หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 194
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ
ง 22204 การแปรรปู อาหาร กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรียนที่ 2 รวม 40 ชวั่ โมง จานวน ๑.๐ หน่วยกติ
ศึกษาความหมาย ความสาคัญ ประโยชน หลักการ วิธีการ ขั้นตอน กระบวนการทางาน การจัดการ
การประเมินผล ปรับปรุง และ พัฒนาการถนอมอาหาร มีทักษะกระบวนการทางานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมี
ประสิทธิภาพและปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ออกแบบ และสร้างผลิตภัณฑ์ใชเทคโนโลยีคนหาข้อมูล
สารสนเทศ เลอื กใชเทคโนโลยีไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รูจักรบั ผดิ ชอบ ซอ่ื สัตย รอบคอบ ประณีตสะอาด เป็นระเบียบ
ในการทางาน มีเจตคติที่ดี ตองานใชทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ถูกวิธี และ ประหยัด ปฏิบัติการถนอมอาหารตาม
ฤดกู าลของทองถ่ิน ใชกรรมวิธีตามภูมิปญั ญาท้องถ่ิน เชน ตากแหง รมควนั หมกั ดอง ใชอุณหภูมิสูง ใชสารเคมี
ปรุงแต่งอาหาร นาเทคโนโลยีสร้างสรรค์ ปรับปรุง และพัฒนา เหมาะสมกับงาน โดยคานึงถึงความคุ้มค่า
ประสิทธิภาพ วัฒนธรรม ส่ิงแวดลอม และสังคม ลงมือผลิตช้ินงาน และปรับปรุงการทางาน นาเสนอผลงาน
และแนวทางในการประกอบอาชพี เพ่ือใหทางานได้ถูกตอง ประหยัด ปลอดภัย ทางานร่วมกับผ้อู ่ืนได้ มีทักษะ
เจตคตทิ ี่ดีตอการถนอมอาหาร เหน็ คณุ คาของการเป็นผู้ผลิตมากกวาผู้บริโภค และนาชิ้นงานไปใชประโยชนได้
ผลการเรียนรู้
1. บอกประวตั ิความเป็นมา ความหมายความสาคัญ ประโยชนของการแปรรูปอาหารได้
2. บอกสาเหตุที่ทาใหเกดิ การเนาเสียของอาหารได้ถกู ตอง
3. บอกหลักการแปรูปอาหารไดถ้ กู ตอง
4. รูและเขาใจวิธีการแปรรูปอาหารด้วยการกาจัดหรือยับย้ังการเจริญ เติบโตของเชื้อจุลินทรียใน
อาหารไดถ้ กู ตอง
5. เขาใจวิธีการและขั้นตอนการแปรรูปอาหารไดถ้ กู ตอง
6. ใชเก็บ ซอมแซม ดดั แปลง บารงุ รักษาเครอ่ื งมือเครอ่ื งใชในการทาการแปรรปู อาหาร
7. ทาการแปรรูปอาหารได้ตามแผนและข้ันตอนที่กาหนดประเมินผล และแกปญหาระหว่างการ
ทางาน
8. ใชพลงั งาน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอมในการแปรรปู อาหารได้อย่างประหยัด
9. มคี วามคดิ ทดี่ ีและมปี ระโยชนตอการแปรรปู อาหาร
10. เตม็ ใจทางานตามบทบาทหนาท่ี มคี วามรับผิดชอบ ประณีต รอบคอบ ขยัน ซ่ือสัตยประหยดั และ
อดออม
11. หาความรูเกย่ี วกับการถนอมอาหารจากแหลง่ ความรูต้ ่าง ๆ ได้
รวมทง้ั หมด 11 ผลการเรยี นรู้
โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพ่ิมเติม
หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 195
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม
ง 23201 การผกู ผ้า กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 รวม 40 ชัว่ โมง จานวน ๑.๐ หนว่ ยกติ
ศึกษาเทคนิคการผูกผาประกอบพิธีต่าง ๆ ซ่ึงใชประดับตกแต่งมุมต่าง ๆ โครงสร้างอาคารในพิธีใหดู
หรูหรา สวยงามแต่ใช้งบประมาณในการจัดน้อย เพราะผืนผาเมื่อเสร็จส้ินงานพิธีสามารถน้าไปใช้ได้อีก
การเตรยี ม การใชและการเกบ็ รักษาเคร่ืองมือ และเคร่อื งใช ในการผูกผา การออกแบบการผูกผาในแบบต่าง ๆ
ฝกการปฏิบัติ โดยเน้นขั้นตอน กระบวนการและนิสัยในการทางาน สังเกตการปฏิบัติงานและผลงาน แล้ว
อภิปรายหาขอบกพรองและวิธีแกไข เพ่ือใหมีความรู ความเขาใจ การดาเนินงานเชิงการคา มีทักษะในการใช
มือ เครอ่ื งมือ และสามารถเสริมสวยตามขั้นตอน กระบวนการ ปรบั ปรงุ งานอยูเสมอ เห็นคุณคาของการทางาน
และ มีนสิ ยั รักงาน
ผลการเรียนรู้
1. ใชเตรยี มเคร่ืองมือ วสั ดุ อุปกรณ์ตามมาตรฐานในการผูกผา และเกบ็ รักษา
2. มีความรูความเขาใจและมีทักษะในการผกู ผา ในโอกาสและพิธตี า่ ง ๆ
3. ออกแบบและการวางแผนปฏบิ ตั งิ านไดถ้ ูกตองตามขน้ั ตอนกระบวนการ
4. ปฏบิ ตั ิการผกู ผาได้ตามแผนที่วางไว อยา่ งสวยงาม
5. รูและเขาใจในการกาหนดราคา การคานวณคาใชจ่ายให้เหมาะสมโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
การทาบัญชีรายรับ-รายจา่ ย จดบนั ทึกและประเมนิ ผล
6. ใหบริการการผกู ผ้าอย่างเหน็ คุณคา
รวมท้งั หมด 6 ผลการเรียนรู้
โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพิม่ เติม
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 196
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
ง 23202 ระเบียนการเงนิ กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 รวม 40 ช่ัวโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษาความหมาย ความสาคัญ หลักการ ทฤษฎี วิธีการ ข้ันตอนและประโยชนขอมูลการบัญชี
ขอสมมติตามแม่บทการบัญชี ความหมายของสินทรัพย์ หน้ีสินและสวนของเจ้าของ (ทุน) สมการบัญชี
และงบดุล การวิเคราะห์รายการคา การบันทึกรายการคาตามหลักบัญชีคูของธุรกิจเจาของคนเดียวในสมุด
รายวันทั่วไป ผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท งบทดลอง กระดาษ ทาการ 6 ชอง งบการเงิน และสรุปวงจร
บญั ชี
ปฏิบัติงานการวเิ คราะห์รายการคา การบันทึกรายการคาในสมุดรายวนั ทั่วไปผ่านรายการไปบญั ชแี ยก
ประเภท งบทดลอง กระดาษทาการ 6 ชอง รายงานฐานะการเงินและผลการดาเนินการของกิจการเจาของคน
เดียว
เพ่ือใหมีความรูความเขาใจ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทักษะ คุณธรรม มีจิตสานึกในการใชพลังงาน
ทรัพยากรส่ิงแวดลอม การจัดการ กระบวนการทางานร่วมกับผู้อ่ืน การแสวงหาความรู สามารถแกปญหาใน
การทางาน มีการวางแผนเชิงกลยุทธ ประยุกตใชเทคโนโลยีมาสร้างสรรค์ใหเหมาะสมกับงาน มีเจตคติที่ดีต
องานและเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพอย่างสุจรติ
ผลการเรียนรู้
1. มีความรูความเขาใจ ความหมาย ความสาคัญ วัตถุประสงค และเห็นประโยชนของการบัญชี
และสามารถปฏิบตั ติ ามคาแนะนาในการเรยี นบัญชีได้
2. มีความรูความเขาใจ ความหมายสินทรัพย์ หนี้สิน และสวนของเจ้าของ(ทุน) สมการ บัญชี งบดุล
และจาแนกสินทรพั ย์ หนส้ี นิ และสวนของเจาของได้
3. มคี วามรูความเขาใจ ความหมาย ความสาคญั รปู แบบธรุ กจิ เอกสารประกอบการ บนั ทกึ บญั ชี การ
ต้ังช่อื บญั ชี รายการคา การวเิ คราะห์รายการคา และสามารถวเิ คราะห์รายการคา เพอ่ื บันทึกในสมดุ บญั ชีได้
4. มคี วามรูความเขาใจ ความหมาย ความสาคญั ประเภท วัตถปุ ระสงค วธิ กี าร ขน้ั ตอน และเหน็ ประ
โยชนของสมดุ รายวันขน้ั ตน และสามารถบนั ทกึ รายการคาในสมดุ รายวนั ทว่ั ไปได้
5. มีความรูความเขาใจ ความหมาย รูปแบบ หลักการ ข้ันตอน การจัดหมวดหมู เห็นประโยชนบัญชี
แยกประเภทท่วั ไป และผ่านรายการจากสมดุ รายวนั ทัว่ ไปไปบัญชีแยกประเภททัว่ ไป
6. มีความรูความเขาใจ ความหมาย รูปแบบ หลักการ วิธีการ ข้ันตอน และเห็นประโยชน ของงบ
ทดลอง หายอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทด้วยดินสอ และสามารถทางบทดลองและหาขอผิดพลาดในการ
จัดทางบทดลองได้
7. มคี วามรูความเขาใจ ความหมาย รปู แบบ หลักการ วิธีการ ขั้นตอน และเห็นประโยชนของกระดาษ
ทาการ 6 ชอง และ สามารถทากระดาษทาการ 6 ชองได้
8. มีความรูความเขาใจ ความหมาย รูปแบบ หลักการ ขั้นตอน และเห็นประโยชนงบการเงิน
และสามารถรายงานฐานะการเงินและผลการดาเนนิ งานได้
9. สรปุ วงจรบัญชีได้
รวมทง้ั หมด 9 ผลการเรยี นรู้
โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพมิ่ เติม
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 197
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม
ง 23203 การจดั สวนถาด กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 รวม 40 ชัว่ โมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษาการจัดสวนถาดเป็นการจัดปลูกตนไม้ลงในภาชนะขนาดเล็กใหเกิดความสวยงาม ใชศิลปะช่วย
ตกแตง่ โดยการใชตนไมห้ ลายชนิดจดั ลงในภาชนะในรูปแบบตา่ ง ๆ ปฏิบตั ิทักษะการจัดสวนถาด โดยออกแบบ
ด้วยลายเส้นจัดรูปแบบ จัดหาพันธุ์ไม้ เครื่องปลูก ภาชนะในการจัดทาตลอดจนการดูแลรักษาสวนถาด โดยใช้
ภูมิปัญญาทองถ่ิน และความรูทางวิชาการที่จะประสานและบูรณาการในการทางานอย่างมีความสุขตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ผลการเรียนรู้
1. นกั เรียนอธบิ ายความสาคัญและประโยชนของการจดั สวนถาดได้ถกู ต้อง
2. นกั เรียนอธิบายประเภทของสวนถาดได้ถูกตอ้ ง
3. นกั เรยี นวิเคราะหพ์ ันธุ์ไม้สาหรับจดั สวนถาดได้
4. นักเรยี นมที กั ษะในการจัดการเตรียมดนิ สาหรบั จัดสวนถาดได้
5. นกั เรียนรูจกั เลือกใชเครอื่ งมอื และวะสดอุ ุปกรณ์จัดสวนถาดได้ถกู ต้อง
6. นกั เรียนกาหนดออกแบบและขั้นตอนการจัดสวนถาดได้
รวมทง้ั หมด ๖ ผลการเรียนรู้
โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพ่ิมเติม
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 198
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม
ง 23204 ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 รวม 40 ช่วั โมง จานวน ๑.๐ หน่วยกติ
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับหลักการพื้นฐานของการประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย อม (SMEs)
ในเร่ืองความหมายและความสาคัญของการประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) คุณสมบัติของ
ผู้ประกอบการ แหล่งเงินทุน การเลือกทาเล รูปแบบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) และศึกษา
แนวโน้มของธรุ กิจในอนาคต
โดยใชกระบวนการสืบค้นข้อมูล การคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก
กระบวนการทักษะปฏบิ ตั ิ กระบวนการกล่มุ และกระบวนการสร้างเสริมคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค
เพ่อื ใหเกดิ ความรูความเขาใจหลกั การพน้ื ฐานเกี่ยวกบั การประกอบธุรกจิ ขนาดกลางขนาดยอม (SMEs)
เห็นชองทางในการเลือกดาเนินธุรกิจท่ีเหมาะสมกับตน สามารถพัฒนาตนใหมีคุณสมบัติเหมาะสม และ
สอดคล้องกับลักษณะงานธุรกิจที่เลือก มีเจตคติท่ีดีในการทางาน มีคุณธรรม ขยัน ซ่ือสัตย อดทนประหยัด
ม่งุ ม่นั และทางานอยา่ งมีความสุข สามารถบรู ณาการความรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีทกุ ด้านในการทางาน
เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพของการทางานและอาชพี โดยใหครอบคลมุ การทางาน การแกปญหา การสร้างงาน และ
การสร้างอาชีพสุจริตดว้ ยความรับผิดชอบ
ผลการเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมายและประเภทของธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ได้
2. วเิ คราะห์ขอดแี ละขอเสียของธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ได้
3. อธบิ ายความสาคัญของธรุ กิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ในระบบเศรษฐกิจไทยได้
4. อธิบายขนั้ ตอนการเรม่ิ ตนประกอบธรุ กิจขนาดกลางขนาดยอม (SMEs) ได้
5. มที กั ษะในการวิเคราะห์ความเป็นไปไดใ้ นการประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs)
6. มีทักษะในการวางแผนประกอบธรุ กิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs)
รวมท้ังหมด 6 ผลการเรยี นรู้
โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา
สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพม่ิ เตมิ
หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 199
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ
รายวชิ าพ้นื ฐาน จานวน ๑6๐ ชั่วโมง
จานวน ๑6๐ ชั่วโมง
รายวิชาพ้นื ฐานระดบั ประถมศกึ ษา จานวน ๑6๐ ชว่ั โมง
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ จานวน 120 ชว่ั โมง
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๒ จานวน 120 ชว่ั โมง
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ จานวน 120 ชัว่ โมง
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ จานวน 6๐ ชั่วโมง
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ จานวน 6๐ ชว่ั โมง
จานวน 6๐ ชว่ั โมง
รายวิชาพน้ื ฐานระดับมธั ยมศกึ ษา จานวน 60 ชวั่ โมง
อ 2๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ จานวน 60 ชั่วโมง
อ 21๑๐2 ภาษาองั กฤษ ๒ จานวน 60 ชัว่ โมง
อ 22๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓
อ 22๑๐2 ภาษาอังกฤษ ๔
อ 23๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕
อ 23๑๐2 ภาษาอังกฤษ ๖
โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 200
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
เวลา 16๐ ช่วั โมง
ระบุตัวอักษรและเสียงตัวอักษร อ่านออกเสียง สะกดคา ปฏิบัติตามและใช้คาส่ังง่าย ๆ สามารถเลือก
ภาพ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคาที่ฟัง บอกความต้องการง่าย ๆ ของตนเอง พูดขอและให้ข้อมูลในการ
สื่อสารระหว่างบคุ คลเก่ียวกบั ตนเองและเร่ืองใกลต้ ัวในสถานการณง์ ่าย ๆ ที่เกดิ ขึ้นในหอ้ งเรยี น พร้อมทง้ั ทาท่า
ประกอบ อ่านออกเสียง และสะกดคาง่าย ๆ ตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกช่ือ รวบรวมคาศัพท์ และ
ตอบคาถามเรื่องใกล้ตัว เทศกาลสาคัญของเจ้าของภาษา เก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเข้าร่วม
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ท่ีเหมาะกับวัย ถูกต้องตามกาลเทศะ มีความรู้เก่ียวกับ
คาศัพท์ การออกเสียง การเลือกภาพตรงตามความหมายของคาศัพท์ของประเทศกลุ่มอาเซียน บอกสีธงชาติ
ของประเทศในกลุ่มอาเซียน ใหก้ ารยอมรับซ่งึ กนั และกนั มีความสามัคคใี นกลมุ่ อาเซียน
โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการส่ือความ กระบวนการ
กลมุ่ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการทาวาน กระบวนการออกแบบการฝกึ ปฏิบตั ิตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ
เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนาเสนอสื่อสารเห็นคุณค่านาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มคี ุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมทีเ่ หมาะสม ใฝ่รู้ใฝ่เรยี น รักความเป็นไทย และมจี ิตสาธารณะ
รหัสตัวช้วี ัด
ต ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๓ ป.๑/๑
ต ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ต ๒.๒ ป.๑/๑
ต ๓.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๒ ป.๑/๑
รวมทงั้ หมด ๑๖ ตัวชี้วัด
โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา
สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพิ่มเตมิ
หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 201
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
อ ๑2๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 2 คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
เวลา 16๐ ชัว่ โมง
ระบุตัวอักษร เสียงตัวอักษรภาษาไทย อ่านออกเสียงประโยคง่าย ๆ และสะกดคาง่าย ๆ ถูกต้องตาม
หลักการอ่าน เลือกภาพตรงตามความหมายของคาและกลุ่มคาที่ฟัง ฟังและปฏิบัติตาม คาส่ัง คาขอร้องง่าย ๆ
พูดและฟังประโยค บทสนทนาหรือนิทานง่าย ๆ ท่ีมีภาพประกอบ เกี่ยวกับข้อมูลของตนเอง เร่ืองใกล้ตัว
สถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นในโรงเรียนและบอกความต้องการของตนเอง พร้อมท้ังทาท่าประกอบ บอกช่ือ คาศัพท์
เกีย่ วกับเทศกาลสาคัญของเจ้าของภาษา และกลุม่ สาระการเรยี นรูอ้ นื่ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรม
ของเจ้าของภาษาที่เหมาะกับวัย ถูกต้องตามกาลเทศะ รู้ความหมายของคา ประโยค วลีง่ายๆ เก่ียวกับตนเอง
