The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร ร.ร.สุมเส้าวิทยา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natthapat_aa, 2021-09-19 05:50:53

หลักสูตร ร.ร.สุมเส้าวิทยา 2564

หลักสูตร ร.ร.สุมเส้าวิทยา 2564

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 94

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

โรงเรียนและชุมชนหลักฐานแต่งกาย การติดต่อส่ือสารนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมในหมู่บ้าน เช่น
การแห่ นางแมว การสรา้ งศาลาหมู่บา้ น มคี วามรู้เกย่ี วกบั เอกลกั ษณข์ องประเทศสมาชิกอาเซียน

โดยใช้กระบวนการ บันทึก บอก ระบุ ยกตัวอย่าง อธิบาย แยกแยะ สรุปผล สืบค้น ลาดับเหตุการณ์
ปฏิบตั ิ มสี ่วนรว่ ม

เพื่อให้เกิดความเคารพ พระรัตนตรัย ชื่นชมมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และเห็นคุณค่าการ มีสติท่ีเป็น
พื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามท่ีกาหนด
รกั และภาคภูมใิ จในท้องถิ่น เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรมของประเทศอาเซียน

รหสั ตัวช้วี ดั
ส ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ส ๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวมทั้งหมด 28 ตวั ชี้วดั

โรงเรียนสุมเส้าวิทยา
สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพ่ิมเติม

หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 95

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส ๑3๑๐๑ สังคมศกึ ษา 3 คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
เวลา 4๐ ชวั่ โมง

ศึกษาเกี่ยวกับความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาท่ีตนนับถือ พุทธประวัติหรือประวัติศาสดา
ที่ตนนับถือสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนาภาพพระพุทธประวัติ นิทานสอนใจพ้ืนบ้าน/ท้องถิ่นตามท่ีกาหนด
การดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด ความหมาย
ความสาคัญ พระรัตนตรัย หลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ี
กาหนด หน้าท่ีของเราในบ้าน ในโรงเรียน บุคคลสาคัญทางศาสนาในหมู่บ้าน คุณค่าตามศรัทธาในพระพุทธ
พระธรรม และพระสงฆ์คติธรรม สุภาษิตสอนใจ ตามหลักธรรมและคติธรรมที่ยึดถือในหมู่บ้านการฝึกสติ
เบ้ืองต้น การฝึกสมาธิเบื้องต้นบุคคลสาคัญทางพระพุทธศาสนาในหมู่บ้านหน้าท่ีของเรา ในบ้าน ในโรงเรียน
ศาสดาของศาสนาพุทธ ครสิ ต์ อสิ ลามครอบครัวของฉัน พอ่ แม่ ปู่ ยา่ ตา ยาครอบครวั สงบสุข กฎกติกา ความ
รับผิดชอบการทาความดีท่ีมีสุขความดีต่อครอบครวั ความดีต่อชุมชนหนา้ ที่ของเราในบ้าน ในโรงเรียน มารยาท
ในชีวิตประจาวัน ความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียน ตามหลักศาสนา สติที่เป็นพื้นฐานของ
สมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนา ศาสดา และ
ความสาคัญของคัมภีร์ของศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอื่น ๆ การฝึกปฏิบัติมรรยาทชาวพุทธ ศาสนพิธี
พิธีกรรม และวันสาคัญทางศาสนา ตามท่ีกาหนด ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบและหน้าที่ท่ีต้องปฏิบัติใน
ชีวิตประจาวันมารยาทไทย พฤติกรรมในการยอมรับความคิด ความเชื่อและการปฏิบัติของบคุ คลอ่ืนท่ีแตกต่าง
กันโดยปราศจากอคติ การเคารพในสิทธิส่วนบุคคลความสัมพันธ์ของตนเอง และสมาชิกในครอบครัวของเรา
ใจเขา ใจเราความแตกต่างระหว่างบุคคลการผลิตและการใช้ผลผลิต การเลือกซื้อสินค้าที่จาเป็น คุ้มค่า
ประหยัด ยุติธรรมอาชีพที่กอ่ ให้เกิดรายได้ ผูม้ ีบทบาท อานาจในการตดั สินใจในโรงเรียน และชุมชน ทรัพยากร
ท่ีนามาผลิตสินค้าและบริการท่ีใช้ในชีวิตประจาวันบันทึกรายรับ - รายจ่ายชีวิตประจาวันอย่างง่ายในการฝาก
เช่น การฝากพ่อ แม่ การฝากธนาคาร การออม เช่น การจ่ายอย่างประหยัดการซ้ือจ่ายแลกเปล่ียนสินคา้ ผผู้ ลิต
และผู้บริโภคใกล้ตัวหลักฐานและการสืบค้น ชีวิตของเรา ครอบครัวหลักฐานและการสืบค้น ชีวิตของเรา
ครอบครัวการเทียบพุทธศักราชและคริสตศักราช พอสังเขปหลักฐานและการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในหมู่บ้าน/
ชุมชน การแต่งกาย การติดต่อสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมในหมู่บ้าน เช่น การแห่นางแมว
การสร้างศาลาหมู่บ้าน รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว การใช้จ่ายท่ีเหมาะสมกับรายได้และการ
ออมการแลกเปล่ียนสินค้าและบริการโดยวิธีต่าง ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย คาบอกเวลาท่ีแสดง
เหตุการณใ์ นอดีต ปจั จุบัน และอนาคต เหตกุ ารณท์ เ่ี กิดข้ึนในครอบครวั หรือในชีวิตของตนเองโดยใช้หลักฐานท่ี
เก่ียวข้อง การเปลี่ยนแปลงในวถิ ีชวี ติ ประจาวนั ของคนในชุมชน ของตนจากอดีตถึงปัจจบุ ัน ผลกระทบของการ
เปล่ียนแปลง ทมี่ ีตอ่ วถิ ชี วี ิตของคน บคุ คลทท่ี าประโยชนต์ ่อท้องถนิ่ หรือประเทศชาติ วฒั นธรรม ประเพณี และ
ภูมิปัญญาไทยท่ีภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ สิ่งต่าง ๆ ท่ีเป็นธรรมชาติกับที่มนุษย์สร้างข้ึน ซึ่งปรากฏระหว่าง
โรงเรยี นกบั บา้ น ตาแหน่งอย่างง่ายและลกั ษณะทางกายภาพของสงิ่ ต่างๆทปี่ รากฏในลูกโลก แผนท่ี แผนผัง และภาพถา่ ย
ความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ความสาคัญและคุณค่าของส่ิงแวดล้อม
ทางธรรมชาติและทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดไปและที่ใช้แล้วหมดไป ความสัมพันธ์ของ
ฤดูกาลกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์ การฟื้นฟูปรับปรุงส่ิงแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชนหลักฐานแต่งกาย

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 96

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

การติดต่อส่ือสารนบธรรมเนยี มประเพณีและวัฒนธรรมในหมู่บ้าน เช่น การแห่นางแมว การสรา้ งศาลาหมู่บ้าน
มคี วามรู้เกยี่ วกบั แผนท่ี แผนผัง ภาพถ่ายของประเทศสมาชกิ อาเซียน

โดยใช้กระบวนการ บันทึก บอก ระบุ ยกตัวอย่าง อธิบาย แยกแยะ สรุปผล สืบค้น ลาดับเหตุการณ์
ปฏิบัติ มสี ่วนร่วม มีทักษะในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในกลมุ่ ประเทศอาเซียนอย่างสร้างสรรค์

เพ่ือให้เกิดความเคารพ พระรัตนตรัย ช่ืนชมมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และ เห็นคุณค่าการ มีสติท่ีเป็น
พ้ืนฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือตามที่กาหนด
รกั และภาคภมู ใิ จในทอ้ งถิน่ ตระหนักในความเปน็ อาเซยี น

รหสั ตัวชว้ี ดั
ส ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗
ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๓/๓
ส ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ส ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๕.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/5
รวมท้งั หมด ๓1 ตัวชีว้ ัด

โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมูลเพิ่มเตมิ

หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 97

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส ๑4๑๐๑ สงั คมศกึ ษา 4 คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 4๐ ช่วั โมง

ศึกษา พระพุทธศาสนา ในฐานะที่เป็นเคร่ืองยึดเหน่ียวจิตใจ เป็นศูนย์รวมการทาความดีพัฒนาจิตใจ
เชน่ ฝึกสมาธิ สวดมนต์ ศึกษาหลกั ธรรม เปน็ ที่ประกอบศาสนพธิ ี ประโยชน์ของการสวดมนต์ สถานทป่ี ระกอบ
กิจกรรมในท้องถ่ิน เป็นแหล่งทากิจกรรมทางสังคม สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน) ตรัสรู้ ประกาศธรรม แสดง
โอวาทปาฏิโมกข์ พระรัตนตรัย พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ไตรสิกขาศีลสมาธิปัญญา ไม่ทาช่ัว ทาความดี
ทาจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปัญญา) พุทธศาสนสุภาษิต ตัวอย่างการกระทาความดีของตนเองและ
บุคคลในครอบครัว ในโรงเรียน และในชุมชน การกระทาความของบุคคลในท้องถิ่น สวดมนต์ไหว้พระ
สรรเสริญ คณุ พระรตั นตรยั และแผเ่ มตตา รูค้ วามหมายของสตสิ ัมปชัญญะ สมาธิและปญั ญา รวู้ ธิ ปี ฏบิ ัตขิ องการ
บรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา หลักธรรมเพือ่ การอยู่รว่ มกนั อย่างสมานฉนั ท์ กตญั ญูกตเวทีต่อประเทศชาติ ประวตั ิ
ศาสดา พระพุทธเจ้า มุฮัมมัด พระเยซูความรู้เบ้ืองต้นความสาคัญ การแสดงความเคารพ และการบารุงรักษา
ต่อศาสนสถาน การปฏิบัติตนท่ีเหมาะสมต่อพระภิกษุ การยืน การเดินและการนั่ง ที่เหมาะสมในโอกาสต่าง ๆ
การอาราธนาศีล อาราธนาธรรม การอาราธนาพระปริตร ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตนในวันธรรมสวนะ การ
เข้าร่วมกิจกรรมประชาธิปไตยของชุมชน แนวทางการปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ีดีของชุมชน การพัฒนาชุมชน
บทบาทและความรับผิดชอบของผู้นาและผู้ตามหรือสมาชิก สิทธิพ้ืนฐานของเด็ก วัฒนธรรมในภาคต่าง ๆ
ของไทยท่ีแตกต่างกนั ปัญหาและสาเหตุของการเกิดความขัดแย้งในชวี ิตประจาวัน แนวทางการแก้ปญั หาความ
ขัดแย้งด้วยสันติวิธี อานาจอธิปไตย ความสาคัญของการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย บทบาทหน้าท่ีของ
พลเมืองในกระบวนการเลือกต้ัง สถาบันพระมหากษัตริย์ในสังคมไทย ความสาคัญของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์
ในสังคมไทย สินค้าและบริการที่มีอยู่หลากหลายในตลาดท่ีมีความแตกต่างด้านราคาและคุณภาพปัจจัยที่มีผล
ต่อการเลือกซ้ือสินค้าและบริการท่ีมีมากมายซ่ึงข้ึนอยู่กับผู้ซื้อและผู้ขาย สิทธิพ้ืนฐานของผู้บริโภคสินค้า
และบริการท่ีมีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ หลักการและวิธีการเลือกบริโภค หลักการเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในการดารงชีวิต เศรษฐกิจพอเพียงประจาวัน อาชีพสินค้าและบริการต่าง ๆ
ที่ผลิตในชุมชน การพึ่งพาอาศัยกันภายในชุมชนทางด้านเศรษฐกิจ การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนด้วยการใช้
สิ่งของที่ผลิตในชุมชน ความหมายและประเภทของเงิน หน้าที่เบ้ืองต้นของเงินในระบบเศรษฐกิจ สกุลเงิน
สาคัญที่ใช้ในการซื้อขายแลกเปล่ียนระหว่างประเทศ แผนที่ ภาพถ่ายลักษณะทางกายภาพของจังหวัดตนเอง
ตาแหน่งระยะทางและทิศทางของทรัพยากรและส่ิงต่าง ๆ ในจังหวัดของตนเอง แผนท่ีแสดงความสัมพันธ์ของ
สิ่งต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในจังหวัด ลักษณะทางกายภาพ ภูมิประเทศและภูมิอากาศที่มีผลต่อสภาพสังคมของจังหวัด
สภาพแวดล้อม ทางกายภาพของชุมชนท่ีท่ีส่งผลต่อการดารงชีวิตของคนในจังหวัด การเปล่ียนแป ลง
สภาพแวดล้อมในจังหวัดและผลท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงเช่นการตั้งถ่ินฐาน การย้ายถ่ิน การอนุรักษ์
ส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในจังหวัด มีความรู้เก่ียวกับสิทธิเด็ก เงินตรา บุคคลสาคัญและสภาพ
ภมู ศิ าสตรข์ องประเทศสมาชิกอาเซยี น

นาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง ฝึกปฏิบัติ วิเคราะห์ สังเคราะห์เกี่ยวกับการเป็น
พลเมืองดี การผลิต การแจกจ่ายและการบริโภคสินค้าและบริการ สามารถใช้วิธีทางประวัติศาสตร์มาวเิ คราะห์
เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นได้ ใช้แผนท่ีและเครื่องมือทาง

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

ขอ้ มลู เพม่ิ เติม

หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 98

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ภูมิศาสตรใ์ นการค้นหา วเิ คราะห์ สรุปและใชข้ ้อมูลสารสนเทศอย่างมปี ระสิทธิภาพ เห็นคุณคา่ ความเป็นมนุษย์
เทา่ เทียมกนั

สามารถปรับตนเองเข้ากับบริบท สภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดีมีความรับผิดชอบ มีความอดทน
อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง เป็นพลเมืองดีของประเทศและสังคมโลกสามารถนาผลการเรียนรู้ไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาวนั อยรู่ ่วมกันในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุขและมีความรักความภูมิใจและธารงความเป็นไทย ตระหนัก
ในความเป็นอาเซียน

