเมนิ วิทยฐานะข้าราชการครแู ละ
ของบุคคล ชมุ ชน องคก์ ร หนว่ ยงานและ สถาบนั
บุคลากรทางการศกึ ษา สงั คมอ่นื ทจี่ ดั การศึกษา

าะพะ1176ง..นั กกาาศรรกึสส่่งงษเเสสารรมมิิ ปแมลาีกตะรยาฐกรายศนอ่ วึกงิชเชษาดิชาชีพเูแก2ลียะ5รจต6ริ ร4ย-าบ2ร5รณ6ว7ชิ า(ชตพี ่อ) 19. ง(าทน)ปกราะรสราานยฝงรา่าานชยกผบาลรกรกาับหิรปสาฏ่วนรบิ ภงัตมูงิาาิภนนาคทแ่ัวละไสปว่ นท้องถนิ่

18. การส่งเสรมิ วนิ ยั คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสำหรบั 20. การจดั ระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน
ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 21. แนวทางการจดั กจิ กรรมเพ่ือปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมใน

19. การริเรม่ิ ส่งฝเสา่รมิยกบารรขหิอราับรใบงอานนญุ าบตุคคล 1ก9.ารง(ลาทนง)โปทกราษะรนสรกัาานเยรงรยี าานนชกผาลรกกาับรปสฏ่วนบิ ภัตมูงิ าภิ นาคและสว่ นท้องถ่นิ
20. การจดั ระบบการควบคมุ ภายในหนว่ ยงาน
20. การพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 21. แนวทางการจดั กิจกรรมเพื่อปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมใน
การด าเนนิ การท่ีเกี่ยวกบั การบรหิ ารงาน บคุ คลให้

ำ 19เป. ็นกไาปรตริเารมม่ิ กสฎง่ หเสมราิมยกวาา่ รดข้วอยรกับาใรบนอน้ั นุญาต
20. การพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
การด าเนนิ การทเี่ กี่ยวกบั การบรหิ ารงาน บคุ คลให้
เป็นไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการนน้ั

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงครัง้ ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 9

1.4 จำนวนครู และบุคลากรทางการศกึ ษา (อัตรากำลังปกี ารศึกษา 2564)

จำนวนข้าราชการครู จำนวน 26 คน (จำแนกตามวทิ ยฐานะ)

จำนวนตามวิทยฐานะ

ท่ี กลมุ่ สาระฯ จำนวน ครชู ่วย ชำนาญ ชำนาญ รวม
ราชการ การ การพเิ ศษ
ครู ครผู ู้ชว่ ย ครู คศ.1 เชย่ี วชาญ

1 บริหาร สนบั สนนุ 1---1 1- 2
-- 1
2 ภาษาไทย 1-1- - 1- 4
1- 6
3 คณิตศาสตร์ 4- -12 -- 3
-- 1
4 วทิ ยาศาสตร์ฯ 6 -221 -- 3
-- 3
5 สังคมศกึ ษาฯ 3-1-2 -- 5
3- 26
5 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 - 1 - -
จำแนกเพศ รวม
6 ศิลปะ 3 - -3- ชาย หญิง
1- 1
7 การงานอาชพี 31-2- -1 1
13 4
8 ภาษาต่างประเทศ 5- -32 15 6
12 3
รวม 26 1 4 11 7 -- -
12 3
จำนวนขา้ ราชการครู จำนวน 26 คน (จำแนกตามวุฒิการศึกษา) 12 3
23 5
ท่ี กลุ่มสาระฯ จำนวน จำแนกวฒุ ิการศึกษา รวม 8 18 26
ครู
ป.ตรี ป.โท ป.เอก

1 บรหิ าร สนับสนุน 1 - 1 -1

2 ภาษาไทย 1 1 - -1

3 คณติ ศาสตร์ 4 3 1 -4

4 วิทยาศาสตรฯ์ 6 4 2 -6

5 สงั คมศกึ ษาฯ 3 2 1 -3

5 สุขศึกษาและพลศึกษา - - - --

6 ศิลปะ 3 3 - -3

7 การงานอาชพี 3 3 - -3

8 ภาษาต่างประเทศ 5 4 1 -5

รวม 26 20 6 - 26

จำนวนบุคลากรทางการศกึ ษา จำนวน 8 คน
ลกู จ้างประจำ จำนวน 3 คน

บคุ ลากรทางการศึกษา ภารโรง ตำแหนง่ แมบ่ ้าน รวม
1 ยาม 1
ลูกจา้ งประจำ 1 1 1 3
รวม 1 3

พนักงานราชการ จำนวน 2 คน

แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงคร้งั ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 10

บคุ ลากรทางการศกึ ษา บริการ เทคนคิ ตำแหน่ง วิชาชพี เช่ียวชาญ รวม
เฉพาะ เฉพาะ
พนักงานราชการ - - บรหิ าร (ครู) 2
- ทั่วไป - 2
รวม - 2 -
- รวม
- 2 ครู 3
2 3
ครูอตั ราจา้ ง / สนับสนุน จำนวน 3 คน 2

บุคลากรทางการศึกษา ธุรการ นกั การ ตำแหนง่
1- พสั ดุ ห้องสมดุ
ลกู จ้างชวั่ คราว 1-
รวม --
--

เพศ ระดบั การศึกษาสูงสดุ ประสบการณ์
การสอนเฉลยี่
ประเภทบุคลากร ชาย หญงิ ตำ่ กว่า สงู กว่า อายุเฉลย่ี
ป.ตรี ป.ตรี ป.ตรี 13.00
ผ้อู ำนวยการ 1- 37.00 -
รองผู้อำนวยการ -- -- 1 -
ข้าราชการครู 8 18 6.32
ครูอัตราจ้าง/สนับสนนุ 21 -- - 33.76 7.50
ลกู จา้ งประจำ 21 35.67 2.00
พนักงานราชการและ 2- - 23 3 51.00 14.00
พนักงานจ้าง 44.00
-3 -
รวม
3- -

-2 -

15 20 3 28 4 - -
35

1.5 ข้อมูลจำนวนนกั เรยี น (ปีการศึกษา 2562 – 2564)

นกั เรียนระดับช้นั ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564
(จำนวน)
(จำนวน) (จำนวน) 139
131
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 150 126 128
91
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 128 143 74
61
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 106 114 624

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 80 74

ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 43 70

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 66 66

รวม 573 593

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงครงั้ ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 11

1.6 ผลการดำเนินการ

1.6.1 ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-net (ปี 2564)

ผลการประเมนิ ระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-net) ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 และ

ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2561-2563

ปีการศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563

รายวชิ า ระดับช้นั ระดบั ช้ัน ระดับชนั้ ระดับช้นั ระดับช้นั ระดับชัน้

มัธยมศึกษา มธั ยมศึกษา มัธยมศึกษา มธั ยมศึกษา มธั ยมศึกษา มธั ยมศึกษา

ปีที่ 3 ปที ี่ 6 ปที ่ี 3 ปที ่ี 6 ปที ี่ 3 ปีท่ี 6

Mean Mean Mean Mean Mean Mean

ภาษาไทย 51.75 37.84 34.11 31.95 46.11 35.85

สังคมศึกษาฯ - 29.53 - 31.16 - 31.18

คณติ ศาสตร์ 28.80 24.75 23.92 17.77 25.69 21.62

วทิ ยาศาสตร์ 34.49 27.57 28.15 23.71 29.19 29.02

1.6.2 ผลการประเมนิ และขอ้ เสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 ของ สมศ.
โรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา ได้รับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสามจาก สมศ.

ระหวา่ งวันที่ 5-7 มกราคม 2559
ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกของสถานศึกษา ซง่ึ สามารถสรุปผลการประเมินดงั ตาราง

สรุปดงั ตาราง ดังน้ี

การศึกษาข้ันพื้นฐาน (มธั ยมศกึ ษา) นำ้ หนัก คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
(คะแนน) ที่ได้

กลุ่มตวั บ่งชี้พ้ืนฐาน 10.00 9.44 ดมี าก
ตวั บง่ ชท้ี ่ี 1 ผูเ้ รียนมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี่ ี 10.00 9.27 ดมี าก
ตัวบ่งชีท้ ่ี 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 10.00 8.54
ตวั บ่งชท้ี ่ี 3 ผเู้ รียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรอู้ ย่างต่อเน่ือง 10.00 8.39 ดี
20.00 8.96 ดี
ตัวบง่ ชท้ี ี่ 4 ผเู้ รยี นคิดเป็น ทำเปน็ 10.00 8.00 พอใช้
ตัวบ่งชที้ ่ี 5 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผ้เู รยี น ดี
ตวั บง่ ชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผูเ้ รียน 5.00 4.80
ดมี าก
เปน็ สำคัญ 5.00 4.79
ตัวบง่ ชี้ท่ี 7 ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจัดการและการพัฒนา ดมี าก
5.00 5.00
สถานศกึ ษา ดมี าก
ตัวบ่งชี้ที่ 8 พฒั นาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา

และตน้ สังกัด
กลมุ่ ตวั บ่งชอี้ ัตลักษณ์

ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลตุ ามปรัชญา ปณิธาน/วิสยั ทศั น์ พันธกิจ
และวตั ถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา

แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงครั้งท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 12

การศึกษาข้ันพื้นฐาน (มัธยมศึกษา) น้ำหนกั คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
(คะแนน) ท่ไี ด้

ตัวบง่ ชท้ี ่ี 10 ผลการพัฒนาตามจดุ เน้นและจดุ เดน่ ท่สี ง่ ผลสะท้อน 5.00 4.00 ดี
เปน็ เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา
5.00 4.00 ดี
กลมุ่ ตวั บ่งชมี้ าตรการส่งเสริม 5.00 5.00 ดมี าก

ตัวบง่ ชี้ท่ี 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพิเศษเพื่อสง่ เสรมิ บทบาท
ของสถานศกึ ษา

ตวั บ่งชี้ท่ี 12 ผลการสง่ เสริมพฒั นาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน
รกั ษามาตรฐานและพฒั นาสคู่ วามเป็นเลศิ ทีส่ อดคล้อง
กับแนวทางการปฏิรูปการศกึ ษา

คะแนนรวม 100.00 80.19 ดี

การรบั รองมาตรฐานสถานศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษา

● ผลคะแนนรวมทุกตัวบง่ ชี้ ตงั้ แต่ 80 คะแนนขนึ้ ไป  ใช่ ❑ ไมใ่ ช่

● มตี ัวบง่ ชีท้ ไี่ ด้ระดบั ดีขนึ้ ไปอย่างน้อย 10 ตัวบง่ ชีจ้ าก 12 ตัวบ่งชี้  ใช่ ❑ ไม่ใช่

● ไม่มตี วั บ่งช้ใี ดท่ีมรี ะดับคุณภาพตอ้ งปรับปรงุ หรือต้องปรับปรงุ เรง่ ด่วน  ใช่ ❑ ไม่ใช่

สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานของสถานศึกษาในภาพรวม

สมควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา ❑ ไมส่ มควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา

จดุ เดน่ จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะจากการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม

จดุ เดน่

1. ดา้ นผลการจัดการศึกษา

ผู้เรียนมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มีร่างกายแข็งแรงร่าเริงแจ่มใส มีบุคลิกดี จัดการดูแล
ตนเองให้ห่างไกลจากสารเสพติด มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ระเบียบวินัย และมีความ
ประพฤตทิ ่ดี เี ป็นลูกทีด่ ขี องพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ตงั้ ใจเรยี นมุมานะในการศกึ ษาหาความรู้ เชอื่ ฟังคำส่ังสอนไม่สร้าง
ความเดือดร้อน และเป็นนักเรยี นทดี่ ขี องโรงเรียน มคี วามสุภาพ นอบน้อม โอบอ้อมอารชี อบชว่ ยเหลือผอู้ ืน่ รับ
ฟงั ความคดิ เหน็ ของคนอ่ืน รู้จักดแู ลรกั ษาสถานที่ สิง่ ของท้งั ส่วนรวมและสว่ นตัว อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ยึดม่ันในวิถี
ชีวติ การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข และมีจติ อาสา มคี วามรักและ
ชื่นชอบเสียงเพลง ดนตรีและศิลปะ รวมทั้งมีคุณลักษระตามอัตลักษณ์ตามท่ีสถานศึกษากำหนด คือ โรงเรียน
เกาะพะงันศึกษาสง่ เสริมกระบวนการการเรยี นรู้ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ การแสวงหาความรู้
และจิตสำนึกรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ ม ผลการพฒั นาบรรลุตามวิสัยทศั นท์ ี่กำหนดเป็นทย่ี อมรับของชุมชน

2. ด้านการบริการจัดการศกึ ษา

ผู้บริหารประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษาโดยผู้บริหารมีภาวะผู้นำ
มีความรอบรู้และวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษา ดำเนินการบริหารเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ
บุคลากร และบริหารทั่วไป มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการระดมทรัพยากร
ในการจัดการศึกษา การจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายใน/ภายนอกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สะอาด ถูกหลักอนามัย
ปรับปรุงอาคารสถานที่ ภูมิทัศน์ จัดให้มีแหล่งเรียนรู้ภายในเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน มีผลการส่งเสริม

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ ครั้งท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 13

พัฒนาสถานศึกษาเพื่อรักษามาตรฐาน ที่สอดคล้องกับแนวทางการปฎิรูปการศึกษา มีการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน ครู สถานศึกษา แหลง่ เรยี นรู้ และการบรหิ ารจัดการโดยการมสี ่วนรว่ มจากทุกฝา่ ยที่เก่ยี วขอ้ ง

3. ดา้ นจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั ไมม่ ี
4. ด้านการประกันคณุ ภาพภายใน

พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัดมีการดำเนินงาน
ครอบคลุมมาตรฐานที่ว่าด้วย ผลการจัดการศึกษา การบริหารจัดการศึกษา การจัดการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และการประกันคุณภาพภายใน มีกระบวนการประเมินผลคุณภาพภายในที่ชัดเจน
สอดคล้องกับรายงานการประเมนิ ตนเองและแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี

จุดทคี่ วรพฒั นา

1. ดา้ นผลการจดั การศกึ ษา
1) การจดบนั ทกึ การเรยี นรู้ให้มที ี่มาจากหลายๆ แหลง่ และบันทึกโดยบูรณาการร่วม