ครอบครัว โรงเรียน สิ่งใกล้ตัว อาหารเคร่ืองด่ืม และการละเล่นของประเทศในกลุ่มอาเซียน แสดงท่าทาง
ประกอบการพูดแนะนาตนเอง ใหก้ ารยอมรับซ่งึ กนั และกนั มีความสามัคคี ในกลุม่ สมาชกิ อาเซียน
โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการส่อื ความ กระบวนการ
กล่มุ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการทาวาน กระบวนการออกแบบการฝึกปฏิบตั ติ ามสถานการณ์ต่าง ๆ
เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนาเสนอสื่อสารเห็นคุณค่านาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ มที่เหมาะสม ใฝร่ ู้ใฝ่เรียน รกั ความเป็นไทย และมจี ติ สาธารณะ
รหัสตวั ชว้ี ดั
ต ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ต ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ต ๑.๓ ป.๒/๑
ต ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ต ๒.๒ ป.๒/๑
ต ๓.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๒ ป.๒/๑
รวมทั้งหมด ๑๖ ตัวชีว้ ัด
โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพม่ิ เตมิ
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 202
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
อ ๑3๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 3 คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
เวลา 16๐ ชว่ั โมง
ปฏิบัติตามและใช้คาสั่ง คาขอร้อง อ่านออกเสียงคา สะกดคา กลุ่มคา ประโยค บทพูดเข้าจังหวะ
บทสนทนา หรือนิทานง่าย ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน บอกความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา
และประโยคง่าย ๆ ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย จัดหมวดหมู่คาตามประเภทของบุคคล สัตว์
และสิ่งของ ตามที่ฟังหรืออ่าน เลือก ระบุ ภาพ สัญลักษณ์และตอบคาถาม ตรงตามความหมายของกลุ่มคา
และประโยค บอกชื่อและรวบรวมคาศัพท์เกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัว กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เทศกาล วันสาคัญ
งานฉลองและชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา บอกความรู้สึก ความต้องการง่าย ๆ ของตนเองเก่ียวกับสิ่ง
ต่าง ๆ หรือกิจกรรมต่าง ๆ ตามแบบที่ฟัง ฟัง พูดโต้ตอบ คาสั้น ๆ สถานการณ์ง่าย ๆ ท่ีเกิดข้ึนในห้องเรียน
ในการส่ือสารระหว่างบุคคล ขอและให้ข้อมูลง่ายๆเก่ียวกับตนเอง และเพ่ือนพร้อมทั้งทาท่าประกอบ เข้าร่วม
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามมารยาทสังคมของเจ้าของภาษา ที่เหมาะกับวัย อ่านออกเสียงคาศัพท์
เก่ียวกับสีของธงประจาชาติ กีฬา สัตว์ อาหารและเคร่ืองด่ืมของประเทศสมาชิกอาเซียน มีความสามัคคี ยอมรับ
ซง่ึ กนั และกนั ในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการสอ่ื ความ กระบวนการ
กลมุ่ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการทาวาน กระบวนการออกแบบการฝึกปฏบิ ตั ติ ามสถานการณ์ต่าง ๆ
เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนาเสนอส่ือสารเห็นคุณค่านาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ มท่เี หมาะสม ใฝ่รใู้ ฝ่เรียน รักความเป็นไทย และมีจติ สาธารณะ
รหสั ตวั ชี้วัด
ต ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ต ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
ต ๑.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ต ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ต ๒.๒ ป.๓/๑
ต ๓.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๒ ป.๓/๑
รวมท้ังหมด ๑๘ ตัวชี้วดั
โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพม่ิ เตมิ
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 203
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
อ ๑4๑๐๑ ภาษาองั กฤษ 4 คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
เวลา 12๐ ช่ัวโมง
ปฏิบัติตามคาส่ัง คาขอร้อง คาแนะนา และคาขออนุญาตง่าย ๆ ที่ฟังหรืออ่าน อ่านออกเสียงคา
สะกดคา อ่านกลุ่มคา ประโยค ข้อความง่าย ๆ และบทพูดเข้าจังหวะ ถูกต้องตาม หลักการอ่าน บอกความ
เหมือนและความแตกต่างของเสียง ตัวอักษร คา กลุ่มคา ประโยค และข้อความของภาษาต่างประเทศ
และภาษาไทย เทศกาลและงานฉลอง ตามวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษากับของไทย ฟัง พูด อ่าน เขียนโต้ตอบ
โดยใช้คาส่ัง คาขอร้อง กิจกรรมต่าง ๆ แสดงความต้องการ ความรู้สึก ความคิดเห็นของตนเอง ขอความ
ชว่ ยเหลอื แสดงความสัมพันธ์ในสถานการณ์ง่าย ๆ เร่ืองใกล้ตัว ในห้องเรยี นและสถานศึกษาตามแบบที่ฟังหรือ
อา่ น ทาท่าประกอบอย่างสุภาพ ตอบคาถามจากการฟงั และอ่านประโยค บทสนทนา นิทาน เทศกาล วันสาคัญ
งานฉลองและชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน และครอบครัว
เลือก ระบุ วาดภาพ สัญลักษณ์ เคร่ืองหมาย ตรงตามความหมายของ ประโยคและ ข้อความสั้น ๆ
ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลคาศัพท์ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ่ืน
และนาเสนอด้วยการพูด/การเขียน เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมท่ีเหมาะสมกับวัย อ่านออกเสียง
คาศัพท์เกี่ยวกับสีธงประจาชาติ ช่ือประเทศ กีฬา สัตว์ อาหารและเคร่ืองด่ืมในสมาชิกอาเซียน ยอมรับความ
คิดเหน็ ของผ้อู ืน่
โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการสือ่ ความ กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการทาวาน กระบวนการออกแบบการฝึกปฏิบตั ติ ามสถานการณ์ต่าง ๆ
เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนาเสนอส่ือสารเห็นคุณค่านาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสม ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ และมีมารยาท
ทางสงั คมตามวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา
รหสั ตัวชวี้ ัด
ต ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ต ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
ต ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ต ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ต ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ต ๓.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๒ ป.๔/๑
รวมท้ังหมด ๒๐ ตัวช้วี ดั
โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 204
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
อ ๑5๑๐๑ ภาษาองั กฤษ 5 คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
เวลา 12๐ ช่ัวโมง
ปฏิบัติตามและใช้คาส่ัง คาขอร้อง คาขออนุญาต และคาแนะนาง่าย ๆ จากการฟังและอ่านออกเสียง
ประโยค ข้อความ บทกลอนส้ัน ๆ ตามหลักการอ่าน บอกความหมายเหมือนและความแตกต่างระหว่างการ
อ่านออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้เคร่ืองหมายวรรคตอน การลาดับคา ระบุและวาดภาพสัญลักษณ์
หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของประโยคและข้อความส้ัน ๆ เขียนแผนผัง แผนภูมิ แสดงข้อมูล
จากเร่ืองที่ฟังหรืออ่าน บอกใจความสาคัญและตอบคาถามจากการฟัง และอ่านบทสนทนา นิทานสั้น ๆ
เรื่องส้ัน ใช้ถ้อยคา น้าเสียงกริยาท่าทางอย่างสุภาพตามมารยาท ค้นคว้า รวบรวมคาศัพท์ที่เก่ียวกับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น นาเสนอด้วยการพูด ใช้ภาษา ในการฟัง พูด อ่าน เขียน เรื่องราวเก่ียวกับสถานการณ์ต่าง ๆ
ทเ่ี กิดขน้ึ ในห้องเรียน ในสถานศกึ ษา พดู และเขียนแสดงความต้องการ แสดงความรสู้ ึกพร้อมท้ังใหเ้ หตุผลส้ัน ๆ
ขอและให้ข้อมูลเก่ียวกับครอบครัว เรื่องใกล้ตัว และตอบรับ ตอบปฏิเสธความช่วยเหลือ ใช้ภาษาอังกฤษเป็น
เคร่ืองมือสืบค้น และรวบรวมข้อมูล บอกความสาคัญ ความเหมือนและความแตกต่างของเทศกาล วันสาคัญ
งานฉลอง วฒั นธรรมประเพณี และชีวิตความเป็นอยู่ ระหวา่ งของเจ้าของภาษากับของไทย บอกใจความสาคัญ
และตอบคาถามจากการฟัง และอา่ นบทสนทนาและนิทานหรือเร่ืองส้นั งา่ ย ๆ เกย่ี วกับประเทศสมาชิกอาเซียน
ยอมรบั ความคิดเหน็ ของผู้อนื่
โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการสอ่ื ความ กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการทาวาน กระบวนการออกแบบการฝึกปฏบิ ตั ิตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ
เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนาเสนอสื่อสารเห็นคุณค่านาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ และมีเจตคติที่ดีต่อ
การเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษ
รหสั ตวั ชว้ี ดั
ต ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ต ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ต ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ต ๓.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๒ ป.๕/๑
รวมทั้งหมด ๒๐ ตัวช้ีวดั
โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพม่ิ เติม
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 205
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
อ ๑6๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 6 คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
เวลา 12๐ ชัว่ โมง
ปฏิบัติตามและพูด เขียนโต้ตอบ คาส่ัง คาขอร้อง คาขออนุญาต และคาแนะนาง่าย ๆ จากการฟัง
และอ่าน อ่านออกเสียง ประโยค ข้อความ นิทาน และบทกลกลอนส้ัน ๆ ตามหลักการอ่าน เปรียบเทียบความ
เหมือนและความแตกต่างระหว่างการอ่านออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน
การลาดับคา ระบุและวาดภาพสญั ลักษณ์ หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของประโยคและข้อความส้นั ๆ
เขียนแผนผัง แผนภูมิ แสดงข้อมูล จากเรื่องท่ีฟังหรืออ่าน บอกใจความสาคัญและตอบคาถามจากการฟัง
และอ่านบทสนทนา นิทานส้ัน ๆ เรื่องสั้น ใช้ถ้อยคา น้าเสียงกริยาท่าทางอย่างสุภาพตามมารยาท ค้นคว้า
รวบรวมคาศัพท์ที่เก่ียวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น นาเสนอด้วยการพูด ใช้ภาษา ในการฟัง พูด อ่าน เขียน
เร่ืองราวเก่ียวกับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในห้องเรียน ในสถานศึกษา พูดและเขียนแสดงความต้องการ
แสดงความรู้สึกพร้อมท้ังให้เหตุผลสั้น ๆ ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับครอบครัว เรื่องใกล้ตัว และ ตอบรับ
ตอบปฏิเสธความช่วยเหลือ ใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือสืบค้น และรวบรวมข้อมูล บอกความสาคัญ
ความเหมือนและความแตกต่างของเทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง วัฒนธรรมประเพณี และชีวิตความเป็นอยู่
ระหว่างของเจ้าของภาษากับของไทย ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งท่องเท่ียว สถานท่ีสาคัญของประเทศสมาชิก
อาเซียน จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และนาเสนอด้วยการพูดหรือการเขียนข้อมูลเก่ียวกับประเทศสมาชิก
อาเซยี น ยอมรับความคิดเหน็ ของผอู้ นื่
โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการสือ่ ความ กระบวนการ
กลมุ่ กระบวนการแกป้ ญั หา กระบวนการทาวาน กระบวนการออกแบบการฝึกปฏบิ ตั ิตามสถานการณ์ต่าง ๆ
เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนาเสนอส่ือสารเห็นคุณค่านาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสม ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ และมีเจตคติท่ีดีต่อ
การเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษ
รหสั ตัวชวี้ ัด
ต ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ต ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ต ๑.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ต ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ต ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ต ๓.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๒ ป.๖/๑
รวมท้ังหมด ๒๐ ตัวชวี้ ัด
โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพม่ิ เติม
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 206
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
อ 2๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 รวม 60 ชัว่ โมง จานวน ๑.5 หน่วยกิต
ปฏบิ ตั ิตามคาสั่งคาขอร้องคาแนะนาและคาช้ีแจงต่าง ๆ อ่านออกเสียงข้อความได้ถูกต้องตามหลักการ
อ่านอ่านนิทานและร้อยกรองส้ันๆเลือกระบุประโยคและข้อความสัมพันธ์กับส่ือท่ีไม่ใช่ความเรียงจับใจความ
สาคัญจากเรื่องท่ีฟังและอ่านสนทนาแลกเปล่ียนข้อมูลเก่ียวกับตนเองกิจกรรมและสถานการณ์ต่าง ๆ พูดและ
เขียนแสดงความต้องการขอความชว่ ยเหลือตอบรับและปฏเิ สธกิจกรรมต่าง ๆ ใกล้ตัวสรุปวิเคราะหเ์ รือ่ งท่ีอยู่ใน
ความสนใจของสังคมใช้ภาษาน้าเสียงและกริยาท่าทางตามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
เข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมเกี่ยวกับเทศกาลวันสาคัญชีวิตความเป็นอยู่ประเพณีของ
เจ้าของภาษาบอกความเหมือนและความแตกต่างเรื่องการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้เครื่องหมาย
วรรคตอนการลาดับคาตามโครงสรา้ งประโยคของภาษาองั กฤษกับภาษาไทยและเปรยี บเทยี บเทศกาลวันสาคัญ
และชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษากับของไทยค้นคว้ารวบรวมสรุปข้อมูลข้อเท็จจริงที่เก่ียวข้องกับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อ่ืนจากแหล่งเรียนรู้และนาเสนอด้วยการพูดการเขียนใช้ภาษา สื่อสารในสถานการณ์จริง
สถานการณจ์ าลองทเี่ กิดข้นึ ในห้องเรยี นและสถานศึกษา
โดยใช้กระบวนการทางภาษาการฟัง การพูด การอ่าน และเขียนกระบวนการส่ือความ กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการทาวาน กระบวนการออกแบบการฝกึ ปฏิบตั ติ ามสถานการณ์ต่าง ๆ
เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนาเสนอส่ือสารเห็นคุณค่านาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมท่เี หมาะสม
รหัสตวั ช้วี ดั
อ ๑.๑ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ ,ม.๑/๔
อ ๑.๒ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ ,ม.๑/๔ ,ม.๑/๕
อ ๑.๓ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓
อ ๒.๑ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓
อ ๒.๒ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒
อ ๓.๑ ม.๑/๑
อ ๔.๑ ม.๑/๑
อ ๔.๒ ม.๑/๑
รวมท้งั หมด ๒๐ ตวั ช้ีวัด
โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 207
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
อ 2๑๑๐2 ภาษาอังกฤษ 2 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 รวม 60 ชัว่ โมง จานวน ๑.5 หน่วยกิต
ปฏิบตั ติ ามคาส่ังคาขอร้องคาแนะนาและคาชี้แจงต่าง ๆ อา่ นออกเสียงข้อความได้ถูกต้องตามหลักการ
อ่านอ่านนิทานและร้อยกรองส้ันๆเลือกระบุประโยคและข้อความสัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงจับใจความ
สาคัญจากเร่ืองที่ฟังและอ่านสนทนาแลกเปล่ียนข้อมูลเก่ียวกับตนเองกิจกรรมและสถานการณ์ต่าง ๆ พูดและ
เขยี นแสดงความต้องการขอความช่วยเหลือตอบรับและปฏิเสธกจิ กรรมตา่ ง ๆ ใกลต้ วั สรุปวิเคราะห์เร่ืองที่อยู่ใน
ความสนใจของสังคมใช้ภาษาน้าเสียงและกริยาท่าทางตามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้ าของภาษา
