หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 44
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
ท ๒๑๑๐2 ภาษาไทย 2 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
จานวน ๑.๕ หน่วยกติ
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนท่ี 2 รวม ๖๐ ช่ัวโมง
การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย กลอนสุภาพ กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ โคลงส่ีสุภาพ
ถกู ตอ้ งเหมาะสม กับเรื่องท่ีอ่าน การอ่านจับใจความสาคัญจากเรอ่ื งที่อ่าน การระบุ และอธิบายคา เปรยี บเทียบ
และคาที่มีหลายความหมายในบริบทต่าง ๆ จากการอ่าน การระบุ ข้อสังเกต และความสมเหตุสมผลของงาน
เขยี นประเภทชกั จูงโนม้ น้าวใจ การคดั ลายมอื ตวั บรรจงครึง่ บรรทดั ตามรูปแบบอักษรท่ีสถานศึกษากาหนด การ
เขียนส่ือสารด้วย การพิมพ์ข้อความบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ถ้อยคาถูกต้อง ชัดเจนเหมาะสมและสละสลวย
การเขียนเรียงความ การเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อที่ได้รับการ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า
และโครงงาน การพูดสรุปใจความสาคัญของเรื่องท่ีฟังและดู การเล่าเร่ืองย่อจากเรื่องท่ีฟังและดู การประเมิน
ความน่าเชื่อถือของสื่อท่ีมีเน้ือหา โน้มน้าวใจการศึกษาวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน
การแต่งบทร้อยกรอง ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ การจาแนกและใช้สานวนท่ีเป็นคาพังเพยและ
สุภาษิต การศกึ ษาและอธบิ าย คุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น การสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน
เพ่ือประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจริง การท่องจาบทอาขยาน บษุ บกแก้ว บพุ การี นิคมพจน์กาพยห์ ่อโคลง บทร้อยกรองที่
ทคี ณุ ค่าตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการศึกษาวเิ คราะห์คณุ คา่ ที่ไดร้ ับจากการอา่ น งานเขยี นอย่างหลากหลาย เพือ่ นาไปใช้
แก้ปัญหาในชีวิตทักษะกระบวน การคัดลายมือ การเขียนสื่อสารด้วยการการพิมพ์ บนส่ือ อิเล็กทรอนิกส์
กระบวนการเขียนเรียงความ การเขียนรายงานและการเขียนแสดงความคิดเห็น ทักษะการบวนการพูดสรุป
ใจความสาคัญ การพูดเล่าเร่ืองย่อจากเร่ืองที่ฟังและดู กระบวนการประเมินความน่าเชื่อถือของส่ือที่มีเนื้อหา
โน้มน้าวใจกระบวนการศึกษาวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน การแต่งบทร้อยกรอง
ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ การจาแนกและใช้ สานวนท่ีเป็นคาพังเพยและสุภาษิตกระบวนการ
ศึกษาและอธิบาย คุณค่า วรรณคดีวรรณกรรม การสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน กระบวนการท่องบท
อาขยาน
เพื่อให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด มีความสามารถในการ
ส่ือสาร ในการคิด ในการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มุ่งม่ันในการทางาน
รกั ความเป็นไทย รกั ทอ้ งถนิ่ บา้ นเกดิ มจี ิตสาธารณะ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทเี่ หมาะสม
รหัสตัวช้วี ัด
ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๔, ม.๑/๖, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๔, ม.๑/๖, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๔, ม.๑/๖
ท ๔.๑ ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๕.๑ ม.๑/๓, ม.๑/ ๔, ม.๑/๕
รวมทั้งหมด ๒๒ ตัวชว้ี ดั
โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่ิมเติม
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 45
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
ท ๒2๑๐1 ภาษาไทย 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 รวม ๖๐ ช่ัวโมง
การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บรรยายบทร้อยกรอง กลอนบทละครกลอนนิทานได้ถูกต้องการจับ
ใจความสาคัญสรุปความและอธิบายรายละเอียดและการเขียนแผนผังความคิด จากเรื่องที่อ่าน วรรณคดีใน
บทเรียน บทความ บันทึกเหตุการณ์ การวิเคราะห์และจาแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุนและข้อคิดเห็นจาก
บทความทีอ่ า่ น การอ่านหนังสือบทความหรอื คาประพนั ธ์อยา่ งหลากหลาย และประเมินคุณคา่ หรอื แนวคิดท่ีได้ จาก
การอ่านเพ่ือนาไปใช้แก้ปัญหา การมีมารยาทในการอ่านการคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ตามแบบท่ี
สถานศึกษากาหนด การเขียนบรรยาย และพรรณนา การเขียนเรียงความเก่ียวกับประสบการณ์ การเขียน
รายงานจากการศกึ ษาคน้ คว้า และรายงานโครงการ การเขียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคดิ เห็น
หรือโต้แย้งในเรื่องท่ีอ่านจากส่ือต่าง ๆ บทความ บทเพลง สารคดี บันเทิงคดี หนังสืออ่านนอกเวลา การมี
มารยาทฝนการเขียน การพูดสรุปใจความสาคัญของเรื่องที่ฟังและดู การวิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องท่ีฟังและดู
อยา่ งมเี หตุผลเพ่ือนาข้อคิดมาประยุกต์ใช้ ในการดาเนินชีวิต การพูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นทศ่ี ึกษาค้นควา้ การมี
มารยาทในการฟังการดูและการพูด การสร้างคาในภาษาไทย คาสมาส คาสนธิ แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน
สุภาพ รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทยการสรุปเน้ือหาวรรณคดี และ
วรรณกรรมท่ีอ่านในระดับท่ียากข้ึน การอธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน การท่องจาบทอาขยาน
วฒั นธรรม บทเสภาสามัคคีเสวก และบทร้อยกรองที่มคี ุณค่าตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วบทบรรยาย บทพรรณนา บทร้อยกรอง กลอนบทละคร
กลอนนิทาน การอ่านจับใจความสาคัญ สรุปความโดยใช้แผนผังความคิดจากเร่ืองที่อ่านการวิเคราะห์และ
จาแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุน และข้อคิดเห็นจากบทความท่ีอ่านการประเมินคุณค่าหรือแนวคิดท่ีได้ จาก
การอ่านเพ่ือนาไปใช้แก้ปัญหา การเขียนบรรยาย และพรรณนา เรียงความ รายงานจากการศึกษาค้นคว้าและ
รายงานโครงการ เขียนวิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น หรือโต้แย้งจากการอ่านส่ือต่าง ๆ ด้วยการคัด
ลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ตามแบบที่สถานศึกษากาหนด การพูดสรุปใจความสาคัญ การพูดวิเคราะห์และ
วิจารณ์เร่ืองที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล การพูดรายงานจากเรื่องท่ีค้นคว้าศึกษา การสร้างคาสมาส สนธิ การแต่ง
กลอนสุภาพ การรวบรวมคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย การสรุปเนื้อหาการอธิบายคุณค่าวรรณคดี
และวรรณกรรมที่อา่ น การท่องจาบทอาขยานและบทรอ้ ยกรองที่มีคณุ คา่ ตามความสนใจ
เพ่ือให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด มีความสามารถในการ
สื่อสาร ในการคิด ในการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มุ่งมั่นในการทางาน
รกั ความเปน็ ไทย รกั ท้องถิ่นบา้ นเกดิ มจี ติ สาธารณะ มคี ุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
รหสั ตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๕, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๕, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๓, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๓, ม.๒/๕
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๓, ม.๒/๕
รวมท้ังหมด ๒๒ ตัวชว้ี ัด
โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพม่ิ เติม
หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 46
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ท ๒2๑๐2 ภาษาไทย 4 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
จานวน ๑.๕ หน่วยกติ
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 รวม ๖๐ ชั่วโมง
การอ่านออกเสียง บทร้อยแก้ว บทพรรณนา และบทร้อยกรอง กลอนเพลงยาว กาพย์ห่อโคลงได้ถูกต้อง
การอ่านจับใจความสาคัญ สรปุ ความ อภิปรายแสดงความคิดเห็น และข้อโต้แย้ง การระบุข้อสังเกต การชวนเช่ือ
การโน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผลของงานเขียน การมีมารยาทในการอ่านการคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึง
บรรทัด ตามแบบท่ีสถานศึกษากาหนด การเขียนย่อความ นิทาน คาสอนบทความทางวิชาการ บันทึกเหตุการณ์
นิทานชาดกเร่ืองราวในบทเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ การเขียนจดหมายเชิญวิทยากร จดหมายขอความ
อนุเคราะห์ จดหมายแสดงความขอบคุณการวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความน่าเชื่อถือของ ข่าวสาร
จากสื่อต่าง ๆ การพูดอวยพร การพูดโน้มน้าว การพูดโฆษณา การวิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยค
รวมและประโยคซ้อน คาราชาศัพท์การวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถ่ินที่อ่านพร้อม
ยกเหตุผลประกอบการสรุปความรู้และข้อคิด จากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง การท่องจาบทอาขยาน
พระสรุ โิ ยทัยขาดคอชา้ ง พระอภยั มณี ตอนอุศเรนตีเมืองผลึกและบทรอ้ ยกรองทีม่ คี ุณค่าตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการการอ่านออกเสียง บทพรรณนา กลอนเพลงยาว กาพย์ห่อโคลงได้ถูกต้อง การอ่าน
จับใจความสาคญั สรุปความ อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ และข้อโตแ้ ยง้ การสังเกต การชวนเชือ่ การโนม้ นา้ ว หรอื
ความสมเหตุสมผลของงานเขียน การเขียนย่อความ สื่อต่าง ๆ และการเขียนจดหมายกิจธุระตามรูปแบบที่
กาหนดกระบวนการวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความน่าเช่ือถือของ ข่าวสารจากส่ือต่าง ๆ การพูดใน
โอกาสต่าง ๆ กระบวนการวเิ คราะห์ประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยคซ้อน การใชค้ าราชาศัพท์ การการ
วเิ คราะห์และวจิ ารณ์ การสรปุ ความรู้ ข้อคิด จากการอา่ นวรรณคดีวรรณกรรม และนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจริง
การท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ
เพ่ือให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด มีความสามารถในการ
ส่ือสาร ในการคิด ในการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มุ่งมั่นในการทางาน
รกั ความเป็นไทย รักทอ้ งถิน่ บา้ นเกิด มีจติ สาธารณะ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม
รหัสตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๔, ม.๒/๖, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๔, ม.๒/๖, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๔, ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๔
ท ๕.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๔, ม.๒/๕
รวมท้ังหมด ๑๗ ตวั ชีว้ ดั
โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 47
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ท ๒3๑๐1 ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 รวม ๖๐ ชั่วโมง
การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทความ บทความปกิณกะ และบทร้อยกรอง กลอนบทละคร กลอนเสภา
กาพย์ยานี ๑๑ได้ถูกต้อง การระบุใจความสาคัญและรายละเอียดของข้อมูล ท่ีสนับสนุน จากเร่ืองที่อ่านจากส่ือ
ต่าง ๆ การวิจารณ์ และประเมิน เรื่องที่อ่านโดยใชก้ ลวิธีการเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ดีข้ึน การวจิ ารณ์
ความสมเหตุสมผล การลาดับความและความเปน็ ไปได้ของเร่ือง การตีความและประเมินคุณค่าและแนวคิด ที่ได้จาก
งานเขียนอย่างหลากหลาย เพ่ือนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต การมีมารยาทในการอ่านการคัดลายมือตัวบรรจงครึง่
บรรทัด ตามแบบอักษรที่สถานศึกษากาหนด การเขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ การเขียนจดหมายเชิญ
วทิ ยากร ขอความอนเุ คราะห์ แสดงความขอบคณุ การเขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ บทโฆษณา บทความทางวิชาการ
การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้าและโครงการการมีมารยาทในการเขียนการพูดแสดงความคิดเห็นและ
ประเมินเรื่อง การพูดรายงาน ตามประเด็นที่ศึกษา จากการฟังและการดู การสนทนา การพูดโน้มน้าวโดย
นาเสนอหลักฐานตาม ลาดับเนื้อหาอย่างมีเหตุผล และน่าเช่ือถือ การมีมารยาท ในการฟัง การดู และการพูด
คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ระดับภาษา คาศัพท์ทางวิชาการ วิชาชีพ การสรุปเน้ือหาวรรณคดีวรรณกรรม
และวรรณกรรมท้องถ่ิน การสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน เพ่ือนาไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตจริง การท่องจา
และบอกคณุ คา่ บทอาขยาน ขนุ ช้างขุนแผน ฉบับหอสมดุ แหง่ ชาติ ๒ บท และบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ณุ ค่าตามความสนใจ
และนาไปใช้อ้างองิ
โดยใช้กระบวนการการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทความ บทความปกิณกะ และบทรอ้ ยกรอง กลอนบท
ละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี ๑๑ ได้ถูกต้อง การระบุใจความสาคัญ รายละเอียดของข้อมูล การวิจารณ์ และ
ประเมินคุณค่า การวิจารณ์ ความสมเหตุสมผล การลาดับความ การตีความและประเมินคุณค่าและแนวคิด จาก
การอ่านงานเขียนเพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตการเขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ การเขียนจดหมายเชิญ
วิทยากร ขอความอนุเคราะห์ แสดงความขอบคุณ การเขยี นวิเคราะห์ วิจารณบ์ ทโฆษณา บทความทางวชิ าการ
การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้าและโครงการ ด้วยการคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ตามแบบอักษรท่ี
สถานศึกษากาหนด การพูดแสดงความคดิ เห็นและประเมินเรื่อง การพดู รายงาน ตามประเด็นที่ศึกษา จากการ
ฟังและการดู การสนทนา การพูดโน้มน้าวโดยนาเสนอหลกั ฐานตาม ลาดับเนื้อหาอยา่ งมีเหตุผล และน่าเชื่อถอื
การจาแนกและใช้คา ภาษาต่างประเทศ ที่ใช้ในภาษาไทย การวิเคราะห์ระดับภาษาการอธิบายความหมาย
คาศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ การสรุปเน้ือหาการสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน วรรณคดีวรรณกรรม
และวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ
เพ่อื ให้นาไปประยุกต์ ใช้ในชวี ติ จรงิ การท่องจาและบอกคุณคา่ บทอาขยานตามกาหนดและบทร้อยกรอง
ท่ีมีคุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อ้างอิง และเพื่อให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง
การดู การพดู มคี วามสามารถในการส่ือสาร ในการคดิ ในการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ผ้ใู ฝ่เรียนรู้
มีวินัย มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย รักท้องถิ่นบ้านเกิด มีจิตสาธารณะ มีคุณธรรม จริยธรรม และ
คา่ นยิ มท่เี หมาะสม
โรงเรียนสุมเส้าวิทยา
สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพิ่มเติม
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 48
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
รหสั ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๕, ม.๓/๗, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๕, ม.๓/๗, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๕
ท ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๔
รวมท้ังหมด ๒๒ ตวั ช้ีวัด
โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 49