กบั การใช้แผนผงั ความคิด รวมถึงการใหผ้ เู้ รียนได้มสี ว่ นร่วมในการปรบั ปรุงตนเองในด้านกระบวนการเรียน
2) ผูเ้ รยี นมีผลสัมฤทธทิ์ กุ กลุ่มสาระการเรยี นรูต้ ่ำกว่าระดับดี
3) การกำหนดเอกลักษณ์ของสถานศกึ ษาใหม้ ีความชัดเจน ใหเ้ กดิ ผลเป็นทีป่ ระจักษ์แกอ่ งค์กร

ทั่วไปและการดำเนนิ งานโครงการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน ซึ่งเป็นโครงการพิเศษใหส้ ามารถเป็นแบบอยา่ ง
ของการเปล่ยี นแปลงท่ีดขี ้นึ ในการแกป้ ัญหาในสถานศึกษา

2. ด้านการบริหารจดั การศึกษา -ไม่มี
3. ดา้ นการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ

การออกแบบการเรียนรขู้ องครูยังไม่ชัดเจนทีจ่ ะตอ่ การสง่ เสริมผ้เู รยี นใหบ้ รรลเุ ป้าหมายของการ
จัดการเรียนรแู้ ละการบนั ทกึ ผลหลงั การสอนไมม่ คี วามชัดเจน

4. ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน -ไม่มี

แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรงุ ครัง้ ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 14

ส่วนที่ 2
สถานภาพของสถานศกึ ษา

การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน ตามรปู แบบ 7S and C-PEST

ข้นั ตอนการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน (7S)
ขัน้ ตอนท่ี 1 สมาชิกวางแผนร่วมกนั ตรวจสอบและวิเคราะห์

สถานการณ์ ข้อมูลสารสนเทศปัจจุบันในแต่ละประเด็นการวิเคราะห์ เพื่อหาสาเหตุ /ข้อสรุป
ผลกระทบต่อหน่วยงานทั้งในส่วนที่เป็น จุดแข็ง (Strengths) ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา/ต่อยอดให้
หนว่ ยงานดีข้ึนกวา่ เดมิ ขึน้ และในส่วนทเ่ี ปน็ จุดออ่ น (Weaknesses)ท่จี ะต้องแก้ไข หรือปรบั ปรุงให้ดขี ึ้น แล้ว
เขียนข้อความในช่องประเด็นการวเิ คราะห์ที่เป็นจุดแข็ง (Strengths) และประเด็นการวิเคราะห์ทีเ่ ป็นจุดอ่อน
Weaknesses) ตามแบบบันทึกผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ตารางที่ 1 การวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมภายใน โดยเขียนข้อความ สถานการณ์ที่มีปัจจัยเหตุที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาของ
หน่วยงาน/สถานศกึ ษา

ขั้นตอนท่ี 2 สมาชิกร่วมกันอภิปรายว่า ปัจจัยสำคัญที่เป็น จุดแข็ง (Strengths) และปัจจัยที่เป็น จุดอ่อน
(Weaknesses) ครอบคลุมทุกเรื่องของปัจจัย 7S เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงอะไรบ้าง ที่ทำให้การบริหารจัดการ
บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่กำหนดเป็นจุดแข็ง (Strengths) หรือสาเหตุท่ีแท้จริงอะไรบ้าง ที่การบริหาร
จดั การบรรลไุ ม่วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมายที่กำหนด เป็นจุดออ่ น (Weaknesses)

ขน้ั ตอนท่ี 3 สมาชิกร่วมกนั อภปิ รายสรุปประมวลผลภาพรวมวา่
หนว่ ยงานของเรามีปจั จัยภายในภาพรวมว่าเปน็ จดุ แขง็ (Strengths) หรอื เปน็ จดุ อ่อน

(Weaknesses) ต่อการบริหารจัดการและพฒั นาคุณภาพการศึกษาให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์

1. ด้านโครงสรา้ ง (Structure : S1)

หน่วยงานที่ได้ตั้งขึ้นตามกฎหมาย การแบ่งหน่วยงาน การมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบและสาย
การบังคับบัญชา มีความสะดวกในการตดิ ตอ่ ประสานงาน ผูป้ ฏิบตั งิ านสามารถตัดสินใจในการบรหิ ารจัดการได้
ถูกต้องและรวดเร็ว ส่งผลดีต่อการผลกั ดันใหก้ ารดำเนินงานบรรลุความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ถ้าหน่วยงานมี
หรอื เป็นก็จะเปน็ จุดแข็ง ทำให้การดำเนนิ งาน ไมบ่ รรลุความสำเร็จตามวัตถปุ ระสงคก์ ็จะเปน็ จุดออ่ น เปน็ ต้น

แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงคร้ังท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 15

ประเดน็ การวเิ คราะห์ ประเดน็ ทจ่ี ุดแขง็ ประเด็นทจี่ ุดอ่อน
(Strengths) (Weaknesses)
- ขาดการพรรณางานของแต่ละ
1. การจดั โครงสร้างการบริหาร - โรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา มีการ ฝ่ายงานในการบริหารให้เกิด
ความชัดเจน
ของ หนว่ ยงาน บรหิ ารตามโครงสร้างการบริหาร 4
- บคุ ลากรขาดความต่อเนื่องใน
ฝา่ ยงาน (บริหารวิชาการ, บรหิ ารงาน การบรหิ ารงานรว่ ม เพราะมีการ
ยา้ ยบุคลากร ทุกปี
ทว่ั ไป, บริหารงานบคุ คล, บริหารงาน - บุคลากรทมี่ ารบั ปฏบิ ตั ิหน้างาน
จะเป็นบุคลากรใหม่ จึงต้อง
งบประมาณ) เรียนรงู้ านตลอดเวลา

- การจัดการดำเนนิ งานตามระเบียบ

กฎหมายกำหนด

2. การกำหนดบทบาทหน้าที่ - การแบง่ การบรหิ ารฝา่ ยงาน แบง่

ความรบั ผดิ ชอบ และมาตรฐาน หน้าทช่ี ดั เจน เนอ่ื งจากจัดบุคลากรให้

ของหน่วยงาน ปฏิบัตงิ านได้ ดว้ ยการเลือกบุคลากรที่

มีความรู้ร่วมดูแลบรหิ ารฝ่ายงานนัน้

2. ด้านกลยุทธ์ของหนว่ ยงาน (Structure : S2)

วเิ คราะห์ทิศทางและขอบเขตที่หน่วยงานจะดำเนินการทผี่ า่ นมากลยุทธ์ของหนว่ ยงานมีความสัมพนั ธ์

กับโครงสรา้ งของหนว่ ยงานหรอื ไม่ เนื่องจากการจดั โครงสร้างของหน่วยงานจะเป็นเคร่ืองมือให้การบรหิ าร

จดั การตามตามกลยทุ ธ์ของหน่วยงานนน้ั ๆ บรรลุวตั ถุประสงค์และวสิ ัยทัศน์ที่กำหนด

ประเด็นการวิเคราะห์ ประเดน็ ทจี่ ดุ แขง็ ประเดน็ ทจ่ี ดุ อ่อน
(Strengths) (Weaknesses)

1. การกำหนดทศิ ทางของ - มกี ารประชุมวางแผนร่วมกันตาม - ขาดการทำ SWOT องคก์ ร
หน่วยงาน
วาระ /ภาระงาน วิสัยทศั น์ พันธกจิ กลยุทธ์ ขาด

ความเป็นปัจจุบนั ขาดเปา้ หมาย

การวางแผนรว่ มกนั การ

ประชาสัมพันธข์ องหนว่ ยงานให้

บุคลากรไม่ชัดเจน

2. การกำหนดโครงการ - มโี ครงการและจัดสรรงบประมาณ - โครงการและกิจกรรมขาดความ

กจิ กรรม ไดต้ ามงบประมาณ ชัดเจน ไมไ่ ดบ้ รรลุตรงตาม

วิสยั ทศั น์ ของสถานศกึ ษา ขาด

การประชาสัมพันธ์

3. ด้านระบบในการดำเนินงานของหน่วยงาน (System : S3)

วิเคราะห์ในเรื่อง ระบบหรือขั้นตอนการดำเนินงานภายในหน่วยงานทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็น
ทางการที่ช่วยให้หน่วยงานสามารถดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริหารจัดการหน่วยงานบรรลุ
วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ ตอบสนองกลยุทธ์ของหน่วยงาน เช่น ระบบงานมาตรฐานการศึกษา ระบบการ
วางแผน ระบบการนิเทศติดตามและรายงานผลระบบด้านงบประมาณและระบบบัญชี /การเงิน การพัสดุ

แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรงุ ครง้ั ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 16

ระบบในการสรรหาและคัดเลือกพนักงานระบบในการฝึกอบรม ระบบในการติดต่อสื่อสาร ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ ระบบติดตามประเมินผล เปน็ ตน้ โดยระบบหรอื ขัน้ ตอนการทำงานเหล่านจ้ี ะบง่ บอกถึงวิธกี าร
ทำงานตา่ งๆของหนว่ ยงาน

ประเดน็ การวเิ คราะห์ ประเดน็ ท่จี ุดแขง็ ประเด็นท่ีจดุ อ่อน
(Strengths) (Weaknesses)

1. ระบบข้ันตอนการ โรงเรยี นเกาะพะงันศึกษามี - ความลา่ ช้าของระบบงานที่ยัง

ดำเนินงานภายในของ กระบวนการบรหิ ารจัดการภายใน ยึดตดิ กับรปู แบบเดิม ทง้ั ๆ ที่

หนว่ ยงาน เปน็ ระบบตามลำดบั ขนั้ ของฝ่าย สามารถลดขน้ั ตอนบางขั้นตอนได้

บรหิ ารงาน โดยยึดการบรหิ ารจัดการ และไม่ทำใหเ้ กดิ ความเสยี หาย

ท่สี อดคล้องกับระเบยี บ กฎหมาย - ขาดการวางแผนการบริหารโดย

ขอ้ บังคับ นโยบาย มาตรฐานของต้น การประชุมรว่ มกันอย่างตอ่ เนื่อง

สังกัด และทำใหเ้ กิดความเข้าใจที่

ผดิ พลาดจากการทำงานเดยี วกัน

2. ระบบด้านงบประมาณ การ - การยดึ หลักการปฏิบัตดิ ้านการเงิน - มีข้ันตอนที่มากเกนิ ไป จน

บญั ชี พัสดุ บญั ชี พสั ดุ เปน็ ไปตามระเบยี บ บางครงั้ เป็นภาระใหก้ บั ผู้ปฏบิ ัติ

ข้อบงั คับ อยา่ งเครง่ ครดั - บคุ ลากรในการทำงานมีจำนวน

- สรา้ งระบบการดำเนินการ ให้เกิด น้อย และมีความคล่องตัวในการ

ความรดั กมุ ทำงานน้อยสำหรบั บุคลากร ทำให้

- มกี ารตรวจสอบอย่างเครง่ ครัด เกิดผลกระทบกับภาระงานหลัก

ชดั เจน เพ่อื ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บ ของบุคลากร

- การดำเนินการตรวจสอบ กับ

การนำเสนอไมม่ ีความสอดคล้อง

กบั การปฏบิ ตั ิใหเ้ กิดความรวดเร็ว

เท่าที่ควรจะเปน็

- ควรนำระบบเทคโนโลยเี ขา้

มารว่ มบริหารจดั การร่วมดว้ ย

เพ่อื ใหเ้ กิดความรวดเรว็ ในการ

ตรวจสอบ และลดปญั หาบาง

ข้ันตอนได้

3. ระบบการสรรหาและ - โรงเรยี นมีการสรรหาบุคลากรเพ่ือ - การพฒั นาบุคลาการยังไม่มี

คัดเลอื กการฝึกอบรม พัฒนาทกั ษะด้านการบรหิ ารฝ่ายงาน ความตอ่ เนื่อง ท้งั ท่ีบคุ ลากรมีการ

ต่าง ๆ ในช่วงระยะเวลา ปลี ะ 1 – 2 เปลยี่ นผ้ปู ฏิบัติงานอย่างต่อเน่ือง

ครง้ั

4. ระบบการตดิ ต่อส่อื สาร - โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา มีการนำ - ควรมกี ารนำเทคโนโลยีในการ

เทคโนโลยสี ารสนเทศ ระบบการสื่อสารออนไลน์มาใช้ใน ติดตอ่ หรอื จดั รูปแบบการ

การประสานงานร่วมกนั ท้งั ภายใน ปฏบิ ัติงานผา่ นระบบเทคโนโลยี

และภายนอกสถานศึกษา ออนไลน์ เพ่ือลดภาระงานบาง

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงครงั้ ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 17

ประเด็นการวเิ คราะห์ ประเดน็ ท่จี ดุ แขง็ ประเดน็ ทจี่ ุดอ่อน
(Strengths) (Weaknesses)
5. ระบบการตดิ ตาม
ประเมนิ ผล - โรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา มีระบบ ข้นั ตอน รวมทง้ั การใช้ทรัพยากรที่
การติดตาม นเิ ทศภายในตาม มปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงขึ้น
มาตรฐานการศึกษา
- โรงเรียนควรมกี ารประเมนิ ท่ีเปน็
เครื่องมือสำหรับการบริหารและมี
ข้อมลู สำหรับการวางแผนเนอ่ื ง
ดว้ ยการกำหนดรูปแบบการกำกับ
ติดตาม แลละประเมินผลเป็น
ระบบสอดคล้อง กบั ตัวช้ีวัดและ
วัตถปุ ระสงคใ์ นการปฏิบัตงิ าน
น้ันๆ

4. ดา้ นแบบแผนหรอื พฤติกรรมในการบรหิ ารจดั การ (Style : S4)

เป็นการวเิ คราะห์ในเรื่องของ รูปแบบระบบการบริหารจัดการของผู้บริหารหน่วยงาน รวมถึง

บคุ ลิกภาพ ภาวะผู้นำและคณุ ธรรมของผูบ้ รหิ ารเน่ืองจากการกระทำหรอื พฤติกรรมของผู้บริหารจะเป็น

แบบอยา่ งและมีอิทธิพลต่อความสำเร็จหรือความล้มเหลวของหน่วยงานรวมถึงความรูส้ ึกนกึ คดิ ของเจ้าหนา้ ท่ี