เข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมเก่ียวกับเทศกาลวันสาคัญชีวิตความเป็นอยู่ประเพณีของ
เจ้าของภาษาบอกความเหมือนและความแตกต่างเร่ืองการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้เคร่ืองหมาย
วรรคตอนการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาองั กฤษกับภาษาไทยและเปรยี บเทยี บเทศกาลวันสาคัญ
และชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษากับของไทยค้นคว้ารวบรวมสรุปข้อมูลข้อเท็จจริงที่เก่ียวข้องกับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อ่ืนจากแหล่งเรียนรู้และนาเสนอด้วยการพูดการเขียนใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง
สถานการณ์จาลองที่เกดิ ขน้ึ ในห้องเรียนและสถานศึกษา
โดยใช้กระบวนการทางภาษาการสื่อสารการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูลการฝึกปฏิบัติตาม
สถานการณต์ า่ ง ๆ
เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนาเสนอสื่อสารเห็นคุณค่านาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยมท่ีเหมาะสม
รหัสตัวชี้วดั
อ ๑.๑ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ ,ม.๑/๔
อ ๑.๒ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ ,ม.๑/๔ ,ม.๑/๕
อ ๑.๓ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓
อ ๒.๑ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓
อ ๒.๒ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒
อ ๓.๑ ม.๑/๑
อ ๔.๑ ม.๑/๑
อ ๔.๒ ม.๑/๑
รวมทั้งหมด ๒๐ ตวั ชี้วดั
โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพิม่ เติม
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 208
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
อ 22๑๐1 ภาษาอังกฤษ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 รวม 60 ชัว่ โมง จานวน ๑.5 หนว่ ยกิต
ปฏิบัติตามคาขอร้องคาแนะนาคาชี้แจงและคาอธิบายง่าย ๆ อ่านออกเสียงข้อความข่าวประกาศ
และบทร้อยกรองส้ัน ๆ และถูกต้องตามหลักการอ่านระบุเขียนประโยคและข้อความให้สัมพันธ์กับเร่ืองท่ีไม่ใช่
ความเรียงจับใจความสาคัญและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีอ่านสนทนาและแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเองกจิ กรรมและสถานการณต์ า่ ง ๆ พูดเขียนบรรยายอธิบายแสดงความต้องการเสนอและให้ความช่วยเหลือ
ตอบรับและปฏิเสธกิจกรรมต่าง ๆ และประสบการณ์ข่าวเหตุการณ์ท่ีอยู่ในความสนใจของสังคมใช้ภาษา
น้าเสียงและกริยาท่าทางตามมารยาทของสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมทาง
ภาษาและวัฒนธรรมเกี่ยวกับเทศกาลวันสาคัญชีวิตความเป็นอยู่ประเพณีของเจ้าของภาษาเปรียบเทียบบอก
ความหมายและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างเร่ืองของการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ ตาม
โครงสร้างประโยคของภาษาอังกฤษกับภาษาไทยค้นควา้ รวบรวมสรุปข้อมูลข้อเท็จจริงท่ีเก่ียวกับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อ่ืนจากแหลง่ เรียนร้แู ละนาเสนอด้วยการเขียนใช้ภาษาส่อื สารเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในสถานการณ์
จริงสถานการณจ์ าลองท่เี กิดข้ึนในหอ้ งเรียนสถานศึกษาและชุมชน
โดยใช้กระบวนการทางภาษาการสื่อสารและการสืบเสาะหาความรกู้ ารสบื ค้นข้อมูลการฝกึ ปฏิบตั ิตาม
สถานการณต์ ่าง ๆ
เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนาเสนอสื่อสารเห็นคุณค่านาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มีคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม
รหัสตัวชี้วัด
อ ๑.๑ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ ,ม.๒/๔
อ ๑.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ ,ม.๒/๔ ,ม.๒/๕
อ ๑.๓ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓
อ ๒.๑ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓
อ ๒.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒
อ ๓.๑ ม.๒/๑
อ ๔.๑ ม.๒/๑
อ ๔.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒
รวมทงั้ หมด ๒๑ ตัวช้ีวัด
โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมูลเพ่มิ เติม
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 209
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
อ 22๑๐2 ภาษาอังกฤษ 4 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 รวม 60 ช่วั โมง จานวน ๑.5 หนว่ ยกิต
ปฏิบัติตามคาขอร้องคาแนะนาคาช้ีแจงและคาอธิบายง่าย ๆ อ่านออกเสียงข้อความข่าวประกาศและ
บทร้อยกรองส้ัน ๆ และถกู ต้องตามหลกั การอา่ น ระบเุ ขยี นประโยคและขอ้ ความให้สัมพนั ธก์ บั เร่ืองที่ไม่ใช่ความ
เรียงจับใจความสาคัญและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่อ่านสนทนาและแลกเปลี่ยนข้อมูลเก่ียวกับตนเอง
กิจกรรมและสถานการณ์ต่าง ๆ พูดเขียนบรรยายอธิบายแสดงความต้องการเสนอและให้ความช่วยเหลือตอบ
รบั และปฏเิ สธกจิ กรรมตา่ ง ๆ และประสบการณข์ า่ วเหตุการณ์ท่อี ยู่ในความสนใจของสงั คมใชภ้ าษาน้าเสียงและ
กริยาท่าทางตามมารยาทของสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษาและ
วัฒนธรรมเก่ียวกับเทศกาลวันสาคัญชีวิตความเป็นอยู่ประเพณีของเจ้าของภาษาเปรียบเทียบบอกความหมาย
และอธิบายความเหมือนและความแตกต่างเร่ืองของการออกเสียง ประโยคชนิดต่าง ๆ ตามโครงสร้างประโยค
ของภาษาอังกฤษกับภาษาไทยค้นคว้ารวบรวมสรุปข้อมูล ข้อเท็จจริงท่ีเกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนจาก
แหล่งเรียนรู้และนาเสนอด้วยการเขียนใช้ภาษาสื่อสารเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในสถานการณ์จริง
สถานการณ์จาลองทีเ่ กดิ ขนึ้ ในหอ้ งเรยี นสถานศึกษาและชุมชน
โดยใช้กระบวนการทางภาษาการส่ือสารและการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูลการฝกึ ปฏิบัติตาม
สถานการณต์ า่ ง ๆ
เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนาเสนอส่ือสารเห็นคุณค่านาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ มทเี่ หมาะสม
รหัสตวั ชี้วัด
อ ๑.๑ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ ,ม.๒/๔
อ ๑.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ ,ม.๒/๔ ,ม.๒/๕
อ ๑.๓ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓
อ ๒.๑ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ,ม.๒/๓
อ ๒.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒
อ ๓.๑ ม.๒/๑
อ ๔.๑ ม.๒/๑
อ ๔.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒
รวมท้ังหมด ๒๑ ตัวชี้วัด
โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพิม่ เติม
หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 210
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
อ 23๑๐1 ภาษาองั กฤษ 5 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 รวม 60 ชัว่ โมง จานวน ๑.5 หนว่ ยกติ
ปฏิบัติตามคาขอร้องคาแนะนาคาช้ีแจงและคาอธิบายง่ายๆอ่านออกเสยี งข้อความข่าวประกาศโฆษณา
และบทร้อยกรองส้ันๆถูกต้องตามหลักการอ่านระบุเขียนประโยคข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อท่ีไมใ่ ชค่ วามเรียงจับ
ใจความสาคัญรายละเอียดสนับสนุนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่านสนทนาส่ือสารแลกเปล่ียน
ข้อมูลเก่ียวกับตนเองกิจกรรมสถานการณ์ต่าง ๆ พูดเขียนบรรยายอธิบายแสดงความต้องการเสนอให้ความ
ช่วยเหลือตอบรับและปฏิเสธการขอและให้ข้อมูลเปรียบเทียบสรุปวิเคราะห์เหตุการณ์ข่าวที่อยู่ในความสนใจ
ของสังคมใช้ภาษาน้าเสียงท่าทางกริยามารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เข้าร่วมหรือจัด
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมเกี่ยวกับเทศกาลวันสาคัญชีวิตความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียมประเพณีของ
เจา้ ของภาษาเปรียบเทียบบอกความเหมือนและความแตกต่างเรื่องการออกเสียงประโยคชนดิ ตา่ ง ๆ การลาดับ
คาตามโครงสร้างประโยคของภาษาอังกฤษกับภาษาไทย ค้นคว้า รวบรวมสรุปข้อมูลข้อเท็จจริงท่ีเกี่ยวข้องกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนจากแหล่งเรียนรู้และนาเสนอด้วยการพูดการเขียนใช้ภาษาส่ือสา เผยแพร่และ
ประชาสัมพนั ธใ์ นสถานการณ์จริงสถานการณจ์ าลองท่ีเกิดขน้ึ ในหอ้ งเรียนสถานศึกษาและชุมชน
โดยใช้กระบวนการทางภาษาการสื่อสารและการสืบเสาะหาความรู้การสืบคน้ ข้อมลู การฝึกปฏบิ ัติ ตาม
สถานการณต์ า่ ง ๆ
เพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนาเสนอส่ือสารเห็นคุณค่านาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
การศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพมีคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
รหสั ตัวชี้วดั
อ ๑.๑ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ ,ม.๓/๓ ,ม.๓/๔
อ ๑.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ ,ม.๓/๓ ,ม.๓/๔ ,ม.๓/๕
อ ๑.๓ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ ,ม.๓/๓
อ ๒.๑ ม.๓/๑ ,ม.๓/๑ ,ม.๓/๓
อ ๒.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒
อ ๓.๑ ม.๓/๑
อ ๔.๑ ม.๓/๑
อ ๔.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒
รวมท้ังหมด ๒๑ ตัวช้ีวดั
โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา
สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ
หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 211
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
อ 23๑๐2 ภาษาอังกฤษ 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2 รวม 60 ช่วั โมง จานวน ๑.5 หนว่ ยกติ
ปฏิบัติตามคาขอร้องคาแนะนาคาชี้แจงและคาอธบิ ายง่ายๆอ่านออกเสยี งข้อความขา่ วประกาศโฆษณา
และบทร้อยกรองสั้นๆถูกต้องตามหลักการอ่านระบุเขยี นประโยคข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อท่ีไมใ่ ช่ความเรียงจับ
ใจความสาคัญรายละเอียดสนับสนุนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองที่ฟังและอ่านสนทนาส่ือสารแลกเปล่ียน
ข้อมูลเก่ียวกับตนเองกิจกรรมสถานการณ์ต่าง ๆ พูดเขียนบรรยายอธิบายแสดงความต้องการเสนอให้ความ
ช่วยเหลือตอบรับและปฏิเสธการขอและให้ข้อมูลเปรียบเทียบสรุปวิเคราะห์เหตุการณ์ข่าวท่ีอยู่ในความสนใจ
ของสังคมใช้ภาษาน้าเสียงท่าทางกริยามารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเข้าร่วมหรือจัด
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมเก่ียวกับเทศกาลวันสาคัญชีวิตความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียมประเพณีของ
เจ้าของภาษาเปรียบเทียบบอกความเหมือนและความแตกต่างเรื่องการออกเสยี งประโยคชนิดต่าง ๆ การลาดับ
คาตามโครงสร้างประโยคของภาษาอังกฤษกับภาษาไทยค้นคว้ารวบรวมสรุปข้อมูลข้อเท็จจริงท่ีเก่ียวข้องกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนจากแหล่งเรียนรู้และนาเสนอด้วยการพูดการเขียนใช้ภาษาส่ือสารเผยแพร่และ
ประชาสัมพันธใ์ นสถานการณ์จริงสถานการณ์จาลองทเ่ี กิดข้นึ ในหอ้ งเรียนสถานศึกษาและชมุ ชน
โดยใช้กระบวนการทางภาษาการส่ือสารและการสืบเสาะหาความรกู้ ารสบื ค้นข้อมูลการฝึกปฏิบตั ิตาม
สถานการณ์ตา่ ง ๆ
เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถนาเสนอสื่อสารเห็นคุณค่านาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
การศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพมีคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ มทเี่ หมาะสม
รหสั ตัวชี้วดั
อ ๑.๑ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ ,ม.๓/๓ ,ม.๓/๔
อ ๑.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ ,ม.๓/๓ ,ม.๓/๔ ,ม.๓/๕
อ ๑.๓ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ ,ม.๓/๓
อ ๒.๑ ม.๓/๑ ,ม.๓/๑ ,ม.๓/๓
อ ๒.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒
อ ๓.๑ ม.๓/๑
อ ๔.๑ ม.๓/๑
อ ๔.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒
รวมทั้งหมด ๒๑ ตวั ชวี้ ัด
โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพมิ่ เติม
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 212
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
รายวชิ าเพิ่มเติม
รายวชิ าเพ่มิ เติมระดบั ประถมศกึ ษา จานวน 40 ชว่ั โมง
อ ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร 1 จานวน 40 ชั่วโมง
อ ๑2๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สาร 2 จานวน 40 ชว่ั โมง
อ ๑3๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร 3 จานวน 40 ชั่วโมง
อ ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ๔ จานวน 40 ชวั่ โมง
อ ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร ๕ จานวน 40 ชัว่ โมง
อ ๑๖๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอื่ การสือ่ สาร ๖
โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมูลเพิ่มเตมิ
หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 213
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม
อ11201 ภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสาร 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 เวลา 40 ช่ัวโมง
อา่ นและเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษ เข้าใจและใชป้ ระโยคคาสั่งที่ใช้ในห้องเรียน การอา่ นออกเสียงคา
กลุ่มคา ประโยค ข้อความบทอ่าน บทสนทนา การพูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง และเร่ืองใกล้ตัว การขอบคุณ
ขอโทษ และการใช้ภาษาท่าทาง การใช้ภาษาในการฟงั พดู ในสถานการณท์ ี่เกดิ ขนึ้ ในห้องเรยี น
โดยใชก้ ระบวนการเรียนรเู้ พอ่ื การสอ่ื สาร ฝึกการใช้ภาษา
เพ่ือให้มีความรู้ เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีทักษะทางภาษา เห็นประโยชน์ในการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันไดอ้ ย่างเหมาะสม
ผลการเรยี นรู้
๑. อา่ นและเขยี นตัวอักษรภาษาอังกฤษออกเสียงคาศัพท์ได้ถูกต้อง
๒. ใชค้ าทักทาย ขอบคุณ ขอโทษ รวมถึงคาสงั่ งา่ ยๆเปน็ ภาษาอังกฤษไดถ้ กู ต้อง
๓. ใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารและใหข้ ้อมูลเกย่ี วกบั เร่ืองใกล้ตวั ได้อย่างเหมาะสม
๔. ใชภ้ าษาส่อื สารได้ตามวยั อยา่ งมั่นใจ และกลา้ แสดงออก
๕. ใช้ภาษาได้ตามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
รวมทง้ั หมด ๕ ผลการเรยี นรู้
โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพิม่ เติม
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 214
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม
อ12201 ภาษาอังกฤษเพอื่ การส่ือสาร 2 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2 เวลา 40 ช่ัวโมง
เข้าใจและใช้ประโยคคาสั่งง่ายๆในห้องเรียน คาขอร้องอ่านและเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษ คาศัพท์
สัน้ ๆงา่ ยๆ เข้าใจความหมายคา กลุ่มคา และประโยคส้นั ๆท่ีมีความหมายสัมพันธ์กบั ส่ิงต่าง ๆ ใกลต้ วั เข้าใจบท
อ่าน บทสนทนาง่ายๆ และนิทานท่ีมีภาพประกอบ ให้ข้อมูลและความต้องการเกี่ยวกับตนเองส้ัน ๆ เซ่น การ
พูดแนะนาตนเอง ขอบคุณ ขอโทษ เรียนรู้คาศัพท์เกี่ยวกับเทศกาล ขนบธรรมเนียม ประเพณี เทศกาล งาน
ฉลอง
โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้เพ่อื การสือ่ สาร ฝกึ การใชภ้ าษา
เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เห็นประโยชน์ในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
และนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้อยา่ งเหมาะสม
ผลการเรยี นรู้
๑. อา่ นและเขยี นตวั อกั ษรภาษาอังกฤษ และคาศพั ท์ง่าย ๆ ไดถ้ ูกต้อง
๒. ใช้ภาษาอังกฤษในการแนะนาตนเอง ขอบคุณ ขอโทษ ขอและใหข้ อ้ มลู เก่ยี วกับตนเอง
และเร่อื งใกล้ตัวได้อยา่ งเหมาะสม
๓. บอกความหมายของคา กลุม่ คา และประโยคสน้ั ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง
๔. ตอบคาถามจากการฟงั หรอื อ่านเร่อื งง่าย ๆ หรือนิทานทมี่ ภี าพประกอบไดถ้ ูกตอ้ ง
๕. ใช้ภาษาองั กฤษไดต้ ามมารยาททางสงั คมและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา
รวมทง้ั หมด ๕ ผลการเรยี นรู้
โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา
สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่ิมเติม
หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 215
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม
อ13201 ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง
อ่านออกเสียงคาและประโยคงา่ ยๆ ที่เกี่ยวกับเร่ืองใกล้ตัวบอกความหมายของคา ตอบคาถามจากการ
ฟังหรืออ่านได้ สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารระหว่างบุคคลได้เหมาะสมตามวัยใช้ภาษาในการพูด
และทาท่าประกอบตามมารยาทสังคม วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ใช้บทสนทนาการทักทายได้ถูกต้องตาม
เวลาและถูกกาลเทศะ แนะนาตนเองได้ ให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง บอกลักษณะของบุคคลรอบตัว พูดประโยค
บอกความชอบ ไมช่ อบ บอกความต้องการของตนเองเกี่ยวกับเรื่องกีฬา งานอดิเรก บอกสถานทต่ี ่าง ๆ รอบตัว
และตาแหนง่ ของสถานท่ีต่าง ๆ
โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ เพอ่ื การสอ่ื สาร ฝึกการใชภ้ าษา
เพื่อให้มีความรู้ เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีทักษะทางภาษา เห็นประโยชน์ในการเรียนรู้
ภาษาองั กฤษและนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อยา่ งเหมาะสม
ผลการเรียนรู้
๑. อ่านออกเสยี งคาและประโยคง่าย ๆ ทีเ่ กยี่ วกบั เรอื่ งใกล้ตัว
๒. บอกความหมายของคาและตอบคาถามจากการฟังหรอื อ่านได้
๓. ใชภ้ าษาอังกฤษในการส่ือสาร สนทนา ทกั ทาย และแนะนาตนเอง และใชภ้ าษาทา่ ทาง
ประกอบการพูดได้เหมาะสม
๔. ให้ขอ้ มลู เกี่ยวกับตนเอง และอธบิ ายเกีย่ วกบั ส่งิ ต่าง ๆ ใกลต้ ัว โดยใช้ภาษาองั กฤษอยา่ งงา่ ยได้
๕. ใชภ้ าษาอังกฤษไดต้ ามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรียนรู้
โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพิ่มเติม
หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 216
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม
อ1๔201 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา 40 ชั่วโมง
ปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาขอร้องท่ีใช้ในห้องเรียน พูดเข้าจังหวะ บทสนทนา ประโยค ให้ข้อมูล
เก่ียวกับตนเองคา เลือกระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ตรงความหมาย ตอบคาถามจากการฟังและอ่าน บทสนทนา
พูด เขยี น
ให้ข้อมูลโต้ตอบเก่ียวกับตนเอง สื่อสารระหว่างบุคคล ประโยคบอกความต้องการเกี่ยวกับตนเองคา
คาส่งั ทใี่ ช้ในหอ้ งเรียน ข้อความที่ใช้ในการพูด เขียน แสดงความตอ้ งการของตนเอง ใหข้ อ้ มลู ความรู้สึกเกี่ยวกับ
ตนเอง และเรื่องใกล้ตัว วัฒนธรรมเจ้าของภาษาแสดงกิริยา การขอบคุณ ขอโทษ การพูดแนะนาตนเอง
คาศัพทเ์ ก่ยี วกบั เทศกาลเจา้ ของภาษา กิจกรรมทางภาษา การร้องเพลง ศกึ ษา การใชภ้ าษาในการฟัง พูดทาท่า
ประกอบอยา่ งสภุ าพ เขา้ รว่ มกิจกรรมทางภาษา อา่ น พดู ในสถานการณ์ทีเ่ กดิ ข้นึ ในห้องเรียน
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูลและมีทักษะทางสังคม มีวิถีของระบอบ
ประชาธปิ ไตย ซ่อื สตั ย์ ใฝเ่ รยี นรู้ แสดงออกถึงความเปน็ ไทย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจาวนั
ผลการเรยี นรู้
1. ปฏิบัตติ ามคาส่ัง คาขอร้องที่ฟงั
2. อ่านออกเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา ประโยคง่าย ๆ และบทพูดเข้าจังหวะง่าย ๆ ถูกต้องตาม
หลักการอา่ น
3. บอกความหมายของคาและกลุ่มคาท่ีฟังตรงตามความหมาย ตอบคาถามจากการฟังหรืออ่าน
ประโยค บทสนทนาหรือนทิ านง่าย ๆ
4. พูดโต้ตอบด้วยคาสั้น ๆ ง่าย ๆ ในการส่ือสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟัง ใช้คาสั่งและคาขอร้อง
ง่าย ๆ บอกความตอ้ งการง่ายๆ ของตนเอง
5. พูดขอและให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเองและเพ่ือน บอกความรู้สึกของตนเองเก่ียวกับสิ่งต่าง ๆ ใกล้ตัว
หรือกจิ กรรมต่าง ๆ ตามแบบทีฟ่ ัง
6. พดู ให้ขอ้ มูลเก่ียวกบั ตนเองและเรื่องใกล้ตวั จดั หมวดหมู่คาตามประเภทของบุคคล สตั ว์ และสิง่ ของ
ตามท่ีฟังหรืออา่ น
7. พดู และทาทา่ ประกอบ ตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกชอื่ และคาศัพท์ง่าย ๆ
เก่ียวกับเทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลอง และชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษา
และวฒั นธรรมทเ่ี หมาะกับวยั
8. บอกความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา และประโยคง่าย ๆ ของภาษาภาษาอังกฤษ
และภาษาไทย
9. ฟัง/พดู ในสถานการณ์งา่ ยๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในหอ้ งเรียน
รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรยี นรู้
โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ
หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 217
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ
อ1๕201 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร ๕ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา 40 ชว่ั โมง
ปฏิบัติตามคาส่ัง คาแนะนา คาขอร้อง คาแนะนาง่ายๆ ท่ีใช้ในห้องเรียน การสะกดคา การอ่านออก
เสียง บทสนทนา ประโยค ให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเองคา เลือกระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ตรงความหมายของ
ประโยค ตอบคาถามจากการฟังและอ่าน บทสนทนา นิทานง่าย ๆ ประโยค พูด เขียนให้ข้อมูลโต้ตอบเก่ียวกับ
ตนเอง แสดงความรู้สกึ ส่ือสารระหวา่ งบุคคล ใชถ้ อ้ ยคา นา้ เสยี ง และกริ ยิ า ประโยคบอกความตอ้ งการเกย่ี วกับ
ตนเองคา คาส่ังท่ีใช้ในห้องเรียน ข้อความท่ีใช้ในการพูด เขียน แสดงความต้องการของตนเอง ให้ข้อมูล
ความรูส้ กึ เก่ยี วกับตนเอง และเรื่องใกล้ตัว บอกความเหมือน ความแตกตา่ ง ระหวา่ งการออกเสียงประโยคชนิด
ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นง่ายๆโดยใช้คาศัพท์เหมาะสมกับวัย การใช้ภาษาในการฟัง พูดทาท่าประกอบอย่าง
สุภาพ เข้าร่วมกจิ กรรมทางภาษา อ่าน พูด ในสถานการณท์ ่ีเกิดขน้ึ ในห้องเรียน
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูลและมีทักษะทางสังคม มีวิถีของระบอบ
ประชาธิปไตย ซือ่ สัตย์ ใฝเ่ รียนรู้ แสดงออกถึงความเปน็ ไทย
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งท่ีได้เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
ชวี ติ ประจาวัน
ผลการเรยี นรู้
1. ปฏิบตั ติ ามคาสงั่ คาขอรอ้ งทีฟ่ งั
2. อ่านออกเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา ประโยคง่าย ๆ และบทพูดเข้าจังหวะง่าย ๆ ถูกต้องตาม
หลกั การอา่ น
3. บอกความหมายของคาและกลุ่มคาที่ฟังตรงตามความหมาย ตอบคาถามจากการฟังหรืออ่าน
ประโยคบทสนทนาหรือนิทานงา่ ยๆ
4. พูดโต้ตอบด้วยคาสั้นๆ ง่าย ๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟัง ใช้คาสั่งและคาขอร้อง
ง่าย ๆ บอกความต้องการง่าย ๆ ของตนเอง
5. พูดขอและใหข้ อ้ มลู เก่ยี วกบั ตนเองและเพ่ือน
6. บอกความรสู้ กึ ของตนเองเก่ยี วกับส่งิ ต่าง ๆ ใกลต้ ัวหรอื กิจกรรมต่าง ๆ ตามแบบที่ฟงั
7. พดู ให้ข้อมลู เกี่ยวกบั ตนเองและเร่ืองใกล้ตัว จัดหมวดหมคู่ าตามประเภทของบุคคล สตั ว์ และสงิ่ ของ
ตามที่ฟังหรอื อา่ น
8. พูดและทาท่าประกอบ ตามมารยาทสังคม/วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา
9. บอกชื่อและคาศัพท์ง่ายๆ เก่ียวกับเทศกาล/วนั สาคัญ/งานฉลอง และชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของ
ภาษา เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมท่เี หมาะกับวัย
10. บอกความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา และประโยคง่ายๆ ของภาษาอังกฤษ
และภาษาไทย
11. ฟงั /พูดในสถานการณ์งา่ ยๆ ที่เกิดขึน้ ในหอ้ งเรยี น
12. ใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือรวบรวมคาศัพท์ทเี่ กย่ี วข้องใกล้ตัว
โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพิ่มเติม
หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 218
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
13. มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ (เน้นการฟัง-พูด) สื่อสารตามหัวเร่ืองเก่ียวกับตนเอง ครอบครัว
โรงเรียน สิง่ แวดล้อมใกลต้ วั อาหาร เครื่องดม่ื และเวลาวา่ งและนนั ทนาการ ภายในวงคาศัพท์ประมาณ ๓๐๐ -
๔๕๐ คา (คาศัพทท์ ่ีเปน็ รปู ธรรม)
14. ใชป้ ระโยคคาเดยี ว (One Word Sentence) ประโยคเดย่ี ว (Simple Sentence) ในการสนทนา
โตต้ อบตามสถานการณ์ในชีวิตประจาวนั
รวมทั้งหมด ๑๔ ผลการเรยี นรู้
โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพ่มิ เติม
หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 219
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
อ1๖201 ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่อื สาร ๖ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา 40 ช่วั โมง
ปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาขอร้อง คาแนะนาง่าย ๆ ที่ใช้ในห้องเรียน การสะกดคา การอ่านออก
เสยี ง คา กลมุ่ คา บทอา่ น บทกลอนส้นั ๆ บทสนทนา ประโยคถูกต้องตามหลักการอา่ น ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ตนเอง
คา เลือกระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ หรอื เคร่ืองหมายตรงความหมายของประโยค ข้อความสัน้ ๆ ตอบคาถามจาก
การฟังและอ่าน บทสนทนา พูด เขียนให้ข้อมูลโต้ตอบเกี่ยวกับตนเอง แสดงความรู้สึก สื่อสารระหว่างบุคคล
เขียนภาพ แผนผัง และแผนภูมิ ตารางแสดงข้อมูลต่าง ๆ ใช้ถ้อยคา น้าเสียง และกิริยา ประโยคบอกความ
ต้องการเก่ียวกับตนเองคา คาส่ังท่ีใช้ในห้องเรียน ข้อความท่ีใช้ในการพูด เขียน แสดงความต้องการของตนเอง
ให้ข้อมูลความรู้สึกเกี่ยวกับตนเอง และเร่ืองใกล้ตัว ใช้คาสั่ง คาขอร้อง และให้คาแนะนา บอกความเหมือน
ความแตกต่าง ระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ กิจกรรมทางภาษา การร้องเพลง การเล่านิทาน
ประกอบทา่ ทาง พูด วาดภาพแสดงความสมั พันธ์ของสิ่งต่าง ๆ แสดงความคดิ เหน็ ง่ายๆโดยใชค้ าศัพท์เหมาะสม
กับวัย การใช้ภาษาในการฟัง พูดทาท่าประกอบ และนาเสนอด้วยการพูด เขียนอย่างสุภาพ เข้าร่วมกิจกรรม
ทางภาษา อา่ น พดู ในสถานการณ์ที่เกิดขนึ้ ในห้องเรยี น และสถานศึกษา
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูลและมีทักษะทางสังคม มีวิถีของระบอบ
ประชาธิปไตย ซอ่ื สัตย์ ใฝ่เรียนรู้ แสดงออกถงึ ความเปน็ ไทย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
ชวี ิตประจาวัน
ผลการเรยี นรู้
1. ปฏบิ ตั ิตามคาส่ัง คาขอรอ้ งที่ฟงั
2. อ่านออกเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา ประโยคง่าย ๆ และบทพูดเข้าจังหวะง่าย ๆ ถูกต้องตาม
หลกั การอ่าน
3. บอกความหมายของคาและกลุ่มคาที่ฟังตรงตามความหมาย ตอบคาถามจากการฟังหรืออ่าน
ประโยคบทสนทนาหรือนิทานงา่ ยๆ
4. พูดโต้ตอบด้วยคาส้ันๆ ง่าย ๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบท่ีฟัง ใช้คาสั่งและคาขอร้อง
ง่าย ๆ บอกความตอ้ งการง่าย ๆ ของตนเอง
5. พดู ขอและใหข้ ้อมูลเก่ยี วกบั ตนเองและเพื่อน
6. บอกความร้สู กึ ของตนเองเกีย่ วกับสิ่งตา่ ง ๆ ใกล้ตัวหรือกิจกรรมตา่ ง ๆ ตามแบบท่ีฟงั
7. พดู ใหข้ ้อมลู เกย่ี วกบั ตนเองและเร่ืองใกลต้ วั จดั หมวดหมู่คาตามประเภทของบุคคล สตั ว์ และสง่ิ ของ
ตามที่ฟังหรืออา่ น
8. พดู และทาทา่ ประกอบ ตามมารยาทสงั คม/วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา
9. บอกช่ือและคาศัพท์ง่ายๆ เกี่ยวกับเทศกาล/วนั สาคัญ/งานฉลอง และชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของ
ภาษา เข้าร่วมกจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรมทีเ่ หมาะกบั วัย
10. บอกความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา และประโยคง่ายๆ ของภาษาอังกฤษ
และภาษาไทย
โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่ิมเตมิ
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 220
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
11. ฟัง/พดู ในสถานการณ์งา่ ยๆ ท่เี กดิ ขึ้นในห้องเรียน
12. ใช้ภาษาองั กฤษเพ่อื รวบรวมคาศัพทท์ ีเ่ กี่ยวข้องใกล้ตวั
13. มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ (เน้นการฟัง-พูด) สื่อสารตามหัวเร่ืองเก่ียวกับตนเอง ครอบครัว
โรงเรยี น สิ่งแวดลอ้ มใกล้ตัว อาหาร เคร่ืองด่มื และเวลาวา่ งและนันทนาการ ภายในวงคาศัพท์ประมาณ ๓๐๐ -
๔๕๐ คา (คาศัพทท์ ีเ่ ป็นรปู ธรรม)
14. ใช้ประโยคคาเดียว (One Word Sentence) ประโยคเดย่ี ว (Simple Sentence) ในการสนทนา
โต้ตอบตามสถานการณใ์ นชีวิตประจาวัน
รวมท้ังหมด ๑๔ ผลการเรียนรู้
โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพ่ิมเติม
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 221
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ส่วนที่ 4
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
ความหมายและความสาคญั ของกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมสาคัญที่หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) กาหนดให้จัดทาข้ึน
เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกคน ทุกระดับช้ัน พัฒนาความสามารถของตนเองตามความถนัด ความสนใจ ให้เต็ม
ศักยภาพ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาองค์รวมของความเป็นมนุษย์ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม
สร้างเยาวชนของชาติให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทา
ประโยชนเ์ พอ่ื สงั คมและสามารถบริหารการจดั การตนเอง
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมท่ีจะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ พั ฒนาความสามารถของตนเอ งต าม
ศักยภาพ เพ่ิมเติมจากกิจกรรมการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ัง ๘ กลุ่ม การเข้าร่วม และปฏิบัติกิจกรรม
ที่เหมาะสมร่วมกบั ผู้อืน่ อย่างมีความสุขกับกจิ กรรมทเ่ี ลือกด้วยตนเองตามความถนัด ความสนใจอย่างแท้จริงจะ
เสริมสร้างและพัฒนาองค์รวมของความเป็นมนุษย์ให้ครบทุกด้านสร้างความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ปลูกฝังและ
สรา้ งจติ สานึกของการทาประโยชน์เพื่อสงั คม
โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา ได้จดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น โดยแบ่งออกเป็น ๓ ลักษณะ คอื
๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์ส่ิงแวดล้อม
สามารถคิด ตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้าน การเรียน อาชีพ สามารถปรับตนได้
อยา่ งเหมาะสม นอกจากน้ียังชว่ ยให้ครูร้จู กั และเข้าใจผู้เรียน ท้ังยังเป็นกิจกรรมทช่ี ่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่
ผปู้ กครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรยี น
นกั เรียนทกุ คนตอ้ งเข้าร่วมกจิ กรรมแนะแนว 40 ช่วั โมง ตอ่ ปกี ารศึกษา
แนวการจดั กิจกรรมแนะแนว
๑. สารวจสภาพปญั หา ความต้องการ ความสนใจและธรรมชาตขิ องผู้เรยี น
๒. ศกึ ษาวิสัยทศั น์ของสถานศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลของผู้เรียนทไี่ ดจ้ าการสารวจ
๓. กาหนดสดั สว่ นสาระของกิจกรรมแตล่ ะด้าน
๔. กาหนดแผนปฏบิ ตั ิกจิ กรรมแนะแนว
๕. การจดั ทารายละเอียดของแตล่ ะกิจกรรม
๖. ปฏิบัตติ ามแผนวดั และประเมินผลและสรุปรายงาน
๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นา ผู้ตามท่ีดี ความ
รบั ผิดชอบ การทางานรว่ มกัน การรูจ้ กั แกป้ ัญหา การตดั สินใจท่เี หมาะสม ความมเี หตผุ ล การช่วยเหลือแบง่ ปัน
เอ้ืออาทร สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคลอ้ งกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบตั ิ
ด้วยตนเอง ในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการ
ทางาน เน้นการทางานร่วมกัน เป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียนและบริบท
ของสถานศกึ ษาและท้องถิ่น กจิ กรรมนกั เรียนประกอบดว้ ย
๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี นักเรียนทุกคน ต้องเข้าร่วมกิจกรรม กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
40 ชว่ั โมง ตอ่ ปกี ารศึกษา
โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพมิ่ เตมิ
หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 222
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
แนวการจดั กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี
การจัดกิจกรรมลูกเสือเนตรนารี มีแนวทางการจัดกิจกรรมตามวิธีการลูกเสือ ซึ่งมีองค์ประกอบ
๗ ประการ คือ
๑. คาปฏิญาณและกฎ ถือเป็นหลักเกณฑ์ท่ีลูกเสือทุกคนให้คามั่นสัญญา ว่าจะปฏิบัติตามกฎของ
ลูกเสือ กฎของลูกเสือมีไว้ให้ลูกเสือเป็นหลักในการปฏิบัติ ไม่ได้ห้ามทาหรือ บังคับให้ทา แต่ถ้าทา ก็จะทาให้
เกดิ ผลดีแก่ตัวเอง เป็นคนดี ไดร้ บั การยกย่อง วา่ เป็นผมู้ เี กียรติ เชื่อถือได้
๒. เรียนรู้จากการกระทา เป็นการพัฒนาส่วนบุคคล ความสาเร็จหรือไม่สาเร็จของผลงาอยู่ที่การ
กระทาของตนเอง ทาให้มีความรู้ท่ีชัดเจน และสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเองได้ และท้าทาย
ความสามารถของตนเอง
๓. ระบบหมู่ เป็นรากฐานอนั แท้จริงของการลูกเสอื เป็นพื้นฐานในการอยรู่ ว่ มกนั การยอมรบั ซึ่งกันและ
กนั การแบง่ หน้าทคี่ วามรับผิดชอบ การช่วยเหลอื ซึง่ กนั และกนั ซ่งึ เป็นการเรียนร้กู ารใชป้ ระชาธปิ ไตยเบ้อื งตน้
๔. การใชส้ ญั ลักษณ์ร่วมกัน ฝึกใหม้ คี วามเป็นอนั หนึ่งอันเดี่ยวในการเป็นสมาชิกลูกเสือ เนตรนารี ดว้ ย
การใชส้ ญั ลกั ษณ์ร่วมกนั ได้แก่ เครอ่ื งแบบ เครอ่ื งหมาย การทาความเคารพ รหัส คาปฏญิ าณ คตพิ จน์ คาขวัญ
ธง เป็นต้น วิธีการน้ีจะช่วยให้ผู้เรียนตระหนักและภาคภูมิใจ ในการเป็นสมาชิกขององค์การค้าลูกเสือโลก ซึ่งมี
สมาชกิ อยู่ท่วั โลกและเป็นองคก์ รที่มจี านวนสมาชิกมากทีส่ ดุ ในโลก
๕. การศึกษาธรรมชาติ คือสิ่งสาคัญอันดับหนึ่งในกิจกรรมลูกเสือ ธรรมชาติอันโปร่งใสตามชนบท ป่า
เขา ปา่ ละเมาะและพุ่มไม้ เปน็ ทปี่ รารถนาอย่างย่ิงในการทากิจกรรมกับธรรมชาติ การปนี เขา ต้ังค่ายพกั แรมใน
สุดสัปดาห์ หรือตามวาระของการอยู่ค่ายพักแรมตามกฎระเบียบ เป็นที่เสน่หาแก่เด็กทุกคน ถ้าขาดสิ่งนี้แล้วก็
ไมเ่ รยี กว่า ใช้ชวี ติ แบบลกู เสือ
๖. ความก้าวหน้าในการเข้าร่วมกิจกรรม กิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดให้เด็กทาต้องให้มีความก้าวหน้าและ
ดึงดูด สร้างให้เกิดความกระตือรือร้น อยากที่จะทา และวัตถุประสงค์ในการจัดแต่ละอย่างให้สัมพันธ์กับความ
หลากหลายในการพัฒนาตนเอง เกมการเล่นที่สนุกสนาน การแขง่ ขนั กเ็ ป็นสง่ิ ดงึ ดูดใจและเปน็ การจูงใจที่ดี
๗. การสนบั สนุนผใู้ หญ่ ผู้ใหญ่เป็นผู้ทชี่ แ้ี นะหนทางท่ีถูกต้องใหแ้ ก่เดก็ เพือ่ ให้เขาเกิดความมั่นใจ ในการ
ที่จะตัดสินใจกระทาส่ิงใดลงไป ท้ังคู่มีความต้องการซ่ึงกันและกัน เด็กก็ต้องการให้ผู้ใหญ่ช่วยช้ีนา ผู้ใหญ่เองก็
ต้องการนาพาใหไ้ ปสู่หนทางทด่ี ี ใหไ้ ด้รับการพฒั นาอย่างถกู ต้องและดีทส่ี ดุ จึงเปน็ การร่วมมือกันท้งั สองฝ่าย
๒.๒ กจิ กรรมชุมนมุ /ชมรม นกั เรียนทุกคน ตอ้ งเขา้ รว่ มกิจกรรมชมุ นุม 40 ช่ัวโมง ต่อปกี ารศกึ ษา
แนวการจดั กิจกรรมชมุ นุม
การจัดกิจกรรมชุมนุม ชมรมของสถานศึกษา สามารถปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม กับบริบทและ
สภาพของสถานศึกษา
๑. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ทากิจกรรมหลากหลายรูปแบบท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนและ
ระยะเวลาการจดั กจิ กรรม
๒. สารวจความสนใจของผู้เรยี นในการเลอื กชมุ นุม
๓. ถอดประสบการณแ์ ลกเปล่ียนเรยี นรู้และเผยแพรก่ ิจกรรม
๔. ครทู ปี่ รกึ ษาประเมนิ กิจกรรมตามกลกั เกณฑ์การประเมนิ ผล
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนร่วมกันสารวจ วิเคราะห์
ปัญหา ร่วมกันออกแบบกิจกรรม วางแผนการจัดกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมตามแผน การจัดกิจกรรม ปฏิบัติ
โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมูลเพ่ิมเตมิ
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 223
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
กิจกรรมตามแผน ร่วมสรุปและประเมินผลการจดั กิจกรรม รว่ มรายงานผลพร้อมทั้งประชาสัมพนั ธแ์ ละเผยแพร่
การจัดกจิ กรรม
นักเรียนทุกคนต้องเขา้ ร่วมกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ นักเรยี นระดบั ประถมศึกษาต้อง
เขา้ ร่วมกจิ กรรม จานวน ๑๐ ชวั่ โมงตอ่ ปีการศึกษา
แนวการจดั กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณะประโยชน์
๑. จัดกิจกรรมร่วมกับองค์กรอ่ืน เป็นกิจกรรมท่ีผู้เรียนอาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานหรือ
องค์กรอ่ืน ๆ ท่ีจัดกิจกรรมในลักษณะเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ โดยผู้เรียนสามารถเลือกเข้าร่วม
กิจกรรม ได้ ดงั น้ี
๑.๑ รว่ มกบั หน่วยงานอืน่ ท่เี ขา้ มาจัดกิจกรรมในโรงเรยี น
๑.๒ รว่ มกับหน่วยงานอน่ื ทเ่ี ขา้ มาจดั กจิ กรรมนอกโรงเรียน
แนวทางการประเมลิ ผลกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นสุมเส้าวิทยา พทุ ธศักราช 2553
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นการประเมินกิจกรรมหรือผลงาน/
ชิ้นงาน/คุณลักษณะของผู้เรยี นเป็นระยะอย่างต่อเน่อื ง มุ่งเน้นให้ผู้เรียนค้นหาศักยภาพของตน สะท้อนแนวคิด
จากการปฏิบัติกิจกรรม การทางานกลุ่ม และการมีจิตสาธารณะ โดยให้ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง มีส่วนร่วมในการ
ประเมิน
การประเมินผเู้ รียนรายกิจกรรม
การประเมนิ ผู้เรียนรายกจิ กรรม
ผู้เรียนทุกคนต้องได้รับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินที่อยู่ในระดับ “ผ่าน”
คือ มีเวลาเรยี นไม่ตา่ กว่ารอ้ ยละ ๘๐ และมผี ลงาน/ชิ้นงาน/คณุ ลักษณะตามทก่ี าหนด
การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายปี
ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ “ ผ่าน” ในกิจกรรมสาคัญท้ัง ๓ กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนกั เรยี นและกจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์
การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นเพื่อจบระดับการศกึ ษา
ผเู้ รียนมีผลการประเมนิ ระดับ “ ผา่ น” ทุกชนั้ ปีในระดับการศกึ ษาน้ัน
โดยมีรายละเอยี ด ดังต่อไปนี้
โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ
หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 224
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
กิจกรรมพฒั นำผ้เู รียน
โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมูลเพ่ิมเตมิ
หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 225
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
กิจกรรมแนะแนว
หลักการ
เป็นกิจกรรมท่ีจัดให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจ ธรรมชาติของผู้เรียน และ
วิสัยทัศน์ของสถานศึกษาที่ตอบสนองจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ใหค้ รอบคลมุ ท้งั ด้านการศึกษา การงาน และอาชีพ ชีวิตและสังคม เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั ผู้เรียนมอี ิสระ
ในการคิดและตัดสินใจด้วยตนเอง เรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วยการปฏิบัติจนกระทั่งเกิดทักษะชีวิต หรือการเรียนรู้
ตลอดจนครูทุกคนมีสว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรม โดยมีครแู นะแนวเป็นพี่เลยี้ งและประสานงาน
วัตถุประสงค์
๑. เพ่อื ให้ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ ร้จู ัก เข้าใจ และเหน็ คณุ คา่ ในตนเองและผอู้ นื่
๒. เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ สามารถวางแผนการเรียน อาชพี รวมทัง้ การดาเนินชวี ติ และสงั คม
๓. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี
ความสขุ
ขอบข่าย
การจัดกิจกรรมแนะแนวมีองค์ประกอบ ๓ ดา้ น ดงั น้ี
๑. ด้านการศึกษา ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองในด้านการเรียนอย่างเต็มตามศักยภาพ รู้จักแสวงหา
และใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนการเรียนหรือการศึกษาต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน มี
วิธีการเรยี นรู้ และสามารถวางแผนการเรยี นหรอื การศกึ ษาต่อได้อยา่ งเหมาะสม
๒. ด้านการงานและอาชีพ ให้ผู้เรียนได้รู้จักตนเองในทุกด้าน รู้และเข้าใจโลกของงานอาชีพอย่าง
หลากหลาย มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีการเตรียมตัวสู่อาชีพ สามารถวางแผนเพื่อประกอบอาชีพตามที่
ตนเองมีความถนัดและสนใจ
๓. ด้านชีวิตและสังคม ให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง รักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น รักษ์
ส่ิงแวดล้อม มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีเจตคติที่ดีต่อการมีชีวิตที่ดีมีคุณภาพ มีทักษะและสามารถปรับตัวให้
ดารงชวี ิตอย่ใู นสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
แนวการจัดกจิ กรรม
๑. จดั กจิ กรรมให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการและธรรมชาตขิ องผเู้ รยี น
๒. จัดกิจกรรมเพื่อผู้เรียนทุกคนในสถานศึกษา ให้ครอบคลุมเน้ือหาสาระด้านการพัฒนาตนเอง
การศึกษา และอาชพี
๓. ประสานความร่วมมือให้ผู้เกี่ยวข้องกับผู้เรียนทุกฝ่าย นับตั้งแต่ผู้บริหาร ครูทุกคน ผู้ปกครอง
ชมุ ชน ร่วมมีบทบาทและมสี ว่ นรว่ มในการดาเนินการ ใหค้ วามรว่ มมือและสนับสนนุ ให้การจัดกจิ กรรมดาเนินไป
ดว้ ยความสะดวกอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ
โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพมิ่ เตมิ
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 226
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
๔. จัดกิจกรรมช่วั โมงแนะแนว ๑ ช่วั โมง : ๑ สปั ดาห์ ระดบั ประถมศึกษาเป็นรายปกี ารศึกษา ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้นเปน็ ภาคเรียนท่ี ๑ และ ๒
๕. จดั กิจกรรมด้านการศกึ ษา มีรปู แบบการจัดกิจกรรม ๒ ลักษณะ คอื
๑. การจัดกิจกรรมแนะแนวในช้ันเรยี น
- กิจกรรมคาบแนะแนวทุกระดบั ช้ัน
- กิจกรรมโฮมรูม
๒. การจัดกิจกรรมแนะแนวนอกช้ันเรียน เช่น
- กิจกรรมกลมุ่ ทางจิตวิทยาและการแนะแนว
- การทัศนศึกษาแหล่งวทิ ยาการและสถานประกอบการ
- การเชิญผู้ปกครอง ผู้ทรงคุณวุฒิ ศษิ ย์เกา่ เปน็ วทิ ยากรให้ความรู้
- การจัดนทิ รรศการ
- การจัดปา้ ยนิเทศ
- การปฐมนเิ ทศ
- การปัจฉิมนิเทศ
- กจิ กรรมวนั ประสานสัมพันธ์
- กิจกรรมเพอื่ นชว่ ยเพอื่ น
- กิจกรรมพ่ชี ่วยน้อง
๖. จดั กจิ กรรมดา้ นการงานและอาชพี มแี นวการจัดกิจกรรมดังน้ี
๖.๑ รู้ข้อมูลตนเองเพ่ือการวางแผนงานอาชีพ เช่น ความถนัด ความสามารถ ความสนใจ
จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยของตนเอง
๖.๒ รู้และเข้าใจในธรรมชาติและคุณลักษณะของอาชีพ มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต เห็น
คณุ ค่าของการทางาน
๖.๓ มคี วามเข้าใจเกยี่ วกับแนวทางการศึกษาเพือ่ เข้าสู่งานอาชีพ
๖.๔ มีเป้าหมายชีวิต รู้จักวางแผนชีวิตการเรียน การงาน ท่ีเหมาะสมกับความถนัด ความ
สนใจและสภาพการเปล่ียนแปลงทางสงั คมและเทคโนโลยี
๖.๕ มีคุณลกั ษณะพื้นฐานทีจ่ าเปน็ ในการเตรยี มตัวสโู่ ลกของงานอาชีพ
7. จัดกจิ กรรมดา้ นชวี ติ และสังคม มีแนวการจัดกจิ กรรมดังน้ี
๗.๑ รู้จกั และเขา้ ใจตนเอง รักและเหน็ คุณค่าในตนเอง
๗.๒ เขา้ ใจและยอมรบั ผูอ้ ่ืน
๗.๓ มีทักษะในการดาเนินชวี ติ สามารถปรบั ตวั เขา้ กับสภาพสังคม ส่งิ แวดลอ้ มที่เปล่ยี นไปได้
อย่างเหมาะสม และสามารถดาเนนิ ชีวิตอยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข
๗.๔ รูจ้ กั ตัดสินใจและแกป้ ัญหา รวมทั้งสามารถปรับตวั ต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ทเี่ กิดขึน้ ในชีวิต
อยา่ งเหมาะสม
๗.๕ มีคณุ ธรรม จริยธรรม เปน็ คนดใี นสังคม อยู่รว่ มกบั ผอู้ ืน่ อย่างมีความสขุ
๗.๖ รู้จักหลีกเลี่ยงอบายมขุ สารเสพตดิ การพนัน หรือส่ิงท่ีเป็นอนั ตรายตอ่ ชวี ิต
๗.๗ มีวุฒภิ าวะทางอารมณ์
โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา
สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพ่ิมเติม
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 227
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
การประเมินผลการจดั กิจกรรม
ในการการประเมินการจัดกิจกรรมแนะแนว ครูผู้รับผิดชอบการจัดกิจกรรมแนะแนว ผู้เรียน และ
ผ้ปู กครอง มีภารกิจท่ีรบั ผิดชอบ ดงั นี้
๑. ครูผู้จดั กิจกรรมแนะแนว
๑.๑ จัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ สอดคล้องกับ
วิสยั ทัศน์ที่สถานศึกษากาหนดและตามสภาพความต้องการและปญั หาของผเู้ รยี น
๑.๒ รายงานเวลาและพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม
๑.๓ ศึกษา ติดตาม และพฒั นาผู้เรียนในกรณีทผ่ี เู้ รียนไม่เข้าร่วมกิจกรรม
๑.๔ ประเมินผลผู้เรียน โดยดูจากพัฒนาการของผู้เรียนตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดเป็น
สาคัญ ในกรณีท่ีผลการประเมินยังไม่ผ่านให้ครูผู้จัดกิจกรรมดาเนินการซ่อมเสริมโดยผู้เรียนปฏิบัติ
กิจกรรมซ้าหรือปฏิบัติกิจกรรมเพ่ิมเติม จนกระท่ังผู้เรียนบรรลุคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ของ
กจิ กรรมหรอื ผ่านการประเมนิ ตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนด
๑.๕ บันทึกผลการตดิ ตามและประเมนิ ผลผ้เู รียนไว้เปน็ หลักฐาน
๒. ผู้เรียน
๒.๑ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด โดยมี
หลกั ฐานแสดงเวลาการเข้าร่วมกจิ กรรม
๒.๒ ปฏิบัติกิจกรรมตามที่ครูผู้รับผิดชอบมอบหมาย ถ้าไม่ผ่านให้ปฏิบัติกิจกรรมซ้าหรือ