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ท ๒3๑๐2 ภาษาไทย 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 รวม ๖๐ ช่ัวโมง
การอ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ บทความ บทความปกณิ กะ และบทร้อยกรอง กาพยฉ์ บัง ๑๖ โคลงสีส่ ุภาพ
ได้ถูกต้อง คาที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัยการเขียนกรอบและแผนผังความคิด บันทึก ย่อความ
รายงาน การประเมนิ ความถูกต้อง การวิเคราะห์ เพอ่ื แสดงความคิดเห็นโต้แย้งจากเร่ืองที่อ่าน การมมี ารยาทใน
การอ่านการคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ตามแบบอักษรที่สถานศึกษากาหนด การเขียนข้อความโดยใช้
ถ้อยคาได้ถูกต้องตามระดับภาษา การเขียนย่อความ การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็นและโต้แย้ง
อย่างมีเหตุผล การกรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยายเกี่ยวกับความรู้และทักษะของตนเองท่ีเหมาะสมกับ
งานการมีมารยาทในการเขียนการวิเคราะห์และวิจารณเ์ ร่ืองท่ีฟังและดู เพอ่ื นาข้อคิดมาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
การพูดโต้วาที การอภิปราย การยอวาที การมีมารยาท ในการฟัง การดู และการพูด การศึกษาประโยคซับซ้อน
คาทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ การแต่งโคลงสี่สุภาพ การวิเคราะห์ วิถีไทย และคุณค่าจากวรรณคดี และ
วรรณกรรมที่อ่าน การท่องบทอาขยาน โคลงโลกนิติและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้
อ้างองิ
โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองตามที่กาหนดได้ถูกต้อง การศึกษาคาท่ี
มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัยการเขียนกรอบและแผนผังความคิด บันทึก ย่อความ รายงาน การ
ประเมินความถูกต้อง การวิเคราะห์ เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้งจากเร่ืองที่อ่าน การเขียนข้อความโดยใช้
ถ้อยคาได้ถูกต้องตามระดับภาษาการเขียนยอ่ ความ การเขียนอธิบาย ช้ีแจง แสดงความคิดเห็นและโต้แย้ง อย่างมี
เหตุผล การกรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยายเกี่ยวกับความรู้และทักษะของตนเองท่ีเหมาะสมกับงาน
ด้วยการคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด ตามแบบอักษรที่สถานศึกษากาหนด การวิเคราะห์และวิจารณ์เร่ืองที่
ฟงั และดู
เพ่ือนาข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตกระบวนการพูดพูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์
กระบวนการการศึกษาโครงสร้างประโยคซับซ้อน คาทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ การแต่งโคลงส่ีสุภาพ
กระบวนการการวิเคราะห์ วิถีไทย และคุณค่าจากวรรณคดี และวรรณกรรมที่อ่าน การท่องบทอาขยานตามที่
กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อ้างอิง และเพ่ือให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการ
อ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด มีความสามารถในการสื่อสาร ในการคิด ในการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้
เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มุ่งม่ันในการทางาน รักความเป็นไทย รักท้องถิ่นบ้านเกิด มีจิตสาธารณะ
มีคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสม
รหสั ตวั ช้วี ัด
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๔, ม.๓/๖, ม.๓/๘, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๖, ม.๓/๘, ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๔, ม.๓ /๖
ท ๔.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๔
ท ๕.๑ ม.๓/๓, ม.๓/๔
รวมท้ังหมด ๑๘ ตัวชวี้ ัด
โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา
สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมูลเพิ่มเติม
หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 50
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
รายวิชาเพมิ่ เติม
รายวชิ าเพม่ิ เติมระดับประถมศึกษา จานวน 4๐ ชั่วโมง
ท ๑๑2๐๑ ภาษาไทย (เพม่ิ เตมิ ) 1 จานวน 4๐ ชว่ั โมง
ท ๑22๐๑ ภาษาไทย (เพิ่มเติม) 2 จานวน 4๐ ชวั่ โมง
ท ๑32๐๑ ภาษาไทย (เพม่ิ เตมิ ) 3
โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพมิ่ เตมิ
หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 51
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ท 11201 ภาษาไทย (เพิม่ เติม) 1 เวลา 40 ชวั่ โมง
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1
อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง และข้อความสั้น ๆ บอกความหมายของคา และข้อความท่ีอ่าน
ตอบคาถามเก่ียวกับเร่ืองท่ีอ่าน เล่าเร่ืองย่อจากเร่ืองท่ีอ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองที่อ่าน อ่านหนังสือ
ตามสนใจอย่างสม่าเสมอ และนาเสนอเร่ืองที่อ่าน บอกความหมายของเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์สาคัญที่พบ
เห็นในชีวิตประจาวัน มีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือ ตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสื่อสารด้วยคาและประโยค
ง่าย ๆ มีมารยาทในการเขียน ฟังคาแนะนา คาส่ังง่าย ๆ และปฏิบัติตาม ตอบคาถาม เล่าเร่ืองท่ีฟังและดูทั้งท่ี
เป็นความรู้ ความบันเทิง พูดแสดงความคิดเห็น และความรู้สึกจากเร่ืองท่ีฟังและดู พูดส่ือสารได้ตาม
วัตถุประสงค์ มมี ารยาทในการฟงั การดู การพูด บอก และเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ เลขไทย เขยี นสะกด
คา และบอกความหมายของคา เรียบเรียงคาเป็นประโยคง่าย ๆ ต่อคาคล้องจองง่าย ๆ บอกข้อคิดท่ีได้จาก
การอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้ว ร้อยกรองสาหรับเด็ก ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด และบทร้อย
กรองตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการคดิ ทกั ษะการส่ือสาร สรปุ วเิ คราะหข์ อ้ มูล จากเรอื่ งและส่ือตา่ ง ๆ ท่อี า่ นฟังและดู
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจสามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจ
นาไปใช้ชีวิตประจาวันได้อย่างภาคภูมิใจ รักความเป็นไทย ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่
อย่างพอเพยี ง มงุ่ ม่ันทางานและมจี ิตสาธารณะ
ผลการเรียนรู้
1. เขา้ ใจในขอ้ ความเรื่องสั้น บทอาขยาน คาคล้องจอง
2. เขยี นคาสะกดคาตามมาตราตา่ ง ๆ ได้ถูกต้อง
3. อ่านคดิ ถามและตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
4. เขยี นสะกดคาและตอบคาถามไดถ้ กู ต้อง
รวมท้ังหมด 4 ผลการเรยี นรู้
โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพ่ิมเติม
หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 52
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ท 12201 ภาษาไทย (เพิม่ เติม) 2 เวลา 40 ชั่วโมง
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 2
การอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆอธิบาย ความหมายของคา และ
ข้อความ อ่านจับใจความ การต้ังคาถาม และตอบคาถามเก่ียวกับเรื่องท่ีอ่าน การแจกลูกและการอ่านเป็นคา
บอกความหมายของคา การแตง่ ประโยค การเรยี บเรยี งประโยคเป็นข้อความ คาคล้องจอง ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถิ่น บอกข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสาหรับเด็ก ร้องบทร้องเล่น ท่องจาบทอาขยาน
และบทรอ้ ยกรอง
โดยใชท้ ักษะการอา่ น การเขยี น และการฟัง การดูและการพูด
เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการอ่าน การเขียน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน
การฟัง ดูและพูด สามารถนาความรู้ ขอ้ คดิ ท่ีได้ ไปใชใ้ นชีวิตจรงิ ไดจ้ นเกิดความภาคภูมิใจในภาษาไทย
ผลการเรียนรู้
1. สามารถอา่ น และออกเสยี งคา ประโยคท่ีมีคาควบกล้าได้ถูกต้องชัดเจน
2. ออกเสียงคา ร/ล ไดถ้ กู ตอ้ งชดั เจน
3. สามารถแยกคาควบกล้าแท้และควบกล้าไม่แท้ได้
4. นาคาควบกลา้ แท้ ควบกลา้ ไม่แทม้ าแต่งประโยค และเรื่องราวตา่ ง ๆ ได้
รวมทั้งหมด 4 ผลการเรยี นรู้
โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่ิมเตมิ
หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 53
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ท 13201 ภาษาไทย (เพิม่ เตมิ ) 3 เวลา 40 ช่วั โมง
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3
ศึกษาการอ่านออกเสียงคา ข้อความสั้น ๆ บทร้อยกรองง่าย ๆ การอ่านบทอาขยานการอ่าน
ความหมายของคาและข้อความ การอ่านหนังสือตามความสนใจ การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย การอ่าน
วรรณกรรม การอ่านสะกดคา การอ่านประโยคง่าย ๆ การอ่านคาคล้องจอง การอ่านคาขวัญ การแต่งคาคล้อง
จองการเขียนบรรยายเร่ือง การเขียนบันทึกประจาวัน การเขียนรายงานจากการค้นคว้า การเขียนจดหมายลา
ครู การเขยี นจดหมายถึงเพ่ือนและบดิ ามารดา การเขียนเรอื่ งตามจนิ ตนาการ การเล่ารายละเอียดเกย่ี วกบั เรื่อง
ทไี่ ด้ฟังและดู การตงั้ คาถามและตอบคาถามเก่ียวกับเรื่องที่ได้ฟังและดู การพูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก
ที่ได้ฟงั และดู การพดู สือ่ สารไดช้ ัดเจน การเขียนสะกดคา
โดยใช้ทักษะทางภาษาในสิ่งท่ีฟัง ดูและพูด สามารถจับใจความสาคัญได้อย่างถูกต้อง แสดงความ
คิดเห็นจากเรื่องท่ีฟังและดู มีทักษะในการเขียน เขียนได้ถูกต้อง สวยงาม มีระเบียบ สื่อความได้รู้หลักเกณฑ์
การเขียนและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ได้ อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง ชัดเจนตามหลักเกณฑ์การอ่านสามารถต้ัง
คาถามและตอบคาถาม เล่าเร่ืองทีอ่ า่ นได้
เพื่อให้ได้ความรู้ ความเข้าใจ ความบันเทิง และความคิดจากส่ิงที่ได้อ่าน ฟัง ดูและเขียน นาความรู้ไป
ใชใ้ นชวี ติ ประจาวันเกิดความภาคภูมิใจในภาษาไทย
ผลการเรียนรู้
1. สรปุ ใจความสาคัญของเรอ่ื งทอ่ี า่ นได้
2. สามารถสรุปขอ้ เทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเหน็ ได้
3. ตงั้ คาถาม และตอบคาถามจากเร่อื งทอี่ า่ น ฟงั ดู และการพูดได้อยา่ งมีเหตุผล
4. เขียนแสดงความคิดเหน็ แสดงความรู้จากเรอ่ื งทีอ่ ่านได้
รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้
โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมูลเพม่ิ เติม
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 54
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
รายวิชาพนื้ ฐาน จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
จานวน ๒๐๐ ชัว่ โมง
รายวชิ าพืน้ ฐานระดบั ประถมศึกษา จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ จานวน ๑๖๐ ช่วั โมง
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ จานวน 60 ชั่วโมง
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ จานวน 60 ชั่วโมง
จานวน 60 ชั่วโมง
รายวชิ าพน้ื ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จานวน 60 ชวั่ โมง
ค 2๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ จานวน 60 ชั่วโมง
ค 21๑๐2 คณติ ศาสตร์ ๒ จานวน 60 ช่ัวโมง
ค 22๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓
ค 22๑๐2 คณิตศาสตร์ ๔
ค 23๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕
ค 23๑๐2 คณิตศาสตร์ ๖
โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพมิ่ เตมิ
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 55
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 1 คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง
ศึกษา ฝึกทกั ษะการคิดคานวณและฝกึ แกป้ ัญหา จานวนนบั ๑ ถงึ ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจานวน
ส่ิงต่าง ๆ ตามจานวนที่กาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับที่หลัก ค่าของเลข
โดดในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจานวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้
เคร่ืองหมาย = ≠ > < เรียงลาดับจานวนต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ จานวน และหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
สัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐
ความยาวและน้าหนัก สร้างโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบของ
จานวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐ และ ๐ ระบจุ านวนที่หายไปในแบบรูปของจานวนทเ่ี พม่ิ ขนึ้ หรือลดลงทีละ ๑ ทลี ะ ๑๐
รูปทห่ี ายไป ในแบบรูปซ้าของรปู เรขาคณติ และรูปอ่นื ๆ ทส่ี มาชิกในแต่ละชดุ ท่ีซา้ มี ๒ รปู
วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร น้าหนักเป็นกิโลกรัมเป็นขีด และใช้หน่วยท่ี
ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน จาแนกรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม
ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เมื่อกาหนดรูป ๑ รูป
แทน ๑ หนว่ ย
ในการจดั การเรยี นรู้ได้กาหนดสถานการณ์เพ่ือให้ผูเ้ รยี นได้ศึกษา คน้ คว้า ฝกึ ทักษะ โดยการปฏิบัติจริง
สรุปเนื้อหา มีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรข์ องผ้เู รียน นาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้
รหัสตวั ชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑
รวมทง้ั หมด ๑๐ ตัวช้วี ัด
โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ
หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 56
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ค ๑2๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 2 คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณและฝึกแก้ปัญหา จานวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดง
จานวนสิ่งต่าง ๆ ตามจานวนที่กาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับท่ีหลัก
ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจานวนในรปู กระจาย เปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ
๐ โดยใช้เคร่ืองหมาย = ≠ > < เรียงลาดับจานวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ จานวน และหา
ค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบของ
จานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑
หลกั กบั จานวนไม่เกิน ๒ หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตัวต้ังไม่เกนิ ๒ หลัก ตวั หาร ๑ หลกั โดย
ท่ีผลหาร มี ๑ หลัก ทั้งหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนับไมเ่ กิน
๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธี
หาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกีย่ วกับเวลาทีม่ ีหน่วยเดยี่ วและเปน็ หน่วยเดียว
วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคาตอบของโจทย์
ปัญหาการบวก การลบความยาวท่ีมีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบน้าหนัก เป็นกิโลกรัม
และกรัม กิโลกรัมและขีด พร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบเก่ียวกับน้าหนักที่มี
หน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด วัดและเปรียบเทยี บปริมาตรและความจเุ ปน็ ลิตร จาแนกและบอก
ลักษณะของรูปหลายเหล่ียมและวงกลม ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
เมอื่ กาหนดรูป ๑ รปู แทน ๒ หนว่ ย ๕ หนว่ ย หรอื ๑๐ หน่วย
ในการจัดการเรยี นรู้ไดก้ าหนดสถานการณ์เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนได้ศึกษา คน้ คว้า ฝกึ ทกั ษะ โดยการปฏิบัติจริง