ภายในหนว่ ยงานมากกวา่ คำพูดของผู้บรหิ าร หากผบู้ รหิ ารมีภาวะผู้นำทด่ี จี ะสามารถนำพาหน่วยงานไปสู่

ความสำเร็จพร้อมด้วยคุณธรรม

ประเด็นการวเิ คราะห์ ประเดน็ ท่จี ดุ แขง็ ประเดน็ ที่จุดอ่อน
(Strengths) (Weaknesses)

1. คุณธรรม จรยิ ธรรม ภาวะ - ผูบ้ ริหาร และคณะผ้บู ริหาร รวมท้งั - ผู้บริหาร และคณะผู้บรหิ าร

ผ้นู ำ ความสามารถในการ หัวหนา้ ฝ่ายการบรหิ ารมี รวมท้ังหวั หนา้ ฝ่ายการบริหาร มี

บรหิ ารจดั การศึกษา ความสามารถ การปฏบิ ัติงาน มี วุฒภิ าวะโดยเฉลย่ี ยังน้อย ทำให้

ความเอ้ืออาธร บนพน้ื ฐานของ ขาดทักษะในบางด้านทคี่ วร

คุณธรรม จรยิ ธรรม มปี ระสบการณ์ เพ่มิ เติมดว้ ยการพฒั นาทักษะ วาง

ในการบริหารอย่างต่อเนอ่ื ง ไม่นอ้ ย กระบวนการบริหารอยา่ ง

กว่า 5 ปี โดยเฉลย่ี รอบคอบ มกี ารวางแผน ทำ

ข้อตกลงร่วมกนั ภายในของฝ่าย

และรวมท้งั การวางแผนรว่ มกันท้งั

โรงเรียนเพ่อื ให้เกดิ เป็น

กระบวนการบรหิ ารร่วมกัน

2. การกระจายอำนาจ - การบรหิ ารงานมีการแบง่ ออกเปน็ - ขาดการกระจายภาระงานอย่าง

ตดั สินใจ ให้บคุ ลากรไดใ้ ช้ 4 ฝ่ายงานอยา่ งชัดเจน มหี ัวหนา้ ฝ่าย เหมาะสม รวมถึงการขาดการ

ศกั ยภาพทมี่ ีอย่ปู ฏิบตั ิงาน บรหิ ารท่มี กี ารแบ่งภาระงานต่าง ๆ พรรณางานตามความถี่ของภาระ

อย่างเต็มที่ ตามโครงสรา้ งการบริหาร งานน้ันใหเ้ หมาะสมกับจำนวน

บุคลากรที่ควรปฏิบัติ

แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ ครง้ั ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 18

ประเด็นการวิเคราะห์ ประเดน็ ท่ีจุดแขง็ ประเดน็ ทจ่ี ุดอ่อน

3. การใช้รปู แบบบรหิ าร (Strengths) (Weaknesses)
จดั การทเ่ี หมาะสมในการ
บริหารงาน - การบริหารที่มีการแบ่งไว้ 4 ฝ่าย - ขาดการประชุมวางแผนร่วมกนั

งาน ทำใหก้ ารกระจายงานให้มคี วาม ตัง้ แตต่ น้ การวางแผนแลว้ ไมไ่ ด้

รับผดิ ชอบในแต่ละฝ่าย บรหิ าร ปฏบิ ตั ิ หรือไม่ได้วางแผนแต่

กนั เอง และนำมาบรหิ ารรว่ มกนั จาก ปฏบิ ัตหิ รอื บางคร้ังเกดิ ปัญหาจาก

การบรหิ ารนำจากฝ่ายเจา้ ของเรอื่ ง งานท่ีเข้ามาเฉพาะทำให้เกดิ ผล

กระทบต่อการทำงาน หรอื

กระจายงาน

5. ดา้ นบุคลากร / สมาชิกในหนว่ ยงาน (Staff : S5)

วเิ คราะห์บุคลากรทุกระดับภายในหนว่ ยงาน ทง้ั ในเร่อื งจำนวนบุคลากรเพยี งพอ เหมาะสมกับเกณฑ์

รวมถึงตอบสนองต่อการเจริญเตบิ โตของหน่วยงานในอนาคต การปฏิบัตติ อ่ บุคลากรภายในหน่วยงาน เช่น

การพฒั นาทีมงาน การมอบหมายใหฝ้ ่ายบคุ คลเปน็ ผ้ดู ูแลเกี่ยวกับด้านบคุ ลากรทง้ั หมด หรือการทผ่ี บู้ ริหารเขา้

มาเก่ียวข้องต่อการจูงใจและพัฒนาบคุ ลากร

ประเด็นการวิเคราะห์ ประเดน็ ที่จุดแข็ง ประเดน็ ท่ีจดุ อ่อน
(Strengths) (Weaknesses)

1. จำนวนบุคลากรมีเพยี งพอ - บคุ ลากรในการบรหิ ารการศึกษา - การแบ่งภาระงานสำหรบั การ

เหมาะสมกบั ความต้องการ โรงเรยี นเกาะพะงันศึกษามจี ำนวน บริหารจัดการศกึ ษา ยังขาดการ

ของหนว่ ยงาน บุคลากรเพยี งพอกับการบริหารการ กระจายภาระงานท่ีเทา่ เทยี มกัน

จดั การศกึ ษาของแต่ละฝา่ ยการ หรือใหต้ ามความสามารถของ

บรหิ าร บุคลากร

- บุคลากรในการจัดการเรยี นการ - การจัดการเรยี นการสอนในบาง

สอน โรงเรียนเกาะพะงนั ศกึ ษา มี กลุ่มสาระครูไมต่ รงตามวชิ าเอก

จำนวนบุคลากรในการจัดการเรียน หรอื ครูในกลุ่มสาระนั้นไมเ่ พียงพอ

การสอนแบ่งเป็นกลุ่มสาระการ เช่น กล่มุ สาระสงั คมศกึ ษา

เรยี นรู้ โดยไดม้ ีการแบ่งวิชาสอน ศาสนาและวัฒนธรรม มคี รูไม่ครบ

และจัดการเรียนการสอนชัดเจน ตามสาระ

2. บุคลากรมคี ุณธรรม - บุคลากรมีคุณธรรม มีความ - บุคลากรขาดแรงจงู ใจในการ

จรยิ ธรรม ความรู้ รบั ผดิ ชอบในการปฏิบัติงานตาม ปฏิบัติงาน ขาดการบริหาร

ความสามารถ ตรงกบั งาน ภาระงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย พรอ้ มท้งั จัดการทเ่ี สรมิ กำลังใจให้แก่การ
ท่ีรบั ผดิ ชอบ หมั่นพฒั นา
ตนเอง ได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องในการ ปฏบิ ตั งิ านของบุคลากร
พัฒนาตนเองในการปฏิบตั ิงานทั้ง

ดา้ นการจัดการเรียนการสอนให้แก่

นกั เรยี นและการพัฒนาทกั ษะด้าน

การปฏิบัตงิ าน

แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงครง้ั ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 19

6. ด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถของบุคลากร (Skills : S6)

วเิ คราะห์ ความรู้ความสามารถและทักษะในการปฏิบัตงิ านของบุคลากรการให้บรกิ ารผู้รับบริการ

ความสามารถในดา้ นการวจิ ัยและพฒั นา สมรรถนะ(Competency) ของบคุ ลากร ท้งั สมรรถนะหลักและ

สมรรถนะประจำสายงาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ ซ่งึ จะทำให้บุคลากรสามารถปฏิบตั งิ านในหนา้ ที่รบั ผิดชอบ

และบริหารจดั การให้สำเรจ็ มีภาวะผูน้ ำสามารถทำงานเป็นทมี ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

ประเดน็ การวิเคราะห์ ประเดน็ ทจี่ ดุ แข็ง ประเดน็ ที่จดุ อ่อน
(Strengths) (Weaknesses)

1. บุคลากรมคี วามรู้ - บคุ ลากรของโรงเรียนเกาะพะงนั - บคุ ลากรยงั ขาดความรคู้ วาม

ความสามารถ และทักษะใน ศกึ ษา มคี วามรู้ความสามารถ และ เขา้ ใจในการจดั การปฏบิ ตั งิ าน

การปฏิบัติงาน ทกั ษะในการปฏบิ ตั งิ าน จากการ และทกั ษะความสามารถด้าน

เรียนรู้ภาระงาน ประสบการณ์การ เทคโนโลยี จำนวน 27 คน จากครู

ปฏบิ ตั งิ านอย่างต่อเนื่อง และบคุ ลากรทงั้ สน้ิ 38 คน คิด

เป็นร้อยละ 71.03

- บคุ ลากรของโรงเรียนยงั ขาดการ

ทำแผนพฒั นาตนเองอย่าง

ตอ่ เน่อื ง หรอื ขาดการกำหนด

แผนพฒั นาตนเอง

7. ด้านคา่ นยิ มร่วมกันของสมาชกิ ในหนว่ ยงาน (Shared Values :S7)

วิเคราะหใ์ นเรื่องแนวคิดร่วมกัน ค่านยิ ม ความคาดหวงั ของหน่วยงานพงึ ปฏิบตั ิจนกลายเปน็

วฒั นธรรมในการทำงาน ทำใหเ้ กดิ ปทสั ถาน (Norm)ของหนว่ ยงานรว่ มกัน เชน่ “ บรหิ ารเชงิ กลยุทธ์ เปน็

ธรรม โปรง่ ใส ตรวจสอบได้”“ธรรมาภิบาลคืออุดมการณ์ของเรา” ซึง่ เปน็ ปัจจัยแห่งความสำเรจ็ ในการ

บริหาร เปน็ ต้น

ประเด็นการวิเคราะห์ ประเดน็ ที่จดุ แข็ง ประเด็นท่จี ุดอ่อน
(Strengths) (Weaknesses)

1.ค่านยิ มและบรรทัดฐานที่ - โรงเรยี นเกาะพะงันศึกษามีการวาง - ยังขาดการวางแผนร่วมกันเพือ่ ให้

ยึดถอื รว่ มกนั รูปแบบการบรหิ ารจดั การอย่างเปน็ เกิดเปน็ บรรทดั ฐานท่ีควรยดึ ถือ

ระบบ มีความคล่องตัว ยดื หยนุ่ ร่วมกนั

รองรับการเปลย่ี นแปลง

- บคุ ลากรมคี วามซื่อสัตยส์ ุจริต มี

คุณธรรมทด่ี ีต่อการปฏบิ ตั งิ าน

2. วธิ ีการปฏิบัติของ - โรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา มกี าร - การบริหารงานร่วมกนั ยงั มีจุด

บคุ ลากรและผู้บรหิ าร บรหิ ารดว้ ยการแบง่ การบริหารเปน็ 4 ชัดเจนอยใู่ นสว่ นของฝา่ ยบรหิ าร

ภายในหน่วยงาน หรอื อาจ ฝา่ ยการบริหาร โดยมคี ณะกรรมการ ท่ัวไปในการจดั กจิ กรรม การบรหิ าร

เรียกวา่ วฒั นธรรม สถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน เครือข่าย เพื่อพฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลอื

หน่วยงาน ผปู้ กครอง และคณะกรรมการศษิ ย์ นกั เรียน แตใ่ นส่วนการบริหารส่วน

อืน่ การมีสว่ นร่วมยังขาดการ

แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงครัง้ ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 20

ประเดน็ การวิเคราะห์ ประเด็นทจ่ี ุดแขง็ ประเด็นทจี่ ดุ อ่อน

(Strengths) (Weaknesses)

เก่าโรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา ท่ีมกี าร ขับเคล่ือนไปดว้ ยกนั เช่น การจัดทำ

บริหารร่วมกัน หลักสตู รทอ้ งถน่ิ การรบั ทราบ

เกย่ี วกับการบรหิ ารงบประมาณ ใน

การทำ SWOT การทำโครงการท่ี

สะท้อนยุทธศาสตร์ หรือส่งผลไปถงึ

วสิ ยั ทศั นข์ ององคก์ ร

ข้นั ตอนการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก (C-PEST)

ขั้นตอนที่ 1 สมาชิกวางแผนร่วมกันตรวจสอบและวเิ คราะหส์ ถานการณ์
ปัจจุบันในแต่ละประเด็นเพื่อหาข้อสรุปที่มีผลกระทบต่อหน่วยงานในส่วนที่เป็น โอกาส

(Opportunities)และในส่วนที่เป็นอุปสรรค (Threats) แล้วเขียนข้อความในช่องประเด็นที่เป็นโอกาส
(Opportunities)และประเด็นที่เป็นอุปสรรค (Threats) ตามแบบ ตารางที่ 2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ภายนอกหน่วยงาน โดยเขียนข้อความที่มีปัจจัยเหตุที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษาของหน่วยงานให้
ครอบคลมุ ทุกเรื่องของปัจจัย C-PEST

ขั้นตอนท่ี 2 สมาชิกร่วมกันอภปิ รายวา่ ปจั จยั สำคัญทเี่ ป็นโอกาส
(Opportunities) และปจั จัยท่ีเปน็ อุปสรรค (Threats) ครอบคลมุ ทุกเร่ืองของปัจจยั C-PEST เพื่อหา

ปัจจัยภายนอกทส่ี ำคัญอะไรบ้าง เป็นโอกาสเอ้ือ (Opportunities) หรอื เปน็ อปุ สรรค (Threats)ต่อการบริหาร
จัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สำเร็จบรรลุวัตถุประสงค์ขั้นตอนท่ี 3 สมาชิกร่วมกันอภิปรายสรุป
ประมวลผลภาพรวมว่าหนว่ ยงานของเรามปี ัจจัยภายนอกเป็นโอกาส (Opportunities) เอื้อ หรือเป็นอปุ สรรค
(Threats) ต่อการบริหารจดั การและพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์

ขัน้ ตอนท่ี 3 สมาชิกร่วมกนั อภิปรายสรุปประมวลผลภาพรวมว่า
หน่วยงานของเรามปี จั จยั ภายนอกเป็นโอกาส (Opportunities) เอ้ือ หรือเป็นอปุ สรรค (Threats) ตอ่

การบริหารจัดการและพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์

1. ดา้ นพฤตกิ รรมของลูกค้า (Customer Behavior : C)