รหัสตัวช้ีวัด
ส ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ส ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
ส ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๓.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ส ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๕.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
รวมทั้งหมด ๓0 ตัวชวี้ ดั

โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา
สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

ข้อมลู เพมิ่ เตมิ

หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 99

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส ๑5๑๐๑ สงั คมศกึ ษา 5 คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
เวลา 4๐ ชั่วโมง

ศึกษามรดกทางวัฒนธรรมที่ได้รับจากพระพุทธศาสนา ศาสนสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม
หลักธรรมคาสงั่ สอน ความเชื่อ และคุณธรรมตา่ ง ๆ การนาพระพทุ ธศาสนาไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการพฒั นาชาติ
ไทย สรุปพุทธประวัติ โปรดพระบิดา พุทธกิจสาคัญ องค์ประกอบของพระไตรปิฎก ความสาคัญของ
พระไตรปิฎก พระรตั นตรัยไตรสิกขา โอวาท ๓ ไมท่ าชั่ว เบญจศลี อบายมุข ๔ ทาความดี เบญจธรรม บุญกริ ยิ า
วตั ถุ ๓ อคติ ๔ อิทธิบาท ๔ กตัญญูกตเวทีต่อพระพทุ ธศาสนา มงคล ๓๘ ทาจติ ใหบ้ รสิ ุทธิ์ (บรหิ ารจติ และเจรญิ
ปัญญา) พุทธศาสนสุภาษิต สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญ คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา รู้ความหมายของ
สติสัมปชัญญะ สมาธิและปัญญา รู้วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของ การบริหารจิตและเจริญปัญญา ฝึกการยืน
การเดิน การนั่ง และการนอน อย่างมีสติ ฝึก การกาหนดรู้ความรู้สึก เม่ือตาเห็นรูป หูฟังเสียง จมูกดมกลิ่น
ลิ้นล้ิมรส กายสัมผัสส่ิงท่ีมากระทบใจรับรู้ธรรมารมณ์ ฝึกให้มีสมาธิ การจัดพิธีกรรมท่ีเรียบง่าย ประหยัด
มีประโยชน์ และถูกต้องตามหลักทางศาสนาที่ตนนับถือ การมีส่วนร่วมในการจัดเตรียมสถานท่ีประกอบ
ศาสนพิธี พิธีกรรมทางศาสนา พิธีถวายสังฆทาน เครื่องสังฆทาน ระเบียบพิธีในการทาบุญงานมงคล ประโยชน์
ของการเข้าร่วมศาสนพิธี พิธีกรรมทางศาสนา หรือกิจกรรมในวันสาคัญทางศาสนา การกราบพระรัตนตรัย
การไหว้บิดา มารดา ครู/อาจารย์ ผู้ท่ีเคารพนับถือ การกราบศพ สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ หน้าท่ีของ
พลเมืองดี เช่น เคารพ เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ อนุรักษ์
ศิลปวัฒนธรรม ปฏิบัติตามกฎหมาย คุณลักษณะของพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ เสียสละ เหตุการณ์ท่ีละเมดิ
สิทธิเด็กในสงั คมไทย แนวทางการปกป้องคุ้มครองตนเองหรอื ผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิเด็ก การปกป้องคุ้มครอง
สิทธิเด็กในสังคมไทย วฒั นธรรมไทย ทีม่ ผี ลต่อการดาเนนิ ชวี ิตของคนในสังคมไทย คณุ คา่ ของวฒั นธรรมกับการ
ดาเนินชีวิต ความสาคัญของภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่นในชมุ ชน ของตนภูมิปัญญาท้องถ่ินใน
จังหวัดอุดรธานี กล้วยไม้หอมอุดรชันไฌน์ ผ้าทอ หัตถกรรม เคร่ืองป้ันดินเผา เครื่องจักสาน การอนุรักษ์และ
เผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถ่ินของชุมชน โครงสร้างการปกครองในท้องถิ่น พิเศษ อานาจหน้าท่ีและความสาคัญ
ของการปกครองส่วนท้องถ่ิน บทบาทหน้าที่ และวิธีการเข้าดารงตาแหน่งของผู้บริหารท้องถิ่น องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินกับบริการสาธารณประโยชน์ในชุมชน ความหมายและประเภทของปัจจัยการผลิตประกอบด้วย
ท่ีดิน แรงงาน ทุนและผู้ประกอบการ เทคโนโลยีในการผลิตสินค้าและบริการ ปัจจัยอื่น ๆ พฤติกรรมของ
ผู้บริโภค ตัวอย่างการผลิตสินค้าและบริการที่มีอยู่ในท้องถิ่นหรือแหล่งผลิตสินค้าและบริการในชุมชน
หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในกิจกรรมต่าง ๆ ใน
ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน ตัวอย่างการผลิตสินค้าและบริการในชุมชน เช่น หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์หรือ
โอท็อป หลักการ และประโยชน์ของสหกรณ์ประเภทของสหกรณ์โดยสังเขป สหกรณ์ในโรงเรียน การประยุกต์
หลักการของสหกรณ์มาใช้ในชีวิตประจาวัน บทบาทหน้าที่ของธนาคารโดยสังเขป ดอกเบ้ียเงินฝาก และ
ดอกเบ้ียกู้ยืม การฝากเงิน / การถอนเงิน ผลดีและผลเสียของการกู้ยืมเงินทั้งนอกระบบและในระบบท่ีมีต่อ
ระบบเศรษฐกิจ ตาแหน่ง (พิกดั ภมู ิศาสตร์ ละติจดู ลองจจิ ดู ) ระยะ ทิศทาง ของภูมภิ าคของตนเอง ภูมิลกั ษณ์ท่ี
สาคัญในภูมิภาคของตนเองเช่น แม่น้า ภูเขาป่าไม้ ความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพ (ภูมิลักษณ์และ
ภูมอิ ากาศ) และลกั ษณะทางสังคม (ภูมิสังคม) ในภูมภิ าคของตนเอง สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีมีอิทธิพลต่อ
ลักษณะการตงั้ ถ่นิ ฐานและการย้ายถน่ิ ของประชากรในภูมภิ าคอทิ ธิพลของสงิ่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติที่กอ่ ให้เกิด

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพิม่ เติม

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 100

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

วิถีชีวิตและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมในภูมิภาค ผลจากการรักษาและการทาลายสภาพแวดล้อม แนวทาง
การอนุรักษ์และรักษาสภาพแวดล้อมภูมิภาค บอกความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพ ตาแหน่งพิกัดทาง
ภมู ิศาสตร์แบบสากลของประเทศกลุม่ สมาชกิ อาเซียน

นาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง ฝึกปฏิบัติ วิเคราะห์ สังเคราะห์เก่ียวกับการเป็น
พลเมืองดี การผลิต การแจกจ่ายและการบริโภคสินค้าและบริการ สามารถใช้วิธีทางประวตั ิศาสตร์มาวิเคราะห์
เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นได้ ใช้แผนที่และเครื่องมือทาง
ภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ แก้ปัญหาอย่างสันติวิธีกับ
กลุ่มประเทศอาเซยี น

สามารถปรับตนเองเข้ากับบริบท สภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดีมีความรับผิดชอบ อดทน อดกลั้น
ยอมรับในความแตกต่าง เป็นพลเมืองดีของประเทศและสังคมโลกสามารถนาผลการเรียนรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขและมีความรักความภูมิใจและธารงความเป็นไทย ร่วมกัน
รับผิดชอบต่อประเทศสมาชิกอาเซียน และน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๑๐ให้แก่ผู้เรียนท้ัง ๔ ด้าน

รหัสตวั ชวี้ ดั
ส ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/5, ป.๕/6, ป.๕/7
ส ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ส ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ส ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ส ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ส ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ส ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ส ๕.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
รวมทง้ั หมด 28 ตัวชี้วัด

โรงเรียนสุมเส้าวิทยา
สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 101

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส ๑6๑๐๑ สงั คมศึกษา 6 คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 4๐ ช่วั โมง

ศึกษาพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจาชาติ เป็นรากฐานทางวัฒนธรรมไทย เป็นศูนย์รวม
จิตใจ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมไทย และเป็นหลักในการพัฒนาชาติไทย สรุปพุทธประวัติปลงอายุสังขารปัจฉิม
สาวกปรินิพพานการถวายพระเพลิงแจกพระบรมสารีริกธาตุสังเวชนียสถาน ๔ พระรัตนตรัย (ศรัทธา ๔)
พระพุทธ (พุทธกิจ ๕) พระธรรม (อริยสัจ ๔ หลักกรรม) พระสงฆ์ ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) โอวาท ๓
ไม่ทาช่ัว (เบญจศีล อบายมุข ๖ อกุศลมูล ๓) ทาความดี (เบญจธรรม กุศลมูล ๓ พละ ๔ คารวะ ๖ กตัญญู
กตเวทีต่อพระมหากษัตริย์ มงคล ๓๘) ทาจิตให้บริสุทธ์ิ (บริหารจิตและเจริญปัญญา) พุทธศาสนสุภาษิต
ตัวอย่างการกระทาความดีของบุคคลในประเทศ สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญ คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
รคู้ วามหมายของสตสิ ัมปชัญญะ สมาธิและปัญญารู้วิธีปฏิบตั ิและประโยชนข์ อง การบรหิ ารจิตและเจรญิ ปัญญา
: อริยสัจ ๔ หลักกรรม โอวาท ๓ : เบญจศีล – เบญจธรรม อบายมุข ๖ อกุศลมูล ๓ กุศลมูล ๓ หลักธรรม
สาคัญของศาสนาต่าง ๆ ศาสนพิธีของศาสนาต่าง ๆ พระพุทธศาสนาศาสนพิธีที่เป็นพุทธบัญญัติ ความรู้
เบื้องต้นเก่ียวกับสถานที่ต่าง ๆ ภายในวัด การปฏิบัติตนที่เหมาะสมภายในวัด การถวายของแก่พระภิกษุการ
ปฏิบัติตนในขณะฟังธรรม การปฏิบัติตนตามแนวทางของพุทธศาสนกิ ชน เพ่ือประโยชน์ต่อศาสนาทบทวนการ
อาราธนาศีล อาราธนาธรรม และอาราธนา พระปริตร พิธีทอดผ้าป่าพิธีทอดกฐินระเบียบพิธีในการทาบุญงาน
อวมงคล การปฏิบัติตน ที่ถูกต้องในศาสนพิธีพิธีกรรม และวันสาคัญทางศาสนา ประโยชน์ของการเข้าร่วมใน
ศาสนพิธี/พิธีกรรม และวันสาคัญทางศาสนา การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
ชีวิตประจาวัน กฎหมายจราจร กฎหมายทะเบียนราษฎร กฎหมายยาเสพติดให้โทษ เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติ
อบต. อบจ. ประโยชน์ ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายดังกล่าว ความหมายและประเภทของวัฒนธรรม
การเปล่ียนแปลงวฒั นธรรมตามกาลเวลาท่ีมีผลต่อตนเองและสังคมไทย แนวทางการธารงรักษาวัฒนธรรมไทย
ความหมายและสาคัญของมารยาทไทย ประโยชน์และคุณค่าทางวัฒนธรรมความแตกต่างทางวัฒนธรรม
ระหว่างกลุ่มคนภาคต่าง ๆ ในสังคมไทยแนวทางการรักษาวัฒนธรรม ข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่าง ๆ
ประโยชน์จากการตดิ ตามข้อมูล ขา่ วสาร เหตุการณต์ า่ ง ๆ หลักการเลอื กรับและใช้ข้อมูล ข่าวสารจากส่อื ตา่ ง ๆ
รวมทั้งสื่อท่ีไร้พรมแดนบทบาท หน้าท่ี ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและรัฐบาลกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือส่งเสริม
ประชาธิปไตย ในท้องถ่ินและประเทศการมีส่วนในการออกกฎหมาย ระเบียบ กติกา การเลือกตั้งสอดสอ่ งดแู ล
ผู้มีพฤติกรรมการกระทาผิดการเลือกตั้ง และแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการใช้สิทธิออกเสียงเลือกต้ังตาม
ระบอบประชาธิปไตย ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค ธนาคาร และรัฐบาล ที่มีต่อระบบเศรษฐกิจอย่าง
สังเขป การแลกเปล่ียนสินค้าและบริการ รายได้และรายจ่าย การออมกับธนาคาร การลงทุนแผนผังแสดง
ความสัมพนั ธข์ อง หนว่ ยเศรษฐกจิ ภาษี และหนว่ ยงานท่ีจัดเกบ็ ภาษสี ิทธิของผูบ้ ริโภค และสิทธขิ องผูใ้ ช้แรงงาน
ในประเทศไทย การหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทนุ ซงึ่ แสดง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งผผู้ ลิต ผบู้ ริโภค และ
รัฐบาล การรวมกลุ่มเชิงเศรษฐกิจเพ่ือประสานประโยชน์ในท้องถิ่น เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ (แผนที่ ภาพถ่าย
ชนิดต่าง ๆ) ที่แสดงลักษณะทางกายภาพของประเทศความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกั บ
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของประเทศ ภูมิลักษณ์ที่มีต่อภูมิสังคมของประเทศไทยส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติ
กับส่ิงแวดล้อมทางสังคมในประเทศ ผลทเี่ กดิ จากการปรับเปล่ียน หรอื ดดั แปลงสภาพธรรมชาตใิ นประเทศจาก
อดตี ถงึ ปัจจบุ นั และผลทเ่ี กดิ ขึน้ (ประชากร เศรษฐกิจ สังคม อาชพี และวฒั นธรรม)แนวทางการใช้ทรัพยากร

โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมลู เพม่ิ เตมิ

หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 102

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ของคนในชุมชนให้ใช้ไดน้ านขน้ึ โดยมจี ติ สานึกร้คู ุณคา่ ของทรัพยากร แผนอนรุ ักษ์ทรัพยากรในชุมชน หรือแผน
อนรุ กั ษ์ บอกความสาคญั ของกลมุ่ สมาชิกอาเซียน

นาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง ฝึกปฏิบัติ วิเคราะห์ สังเคราะห์เกี่ยวกับการเป็น
พลเมืองดี การผลิต การแจกจ่ายและการบริโภคสนิ ค้าและบริการ สามารถใช้วิธีทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์
เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นได้ ใช้แผนท่ีและเครื่องมือทาง
ภูมิศาสตรใ์ นการคน้ หา วิเคราะห์ สรปุ และใชข้ ้อมลู สารสนเทศอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

สามารถปรับตนเองเข้ากับบริบท สภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดีมีความรับผิดชอบ มีความอดทน
อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง เป็นพลเมืองดีของประเทศและสังคมโลกสามารถนาผลการเรียนรู้ไปใช้ใน
ชวี ิตประจาวัน อยรู่ ว่ มกนั ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุขและมีความรักความภูมใิ จและธารงความเป็นไทย ตระหนัก
ในความเป็นอาเซียน และเคารพ ยอมรบั ความหลากหลายทางวัฒนธรรม

รหสั ตัวช้วี ดั
ส ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ส ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ส ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ส ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ส ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ส ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ส ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ส ๕.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
รวมทั้งหมด ๓๑ ตัวช้ีวัด

โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

ขอ้ มลู เพิ่มเติม

หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 103

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส ๑1๑๐2 ประวัติศาสตร์ 1 คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 4๐ ช่ัวโมง

ศกึ ษาเกยี่ วกับวัน เดอื น ปี และการนบั ช่วงเวลาตามปฏิทนิ ท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน เหตุการณท์ ่เี กิดข้ึนใน
ชีวิตประจาวันของตนเอง คาบอกช่วงเวลา เหตุการณ์ที่เกิดข้ึน ประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัว
อยา่ งง่าย ๆ ความเปล่ยี นแปลงของสภาพแวดล้อม สิ่งของ เคร่ืองใช้ หรือการดาเนินชีวิตของอดีตกับปัจจุบันที่
เป็นรูปธรรมและใกล้ตัว ความหมายและความสาคัญของสัญลักษณ์ท่ีสาคัญของชาติไทย สาเหตุและผลของ
การเปลี่ยนแปลงของส่ิงต่าง ๆ ตามกาลเวลา เหตุการณ์สาคัญท่ีเกิดข้ึนในครอบครัว ความหมายและ
ความสาคัญของสัญลักษณ์ท่ีสาคัญของชาติไทย เก่ียวกับชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ การเคารพธงชาติ
การร้องเพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมี ศาสนวัตถุ ศาสนสถาน เอกลักษณ์อื่น ๆ แผนที่ประเทศไทย
ประเพณีไทย อาหารไทย ท่ีต่างชาติยกย่อง และควรอนุรักษ์ไว้ สถานท่ีสาคัญที่เป็นแหล่งวัฒนธรรมในชุมชน
คุณค่าและความสาคัญในด้านต่าง ๆ ของแหล่งวัฒนธรรมในชุมชน ภาษาถิ่น แผนที่ชุมชน ประวัติชุมชน
และอาหารพ้ืนบ้านในชุมชน

โดย บอก อธิบาย เรียงลาดับเหตุการณ์ ระบุ สืบค้น ปฏิบัติตน แสดงความเคารพ มีส่วนร่วมและ
อนุรกั ษ์

เพอื่ ใหเ้ หน็ คณุ คา่ และประโยชน์ เกดิ ความรกั ความภูมิใจและธารงความเป็นไทย

รหสั ตวั ช้ีวัด
ส ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ส ๔.๓ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
รวมท้ังหมด ๘ ตวั ช้วี ดั

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมลู เพมิ่ เติม

หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 104

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส ๑2๑๐2 ประวตั ิศาสตร์ 2 คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 4๐ ชัว่ โมง

ศึกษาเก่ียวกับคาที่แสดงช่วงเวลาในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต วันสาคัญท่ีปรากฏในปฏิทินท่ีแสดง
เหตุการณ์สาคัญในอดีตและปัจจุบัน คาบอกช่วงเวลา อดีต ปัจจุบัน อนาคต แสดง เหตุการณ์ท่ีผ่านมาแล้วท่ี
เกิดข้ึนกับตนเองและครอบครัวโดยใช้หลักฐานที่เก่ียวข้อง คาที่บอกช่วงเวลาแสดงเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนใน
ครอบครัวหรือในชีวิตตนเอง การใช้เส้นเวลา (Time Line) ที่เกิดขึ้นข้อมูลอย่างง่าย ๆ วิถีชีวิตของคนในชมุ ชน
การเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตของคนในชุมชน สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง บุคคลในท้องถ่ินท่ีทา
คุณประโยชน์ต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรม และความม่ันคงของท้องถิ่น และประเทศชาติในอดีตท่ีควรนาเป็น
แบบอย่าง ผลงานของบุคคลในท้องถ่ินท่ีน่าภาคภูมิใจ ตัวอย่างของวัฒนธรรมประเพณีไทยที่ควรอนุรักษ์ไว้
คณุ ค่าของวฒั นธรรม และประเพณีไทย ทม่ี ตี อ่ สังคมไทย และภมู ปิ ัญญาของคนไทยในทอ้ งถ่ิน

โดยใชก้ ารระบุ อธบิ าย ลาดบั เหตกุ ารณ์ ยกตัวอยา่ ง สบื คน้
เพอ่ื ให้ เหน็ คุณคา่ ของวัฒนธรรม และประเพณีไทย ภมู ปิ ัญญา ท่ีมตี ่อสังคมไทย

รหสั ตวั ชวี้ ัด
ส ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๔.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
รวมทงั้ หมด ๖ ตวั ชวี้ ัด

โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพิม่ เตมิ

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 105

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส ๑3๑๐2 ประวตั ิศาสตร์ 3 คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
เวลา 4๐ ช่วั โมง

ศึกษาเกี่ยวกับที่มาของศักราชที่ปรากฏในปฏิทินวิธีการเทียบ พ.ศ. เป็น ค.ศ. หรือ ค.ศ. เป็น พ.ศ.
ตัวอย่างการเทียบศักราช ในเหตุการณ์ท่ีเก่ียวข้องกับนักเรียน วิธีการสืบค้นเหตุการณ์สาคัญของโรงเรียนและ
ชุมชนโดยใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูล ท่ีเก่ียวข้อง การใช้เส้นเวลา (Time Line) ลาดับเหตุการณ์ ที่เกิดข้ึนใน
โรงเรียนและชุมชน ปจั จัยการต้ังถิน่ ฐาน ปัจจัยทีม่ ีอทิ ธพิ ลต่อพัฒนาการของชุมชนของชมุ ชนซึ่งข้ึนอยู่กบั ปัจจัย
ทางภูมิศาสตร์และปัจจัยทางสังคม ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมชุมชนของตนท่ีเกิดจากปัจจัยทาง
ภูมิศาสตร์และปัจจัยทางสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชนอื่น ๆ ท่ีมีความเหมือนและ
ความต่างกับชุมชนของตนเอง พระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ โดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ไทย
ผู้สถาปนาอาณาจักรไทย สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ตามลาดับ อาณาจักรไทยอ่ืน ๆ ท่ีผนวก
รวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของชาติไทย ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม ชุมชนของตนที่เกิดจากปัจจัยทาง
ภูมิศาสตร์และปัจจัยทางสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชนอ่ืน ๆ ท่ีมีความเหมือนและ
ความต่างกับชุมชนของตนเอง พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจโดยสังเขป ของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ วีรกรรมของบรรพบุรุษไทยท่ีมีส่วนปกป้อง
ประเทศชาติ วรี กรรมและคณุ ความดีของบรรพบรุ ษุ ในท้องถิน่ ของตน

โดย เลา่ อธบิ าย ระบุ แสดง สบื คน้ เทียบ เปรยี บเทียบ สรุป ลาดบั เหตุการณ์ และยกตัวอยา่ ง
เพ่ือให้ตระหนกั ถงึ ความสาคัญและเกิดความรกั ความภมู ใิ จและธารงความเปน็ ไทย

รหัสตัวช้ีวดั
ส ๔.๑ ป.3/๑, ป.3/๒
ส ๔.๒ ป.3/๑, ป.3/๒, ป.3/๓
ส ๔.๓ ป.3/๑, ป.3/๒, ป.3/๓
รวมทงั้ หมด ๘ ตัวชี้วัด

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมูลเพิ่มเติม

หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 106

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส ๑4๑๐2 ประวตั ศิ าสตร์ 4 คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 4๐ ช่วั โมง

ความหมายและช่วงเวลาของทศวรรษ ศตวรรษและสหัสวรรษ เกณฑ์การแบ่งยุคก่อนประวัติศาสตร์
และยุคประวัติศาสตร์ ยุคที่ใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัย
ธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์ ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีแบ่งเป็นหลักฐานช้ันต้นและหลักฐาน
ชัน้ รอง ตวั อยา่ งหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถิ่นของตน การจาแนกหลักฐานของท้องถ่ินเป็น
หลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง พัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์และยุคประวัติศาสตร์
ในดินแดนไทย โดยสังเขป หลักฐานการต้ังหลักแหล่งของมนุษย์ ยุคก่อประวัติศาสตร์ในดนิ แดนไทยโดยสังเขป
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีพบในท้องถิ่น ที่แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนไทยโดยสังเขป
การสถาปนาอาณาจกั รสโุ ขทัยโดยสงั เขป พัฒนาการดา้ นการเมืองการปกครองและเศรษฐกจิ โดยสงั เขป ประวัติ
และผลงานของบุคคลสาคัญสมัยสุโขทัย ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัยเช่นภาษาไทย ศิลปกรรมสุโขทัยท่ีได้รับ
การยกย่องเป็นมรดกโลก เคร่ืองสังคโลก คุณค่าของภูมิปัญญาไทยที่สืบต่อถึงปัจจุบันท่ีน่าภาคภูมิใจควรค่าแก่
การอนุรกั ษ์

โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการทางานกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการสร้าง
ความคิดรวบยอด

เพ่อื ใหม้ คี วามรับผิดชอบ รักการคน้ คว้า รักท้องถ่ิน รกั ครอบครัว ภมู ิใจในความเปน็ ไทย

รหสั ตัวชว้ี ัด
ส ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ส ๔.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
รวมทง้ั หมด ๘ ตวั ช้ีวดั

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมูลเพ่ิมเตมิ

หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 107

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส ๑5๑๐2 ประวตั ศิ าสตร์ 5 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 4๐ ชว่ั โมง

วิธีการสืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีมีอยู่ในท้องถิ่นท่ีเกิดขึ้นตาม
ชว่ งเวลาตา่ ง ๆ การนาเสนอความเปน็ มาของท้องถน่ิ โดยอา้ งองิ หลักฐานท่หี ลากหลายดว้ ยวิธีการต่าง ๆ การตั้ง
คาถามทางประวัติศาสตรเ์ กย่ี วกับความเปน็ มาของท้องถน่ิ วา่ มีเหตุการณ์ใดเกิดขนึ้ ในชว่ งเวลาใด เพราะสาเหตุ
ใดและมีผลกระทบอย่างไร แหล่งข้อมูลและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่นเพ่ือตอบคาถามดังกล่าว
การใช้ข้อมูลที่พบเพื่อตอบคาถามได้อย่างมีเหตผุ ล ตัวอย่างเร่ืองราวจากเอกสารตา่ ง ๆ ที่สามารถแสดงนัยของ
ความคิดเห็นกบั ข้อมลู ตัวอย่างขอ้ มูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ในท้องถิน่ ที่แสดงความจรงิ กับข้อเท็จจริง
สรุปประเดน็ สาคัญเกีย่ วกับขอ้ มูลในท้องถิ่น การเขา้ มาของอารยธรรมอินเดียและจีนในดนิ แดนไทยและภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยสังเขป การเข้ามาของวัฒนธรรมต่างชาติในสังคมไทย สาเหตุและผล อิทธิพลท่ี
หลากหลาย ในกระแสของวัฒนธรรมต่างชาตติ ่อสังคมไทยในปจั จุบนั การสถาปนาอาณาจักรอยธุ ยา โดยสงั เขป
ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และการปกครองของอาณาจักรอยุธยา พัฒนาการของ
อาณาจักรอยุธยาการด้านการเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ โดยสังเขป ผลงานของบุคคลสาคัญในสมัย
อยุธยา ภูมิปญั ญาไทยสมยั อยธุ ยาโดยสงั เขป

โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการทางานกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการสร้าง
ความคิดรวบยอด

เพ่ือใหม้ ีความรบั ผดิ ชอบ รกั การค้นคว้า รักทอ้ งถ่นิ รักครอบครวั ภูมใิ จในความเป็นไทย

รหัสตัวชี้วัด
ส ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ส ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ส ๔.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวมทงั้ หมด ๙ ตวั ชีว้ ดั

โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

ขอ้ มลู เพม่ิ เติม

หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 108

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ส ๑6๑๐2 ประวัตศิ าสตร์ 6 คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
เวลา 4๐ ช่ัวโมง

ความหมายและความสาคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ ท่ีเหมาะสมกับ นักเรียน การนา
วิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษาเร่ืองราวในท้องถ่ิน ตัวอย่างหลักฐานที่เหมาะสมกับนักเรียนท่ีนามาใช้ใน
การศึกษาเหตุการณส์ าคัญในประวตั ศิ าสตร์ไทย สมยั รัตนโกสินทร์ สรปุ ขอ้ มูลที่ได้จากหลกั ฐานท้งั ความจริงและ
ข้อเท็จจริง การนาเสนอข้อมูลท่ีได้จากหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ด้วยวิธีการต่าง ๆ ใช้แผนที่แสดงที่ตั้งและ
อาณาเขตของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของ
ประเทศเพ่ือนบ้านของไทยโดยสังเขป ตัวอย่างความเหมือนและความต่างระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
การปกครอง ความเป็นมาของกลุ่มอาเซียนโดยสังเขป สมาชิกของอาเซียนในปัจจุบัน ความสัมพันธ์ของกลุ่ม
อาเซียนทางเศรษฐกิจ และสังคมในปัจจุบนั โดยสังเขป การสถาปนาอาณาจกั รรตั นโกสินทร์โดยสังเขป ปัจจัยท่ี
ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครองของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ พัฒนาการของไทยสมัย
รตั นโกสินทร์ โดยสงั เขป ตามช่วงเวลาตา่ ง ๆ

โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการทางานกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการสร้าง
ความคดิ รวบยอด

เพอ่ื ให้มีความรบั ผิดชอบ รกั การคน้ คว้า รกั ท้องถ่ิน รักครอบครัว ภูมิใจในความเปน็ ไทย

รหัสตัวชวี้ ัด
ส ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ส ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ส ๔.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวมท้ังหมด ๘ ตัวชวี้ ัด

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

ข้อมูลเพ่ิมเตมิ

หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 109

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ส ๒๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 รวม ๖๐ ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษาประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา ท้ังด้านพุทธประวัติ ประวัติพุทธสาวก ชาวพุทธ
ตัวอย่าง หลักธรรม หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ ศาสนพิธี วิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา เพ่ือให้สามารถ
นาไปใช้เป็นพื้นฐานและแนวทางในการปฏิบัติตนและดารงชีวิตได้อย่างเป็นสุข ศึกษาแผนที่ แผนภูมิ กราฟ
ภาพถ่ายทางอากาศ ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ทั้งจากระบบ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและการศึกษา
ภาคสนาม ตลอดจนเข้าใจถึงความสัมพันธ์ด้านที่ต้ังของประเทศไทย กับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
และภูมิภาคอ่ืนของโลก รวมไปถึงลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ประชากร การแบ่ง
ภูมิภาค การตั้งถ่ินฐาน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ลักษณะทางวัฒนธรรม และปัญหาสิ่งแวดล้อม ซ่ึงเป็นส่วนที่พึง
ตระหนักถึงสภาพปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางในการแก้ไขเพ่ืออนุรักษ์โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
นาไปสูก่ ารพัฒนาท่ีย่ังยนื

โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการทางานกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการสร้าง
ความคดิ รวบยอด

เพ่ือให้รักการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีวิจารณญาณ รู้เท่าทันสถานการณ์
การเปล่ียนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง รู้จักตน มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ภูมิใจในความ
เป็นไทย รักชาติ รักท้องถ่ิน และยึดหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือเป็นหลัก ในการ
ดาเนนิ ชีวติ ยดึ มัน่ ในการทาความดี และดารงชวี ิตอยา่ งมสี ติสมั ปชัญญะ

รหสั ตัวชีว้ ดั
ส ๑.๑ ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10, ม.1/11
ส ๑.๒ ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5
ส ๕.๑ ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5
ส ๕.๒ ม.1/1, ม.1/2
รวมทงั้ หมด ๒๓ ตัวช้วี ดั

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมลู เพิ่มเตมิ

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 110

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
ส ๒๑๑๐3 สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 รวม ๖๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษาความหมายและคุณค่าของสังคม สถาบันของสังคม บนพ้ืนฐานของการอยู่ร่วมกันอย่างมี
ความสุข วิเคราะห์และเข้าใจถึงอานาจอธิปไตย หลักการประชาธิปไตยอันนามาสู่รูปแบบการจัดระเบียบ
บ้านเมืองของไทย คือ การปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ การออกกฎหมาย โดยเฉพาะกฎหมายเกี่ยวกับบุคคล และ
ครอบครัว ตลอดจนสิทธิ เสรีภาพ และหน้าท่ีของประชาชนคนไทย ในบทบาทฐานะต่าง ๆ ตามที่กาหนดไว้ใน
รัฐธรรมนูญ ศึกษาความหมาย ความสาคัญ เป้าหมาย และขอบเขตของเศรษฐศาสตร์ ตลอดจนเร่ืองราวทาง
เศรษฐกิจ การผลิต และบริการ การบริโภค การแลกเปล่ียน ตลาด กลไกราคา เงิน การออม ธนาคาร และ
สถาบันการเงิน รวมไปถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ อาชีพ และการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในกระบวนการผลิต
สนิ คา้ หรอื ผลติ ภัณฑ์

โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการทางานกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการสร้าง
ความคดิ รวบยอด

เพ่ือสร้างความเข้าใจในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากร และการบริโภคอุปโภค
ในสงั คมไทยของเรา

รหัสตัวชี้วัด
ส ๒.๑ ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4
ส ๒.๒ ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ส ๓.๑ ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ส ๓.๒ ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4
รวมท้ังหมด ๑๔ ตวั ช้วี ัด

โรงเรียนสุมเส้าวทิ ยา
สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 111

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
ส ๒2๑๐1 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 3 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 รวม ๖๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต

วิเคราะห์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาที่ช่วย
เสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพ่ือนบ้านและที่เป็นรากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติและ
มรดกของชาติ การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม พุทธประวัติหรือประวัติสาวก ชาดก อธิบาย
โครงสร้างพระไตรปิฎก อริยสัจ ๔ มงคล ๓๘ พุทธศาสนาสุภาษิต การคิดแบบโยนิโสมนสิการ การบริหารจิต
เจริญปัญญา มรรยาทของศาสนิกชน ระเบียบพิธีการปฏิบัติศาสนพิธีท่ีเกี่ยวกับวันสาคัญทางศาสนาประวัติ
สาวก ชาดก หลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ สวดมนต์ แผ่
เมตตาจิต บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอาณาปานสติ การปฏิบัติตนตามหลักธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่าง
สนั ตสิ ุข เปน็ ลกู ทด่ี ี ศาสนิกชนท่ีดี ปฏบิ ัติศาสนพธิ ีได้ถูกต้อง วิเคราะห์กฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกับตนเอง ครอบครัว
ชุมชนและประเทศ วิเคราะห์บทบาท ความสาคัญ และความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม อธิบายความ
คล้ายคลึง ความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพ่ือนาไปสู่ความ
เข้าใจอนั ดีระหว่างกัน กระบวนการทางกฎหมาย วิเคราะห์ข้อมูล ขา่ วสารการเมือง การปกครองที่มีผลกระทบ
ต่อสังคมไทยในปัจจุบันกฎหมายท่ีเก่ียวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ วิเคราะห์อภิปรายความ
คลา้ ยคลึง ความแตกตา่ งของวฒั นธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมภิ าคเอเชีย

โดยใช้กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูล การนาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ การฝึกปฏิบัติ และการ
อภิปรายเพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์

เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในศาสนา การปฏบิ ัตติ ามกฎหมายในชีวิตประจาวนั มสี ว่ นร่วมในกิจกรรม
ท่ีส่งเสริมประชาธิปไตย ความสัมพันธ์ของส่ิงต่าง ๆ ในประเทศ ใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน เข้าใจเร่ืองราวสาคัญ
ในอดีต ศรัทธา ยึดมั่นและมีส่วนร่วมในพิธีกรรมทางศาสนา มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม เชื่อมั่น รัก ภูมิใจ
และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีในท้องถ่ิน ตระหนักในสถานภาพ บทบาท สิทธิ หน้าท่ี
ในฐานะพลเมืองดีของท้องถ่ิน จังหวัด และประเทศ เห็นคุณค่าของหลักการเศรษฐกิจพอเพียงและนาไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจาวนั

รหสั ตวั ชวี้ ดั
ส ๑.๑ ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10, ม.2/11
ส ๑.๒ ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5
ส ๕.๑ ม.2/1, ม.2/2
ส ๕.๒ ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
รวมทั้งหมด ๒๑ ตัวชวี้ ดั

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

ข้อมูลเพิม่ เตมิ

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 112

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
ส ๒2๑๐3 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 รวม ๖๐ ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ

วิเคราะห์ปัจจัยทม่ี ีผลต่อ อธิบายปจั จัยการผลติ สินค้าและบริการ ปจั จยั ท่มี ีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้า
และบริการ ยกตวั อย่างทสี่ ะท้อนให้เห็นการพ่ึงพาอาศัยกัน และการแข่งขนั กันทางเศรษฐกจิ ในเอเชีย วิเคราะห์
การกระจายของทรัพยากรโลกท่ีส่งผลต่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ส่งผลต่อคุณภาพสินค้า
ปริมาณการผลิตและราคาสินค้า - เสนอแนวทางการพัฒนาผลผลิตในท้องถ่ินตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธิของตนเองในฐานะผู้บริโภคและระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ
วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกาโดยใช้ เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สืบค้นข้อมูล
อธิบายมาตราส่วน ทิศและสัญลักษณ์ วิเคราะห์สาเหตุการเกิดภัยพิบัติของทวีปยุโรปและทวปี แอฟริกา สารวจ
และระบุทาเลท่ีตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา วิเคราะห์ปัจจัยทาง
กายภาพและปัจจัยทางสังคมท่ีมีผลต่อทาเลท่ีต้ัง ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมใน ทวีปยุโรปและทวีป
แอฟรกิ า สืบค้นอภปิ รายประเดน็ ปญั หาจากปฏสิ ัมพนั ธ์ ระหวา่ งสภาพแวดล้อมทางกายภาพกบั มนุษยท์ ี่ เกิดขน้ึ
ในทวีปยุโรป และ ทวีปแอฟริกา วิเคราะห์แนวทางการจัดการภัยพิบัติและการจัดการทรัพยากรและ
สง่ิ แวดล้อมในทวปี ยุโรป และทวีปแอฟริกาอยา่ งย่งั ยนื

โดยใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการสืบค้น วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ใช้ทกั ษะทางภูมิศาสตรด์ ้านการสังเกต การแปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์ การ
คิดเชิงพ้ืนท่ี การคิดแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยี การใช้เทคนิคและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ การคิดเชิงภูมิ
สมั พนั ธ์ การใชส้ ถิติพน้ื ฐาน รวมถงึ ทกั ษะดา้ นการสือ่ สาร การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะทาง
ภมู ศิ าสตร์ และมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 ด้านการส่อื สาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความสามารถในการคิด
และแกป้ ญั หา มคี ณุ ลกั ษณะดา้ นจิตสาธารณะ มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ มนั่ ในการทางาน มสี ่วนรว่ มในการจดั การภัย
พบิ ัติและการอนุรักษ์สิง่ แวดลอ้ มในทวปี ยโุ รปและแอฟริกา

รหัสตวั ชีว้ ัด
ส ๒.๑ ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4
ส ๒.๒ ม.2/1, ม.2/2
ส ๓.๑ ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4
ส ๓.๒ ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4
รวมท้ังหมด ๑๔ ตวั ช้ีวัด

โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมลู เพ่มิ เติม

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 113

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ส ๒3๑๐1 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5 กลุม่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม ๖๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศึกษาและอธิบายการเผยแพร่พระพุทธศาสนา วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา อภิปราย
ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศึกษาวิเคราะห์พุทธประวัติจากพุทธรูปปาง
ต่าง ๆ วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างพุทธสาวกและศาสนกิ ชนตัวอย่าง อธิบายสังฆคุณและข้อธรรม
สาคัญในกรอบอรยิ สัจ 4 วเิ คราะหห์ ลักธรรมและปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมท่ตี นนับถือ พัฒนาการเรียนรู้ ดว้ ยวิธี
คิดแบบโยนิโสมนสิการ คือ วิธีคิด แบบสืบสาเหตุปัจจัย รู้และเข้าใจวิธีสวดมนต์ แผ่เมตตา และการบริหารจัด
เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน วิเคราะห์ความแตกต่าง รักการดาเนินชีวิตของศาสนิกชนของศาสนาอ่ืน อธิบาย
ความแตกต่างของลักษณะการกระทาความผิดคดีอาญาและคดีแพ่ง เห็นความสาคัญและการมีส่วนร่วมตาม
หลักสิทธิมนุษยชน เห็นความสาคัญของวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย เลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม
วิเคราะห์ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งในสังคมเสนอแนวคิดการดารงชวี ติ ในสังคมให้มีความสุข อธิบาย
ระบอบการปกครอง วิเคราะห์เปรียบเทียบ การปกครองของไทย กับประเทศอื่น ในระบอบประชาธิปไตย
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ เกี่ยวกับการเลือกตั้งและตรวจสอบการใช้อานาจของรัฐ วิเคราะห์ปัญหาและ
ผลกระทบทเี่ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การพัฒนาประเทศ

โดยใช้ทักษะกระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ การอภิปราย การแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม
การจัดการและปฏิบัติ เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ร้จู ักคดิ วิเคราะห์ แกป้ ญั หาและเห็นคุณค่าของการ
นาความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั

เพื่อใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจในศาสนา การปฏิบัติตามกฎหมายในชวี ิตประจาวัน มสี ่วนรว่ มในกิจกรรม
ท่ีส่งเสริมประชาธิปไตย ศรัทธา ยึดม่ันและมีส่วนร่วมในพิธีกรรมทางศาสนา มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
เชื่อม่ัน รัก ภูมิใจ และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีในท้องถิ่น ตระหนักในสถานภาพ บทบาท
สิทธิ หน้าท่ี ในฐานะพลเมืองดีของท้องถ่ิน จังหวัด และประเทศ เห็นคุณค่าของหลักการเศรษฐกิจพอเพียง
และนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั

รหัสตัวชี้วดั
ส ๑.๑ ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10
ส ๑.๒ ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7
ส ๕.๑ ม.3/1, ม.3/2
ส ๕.๒ ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4
รวมทัง้ หมด 23 ตัวชวี้ ดั

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ

หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 114

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ส ๒3๑๐3 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 6 กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 รวม ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ

อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ วิเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง กับระบบสหกรณ์ ผลเสียจากการว่างงาน สาเหตุและวิธีการ
กีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ แสดงความคิดเห็นต่อ นโยบาย และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล
ที่มีต่อบุคคลและประเทศชาติแนวทางแก้ปัญหาการว่างงาน มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา และพัฒนาท้องถิ่น
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อภิปรายบทบาทความสาคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศ และผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของทวปี อเมริกาเหนือและทวปี
อเมริกาใต้ โดยเลือกใช้ แผนท่ีเฉพาะเรื่อง และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์สาเหตุการเกิด
ภัยพิบัติของทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ สารวจและระบุทาเลท่ีต้ังของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและ
สังคมในทวีปอเมริกาเหนอื และทวปี อเมริกาใต้ วเิ คราะห์ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางสังคมท่ีมผี ลต่อทาเล
ที่ต้ังของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และสังคมในทวีปอเมริกา เหนือและทวีปอเมริกาใต้ สืบค้นอภิปรายประเด็น
ปัญหาจากปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสภาพแวดล้อม ทางกายภาพกับมนุษย์ท่ี เกิดขึ้นในทวีปอเมริกา เหนือและทวีป
อเมริกาใต้ วิเคราะห์แนวทางการจัดการภัยพิบัติและการ จัดการทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกา
เหนือและทวีปอเมริกาใต้อย่างยั่งยืน ระบุความร่วมมือระหว่างประเทศ ท่ีมีผลต่อการ จัดการทรัพยากรและ
ส่ิงแวดล้อม

โดยใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการสืบค้น วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการภูมิศาสตร์
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ใช้ทักษะทางภูมิศาสตร์ด้านการสังเกต การแปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์
การคิดเชิงพ้ืนท่ี การคิดแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยี การใช้เทคนิคและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ การคิดเชิง
ภมู สิ มั พันธ์ การใชส้ ถิติพนื้ ฐาน รวมถึงทกั ษะดา้ นการส่ือสาร การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะทาง
ภมู ิศาสตร์ และมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 ดา้ นการสือ่ สาร การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ความสามารถในการคิด
และแกป้ ญั หา มีคุณลักษณะด้านจติ สาธารณะ มีวนิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ ม่นั ในการทางาน มสี ่วนร่วมในการจดั การภัย
พบิ ัติและการอนรุ ักษส์ งิ่ แวดล้อมในทวปี อเมริกาเหนือและทวปี อเมริกาใต้

รหสั ตัวช้ีวัด
ส ๒.๑ ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5
ส ๒.๒ ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4
ส ๓.๑ ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
ส ๓.๒ ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6
รวมทั้งหมด ๑๘ ตัวชี้วัด

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

ข้อมูลเพิ่มเตมิ

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 115

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน

ส ๒1102 ประวัติศาสตร์ 1 กลุม่ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 รวม 20 ช่วั โมง จานวน 0.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ ตัวอย่างการใช้เวลา ช่วงเวลาและยุคสมัยท่ีปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย
ความสาคัญของเวลา และช่วงเวลาสาหรับการศึกษาประวัติศาสตร์ความสาคัญของเวลา และช่วงเวลาสาหรับ
การศึกษาประวัติศาสตร์ศึกษาการเทียบศักราชท่ีมาของศักราชที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย ได้แก่
จ.ศ. / ม.ศ. /ร.ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ.วิธีการเทียบศักราชต่าง ๆ และตัวอย่างการเทียบตัวอย่างการใช้
ศักราชต่าง ๆ ท่ีปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทยตัวอย่างการใช้ศักราชต่าง ๆ ท่ีปรากฏในเอกสาร
ประวัติศาสตร์ไทยตัวอย่างหลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยสุโขทัย ทั้งหลักฐานชั้นต้น และหลักฐาน
ช้ันรอง (เช่ือมโยงกับ มฐ.ส ๔.๓) เช่น ข้อความในศิลาจารึกสมัยสุโขทัยเป็นต้น ตัวอย่างหลักฐานในการศึกษา
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยสุโขทัย ท้ังหลักฐานชั้นต้น และหลักฐานช้ันรอง (เชื่อมโยงกับ มฐ.ส ๔.๓) เช่น ข้อความ
ในศิลาจารกึ สมยั สุโขทยั เป็นตน้ (สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมยั ก่อนสุโขทัย สมัยสโุ ขทยั สมัยอยธุ ยา สมัยธนบุรี
สมยั รัตนโกสินทร์) และเหตกุ ารณส์ าคัญในสมยั สุโขทัย อธบิ ายทีต่ ั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศต่าง ๆ
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท่ีมีผลต่อพัฒนาการทางด้านต่าง ๆ พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และ
การเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ระบุท่ีตง้ั และความสาคัญของแหล่งอารยธรรม
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่นแหล่งมรดกโลกในประเทศต่าง ๆ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อิทธิพล
ของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยท่มี ตี อ่ พฒั นาการของสังคมไทยในปจั จุบนั

โดยกระบวนการนาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษา สร้างความคิดรวบยอด กระบวนการ
แก้ปัญหากระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางาน กระบวนการสืบค้น กระบวนการคิดวิเคราะห์ รวบรวมข้อมูล
และจัดระบบข้อมูลอย่างเป็นระบบด้วยวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ กระบวนการสบื ค้นหาเทคโนโลยสี มัยใหม่

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถการตัดสินใจและ
นาความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ของตนเอง มจี ริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่พี ึงประสงค์

รหสั ตัวชีว้ ัด
ส ๔.๑ ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ส ๔.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒
รวมทัง้ หมด ๕ ตัวชว้ี ัด

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

ข้อมูลเพิ่มเติม

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 116

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

ส ๒1104 ประวตั ิศาสตร์ 2 กลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 รวม 20 ช่ัวโมง จานวน 0.๕ หน่วยกติ

ศึกษา อธิบาย สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย โดยสังเขป รัฐโบราณในดินแดนไทย เช่น ศรีวิชัย
ตามพรลิงค์ ทวารวดี เป็นต้น รัฐไทย ในดินแดนไทย เช่น ล้านนา นครศรีธรรมราช สุพรรณภูมิ เป็นต้น
การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย และปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง (ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก) ความเส่ือมของ
อาณาจักรสุโขทัย วิเคราะห์ พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย ในด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม
และความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเทศ วิเคราะห์วฒั นธรรมสมัยสุโขทัย เชน่ ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณสี าคัญ
ศิลปกรรมไทย ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัย เช่น การชลประทาน เครื่องสังคมโลก ความเส่ือมของอาณาจักร
สุโขทัย

โดยกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางาน
กระบวนการสบื ค้น กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ รวบรวมขอ้ มูลและจัดระบบข้อมูลอย่างเป็นระบบด้วยวธิ ีการทาง
ประวัตศิ าสตร์ กระบวนการสบื คน้ หาเทคโนโลยสี มยั ใหม่

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถการตัดสินใจและ
นาความรูไ้ ปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ของตนเอง มจี รยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์

รหัสตัวชีว้ ัด
ส ๔.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓
รวมท้งั หมด ๓ ตวั ชวี้ ดั

โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

ข้อมลู เพ่ิมเติม

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 117

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

ส ๒2102 ประวัติศาสตร์ 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 รวม 20 ช่วั โมง จานวน 0.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษา ประเมิน วิธีการประเมินความน่าเช่ือถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ
อย่างง่าย ๆ เช่น การศึกษาภูมิหลังของผู้ทา หรือผู้เก่ียวข้อง สาเหตุ ช่วงระยะเวลารูปลักษณ์ของหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ เป็นต้น ตัวอย่างการประเมินความน่าเช่ือถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยที่อยู่ในท้องถิน่
ของตนเอง หรือหลักฐานสมัยอยุธยา (เชื่อมโยงกับ มฐ.ส ๔.๓) วิเคราะห์ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลจาก
เอกสารตา่ ง ๆ ในสมัยอยธุ ยา และธนบรุ ี (เช่อื มโยงกบั มฐ.ส ๔.๓) เช่น ขอ้ ความบางตอนในพระราชพงศาวดาร
อยุธยา จดหมายเหตุชาวตา่ งชาติ ตัวอยา่ งการตคี วามข้อมูลจากหลักฐานทีแ่ สดงเหตุการณส์ าคญั ในสมัยอยุธยา
และธนบุรี การแยกแยะระหว่างข้อมูลกับความคิดเห็น รวมท้ังความจริงกับข้อเท็จจริงจากหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ความสาคัญของการวิเคราะห์ข้อมูล และการตีความทางประวัติศาสตร์ศึกษาอธิบายที่ตั้ง
และสภาพทางภมู ิศาสตรข์ องภมู ภิ าคต่าง ๆ ในทวีปเอเชยี (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้) ทม่ี ีผลต่อพฒั นาการ
โดยสังเขปพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมอื งของภมู ภิ าคเอเชีย (ยกเวน้ เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้)ระบุ
ที่ต้ังและความสาคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย เช่น แหล่งมรดกโลกในประเทศต่าง ๆ
ในภมู ภิ าคเอเชีย อิทธิพลของอารยธรรมโบราณทมี่ ตี ่อภมู ภิ าคเอเชียในปัจจุบนั

โดยกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางาน
กระบวนการสบื คน้ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลและจัดระบบข้อมูลอยา่ งเปน็ ระบบดว้ ยวิธีการทาง
ประวัตศิ าสตร์ กระบวนการสบื ค้นหาเทคโนโลยสี มัยใหม่

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
และนาความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันของตนเอง มีจริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมทีพ่ งึ ประสงค์

รหัสตวั ช้ีวดั
ส ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓
ส ๔.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒
รวมท้ังหมด ๕ ตัวชวี้ ดั

โรงเรยี นสุมเสา้ วทิ ยา
สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมูลเพ่ิมเตมิ

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 118

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

ส ๒2104 ประวัตศิ าสตร์ 4 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 2 รวม 20 ชั่วโมง จานวน 0.๕ หน่วยกติ

ศึกษา วิเคราะห์การสถาปนาอาณาจักรอยุธยาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักร
อยุธยา พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาในด้านการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศวิเคราะห์การเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ ๑ และการกู้เอกราช การเสีย กรุงศรีอยุธยาครั้งท่ี ๒
การกู้เอกราช และการสถาปนาอาณาจักรธนบุรี ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย สมัยอยุธยา เช่น การ
ควบคุมกาลังคน และศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรีวีรกรรมของบรรพบุรุษไทย ผลงาน
ของบุคคลสาคญั ของไทยและตา่ งชาติ ทม่ี ีส่วนสร้างสรรค์ชาติไทย

โดยกระบวนการสร้างความคิดรวบยอดกระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางาน
กระบวนการสบื คน้ กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ รวบรวมขอ้ มลู และจัดระบบข้อมูลอย่างเป็นระบบด้วยวิธกี ารทาง
ประวัติศาสตร์ กระบวนการสืบคน้ หาเทคโนโลยีสมัยใหม่

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
และนาความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันของตนเอง มจี ริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์

รหัสตัวชีว้ ัด
ส ๔.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓
รวมทงั้ หมด ๓ ตัวชวี้ ัด

โรงเรียนสมุ เสา้ วิทยา
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพ่ิมเติม

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 119

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน

ส ๒3102 ประวัติศาสตร์ 5 กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 รวม 20 ชัว่ โมง จานวน 0.๕ หน่วยกิต

อธบิ าย วเิ คราะห์ขัน้ ตอนของวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์สาหรับการศกึ ษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ท่ี
เกิดขึ้นในท้องถ่ินตนเองวิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
นาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาเรื่องราวที่เก่ียวข้องกับตนเอง ครอบครัว และท้องถ่ินของตน
อธบิ ายทตี่ ้งั และสภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก (ยกเว้นเอเชีย) ท่มี ีผลตอ่ พฒั นาการโดยสังเขป
พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก (ยกเว้นเอเชีย) โดยสังเขป วิเคราะห์
อทิ ธพิ ลของอารยธรรมตะวันตกที่มีผลตอ่ พฒั นาการและการเปล่ยี นแปลงของสังคมโลก ความร่วมมือและความ
ขัดแย้งในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ เช่น สงครามโลกคร้ังท่ี ๑ ครั้งท่ี ๒ สงครามเย็น องค์การความร่วมมือระหว่าง
ประเทศ

โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์เร่ืองราวเหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่า งมีเหตุผลตามวิธีการ
ทางประวตั ิศาสตร์ เพือ่ ให้เกิดความคิด ความเข้าใจ สามารถส่อื สารส่ิงท่ีเรียนรู้ เกิดความรกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
ซื่อสัตยส์ จุ ริต มวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งม่นั ในการทางาน รกั ความเป็นไทย

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
และนาความรไู้ ปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ของตนเองอย่างยงั่ ยืน มีจรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์

รหัสตวั ชีว้ ดั
ส ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒
ส ๔.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒
รวมท้งั หมด ๔ ตัวชว้ี ดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา
สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมูลเพ่มิ เติม

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 120

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

ส ๒3104 ประวตั ศิ าสตร์ 6 กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 รวม 20 ช่ัวโมง จานวน 0.๕ หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ การสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานีของไทย พัฒนาการของไทยในสมัย
รัตนโกสินทร์ทางด้านการเมือง การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศตามช่วงสมัย
ต่าง ๆ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ บทบาทของ
พระมหากษัตริย์ไทยในราชวงศ์จักรีในการสร้างสรรค์ความเจริญและความมั่นคงของชาติเหตุการณ์สาคัญสมัย
รัตนโกสนิ ทร์ทม่ี ีผลตอ่ การพัฒนาชาติไทย เช่น การทาสนธสิ ัญญาเบาวร์ ิงในสมัยรชั กาลท่ี ๔ การปฏริ ูปประเทศ
ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ การเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ โดยวิเคราะห์สาเหตุปัจจัย และผลของ
เหตกุ ารณต์ ่าง ๆ เหตกุ ารณส์ าคญั สมัยรตั นโกสนิ ทรท์ มี่ ีผลต่อการพัฒนาชาติไทย เชน่ การทาสนธิสัญญาเบาวร์ ิง
ในสมัยรัชกาลที่ ๔ การปฏิรูปประเทศในสมัยรัชกาลท่ี ๕ การเข้าร่วมสงครามโลกคร้ังท่ี ๑ และคร้ังที่ ๒
โดยวิเคราะห์สาเหตุปัจจัย และผลของเหตุการณ์ต่าง ๆ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์
บทบาทของไทยต้งั แต่เปลี่ยนแปลง การปกครองจนถงึ ปจั จุบนั ในสังคมโลก

โดยกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางาน
กระบวนการสบื คน้ กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ รวบรวมขอ้ มูลและจัดระบบข้อมูลอยา่ งเปน็ ระบบด้วยวธิ ีการทาง
ประวตั ศิ าสตร์ กระบวนการสืบค้นหาเทคโนโลยสี มัยใหม่

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถการตัดสินใจ
และนาความรูไ้ ปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ของตนเอง มีจรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมท่พี งึ ประสงค์

รหสั ตัวชว้ี ดั
ส ๔.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔
รวมท้ังหมด ๔ ตวั ช้ีวัด

โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา
สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

ข้อมูลเพมิ่ เตมิ

หลกั สูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 121

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

รายวิชาเพิ่มเติม

รายวิชาเพ่มิ เติมระดับประถมศึกษา จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๑๒๐๑ การปอ้ งกันการทจุ รติ ๑ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๒๒๐2 การปอ้ งกันการทจุ รติ ๒ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๓๒๐3 การปอ้ งกนั การทุจริต ๓ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๔๒๐4 การปอ้ งกนั การทุจริต ๔ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๕๒๐5 การป้องกนั การทุจรติ ๕ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๖๒๐6 การป้องกันการทุจริต ๖
จานวน 2๐ ช่ัวโมง
รายวิชาเพ่ิมเติมระดับมัธยมศึกษา จานวน 2๐ ชว่ั โมง
ส 21๒๐๑ การปอ้ งกันการทจุ รติ ๑ จานวน 2๐ ชั่วโมง
ส 21๒๐2 การป้องกนั การทุจรติ ๒ จานวน 2๐ ชว่ั โมง
ส 22๒๐3 การปอ้ งกันการทุจริต ๓ จานวน 2๐ ชว่ั โมง
ส 22๒๐4 การป้องกันการทจุ ริต ๔ จานวน 2๐ ช่ัวโมง
ส 23๒๐5 การปอ้ งกนั การทุจรติ ๕
ส 23๒๐6 การปอ้ งกนั การทุจริต ๖

โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ

หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 122

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

ส ๑๑201 การป้องกันการทุจริต ๑ กล่มุ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

ศึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ
ความไมท่ นต่อการทุจริต STRONG : จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการทจุ ริต ร้หู นา้ ทข่ี องพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อสังคม
ในการตอ่ ต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วเิ คราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏิบตั ิจริง การทาโครงงาน
กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการ
เขยี นเพ่ือใหม้ ีความตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกนั การทจุ รติ

ผลการเรียนรู้
1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม
2. มีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ
3. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับ STRONG : จติ พอเพียงต่อตา้ นการทจุ ริต
4. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม
5. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
6. ปฏบิ ัติตนเป็นผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทจุ ริตทุกรูปแบบ
7. ปฏบิ ัตติ นเป็นผทู้ ่ี STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทจุ รติ
8. ปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ทพี่ ลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ ริต

รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสุมเส้าวทิ ยา
สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมูลเพ่มิ เติม

หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 123

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม

ส ๑2202 การป้องกันการทุจรติ 2 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลา ๔๐ ชั่วโมง

ศึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ
ความไมท่ นต่อการทุจริต STRONG : จิตพอเพยี งตอ่ ต้านการทุจริต รหู้ นา้ ที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคม
ในการตอ่ ต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบตั ิจริง การทาโครงงาน
กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการ
เขยี นเพ่ือใหม้ ีความตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกันการทุจรติ

ผลการเรียนรู้
1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม
2. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต
3. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต
4. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสงั คม
5. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวมได้
6. ปฏบิ ัติตนเป็นผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจรติ ทุกรูปแบบ
7. ปฏบิ ัตติ นเป็นผทู้ ่ี STRONG : จิตพอเพยี งต่อต้านการทจุ ริต
8. ปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ทพี่ ลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม
9. ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ รติ

รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมูลเพม่ิ เติม

หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 124

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม

ส ๑3203 การป้องกันการทุจรติ 3 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เวลา ๔๐ ชั่วโมง

ศึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ
ความไมท่ นต่อการทุจริต STRONG : จิตพอเพยี งตอ่ ต้านการทุจริต รหู้ นา้ ที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคม
ในการตอ่ ต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบตั ิจริง การทาโครงงาน
กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการ
เขยี นเพ่ือใหม้ ีความตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกันการทุจริต

ผลการเรียนรู้
1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม
2. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต
3. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต
4. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสงั คม
5. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวมได้
6. ปฏบิ ัติตนเป็นผู้ละอายและไมท่ นต่อการทุจรติ ทุกรูปแบบ
7. ปฏบิ ัตติ นเป็นผ้ทู ่ี STRONG : จิตพอเพยี งต่อต้านการทจุ ริต
8. ปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ท่พี ลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม
9. ตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ รติ

รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมูลเพม่ิ เติม

หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 125

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม

ส ๑4204 การป้องกันการทุจรติ 4 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

ศึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ
ความไมท่ นต่อการทุจริต STRONG : จิตพอเพยี งตอ่ ต้านการทุจริต รหู้ นา้ ที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคม
ในการตอ่ ต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบตั ิจริง การทาโครงงาน
กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการ
เขยี นเพ่ือใหม้ ีความตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกันการทุจรติ

ผลการเรียนรู้
1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม
2. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริต
3. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต
4. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสงั คม
5. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
6. ปฏบิ ัติตนเป็นผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจรติ ทุกรูปแบบ
7. ปฏบิ ัตติ นเป็นผทู้ ่ี STRONG : จิตพอเพยี งต่อต้านการทจุ ริต
8. ปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ทพี่ ลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม
9. ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ รติ

รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมลู เพม่ิ เติม

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา” พุทธศักราช ๒๕๖๔ 126

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ

ส ๑5205 การปอ้ งกันการทุจรติ 5 กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ
ความไมท่ นต่อการทจุ ริต STRONG : จิตพอเพยี งตอ่ ต้านการทุจริต รหู้ นา้ ที่ของพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อสังคม
ในการต่อต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วเิ คราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏบิ ตั จิ ริง การทาโครงงาน
กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการ
เขยี นเพื่อให้มีความตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกนั การทจุ รติ

ผลการเรยี นรู้
1. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม
2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ
3. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั STRONG : จิตพอเพียงต่อตา้ นการทุจรติ
4. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบต่อสังคม
5. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมได้
6. ปฏิบตั ิตนเปน็ ผูล้ ะอายและไม่ทนต่อการทจุ ริตทุกรปู แบบ
7. ปฏิบัติตนเป็นผ้ทู ี่ STRONG : จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจริต
8. ปฏบิ ัตติ นตามหนา้ ที่พลเมืองและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อตา้ นและป้องกันการทุจรติ

รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

ข้อมูลเพิ่มเติม

หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 127

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม

ส ๑6206 การป้องกันการทุจรติ 6 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

ศึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ
ความไมท่ นตอ่ การทุจริต STRONG : จิตพอเพยี งตอ่ ต้านการทุจริต รหู้ นา้ ที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคม
ในการตอ่ ต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบตั จิ ริง การทาโครงงาน
กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการ
เขยี นเพ่ือใหม้ ีความตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกันการทุจรติ

ผลการเรียนรู้
1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม
2. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ
3. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต
4. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสงั คม
5. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวมได้
6. ปฏบิ ัติตนเป็นผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจรติ ทุกรูปแบบ
7. ปฏบิ ัตติ นเป็นผทู้ ่ี STRONG : จิตพอเพยี งต่อต้านการทจุ ริต
8. ปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ทพี่ ลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม
9. ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ รติ

รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรียนรู้

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพ่มิ เติม

หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 128

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

ส ๒๑๒๐๑ การปอ้ งกันการทุจริต ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 รวม 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ
ความไม่ทนต่อการทจุ ริต STRONG : จติ พอเพียงต่อตา้ นการทุจริต รู้หนา้ ทีข่ องพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อสังคม
ในการต่อต้านการทุจริต โดยใชก้ ระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจรงิ การทาโครงงาน
กระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการ
เขยี นเพื่อให้มีความตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการป้องกนั การทจุ รติ

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม
2. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต
3. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับ STRONG : จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทจุ ริต
4. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม
5. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
6. ปฏิบตั ิตนเปน็ ผูล้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรปู แบบ
7. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผทู้ ่ี STRONG : จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ
8. ปฏิบัติตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทจุ ริต

รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้

โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ

หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 129

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

ส ๒๑๒๐2 การปอ้ งกันการทุจริต 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 2 รวม 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ
ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG : จติ พอเพียงต่อตา้ นการทุจริต รู้หนา้ ทีข่ องพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อสังคม
ในการต่อต้านการทุจริต โดยใชก้ ระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจรงิ การทาโครงงาน
กระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการ
เขยี นเพื่อให้มีความตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการป้องกนั การทจุ รติ

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม
2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต
3. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับ STRONG : จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทจุ ริต
4. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม
5. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
6. ปฏิบัติตนเปน็ ผูล้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรปู แบบ
7. ปฏิบตั ติ นเป็นผทู้ ่ี STRONG : จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ
8. ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทจุ ริต

รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้

โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ

หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 130

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

ส ๒2๒๐3 การปอ้ งกันการทจุ รติ 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรียนที่ 1 รวม 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ
ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG : จติ พอเพียงต่อตา้ นการทุจริต รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อสังคม
ในการต่อต้านการทุจริต โดยใชก้ ระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจรงิ การทาโครงงาน
กระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการ
เขยี นเพื่อให้มีความตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกนั การทจุ รติ

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม
2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต
3. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับ STRONG : จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทจุ ริต
4. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม
5. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
6. ปฏิบัติตนเปน็ ผ้ลู ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรปู แบบ
7. ปฏิบตั ติ นเปน็ ผทู้ ี่ STRONG : จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ
8. ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมคี วามรับผิดชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต

รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรียนรู้

โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ

หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 131

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ส ๒2๒๐4 การปอ้ งกันการทจุ รติ 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรียนที่ 2 รวม 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ
ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG : จติ พอเพียงต่อตา้ นการทจุ ริต รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อสังคม
ในการต่อต้านการทุจริต โดยใชก้ ระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจรงิ การทาโครงงาน
กระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการ
เขยี นเพื่อให้มีความตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกนั การทจุ รติ

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม
2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต
3. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับ STRONG : จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทจุ ริต
4. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม
5. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
6. ปฏิบัติตนเปน็ ผ้ลู ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรูปแบบ
7. ปฏิบตั ติ นเปน็ ผทู้ ี่ STRONG : จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ
8. ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต

รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรียนรู้

โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ

หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 132

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ส ๒3๒๐5 การปอ้ งกันการทจุ รติ 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 1 รวม 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ
ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG : จติ พอเพียงต่อตา้ นการทจุ ริต ร้หู น้าท่ีของพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อสังคม
ในการต่อต้านการทุจริต โดยใชก้ ระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจรงิ การทาโครงงาน
กระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการ
เขยี นเพื่อให้มีความตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกนั การทจุ รติ

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม
2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต
3. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับ STRONG : จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทจุ ริต
4. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม
5. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
6. ปฏิบัติตนเปน็ ผ้ลู ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรูปแบบ
7. ปฏิบตั ติ นเปน็ ผทู้ ี่ STRONG : จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ
8. ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต

รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรียนรู้

โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ

หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 133

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

ส ๒3๒๐6 การปอ้ งกนั การทุจริต 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2 รวม 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ
ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG : จติ พอเพียงต่อตา้ นการทุจริต ร้หู นา้ ท่ีของพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อสังคม
ในการต่อต้านการทุจริต โดยใชก้ ระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจรงิ การทาโครงงาน
กระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการ
เขยี นเพื่อให้มีความตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการป้องกนั การทจุ รติ

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม
2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต
3. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ STRONG : จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทจุ ริต
4. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม
5. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
6. ปฏิบัติตนเปน็ ผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรปู แบบ
7. ปฏิบตั ติ นเปน็ ผทู้ ่ี STRONG : จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ
8. ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม
9. ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต

รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้

โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 134

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา

รายวิชาพืน้ ฐาน จานวน ๔๐ ชั่วโมง
จานวน ๔๐ ชั่วโมง
รายวิชาพืน้ ฐานระดบั ประถมศึกษา จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๑ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๒ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
พ ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๓ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔
พ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ จานวน 2๐ ชว่ั โมง
พ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ จานวน 2๐ ชัว่ โมง
จานวน 2๐ ชว่ั โมง
รายวชิ าพนื้ ฐานระดบั มธั ยมศึกษา จานวน 2๐ ชว่ั โมง
พ 21๑๐๑ สุขศกึ ษา 1 จานวน 2๐ ชว่ั โมง
พ 21๑๐2 พลศึกษา 1 จานวน 2๐ ชว่ั โมง
พ 21๑๐3 สุขศึกษา 2 จานวน 2๐ ช่วั โมง
พ 21๑๐4 พลศกึ ษา 2 จานวน 2๐ ชั่วโมง
พ 22๑๐๑ สุขศึกษา 3 จานวน 2๐ ชว่ั โมง
พ 22๑๐2 พลศึกษา 3 จานวน 2๐ ชั่วโมง
พ 22๑๐3 สขุ ศึกษา 4 จานวน 2๐ ชั่วโมง
พ 22๑๐4 พลศึกษา 4 จานวน 2๐ ชว่ั โมง
พ 23๑๐๑ สุขศึกษา 5
พ 23๑๐2 พลศึกษา 5
พ 23๑๐3 สขุ ศกึ ษา 6
พ 23๑๐4 พลศึกษา 6

โรงเรียนสุมเสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ

หลักสตู รสถานศึกษา “โรงเรียนสุมเส้าวิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 135