สรุปเนื้อหา มีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ของผูเ้ รยี น และนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้
รหัสตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวมท้งั หมด ๑๖ ตวั ชว้ี ัด
โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพ่มิ เติม
หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 57
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ค ๑3๑๐๑ คณิตศาสตร์ 3 คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
อา่ นและเขยี น ตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนังสือแสดงจานวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐
และ ๐ เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่าน
และเขียนเศษส่วนท่ีแสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามเศษส่วนที่กาหนด เปรียบเทียบเศษสว่ นท่ี
ตวั เศษเท่ากนั โดยที่ตวั เศษนอ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กับตัวส่วน หาคา่ ของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการ
บวกและการลบของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดง
การคูณของจานวน ๑ หลัก กับจานวนไม่เกิน ๔ หลัก และจานวน ๒ หลักกับจานวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่
ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตัวต้ังไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์การบวก
ลบ คูณ หารระคน และแสดงวิธีการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐
และ ๐ หาผลบวกและแสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวกของเศษส่วนท่ีมีตัวสว่ นเท่ากัน และผลบวก
ไมเ่ กนิ ๑ และหาผลลบพรอ้ มท้งั แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาการลบของเศษสว่ น ที่มตี วั ส่วนเท่ากนั ระบุ
จานวนที่หายไปในแบบรูปของจานวนที่เพ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละเท่า ๆ กัน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
เก่ยี วกบั เงิน เวลา และระยะเวลา เลอื กใช้เครอ่ื งมือความยาวที่เหมาะสม วัดและบอกความยาวของสง่ิ ต่าง ๆ
เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร
เปรียบเทียบความยาวและแสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ยี วกับระหว่างเซนติเมตรกบั มลิ ลเิ มตร เมตรกับ
เซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เครื่องชั่งท่ีเหมาะสม วัด และบอกน้าหนักเป็น
กิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้าหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบน้าหนักและแสดงวธิ ี
หาคาตอบของโจทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั น้าหนักทม่ี ีหน่วยเป็นกโิ ลกรัมกับกรัม เมตริกตนั กับกโิ ลกรมั จากสถานการณ์
ต่าง ๆ เลือกใช้เครอ่ื งตวงทเี่ หมาะสม
วัดและเปรียบเทียบปรมิ าตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์
ปัญหาเก่ียวกบั ปรมิ าตรและความจเุ ปน็ ลิตรและมิลลิเมตร ระบุรูปเรขาคณติ สองมติ ทิ ่ีมแี กนสมมาตรและจานวน
แกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพ และใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เขียน
ตารางทางเดยี วจากข้อมูล ทีเ่ ป็นจานวนนบั และใช้ขอ้ มลู จากตารางทางเดยี วในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา
ในการจัดการเรียนรู้ได้กาหนดสถานการณ์เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบัติ
จริง สรุปเน้ือหา มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ของผเู้ รียน นาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้
รหสั ตัวชวี้ ดั
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐,
ป.๓/๑๑, ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวมทัง้ หมด ๒๘ ตวั ช้วี ดั
โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพ่ิมเติม
หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 58
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ค ๑4๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 4 คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
เวลา 16๐ ชัว่ โมง
ศึกษา ฝึกทักษะการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับท่ี
มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมท้ังเปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์
ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียนเศษส่วน จานวนคละแสดงปริมาณส่ิงต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วน
จานวนคละที่กาหนด เปรียบเทียบ เรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละท่ีตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหูคูณของอีกตัว
หนึ่ง อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ตามทศนิยมที่กาหนด เปรียบเทียบ
และเรียงลาดับทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหาร จาก
สถานการณต์ ่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบของ
จานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจานวนหลายหลัก ๒ จานวน ที่มีผลคูณไม่เกิน ๖
หลัก และแสดงการหารท่ีตัวตั้งไม่เกิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกิน ๒ หลัก หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน
ของจานวนนับ และ ๐ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐
และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจานวนนับ และ ๐ พร้อมท้ังหาคาตอบ หาคาตอบและแสดงวิธีหา
คาตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก การลบของเศษส่วนและจานวนคละท่ตี วั ส่วนตัวหนง่ึ เป็นพหคู ูณของอกี ตัวหน่ึง
หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ ๒
ข้ันตอนของทศนยิ มไม่เกนิ ๓ ตาแหนง่ แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ญั หาเกย่ี วกบั เวลา
วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป
และพื้นท่ีของรูปส่ีเหลี่ยมมุมฉาก จาแนกชนิดของมุม บอกชื่อมุม ส่วนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณ์
แสดงมมุ สรา้ งรปู ส่ีเหล่ียมมุมฉากเมื่อกาหนดความยาวของดา้ น และใชข้ ้อมลู จากแผนภูมิแท่ง ตารางสองทาง
ในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
ในการจัดการเรียนรู้ได้กาหนดสถานการณ์เพ่ือให้ผเู้ รียนได้ศึกษา คน้ คว้า ฝึกทกั ษะ โดยการปฏบิ ัติจริง
สรุปเน้ือหา มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง
คณติ ศาสตร์ของผู้เรียน นาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้
รหสั ตัวชว้ี ดั
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐,
ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑
รวมทัง้ หมด ๒๒ ตวั ชีว้ ดั
โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพ่มิ เติม
หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 59
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ค ๑5๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 5 คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์
เวลา 16๐ ชัว่ โมง
เขียนเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม
แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญตั ิไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหาร ของเศษส่วนและ
จานวนคละ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ขั้นตอน หาผล
คูณของทศนิยม ที่ผลคูณเป็นทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง หาผลหารท่ีตัวต้ังเป็นจานวนนบั หรือทศนิยมไม่เกิน ๓
ตาแหนง่ และตัวหารเปน็ จานวนนับ ผลหารเปน็ ทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตาแหนง่ แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหา
การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๒ ข้ันตอน และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละไม่เกิน ๒
ข้ันตอน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว น้าหนัก ท่ีมีการเปล่ียนหน่วยและเขียนในรูป
ทศนิยม แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรของทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะ
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปส่ีเหลี่ยมและพ้ืนที่ของรูปส่ีเหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหล่ียมขนม
เปียกปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กาหนดให้ จาแนกรูป
สเ่ี หลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบตั ิของรูป
สร้างรปู ส่เี หลีย่ มชนิดต่าง ๆ เมือ่ กาหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมหรือเมื่อกาหนดความยาว
ของเส้นทแยงมุม และบอกลักษณะของปริซึม ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา และ
เขียนแผนภูมแิ ทง่ จากขอ้ มลู ทเี่ ปน็ จานวนนับ
ในการจัดการเรยี นรู้ได้กาหนดสถานการณ์เพื่อให้ผ้เู รยี นได้ศึกษา คน้ ควา้ ฝกึ ทักษะ โดยการปฏิบัติจริง
สรุปเนื้อหา มีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ของผเู้ รียนนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้
รหัสตัวช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒,
รวมทง้ั หมด ๑๙ ตัวชี้วดั
โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ
หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 60
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ค ๑6๑๐๑ คณิตศาสตร์ 6 คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์
เวลา 16๐ ชวั่ โมง
เปรียบเทียบ เรียงลาดับ เศษส่วนและจานวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ
เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจานวนนับ
หาอัตราส่วนท่ีเท่ากับอัตราส่วนที่กาหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับ ไม่เกิน ๓ จานวน แสดงวิธี
หาคาตอบของโจทย์ปัญหาโดยใชค้ วามรู้เก่ียวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลพั ธข์ องการบวก ลบ คณู หารระคน
ของเศษส่วนและจานวนคละ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจานวนคละ ๒ – ๓ ข้ันตอน หา
ผลหารของทศนยิ มท่ีตวั หารและผลหารเป็นทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตาแหน่ง แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการ
บวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ขั้นตอน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาอัตราส่วน ปัญหาร้อยละ
๒ – ๓ ข้ันตอน แสดงวิธีคิดและหาคาตอบของปัญหาเก่ียวกับแบบรูป แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับปริมาตรของรปู เรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงส่เี หลย่ี มมุมฉาก และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์
ปัญหาเกี่ยวกบั ความยาวรอบรปู และพน้ื ท่ขี องรูปหลายเหล่ยี ม ความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ขี องวงกลม จาแนกรปู
สามเหล่ยี มโดยพิจารณาจากสมบัติของรปู
สร้างรูปสามเหล่ียมเม่ือกาหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิต
สามมิติชนิดต่าง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติ ท่ีประกอบจากรูปคลี่และระบุรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใช้ข้อมูลจากแผนภมู ิรูปวงกลมในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาในการจดั การเรยี นรู้ไดก้ าหนดสถานการณ์
เพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะโดยการปฏิบัติจริง สรุปเน้ือหา มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน นาไปใช้ใน
ชวี ิตประจาวนั ได้
รหัสตัวช้วี ัด
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐,
ป.๖/๑๑, ป.๖/๑2
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑
รวมทัง้ หมด ๒1 ตวั ชี้วดั
โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่ิมเตมิ
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 61
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
ค ๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 รวม ๖๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษาและฝึกทักษะเก่ียวกับจานวนเต็ม จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์ การเปรียบเทียบจานวน
เตม็ การบวก ลบ คูณ หารจานวนเตม็ สมบตั ิของจานวนเต็มและการนาไปใช้ เลขยกกาลงั ความหมายของเลข
ยกกาลัง การเขียนจานวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ การคูณการหารเลขยกกาลังที่มีฐานเดียวกันและเลขช้ี
กาลังเป็นจานวนเต็ม ห.ร.ม. และ ค.ร.น.การหา ห.ร.ม.ของจานวนนับ การหา ค.ร.น. ของจานวนนับ การ
แกป้ ัญหาโดยใช้ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.พ้นื ฐานทางเรขาคณติ การสรา้ งรูปเรขาคณติ สองมิตโิ ดยใช้การสร้างพ้ืนฐาน
การสารวจสมบัติทางเรขาคณิต
โดยจัดประสบการณห์ รือสถานการณ์ในชวี ติ ประจาวนั ทใ่ี กลต้ วั ผูเ้ รยี นให้ผ้เู รยี นได้ศึกษาค้นคว้าโดยการ
ปฏบิ ัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน
เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั อยา่ งสร้างสรรค์ รวมทงั้ เห็นคุณค่าและมเี จตคตทิ ด่ี ีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่าง
เป็นระบบ ระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มีความรบั ผิดชอบ มวี ิจารณญาณและมีความเชอ่ื มนั่ ตนเอง
รหสั ตวั ชว้ี ดั
ค ๑.๑ ม.๑/๑
ค ๑.๑ ม.๑/๒
ค ๑.๓ ม.๑/๑
ค ๒.๒ ม.๑/๒
รวมท้ังหมด ๔ ตัวชี้วดั
โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่ิมเตมิ
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 62
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ค ๒๑๑๐2 คณติ ศาสตร์ 2 กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 รวม ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ
ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับเศษส่วนและทศนิยม การเปรียบเทียบเศษส่วนและทศนิยม การบวก ลบ
คูณ หาร เศษส่วน ทศนิยม โจทย์ปัญหาหรือสถานการณ์เก่ียวกับเศษส่วนและทศนิยมการประมาณค่าการ
ประมาณค่าในสถานการณ์ต่าง ๆ การแก้โจทย์ปัญหาโดยใชก้ ารประมาณค่าความสัมพันธร์ ะหว่างรูปเรขาคณิต
สองมิติและสามมติ ิภาพของรปู เรขาคณิตสามมิติภาพท่ีได้จากการมองทางด้านหน้าด้านข้างและด้านบนของรูป
เรขาคณิตสามมิติ การวาดหรือประดิษฐร์ ูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบข้ึนจากลูกบาศก์ ภาพของรูปเรขาคณติ
สองมิตทิ ี่เกิดจากการคลร่ี ูปเรขาคณิตสามมิติ สมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดยี วการเขียนและการแกส้ มการเชิงเส้นตัว
แปรเดยี ว การแกโ้ จทยป์ ญั หาสมการเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คู่อันดบั และกราฟ คอู่ นั ดบั กราฟและ
การนาไปใช้ โอกาสของเหตกุ ารณ์ การหาโอกาสของเหตุการณ์ การนาไปใช้ในชีวิตจรงิ
โดยจดั ประสบการณ์หรอื สถานการณ์ในชีวิตประจาวันที่ใกล้ตัวผเู้ รียนให้ผ้เู รียนได้ศึกษาคน้ ควา้ โดยการ
ปฏบิ ตั จิ รงิ ทดลอง สรุปรายงาน
เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และใช้ในชวี ิตประจาวนั อยา่ งสร้างสรรค์ รวมทง้ั เหน็ คุณคา่ และมีเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ คณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่าง
เปน็ ระบบ ระเบยี บ มีความรอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณและมคี วามเช่ือม่นั ตนเอง