ประเด็นการวเิ คราะห์ ประเด็นทเ่ี ปน็ โอกาส ประเด็นท่ีเปน็ อุปสรรค
(Opportunities) (Threats)

1. กลุ่มผู้รบั บรกิ ารโดยตรง 1.1 นักเรยี น เป็นนักเรียนในเขตพ้ืนที่ - ชมุ ชนรอบโรงเรียน ไมเ่ กนิ 300
บรกิ าร เฉลย่ี 5 ปีย้อนหลัง อยทู่ ่รี อ้ ย เมตรมสี ภาพเส่ือมโทรมเปน็ แหล่ง
อบายมขุ ส่งผลใหน้ กั เรยี นมพี ฤตกิ รรม
ละ 67 โดยมีนกั เรียนนอกเขตพน้ื ท่ี ไม่พงึ ประสงค์ได้
บริการ มคี วามพรอ้ มในการรับโอกาส

ทางการศกึ ษา ความพร้อมดา้ นการ

รบั รู้

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงครง้ั ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 21

ประเด็นการวิเคราะห์ ประเดน็ ทเี่ ป็นโอกาส ประเดน็ ทเ่ี ปน็ อปุ สรรค
2. กลุม่ ค่แู ข่งและการแข่งขัน (Opportunities) (Threats)
1.2 ผูป้ กครอง ทีเ่ ป็นคนในพ้ืนทีม่ ี
3. องค์กร /หน่วยงานทม่ี ี ความพร้อมในการสนบั สนนุ การจัด ในรูปแบบของคู่แขง่ จะแบ่ง
อทิ ธพิ ลต่อการทำงาน การศึกษาของนักเรียน มีความเข้าใจ ออกเปน็ 3 กลมุ่ ดังนี้
เกี่ยวกบั บริบทโดยรวมของการ กลมุ่ ท่ี 1 โรงเรียนขยายโอกาส
บรหิ ารการจดั การศึกษา มีความ โรงเรียนบา้ นโฉลกหลำ จะมีการ
ใกลช้ ดิ กบั คณะครู ผู้บริหาร เปดิ การเรียนการสอนในระดับ
คณะกรรมการสถานศึกษา ทำให้การ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ซ่งึ จะมี
บรหิ ารจัดการศกึ ษา นกั เรียนในเขตพืน้ ทบี่ ้านโฉลกห
1.3 ชุมชน ลำและพน้ื ทใ่ี กลเ้ คียงในการเข้า
- โรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษาเป็น ศึกษาตอ่
โรงเรยี นระดับมธั ยมศึกษาเพียงแห่ง กลมุ่ ท่ี 2 ศนู ย์การศึกษานอก
เดยี วในเขตพ้ืนทอ่ี ำเภอเกาะพะงนั ระบบ และการศึกษาตาม
อธั ยาศยั ทีเ่ ป็นท้ังคู่แข่งในการ
3.1 สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ให้บริการการศึกษาในระดับ
การแนวทางการดำเนินการด้าน เดยี วกัน และคู่ขนานการ
นโยบาย ขอ้ มูล และการไดร้ ับการ ขับเคลอื่ นการศึกษารว่ มกนั
บริการทม่ี ีความชัดเจน การใช้ระบบ กลุ่มท่ี 3 กลุม่ โรงเรยี น
การให้บริการหรือส่งหนังสือระบบ มัธยมศกึ ษา นอกเขตพื้นทบ่ี ริการ
ราชการผ่าน ระบบ e-Office ท่ีผู้ปกครอง และนักเรียนทมี่ ี
ความพร้อมด้านเศรษฐกจิ ใหค้ วาม
นยิ มกบั การเขา้ รบั บริการ
- สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
ด้วยระยะทางในการบริหาร
รว่ มกันระยะไกล ทำใหเ้ กิดปัญหา
ด้านการสง่ เอกสารที่ไม่สามารถ
สง่ ผา่ นระบบ e-Office ได้ ทำให้
เสียงบประมาณดา้ นการเดินทาง
มากกวา่ พื้นที่อ่ืน

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรงุ ครงั้ ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 22

ประเดน็ การวิเคราะห์ ประเดน็ ทเ่ี ป็นโอกาส ประเด็นท่ีเปน็ อปุ สรรค
(Opportunities) (Threats)

3.2 องค์การบรหิ ารส่วนท้องถ่ิน - องค์การบริหารสว่ นท้องถน่ิ ให้

(สำนักงานเทศบาลตำบลเกาะพะงนั , การสนับสนุนด้านงบประมาณ

สำนกั งานเทศบาลตำบลบา้ นใต,้ น้อย หรือไมไ่ ดเ้ ล็งเห็น

สำนักงานเทศบาลตำบลเพชรพะงนั ) ความสำคญั ของกจิ กรรมในบาง

ซ่งึ มกี ารรว่ มบรหิ ารการจดั การศึกษา จดุ ทีโ่ รงเรยี นมคี วามจำเป็นและ

รว่ มกันในรปู แบบการสนับสนนุ ด้าน ไมไ่ ด้รับการสนบั สนนุ จากภาครัฐ

กจิ กรรม และทุนสนบั สนนุ - ภาคเอกชน มกี ารแลกเปลยี่ น

3.3 ภาคเอกชน เชน่ สมาคมสง่ เสริม ด้านผลประโยชน์ รวมทง้ั การรว่ ม

การท่องเที่ยว, สมาคมโรงแรมเกาะ จดั กจิ กรรมจะต้องเกดิ เป็นรูปของ

พะงนั , หา้ งสรรพสินคา้ (Big C, ธุรกิจแอบแฝง

Lotus, Mackro, 7-11 เปน็ ต้น) ทใ่ี ห้

การสนบั สนุนกบั การจดั กิจกรรมใน

การพฒั นานักเรยี นรว่ มกัน โดยการ

วางแผนร่วมกัน

2. ดา้ นการเมืองและกฎหมาย (Political and Legal: P)

ประเด็นการวเิ คราะห์ ประเดน็ ท่ีเปน็ โอกาส ประเด็นที่เปน็ อุปสรรค
(Opportunities) (Threats)

1. นโยบายการศึกษาของ - นโยบายของรฐั บาลเป็นจดุ หมายที่ - การมีนโยบายท่ีหลากหลายดา้ น

รฐั บาล สามารถทำใหโ้ รงเรียนเกาะพะงัน มีการบรู ณาการร่วมกบั หนว่ ยงาน

ศึกษาสามารถบรหิ ารการจัด ทม่ี ากเกินไป ทำให้เกิดภาระงาน

การศกึ ษาที่มีเปา้ หมายชัดเจนมากข้นึ ท่ีมากเกนิ ไป และไม่สามารถทำ

ใหเ้ กิดได้ทกุ จดุ แม้มีการบูรณา

การ เกดิ การทำเอกสารมากกวา่

งานทีป่ ฏิบตั ิ เพ่ือใหร้ ายงานผลที่

รัฐบาลต้องการ

2. นโยบายการศึกษาของ - นโยบายการบรหิ ารการจดั - นโยบายสำนักงานเขตพน้ื ที่

หน่วยงานต้นสงั กดั การศึกษาจากสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษา ในกรณที ี่เรง่ ด่วนใน

การศกึ ษามัธยมศึกษาสุราษฎรธ์ านี การปฏิบัตทิ ำให้ไม่สามารถทำได้

ชมุ พร มคี วามชัด ทันในชว่ งเวลา

3. บทบาทของกลุ่ม - ดว้ ยโรงเรียนเกาะพะงันศึกษาเปน็ -

ผลประโยชน์กล่มุ พลงั ทาง โรงเรยี นระดบั มัธยมศึกษา เขตพ้นื ท่ี

การเมืองพฤตกิ รรมทาง เกาะพะงนั ในการเข้ามาเพ่ือ

การเมือง สนับสนนุ ขององค์กรเพื่อ

ผลประโยชน์ทางพลังงานเขา้ มา

สนบั สนุนการให้ความรเู้ ชิงเสรมิ

ความร,ู้ ดา้ นการเมืองจะมีการขอ

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรงุ ครง้ั ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 23

ประเด็นการวิเคราะห์ ประเด็นท่เี ปน็ โอกาส ประเด็นทีเ่ ปน็ อปุ สรรค

4. ระเบยี บกฎหมายและ (Opportunities) (Threats)
ข้อกำหนดท่เี กย่ี วขอ้ งในการ
บรหิ ารจดั การศึกษา(การ ความร่วมมือในการใหค้ วามรู้ หรอื ใช้
บริหารวิชาการ การบรหิ าร
งบประมาณการบรหิ ารงาน สถานท่ี
บุคคลและการบริหารงาน
ท่วั ไป) - การกระจายการบริหารในรูปแบบ - การไม่เข้าใจระเบียบกฎหมาย

แบบ 4 ฝ่ายบริหารที่มีการบริหาร ขอ้ กำหนดทำให้การบรหิ าร

ภายในแต่ละฝ่าย และบูรณการ จัดการในบางกรณีไม่สามารถ

ร่วมกัน ทำให้การบริหารมีความ บรหิ ารจดั การได้

สอดคล้องกับระเบียบข้อบังคับ อย่าง - ขาดการกระจายองค์ความรู้

ต่อเนื่อง มีความยืดหยุ่นกับการ เรอ่ื งกฎหมาย ระเบียบ

บรหิ ารจัดการภายในได้เป็นอย่างดี ขอ้ กำหนดในการบริหารงาน

3. ด้านเศรษฐกจิ (Economic : E)

ประเด็นการวเิ คราะห์ ประเดน็ ท่ีเปน็ โอกาส ประเดน็ ที่เปน็ อุปสรรค
(Opportunities) (Threats)

1. สภาวะทางเศรษฐกจิ เช่น - โรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา อยูใ่ น - มีความแตกต่างของสภาพ

ราคานำ้ มัน อัตราการว่างงาน พื้นทเี่ กาะพะงัน ทม่ี ีการท่องเท่ียว เศรษฐกิจของคนในท้องถ่ิน และ

อัตราค่าครองชีพ ผลผลติ ทาง เติบโตมาก ทำให้สภาพเศรษฐกจิ มี ผู้ปกครอง ทำให้การดำเนนิ การ

การเกษตร ความคล่องตวั สงู บรหิ ารการจดั การศึกษาให้แก่

นกั เรยี นจะต้องคำนงึ ถึงความ

แตกต่างด้านน้ี

2. งบประมาณ/การสนับสนุน - รฐั บาลใหก้ ารสนบั สนนุ งบประมาณ - งบประมาณไมส่ อดคล้องกับ

งบประมาณของรฐั บาล รายหัวนกั เรยี น ตามนักเรยี นทีม่ อี ยู่ ความต้องการในการบรหิ าร

จริง จดั การตามสภาพจริง

- การสนับสนนุ เกย่ี วกบั โครงการ - โครงการพเิ ศษในบางกรณีไม่

พิเศษตามวาระของรฐั บาล และ ตรงกบั ความต้องการของการ

หน่วยงานภาครฐั บรหิ ารตามบรบิ ทของโรงเรียน

และสภาพปจั จุบนั

4. ดา้ นสังคมและวัฒนธรรม (Social – cultural : S)

ประเด็นการวิเคราะห์ ประเด็นที่เปน็ โอกาส ประเดน็ ทเี่ ปน็ อปุ สรรค
(Opportunities) (Threats)

1 .จำนวนประชากรและ - โรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษาเป็น - การเข้ามาของประชากรแฝงทำ

โครงสร้างประชากร โรงเรียนระดบั มธั ยมศึกษา เพียง ให้มีนกั เรียนในเขตพ้ืนท่ีบริการไม่

กลุ่มเป้าหมาย โรงเรียนเดียว จึงมโี รงเรียนระดบั แนน่ อน

ประถมศกึ ษาในเขตพืน้ ท่ีบรกิ าร - ความเชอ่ื มน่ั ของผปู้ กครองท่มี ี

เดียวกันนั้น จำนวน 8 โรง โดยในแต่ ศกั ยภาพด้านเศรษฐกิจ ในการให้

ละปี จะมีการสำรวจจำนวนนักเรยี น นกั เรยี นศกึ ษาต่อในโรงเรียนเกาะ

ของโรงเรยี นแต่ละโรงเรยี น เพือ่ พะงันศกึ ษา แตจ่ ะเปน็ การ

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงครงั้ ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 24

ประเด็นการวเิ คราะห์ ประเด็นทเ่ี ป็นโอกาส ประเด็นท่เี ปน็ อปุ สรรค

2. สภาพของชุมชน (Opportunities) (Threats)
ครวั เรือนกลุ่มเปา้ หมาย
วางเปา้ หมายการรบั นักเรียนให้มี เดินทางไปศกึ ษาต่อในเมือง ใน
3. คณุ ภาพชีวิตของ
ประชาชน ความสอดคล้องกับการบรหิ ารจดั การ โรงเรียนที่มีชื่อเสียง
ขนบธรรมเนียมประเพณี
ความเชอ่ื คา่ นิยม และ ในทุกด้าน
วัฒนธรรม
โรงเรยี นเกาะพะงนั ศกึ ษาเป็นพนื้ ทีท่ ่ี - บริบทโดยรวมของโรงเรียนเกาะ

มีความเจรญิ ด้านการท่องเทย่ี ว การ พะงันศึกษาเป็น 2 บรบิ ท ของ

สนับสนุนการศกึ ษาจึงมีความ ชมุ ชนในทอ้ งถน่ิ เดียวกัน คือ

คลอ่ งตวั บรบิ ทรปู แบบท่ี 1 เป็นธรุ กิจการ

ทอ่ งเที่ยว คือ การประกอบธุรกิจ

เชิงการท่องเที่ยวทำให้มีความ

พร้อมในการสนบั สนนุ การศกึ ษา

มาก รปู แบบท่ี 2 เปน็ การเกษตร

หรือผ้ใู ชแ้ รงงาน จะเปน็ กลุ่มที่

จะต้องมกี ารดูแล

- พ้ืนทีเ่ กาะพะงันมีคุณภาพชวี ิตดี - ประชากรแฝงท่ีเข้ามอยู่ในพื้นท่ี

ประชาชนมีสภาพเศรษฐกจิ ดี เกาะพะงนั ซง่ึ คนกลุ่มนม้ี ักมี

- มคี วามเช่ือค่านิยม และวฒั นธรรมที่ ปญั หาด้านคณุ ภาพชวี ติ

เปน็ เอกลักษณ์ - มีความหลากหลายด้าน

วฒั นธรรม ความเชอ่ื และคา่ นยิ ม

5. ดา้ นเทคโนโลยี (Technological : T )