ปฏิบัติเพ่มิ เติม และมีชิ้นงาน/ผลงาน/คณุ ลกั ษณะตามท่คี รูผจู้ ัดกจิ กรรมมอบหมายให้ปฏบิ ตั ิ
๓. ผ้ปู กครองควรมสี ว่ นร่วมในการประเมนิ ผลพฒั นาการของผู้เรยี น และมีการบันทึกสรปุ พัฒนาการ
และการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของผ้เู รียน
โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมูลเพ่ิมเติม
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 228
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
กจิ กรรมนักเรยี น
ลกู เสือ - เนตรนารี
หลกั การ
กระบวนการลูกเสือโรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา มหี ลักการสาคัญ คอื โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา ไดจ้ ัดกิจกรรมให้
ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน โดย
คานงึ ถึงสิง่ ต่อไปนี้
๑. มีศาสนาเป็นหลักยึดทางจิตใจ จงรักภักดีต่อศาสนาที่ตนเคารพนับถือ และพึงปฏิบัติศาสนกิจ
ด้วยความจริงใจ
๒. จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และประเทศชาติของตน พร้อมด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนสันติ
สุขและสันติภาพ ความเข้าใจที่ดีซ่ึงกันและกัน และความร่วมมือซึ่งกันและกันต้ังแต่ละระดับท้ องถ่ิน
ระดับชาติ และระดบั นานาชาติ
๓. เข้าร่วมพัฒนาสังคม ยอมรับ และให้ความเคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีของผู้อ่ืนและเพ่ือนมนุษย์
ทุกคน รวมทง้ั ธรรมชาติและสรรพสง่ิ ท้ังหลายในโลก
๔. มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ การพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง
๕. ลูกเสือทุกคนต้องยึดมน่ั ในคาปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ
วัตถปุ ระสงค์
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๘ ได้กาหนดวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมลูกเสือเพ่ือ
พัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรมให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบและช่วย
สร้างสรรค์สังคม ให้เกิดความสามัคคี และมีความเจริญก้าวหน้า ทั้งน้ีเพ่ือความสงบสุขและความม่ันคงของ
ประเทศชาติตามแนวทางดังตอ่ ไปน้ี
๑. ให้มีนิสยั ในการสงั เกต จดจา เชื่อฟงั และพึ่งตนเอง
๒. ให้มคี วามซ่อื สัตย์สจุ ริต มรี ะเบยี บวินยั และเหน็ อกเหน็ ใจผู้อืน่
๓. ให้รจู้ ักบาเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์
๔. ให้รูจ้ กั ทาการฝมี ือและฝกึ ฝนการทากิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
๕. ใหร้ ูจ้ กั รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วฒั นธรรม และความม่นั คงของประเทศชาติ
โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ
หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 229
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ขอบข่าย
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งปลูกฝังระเบียบวินัยและกฎเกณฑ์ เพื่อการอยู่ร่วมกัน
ให้รู้จักการเสียสละและบาเพ็ญประโยชน์แก่สังคมและวิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตย ซ่ึงการจัดกิจกรรม
ลูกเสือ เนตรนารี ให้เป็นไปตามข้อบังคับของสานักงานลูกเสือแห่งชาติ รวมทั้งให้สอดคล้องกับหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยกาหนดหลักสูตรเป็น ๔ ประเภท ดังน้ี
๑. ลกู เสือสารอง ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑-๓
๒. ลูกเสือสามญั ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔-๖
๓. ลกู เสือสามญั รนุ่ ใหญ่ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑-๓
๔. ลูกเสือวสิ ามัญ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔-๖
โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา ไดก้ าหนดหลกั สตู รลกู เสือ เนตรนารี เป็น ๓ ประเภท คอื
๑. ลูกเสอื สารอง ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๓
๒. ลกู เสือสามัญ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔-๖
๓. ลกู เสือสามญั รุน่ ใหญ่ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑-๓
แนวการจดั กจิ กรรม
การจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี มีแนวทางการจัดกิจกรรมตามวิธีการลูกเสือ (Scout Method)
ซึ่งมอี งค์ประกอบ ๗ ประการ คอื
๑. คาปฏิญาณและกฎ ถือเป็นหลักเกณฑ์ที่ลูกเสือทุกคนให้คามั่นสัญญาว่าจะปฏิบัติตามกฎของ
ลูกเสือ กฎของลูกเสือมีไว้ให้กับลูกเสือเป็นหลักในการปฏิบัติ ไม่ได้ “ห้าม” ทา หรือ “บังคับ” ทา แต่ถ้า
“ทา” ก็จะทาใหเ้ กดิ ผลดแี กต่ นเอง เปน็ คนดี ไดร้ บั การยกยอ่ งว่าเปน็ ผูม้ เี กียรตเิ ชื่อถือได้ ฯลฯ
๒. เรียนรู้จากการกระทา เป็นการพัฒนาส่วนบุคคล ความสาเร็จหรือไม่สาเร็จของผลงานอยู่ท่ีการ
กระทาของตนเอง ทาให้มีความรู้ที่ชัดเจน และสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเองได้ และท้ายทาย
ความสามารถของตนเอง
๓. ระบบหมู่ เป็นรากฐานอันแทจ้ รงิ ของการลูกเสือ เป็นพ้ืนฐานในการอยู่ร่วมกัน การยอมรับซึ่งกนั
และกัน การแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบ การช่วยเหลือเก้ือกูลซึ่งกันและกัน เป็นการเรียนรู้การใช้
ประชาธิปไตยเบอื้ งต้น
๔. การใช้สญั ลกั ษณ์ร่วมกัน ฝกึ ใหม้ คี วามเปน็ หน่งึ เดียวในการเป็นสมาชกิ ลกู เสอื เนตรนารี ดว้ ยการ
ใชส้ ญั ลักษณ์ ไดแ้ ก่ เคร่อื งแบบ เครอ่ื งหมาย การทาความเคารพ รหสั คาปฏญิ าณ กฎ คติพจน์ คาขวญั
ธง เปน็ ต้น วธิ ีการนจ้ี ะชว่ ยให้ผู้เรียนตระหนักและภาคภูมใิ จในการเปน็ สมาชิกขององค์การลูกเสอื แหง่ โลก ซึ่ง
มีสมาชกิ อยู่ทว่ั โลกและเปน็ องค์กรท่มี ีจานวนสมาชิกมากทส่ี ดุ ในโลก
๕. การศึกษาธรรมชาติ คือ สิ่งสาคัญอันดับหน่ึงในกิจกรรมลกู เสือ ธรรมชาติอันโปร่งใสตามชนบท
ป่าเขา ปา่ ละเมาะ และพุ่มไม้ เปน็ ทีป่ รารถนาอย่างยิ่งในการไปทากิจกรรมกับธรรมชาติ การปีนเขา ตัง้ คา่ ย
พักแรมในสุดสัปดาห์ หรือตามวาระของการอยู่ค่ายพักแรมตามกฎระเบียบ เป็นท่ีเสน่หาแก่เด็กทุกคน ถ้า
ขาดส่ิงนี้แลว้ กไ็ มเ่ รยี กวา่ ใชช้ วี ิตแบบลูกเสือ
๖. ความก้าวหน้าในการร่วมกิจกรรม กิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดให้เด็กทา ต้องให้มีความก้าวหน้าและ
ดึงดูดใจ สรา้ งให้เกดิ ความกระตือรือร้น อยากท่จี ะทาและวตั ถุประสงค์ในการจัดแต่ละอยา่ งใหส้ ัมพนั ธ์กบั ความ
หลากหลายในการพฒั นาตนเอง เกมการเลน่ ที่สนุกสนาน การแข่งขัยกนั กเ็ ปน็ ส่งิ ดงึ ดูดใจและเปน็ การจงู ใจท่ีดี
โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 230
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
๗. การสนับสนุนโดยผูใ้ หญ่ ผใู้ หญ่เปน็ ผทู้ ่ีชแี้ นะหนทางที่ถูกต้องให้แก่เด็ก เพื่อใหเ้ ขาเกิดความมั่นใจ
ในการทจี่ ะตดั สินใจกระทาส่งิ ใดลงไป ทง้ั คู่มคี วามตอ้ งซง่ึ กนั และกัน เด็กก็ตอ้ งการผใู้ หญ่ช่วยชน้ี า ผ้ใู หญเ่ องก็
ต้องการนาพาใหไ้ ปสู่หนทางที่ดี ใหไ้ ดร้ บั การพัฒนาอยา่ งถูกตอ้ งและดที ส่ี ดุ จึงเปน็ การรว่ มมือกนั ทั้งสองฝา่ ย
เงอื่ นไข
๑. เวลาในการเข้ารว่ มกจิ กรรม
การจัดกจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารตี าม โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยาได้กาหนดเวลาในการเข้ารว่ มกจิ กรรมตาม
หลักสูตรในแตล่ ะระดับชน้ั ดังนี้
๑.๑ ระดบั ประถมศึกษา (ป.๑ - ป.๖) กาหนดเวลาในการเขา้ ร่วมกิจกรรมปีละ ๔๐ ชั่วโมง
๑.๒ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ - ม.๓) กาหนดเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมภาคเรียน
ละ ๒๐ ช่ัวโมง
ส่วนการจัดกิจกรรมเพื่อรับเครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือ เนตรนารี แต่ละประเภทใช้เวลาเรียนปกติ
และนอกเวลาเรยี น
๒. การจดั กจิ กรรม
๒.๑ การจัดกิจกรรมลกู เสอื เนตรนารีตามหลกั สูตร ควรจัดให้มีการเปดิ ประชุมกองทุกครงั้
เพอ่ื เป็นการฝึกความมีระเบยี บวนิ ัยในตนเอง โดยปฏิบัติตามข้นั ตอน ดังนี้
๒.๑.๑ พิธีเปดิ (ชกั ธงขน้ึ สวดมนต์ สงบน่งิ ตรวจ แยก)
๒.๑.๒ เกมหรอื เพลง
๒.๑.๓ เรียนตามหลกั สูตร
๒.๑.๔ การเล่าเร่อื งสั้นทเี่ ปน็ ประโยชน์
๒.๑.๕ พธิ ีปดิ (นดั หมาย ตรวจ ชักธงลง เลกิ )
๒.๒ กิจกรรมการอย่คู ่ายพักแรม
การเดินทางไกลและอยู่ค่ายพักแรม มีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกให้ลูกเสือมีความอดทน อยู่ใน
ระเบียบวินัย รู้จักช่วยตนเอง รู้จักอยู่และทางานร่วมกับผู้อื่น ตลอดจนเรียนวิชาลูกเสือเพ่ิมเติม
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจาเป็นต้องวางแผนนาลูกเสือไปเดินทางไกลและอยู่ค่ายพักแรมไว้ให้พร้อมก่อน
และเนน่ิ ๆ ดังน้นั บทบาทผู้บังคับบัญชาลูกเสือที่มหี น้าทร่ี บั ผดิ ชอบต่อลูกเสือ ตอ่ งาน การอยู่ค่ายพัก
แรม และตามหน้าที่ของตนเองจึงจาเป็นต้องหาโอกาสให้ลูกเสือของตนได้มีโอกาสในการอยู่ค่ายพัก
แรมเสมอ ให้ผู้กากับลูกเสือนาลูกเสือไปฝึกเดินทางไกล และอยู่ค่ายพักแรมปีหน่ึงไม่น้อยกว่า ๑ ครั้ง
คร้ังหน่ึงใหอ้ ยู่ค่ายพกั แรมอยา่ งน้อย ๑ คืน
๒.๓ กิจกรรมพิธีการ สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมพิธีการลูกเสือ เช่น พิธีเข้าประจากอง
พิธีทบทวนคาปฏิญาณและสวนสนาม พิธีถวายราชสดุดี พิธีประดับเคร่ืองหมายต่าง ๆ เป็นต้น
เพอื่ ใหล้ กู เสอื มคี วามภาคภมู ิใจและเห็นคุณคา่ ในการเปน็ ลูกเสือ
๒.๔ กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ สถานศึกษาควรส่งเสริมการจัดกิจกรรมใหล้ ูกเสือได้บาเพญ็
ประโยชน์ตามอดุ มการณข์ องลูกเสือ
๓. ผบู้ ังคับบญั ชาลูกเสอื ควรผ่านการฝกึ อบรมวชิ าผกู้ ากบั ลกู เสอื ขนั้ ความรู้เบอื้ งตน้ ในแต่ละประเภท
๔. สถานศึกษาควรใหม้ กี ารจดั ต้ังกลมุ่ หรือกองลกู เสือตามข้อบังคบั คณะลกู เสือแหง่ ชาติ
โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่ิมเติม
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 231
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
การประเมินผลกจิ กรรม
การประเมินผลกิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี เป็นกระบวนการทดสอบความสามารถและพัฒนาการดา้ น
ต่าง ๆ ของผู้เรียนลูกเสือ เนตรนารี ซึ่งนอกจากพิจารณาความรู้ตามทฤษฎีแล้ว ต้องพิจารณาด้านความ
ประพฤติ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมท่ีเน้นทักษะและการปฏิบัติต่าง ๆ ด้วยวิธีการประเมินท่ีหลากหลาย
และการประเมินตามสภาพจรงิ ซ่ึงแบง่ การประเมนิ ผลออกเปน็ ๒ สว่ น คือ
๑. กจิ กรรมบงั คับ
เป็นการประเมนิ ผลกิจกรรมตามหลกั สูตร เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนผา่ นเกณฑ์การตดิ สนิ เล่ือนช้นั หรือจบหลกั สูตร
โดยการเข้าร่วมกิจกรรมและผ่านการประเมินตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด มีการประเมินผลตลอดภาค
เรียน / ปี โดยวิธีการสังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรม การซักถาม การทดสอบภาคทฤษฎีและปฏิบัติ โดย
กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ “ผ่าน” และ “ไมผ่ ่าน”
ผา่ น หมายถึง ผูเ้ รียนมเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ผ่านการปฏิบตั ิกจิ กรรม และ
มผี ลงาน/ชน้ิ งาน/คุณลักษณะตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากาหนด
ไมผ่ า่ น หมายถงึ ผูเ้ รียนมีเวลาเข้ารว่ มกิจกรรมน้อยกวา่ ร้อยละ 80 ปฏบิ ัติกจิ กรรม หรือมีผลงาน/
ชิน้ งาน/คุณลกั ษณะไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากาหนด
๒. กิจกรรมพิเศษ การประเมินผลวิชาพิเศษในแต่ละวิชา ใช้วิธีการทดสอบท้ังภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏบิ ตั ิ ตามหลักเกณฑ์ในข้อบังคับลกู เสือแห่งชาติ
โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพ่ิมเตมิ
หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 232
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
กจิ กรรมชมุ นมุ
หลักการ
๑. เปน็ กิจกรรมท่ีเกิดจากการสรา้ งสรรค์และออกแบบกิจกรรมของผ้เู รียนตามความสมัครใจ
๒. เปน็ กจิ กรรมทีผ่ เู้ รียนร่วมกนั ทางานเป็นทมี ช่วยกันคิด ชว่ ยกนั ทา และชว่ ยกันแกป้ ัญหา
๓. เปน็ กิจกรรมทีส่ ่งเสริมและพัฒนาศกั ยภาพของผูเ้ รยี น
๔. เปน็ กิจกรรมทเ่ี หมาะสมกับวยั และวุฒิภาวะของผ้เู รยี น รวมทัง้ บรบิ ทของสถานศึกษาและทอ้ งถนิ่
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อใหผ้ เู้ รียนไดป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามความสนใจ ความถนดั และความต้องการของตน
๒. เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิด
ประสบการณ์ท้งั ทางวชิ าการและวิชาชีพตามศกั ยภาพ
๓. เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นใชเ้ วลาใหเ้ กิดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม
๔. เพื่อใหผ้ เู้ รยี นทางานรว่ มกบั ผอู้ นื่ ได้ตามวิถปี ระชาธปิ ไตย
ขอบข่าย
๑. เปน็ กจิ กรรมจัดตามความสนใจของผ้เู รียน
๒. เปน็ กิจกรรมที่จดั เสรมิ หลักสตู รสถานศึกษาในดา้ นความรแู้ ละทกั ษะปฏิบัติ ของผเู้ รยี น
๓. สามารถจัดได้ท้ังในและนอกสถานศึกษา และทงั้ ในเวลาและนอกเวลาเรียน
แนวการจัดกจิ กรรมชุมนมุ
๑. กรณีชุมนุมที่ยังไม่มีการจัดตั้ง ให้ผู้เรียนร่วมกันจัดต้ังชุมนุม และเชิญครูท่ีปรึกษาร่วมกันดาเนิน
กิจกรรมชมุ นุมตามระเบยี บปฏบิ ตั ทิ สี่ ถานศึกษากาหนด
๒. กรณีชุมนุมที่มีการจัดตั้งแล้ว ให้ครูท่ีปรึกษาชุมนุมสารวจความสนใจของผู้เรียนในการเลือกเข้า
รว่ มชมุ นุม
๓. แต่ละชุมนุมมกี ารจดั ประสบการณ์แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และเผยแพรก่ ิจกรรม
๔. ครทู ีป่ รกึ ษากจิ กรรมประเมนิ ตามหลักเกณฑ์การประเมนิ ผล
เงือ่ นไข
๑. การจัดกิจกรรมชุมนุมในแต่ละระดับชั้น ให้จัดตามโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๒. สมาชิกของชุมนุม ต้องเข้าร่วมกิจกรรม ร่วมปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน/ช้ินงาน/คุณลักษณะ
ตามท่สี ถานศึกษากาหนด
โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 233
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
การประเมินผล
การประเมินผลกิจกรรม เป็นกระบวนการทดสอบความสามารถและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ซ่ึง
นอกจากพิจารณาความรตู้ ามทฤษฎีแลว้ ยังต้องพจิ ารณาดา้ นความประพฤติ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมท่ี
เน้นทักษะและการปฏบิ ตั ิต่าง ๆ ดว้ ยวิธีการประเมินทห่ี ลากหลาย และการประเมนิ ตามสภาพจริง โดยกาหนด
เกณฑก์ ารประเมนิ เปน็ “ผา่ น” และ “ไมผ่ ่าน”
ผา่ น หมายถงึ ผเู้ รยี นมีเวลาเขา้ รว่ มกิจกรรมไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ผ่านการปฏิบตั กิ จิ กรรม และ
มผี ลงาน/ช้นิ งาน/คณุ ลักษณะตามเกณฑ์ทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
ไมผ่ ่าน หมายถงึ ผู้เรียนมีเวลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมไม่ครบตามเกณฑ์ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม หรือมีผลงาน/
ชิ้นงาน/คณุ ลกั ษณะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากาหนด
โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่มิ เติม
หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 234
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
กจิ กรรมเพือ่ สงั คม