รหสั ตวั ชว้ี ดั
ค 1.1 ม.1/3
ค 1.3 ม.1/2
ค 1.3 ม.1/3
ค 2.2 ม.1/1
ค 3.1 ม.1/1
รวมท้ังหมด 5 ตวั ชวี้ ดั
โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพมิ่ เติม
หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 63
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน
ค ๒2๑๐1 คณติ ศาสตร์ 3 กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 รวม ๖๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ
ศึกษาและฝึกทักษะเก่ียวกับอัตราส่วนและร้อยละ อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ การแก้โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ การวัด หน่วยความยาว พื้นที่ การแก้ปัญหาหรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
โดยใช้ความรู้เก่ียวกับพื้นที่ การคาดคะเนแผนภูมิรูปวงกลม การอ่านแผนภูมิรูปวงกลม การเขียนแผนภูมิรูป
วงกลม การแปลงทางเรขาคณิต การเล่ือนขนาน การสะท้อน การหมุนความเท่ากันทุกประการ ความเท่ากัน
ทุกประการของรูปสามเหลี่ยม รูปสามเหล่ียมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน – มุม – ด้าน , มุม – ด้าน – มุม ,
ดา้ น – ดา้ น – ดา้ น
โดยจัดประสบการณห์ รือสถานการณ์ในชวี ิตประจาวันทใี่ กลต้ ัวผเู้ รยี นใหผ้ เู้ รยี นได้ศึกษาค้นคว้าโดยการ
ปฏบิ ัตจิ รงิ ทดลอง สรุปรายงาน
เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และใชใ้ นชีวติ ประจาวันอย่างสรา้ งสรรค์ รวมท้งั เห็นคุณคา่ และมีเจตคตทิ ี่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่าง
เป็นระบบ ระเบียบ มคี วามรอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณและมีความเชือ่ มนั่ ตนเอง
รหัสตวั ช้ีวัด
ค ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/2
ค ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/2
ค ๒.๒ ม.๒/๔, ม.๒/๔
รวมทั้งหมด ๖ ตวั ช้ีวดั
โรงเรียนสุมเส้าวิทยา
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่มิ เติม
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 64
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
ค ๒2๑๐2 คณติ ศาสตร์ 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 รวม ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ
ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับจานวนจริง จานวนตรรกยะ จานวนอตรรกยะ
รากท่ีสอง รากท่ีสาม การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้
โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวทฤษฎีบทพีทาโกรัส ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส
การแก้ปัญหาหรือสถานการณ์โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับเส้นขนาน สมบัติของเส้นขนาน
รูปสามเหลี่ยมสองรูปท่ีสัมพันธ์กันแบบ มุม – มุม – ด้าน การให้เหตุผลและแก้ปัญหาโดยใช้สมบัติของเส้น
ขนาน และความเทา่ กันทุกประการของรปู สามเหลี่ยม
โดยจัดประสบการณห์ รอื สถานการณ์ในชวี ติ ประจาวนั ที่ใกลต้ ัวผูเ้ รยี นใหผ้ ูเ้ รียนได้ศึกษาคน้ คว้าโดยการ
ปฏิบตั จิ รงิ ทดลอง สรุปรายงาน
เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และใช้ในชวี ิตประจาวนั อย่างสรา้ งสรรค์ รวมทง้ั เหน็ คณุ ค่าและมเี จตคติท่ีดีต่อคณติ ศาสตร์ สามารถทางานอย่าง
เป็นระบบ ระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มคี วามรับผิดชอบ มวี จิ ารณญาณและมคี วามเชอ่ื มั่นตนเอง
รหสั ตัวชว้ี ัด
ค ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/2
ค ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/2, ม.๒/3
ค ๓.๑ ม.๒/๑
รวมท้ังหมด ๖ ตวั ช้ีวดั
โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมูลเพิ่มเติม
หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 65
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ค ๒3๑๐1 คณิตศาสตร์ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 รวม ๖๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ
ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับปริมาตรและพื้นที่ผิว การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก
การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม การเปรียบเทียบหน่วยปริมาตร การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับ
พ้ืนท่ีผิวและปริมาตรระบบสมการเชิงเส้น สมการเชิงเส้นสองตัวแปร กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบ
สมการเชิงเสน้ สองตวั แปรความคล้าย รูปท่คี ล้ายกนั รูปสามเหลย่ี มทีค่ ลา้ ยกัน สมบตั ิของรูปสามเหลี่ยมท่ีคล้าย
การนาไปใช้กราฟ กราฟเสน้ ตรง กราฟเสน้ ตรงกับการนาไปใช้ กราฟอนื่ ๆ
โดยจดั ประสบการณห์ รือสถานการณ์ในชวี ิตประจาวนั ทใ่ี กลต้ ัวผู้เรยี นใหผ้ ู้เรียนได้ศึกษาคน้ ควา้ โดยการ
ปฏบิ ัตจิ ริง ทดลอง สรปุ รายงาน
เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคานวณการแก้ปัญหาการให้เหตุผลการสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์และนาประสบการณ์ด้านความรู้ความคิดทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และ
ใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์สามารถทางานอย่างเป็น
ระบบระเบยี บมคี วามรอบคอบมคี วามรบั ผิดชอบมวี ิจารณญาณและมีความเชือ่ มั่นตนเอง
รหัสตัวชว้ี ดั
ค ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/2
ค ๑.๓ ม.๓/๑, ม.๓/2, ม.๓/3
ค ๓.๒ ม.๓/๑
รวมทั้งหมด ๖ ตัวช้ีวดั
โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 66
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ค ๒3๑๐2 คณติ ศาสตร์ 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 รวม ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษาและฝึกทักษะเก่ียวกับอสมการคาตอบและกราฟแสดงคาตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สถิติ การกาหนด
ประเด็น การเขียนข้อความ การกาหนดวิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูลการนาเสนอข้อมูล การหาค่า
กลางของข้อมูล การเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูลการอ่านการแปลความหมายและการวิเคราะห์ข้อมูล การใช้
ข้อมูลสารสนเทศความน่าจะเป็นการทดลองสุ่มและเหตุการณ์การหาความน่าจะเปน็ ของเหตุการณ์การนาไปใช้
การเสริมทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การเสรมิ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับเลขยกกาลัง
อตั ราสว่ นและร้อยละ ปรมิ าตรและพน้ื ท่ผี ิวสถติ ิ ความนา่ จะเป็น
โดยจัดประสบการณห์ รอื สถานการณ์ในชีวิตประจาวันทใ่ี กล้ตัวผู้เรียนให้ผู้เรยี นได้ศึกษาคน้ คว้าโดยการ
ปฏบิ ัตจิ ริง ทดลอง สรุปรายงาน
เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ
และใช้ในชีวิตประจาวนั อย่างสร้างสรรค์ รวมทงั้ เห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่าง
เปน็ ระบบระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณและมีความเชอ่ื ม่นั ตนเอง
รหัสตวั ชว้ี ดั
ค ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/2
ค ๒.๒ ม.๓/๑, ม.๓/2, ม.๓/3
ค ๓.๑ ม.๓/๑
รวมท้ังหมด ๖ ตวั ช้วี ัด
โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 67
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
รายวชิ าเพม่ิ เติม
รายวิชาเพิ่มเติมระดับประถมศกึ ษา จานวน 4๐ ชว่ั โมง
ค ๑42๐๑ คณิตศาสตร์ (เพ่มิ เตมิ ) 1 จานวน 4๐ ชวั่ โมง
ค ๑52๐๑ คณติ ศาสตร์ (เพิ่มเตมิ ) 2 จานวน 4๐ ชว่ั โมง
ค ๑62๐๑ คณติ ศาสตร์ (เพม่ิ เติม) 3
โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพิม่ เตมิ
หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 68
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
ค ๑42๐๑ คณติ ศาสตร์ (เพ่ิมเตมิ ) 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 เวลา 40 ชวั่ โมง
การเขยี นตัวเลขฮินดอู ารบกิ ตวั เลขไทย และตวั หนังสอื แสดงจานวนนับ การอ่านความหมาย การเขียน
การอ่านเศษส่วน ความหมายการเขียน และการอ่านทศนิยมหนึ่งตาแหน่ง หลักและค่าของเลขโดดในแต่ละ
หลักของจานวนนับ การใช้เลขศูนย์ เพ่ือยึดตาแหน่งของหลัก การเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูปกระจาย
การเปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับ การเปรียบเทียบและเรียงลาดับเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน
การเปรียบเทียบและเรียงลาดับทศนิยมหนึ่งตาแหน่ง การบวก การลบ การคูณจานวนหนึ่งหลักกับจานวน
มากกว่าส่ีหลัก การคูณจานวนมากกว่าหน่ึงหลักกับจานวนมากกว่าสองหลัก การหารท่ีตัวหารไม่เกินสามหลัก
การบวก ลบ คูณ หารระคน การเฉลี่ย โจทย์ปัญหาการบวก การลบ โจทย์ปัญหาการคูณจานวนหน่ึงหลักกับ
จานวนมากกว่าส่ีหลัก โจทย์ปัญหาการคูณจานวนมากกว่าหนึ่งหลักกับจานวนมากกว่าสองหลัก โจทย์ปัญหา
การหารที่ตัวหารไม่เกิน สามหลัก โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน การสร้างโจทย์ปัญหาการบวก
การลบ การคูณ การหาร การบวกและการลบเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน ความสัมพันธ์ของหน่วยการชั่ง (กรัม
กับกิโลกรัม กิโลกรัมกับเมตริกตัน ขีดกับกรัม) การตวง (มิลลิลิตรกับลูกบาศก์เซนติเมตร มิลลิลิตรกับลิตร
ลกู บาศก์เซนตเิ มตรกับลิตร) หนว่ ยเวลา (วินาทีกบั นาที นาทีกับชว่ั โมง ชว่ั โมงกบั วัน วนั กับสัปดาห์ วันกบั เดือน
สัปดาห์กับปี เดือนกับปี วันกับปี) การหาพ้ืนท่ีเป็นตารางหน่วยและตารางเซนติเมตร การหาพ้ืนที่ของรูป
สี่เหลี่ยมมุมฉาก การบอกเวลาจากหน้าปัดนาฬิกาเป็นนาฬิกาและนาที การเขียนบอกเวลาโดยใช้จุดและการ
อ่าน การบอกระยะเวลา การคาดคะเนความยาว (เมตรเซนติเมตร วา) คาดคะเนน้าหนัก (กิโลกรัม ขีด)
คาดคะเนปรมิ าตรหรือความจุ (ลิตร)
โดยจัดประสบการณห์ รือสถานการณ์ในชวี ิตประจาวันทีใ่ กลต้ วั ผู้เรยี นใหผ้ ู้เรยี นได้ศึกษาค้นควา้ โดยการ
ปฏิบัติจริง ทดลอง สรปุ รายงาน
เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหาการให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั อยา่ งสร้างสรรค์ รวมทง้ั เหน็ คุณค่าและมีเจตคติทดี่ ีต่อคณิตศาสตร์สามารถทางานอย่าง
เป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชอื่ มัน่ ตนเอง
ผลการเรยี นรู้
1. เขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทยได้
2. เขียนตวั เลขแสดงจานวนในรูปกระจายได้
3. แกโ้ จทย์ปัญหาการคูณได้
4. หาความสัมพันธ์ของหน่วยการชง่ั ได้
5. หาพืน้ ทข่ี องรปู สี่เหล่ยี มมุมฉากได้
รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพ่มิ เติม
หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 69
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ
ค ๑52๐๑ คณิตศาสตร์ (เพมิ่ เตมิ ) 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 เวลา 40 ชว่ั โมง
ศึกษาความหมาย การอ่าน และการเขียนเศษส่วนแท้ เศษเกิน จานวนคละ และทศนิยม ไม่เกินสอง
ตาแหน่ง เศษส่วนท่ีเท่ากับจานวนนับ การเขียนจานวนนับในรูปเศษส่วน การเขียนเศษเกินในรูปจานวนคละ
และการเขียนจานวนคละในรูปเศษเกิน เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วนอย่างต่า การบวก การลบเศษส่วนที่ตัว
ส่วนตัวหน่ึงเป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหนึ่ง การคูณเศษส่วนกับจานวนนับ เศษส่วนกับเศษส่วน การหาร
เศษส่วนด้วยจานวนนับ การหารจานวนนับด้วยเศษส่วน เศษส่วนด้วยเศษส่วน การบวก ลบ คูณระคนของ
เศษส่วน การบวกและการลบทศนิยม ไม่เกินสองตาแหน่ง การคูณทศนิยมไม่เกินสองตาแหน่งกับจานวนนับ
การคณู ทศนิยมหนึ่งตาแหนง่ กบั ทศนิยมหนงึ่ ตาแหน่ง การบวก ลบ คูณระคนของทศนยิ ม โจทย์ปญั หาการบวก
การลบ การคูณ การหาร และการบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนับ การหาปริมาตรหรือความจุของทรง
สี่เหล่ียมมุมฉากโดยใช้สูตร โจทย์ปัญหาเก่ียวกับพ้ืนท่ีของรูปส่ีเหล่ียมมุมฉาก และรูปสามเหล่ียม โจทย์ปัญหา
เก่ียวกับความยาวรอบรูปของรูปส่ีเหลี่ยมมุมฉากและรูปสามเหล่ียม ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ปริซึม
พีระมิด รูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส ส่ีเหล่ียมผืนผ้า ส่ีเหลี่ยมขนมเปียกปูน สี่เหลี่ยมด้านขนาน สี่เหล่ียมคางหมู
และส่ีเหลี่ยมรูปว่าว รูปสามเหลี่ยมแบ่งตามลักษณะของด้าน รูปสามเหล่ียมแบ่งตามลักษณะของมุม
ส่วนประกอบของรูปสามเหล่ียม มุมภายในของรูปสามเหล่ียม ชนิดของมุมการสามารถสร้าง โจทย์ปัญหาการ
บวก การลบ การคูณ การหาร และการบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนบั
โดยจดั ประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวติ ประจาวันทใ่ี กลต้ ัวผู้เรียนใหผ้ ้เู รียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการ
ปฏิบัติจรงิ ทดลอง สรุปรายงาน
เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหาการให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และใชใ้ นชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณคา่ และมีเจตคติที่ดีต่อคณติ ศาสตรส์ ามารถทางานอย่าง
เป็นระบบระเบียบ มคี วามรอบคอบ มคี วามรบั ผิดชอบ มีวจิ ารณญาณและมคี วามเชอื่ มนั่ ตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. อ่าน และเขียนเศษส่วนแท้ เศษเกิน จานวนคละ และทศนิยม ไม่เกินสองตาแหน่ง เศษส่วนที่
เทา่ กบั จานวนนับ การเขยี นจานวนนบั ในรูปเศษส่วน การเขียนเศษเกนิ ได้
2. บวก การลบเศษส่วนทตี่ วั สว่ นตวั หนึง่ เป็นพหคุ ูณของตัวส่วนอีกตวั หน่ึง การคูณเศษส่วนกับจานวน
นบั เศษสว่ นกบั เศษส่วน การหารเศษสว่ นด้วยจานวนนบั ได้
3. หาปริมาตรหรือความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากโดยใช้สูตร โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นท่ีของรูป
ส่เี หลยี่ ม มุมฉาก และรปู สามเหล่ียมหาความสมั พันธ์ของหน่วยการชั่งได้
4. โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปของรูปส่ีเหลี่ยมมุมฉากและรูปสามเหลี่ยม ทรงกลม
ทรงกระบอก กรวย ปริซึม พรี ะมิด รูปส่ีเหลย่ี มจตั ุรัสได้
รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรยี นรู้
โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมูลเพมิ่ เตมิ
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 70
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม
ค ๑62๐๑ คณิตศาสตร์ (เพ่ิมเตมิ ) 3 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 เวลา 40 ชว่ั โมง
ศึกษาความหมาย การอ่าน และการเขียนทศนิยมสามตาแหน่ง หลัก ค่าประจาหลัก และค่าของเลข
โดดในแต่ละหลักของทศนิยมสามตาแหน่ง การเขียนทศนิยมในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลาดับ
ทศนิยม ไม่เกินสามตาแหน่ง การเปรียบเทียบและเรียงลาดับเศษส่วน การเขียนทศนิยมไม่เกินสามตาแหน่งใน
รูปเศษส่วน การเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนเป็น ตัวประกอบของ ๑๐, ๑๐๐, ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม การบวก
การลบ การคูณ การหารเศษส่วน การบวก การลบ การคูณ การหารจานวนคละ การบวก ลบ คูณ หารระคน
ของเศษส่วนและจานวนคละ การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยมท่ีมีผลลัพธ์เป็นทศนิยมไม่เกินสาม
ตาแหน่ง การบวก ลบ คูณ หารระคนของทศนิยมท่ีมีผลลัพธ์เป็นทศนิยมไม่เกินสามตาแหน่ง โจทย์ปัญหาการ
บวก การลบ การคูณ การหาร และการบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนับ หาค่าประมาณใกล้เคียงเป็น
จานวน เต็มหม่ืน เต็มแสน และเต็มล้าน ค่าประมาณใกล้เคียงทศนิยมหนึ่งตาแหน่งและสองตาแหน่งการบวก