ประเด็นการวิเคราะห์ ประเด็นทีเ่ ป็นโอกาส ประเดน็ ทเ่ี ป็นอุปสรรค
(Opportunities) (Threats)

1. ความก้าวหนา้ และความ - การยอมรับในการเปลี่ยนแปลงด้าน - การใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ ให้เกดิ

เปลี่ยนแปลงทางด้าน เทคโนโลยี โดยภาพรวมมคี วาม ประโยชนย์ ังนอ้ ย

เทคโนโลยี คลอ่ งตัวด้านการพฒั นาด้าน

เทคโนโลยสี งู

2. ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ - มภี ูมปิ ัญญาท้องถิน่ ที่มีความพรอ้ ม - อายขุ องภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น

ในการตอบรับใหก้ ารสนบั สนุนกบั ค่อนข้างจะมาก มีความเป็นไปได้

โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา มีความ นอ้ ยกับการเข้ามาเป็นวทิ ยากร

ใกลช้ ดิ กับโรงเรยี นมาก และการขยายผล สืบทอดน้อย

การกำหนดคา่ น้ำหนกั คะแนนการประเมิน สภาพแวดล้อมภายใน
1. ให้สมาชกิ ร่วมกนั อภิปรายสรุปและทบทวน อีกคร้งั แลว้

มมี ติรว่ มกันว่าหน่วยงานของเรามีปจั จัยภายในเปน็ จุดแข็ง (Strengths) หรือเป็นจดุ อ่อน
(Weaknesses) ต่อการบรหิ ารจดั การและพฒั นาคุณภาพการศึกษาให้บรรลวุ ัตถุประสงค์
2. การให้คะแนนในแตล่ ะดา้ น โดยใหส้ มาชกิ วเิ คราะห์จาก

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ ครั้งท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 25

ข้อมูลสนบั สนนุ ในแตล่ ะประเดน็ สรุปผลเปน็ เป็นคะแนนเท่าไร แลว้ กรอกคะแนนในชอ่ งคา่ คะแนน
เฉลีย่ จากมติสมาชิก โดยกำหนดคะแนนเตม็ ดา้ นละ 5 คะแนน โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดงั น้ี

5 คะแนน หมายถงึ สง่ ผลตอ่ การปฏิบัตงิ านของหน่วยงานมากท่สี ดุ
4 คะแนน หมายถงึ สง่ ผลต่อการปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานมาก
3 คะแนน หมายถงึ ส่งผลตอ่ การปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานปานกลาง
2 คะแนน หมายถงึ ส่งผลตอ่ การปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานน้อย
1 คะแนน หมายถงึ สง่ ผลต่อการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานนอ้ ยทส่ี ุด

3. การให้คะแนนต้องวเิ คราะห์ ให้ครบทุกดา้ น นน่ั คือ
สภาพแวดล้อมภายในที่เป็นจุดแข็ง (Strengths) หรือเป็นจุดอ่อน (Weaknesses) ครบทั้ง 7 ด้าน :

7 S พร้อมสรุปผลว่าหน่วยงานของเราเป็นหน่วยงานที่มีจุดแข็งหรือมีจุดอ่อนโดย พิจารณาจากค่าเฉลี่ยของ
สภาพแวดล้อมภายใน : จดุ แข็ง (+) เทียบกับค่าคะแนนเฉลยี่ ของสภาพแวดล้อมภายใน : จดุ อ่อน (-)

ตารางท่ี 3 การให้คะแนนสภาพแวดลอ้ มภายใน

สภาพแวดล้อมภายใน : จุดแขง็ (+) สภาพแวดลอ้ มภายใน : จุดออ่ น (-)

คา่ คะแนน ขอ้ มูลสนับสนุน คา่ คะแนน ขอ้ มูลสนบั สนุน
เฉล่ยี จาก
ประเด็นสำคัญ เฉลี่ยจาก
มตสิ มาชิก มติสมาชิก

1. ด้านโครงสร้าง 2 มีการแบง่ ภาระงานเปน็ 4 ฝ่าย 3 ขาดการพรรณนางานตาม

(Structure : S1) งานตามระเบยี บการ โครงสรา้ งใหช้ ดั เจน เป็นเพียงการ

บริหารงานสถานศึกษา ทำงานตามวาระความจำเปน็

2. ด้านกลยทุ ธข์ อง 1 มโี ครงการกจิ กรรมตามวาระ 4 ขาดการทำ SWOT จึงขาด

หนว่ ยงาน วิสยั ทัศนท์ ่มี คี วามสอดคล้องกับ

(Structure : S2) แนวทางการพฒั นาสถานศึกษา

3. ด้านระบบในการ 3 การบรหิ ารใชก้ ารทำงานตาม 2 ประสบการณ์ในการทำงานของ

ดำเนนิ งานของ ระบบระเบยี บ ตามภาระงาน บคุ ลากร กับกฎระเบียบทย่ี ัง

หนว่ ยงาน (System ตอ้ งการทำความเข้าใจมากยิง่ ขนึ้

: S3)

4. ด้านแบบแผน 3 - การบรหิ ารงานมีการแบ่ง 2 - ขาดการกระจายภาระงานอย่าง
เหมาะสม รวมถึงการขาดการ
หรอื พฤตกิ รรมใน ออกเป็น 4 ฝา่ ยงานอย่าง พรรณางานตามความถ่ขี องภาระ
งานนัน้ ให้เหมาะสมกบั จำนวน
การบรหิ ารจัดการ ชัดเจน มหี วั หนา้ ฝ่ายบริหารที่ บคุ ลากรท่ีควรปฏบิ ัติ

(Style : S4) มกี ารแบ่งภาระงานตา่ ง ๆ ตาม 3 การปฏิบตั ิหนา้ งานยงั ขาด
แรงจูงใจ
โครงสร้างการบริหาร

5. ดา้ นบุคลากร / 2 จำนวนบุคลากรในหนว่ ยงานมี

สมาชิกในหนว่ ยงาน จำนวนเพียงพอกบั การ

(Staff : S5) บริหารงาน

6. ด้านทกั ษะ 2 บุคลากรสามารถปฏิบตั ิงานได้ 3 การปฏิบตั งิ านยงั ขาด
ประสบการณ์ ขาดทักษะการรว่ ม
ความรู้ ตามภาระงานท่ีได้รบั บริหารงาน

ความสามารถของ มอบหมาย

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงครัง้ ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 26

สภาพแวดล้อมภายใน : จดุ แข็ง (+) สภาพแวดลอ้ มภายใน : จดุ อ่อน (-)

ค่าคะแนน ขอ้ มูลสนบั สนุน คา่ คะแนน ข้อมูลสนับสนนุ
เฉลยี่ จาก
ประเดน็ สำคัญ เฉลี่ยจาก มตสิ มาชิก
มติสมาชกิ

บคุ ลากร (Skills :

S6)

7. ด้านค่านยิ ม 2 - โรงเรยี นเกาะพะงนั ศึกษา มี 3 - การบรหิ ารงานร่วมกนั ยงั มีจุด
ชัดเจนอยู่ในส่วนของฝ่ายบริหาร
รว่ มกันของสมาชิก การบรหิ ารด้วยการแบง่ การ ทั่วไปในการจดั กิจกรรม การ
บริหารเพื่อพัฒนาระบบดแู ล
ในหนว่ ยงาน บรหิ ารเปน็ 4 ฝา่ ยการบริหาร ชว่ ยเหลอื นักเรียน แต่ในส่วนการ
บริหารสว่ นอน่ื การมสี ่วนรว่ มยงั
(Shared Values โดยมีคณะกรรมการ ขาดการขับเคล่ือนไปด้วยกนั เชน่
การจดั ทำหลกั สตู รทอ้ งถ่ิน การ
:S7) สถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน รบั ทราบเกยี่ วกบั การบริหาร
งบประมาณ ในการทำ SWOT
เครือข่ายผูป้ กครอง และ การทำโครงการทสี่ ะท้อน
ยทุ ธศาสตร์ หรือสง่ ผลไปถึง
คณะกรรมการศิษย์เกา่ วสิ ยั ทัศน์ขององคก์ ร

โรงเรยี นเกาะพะงันศกึ ษา ทม่ี ี

การบรหิ ารร่วมกัน

4. ให้สมาชกิ รว่ มกันกำหนดน้ำหนกั ของสภาพแวดล้อมภายใน โดยใหค้ ะแนนเต็มเท่ากับ 1 น้ำหนกั ในแต่ละ
ดา้ นอาจเทา่ กนั หรือไมเ่ ทา่ กันกไ็ ด้ ขึน้ อยู่กบั ความสำคัญ โดยมีหลักการวา่ ปัจจัยดา้ นใดทเ่ี ปน็ จดุ แขง็ หรอื ปญั หา
ต่อหนว่ ยงานมากก็กำหนดนำ้ หนกั คะแนนมากกว่ารายการเปน็ จดุ แข็งหรอื ปญั หาต่อหน่วยงานนอ้ ยเพ่อื นำไป
กำหนดกลยุทธ์และจดั ลำดับความสำคัญของการพฒั นา

ตารางท่ี 4 การกำหนดนำ้ หนักของสภาพแวดล้อมภายใน ผลการพจิ ารณานำ้ หนกั
ปจั จัยสภาพแวดล้อมภายใน 0.15
0.15
1. ดา้ นโครงสร้าง (Structure : S1) 0.18
2. ด้านกลยทุ ธข์ องหนว่ ยงาน (Structure : S2) 0.15
3. ดา้ นระบบในการดำเนินงานของหน่วยงาน (System : S3) 0.12
4. ดา้ นแบบแผนหรือพฤติกรรมในการบริหารจดั การ (Style : S4) 0.15
5. ด้านบคุ ลากร / สมาชิกในหน่วยงาน (Staff : S5) 0.10
6. ด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถของบุคลากร (Skills : S6) 1.00
7. ด้านคา่ นยิ มร่วมกันของสมาชกิ ในหนว่ ยงาน (Shared Values :S7)

นำ้ หนักคะแนนรวม
ตารางที่ 5 การสรปุ ผลการวเิ คราะหส์ ถานภาพของสภาพแวดลอ้ มภายใน

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงคร้งั ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 27

รายการปจั จัยสภาพแวดล้อมภายใน นำ้ หนกั คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉล่ยี สรุปผล
(5 ระดับ) x นำ้ หนัก -0.15
1. ดา้ นโครงสร้าง (Structure : S1) 0.15 จดุ แข็ง จดุ อ่อน จดุ แข็ง จดุ อ่อน -0.45
23 0.30 0.45 0.15
2. ด้านกลยทุ ธ์ของหน่วยงาน 0.15 14 0.15 0.60 0.15
-0.15
(Structure : S2) 32 0.45 0.30 -0.15
-0.15
3. ดา้ นระบบในการดำเนินงานของ 0.18 32 0.45 0.30

หน่วยงาน (System : S3) 23 0.30 0.45

4. ด้านแบบแผนหรอื พฤติกรรมในการ 0.15 23 0.30 0.45

บริหารจัดการ (Style : S4) 23 0.30 0.45

5. ดา้ นบุคลากร / สมาชกิ ในหน่วยงาน 0.12 +2.25 -3.00
-0.75
(Staff : S5)

6. ด้านทกั ษะ ความรู้ ความสามารถ 0.15

ของบคุ ลากร (Skills : S6)

7. ด้านคา่ นิยมรว่ มกนั ของสมาชกิ ใน 0.10

หนว่ ยงาน (Shared Values :S7)

เฉลี่ยปจั จัยภายใน

สรปุ ปัจจัยภายใน

1. ให้สมาชิกร่วมกันอภปิ รายสรุปและทบทวน อีกครั้งแลว้ มมี ติร่วมกันวา่ หนว่ ยงานของเรามีปัจจัย
ภายในเป็นโอกาส (opportunities) หรือเป็นอุปสรรค (threats) ต่อการบริหารจดั การและพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์

2. การให้คะแนนในแตล่ ะดา้ น โดยให้สมาชกิ วิเคราะหจ์ ากขอ้ มลู สนบั สนนุ ในแต่ละประเดน็ สรปุ ผล
เปน็ เปน็ คะแนนเทา่ ไร แลว้ กรอกคะแนนในช่องค่าคะแนนเฉล่ียจากมติสมาชิก โดยกำหนดคะแนนเตม็ ด้านละ
5 คะแนน โดยมเี กณฑก์ ารให้คะแนนดังน้ี

5 คะแนน หมายถงึ สง่ ผลตอ่ การปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานมากทีส่ ดุ
4 คะแนน หมายถึง สง่ ผลต่อการปฏิบตั ิงานของหนว่ ยงานมาก
3 คะแนน หมายถงึ ส่งผลต่อการปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานปานกลาง
2 คะแนน หมายถงึ สง่ ผลตอ่ การปฏบิ ัติงานของหน่วยงานน้อย
1 คะแนน หมายถงึ สง่ ผลตอ่ การปฏิบัติงานของหนว่ ยงานน้อยท่สี ุด

3. การให้คะแนนต้องวิเคราะห์ ให้ครบทุกด้าน นั่นคือสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นโอกาส
(opportunities) หรือเปน็ อุปสรรค (threats) ครบทง้ั 5 ดา้ น : C-PEST พร้อมสรปุ ผลว่าหน่วยงานของเราเป็น
หน่วยงานที่มีโอกาสหรือมีอุปสรรคโดยพิจารณาจากค่าเฉลี่ยของสภาพแวดล้อมภายนอก : โอกาส (+) เทียบ
กบั ค่าคะแนนเฉลย่ี ของสภาพแวดล้อมภายนอก : อปุ สรรค (-)

แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงครงั้ ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 28

ตารางท่ี 6 การใหค้ ะแนนสภาพแวดล้อมภายนอก

สภาพแวดล้อมภายนอก : โอกาส (+) สภาพแวดล้อมภายนอก : อุปสรรค(-)