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน

พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 เวลา 4๐ ชว่ั โมง

ศึกษาลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะภายนอกท่ีมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการไปตามวัย สมาชิกใน
ครอบครัว ความรักความผู้กพันของสมาชิกในครอบครัว ส่ิงท่ีช่ืนชอบและความภาคภูมิใจในตนเอง ลักษณะ
ความแตกต่างของเพศชาย เพศหญิง ธรรมชาติของการเคล่ือนไหวร่างกายในชีวิตประจาวัน แบบอยู่กับท่ี
แบบเคลอ่ื นที่ แบบใช้อุปกรณ์ประกอบ กิจกรรมทางกายท่ีใชใ้ นการเคลอ่ื นไหวตามธรรมชาติ การออกกาลงั กาย
และการเล่นเกมเบ็ดเตล็ด กฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่นเกมเบ็ดเตล็ด การปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติ
แห่งชาติ ลักษณะอาการเจ็บป่วยที่เกิดข้ึนกับตนเอง วิธีปฏิบัติตนเมื่อมีอาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับตนเอง
การปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ ลักษณะอาการเจ็บป่วยที่เกิดข้ึนกับตนเอง ส่ิงท่ีทาให้เกิดอันตราย
ภายในบา้ นและโรงเรยี น การปอ้ งกันอนั ตรายภายในบา้ นและโรงเรียน อันตรายจากการเลน่

มีทักษะในการเลือกบริโภคอาหาร ของเล่น ของใช้ ที่มีผลดีต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงและป้องกันตนเอง
จากอุบัติเหตุได้ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ในการสร้างเสริมสุขภาพ
การดารงสุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ

มีเจตคติ คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นกิจนิสัย อันจะ
สง่ ผลให้สังคมโดยรวมมีคุณภาพ

รหัสตัวชี้วดั
พ ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
พ ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
พ ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
พ ๓.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
พ ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
พ ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป. ๑/๓
รวมทั้งหมด ๑๕ ตัวชวี้ ัด

โรงเรยี นสุมเส้าวิทยา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ขอ้ มลู เพม่ิ เติม

หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 136

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

พ ๑2๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา 2 กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 เวลา 4๐ ช่วั โมง

ศึกษา ลักษณะ และหน้าที่ของอวัยวะภายในท่ีมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการไปตามวัย การดูแล
รักษาอวัยวะภายใน ธรรมชาติของชีวิตมนุษย์ต้ังแต่เกิดจนตาย บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว
ความสาคัญของเพื่อน พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ ความภาคภูมิใจในเพศหญิง หรือ เพศชาย ลักษณะและ
วิธีการของการเคล่ือนไหวร่างกาย แบบอยู่กับท่ี แบบเคลื่อนที่ ว่ิงตามทิศทางที่กาหนด และแบบใช้อุปกรณ์
ประกอบ การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด และเข้าร่วมกิจกรรมทางกายที่วิธีเล่นอาศัยการเคล่ือนไหวเบื้องต้นท้ังแบบอยู่
กับที่ เคล่ือนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบ การออกกาลังกาย และเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ประโยชน์ของการออกกาลงั
กายและการเล่นเกม กฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่นเกมเป็นกลุ่ม ลักษณะของการมีสุขภาพดี อาหารท่ีมี
ประโยชน์และไม่มีประโยชน์ ของใช้และของเล่นท่ีมีผลเสียต่อสุขภาพ อาการและวิธีป้องกันการเจ็บป่วย
อาการและวิธีป้องกันการบาดเจ็บ วิธีปฏิบัติตนเม่ือเจ็บป่วยและบาดเจ็บ อุบัติเหตุทางน้า และทางบก ยาสามัญ
ประจาบา้ น สารเสพติดและสารอนั ตรายใกล้ตัว สัญลกั ษณแ์ ละปา้ ยเตือนของสิ่งของหรือสถานท่ีที่เป็นอันตราย
อคั คีภัย

มีทักษะในการการดูแลรักษาอวัยวะภายในและบทบาทหน้าท่ีของสมาชิกในครอบครัว มีทักษะในการ
เคลอื่ นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า ในการสร้างเสริมสขุ ภาพ การดารงสุขภาพ การปอ้ งกันโรค
และการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพ่อื สุขภาพ

มีเจตคติ คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นกิจนิสัย อันจะ
สง่ ผลใหส้ งั คมโดยรวมมีคุณภาพ

รหสั ตวั ช้ีวัด
พ ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
พ ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๑, ป.๒/๔
พ ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒
พ ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
พ ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
พ ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
รวมท้งั หมด ๒๑ ตัวช้วี ดั

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

ข้อมลู เพ่ิมเตมิ

หลกั สตู รสถานศึกษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 137

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

พ ๑3๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 3 กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เวลา 4๐ ชัว่ โมง

ศึกษาเก่ียวกับ ลักษณะการเจริญเติบโตของร่างกายมนุษย์ ที่มีความแตกต่างกันในแต่ละบุคคล
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโต ของเด็กไทย ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ความสาคัญของครอบครัว
ความแตกตา่ งของแต่ละครอบครวั วธิ กี ารสร้างสมั พนั ธภาพในครอบครวั และพฤติกรรม ทน่ี าไปสูก่ ารล่วงละเมิด
ทางเพศ วิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่นาไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ การเคลื่อนไหวร่างกายแบบอยู่กับที่
การเคล่ือนไหวแบบเคล่ือนที่ และแบบใช้อุปกรณ์ประกอบ โดยมีการบังคับทิศทาง วิธีการควบคุมการ
เคล่ือนไหวรา่ งกายแบบต่าง ๆ อยา่ งมีทิศทาง กจิ กรรมทางกาย ที่ใช้ทักษะการเคลื่อนไหวแบบบงั คับทศิ ทาง ใน
การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด แนวทางการเลือกออกกาลังกาย การละเล่นพ้ืนเมืองและเล่นเกมท่ีเหมาะสมกับจุดเด่น
จุดด้อยและข้อจากัดของแต่ละบุคคล การออกกาลังกาย เกม และการละเล่นพ้ืนเมือง กฎ กติกาและข้อตกลง
ในการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการละเล่นพ้ืนเมือง การติดต่อและวิธีการป้องกันการแพร่กระจาย
ของโรค อาหารหลัก ๕ หมู่ การเลือกกินอาหารท่ีเหมาะสม การแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี การสร้างเสริม
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ วิธีปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภยั จากอุบัตเิ หตใุ นบ้าน โรงเรียนและการเดนิ ทาง
การขอความชว่ ยเหลือจากบคุ คลและแหลง่ ตา่ ง ๆ เม่อื เกดิ เหตรุ า้ ยหรืออบุ ัติเหตุ การบาดเจบ็ จากการเล่น

มีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพ
เพื่อสุขภาพ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ในการสร้างเสริมสุขภาพ การ
ดารงสขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรคและการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพ่อื สขุ ภาพ

มีเจตคติ คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นกิจนิสัย อันจะ
สง่ ผลใหส้ ังคมโดยรวมมคี ณุ ภาพ

รหัสตัวช้ีวัด
พ ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
พ ๒/๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
พ ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
พ ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒
พ ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ , ป.๓/๔, ป.๓/๕
พ ๕๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
รวมท้งั หมด ๑๘ ตัวช้ีวดั

โรงเรยี นสมุ เส้าวทิ ยา
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

ข้อมลู เพิ่มเตมิ

หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ 138

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

พ ๑4๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา 4 กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา 4๐ ช่ัวโมง

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกายและจิตใจ ตามวัย ความสาคัญของกล้ามเน้ือ กระดูกและ
ข้อ ที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการวิธีดูแลรักษากล้ามเน้ือ กระดูกและข้อให้ทางานอย่างมี
ประสิทธิภาพคุณลักษณะของความเป็นเพื่อนและสมาชิกที่ดีของครอบครัว พฤติกรรมท่ีเหมาะสมกับเพศของ
ตนตามวัฒนธรรมไทยวิธีการปฏิเสธการกระทาที่เป็นอัน ตรายและไม่เหมาะสมในเร่ืองเพศการเคลื่อนไหว
รา่ งกายแบบผสมผสานท้ังแบบอยู่กับที่ กายบรหิ ารท่ามอื เปลา่ ประกอบจังหวะ เกมเลียนแบบและกจิ กรรมแบบ
ผลัด กีฬาพื้นฐาน เช่น แชร์บอล แฮนด์บอล ห่วงข้ามตาข่าย การออกกาลังกาย เล่นเกม ตามความชอบของ
ตนเองและเล่นกีฬาพ้ืนฐานร่วมกับผู้อื่น การวิเคราะห์ผลพัฒนาการของตนเองในการออกกาลังกาย เล่นเกม
และเล่นกีฬา ตามตัวอย่างและแบบปฏิบัติของผูอ้ ื่น คุณค่าของการออกกาลังกาย เล่นเกม และเล่นกีฬา ท่ีมีต่อ
สุขภาพ การปฏิบัติตามกฎ กติกา การเล่นกีฬาพ้ืนฐาน ตามชนิดกีฬาที่เล่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม
กับสุขภาพ การจัดส่ิงแวดล้อมท่ีถูกสุขลักษณะและเอ้ือต่อสุขภาพ สภาวะอารมณ์และความรู้สึก ผลที่มี
ต่อสุขภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลบนฉลากอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การปรับปรงุ สมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ความสาคญั ของการใช้ยา หลกั การใช้
ยา วิธีปฐมพยาบาลผลเสียของการสูบบุหรี่ การดื่มสรุ า และการปอ้ งกนั

มีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสขุ ภาพ การป้องกนั โรค และการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพื่อ
สุขภาพ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารง
สขุ ภาพ การปอ้ งกันโรคและการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสขุ ภาพ

มีเจตคติ คณุ ธรรมและค่านยิ มที่เหมาะสม รวมทั้งมีทกั ษะปฏิบัตดิ ้านสุขภาพจนเปน็ กิจนสิ ยั

รหสั ตัวชวี้ ดั
พ ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
พ ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
พ ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
พ ๓.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
พ ๔/๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
พ ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
รวมทัง้ หมด ๑๙ ตวั ชีว้ ัด

โรงเรียนสุมเสา้ วทิ ยา
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมูลเพ่ิมเติม

หลักสตู รสถานศกึ ษา “โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 139

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

พ ๑5๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 5 กล่มุ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา

ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา 4๐ ชว่ั โมง

ความสาคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายท่ีมีผลตอ่ สุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ
วิธีดูแลรักษาระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทางานตามปกติ การเปล่ียนแปลงทางเพศ การดูแลตนเอง
การวางตัวท่ีเหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย ลักษณะของครอบครัวท่ีอบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย พฤติกรรม
ท่ีพึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว การจัดรูปแบบการเคลื่อนไหว
ร่างกาย แบบผสมผสาน และการปฏิบัติกิจกรรมทางกายท้ังแบบอยู่กับที่ เคล่ือนท่ี และใช้อุปกรณ์ประกอบตามแบบ
ท่ีกาหนด เกมนาไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัดท่ีมีการตี เขี่ย รับ – ส่งส่ิงของ ขว้าง และวิ่ง การเคล่ือนไหวในเร่ือง
การรับแรง การใช้แรงและความสมดุล ทักษะกลไกที่ส่งผลต่อการปฏิบัติกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา การเล่นกีฬา
ไทย หลักการและกิจกรรมนันทนาการ หลักการและรูปแบบการออกกาลังกาย การออกกาลังกาย และการเล่น
เกม การเล่นกฬี าไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและทีมท่ีเหมาะสมกับวยั อยา่ งสมา่ เสมอการสร้างทางเลือก
ในวิธีปฏิบัติในการเล่นกีฬาอย่างหลากหลาย และมีน้าใจนักกีฬากฎ กติกาในการเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬา
สากลตามชนิดกีฬาท่ีเล่นวิธีการรุกและวิธีป้องกันในการเล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลที่เล่นสิทธิของตนเองและ
ผู้อ่ืนในการเล่นเกมและกีฬา ความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกม และกีฬา ความสาคัญของการปฏิบัติ
ตนตามสขุ บัญญัติแห่งชาติ แหลง่ และวิธีค้นหาข้อมลู ข่าวสารทางสุขภาพ การใชข้ ้อมูลข่าวสารในการสร้างเสริม
สุขภาพการตัดสินใจเลือกซ้ืออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ การปฏิบัติตนในการป้องกันโรคที่พบบ่อยใน
ชีวิตประจาวัน การทดสอบสมรรถภาพทางกาย การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด ผลกระทบของการใช้ยา และสารเสพติดท่ีมีต่อ
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การปฏิบัติตนเพ่ือความปลอดภัยจากการใชย้ า การหลีกเลี่ยงสาร
เสพติด อิทธพิ ลของสื่อ ทีม่ ตี ่อพฤติกรรม สขุ ภาพ การปฏบิ ัตเิ พอ่ื ป้องกันอันตรายจากการเลน่ กีฬา

มีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพ
เพ่ือสุขภาพ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ในการสร้างเสริมสุขภาพ การ
ดารงสุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพ่อื สุขภาพ

มเี จตคติ คุณธรรมและคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม รวมท้ังมที ักษะปฏบิ ัตดิ า้ นสุขภาพจนเป็นกจิ นสิ ัย

รหัสตวั ชีว้ ัด
พ ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
พ ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
พ ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖
พ ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
พ ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
พ ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
รวมทงั้ หมด ๒๕ ตวั ช้วี ัด

โรงเรยี นสมุ เส้าวิทยา
สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๑

ข้อมูลเพิ่มเติม

หลักสูตรสถานศึกษา “โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา” พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ 140

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

พ ๑6๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา 6 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 เวลา 4๐ ช่ัวโมง