การคูณ การบวก ลบ คูณ หารระคน ตัวประกอบ จานวนเฉพาะ และตัวประกอบเฉพาะการหา ห.ร.ม. การหา
ค.ร.น. การหาทิศ การบอกตาแหน่งโดยใช้ทิศมาตราส่วน การอ่านแผนผัง การหาพ้ืนที่ของรูปส่ีเหล่ียมโดยใช้
ความยาวของด้าน การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมโดยใช้สมบัติของเส้นทแยงมุมการหา ความยาวรอบรูปวงกลม
หรือความยาวรอบวง การหาพืน้ ท่ีของรปู วงกลม การคาดคะเนพ้ืนที่ของรูปส่ีเหลย่ี ม โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกับความ
ยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปส่ีเหล่ียม โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปวงกลม โจทย์
ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรหรือความจุของทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉากการเขียนแผนผังแสดงส่ิงต่าง ๆ แสดงเส้นทางการ
เดนิ ทาง การเขยี นแผนผงั โดยสงั เขป
โดยจดั ประสบการณ์หรอื สถานการณ์ในชีวติ ประจาวนั ทีใ่ กลต้ วั ผเู้ รยี นให้ผเู้ รยี นได้ศึกษาคน้ ควา้ โดยการ
ปฏิบตั ิจรงิ ทดลอง สรุปรายงาน
เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหาการให้เหตุผล การส่ือความหมายทาง
คณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และใชใ้ นชีวติ ประจาวันอยา่ งสร้างสรรค์ รวมทง้ั เห็นคุณคา่ และมีเจตคติทด่ี ีต่อคณิตศาสตรส์ ามารถทางานอย่าง
เปน็ ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณและมคี วามเชือ่ มั่นตนเอง
ผลการเรยี นรู้
1. อา่ น และการเขียนทศนยิ มสามตาแหน่ง หลกั ค่าประจาหลกั ได้
2. บวก ลบ คณู หารเศษส่วน และหารจานวนคละได้
3. หาทศิ การบอกตาแหนง่ โดยใช้ทิศมาตราสว่ นได้
4. แกโ้ จทย์ปัญหาเก่ียวกบั ความยาวรอบรูปและพนื้ ที่ของรปู สเี่ หลยี่ มได้
รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรยี นรู้
โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ
หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 71
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
แรลาะยวเทชิ าคพโนื้นฐโาลนยี
รายวิชาพน้ื ฐานระดับประถมศกึ ษา จานวน 8๐ ชว่ั โมง
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑ จานวน 8๐ ชว่ั โมง
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ จานวน 8๐ ชั่วโมง
ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ จานวน 12๐ ชวั่ โมง
ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ จานวน 12๐ ช่วั โมง
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ จานวน 12๐ ชว่ั โมง
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖
จานวน 6๐ ชั่วโมง
รายวชิ าพนื้ ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จานวน 6๐ ชวั่ โมง
ว 2๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑ จานวน 6๐ ชวั่ โมง
ว 21๑๐2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ จานวน 6๐ ช่ัวโมง
ว 22๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๓ จานวน 6๐ ชัว่ โมง
ว 22๑๐2 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔ จานวน 6๐ ชั่วโมง
ว 23๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕
ว 23๑๐2 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๖
โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 72
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 1 คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
ศึกษาการเรียนรแู้ บบนกั วิทยาศาสตร์ ลักษณะ หน้าที่และการดแู ลรักษาส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายมนุษย์
ลักษณะและหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของสัตว์และพืชรอบตัว และสภาพแวดล้อม ในบริเวณท่ีสัตว์และพืชอาศัย
อยู่ ชนิดและสมบัติของวัสดทุ ่ใี ชท้ าวตั ถรุ อบตวั การเกิดเสียง และทศิ ทางการเคลอื่ นทีข่ องเสียง ลักษณะของหิน
และการมองเห็นดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางวัน และกลางคืน การแก้ปัญหาโดยการลองผิดลองถูก
การเปรียบเทียบ การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบ้ืองต้น
การใช้งานซอฟต์แวร์เบอ้ื งตน้
ใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต สารวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก
และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบ เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น
พื้นฐานและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบื้องต้น
สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่น แสดงขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่าง
ง่าย เขยี นโปรแกรมโดยใช้สอ่ื สรา้ ง จดั เก็บและเรยี กใช้ไฟลต์ ามวัตถปุ ระสงค์
ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร ใ ช้ ค ว า ม รู้ แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้งาน ดูแลรักษาอุปกรณ์ และใช้งาน
เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งเหมาะสม มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม ค่านยิ มท่ีเหมาะสม
รหัสตัวชว้ี ดั
ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑
ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
รวมทงั้ หมด ๑๕ ตวั ชี้วัด
โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 73
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ว ๑2๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ 2 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เวลา ๘๐ ชวั่ โมง
ศกึ ษาการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ ลกั ษณะของส่ิงมชี ีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ความจาเปน็ ของแสง และ
น้าต่อการเจริญเติบโตของพืช วัฏจักรชีวิตของพืชดอก สมบัติการดูดซับน้าของวัสดุและการนาไปใช้ประโยชน์
สมบัติของวัสดุที่เกิดจากการนาวัสดุมาผสมกัน การเลือกวัสดุมาใช้ทาวัตถุตามสมบัติของวัสดุ การนาวัสดุที่ใช้
แล้วกลับมาใช้ใหม่ การเคลื่อนที่ของแสง การมองเห็นวัตถุ การป้องกันอันตรายจากการมองวัตถุในบริเวณท่ีมี
แสงสว่างไม่เหมาะสม ส่วนประกอบ และการจาแนกชนิดของดิน การใช้ประโยชน์จากดิน การแสดงข้ันตอน
การแก้ปัญหา การตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม การใช้งานซอฟต์แวร์เบ้ืองต้น การจัดการไฟล์ และ
โฟลเดอร์ การใช้งานและดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งปลอดภยั
ใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต จาแนกประเภท รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผลการสารวจ
ตรวจสอบ เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพ้ืนฐาน และมีทักษะการ
เรียนร้ใู นศตวรรษที่ ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบ้ืองตน้ สามารถสือ่ สารส่ิงที่เรียนรู้
มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืน แสดงขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่างง่าย เขียนโปรแกรมแบบมี
เงื่อนไขโดยใช้บตั รคาสง่ั และตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด ใช้งานซอฟต์แวร์ สรา้ ง จัดหมวดหมูไ่ ฟล์และโฟลเดอร์
ตระหนกั ถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชวี ิต ตระหนักถึง
ความสาคัญของการปกป้องข้อมูลส่วนตัว ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ดูแลรักษาอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม ค่านยิ มที่เหมาะสม
รหสั ตวั ชว้ี ัด
ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวมทง้ั หมด ๑๖ ตวั ช้วี ัด
โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 74
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ว ๑3๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 3 คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
ศึกษาวิเคราะห์ บรรยายส่ิงท่ีจาเป็นต่อการดารงชวี ติ และการเจริญเติบโตของมนุษย์ และสัตว์ โดยใช้
ข้อมูลที่รวบรวมได้ การสร้างแบบจาลองท่ีบรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตว์ และเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตว์
บางชนิด การประกอบวัตถุข้ึนจากช้ินส่วนย่อย ๆ ซ่ึงสามารถแยกออกจากกันได้และประกอบกันเป็นวัตถุช้ิน
ใหมไ่ ด้ การเปลย่ี นแปลงของวัสดุเมื่อทาให้ร้อนขึ้นหรือทาใหเ้ ยน็ ลง โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ ผลของแรงที่มี
ต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุจากแรงสัมผัส และแรงไม่สัมผัสท่ีมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การใช้การดึงดูดกับแม่เหล็ก ขั้วแม่เหล็ก ผลที่เกิดขึ้นระหว่างข้ัวแม่เหล็กเมื่อนามาเข้าใกล้กัน การเปล่ียน
พลังงานหนง่ึ ไปเป็นอีกพลังงานหนึ่ง การทางานของเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้า แหลง่ พลงั งานในการผลิตไฟฟา้ การข้ึน
และตก ของดวงอาทิตย์ สาเหตุการเกิดปรากฏการณ์การข้ึนและตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน
และการกาหนดทิศ ส่วนประกอบของอากาศ ความสาคญั ของอากาศ และผลกระทบของมลพิษ ทางอากาศต่อ
ส่ิงมีชีวิตประโยชน์และโทษของลม การเกิดลม ประโยชน์ของอาหาร น้า และอากาศ การดูแลตนเองและสัตว์
ให้ได้รับส่ิงเหล่าน้ีอย่างเหมาะสม คุณค่าของชีวิตสัตว์ โดยไม่ทาให้วัฏจักรชีวิตของสัตวเ์ ปล่ียนแปลง ประโยชน์
และโทษของไฟฟ้า วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภยั ความสาคัญของดวงอาทิตย์ ประโยชน์ของดวง
อาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต ความสาคัญของอากาศ การปฏิบัติตนในการลดการเกิดมลพิษทางอากาศ ศึกษาวิเคราะห์
การแสดงอัลกอริทึมในการทางาน หรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์หรือข้อความ การเขียน
โปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสอ่ื และตรวจหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรม การใช้อินเทอร์เน็ตค้นหา
ความรู้ การรวบรวม การประมวลผล และการนาเสนอข้อมูลโดยใชซ้ อฟ์แวร์ตามวตั ถุประสงค์ การใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ปฏิบัติตามขอ้ ตกลงในการใช้
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
การระบุ การจาแนก การเปรียบเทียบ การพยากรณ์ แบบจาลอง การบรรยาย และการอภิปรายเพื่อให้เกิด
ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสอื่ สารสิ่งที่เรียนรู้
มคี วามตระหนัก สามารถในการตัดสินใจ นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน มีจติ วทิ ยาศาสตร์
จรยิ ธรรม คุณธรรม คา่ นยิ มท่เี หมาะสม
รหัสตวั ช้วี ัด
ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.3 ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
รวมทง้ั หมด ๒5 ตัวช้วี ัด
โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพิม่ เติม
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 75
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ว ๑4๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ 4 คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา 12๐ ชั่วโมง
ศึกษาการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ การจาแนกส่ิงมีชีวิตเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ไม่ใช่พืช
และสัตว์ การจาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก การจาแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์ มีกระดูกสันหลังและ
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เล้ียงลูกด้วยน้านม หน้าที่ของราก ลาต้น ใบและดอกของพืชดอก
สมบัติทางกายภาพ ด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความร้อน และการนาไฟฟ้าของวัสดุ การนาสมบัติ
ทางกายภาพของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจาวัน สมบัติของสสารท้ัง ๓ สถานะ ผลของแรงโน้มถ่วงท่ีมีต่อวัตถุ
การวัดน้าหนักของวัตถุ มวลของวัตถุ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ และตัวกลางของแสง
การขึ้นและตกและรปู ร่างดวงจนั ทร์ และองค์ประกอบของระบบสรุ ยิ ะ การใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแก้ปัญหา
การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย การตรวจหาข้อผิดพลาดในโปรแกรม การค้นหาข้อมูลใน
อินเทอร์เน็ตและการใช้คาค้น การประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล การรวบรวม นาเสนอข้อมูลและ
สารสนเทศ
ใช้การสืบเสาะหาความรู้ ตั้งคาถาม คาดคะเนคาตอบหรือสร้างสมมติฐาน วางแผน และสารวจ
ตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสม ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล
รวมรวมข้อมูล ประมวลผลอย่างง่าย วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ผล และสร้างทางเลือก นาเสนอข้อมูล ลงความ
คิดเห็นและสรุปผลการสารวจตรวจสอบ เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบ้ืองต้น
มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืน ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา และอธิบายการทางาน
หรอื คาดการผลลัพธ์ จากปญั หาอยา่ งง่าย ออกแบบและเขียนโปรแกรม ตรวจหาข้อผดิ พลาดจากโปรแกรมของ
ตนเองและผู้อ่นื
ตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และใช้ความรู้ และกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต สามารถสื่อสารอย่างมีมารยาทและรู้กาลเทศะ รู้จักการปกป้องข้อมูลส่วนตัว
มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม คา่ นิยมท่เี หมาะสม
รหัสตวั ชว้ี ัด
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวมทั้งหมด ๒๑ ตวั ช้ีวัด
โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่มิ เติม
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 76
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ว ๑5๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ 5 คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เวลา 12๐ ชวั่ โมง
ศกึ ษาการเรยี นรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ โครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตที่เหมาะสม ในแต่ละแหล่งที่
อยู่ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต การถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมของพืช สัตว์ และมนุษย์ การเปล่ียนสถานะของสสาร การละลายของสารในน้า การ
เปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปล่ียนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน การได้ยินเสียง
ผ่านตัวกลาง ลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่า เสียงดัง และเสียงค่อย ระดับเสียงและมลพิษทางเสียง
ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การใช้แผนท่ีดาว แบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษ์
บนท้องฟ้าในรอบปี ปริมาณน้าในแต่ละแหล่ง ปริมาณน้าที่มนุษย์สามารถนามาใช้ได้ การใช้น้าอย่างประหยัด
และการอนุรักษ์น้า วัฏจักรน้า กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าค้าง และน้าค้างแข็ง กระบวนการเกิดฝน หิมะ
และลูกเหบ็ การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การเขยี นรหัสลาลองเพ่ือแสดงวิธีแก้ปญั หา การออกแบบ
และการเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไขและการทางานแบบวนซ้า การใช้ซอฟต์แวร์ประมวลผลข้อมูล