ค่าคะแนน ข้อมูลสนบั สนนุ คา่ คะแนน ขอ้ มูลสนับสนุน
เฉล่ียจาก
ประเด็นสำคัญ เฉล่ียจาก มติสมาชิก
มติสมาชิก

C: ด้านพฤตกิ รรม 4 ด้านผูร้ บั บรกิ ารมคี วามพึง 1 มีประชากรแฝงในการรับบริการ

ลูกค้า (Customer พอใจและเป็นคนในท้องที่ ท้ัง รวมทง้ั โรงเรยี นคแู่ ข่งภายนอก
Behaviors / องค์กรภายนอกพร้อมให้การ
Competitors สนับสนนุ มากกวา่
Factors)

P: ดา้ นการเมืองและ 4 ดา้ นการเมืองได้รับการ 1 ระยะทางในการร่วมบรหิ าร และ
การต้องการข้อมูลเชงิ เรง่ ดว่ น
กฎหมาย ( Political สนบั สนนุ เพ่ือใหเ้ กิดการพฒั นา เกนิ ไป
and Legal Factors) รว่ มกนั ภายในองคก์ ร

แนวนโยบายของหน่วยงานต้น

สงั กัด มีความชดั เจนเออื้ ให้

การบริหารมที ิศทาง

E: ดา้ นเศรษฐกจิ 3 สภาพเศรษฐกจิ มีความเขม้ แข็ง 1 ประชากรแฝงจะมีเศรษฐกจิ ไม่
แน่นอน
( Economic Factors ) ในดา้ นของธรุ กจิ สำหรบั ผู้ทีม่ ี
1 มีความหลากหลายจากประชากร
การประกอบธุรกิจ แฝง

S: ดา้ นสังคม – 4 มีความเป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะ 1 การใชเ้ ทคโนโลยีท่ไี มเ่ กิด
ประโยชน์
วัฒนธรรม ท้องถิ่น
(Social –cultural 1.0

Factors)

T: ด้านเทคโนโลยี 4 มคี วามพร้อมและสามารถ

(Technological ยอมรบั การเปล่ยี นแปลงของ
Factors) เทคโนโลยี พรอ้ มสนบั สนุน

ดา้ นเทคโนโลยี

ค่าเฉลยี่ 3.8

4. ให้สมาชิกร่วมกันกำหนดน้ำหนักของสภาพแวดล้อมภายนอก โดยให้คะแนนเต็มเท่ากับ 1
น้ำหนักในแต่ละด้านอาจเท่ากันหรือไม่เท่ากันก็ได้ ขึ้นอยู่กับความสำคัญ โดยมีหลักการว่าปัจจัยด้านใดที่เปน็
จุดแข็งหรือปัญหาต่อหน่วยงานมากก็กำหนดน้ำหนักคะแนนมากกว่ารายการเป็นจุดแข็งหรือปั ญหาต่อ
หนว่ ยงานน้อยเพอ่ื นำไปกำหนดกลยทุ ธแ์ ละจดั ลำดบั ความสำคญั ของการพฒั นา

ตารางที่ 7 การกำหนดน้ำหนักของสภาพแวดล้อมภายนอก ผลการพจิ ารณานำ้ หนกั
ปัจจยั สภาพแวดล้อมภายนอก 0.30
0.20
C: ด้านพฤติกรรมลูกค้า (Customer Behaviors /Competitors Factors) 0.30
0.15
P: ด้านการเมอื งและกฎหมาย ( Political and Legal Factors)

E: ด้านเศรษฐกิจ ( Economic Factors )

S: ด้านสงั คม – วัฒนธรรม (Social –cultural Factors)

แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงนั ศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงคร้ังท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 29

ปจั จัยสภาพแวดล้อมภายนอก ผลการพจิ ารณานำ้ หนัก
0.20
T: ดา้ นเทคโนโลยี (Technological Factors) 1.00

น้ำหนักคะแนนรวม

ตารางท่ี 8 การสรปุ ผลการวิเคราะหส์ ถานภาพของสภาพแวดลอ้ มภายนอก

คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉลี่ย
x น้ำหนัก
รายการปจั จัยสภาพแวดล้อมภายนอก น้ำหนัก (5 ระดับ) โอกาส อุปสรรค สรปุ ผล
+1.20 -0.30
โอกาส อุปสรรค +0.90
+1.20 -0.30 +0.90
C: ด้านพฤตกิ รรมลูกคา้ (Customer 0.30 4 1 +0.60
Behaviors /Competitors Factors) +0.90 -0.30 +0.90
+1.20 -0.30 +0.90
P: ด้านการเมอื งและกฎหมาย ( Political 0.20 4 1
+1.20 -0.30
and Legal Factors)
+5.70 -1.50
E: ดา้ นเศรษฐกิจ ( Economic Factors ) 0.30 3 1 +4.20

S: ดา้ นสงั คม – วฒั นธรรม (Social – 0.15 4 1
cultural Factors)

T: ดา้ นเทคโนโลยี (Technological 0.20 4 1
Factors)

เฉลย่ี ปจั จัยภายนอก

สรปุ ปจั จยั ภายนอก

การประเมนิ สถานภาพของหน่วยงาน
“จากคา่ คะแนนทไี่ ด้จะนำไปส่กู ารจัดทำกราฟแสดงสถานภาพของหน่วยงาน”
การแสดงสถานภาพของหนว่ ยงานจะแสดงออกมาในรปู ของกราฟเพื่อให้เหน็ วา่ หลงั จากการวเิ คราะห์
สภาพแวดล้อมภายนอกและภายใน ด้วยเทคนิค SWOT Analysis แล้ว จะสามารถประเมินสถานภาพของ
หน่วยงานเป็นลกั ษณะใด ซง่ึ การแสดงสถานภาพของหน่วยงาน จะบ่งบอกถงึ สถานภาพ 4 ลกั ษณะ ดังน้ี
1. Stars (เอื้อและแข็ง) เป็นตำแหน่งที่บ่งบอกว่าหน่วยงานโดยภาพรวมส่วนใหญ่มีปจั จัยภายนอกท่ี
เป็นโอกาส และมีปัจจัยภายในที่แข็ง เป็นหน่วยงานที่มีความพร้อมสูง เช่น เป็นโรงเรียนที่ดีมีคุณภาพได้
มาตรฐาน หน่วยงานเมื่อมีสถานภาพเป็น Stars ให้กำหนดกลยุทธ์เชิงรุก(Aggressive) ต้องรักษาความเป็น
Stars ใหย้ นื ยงต่อไปและพฒั นางานต่อยอด
2. Question Marks (เอื้อแต่อ่อน) เป็นตำแหน่งที่บ่งบอกว่าหน่วยงานโดยภาพรวมส่วนใหญ่มี
ปัจจัยภายนอกเอื้อ มีความพร้อมสูงให้การสนับสนุน แต่ปัจจัยภายในหน่วยงาน อ่อน หากแก้ปัญหาจุดอ่อน
ของหนว่ ยงานได้ จะนำไปสสู่ ภาพทีเ่ ออื้ และแข็ง Stars ได้ ให้กำหนดกลยทุ ธ์พฒั นาองค์กร (Turnaround)
3. Cash Cows (ไม่เออื้ แต่แขง็ ) เป็นตำแหนง่ ท่ีบง่ บอกวา่ หนว่ ยงานโดยภาพรวม ส่วนใหญ่ภายนอก
หน่วยงานมีอุปสรรค มปี ัญหา แต่ภายในหน่วยงานแข็ง มคี วามพร้อมมคี วามเขม้ แข็ง หากรอให้ปัจจัยภายนอก
เปน็ โอกาสเอื้อต่อการพัฒนาหน่วยงาน หรือพลิกวกิ ฤติใหเ้ ปน็ โอกาสกจ็ ะสามารถพฒั นาหนว่ ยงานนำไปสู่สภาพ
ทเี่ ออ้ื และแขง็ Stars ได้ ให้กำหนดกลยุทธป์ อ้ งกนั /แตกตวั (Defend / Diversify)
4. Dogs (ไม่เอื้อและอ่อน) เป็นตำแหน่งที่บ่งบอกว่าหน่วยงานโดยภาพรวมส่วนใหญ่อยู่ใน
สภาพแวดล้อมที่ทั้งภายนอกไม่เอือ้ ภายในอ่อน มีปัญหาล่อแหลมต่อการประสบความล้มเหลวค่อนข้างสงู จึง

แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนเกาะพะงนั ศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรงุ ครัง้ ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 30

เป็นไปได้ว่าต้องปรับปรุงอย่างเร่งด่วนเพราะหากดำเนินการต่อไปปัญหาจะสะสมขึ้นเรื่อยๆ ถึงอาจขั้นแก้ไข
ไมไ่ ด้ตอ้ งยบุ หนว่ ยงานให้กำหนดกลยทุ ธ์ประคองตวั /ถอย (Retrenchment)

แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงครัง้ ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 31

การสรา้ งกราฟสถานภาพของหนว่ ยงาน
การสร้างกราฟสถานภาพของหนว่ ยงานใชข้ ้อมูลจากการวเิ คราะห์ สภาพแวดล้อมภายนอกและ

ภายใน มีกระบวนการในการสรา้ ง ดงั นี้
1. ลากเส้นแนวนอนจุดแข็งอยทู่ างซา้ ย และจุดอ่อนอยู่ทางขวาเป็นสญั ลกั ษณ์แทนปจั จัยภายในโดย

คา่ ทีอ่ อกไปดา้ นซ้ายคือจดุ แข็ง (+) และค่าที่ออกไปดา้ นขวา คือจุดอ่อน(-)
2. ลากเส้นแนวด่ิงโอกาส และอปุ สรรค เป็นสัญลักษณ์แทนปจั จัยภายนอกตัดกบั เสน้ แนวนอน จดุ ตัด

มคี า่ เทา่ กบั 0 โดยที่ค่าท่ีข้ึนไปด้านบน คือ โอกาส(+)ค่าท่ีลงมาด้านลา่ ง คือ อปุ สรรค(-)
3. นำคา่ เฉล่ยี ปจั จยั ภายนอกและคา่ เฉลีย่ ปัจจยั ภายในมากำหนดจดุ ลงใน แกนโอกาส อุปสรรค และ

จุดออ่ น จุดแข็ง เพ่อื หาจดุ ตัดแรเงาซึง่ จดุ แรเงาอยู่ในส่วนใดแสดงวา่ หน่วยงานมีทศิ ทางตามตารางน้นั
4. นำคา่ สรปุ คะแนนปจั จัยภายนอกท่เี ป็นโอกาสมากำหนดจดุ เป็นแกนโอกาส อปุ สรรค และสรุป

ปัจจัยภายในมากำหนดลงในแกนจดุ แข็งจุดอ่อน
5. ลากเส้นใหผ้ า่ นจดุ ตัดทง้ั 4 จดุ เป็นรปู ไข่
6. ลากเส้นลูกศรตัดจุดแรเงา หากลูกศรชีไ้ ปทิศทางใดจะบอกสถานภาพ

ของหนว่ ยงานนั้น ดงั ตัวอย่าง

¤ โอกาส

O

+5.70

+4.20

จุดแขง็ +2.25 -0.75 -3.00 จุดออ่ น

SW

-1.50

อปุ สรรค

T

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ ครัง้ ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 32

จากกราฟการวเิ คราะหน์ ้ีพบวา่ การวเิ คราะห์เป็นไปตามทศิ ทางของ Question Marks (เอื้อแต่
อ่อน) แสดงใหเ้ หน็ วา่ หน่วยงานแหง่ น้ีมสี ภาพภายนอก/ภายในเอ้ือและแข็ง แตย่ ังขาดความเข้มแขง็ จากภายใน
ควรมกี ารปรับปรงุ ระบบการบริหารให้เกิดความชัดเจนเพิ่มมากขน้ึ และนำเอาโอกาสท่ีเป็นจุดท่ีเอื้อต่อการ
พฒั นาเขา้ มาสนบั สนุนให้มากย่งิ ขน้ึ

การกำหนดกรอบยุทธศาสตร์ สำหรับสถานศกึ ษาจะต้องนำเอาผลของการวิเคราะห์สถานศึกษามา
เป็นตัวกำหนด โดยในทีน่ จี้ ะเป็นในสว่ นของ Question Marks (เอ้ือแต่อ่อน)

การวเิ คราะห์ SWOT ทม่ี โี อกาสมากกวา่ ปัญหาอุปสรรค และมจี ดุ อ่อนมากกวา่ จดุ แขง็ (เอือ้ แต่ออ่ น) “ Question
Marks ”การกำหนดยุทธศาสตรต์ อ้ งมลี ักษณะ ดงั น้ี

- วิสยั ทัศน์ ตอ้ งม่งุ เนน้ การพัฒนาคณุ ภาพองคก์ ารภายใต้ปจั จัยทส่ี นบั สนุนจากภายนอก
- พันธกิจ ต้องทำภารกจิ ให้บรรลวุ สิ ยั ทัศน์
- เป้าประสงค์ กำหนดจุดสำคญั ทตี่ ้องการจะทำใหส้ ำเร็จไดต้ ามวสิ ัยทศั น์
- กลยุทธ์ มงุ่ เน้นการเพม่ิ มาตรการการพัฒนาคณุ ภาพภายในองคก์ ร

วสิ ยั ทศั น์ (Vision) คอื สภาพการณท์ ีห่ นว่ ยงานต้องการใหเ้ กิดขึน้ ในอนาคตโดยจะต้องมพี นื้ ฐาน ข้อมูลจา

การวเิ คราะห์ SWOT มาประกอบการกำหนดวสิ ัยทัศน์
วสิ ัยทัศนท์ ดี่ ี ตอ้ งมลี กั ษณะ ดงั นี้

1. เข้าใจงา่ ย มีจุดมุ่งหมายทิศทางและเหน็ ภาพได้
2. มีความเปน็ ไปไดม้ จี ุดเนน้ ยดื หยุ่น ท้าทายและเรา้ ใจอยากนำไปปฏิบตั ิ
3. วดั ผลได้และเป็นทย่ี อมรับ

แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงนั ศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงคร้ังที่ 2 (5 เมษายน 2565) 33

สว่ นที่ 3
ทศิ ทางการบริหารจัดการศึกษา

นโยบาย ยุทธศาสตรแ์ ละแผนงานท่เี ก่ียวข้องในการนำข้อมลู มาวางแผนกำหนดทิศทางบรหิ าร จดั การ
ของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศึกษา

3.1 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) ประกอบดว้ ย 6 ยทุ ธศาสตร์หลัก ดังน้ี
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจดั การศึกษาเพื่อความมั่นคงของสงั คมและประเทศชาติ
เป้าหมาย
1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมี
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข
2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษได้รับ การศึกษา
และเรียนร้อู ยา่ งมคี ณุ ภาพ
3. คนทกุ ชว่ งวัยไดร้ บั การศกึ ษา การดแู ล และป้องกนั จากภัยคุกคามในชีวติ รูปแบบใหม่
แนวทางการพฒั นา
1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
2. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัด
ชายแดนภาคใต้
3. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พื้นที่สูงพื้นที่ตาม แนว
ตะเข็บชายแดน และพื้นที่เกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ทั้งกลุ่มชนต่างเชือ้ ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่ม ชนชาย
ขอบ และแรงงานต่างด้าว)
4. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ
อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่าง ๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัติใหม่ ภัยจาก
ไซเบอร์เปน็ ตน้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถ
ใน การแข่งขนั ของประเทศ
เป้าหมาย
1. กำลังคนมีทักษะที่สำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและ การ
พัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ
2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชีย่ วชาญและเป็นเลิศ เฉพาะ
ดา้ น
3. การวจิ ยั และพฒั นาเพื่อสร้างองคค์ วามรแู้ ละนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมลู คา่ เพม่ิ ทาง เศรษฐกิจ
แนวทางการพฒั นา
1. ผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาดงานและ การ
พฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
2. ส่งเสรมิ การผลติ และพฒั นากำลังคนท่ีมคี วามเช่ยี วชาญและเปน็ เลิศเฉพาะดา้ น
3. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพิ่ม ทาง
เศรษฐกิจ

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงครั้งที่ 2 (5 เมษายน 2565) 34

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้
เป้าหมาย
1. ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยและทักษะและคุณลักษณะที่จำเป็น ใน
ศตวรรษที่ 21
2. คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ มาตรฐาน
วิชาชีพ และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ไดต้ ามศกั ยภาพ
3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้ อย่างมี
คุณภาพและมาตรฐาน
4. แหล่งเรียนรู้สื่อตำราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชน
สามารถเข้าถึงไดโ้ ดยไม่จำกดั เวลาและสถานท่ี
5. ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมนิ ผลมปี ระสิทธภิ าพ
6. ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาไดม้ าตรฐานระดบั สากล
7. ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาไดร้ บั การพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน
แนวทางการพัฒนา
1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต
อยา่ งเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย
2. ส่งเสรมิ และพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ สอ่ื ตำราเรยี น และส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ใหม้ คี ณุ ภาพ มาตรฐานและ
ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรยี นรู้ไดโ้ ดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานที่
3. สร้างเสรมิ และปรับเปลย่ี นคา่ นิยมของคนไทยให้มวี ินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึง ประสงค์
4. พฒั นาระบบและกลไกการตดิ ตาม การวัดและประเมนิ ผลผเู้ รยี นให้มปี ระสิทธภิ าพ
5. พฒั นาคลังขอ้ มูล ส่ือ และนวตั กรรมการเรียนรทู้ ่ีมีคณุ ภาพและมาตรฐาน
6. พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
7. พฒั นาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาคและความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษา
เปา้ หมาย
1. ผู้เรยี นทกุ คนไดร้ บั โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาที่มีคณุ ภาพ
2. การเพม่ิ โอกาสทางการศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพื่อการศึกษาสำหรับคนทุกชว่ งวยั
3. ระบบขอ้ มลู รายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปจั จุบัน เพ่ือการวาง
แผนการบริหารจัดการศกึ ษา การติดตามประเมิน และรายงานผล
แนวทางการพัฒนา
1. เพิม่ โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศึกษาทีม่ ีคุณภาพ
2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพอื่ การศึกษาสำหรบั คนทุกชว่ งวยั
3. พัฒนาฐานขอ้ มลู ด้านการศึกษาทีม่ มี าตรฐาน เชื่อมโยงและเข้าถงึ ได้ 26
ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 การจดั การศึกษาเพอ่ื สรา้ งเสริมคุณภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม
เป้าหมาย
1. คนทุกช่วงวัย มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตาม หลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏิบตั ิ

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเกาะพะงนั ศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงครัง้ ท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 35

2. หลกั สูตร แหลง่ เรยี นรู้ และส่ือการเรียนรู้ทสี่ ่งเสริมคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม คุณธรรม
จรยิ ธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ัติ

3. การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
สงิ่ แวดล้อม

แนวทางการพฒั นา
1. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิด ตาม
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบตั ใิ นการดำเนินชวี ิต
2. ส่งเสริมและพฒั นาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหลง่ เรียนรู้ และส่อื การเรียนรตู้ ่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง
กับการสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ิตท่เี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม
3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
สง่ิ แวดลอ้ ม
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา
เปา้ หมาย
1. โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว ชัดเจนและ สามารถ
ตรวจสอบได้
2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษา
3. ทุกภาคส่วนของสงั คมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาที่ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน และ
พื้นที่
4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะที่แตกต่างกัน ของ
ผเู้ รียน สถานศึกษา และความต้องการกำลังแรงงานของประเทศ
5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรมสร้าง ขวัญ
กำลังใจ และสง่ เสริมใหป้ ฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ
แนวทางการพัฒนา
1. ปรับปรงุ โครงสรา้ งการบริหารจดั การศึกษา
2. เพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการสถานศกึ ษา
3. สง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคสว่ นในการจัดการศกึ ษา
4. ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพื่อการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพและประสิทธิภาพ การ
จัดการศกึ ษา
5. พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

3.2 แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ประกอบด้วย 6
ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ยุทธศาสตรพ์ ฒั นาหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล
ผลผลิต /ผลลัพธ์
ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่สี ูงขึน้ สามารถท่องจำและนำสงิ่ ท่ีจำไปฝึกคิดวิเคราะห์ คิด

สังเคราะหค์ ิดในเชิงสร้างสรรค์และแก้ไขปญั หาทเ่ี กิดข้นึ ไดม้ ีทักษะการทางานร่วมกับผู้อ่นื สอดคล้องกับทักษะ
ที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีคุณธรรมจริยธรรม ผู้สำเร็จการศึกษาทุกระดับ/ประเภท ได้รับการศึกษาที่มี

แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ ครง้ั ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 36

คณุ ภาพมาตรฐาน มีจิตสำนึกประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข รวมท้งั สามารถอยใู่ นสังคมได้
อย่างมีความสามัคคปี รองดอง

กลยุทธ์
1.1 พัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ และจัดกิจกรรมเสริมทักษะพัฒนาผู้เรียน
ในรูปแบบทีห่ ลากหลาย สอดคลอ้ งกบั ทกั ษะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษที่ 21
1.2 พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การวัดและประเมินผลการศึกษาทุกระดับ/ประเภท
การศกึ ษา ใหท้ ันสมยั สอดคล้องกับความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาการและการเปลย่ี นแปลงของสังคมโลก
1.3 ส่งเสริมการพัฒนาเนื้อหาสาระที่ทันสมัยในทุกระดับ/ประเภทการศึกษา เพื่อการผลิต
สอื่ การเรยี นการสอน ตำราเรียนทมี่ ีคุณภาพ รวมทัง้ ตำราเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์
1.4 ปรับปรุงระบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติให้สอดคล้องกบั หลักสูตรและกระบวนการ
จัดการเรยี นการสอน
1.5 ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองและพลโลก ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งในระบบการศกึ ษาอย่างเข้มขน้
ยุทธศาสตร์ท2ี่ ยุทธศาสตร์ผลิต พัฒนาครคู ณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ผลผลิต /ผลลัพธ์
มีการผลติ ครไู ดส้ อดคล้องกับความต้องการในการจดั การศึกษาทุกระดับทกุ ประเภท มีครคู รบ
ตามเกณฑ์มีครูประจำชั้นครบทุกห้อง และมีครูที่จบตรงวุฒิตามสาขาวิชาที่สอน ผู้มีใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพครูมีจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งมีคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาที่มีสมรรถนะตาม
มาตรฐานวชิ าชีพ สามารถใช้ศักยภาพในการสอนได้อย่างเตม็ ที่และขวญั กาลงั ใจทีด่ ีในการปฏบิ ัติหนา้ ที่
กลยุทธ์
2.1 วางแผนการผลิต และพัฒนาครูคณาจารย์อย่างเป็นระบบใหส้ อดคลอ้ งกับความต้องการ
ในการจดั การศกึ ษาทกุ ระดบั / ประเภทการศึกษา
2.2 ปรบั ระบบการผลติ ครคู ณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
2.3 เรง่ รดั พฒั นาผู้บริหารสถานศึกษา รวมทง้ั ครปู ระจำการทสี่ อนไม่ตรงวฒุ ิครูท่ีสอนคละชั้น
และครใู นสาขาวิชาทีข่ าดแคลน
2.4 สรา้ งขวัญกำลงั ใจ สรา้ งแรงจงู ใจใหก้ บั ครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศกึ ษา
2.5 พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่3 ยุทธศาสตรผ์ ลติ และพฒั นากำลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการ
ของการพัฒนาประเทศ
ผลผลิต /ผลลัพธ์
มีการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษา และด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีที่มีคุณภาพ
เพิ่มจำนวนบัณฑิตในสาขาวิชาชีพที่ขาดแคลน มีสมรรถนะ มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน ตาม
มาตรฐานวิชาชพี และสามารถแข่งขนั ได้ในระดับสากล ประชาชนได้รับการฝึกอาชีพตามความถนดั และความ
สนใจ รวมทั้งมีผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงในเชิงพาณิชย์ การให้การ
รกั ษาพยาบาล และการพัฒนาความเปน็ ศูนย์กลางด้านการศึกษาของภมู ภิ าค

แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรงุ ครง้ั ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 37

กลยุทธ์
3.1 เร่งผลิตและพัฒนากำลังคนสาขาที่จำเป็นต่อการพัฒนาประเทศ อาทิด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยแี พทย์และพยาบาล
3.2 เร่งผลิตและพัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านอาชีวศึกษาให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีและรองรับพื้นทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ
3.3 ส่งเสริมภาพลักษณ์การอาชีวศึกษา เร่งปรับค่านิยม และวางรากฐานทักษะอาชีพให้แก่
ผเู้ รียนต้งั แต่วัยการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
3.4 ส่งเสริม สนับสนุนการพฒั นาผูม้ ีความสามารถพิเศษอยา่ งต่อเนื่องทุกระดบั
3.5 เสริมสร้างความเข้มแข็งของกระบวนการผลิตและพัฒนากำลังคน โดยสร้างเครือข่าย
ความรว่ มมอื ตามรปู แบบประชารัฐ ทง้ั ระหว่างองคก์ รภายในและตา่ งประเทศ
3.6 สง่ เสรมิ งานวิจัยและนวัตกรรมท่ีสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้จรงิ
ยุทธศาสตร์ที่4 ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้อย่าง
ต่อเน่อื ง ตลอดชีวิต
ผลผลิต /ผลลัพธ์
ผู้เรียนทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและประเภท
การศึกษา ได้รบั การสนับสนุนค่าใช้จ่ายต้งั แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน และสามารถเรียนรู้จาก
แหล่งเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สถานศึกษาในภูมิภาค/ชนบท ได้รับการยกระดับคุ ณภาพใน การ
ให้บริการ เด็กพิการและด้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบ โรงเรียน
รวมทงั้ สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นและทักษะประสบการณเ์ พื่อขอรับวฒุ กิ ารศึกษาเพิ่มขน้ึ ได้
กลยุทธ์
4.1 ประกันโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานให้แก่ผู้เรยี นใน
ทกุ พ้นื ทีค่ รอบคลุมถงึ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้มคี วามตอ้ งการพิเศษ
4.2 ส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบ และการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความ
สนใจ และวิถชี ีวิตของผเู้ รียนทกุ กล่มุ เปา้ หมาย
4.3 เร่งสร้างความเข้มแข็งของระบบการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ให้เกิดผลเป็น
รปู ธรรมอยา่ งกวา้ งขวาง
4.4 จดั หาทุนและแหล่งทนุ ทางการศึกษา
4.5 เร่งพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพมี
ความหลากหลาย และสามารถให้บริการไดอ้ ยา่ งท่วั ถึง
ยทุ ธศาสตร์ท5่ี ยทุ ธศาสตรส์ ่งเสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพ่ือการศกึ ษา
ผลผลติ /ผลลัพธ์
ผู้เรียน สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับทุกประเภทการศึกษาเข้าถึง
ทรัพยากร และระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ มีองค์ความรู้เทคโนโลยี
เพื่อ การศึกษาเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น รวมทั้งมีศูนย์กลางในการจัดเก็บรวบรวมสื่อการเรียน
การสอนแบบดิจิทลั ท่ที นั สมยั และระบบฐานข้อมลู กลางทางการศึกษาของประเทศทีถ่ ูกตอ้ งและเปน็ ปัจจบุ นั
กลยุทธ์
5.1 พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาและการบริหารจัดการที่ทันสมัย
และไม่ซำ้ ซ้อน ใหผ้ ้รู ับบรกิ ารสามารถเข้าถึงไดอ้ ยา่ งทั่วถงึ และมปี ระสิทธภิ าพ

แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรุงครง้ั ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 38

5.2 พัฒนากระบวนการจัดทาระบบฐานข้อมูลกลางทางการศึกษาของประเทศ ระบบ การ
รายงานผล ของฐานข้อมูลโดยเชื่อมโยงข้อมูลการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา ให้เป็นอกภาพ เป็น
ปัจจุบนั และมีมาตรฐานเดียวกัน

5.3 ผลิตและพฒั นาโปรแกรมประยุกตห์ รอื สือ่ การเรียนรูอ้ เิ ล็กทรอนิกสใ์ หผ้ เู้ รียน สถานศกึ ษา
และหน่วยงานทางการศกึ ษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา นามาใชเ้ พิม่ คุณภาพการเรียนรู้อยา่ งเป็นระบบ