และสาธารณประโยชน์
หลกั การ
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมท่ีต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเอง
ตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศกั ยภาพ โดยคานงึ ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และพฒั นาการทางสมอง เน้น
ให้ความสาคัญทั้งความรู้ และคุณธรรมจริยธรรม จัดกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนคิดสร้างสรรค์ออกแบบกิจกรรม
บาเพญ็ ประโยชน์อยา่ งหลากหลายรูปแบบ เพื่อแสดงถึงความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมในลักษณะจิตอาสา
วตั ถุประสงค์
๑. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนบาเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชน์ต่อครอบครวั โรงเรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
๒. เพ่ือให้ผู้เรียนออกแบบการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์อย่างสรา้ งสรรค์ตามความ
ถนัดและความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร
๓. เพ่ือให้ผู้เรียนพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
๔. เพ่ือให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธรณประโยชน์จนเกิดคุณธรรมจริยธรรมตาม
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๕. เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นมีจติ สาธารณะและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ขอบข่าย
เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมในลักษณะกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ และกิจกรรมจิตอาสา โดยผู้เรียน
ดาเนินการด้วยตนเองในลักษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงถึงความรบั ผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม
มจี ติ อาสา และมจี ติ สาธารณะ
แนวการจดั กจิ กรรม
การจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เน้นให้ผู้เรียนร่วมกันสารวจและวิเคราะห์สภาพ
ปัญหา ร่วมกันออกแบบการจัดกิจกรรม วางแผนการจัดกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมตามแผน ร่วมสรุปและ
ประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรม รว่ มรายงานผล พร้อมทัง้ ประชาสมั พันธ์และเผยแพร่ผลการจดั กิจกรรม
การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โรงเรียนสุมเส้าวิทยาเลือกจัดกิจกรรมหรือเข้าร่วม
กิจกรรมได้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น กล่าวคือ จัดกิจกรรมลักษณะโครงการ โครงงาน หรือกิจกรรม
หมายถึง กิจกรรมที่ผู้เรียนนาเสนอการจัดกิจกรรมต่อโรงเรียน เพื่อขอความเห็นชอบในการจัดทาโครงการ
โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ
หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 235
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
โครงงาน หรือกิจกรรม ซ่ึงมีระยะเวลาเริ่มต้นและส้ินสุดท่ีชัดเจน โดยมีการจัดกิจกรรมท้ังภายในโรงเรียน
และภายนอกโรงเรียน
เงอื่ นไข
เวลาเข้าร่วมกิจกรรม ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่องทุกภาค
เรียน เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ ผจู้ ดั กจิ กรรมดว้ ยตนเองทุกขนั้ ตอนและตอ่ เนอื่ ง โดยมคี รเู ป็นทป่ี รึกษากิจกรรม
ผู้เรียนจะจัดกิจกรรมหรือแสดงพฤติกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ในเวลา สถานที่ หรือ
รปู แบบของกจิ กรรมใดกไ็ ด้ โดยคานงึ ถงึ ความเหมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษา
การประเมินผลกจิ กรรม
การประเมินผลกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมให้ครบตาม
กรอบเวลาในโครงสร้างของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และโครงสรา้ งเวลา
เรียนของสถานศกึ ษาดังน้ี
๑. ระดับประถมศึกษา (ป.๑-ป.๖)มีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมรวม ๖๐ ช่ัวโมง โดยมีเวลาเข้าร่วม
กจิ กรรมชั้น/ปลี ะ ๑๐ ชว่ั โมง
๒. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-ม.๓) มเี วลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมรวม ๔๕ ช่ัวโมง โดยมเี วลาเข้ารว่ ม
กจิ กรรมชนั้ /ปลี ะ ๑๕ ช่ัวโมง
๓. มีผลงาน/ชน้ิ งาน/คุณลกั ษณะตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากาหนด
ผา่ น หมายถึง ผเู้ รยี นมเี กณฑก์ ารผ่านดังนี้
๑. ผเู้ รียนมเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ดงั นี้
๑.๑ ปฏบิ ตั ิกิจกรรมชั้น/ปีละ ๑๐ ช่ัวโมง ในระดบั ประถมศกึ ษา (ป.๑-ป.๖)
๑.๒ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมช้นั /ปลี ะ ๑๕ ชว่ั โมง ในระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
๒. มผี ลงาน/ชิน้ งาน/คณุ ลกั ษณะตามเกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษากาหนดคดิ เปน็ ร้อยละ ๘๐ ทกุ ชนั้ ปี
ไมผ่ ่าน หมายถงึ ผเู้ รยี นมีเกณฑก์ ารไม่ผ่านดงั นี้
๑. ผเู้ รียนมีเวลาเข้าร่วมกจิ กรรมไมค่ รบตามเกณฑ์ ดงั นี้
๑.๑ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมชัน้ /ปลี ะตา่ กวา่ ๑๐ ชวั่ โมง ในระดบั ประถมศกึ ษา (ป.๑-ป.๖)
๑.๒ ปฏบิ ัติกจิ กรรมชั้น/ปีละตา่ กวา่ ๑๕ ชั่วโมง ในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
๒. มีผลงาน/ช้นิ งาน/คุณลักษณะตามเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษากาหนดต่ากว่า ร้อยละ ๘๐ ทุกชั้นปี
กรณีที่ผู้เรียนไม่ผ่าน ครูที่ปรึกษาต้องให้ผู้เรียนซ่อมเสริมการทากิจกรรมให้ครบตามกรอบเวลาที่
กาหนดในโครงสร้างของหลักสูตรหรือปฏิบัติกจิ กรรมอน่ื ที่มีจดุ มุง่ หมายสอดคล้องกบั กิจกรรมทกี่ าหนดเป็นการ
ทดแทนและประเมินผลตามเกณฑท์ ่ีกาหนด
โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพิ่มเตมิ
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 236
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ส่วนท่ี 5
การวัดและประเมินผลและเกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร
การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสอง ประการคือ
การประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้
ประสบผลสาเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัดเพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และ
ระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเปน็
ข้อมูลและสารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจน
ขอ้ มูลทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ การส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนเกดิ การพัฒนาและเรยี นรู้อยา่ งเต็มตามศักยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา
ระดบั เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดังน้ี
๑. การประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน
ดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น
การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน แฟ้มสะสม
งาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพ่ือน
ประเมินเพื่อน ผู้ปกครองรว่ มประเมนิ ในกรณที ่ีไมผ่ ่านตัวชีว้ ัดให้มี การสอนซอ่ มเสริม
การประเมินระดับช้ันเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อัน
เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนา
ปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากน้ียังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งน้ี
โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ดั
๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียน
ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน นอกจากน้เี พอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ มลู เก่ียวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา วา่ ส่งผลต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียน
ในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศ
เพ่ือการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผล
การจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ผปู้ กครองและชมุ ชน
๓. การประเมินระดบั เขตพ้นื ที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรยี นในระดบั เขตพื้นที่การศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพ
ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการโดยเขตพื้นท่ีการศึกษา หรือด้วยความ
โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพม่ิ เติม
หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 237
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจาก
การประเมนิ ระดบั สถานศกึ ษาในเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
๔. การประเมนิ ระดบั ชาติ เปน็ การประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรยี นรู้ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สถานศึกษาต้องจดั ให้ผูเ้ รียนทุกคนท่ีเรียน ในชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการ
ประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับ
คุณภาพการจัดการศกึ ษา ตลอดจนเปน็ ข้อมูลสนบั สนุน การตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวน
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผดิ ชอบของสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดระบบดูแลชว่ ยเหลือ ปรับปรุง
แก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลท่ี
จาแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนท่ัวไป กลุ่มผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ กลุ่ม
ผู้เรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า กลุ่มผู้เรียนท่ีมีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนท่ีปฏิเสธ
โรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูล
จากการประเมินจึงเปน็ หัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการช่วยเหลอื ผู้เรยี นได้ทันทว่ งที ปิดโอกาสให้ผู้เรยี น
ได้รับการพัฒนาและประสบความสาเร็จในการเรยี น
สถานศึกษาในฐานะผู้รบั ผิดชอบจัดการศึกษา จะตอ้ งจดั ทาระเบียบวา่ ด้วยการวดั และประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีเป็นข้อกาหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน เพื่อให้บคุ ลากรที่เกย่ี วข้องทกุ ฝา่ ยถือปฏิบัตริ ว่ มกัน
หลักการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๑. สถานศกึ ษาเป็นผรู้ ับผิดชอบการวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปดิ โอกาสให้ผู้ที่
เกยี่ วข้องมีส่วนรว่ ม เช่น ผเู้ รียน ครผู ู้สอน ผปู้ กครองนกั เรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
๒. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาผู้เรียน กล่าวคือ เป็นการ
ประเมินผลย่อย (Formative Assessment) ท่ดี าเนินการอย่างต่อเน่ือง ตลอดการเรยี นการสอน โดยมิใชใ่ ช้แต่
การทดสอบระหว่างเรียนเป็นระยะ ๆ อย่างเดียวแต่เป็นการท่ีครูเก็บข้อมูลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างไม่เป็น
ทางการด้วย ขณะท่ีให้ผู้เรียนทาภาระงานตามท่ีกาหนด ครูสังเกต ซักถามจดบันทึก แล้ววิเคราะห์ข้อมูลว่า
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ จะต้องให้ผู้เรียนปรับปรุงอะไรหรือผู้สอนปรับปรุงอะไร เพ่ือให้เกิดความก้าวหน้า
ในการเรียนรู้ตามมาตรฐาน/ตัวช้ีวัด การประเมินระหว่างเรียนดาเนินการได้หลายรูปแบบ เช่น การให้
ข้อแนะนาข้อสังเกตในการนาเสนอผลงาน การพูดคุยระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล การ
สัมภาษณ์ ตลอดจนการวิเคราะห์ผลการสอบ เป็นต้น ส่วนการตัดสินผลการเรียนเป็นการประเมินสรุปผลการ
เรียนรู้ (Summative Assessment) มักเกิดขึ้นเม่ือจบหน่วยการเรียนรู้เพ่ือตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรยี น
ตามตัวช้วี ัด และยงั ใชเ้ ป็นข้อมูลในการเปรียบเทยี บกบั การประเมินก่อนเรียน ทาใหท้ ราบพฒั นาการของผู้เรียน
การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ยังเป็นการตรวจสอบผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนตอนปลายปี/ปลายภาคอีกด้วยการ
ประเมินสรุปผลการเรียนรู้ใช้วธิ ีการและเคร่ืองมือประเมินได้อย่างหลากหลาย ซ่ึงเน้น การวัดและประเมินแบบ
อิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced Assessment) เป็นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อนาเสนอผลการ
ตัดสินความสามารถหรอื ผลสัมฤทธิข์ องผเู้ รียน โดยปรยี บเทียบกับเกณฑท์ ่ีกาหนดขน้ึ
โรงเรียนสุมเส้าวิทยา
สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 238
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
3. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัดตาม
กลมุ่ สาระการเรียนรทู้ ก่ี าหนดในหลกั สูตรสถานศกึ ษา และจดั ให้มีการประเมนิ การอ่าน
คดิ วเิ คราะห์ และเขียน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องดาเนินการด้วย
เทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพ่ือให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้านท้ังด้านพุทธิพิสัย จิต
พิสัย และทักษะพิสัย เหมาะสมกับสิ่งท่ีต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับชั้นของผู้เรียน โดยต้ังอยู่บน
พื้นฐานของความเที่ยงตรง ยุตธิ รรมและเชือ่ ถอื ได้
5. การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการ
เรียนรู้ การปฏิบัติกิจกรรม ผลงานของนักเรียน การทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนรู้ ตามความ
เหมาะสมของแตล่ ะระดบั และรปู แบบการศึกษา
6. เปดิ โอกาสให้ผูเ้ รยี นและผู้มีสว่ นเกย่ี วขอ้ งตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรยี นร้ขู องผู้เรียน
วธิ ีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. สถานศึกษาต้องดาเนินการวัดและประเมินผลให้ครบองค์ประกอบท้ัง ๔ ด้าน คือ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
2. การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ัง ๘ กลุ่มสาระ เป็นการประเมินความรู้
ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิดที่กาหนดอยู่ในตัวชี้วัดในหลักสูตร ซ่ึงจะนาไปสู่การสรุปผลการ
เรยี นรู้ของผเู้ รยี นตามมาตรฐานการเรียนรู้ โดยดาเนินการดังน้ี
2.๑ ผู้สอนแจ้งตัวช้ีวัด วิธีการประเมินผลการเรียน เกณฑ์การผ่านตัวชี้วัด และเกณฑ์ข้ัน
ตา่ ของการผา่ นรายวิชากอ่ นการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ หผ้ ู้เรยี นในแตล่ ะกล่มุ สาระการเรียนรู้
2.๒ จดั ให้มีการประเมนิ ผลก่อนเรียน เพ่อื ตรวจสอบความรู้พื้นฐานและความรอบรู้ในเร่ืองที่
จะเรยี น
2.๓ จัดใหม้ กี ารประเมินผลระหวา่ งเรียน เพ่ือศกึ ษาผลการเรยี น เพ่ือจัดสอน ซ่อมเสริม และ
นาคะแนนจากการวัดผล ไปรวมกับการวัดผลปลายปี/ปลายภาค
2.๔ จดั ให้มีการประเมนิ ผลปลายปี/ปลายภาคเพ่อื ตัดสนิ ผลการเรยี นรู้
3. การประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียนสื่อความของผู้เรียน ใหค้ รปู ระจาวิชา ดาเนนิ การวัดผล
ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
3.๑ ผู้สอนแจ้งตัวชี้วัด วิธีการประเมินผล และเกณฑ์การผ่านตัวช้ีวัดการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขยี น