การติดต่อสื่อสารผา่ นอินเทอร์เน็ต การใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล และการประเมิน ความน่าเชื่อถือของขอ้ มลู
อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรมทางอนิ เทอรเ์ น็ต
ใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต รวบรวมข้อมูล จัดกระทาและส่ือความหมายข้อมูล สร้างแบบจาลอง
และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบ เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ัน
พ้ืนฐานและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบ้ืองต้น
สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่น แสดงวิธีแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล
เชิงตรรกะ ใช้รหัสลาลองแสดงวิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน ออกแบบ และเขียนโปรแกรมแบบมีเง่ือนไข
และการทางานแบบวนซ้า ตรวจหาข้อผดิ พลาดของโปรแกรม ใช้ซอฟตแ์ วรช์ ว่ ยในการแกป้ ัญหา ใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต
ตดิ ตอ่ สื่อสารและคน้ หาขอ้ มลู แยกแยะขอ้ เท็จจริงกบั ข้อคิดเห็น ประเมินความนา่ เชอื่ ถือของขอ้ มูล
ตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และใช้ความรู้ และกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีมารยาท มีจิตวิทยาศาสตร์
จริยธรรม คุณธรรม ค่านยิ มท่ีเหมาะสม
รหสั ตวั ชวี้ ัด
ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
รวมท้งั หมด ๓๒ ตวั ช้ีวัด
โรงเรียนสุมเส้าวิทยา
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่มิ เตมิ
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 77
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ว ๑6๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 6 คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา 12๐ ชั่วโมง
ศึกษา ค้นคว้า สารอาหารและประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารท่ีตนเองรับประทาน
การเลือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้งความ
ปลอดภัยต่อสุขภาพ ความสาคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนใน
สดั ส่วนที่เหมาะสมกบั เพศและวัย รวมท้งั ปลอดภัยตอ่ สุขภาพ ระบบยอ่ ยอาหาร และหนา้ ที่ของอวยั วะในระบบ
ย่อยอาหาร รวมทั้งอธิบายการย่อยอาหาร และการดูดซึมสารอาหาร ความสาคัญของระบบย่อยอาหาร
แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะ ในระบบย่อยอาหารให้ทางานเป็นปกติ ศึกษา ค้นคว้า การแยกสารผสมโดย
การหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน วิธีแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจาวันเกี่ยวกับการแยกสาร การเกิด และผลของแรงไฟฟ้าซ่ึงเกิดจากวัตถุท่ีผ่านการขัดถู ส่วนประกอบ
ของวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย และต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ประโยชน์การต่อ
เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมและการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน
ประโยชน์ ข้อจากัด และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันของการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน
การเกิดเงามืดเงามัว รังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว ศึกษา ค้นคว้า การเกิดและเปรียบเทียบ
ปรากฏการณ์สุริยุปราคาและจันทรุปราคาพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ การนาเทคโนโลยีอวกาศมาใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน การเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร และวัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์ของหิน
และแร่ในชีวิตประจาวัน การเกดิ ซากดึกดาบรรพ์และสภาพแวดลอ้ มในอดีตของซากดกึ ดาบรรพ์ การเกดิ ลมบก
ลมทะเล และมรสุม ผลท่ีมีต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม ผลของมรสุมตอ่ การเกิดฤดูของประเทศไทย ผลกระทบ
ของน้าท่วมการกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย
แนวทางในการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่อาจเกิดในท้องถ่ิน การ
เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก และผลของปรากฏการณ์เรือนกระจก ต่อสิ่งมีชีวิต ผลกระทบของปรากฏการณ์
เรือนกระจก แนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลดกิจกรรมท่ีก่อให้เกิดแก๊สเรือนกระจก ศึกษา ค้นคว้า การใช้เหตุผล
เชิงตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหาท่ีพบในชวี ิตประจาวัน การออกแบบและเขียนโปรแกรม
อย่างงา่ ย เพื่อแก้ปญั หาในชีวติ ประจาวนั ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไขการใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ในการ
ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและ
หนา้ ท่ขี องตน เคารพในสทิ ธิของผอู้ ื่น แจง้ ผเู้ ก่ยี วข้องเมือ่ พบขอ้ มลู หรือบคุ คลท่ีไมเ่ หมาะสม
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ การสืบเสาะหา
ความรู้ การสารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบค้นข้อมูล การสร้างแบบจาลอง การอธิบาย การ
เปรยี บเทยี บ การเขยี นแผนภาพการบรรยายและการอภิปราย
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ ตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และใช้ความรู้ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งปลอดภัย และมมี ารยาท มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม คา่ นยิ มทเี่ หมาะสม
โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมูลเพม่ิ เติม
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 78
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
รหัสตัวชีว้ ัด
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
รวมทง้ั หมด ๓๐ ตัวช้วี ัด
โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมูลเพ่มิ เตมิ
หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 79
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ว ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 รวม ๖๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ และวิทยาศาสตร์กายภาพ เกี่ยวกับรูปร่างและโครงสร้างเซลล์พืช
และเซลล์สัตว์ ทาหน้าท่ีของผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไม้โทคอนเดรีย
และคลอโรพลาสต์ การใช้กล้องจุลทรรศน์ศึกษาเซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์ความสัมพันธ์ระหว่าง
รูปร่างกับการทาหน้าที่ของเซลล์ การจัดระบบของส่ิงมีชีวิตจากเซลล์ เนื้อเย่ือ อวัยวะ ระบบอวัยวะ
กระบวนการแพร่และออสโมซิส การสังเคราะห์ด้วยแสง และผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะห์ด้วยแสง
ความสาคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและไม่
อาศัยเพศของพืชโครงสร้างของดอก การสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศของพืชดอก ธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการ
เจริญเติบโตและการดารงชีวิตของพืช การขยายพันธ์ุพืชเพ่ือเพ่ิมจานวนพืช เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือ
สมบตั ิทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะ และธาตุกมั มันตรังสีที่มตี ่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกจิ และสังคม การใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะ และธาตุกัมมนั ตรงั สี จุดหลอมเหลวของสารบรสิ ทุ ธิ์และ
สารผสม ความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์และสารผสม การใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวลและปริมาตรของสารบริสุทธ์ิ
และสารผสมโครงสร้างอะตอม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพ่ือฝึกทักษะ ใช้กล้องจุลทรรศน์
เขียนแผนภาพ สังเกต ทดสอบใช้สารสนเทศ ใช้เคร่ืองมือ วัดอุณหภูมิ เขียนกราฟ และนาความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ศึกษาอัลกอริท่ึมแนวคิดเชิงนามธรรม การคัดเลือกคุณลักษณะท่ีจาเป็นต่อการแก้ปัญหา
ขั้นตอนการแก้ปัญหา การเขียนรหัสลาลองและผังงาน การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายที่มีการ
ใช้งานตัวแปร เง่ือนไข และการวนซ้า เพ่ือแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์การรวบรวมข้อมูลปฐม
ภมู ิ การประมวลผลขอ้ มูล การสรา้ งทางเลอื กและประเมนิ ผลเพ่ือตดั สนิ ใจซอฟตแ์ วร์และบริการบนอนิ เทอร์เน็ต
ท่ีใช้ในการจัดการข้อมูล แนวทางการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ์ การ
พิจารณาความเหมาะสมของเน้ือหา ข้อตกลงและข้อกาหนดการใช้สื่อและแหล่งข้อมูลโดยออกแบบ แก้ปัญหา
อธิบาย เขียนโปรแกรมอย่างง่าย รวบรวมข้อมูล ประเมินผล นาเสนอข้อมูลสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์ โดย
ใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ีหลากหลาย เพื่อนาแนวคิดเชิงนามธรรมและขั้นตอนการแก้ปัญหา
ไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม หรือการแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวบรวมข้อมูลและสร้างทางเลือก ในการ
ตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพและตระหนักถึงการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เกิดประโยชน์
ตอ่ การเรยี นรู้ และไมส่ ร้างความเสียหายใหแ้ กผ่ ู้อ่ืน
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ การสืบเสาะ
หาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบค้นข้อมูล การสร้างแบบจาลอง การอธิบาย
การเปรยี บเทยี บ การเขยี นแผนภาพการบรรยายและการอภปิ ราย
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างถูกต้องเหมาะสม ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทางาน ซ่ือสัตย์สุจริต เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถใน
การแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เกิดความตระหนกั และจิตอาสาในการดแู ลรกั ษาส่งิ แวดล้อมอย่างเหมาะสม
โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่มิ เตมิ
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 80
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
รหัสตวั ช้ีวัด
ว 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10, ม.1/11,
ม.1/12, ม.1/13, ม.1/14, ม.1/15, ม.1/16, ม.1/17, ม.1/18
ว 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10
ว 4.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4
รวมทั้งหมด 32 ตัวชว้ี ดั
โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่ิมเติม
หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 81
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ว ๒๑๑๐2 วิทยาศาสตร์ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 รวม ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษาวิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศและเทคโนโลยี เกี่ยวกับการจัดเรียงอนภุ าค
แรงยึดเหนยี่ วระหว่างอนภุ าค และการเคลื่อนท่ีของอนภุ าคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว
และแก๊ส โดยใช้แบบจาลอง ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร โดยใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์และแบบจาลอง การสร้างแบบจาลองที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับ
ความสูงจากพื้นโลก การวิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และคานวณปริมาณความร้อนที่ทาให้สสารเปลี่ยน
อุณหภูมิและเปลี่ยนสถานะ โดยใช้สมการ Q = mcΔt และ Q = mL การใช้เทอร์โมมิเตอร์ในการวัดอุณหภูมิ
ของสสาร การสร้างแบบจาลองท่ีอธิบายการขยายตวั หรอื หดตัวของสสารเนื่องจากได้รับหรือสูญเสียความร้อน
การตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการหดและขยายตัวของสสารเน่ืองจากความร้อน โดยวิเคราะห์
สถานการณ์ปัญหา และเสนอแนะวิธีการนาความรู้มาแก้ปญั หาในชีวิตประจาวัน การวิเคราะห์สถานการณ์การ
ถ่ายโอนความร้อนและคานวณปริมาณความร้อนที่ถ่ายโอนระหว่างสสารจนเกิดสมดุลความร้อนโดยใช้สมการ
Qสูญเสีย = Qได้รับ การสร้างแบบจาลองท่ีอธิบายการถ่ายโอนความร้อนโดยการนาความร้อน การพาความ
ร้อน การแผ่รังสีความร้อน การออกแบบ เลือกใช้ และสร้างอุปกรณ์ เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันโดยใช้
ความรู้เกี่ยวกับการถ่ายโอนความร้อน การสร้างแบบจาลองท่ีอธิบายการแบ่งช้ันบรรยากาศ และเปรียบเทียบ
ประโยชน์ของบรรยากาศแต่ละชั้น การอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
จากข้อมูล ที่รวบรวมได้ การเปรียบเทียบกระบวนการเกิดพายฝุ นฟ้าคะนอง และพายุหมุนเขตร้อน และผลท่มี ี
ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนให้เหมาะสมและปลอดภัย การอธิบายการ
พยากรณ์อากาศ และพยากรณอ์ ากาศอย่างง่ายจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ การตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของการพยากรณ์
อากาศ โดยนาเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิตนและการใช้ประโยชน์จากคาพยากรณ์อากาศ การอธิบายสถานการณ์
และผลกระทบการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ การตระหนักถึงผลกระทบของการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก โดยนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนภายใต้การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก โดยใช้
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพอื่ ฝกึ ทักษะ สรา้ งแบบจาลอง คานวณ ใช้เทอร์โมมิเตอร์ ออกแบบ สร้าง
อุปกรณ์ นาเสนอแนวทางปฏิบัติตน พยากรณ์อากาศ แก้ปัญหา ใช้แนวคิดในเชิงคานวณ และนาความรู้ไปใช้
ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั ได้อย่างเหมาะสม ปลอดภยั
โดยศึกษาการพัฒนาโครงงาน การนาแนวคิดเชิงคานวณในการพัฒนาโครงงานที่เก่ียวข้องกับ
ชีวิตประจาวัน และมีการบูรณาการกับวชิ าอื่นอย่างสร้างสรรค์ โดยเช่ือมโยงกับชวี ิตจรงิ ความรู้และทักษะจาก
ศาสตร์ต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรในการทาโครงงานเพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน โดยประยุกต์ใช้แนวคิดเชิง
คานวณ พฒั นาโครงงาน ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ ทักษะในการทาโครงงาน เพื่อนาความรู้ท่ีไดร้ ับมาเชื่อมโยงกับชีวิต
จรงิ อยา่ งสร้างสรรค์ สามารถแกป้ ญั หาและพัฒนางานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทางาน ซ่ือสัตย์สุจริต เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการ
แก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธภิ าพตระหนัก
ถึงประโยชน์ของความรู้ของการหดตัวและขยายตัวของสสาร คุณคา่ ของการพยากรณ์อากาศผลกระทบของการ
เปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศโลก ปฏิบตั ติ นใหเ้ หมาะสม ปลอดภัย และมจี ริยธรรม
โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่มิ เตมิ
หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 82
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
รหัสตวั ชี้วัด
ว 2.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7
ว 2.3 ม.1/1
ว 3.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7
ว 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5
รวมท้ังหมด 20 ตัวช้วี ัด
โรงเรียนสุมเส้าวิทยา
สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพมิ่ เตมิ
หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 83
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว ๒2๑๐1 วิทยาศาสตร์ 3 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 รวม ๖๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ
ศึกษา อธิบาย วิเคราะห์เกี่ยวกับการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย
โครมาโทกราฟี บนกระดาษ การสกัดด้วยตัวทาละลาย วิธีการแยกสารไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน
ออกแบบการทดลองในการอธิบายผลของชนิดตัวละลาย ชนดิ ตัวทาละลาย อณุ หภูมิทมี่ ีผลตอ่ สภาพการละลาย
ได้ของสาร ผลของความดันท่ีมีผลต่อสภาพละลายได้ของสารโดยใช้สารสนเทศ ตัวละลายในสารละลายใน
หน่วย ความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อปริมาตร มวลต่อมวล และมวลต่อปริมาตร แรงในชีวิตประจาวัน
ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุลักษณะการเคล่ือนท่ีแบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงเสียดทาน วิธีการลดหรือเพ่ิมแรง
เสียดทาน โมเมนต์ของแรง เม่ือวัตถุอยู่ในสภาพสมดุลต่อการหมุน และคานวณโดยใช้สมการ M = Fl
สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า และสนามโน้มถ่วง และทิศทางของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุที่อยู่ในแต่ละสนาม
แรงแมเ่ หล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโนม้ ถ่วงท่ีกระทาต่อวัตถุอัตราเร็วและความเรว็ ของการเคล่ือนที่ของวัตถโุ ดยใช้
สมการ V= s/t และ V= s/t การกระจัดและความเร็ว เช้ือเพลิงซากดึกดาบรรพ์ พลังงานทดแทนโครงสร้าง
ภายในโลก ตามองค์ประกอบทางเคมี สมบัติบางประการของดินน้า แนวทางการใช้น้าอย่างย่ังยืนในท้องถิ่น
ผลกระทบของน้าท่วม การกัดเซาะชายฝ่ัง ดินถล่ม หลุมยุบ แผ่นดินทรุด โดยใช้ทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ เพื่อฝึกทักษะ การทดลอง แปลความหมาย และการ
นาเสนอข้อมูล ศึกษาอัลกอริทึมท่ีใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหา หรือการทางานท่ีพบในชีวิตจริง
โปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา หลักการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการ
ส่ือสารเพื่อประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบื้องต้น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ความรับผิดชอบ
การสร้างและแสดงสิทธใิ นการเผยแพร่ผลงาน โดยออกแบบ เขียนโปรแกรม แก้ปัญหา อภิปราย องค์ประกอบ
และหลักการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสาร เพ่ือประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหา
เบอ้ื งต้น ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ สรา้ งและแสดงสทิ ธใิ นการเผยแพร่ผลงาน เพือ่ การแก้ปญั หา หรอื การทางาน
ที่พบในชีวิตจริง ประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบื้องต้น ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความ
รบั ผิดชอบ สรา้ งและแสดงสทิ ธิในการเผยแพรผ่ ลงานได้อย่างถกู ต้องตามกฎหมาย
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ การสืบเสาะ
หาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบค้นข้อมูล การสร้างแบบจาลอง การอธิบาย
การเปรียบเทยี บ การเขียนแผนภาพการบรรยายและการอภปิ ราย
เพ่ือให้เกิด ความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง ตระหนักเลือก
ป้องกัน ดูแลรักษา ประพฤติตน ปฏิบัติตน ประยุกต์ใช้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์เกิดความสามารถในการคิด
ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพม่ิ เติม
หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 84
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
รหสั ตัวช้วี ดั
ว 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6
ว 2.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10, ม.2/11,
ม.2/12, ม.2/13, ม.2/14, ม.2/15
ว 3.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10
ว 4.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4
รวมท้ังหมด 35 ตัวชีว้ ัด
โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพ่มิ เติม
หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 85
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ว ๒2๑๐2 วิทยาศาสตร์ 4 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 รวม ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ
ศึกษา อธิบาย วิเคราะห์เก่ียวกับอวัยวะและหน้าท่ีของอวัยวะที่เก่ียวข้องในระบบหายใจ กลไกการ
หายใจเข้าและออก กระบวนการแลกเปล่ียนแก๊ส ความสาคัญของระบบหายใจ แนวทางในการดูแลรักษา
อวยั วะในระบบหายใจอวยั วะและหนา้ ทขี่ องอวัยวะในระบบขบั ถ่ายในการกาจดั ของเสียทางไต ความสาคัญของ
ระบบขับถ่ายการปฏิบัติตนที่ช่วยให้ระบบขับถ่ายทาหน้าท่ีได้อย่างปกติ โครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจหลอด
เลือด และเลือด การทางานของระบบหมุนเวียนเลือด การเปรียบเทียบอัตราการเต้นของหัวใจ ขณะปกติและ
หลังทากิจกรรมความสาคญั ของระบบหมนุ เวียนเลือด แนวทางในการดแู ลรกั ษาอวัยวะในระบบหมุนเวยี นเลือด
ให้ทางานเป็นปกติ อวัยวะและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบประสาทส่วนกลางในการควบคุมการทางานต่าง ๆ
ของร่างกาย ความสาคัญของระบบประสาท การดูแลรักษาและการป้องกันการกระทบกระเทือนและอันตราย
ต่อสมองและไขสันหลัง อวัยวะและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ของเพศชายและเพศหญิง ฮอร์โมนเพศ
ชายและเพศหญิงท่ีควบคุมการเปลยี่ นแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสวู่ ัยหนุ่มสาว การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อ
เข้าสู่วัยหนุ่มสาว การดูแลรักษาร่างกายและจิตใจของตนเองในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง การตกไข่การมี
ประจาเดือน การปฏิสนธิและการพัฒนาของไซโกตจนคลอดเป็นทารก วิธีการคุมกาเนิดที่เหมาะสมกับ
สถานการณ์ท่ีกาหนดผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร คานวณเกี่ยวกับงานและกาลังท่ีเกิดจากแรงที่
กระทาต่อวัตถุโดยใช้สมการ W = Fs และ หลักการทางานของเครื่องกลอย่างง่าย ปัจจัยท่ีมีผลต่อ
พลังงานจลน์ และพลังงานศักย์โน้มถ่วงการเปล่ียนพลังงานระหว่างพลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงานจลนข์ อง
วัตถุ การเปล่ียนและการถ่ายโอนพลังงานโดยใช้กฎการอนุรักษ์พลังงาน โดยใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ เพ่อื ฝึกทกั ษะ การทดลอง แปลความหมาย และการ
นาเสนอข้อมลู ศึกษาแนวโนม้ เทคโนโลยี สาเหตหุ รอื ปัจจัยที่สง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยเี ทคโนโลยี
ที่มีผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อม ความต้องการเทคโนโลยีในชุมชนหรือท้องถ่ิน
การออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา โดยวเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ การเลือกขอ้ มูลที่จาเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากร
ที่มีอยู่ การนาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่น วางแผนขั้นตอนการทางานและดาเนินการแก้ปัญหา
อย่างเป็นข้ันตอน การทดสอบ การประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดข้ึน ภายใต้กรอบ
เง่ือนไข แนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา ความรู้และทักษะเก่ียวกับวัสดุอุปกรณ์
เคร่ืองมอื กลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ โดยคาดการณพ์ จิ ารณาจากสาเหตหุ รอื ปจั จยั วเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ
ตัดสินใจ เลือกใช้เทคโนโลยี ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชน สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์
ขอ้ มูลและแนวคดิ ท่ีเกีย่ วข้องกับปัญหา วางแผน ขนั้ ตอนการทางานและดาเนินการแก้ปัญหา อย่างเปน็ ข้ันตอน
ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือ ข้อบกพร่องท่ีเกิดข้ึน ภายใต้กรอบเงื่อนไข ปรับปรุงแก้ไข
และนาเสนอผลการแก้ปัญหา ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพอื่ ตัดสินใจ เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี โดยคานงึ ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อชีวิต สงั คม และส่งิ แวดล้อม
ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ แก้ปัญหาหรือพัฒนางาน
ได้อย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภัย
โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพมิ่ เติม
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 86
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ การสืบเสาะ
หาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบค้นข้อมูล การสร้างแบบจาลอง การอธิบาย
การเปรียบเทียบ การเขียนแผนภาพการบรรยายและการอภิปราย
เพ่ือให้เกิด ความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง ตระหนักเลือก
ป้องกัน ดูแลรักษา ประพฤติตน ปฏิบัติตน ประยุกต์ใช้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์เกิดความสามารถในการคิด
ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
รหัสตัวช้วี ัด
ว 1.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10, ม.2/11,
ม.2/12, ม.2/13, ม.2/14, ม.2/15, ม.2/16, ม.2/17
ว 2.3 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6
ว 4.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5
รวมท้ังหมด ๒8 ตัวชี้วัด
โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพิม่ เติม
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 87
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ว ๒3๑๐1 วิทยาศาสตร์ 5 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 รวม ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ
ศึกษา อธิบาย วิเคราะห์ สมบัติทางกายภาพเก่ียวกับวัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิกซ์ วัสดุผสม
การเกิดปฏิกิริยาเคมี การจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมโดยใช้แบบจาลองและสมการข้อความแสดงปฏิกิริยา
กฎทรงมวล ปฏิกิริยาดูดความร้อน ปฏิกิริยาคายความร้อน จากการเปล่ียนแปลงพลังงานความร้อนของ
ปฏิกิริยา การเกิดสนิมเหล็ก ปฏิกิริยากรดกับโลหะ ปฏิกิริยากรดเบส และปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ ปฏิกิริยา
เผาไหม้ การเกดิ ฝนกรด การสงั เคราะห์ด้วยแสง ประโยชน์และโทษของปฏิกริ ิยาเคมตี ่อสง่ิ แวดล้อม การปอ้ งกัน
และแก้ปัญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี ความสัมพันธ์ระหวา่ งความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน การต่อ
ตัวต้านทานแบบอนุกรมและขนาน อิเล็กทรอนิกส์ การเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า การเกิดคลื่น คล่ืนเหล็กไฟฟ้า
กฎการสะท้อนของแสง การเคล่ือนท่ีของแสง การเกิดภาพจากกระจกเงา การหักเหของแสง การกระจายของ
แสงและแสงขาว การเกิดภาพจากเลนส์ ทัศนอุปกรณ์ และเลนส์ตา ความสว่างของแสง โดยใช้ทักษะ
กระบวนการความสัมพันธ์ของเทคโนโลยี เพื่อฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้
การสารวจตรวจสอบ เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ การสืบค้นขอ้ มลู และการอภิปราย สามารถสื่อสาร
สิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ท่ีเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา
พัฒนางาน และพัฒนาอาชีพ ศึกษาพัฒนาแอพพลิเคชั่นที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์ ข้อมูล
ประมวลผลประเมินผล นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบน
อินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล วิเคราะห์ส่ือและผลกระทบจากการให้ข่าวสาร
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับ
คอมพิวเตอร์ใช้ลิขสิทธ์ิของผู้อื่นโดยชอบธรรม โดยพัฒนา รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอ
ข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ประเมิน
วิเคราะห์สอ่ื เทคโนโลยี เพอ่ื ประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถือของข้อมูล วิเคราะหส์ ่อื และผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่
ผิด เพื่อการใช้งานอย่างรเู้ ท่าทัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบต่อสงั คม ปฏบิ ตั ิ
ตามกฎหมายเกีย่ วกบั คอมพิวเตอร์ ใช้ลขิ สิทธขิ์ องผอู้ น่ื โดยชอบธรรม
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ การสืบเสาะ
หาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบค้นข้อมูล การสร้างแบบจาลอง การอธิบาย
การเปรียบเทยี บ การเขยี นแผนภาพการบรรยายและการอภิปราย
เพ่ือให้เกิด ความตระหนัก เกิดแนวคิด และวิธีการแก้ปัญหา เกิดความสามารถวางแผนข้ันตอนการ
ทางาน แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจเทคนิควิธีการที่หลากหลายมาปรับปรุง แก้ไข และนาเสนอผลจาก
การแก้ปัญหามจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคา่ นยิ มท่เี หมาะสม
รหสั ตวั ชีว้ ัด
ว 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8
ว 2.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10, ม.3/11,
ม.3/12, ม.3/13, ม.3/14, ม.3/15, ม.3/16, ม.3/17, ม.3/18, ม.3/19, ม.3/20, ม.3/21
ว 4.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4
รวมทั้งหมด 33 ตัวช้วี ัด
โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพ่มิ เติม
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 88
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ว ๒3๑๐2 วิทยาศาสตร์ 6 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 รวม ๖๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษา อธบิ าย เกยี่ วกบั องคป์ ระกอบของระบบนิเวศที่ไดจ้ ากการสารวจ สรา้ งแบบจาลองการถ่ายทอด
พลังงานในสายใยอาหาร ความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภคและผู้ย่อยสลายสารอินทรยี ์ในระบบนิเวศการสะสม
สารพิษในสิ่งมีชีวิตในห่วงโซ่อาหาร ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศ ศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่าง ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม โดยใช้แบบจาลองเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียวท่ีแอลลีลเด่น แอลลีลด้อย การเกิดจีโนไทป์ และ ฟีโนไทป์
ของลูกและคานวณอัตราส่วนการเกิด การแบ่งเซลล์แบบไม้โทซิสและไม้โอซิส การเปล่ียนแปลงของยีน
โครโมโซม ความรู้เรื่องโรคพันธุกรรม ผลกระทบของส่ิงมีชีวิตต่อการดัดแปลงพันธุกรรมท่ีมีต่อมนุษย์
และสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายของชีวภาพในระบบนิเวศ การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วย
แรงโน้มถ่วง สร้างแบบจาลองท่ีอธิบายการฤดูและการเคลื่อนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย์
การเปลี่ยนแปลงเวลาการข้ึนและตกของดวงจันทร์ และการเกิดน้าขึ้น น้าลง การใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยี
อวกาศและความก้าวหน้าของโครงการสารวจอวกาศ โดยใช้ทักษะกระบวนการความสัมพันธ์ของเทคโนโลยี
เพ่ือฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิดความเข้าใจ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา พัฒนางาน และพัฒนาอาชีพ ศึกษา
ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นโดยเฉพาะ
วิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ปัญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถ่ิน
การพฒั นางานอาชีพ กรอบของปญั หา การรวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มลู และแนวคิดที่เกี่ยวขอ้ งกับความถูกต้องด้าน
ทรัพย์สินทางปัญญา วิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น ภายใต้
เง่ือนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาใหผ้ ู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิค หรือวิธีการที่หลากหลาย
การวางแผนข้ันตอนการทางานและดาเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน การทดสอบประเมินผล วิเคราะห์
และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดข้ึนภายใต้ กรอบเงื่อนไข พร้อมท้ังหา แนวทางการ ปรับปรุง
แก้ไข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ลักษณะของงาน และปลอดภัย เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน โดยวิเคราะห์สาเหตุแก้ปัญหาหรือ
พฒั นางาน ระบุปญั หาหรือความต้องการ สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมลู และแนวคิดทีเ่ กี่ยวข้อง
กับปัญหา โดยคานึงถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์
เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น ภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการ
แก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจด้วยเทคนิค หรือ วิธีการท่ีหลากหลายวางแผนขั้นตอนการทางานและดาเนินการ
แก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่อง
หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข นาเสนอผลการแก้ปัญหา เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน โดย
คานงึ ถงึ ความถูกต้องด้านทรัพย์สนิ ทางปัญญาตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น ภายใต้เง่อื นไขและทรัพยากรที่มีอยู่
นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิค หรือ วิธีการท่ีหลากหลายวางแผนข้ันตอนการทางาน
และดาเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า
โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพิ่มเติม
หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 89
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
และอิเล็กทรอนิกส์ให้ ถูกต้องกับลักษณะของงาน และปลอดภัย เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ การสืบเสาะ
หาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบค้นข้อมูล การสร้า งแบบจาลอง การอธิบาย
การเปรยี บเทียบ การเขยี นแผนภาพการบรรยายและการอภิปราย
เพ่ือให้เกิด ความตระหนัก เกิดแนวคิด และวิธีการแก้ปัญหา เกิดความสามารถวางแผนขั้นตอนการ
ทางาน แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจเทคนิควิธีการที่หลากหลายมาปรับปรุง แก้ไข และนาเสนอผลจาก
การแกป้ ญั หามีจิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและคา่ นิยมท่เี หมาะสม
รหัสตัวช้วี ดั
ว 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6
ว 1.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10, ม.3/11
ว 3.๒ ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10
ว 4.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5
รวมทั้งหมด 32 ตัวชวี้ ดั
โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมูลเพ่ิมเตมิ
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 90
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
กลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษาฯ
รายวชิ าพ้นื ฐาน จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
รายวชิ าพื้นฐานระดบั ประถมศึกษา จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑ จานวน 4๐ ชว่ั โมง
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒ จานวน 4๐ ช่วั โมง
ส ๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓ จานวน 4๐ ช่วั โมง
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๖ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๒ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๓ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔
ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๕ จานวน 6๐ ชว่ั โมง
ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๖ จานวน 6๐ ช่ัวโมง
จานวน 6๐ ชวั่ โมง
รายวชิ าพนื้ ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จานวน 6๐ ชั่วโมง
ส 2๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ จานวน 6๐ ชั่วโมง
ส 21๑๐3 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒ จานวน 6๐ ชว่ั โมง
ส 22๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓ จานวน 2๐ ชว่ั โมง
ส 22๑๐3 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔ จานวน 2๐ ชว่ั โมง
ส 23๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕ จานวน 2๐ ชว่ั โมง
ส 23๑๐3 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๖ จานวน 2๐ ชั่วโมง
ส 2๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ จานวน 2๐ ชว่ั โมง
ส 21๑๐4 ประวตั ิศาสตร์ ๒ จานวน 2๐ ชัว่ โมง
ส 22๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๓
ส 22๑๐4 ประวัติศาสตร์ ๔
ส 23๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕
ส 23๑๐4 ประวตั ศิ าสตร์ ๖
โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ
หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 91
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ส ๑๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๑ คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
เวลา 4๐ ชว่ั โมง
ศึกษาเกี่ยวกับพุทธประวัติ ภาพพุทธประวัติแผนภูมิ/แผนผงั ประวัติพระพุทธเจ้าหรือประวัติศาสดาที่
ตนนับถือโดยสังเขป แบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก ประโยชน์ที่ได้รับ คุณงาม
ความดี เร่ืองเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามท่ีกาหนด ความหมาย ความสาคัญ หลักธรรม โอวาท ๓
ในพระพทุ ธศาสนา หรอื หลกั ธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามท่ีกาหนด การสวดมนต์ แผ่เมตตา สตทิ ีเ่ ป็นพืน้ ฐาน
ของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด การบาเพ็ญ
ประโยชน์ต่อวัด หรือศาสนสถาน การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การปฏิบัติตนต่อพระรัตนตรัยประโยชน์และ
องค์ประกอบของพระรตั นตรยั ข้อควรละเว้น (ศีล ๕ )ข้อควรปฏิบัติ (เบญจธรรม) การทาความดีต่อพอ่ แม่ และ
ผู้มีพระคุณ คาแผ่เมตตา/การสวดมนต์ วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา การเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและ
โรงเรียน ลักษณะความสามารถและลักษณะ ความดขี องตนเองและผู้อื่น และผลจากการกระทาน้ัน ประโยชน์
และการปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน ความสามารถและความดีของตนเอง ผู้อ่ืน
โครงสร้าง บทบาท สิทธิ และหน้าท่ีของตนเอง ของสมาชิกในครอบครวั และโรงเรียน กิจกรรมในครอบครัวและ
โรงเรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย สินค้าและการบริการ ที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน การใช้จ่ายเงิน
ในชวี ิตประจาวัน การจัดทีบ่ า้ นและช้ันเรียนโดยใช้ การสงั เกต การบอก ระบุ แยกแยะ เปรยี บเทียบ เรียงลาดับ
การมีส่วนร่วม การตัดสินใจ การอธิบาย การให้เหตุผล ยกตัวอย่าง แสดงตน การปฏิบัติตน และการบาเพ็ญ
ประโยชน์ ประจาวัน ที่ไม่เกินตัวประโยชน์ของการออม การใช้ทรัพยากรในชีวิตประจาวันอย่างประหยัด ของ
เครอื่ งใชป้ ระจาวัน เช่น สมดุ หนังสือ สบู่ ยาสีฟนั การร้จู ักฉลาดใช้จา่ ยในการซอ้ื ส่ิงของทจ่ี าเปน็ รายรบั รายจา่ ย
ประจาวัน รับจากการทางาน การออม จ่ายส่ิงที่จาเป็นประจาวันประหยัดใช้ ประหยัดจ่ายประจาวันความสุข
จากการทางานความซ่ือสัตย์ ความรับผิดชอบ ความอดทน ขยัน การซ้ือจ่ายแลกเปล่ียนสินค้าผู้ผลิต และ
ผู้บริโภคใกล้ตัวการนับช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ การนับวัน เดือน ปีเหตุการณ์ประจาวัน เช่น การต่ืนนอน
การเลน่ การเรียนหนงั สือวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ คน้ คว้าจาก การบอกเล่า ตารา เอกสาร ฯลฯ ทางครอบครัว
พัฒนาการในการดาเนินชีวิตตามสภาพแวดล้อม เช่น ควายไทย รถไถนา เกวียน รถอีแต๋น ในชุมชนของเรา
ปัจจัยสาคัญในการต้ังถิ่นฐานในชุมชน ความจาเป็นท่ีคนต้องทางานอย่างสุจริต วัน เดือน ปี และการนับ
ช่วงเวลาตามปฏิทินท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน เหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน ประวัติความเป็นมาของตนเองและ
ครอบครัว ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม สิ่งของเคร่ืองใช้ หรือการดาเนินชีวิตของตนเองกับสมัยก่อน
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตท่ีมีผลกระทบต่อตนเองในปัจจุบัน ความหมายและความสาคัญของสัญลักษณ์สาคญั
ของชาติไทยและการปฏิบัติตน สถานที่สาคัญซ่ึงเป็นแหล่งวัฒนธรรมในชุมชน ส่ิงที่เป็นความภาคภูมิใจใน
ท้องถ่ิน สิ่งต่าง ๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและท่ีมนุษย์สร้างข้ึน เหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน ประวัติ
ความเป็นมาของตนเองและครอบครัว ความสัมพันธ์ของตาแหน่ง ระยะ ทิศของส่ิงต่าง ๆ รอบตัว ทิศหลักและ
ที่ตั้งของสิ่งต่าง ๆ แผนผังง่าย ๆ ในการแสดงตาแหน่งของส่ิงต่าง ๆ ในห้องเรียน การเปล่ียนแปลงของสภาพ
อากาศในรอบวัน ส่ิงต่าง ๆ ท่ีเกิดตามธรรมชาติท่ีส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ การเปล่ียนแปลง ของสภาพ
แวดล้อมท่ีอยู่รอบตัว การจัดที่บ้านและชั้นเรียน มีความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับสังคม วัฒนธรรม ศาสนาและการแต่ง
กายของประเทศในกลุ่มสมาชกิ อาเซียน
โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 92
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
โดยใช้ การสังเกต การบอก ระบุ แยกแยะ เปรียบเทียบ เรียงลาดับ การมีส่วนร่วม การตัดสินใจ
การอธิบาย การให้เหตผุ ล ยกตวั อย่าง แสดงตน การปฏิบัติตน และการบาเพ็ญประโยชน์
เพ่ือให้เกิดความเคารพ พระรัตนตรัย ชื่นชมมีส่วนร่วมในการตดั สินใจ และ เห็นคุณค่าการ มีสติท่ีเป็น
พ้ืนฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามท่ีกาหนด
รักและภาคภมู ใิ จในท้องถ่ิน เคารพ ยอมรบั ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศอาเซียน
รหสั ตัวชวี้ ดั
ส ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ส ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑
ส ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ส ๕.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
รวมทงั หมด 23 ตวั ช้ีวัด
โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา
สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพิม่ เตมิ
หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 93
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ส ๑2๑๐๑ สังคมศึกษา 2 คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
เวลา 4๐ ชัว่ โมง
ศึกษาเกี่ยวกับความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ พุทธประวัติหรือประวตั ิศาสดา
ท่ีตนนับถือสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนาภาพพระพุทธประวัติ นิทานสอนใจพื้นบ้าน/ท้องถ่ินตามท่ีกาหนด
การดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด ความหมาย
ความสาคัญ พระรัตนตรัย หลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ี
กาหนด หน้าท่ีของเราในบ้าน ในโรงเรียน บุคคลสาคัญทางศาสนาในหมู่บ้าน คุณค่าตามศรัทธาในพระพุทธ
พระธรรม และพระสงฆ์คติธรรม สุภาษิตสอนใจ ตามหลักธรรมและคติธรรมท่ียึดถือในหมู่บ้านการฝึกสติ
เบ้ืองต้น การฝึกสมาธิเบื้องต้นบุคคลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในหมู่บ้านหน้าที่ของเรา ในบ้าน ในโรงเรียน
ศาสดาของศาสนาพทุ ธ คริสต์ อสิ ลามครอบครัวของฉนั พ่อ แม่ ปู่ ยา่ ตา ยาครอบครัวสงบสุข กฎกตกิ า ความ
รับผิดชอบการทาความดีท่ีมีสุขความดีต่อครอบครัวความดีต่อชุมชนหน้าที่ของเราในบ้าน ในโรงเรียนมารยาท
ในชีวิตประจาวัน ความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียน ตามหลักศาสนา สติท่ีเป็นพ้ืนฐานของ
สมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ ศาสนา ศาสดา และ
ความสาคัญของคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอ่ืน ๆ การฝึกปฏิบัติมรรยาทชาวพุทธ ศาสนพิธี
พิธีกรรม และวันสาคัญทางศาสนา ตามท่ีกาหนด ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติใน
ชีวิตประจาวันมารยาทไทย พฤติกรรมในการยอมรบั ความคิด ความเชื่อและการปฏิบัติของบคุ คลอื่นท่ีแตกตา่ ง
กันโดยปราศจากอคติ การเคารพในสทิ ธิส่วนบุคคลความสัมพันธ์ของตนเอง และสมาชิกในครอบครัวทธิของเรา
ใจเขา ใจเราความแตกต่างระหว่างบุคคลการผลิตและการใช้ผลผลิต การเลือกซ้ือสินค้าท่ีจาเป็น คุ้มค่า
ประหยดั ยุตธิ รรมอาชีพท่ีกอ่ ให้เกิดรายได้ ผูม้ ีบทบาท อานาจในการตัดสินใจในโรงเรียน และชมุ ชน ทรัพยากร
ที่นามาผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ในชีวิตประจาวันบันทึกรายรับ - รายจ่ายชีวิตประจาวันอย่างง่ายในการฝาก
เช่น การฝากพ่อ แม่ การฝากธนาคาร การออม เช่น การจ่ายอย่างประหยัดการซ้ือจ่ายแลกเปลี่ยนสนิ คา้ ผผู้ ลติ
และผู้บริโภคใกล้ตัวหลักฐานและการสืบค้น ชีวิตของเรา ครอบครัวหลักฐานและการสืบค้น ชีวิตของเรา
ครอบครัวการเทียบพุทธศักราชและคริสตศักราช พอสังเขปหลักฐานและการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในหมู่บ้าน/
ชุมชน การแต่งกาย การติดต่อสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมในหมู่บ้าน เช่น การแห่นางแมว
การสรา้ ง ศาลาหมูบ่ า้ น รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว การใชจ้ า่ ยที่เหมาะสมกับรายได้ และการ
ออม การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการโดยวิธีต่าง ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย คาบอกเวลา
ที่แสดงเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในครอบครัวหรือในชีวิต ของตนเองโดยใช้
หลักฐานที่เก่ียวข้อง การเปล่ียนแปลงในวิถีชีวิตประจาวันของคนในชุมชน ของตนจากอดีตถึงปัจจุบัน
ผลกระทบของการเปล่ียนแปลง ท่ีมีต่อวิถีชีวิตของคน บุคคลท่ีทาประโยชน์ต่อท้องถ่ินหรือประเทศชาติ
วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทยที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ สิ่งต่าง ๆ ท่ีเป็นธรรมชาติกับที่มนุษย์
สร้างขึ้น ซึ่งปรากฏระหว่างโรงเรียนกับบ้าน ตาแหน่งอย่างง่าย และลักษณะทางกายภาพของส่ิงต่างๆ ที่ปรากฏใน
ลูกโลก แผนที่ แผนผัง และภาพถ่าย ความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์
ความสาคัญและคุณค่าของส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติและทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติท่ีใช้แล้วไม่หมดไปและ
ท่ีใช้แล้วหมดไป ความสัมพันธ์ของฤดูกาลกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์ การฟ้ืนฟูปรับปรุงสิ่งแวดล้อมใน
โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพมิ่ เตมิ