5.4 จัดหาอุปกรณ์/ทรัพยากรพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับผู้เรียนอย่างเพียงพอ
ท่วั ถึง และเหมาะสมกับการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง

ยุทธศาสตรท์ 6่ี ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาระบบบริหารจดั การและส่งเสริมใหท้ ุกภาคส่วนมีสว่ นร่วมในการ
จัดการศกึ ษา

ผลผลิต /ผลลัพธ์
ระบบบริหารจัดการมีความคล่องตัวในการบริหารงานการศึกษามากยิ่งขึ้น มีความโปร่งใส
และเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ โครงสร้างของกระทรวงได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพโดยการ
กระจายอานาจลงไปสู่ส่วนภูมิภาคและสถานศึกษา และมีกลไกการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน การ
สนบั สนุนทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา สถานศกึ ษาทุกระดับทุกประเภทมธี รรมาภิบาลในการบริหาร รวมท้ังผู้เรียน
ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนที่สูงขึ้น มีศักยภาพเพื่อไปประกอบ อาชีพ ในท้องถิ่น
ได้
กลยุทธ์
6.1 ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการการศึกษาให้เป็นไปตามหลักธรรมาภบิ าล โดยเน้น ด้าน
คณุ ธรรม ความโปร่งใส ทง้ั ในระดับส่วนกลาง และในพน้ื ทรี่ ะดบั ภาค/จงั หวดั
6.2 พัฒนาระบบบริหารงานงบประมาณ/การเงินให้มปี ระสิทธภิ าพ
6.3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาตอบสนองการสร้างอาชีพและเพิ่มคุณภาพชีวิต ลดวาม
เหลือ่ มลา้ สรา้ งความสมานฉันทแ์ ละเสรมิ สร้างความมั่นคงในจังหวัดชายแดนภาคใต้
6.4 เร่งส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมรับผิดรับชอบในการจัดการศึกษา รวมทั้งสนับสนนุ
ทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา
6.5 เสริมสร้างภาพลักษณ์หน่วยงานให้เกิดความร่วมมือ และสร้างเครือข่าย/ความเป็นภาคี
หนุ้ ส่วนกับองค์กรทั้งภายในและตา่ งประเทศ
6.6 สง่ เสริมและขยายผลให้สถานศกึ ษาระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐานที่มีความพร้อม พัฒนาเป็น
สถานศึกษานิตบิ ุคคลในกำกบั

3.4 มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน พ.ศ. 2561 มีจำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น
1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผเู้ รยี น
1.2 คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผูเ้ รยี น

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั
รายละเอียดแตล่ ะมาตรฐาน มดี ังนี้

แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ ครั้งที่ 2 (5 เมษายน 2565) 39

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น
1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรยี น
1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสอ่ื สาร และการคดิ คำนวณ
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน

ความคดิ เห็น และแก้ปญั หา
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร
5) มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
6) มคี วามรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ งานอาชีพ

1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผูเ้ รียน
1) การมีคุณลกั ษณะและคา่ นิยมทดี่ ตี ามท่สี ถานศึกษากำหนด
2) ความภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย
3) การยอมรับท่ีจะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
4) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
2.1 มีเปา้ หมายวิสัยทศั น์และพนั ธกิจที่สถานศกึ ษากำหนดชัดเจน
2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และ

ทุกกลุ่มเปา้ หมาย
2.4 พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ
2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี อื้อตอ่ การจัดการเรียนร้อู ย่างมคี ณุ ภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบริหารจดั การและ การจัดการเรยี นรู้

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
3.1 จัดการเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้
3.2 ใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้
3.3 มกี ารบริหารจดั การชั้นเรียนเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ

เรียนรู้
3.5 วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์โรงเรียนเกาะพะงันศกึ ษา
จากการศึกษาวิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 –

2579) แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี12 (พ.ศ. 2560 – 2564 ) มาตรฐานการศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนพัฒนาการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี
ชมพร และสรุปประเมินสถานภาพของโรงเรียน การสังเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT) ในการ
จัด การศึกษาที่ผ่านมาสามารถนำข้อมูลมากำหนดทิศทางวางแผนเพื่อจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของ
โรงเรยี นสตรรี าชนิ ทู ศิ ดังนี้

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรับปรงุ คร้งั ที่ 2 (5 เมษายน 2565) 40

วสิ ัยทศั น์ (Vision)

ภายในปี 2567 โรงเรียนเกาะพะงันศึกษาศมีระบบบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
ผู้เรยี นมศี ักยภาพเป็นพลโลกบนพ้ืนฐานความเป็นไทย มคี ณุ ธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พนั ธกิจ (Mission)
1. พัฒนาผู้เรียนให้เป็นเลิศทางวิชาการ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ผลิตงานอย่าง
สรา้ งสรรค์ เพื่อใหเ้ ป็นพลโลกและมีคุณลักษณะของเยาวชนในศตวรรษท่ี 21
2. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีและ นวัตกรรมการเรียนร้ทู ี่
หลากหลายโดยมุ่งเน้น “ตอ้ งนักเรยี นก่อน”
3. ปลกู ฝงั ผู้เรียนให้มีวินัย มีคณุ ธรรม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูมืออาชีพ
สามารถจดั การเรยี นการสอนเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพผู้เรียน
5. พัฒนาการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมเชิงคุณภาพ ตามคติพจน์ ค่านิยมและวัฒนธรรม
โรงเรยี น โดยใชห้ ลกั ธรรมาภบิ าลอยา่ งมีประสิทธิภาพ
6. พัฒนาแหล่งเรียนรูภ้ ายใน สื่อเทคโนโลยีและสภาพแวดลอ้ มใหเ้ อื้อต่อการจัดการเรียนรู้
7. สร้างภาคเี ครอื ข่ายการจดั การเรยี นรู้ รวมทั้งเครอื ข่ายผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียเพื่อร่วมกันพัฒนา
คณุ ภาพทางการศึกษา

เป้าประสงค์ (Objective)

1. นักเรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ผลิตงานอย่าง
สรา้ งสรรค์เพือ่ ใหเ้ ป็นพลโลกและมคี ุณลกั ษณะของเยาวชนในศตวรรษที่ 21

2. ผู้เรียนมวี นิ ัย มีคุณธรรม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นครูมืออาชีพ สามารถจัดการเรียนการสอนในการ
ส่งเสริมผเู้ รียนอย่างมีคุณภาพ
4. โรงเรยี นมีหลักสตู รและกระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ี่มุ่งสง่ เสรมิ ผู้เรียนให้มคี ณุ ภาพ
5. โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมที่มีประสิทธิภาพ โดยสามารถใช้สื่อ
เทคโนโลยใี นการจัดกระบวนการเรยี นรู้
6. โรงเรยี นมภี าคีเครือขา่ ยรว่ มพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา

3.6 กลยุทธ์โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา (พ.ศ. 2564– 2567) กลยุทธ์ของสถานศึกษาที่สอดคล้อง
กับประเด็นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน (สพฐ.) ไดแ้ ก่

กลยุทธ์ที่ 1 จัดการศึกษาให้ผ้เู รยี นมคี ุณภาพดา้ นวชิ าการคู่คุณธรรม
กลยุทธ์ที่ 2 สง่ เสริม สนบั สนนุ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาเป็นครูมืออาชีพ สามารถจดั การ
เรยี น การสอนเต็มศกั ยภาพของผูเ้ รียน
กลยทุ ธท์ ่ี 3 พัฒนาระบบการบริหารการจัดการศึกษาที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน มีการดำเนินการ
ทม่ี ่งุ เน้นคณุ ภาพผูเ้ รยี นเป็นสำคญั ดว้ ยกระบวนการจดั การที่สอดรับกับบรบิ ท และสถานการณป์ ัจจบุ นั

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรงุ คร้ังท่ี 2 (5 เมษายน 2565) 41

กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาการเรียนรู้ทั้งภายในและนอก
สถานศึกษาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ และได้รบั ความเช่ือม่นั

กลยุทธ์ยอ่ ย/แนวทางการพฒั นาการจัดการศึกษาของโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา
1. ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามมารฐานท่ี

กำหนด มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ คิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหาได้ สามารถสร้างนวัตกรรมใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสาร มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติทดี่ ตี อ่ งานอาชพี

2. สง่ เสรมิ พัฒนาคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผ้เู รยี น มีค่านยิ มที่ดตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด
มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยอมรับที่จะอยู่
ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลายมีสุขภาวะทางร่างกายที่ดี มีจิตสาธารณะ เป็นพลเมืองที่ดี และเป็น
พลโลกท่มี ีคุณภาพ

3. ส่งเสริม พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ สามารถใช้สื่อ เทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง สามารถ
นำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตได้

4. พฒั นาการบริหารจัดการช้ันเรยี น มีแลกเปล่ียนเรียนรตู้ รวจสอบ และประเมนิ ผู้เรียนอย่าง
เป็นระบบ นำผลมาพัฒนาผูเ้ รียน และปรบั ปรุงการจัดการเรียนรตู้ อ่ ไป

5. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตรงตามความศักยภาพ
ของผู้เรยี น จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ และสงั คมท่เี อ้ือตอ่ การจัดการเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ

6. ส่งเสริม พัฒนากระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม มีการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุน
การบริหารจดั การ และการจดั การเรยี นรู้

7. ส่งเสริม สนับสนุน ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากร องค์กร หน่วยงาน หรือ
ชุมชน ทัง้ ภายใน และภายนอก เพื่อเกดิ การมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาการศึกษา

8. สร้างภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษาเพื่อการกำหนดทิศทางของการจัดการศึกษา ให้มี
ความสอดคล้อง และส่งต่อผู้เรียนให้ตรงตามความต้องการขององค์กร หรือหน่วยงาน ทั้งภายในสถานศึกษา
และภายนอกสถานศกึ ษา

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศึกษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงคร้งั ท่ี 2

ส่วน
กลยุทธพ์ ฒั น

จากกลยุทธ์ของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา

ยุทธพ์ ฒั นาการศกึ ษา ดงั น้ี

กลยุทธท์ ่ี 1 จดั การศกึ ษาใหผ้ ูเ้ รยี นมีคุณภาพด้านวชิ
เป้าประสงค์เชงิ กลยุทธ์
ตัวชี้วัด ข



1. นักเรยี นมีความเป็นเลิศทางวิชาการ 1.ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการอา่ น

มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ เขียน การส่ือสาร และการคดิ

ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์เพือ่ ใหเ้ ป็น คำนวณ

พลโลกและมีคุณลกั ษณะของ - มีความสามารถในการอ่าน การ

เยาวชนในศตวรรษที่ 21 เขียน การสอ่ื สารภาษาไทย ผ่าน

เกณฑ์ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา

- มีผลการเรยี นด้านการคิด

คำนวณ อยใู่ นระดบั 2.5 ขึ้นไป

- มีผลการเรยี นด้านการอ่าน

เขยี น ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับ 2.5

ขึ้นไป

- มีความสามารถในการส่อื สาร

ภาษาองั กฤษในชวี ติ ประจำวันได้

- มคี วามสามารถในการสื่อสาร

ภาษาที่ 2 ได้

2 (5 เมษายน 2565) 49

นท่ี 4
นาการศึกษา

าของ สพฐ. มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานโรงเรียน นำมาวางแผ นกล

ชาการคคู่ ณุ ธรรม เปา้ หมาย ปี 2567 กลยทุ ธ์ย่อย/แนวทาง
80 พัฒนา
ขอ้ มลู ฐาน ปี 2565 ปี 2566
75 78 82 1. สง่ เสริม พฒั นาคุณภาพ
ปี 2563 ปี 2564 ของผู้เรยี นให้มผี ลสัมฤทธิ์
70 73 78 80 78 ทางการเรียนเปน็ ไปตามมาร
78 ฐานท่ีกำหนด มี
70 75 72 75 ความสามารถในการอา่ น
70 75 78 การเขยี น การส่ือสาร และ
65 70 82 การคิดคำนวณ คิดวิเคราะห์
60 65 70 73 คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ
73 80 อภปิ รายแลกเปล่ยี น ความ
60 65 คดิ เห็น และแก้ปัญหาได้
65 70 สามารถสรา้ งนวัตกรรมใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศและ
การสอื่ สาร มคี วามรู้ ทักษะ
พน้ื ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ตี ่อ
งานอาชีพ

แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศกึ ษา 4 ปี (2564 – 2567) ปรบั ปรุงคร้งั ที่ 2

กลยุทธ์ที่ 1 จดั การศกึ ษาใหผ้ เู้ รียนมีคุณภาพด้านวิช
เปา้ ประสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์
ตวั ชว้ี ดั ข



2. ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการคิด

วิเคราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ

อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็

และแก้ไขปัญหา

3. ผู้เรียนมีความสามารถใน การ

สร้างนวัตกรรม

4. ผ้เู รยี นมคี วามสามารถใน การใช้

เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการ

สือ่ สาร

5. ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น

ตามหลกั สูตรสถานศึกษา

6. ผูเ้ รียนมคี วามรทู้ ักษะพืน้ ฐาน

และเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ

2. ผู้เรียนมีวินัย มีคุณธรรม ตามหลัก 1.ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยม

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ท่ีดีตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด

2.ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจ ใน

ท้องถ่นิ และความเปน็ ไทย

3.ผู้เรียนยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบน

ความแตกต่างและหลากหลาย

4.ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกาย

และจติ สังคม

2 (5 เมษายน 2565) 50

ชาการคคู่ ุณธรรม เปา้ หมาย ปี 2567 กลยทุ ธย์ ่อย/แนวทาง
82 พฒั นา
ข้อมูลฐาน ปี 2565 ปี 2566
75 80
ปี 2563 ปี 2564

65 70

70 75 80 82 85

70 75 80 82 85

70 75 80 85 90

75 80 85 90 95 2. สง่ เสรมิ พฒั นา
คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์

75 80 85 90 95 ของผเู้ รียน มีค่านยิ มท่ีดี
ตามท่สี ถานศึกษากำหนด มี

80 85 88 92 95 ความภูมใิ จในท้องถน่ิ และ
ความเปน็ ไทย ปฏบิ ตั ติ าม

75 80 85 90 95 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ยอมรับที่จะอยู่


Click to View FlipBook Version