ความสาคัญของระบบสืบพันธ์ุ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญ
เติบโตและพัฒนาการ วิธีดูแลรักษาระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจให้ทางานตามปกติ
ความสาคัญของการสร้าง และรักษาสัมพันธภาพกับผู้อ่ืนปัจจัยท่ีช่วยให้การทางานกลุ่มประสบความ สาเร็จ
พฤติกรรมเส่ียงท่ีนาไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ การติดเช้ือเอดส์ และการต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร การเคล่ือนไหว
ร่วมกับผู้อ่ืนแบบผลัดในลักษณะผสมผสาน ในการร่วมกิจกรรมทางกาย การเคล่ือนไหวในเร่ืองการรับแรง การใช้แรง
และความสมดุลกับการพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหว ในการเล่นเกมและกีฬาการเล่นกีฬาไทย กีฬาสากล ประเภทบุคคล
และประเภททีมการใช้ข้อมูลด้านทักษะกลไกเพ่ือปรับปรุงและเพิ่มพูนความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมทางกาย
และเล่นกีฬาการนาความรู้และหลักการของกิจกรรมนันทนาการไปใช้เป็นฐานการศึกษาหาความรู้ ประโยชน์และ
หลักการออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพ สมรรถภาพทางกายและการสร้างเสริมบุคลิกภาพการเล่นเกมท่ีใช้ทักษะ
การวางแผน การเพ่ิมพูนทักษะการออกกาลังกายและการเคลื่อนไหวอย่างเป็นระบบการเล่นกีฬาประเภท
บุคคลและประเภททีมท่ีชื่นชอบ การประเมินทักษะการเล่นกีฬาของตน กฎ กติกาในการเล่นกีฬาไทย กีฬา
สากลตามชนิดกีฬาที่เล่น กลวิธีการรุก การป้องกันในการเล่นกีฬา การสร้างความสามัคคีและความมีน้าใจ
นักกีฬาในการเล่นเกมและกีฬา ความสาคัญของส่ิงแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ ปัญหาของสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อ
สุขภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมที่มีผลตอ่ สุขภา โรคติดต่อสาคัญที่ระบาดในปัจจบุ ัน ผลกระทบ
ท่ีเกิดจากการระบาดของโรค การป้องกันการระบาดของโรคพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อ
สุขภาพของส่วนรวม วิธีทดสอบสมรรถภาพทางกาย การสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผล
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย การปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ ภัยธรรมชาติ สาเหตุของ
การตดิ สารเสพตดิ ทักษะการสือ่ สารให้ผู้อื่นหลกี เล่ียงสารเสพตดิ

มีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพ
เพื่อสุขภาพ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ในการสร้างเสริมสุขภาพ
การดารงสขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพ่ือสขุ ภาพ

มีเจตคติ คุณธรรมและคา่ นยิ มท่เี หมาะสม รวมทงั้ มที ักษะปฏบิ ัตดิ ้านสุขภาพจนเปน็ กิจนสิ ยั

รหัสตวั ชี้วัด
พ ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
พ ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
พ ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
พ ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
พ ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
พ ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
รวมทงั้ หมด ๒๒ ตวั ชีว้ ดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

ขอ้ มลู เพมิ่ เติม

หลกั สูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 141

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

พ ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 รวม 20 ชว่ั โมง จานวน 0.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาความสาคัญของระบบประสาท แล ะระบบต่อมไร้ท่อท่ีมีผลต่อสุขภาพการเจริญเติบโ ต แล ะ
พัฒนาการของวัยรุ่น วิธีดูแลรักษาระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อให้ทางานตามปกติ ภาวการณ์
เจริญเติบโตทางร่างกายของร่างกาย ของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองให้
เจริญเติบโตสมวยั อธิบายวิธีการปรับตวั ต่อการเปล่ียนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์และพัฒนาการทางเพศ
อย่างเหมาะสม ทักษะการปฏิเสธเพื่อป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ โดยใช้ทักษะต่าง ๆ และนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดารงชีวิตตามหลักแนวการคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เลือกรับประทาน
อาหารที่เหมาะสมกับวัย วิเคราะห์ปัญหาท่ีเกิดจากภาวะโภชนาการท่ีมีผลกระทบต่อสุขภาพ การควบคุม
น้าหนัก การสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตาผลการทดสอบ ตลอดจนแสดงวิธีการปฐมพยาบาล
และเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างปลอดภัย อธิบายลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติดและการป้องกัน รวมทั้งแสดง
ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกบั การเกิดโรคและอุบตั เิ หตุ และแสดงวธิ ีการชกั ชวนผ้อู ืน่ ใหล้ ด เลิกสารเสพ
ติดด้วยกระบวนการและทักษะต่าง ๆ อธิบายหลักการเคล่ือนไหวที่ใช้ทักษะกลไกและทักษะพื้นฐานท่ีนาไปสู่
การพัฒนาทักษะการเลน่ กีฬา กีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและทีมโดยใชท้ ักษะพื้นฐานตามชนดิ กฬี า
อย่างละ 1 ชนิด กิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม ความสาคัญของการออกกาลังกายและการเล่น
กีฬาท่ีเลือกและการเล่นกีฬาและการทางานเป็นทีมอย่างสนุกสนาน ความแตกต่างระหว่างวิธีการเลน่ กีฬาของ
ตนเองกบั ผอู้ น่ื

โดยใช้กระบวนการทางสุขศึกษาและพลศึกษา การอธิบาย การวิเคราะห์ การแสวงหา การแสดง การ
เพิ่มพูนความสามารถ และนาความรู้ท่ีได้ไปเช่ือมโยงสัมพันธ์กับวิชาอ่ืน ภายใต้กรอบแนวทางตามหลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง การปฏบิ ัติ การวางแผน การประเมินตนเองและผูอ้ ื่น การปรบั ปรุงและการนาไปใชอ้ ย่างเป็น
ระบบ การร่วมมือ การเปรียบเทียบ และการยอมรับ การเลือกการบริโภคและอุปโภค การควบคุมน้าหนัก
ตนเอง และการสรา้ งเสรมิ สุขภาพและสมรรถภาพ

เพื่อให้เห็นคุณค่าในการดูแลรักษาสุขภาพ รักการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มีทักษะกระบวนการ
ทางสุขศึกษาและพลศึกษา เกิดความคิด การแก้ไขป้องกันปัญหา เห็นความสาคัญของการออกกาลังกายและ
เล่นกีฬาจนเป็นวิถีชีวิตที่ดี มีสุขภาพที่ดี มีวินัย มีจิตสาธารณะ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ มีทักษะในการ
ดารงชวี ติ และนาความรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรวู้ ชิ าอน่ื และนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน
อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม

รหสั ตวั ชวี้ ดั
พ ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔
พ ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒
พ ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔
พ 5.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔
รวมทั้งหมด ๑4 ตัวช้วี ดั

โรงเรยี นสมุ เสา้ วิทยา
สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมูลเพม่ิ เตมิ

หลกั สตู รสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสมุ เสา้ วทิ ยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 142

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

พ ๒๑๑๐2 พลศกึ ษา 1 (เทเบลิ เทนนิส) กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 รวม 20 ชั่วโมง จานวน 0.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาประวัติ ความเป็นมาและวิวัฒนาการของการเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิส ประโยชน์ของการเล่นกีฬา
เทเบลิ เทนนสิ อปุ กรณ์ สนาม สถานทีใ่ ช้ในการแข่งขันและการดูแลรักษาอุปกรณ์ วิธีการเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพ
เพ่ือสุขภาพและสมรรถภาพที่เก่ียวข้องกับการเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิส มารยาท กฎ กติกา และมีทักษะพ้ืนฐาน
ในการเล่น เช่น การจับไม้ การตีลูกหน้ามือ หลังมือ การเสิร์ฟ การตบ การตีลูกตัด การตีลูกหมุน ลู กหยอด
รูปแบบการเคลื่อนไหวในกีฬา และมีความสามารถในการเคล่ือนไหว ทักษะกลไกในการออกกาลงั กายโดย การ
ร่วมเล่นกีฬา รู้คุณค่าของการออกกาลังกาย กลยุทธ์ในการเล่นกีฬาสากล ความมีน้าใจ และประโยชน์ของการ
ทางานเป็นทีม การแข่งขัน ความสาคัญของการมีสุขภาพดี หลักและวิธีการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบ อธิบายหลักการเคลื่อนไหวท่ีใช้ทักษะกลไกและทักษะพื้นฐานท่ีนาไปสู่การพัฒนาทักษะการเล่น
กฬี า กีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและทมี โดยใช้ทักษะพ้ืนฐานตามชนิดกีฬาอย่างละ 1 ชนดิ กจิ กรรม
นันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม ความสาคัญของการออกกาลังกายและการเล่นกีฬาท่ีเลอื กและการเลน่ กฬี า
และการทางานเป็นทีมอยา่ งสนกุ สนาน ความแตกตา่ งระหวา่ งวธิ ีการเล่นกีฬาของตนเองกบั ผูอ้ ่นื

โดยนาเทคนิคการสอนกีฬาเทเบิลเทนนิสสมัยใหม่มาสอนและใช้ในการฝึกปฏิบัติ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้
กระบวนการแสวงหาความรู้ การฝึกทักษะโดยใช้กิจกรรมการเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกมและ
กีฬาเทเบิลเทนนิส เป็นเคร่ืองมือและแนวทางในการฝกึ ทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิส รวมทั้งการ
เสรมิ สร้างสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพและสมรรถภาพทเี่ ก่ียวข้องกับการเลน่ กีฬาเทเบลิ เทนนิส ทัง้ ทางดา้ นร่างกาย
จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา การสร้างเจตคตทิ ่ีดี และสามารถนาไปปฏิบตั ิอย่เู ป็นประจาอย่างสมา่ เสมอ

เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิส มีคุณธรรม จริยธรรม
คา่ นิยม คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ได้แก่ รักษ์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซ่อื สัตย์สุจริต มวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ อยู่
อยา่ งพอเพยี ง มุ่งม่ันในการทางาน รกั ษาความเป็นไทย มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีจติ สาธารณะ มีความรับผิดชอบ มี
ความเชื่อม่ันในตนเอง พร้อมท้ังตระหนักและเห็นคุณค่าและเจตคติท่ีดีในการออกกาลังกาย ใช้เวลาว่างให้เกดิ
ประโยชน์และห่างไกลจากยาเสพติด สามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ชุมชน และสังคม
ส่วนรวมอย่างเปน็ สุข

รหสั ตัวชวี้ ัด
พ ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓
พ ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
รวมทงั้ หมด ๙ ตัวชี้วัด

โรงเรียนสมุ เส้าวทิ ยา
สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๑

ข้อมลู เพ่ิมเตมิ

หลักสูตรสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุมเสา้ วิทยา” พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ 143

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

พ ๒๑๑๐3 สขุ ศกึ ษา 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 รวม 20 ชวั่ โมง จานวน 0.๕ หน่วยกติ

ศึ ก ษ า ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ร ะ บ บ ป ร ะ ส า ท แ ล ะ ร ะ บ บ ต่ อ ม ไ ร้ ท่ อ ท่ี มี ผ ล ต่ อ สุ ข ภ า พ ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต
และพัฒนาการของวัยรุ่น วิธีดูแลรักษาระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อให้ทางานตามปกติ ภาวการณ์
เจริญเติบโตทางร่างกายของร่างกาย ของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองให้
เจริญเติบโตสมวัย อธิบายวิธกี ารปรับตัวตอ่ การเปล่ียนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์และพัฒนาการทางเพศ
อย่างเหมาะสม ทักษะการปฏิเสธเพื่อป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ โดยใช้ทักษะต่าง ๆ และนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดารงชีวิตตามหลักแนวการคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เลือกรับประทาน
อาหารที่เหมาะสมกับวัย วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการท่ีมีผลกระทบต่อสุขภาพ การควบคุม
น้าหนัก การสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตาผลการทดสอบ ตลอดจนแสดงวิธีการปฐมพยาบาล
และเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างปลอดภัย อธิบายลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติดและการป้องกัน รวมท้ังแสดง
ความสมั พันธข์ องการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบตั ิเหตุ และแสดงวิธกี ารชกั ชวนผอู้ น่ื ให้ลด เลกิ สารเสพ
ติดด้วยกระบวนการและทักษะต่าง ๆ อธิบายหลักการเคลื่อนไหวที่ใช้ทักษะกลไกและทักษะพื้นฐานท่ีนาไปสู่
การพัฒนาทักษะการเล่นกีฬา กีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและทีมโดยใช้ทักษะพ้ืนฐานตามชนิดกฬี า
อย่างละ 1 ชนิด กิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม ความสาคัญของการออกกาลังกายและการเล่น
กีฬาที่เลือกและการเล่นกีฬาและการทางานเป็นทีมอย่างสนุกสนาน ความแตกต่างระหว่างวิธีการเล่นกีฬาของ
ตนเองกับผู้อืน่

โดยใช้กระบวนการทางสุขศึกษาและพลศึกษา การอธิบาย การวิเคราะห์ การแสวงหา การแสดง
การเพ่ิมพูนความสามารถ และนาความรู้ที่ได้ไปเชื่อมโยงสัมพันธ์กับวิชาอ่ืน ภายใต้กรอบแนวทางตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การปฏิบัติ การวางแผน การประเมินตนเองและผู้อ่ืน การปรับปรุงและการนาไปใช้
อย่างเป็นระบบ การร่วมมือ การเปรียบเทียบ และการยอมรับ การเลือกการบริโภคและอุปโภค การควบคุม
น้าหนักตนเอง และการสร้างเสริมสุขภาพและสมรรถภาพ

เพื่อให้เห็นคุณค่าในการดูแลรักษาสุขภาพ รักการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มีทักษะกระบวนการ
ทางสุขศึกษาและพลศึกษา เกิดความคิด การแก้ไขป้องกันปัญหา เห็นความสาคัญของการออกกาลังกาย
และเล่นกีฬาจนเป็นวิถีชีวิตท่ีดี มีสุขภาพที่ดี มีวินัย มีจิตสาธารณะ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มีทักษะในการ
ดารงชีวติ และนาความรู้สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรวู้ ชิ าอื่นและนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน
อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม

รหัสตวั ชี้วดั
พ ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔
พ ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒
พ ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔
พ 5.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔
รวมทั้งหมด ๑4 ตัวช้ีวดั

โรงเรียนสมุ เส้าวิทยา
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๑

ข้อมูลเพ่ิมเตมิ


Click to View FlipBook Version