3.๒ จดั ใหม้ กี ารประเมินผล และสรุปผลปลายปี
4. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนให้ครูผู้สอนดาเนินการวัดผลไปพร้อมกับการ
ประเมินผลระดบั ช้นั เรยี นตามเกณฑ์สถานศกึ ษากาหนด
4.๑ ผู้สอนแจ้งตัวชี้วัด วิธีการประเมินผล และเกณฑ์การผ่านตัวชี้วัดคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
4.๒ จัดให้มกี ารประเมนิ ผล และสรุปผลปลายปี
5. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้ประเมินเป็นรายภาค/รายปี โดยสถานศึกษาเป็นผู้กาหนด
แนวทางการประเมิน ผ้รู ับผดิ ชอบกจิ กรรมดาเนินการประเมนิ ตามตัวชวี้ ดั
โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพมิ่ เติม
หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 239
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
5.๑ ผู้สอนแจง้ ตัวชี้วดั วธิ กี ารประเมินผล และเกณฑก์ ารผ่านตวั ช้วี ัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
5.๒ จดั ใหม้ ีการประเมนิ ผล และสรปุ ผล ปลายภาค/ปลายปี
เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรียน
๑. การตัดสนิ การใหร้ ะดบั และการรายงานผลการเรยี น
๑.๑ การตัดสนิ ผลการเรยี น
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนน้ัน ผู้สอนต้องคานึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้อง
เก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ืองในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนา
จนเต็มตามศกั ยภาพ
ระดบั ประถมศึกษา
(๑) ผเู้ รียนต้องมีเวลาเรยี นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทง้ั หมด
(๒) ผู้เรียนต้องได้รบั การประเมนิ ทกุ ตวั ช้ีวัด และผา่ นตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนด
(๓) ผูเ้ รยี นต้องไดร้ ับการตดั สินผลการเรยี นทุกรายวิชา
(๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กาหนด ในการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
ระดบั มธั ยมศกึ ษา
(๑) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า
ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทั้งหมดในรายวชิ านัน้ ๆ
(๒) ผ้เู รียนต้องไดร้ บั การประเมนิ ทกุ ตัวช้ีวดั และผา่ นตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากาหนด
(๓) ผู้เรยี นต้องไดร้ ับการตัดสนิ ผลการเรียนทกุ รายวชิ า
(๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา
กาหนด ในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
การพิจารณาเลื่อนช้ันทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย
และสถานศึกษาพิจารณาเห็นวา่ สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ใหอ้ ยูใ่ นดุลพินจิ ของสถานศึกษาท่ีจะผ่อน
ผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน
ระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าชั้นได้ ทั้งนี้ให้คานึงถึงวุฒิภาวะและ
ความร้คู วามสามารถของผู้เรยี นเปน็ สาคญั
๑.๒ การให้ระดบั ผลการเรยี น
ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพ่ือให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้
ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ
และระบบท่ีใชค้ าสาคัญสะท้อนมาตรฐาน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผล
การประเมนิ เปน็ ดเี ยีย่ ม ดี และผา่ น
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กจิ กรรมและผลงานของผ้เู รียน ตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนด และใหผ้ ลการเข้ารว่ มกิจกรรมเปน็ ผ่าน และไม่
ผ่าน
โรงเรียนสุมเส้าวิทยา
สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑
ขอ้ มลู เพิ่มเติม
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 240
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ระดบั มัธยมศึกษา ในการตดั สนิ เพอื่ ใหร้ ะดับผลการเรียนรายวิชา ใหใ้ ชต้ ัวเลขแสดงระดับผล
การเรียนเป็น ๘ ระดบั
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผล
การประเมินเปน็ ดเี ยยี่ ม ดี และผา่ น
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กจิ กรรมและผลงานของผู้เรยี น ตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากาหนด และให้ผลการเข้ารว่ มกจิ กรรมเป็นผ่าน และไม่
ผา่ น
๑.๓ การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเป็นการส่ือสารให้ผูป้ กครองและผู้เรียนทราบความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้
ของผู้เรียน ซ่ึงสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ
หรอื อย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครัง้
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนท่ีสะท้อน
มาตรฐานการเรยี นรกู้ ลุม่ สาระการเรียนรู้
๒. เกณฑ์การจบการศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุมเส้าวิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษาเป็น 2 ระดับ คือ
ระดับประถมศึกษา และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
๒.๑ เกณฑ์การจบระดบั ประถมศึกษา
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน
ทีห่ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐานกาหนด
(๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา
กาหนด
(๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามท่ีสถานศึกษากาหนด
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศกึ ษากาหนด
(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากาหนด
๒.๒ เกณฑ์การจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพ่ิมเติมไม่เกิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน
๖๓ หนว่ ยกติ และรายวิชาเพ่ิมเตมิ ตามท่สี ถานศึกษากาหนด
(๒) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา
พื้นฐาน ๖๓ หนว่ ยกติ และรายวิชาเพิม่ เติมไมน่ อ้ ยกว่า ๑๔ หนว่ ยกิต
(๓) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์
การประเมินตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด
โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
ข้อมลู เพม่ิ เติม
หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 241
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาหนด
สาหรับการจบการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรับ
ผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส กา รศึกษาตามอัธยาศัย
ให้คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ดาเนินการวัดและประเมินผล
การเรยี นร้ตู ามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พ้ืนฐานสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
เอกสารหลักฐานการศกึ ษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาคัญที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศ
ท่เี ก่ียวข้องกับพฒั นาการของผู้เรยี นในดา้ นตา่ ง ๆ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ดังน้ี
๑. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทีก่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ
ผู้เรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารนี้
ให้ผูเ้ รยี นเป็นรายบคุ คล เมื่อผู้เรยี นจบการศึกษาระดับประถมศกึ ษา (ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖) จบการศึกษาภาค
บงั คับ(ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓) หรอื เมื่อลาออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี
๑.๒ ประกาศนียบัตร เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพ่ือรับรองศักดิ์และสิทธ์ิของผู้จบ
การศึกษา ที่สถานศึกษาให้ไว้แก่ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ และผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
๑.๓ แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อและ
ข้อมูลของผู้จบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖) และผู้จบการศึกษาภาคบังคับ
(ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓)
๒. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาทสี่ ถานศึกษากาหนด
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทาข้ึนเพ่ือบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสาคัญ เกี่ยวกับ
ผเู้ รียน เช่น แบบรายงานประจาตวั นักเรียน แบบบนั ทึกผลการเรยี นประจารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรบั รอง
ผลการเรียน และ เอกสารอืน่ ๆ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องการนาเอกสารไปใช้
การเทียบโอนผลการเรยี น
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การ
เปล่ียนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจาก
ต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากน้ี ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จาก
แหลง่ การเรยี นร้อู ื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบนั การฝกึ อบรมอาชีพ การจดั การศกึ ษาโดย
ครอบครัว
การเทียบโอนผลการเรียนควรดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก
ท่ีสถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งน้ี ผู้เรียนท่ีได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเน่ืองใน
โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑
ขอ้ มูลเพ่มิ เติม
หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 242
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
สถานศึกษาท่ีรับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกาหนด
รายวิชา/จานวนหนว่ ยกติ ทจี่ ะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม
การพจิ ารณาการเทยี บโอน สามารถดาเนนิ การได้ ดังนี้
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอ่ืน ๆ ท่ีให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของ
ผูเ้ รียน
๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผเู้ รยี นโดยการทดสอบด้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ท้งั ภาคความร้แู ละ
ภาคปฏบิ ัติ
๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏบิ ตั ใิ นสภาพจริง
การเทยี บโอนผลการเรยี นให้เป็นไปตาม ประกาศ หรอื แนวปฏบิ ตั ิ ของกระทรวงศึกษาธิการ
การบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร
ในระบบการศึกษาท่ีมีการกระจายอานาจให้ท้องถ่ินและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนา
หลักสตู รน้นั หนว่ ยงานต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งในแต่ละระดับ ตัง้ แต่ระดับชาติ ระดับทอ้ งถิ่น จนถงึ ระดบั สถานศึกษา
มีบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริม การใช้และพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้การดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนของ
สถานศึกษามีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ี
กาหนดไว้ในระดับชาติ
ระดับท้องถ่ิน ได้แก่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอ่ืน ๆ เป็นหน่วยงานที่มี
บทบาทในการขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางท่ีจะเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้
พื้นฐานที่กาหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน เพื่อนาไปสู่การจัดทา
หลักสูตรของสถานศึกษา ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบความสาเรจ็ โดยมี
ภารกิจสาคัญ คือ กาหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในระดับท้องถิ่นโดยพิจารณาให้
สอดคล้องกับส่ิงที่เป็นความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน ประเมินคุณภาพการศึกษาใน
ระดับท้องถิ่น รวมท้ังเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน
ส่งเสริม ติดตามผล ประเมินผล วิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผู้เรยี น
สถานศึกษามีหน้าท่ีสาคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดาเนินการใช้หลักสูตร
การเพ่ิมพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร จัดทาระเบียบ
การวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาต้องพิจารณาให้สอดคล้อง กับหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน และรายละเอียดท่ีเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือหน่วยงานต้นสังกัดอื่น ๆ ในระดับท้องถ่ินได้
จัดทาเพิ่มเติม รวมทั้ง สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมในส่วนท่ีเกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และความต้องการของผู้เรียน โดยทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศกึ ษา
โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมลู เพ่มิ เตมิ
หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 243
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
เอกสารอ้างอิง
กรมวิชาการ. คู่มือการจดั กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑-๔ (ลูกเสอื สารอง).
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพค์ รุ สุ ภาลาดพรา้ ว, ๒๕๓๓.
กรมวิชาการ. คู่มอื การจัดกจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนารี ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕-๖ (ลกู เสือสามัญ).
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ ุสภาลาดพร้าว, ๒๕๓๓.
กรมวชิ าการ. คมู่ อื พัฒนาทักษะการดาเนินชวี ิต ระดบั ประถมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์
การศาสนา, ๒๕๔๓.
กรมวชิ าการ. คู่มือการจัดกิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓ (ลกู เสือสามัญ
รุ่นใหญ่). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ สุ ภาลาดพร้าว, ๒๕๓๓.
กรมวิชาการ. แนวทางการจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ตามหลักสตู รการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๔๔. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพค์ รุ สุ ภาลาดพร้าว, ๒๕๔๖.
กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ :
โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.
สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช
๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๑.
สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑.
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๑.
สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาต่างประเทศ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช
๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๑.
สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑.
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๑.
สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ศลิ ปะ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ :
โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรู้
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.
โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑
ข้อมูลเพ่ิมเตมิ