The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ ป.5 เทอม 1-63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิรพงศ์ ไมตรีจิตร, 2020-06-14 11:10:22

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ ป.5 เทอม 1-63

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ ป.5 เทอม 1-63

2.7 7
2 10
ใหน้ ักเรียนพจิ ารณาแล้วตอบคาถาม

 ทศนิยมหน่ึงตาแหน่งเมื่อเขียนในรูปเศษส่วนถ้าไมท่ าให้เป็นเศษส่วนอย่างต่า ตัว

ส่วนจะเปน็ เท่าใด (10)

 4 แสดงว่ามกี ี่ส่วนใน 10 ส่วน (4 ส่วน)
10

 2 7 แสดงว่ามีส่วนที่เต็มอยู่เท่าใด (2) ส่วนที่ไม่เต็มมีอยู่กี่ส่วนใน 10 ส่วน (7

10

สว่ น)

 7 ส่วนใน 10 สว่ น เขียนในรปู ทศนิยมไดอ้ ย่างไร (0.7)

 2 7 เขยี นในรปู ทศนิยมไดอ้ ยา่ งไร (2.7)
10

 2 และ 7 ใน 2.7 ได้จากจานวนใด (2 เปน็ จานวนเตม็ 7 เป็นตัวเศษของ 7 )
10

ครูให้นักเรียนสังเกตว่า เศษส่วนและจานวนคละท่ีตัวส่วนเป็น 10 เขียนในรูปทศนิยมหน่ึง

ตาแหน่ง ครูถามว่า เศษเกินที่ตัวส่วนเป็น 10 เขียนในรูปทศนิยมหน่ึงตาแหน่งได้หรือไม่ ครูยกตัวอย่าง 35

10

แล้วถามนกั เรยี นว่า

 35 เขยี นในรปู จานวนคละไดอ้ ย่างไร (3 5 )
10 10

 3 5 เขียนในรูปทศนิยมไดอ้ ย่างไร (3.5)
10

 3 และ 5 ใน 3.5 ได้จากจานวนใด (3 เปน็ จานวนเต็ม 5 เป็นตัวเศษของ 5 )
10

 ถ้าพิจารณาจาก 35 โดยไม่เขียนในรูปจานวนคละ 3 และ 5 ใน 3.5 ได้จาก
10

จานวนใด (ไดจ้ าก 35 ซ่งึ เป็นตวั เศษของ 35 )

10

ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายเพอื่ ให้ได้ข้อสรุปว่า

 เศษส่วนแท้หรือจานวนคละท่ีตัวส่วนเป็น 10 เขียนในรูปทศนิยมหนง่ึ ตาแหนง่ ได้โดยจานวนท่ี

เปน็ ตัวเศษจะเปน็ ทศนิยมตาแหน่งที่หนึ่ง

 เศษเกินท่ีตวั ส่วนเป็น 10 เขยี นในรปู ทศนยิ มหนงึ่ ตาแหน่งไดโ้ ดยอาจเขยี นเศษเกินในรูปจานวน

คละก่อน หรอื อาจเขียนจานวนที่เป็นตัวเศษให้เปน็ ทศนิยมหน่ึงตาแหน่ง

ข้ันท่ี 2 ข้นั สอน

2. จัดกิจกรรมลกั ษณะเดยี วกนั ในการเขียนเศษส่วนที่มีตวั สว่ นเป็น 100 ใหอ้ ยใู่ นรูปทศนิยมสองตาแหนง่ และ

การเขียนเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเป็น 1,000 ให้อยู่ในรูปทศนิยมสามตาแหน่ง โดยครูนาตัวอย่างมาให้นักเรียน

พจิ ารณาและตอบคาถาม แล้วร่วมกนั อภิปรายใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ ว่า

 เศษส่วนแท้ที่ตัวส่วนเป็น 100 ถ้าตัวเศษเป็นจานวนสองหลักเขียนในรูปทศนิยมสองตาแหน่งได้โดย
จานวนท่ีเป็นตัวเศษจะเป็นทศนิยมตาแหน่งท่ีหนึ่งและทศนิยมตาแหนง่ ท่ีสองตามลาดับ ถ้าตัวเศษเป็นจานวนหน่ึง
หลัก เขียนในรูปทศนิยมสองตาแหน่งได้โดยจานวนท่ีเป็นตัวเศษเป็นทศนิยมตาแหน่งท่ีสองและศูนย์เป็นทศนิยม
ตาแหนง่ ท่ีหน่งึ

 เศษเกินที่ตัวส่วนเป็น 100 เขียนในรูปทศนิยมสองตาแหน่งได้โดยอาจเขียนเศษเกินในรูปจานวนคละ
ก่อน หรืออาจเขียนจานวนทเ่ี ปน็ ตวั เศษใหเ้ ปน็ ทศนิยมสองตาแหนง่

 เศษส่วนแทท้ ตี่ วั ส่วนเป็น 1,000 ถา้ ตวั เศษเปน็ จานวนสามหลักเขียนในรปู ทศนยิ มสามตาแหน่ง
ได้โดยจานวนที่เป็นตัวเศษจะเป็นทศนิยมตาแหน่งที่หนึ่ง ทศนิยมตาแหน่งที่สอง และทศนิยมตาแหน่งท่ีสาม
ตามลาดับ ถ้าตัวเศษเป็นจานวนสองหลัก เขียนในรูปทศนิยมสามตาแหน่งได้โดยจานวนที่เป็นตัวเศษเป็นทศนยิ ม
ตาแหนง่ ทสี่ องและทศนิยมตาแหน่งที่สามตามลาดับ และศนู ย์เป็นทศนิยมตาแหนง่ ทีห่ น่งึ ถ้าตัวเศษเปน็ จานวนหนึ่ง
หลัก เขียนในรูปทศนิยมสองตาแหน่งได้โดยจานวนท่ีเป็นตัวเศษเป็นทศนิยมตาแหน่งที่สามและศูนย์เป็นทศนิยม
ตาแหนง่ ท่หี น่งึ และทศนยิ มตาแหน่งท่ีสอง

 เศษเกินท่ีตัวส่วนเป็น 1,000 เขียนในรูปทศนิยมสามตาแหน่งได้โดยอาจเขียนเศษเกินในรูป
จานวนคละกอ่ น หรืออาจเขยี นจานวนทเี่ ปน็ ตัวเศษใหเ้ ป็นทศนิยมสามตาแหนง่
ขน้ั ท่ี 3 ข้นั สรปุ
3. ให้นักเรียนทาใบงานที่ 12 เรอื่ ง การเขียนเศษส่วนทต่ี ัวส่วนเปน็ 10 หรือ 100 หรือ 1,000ในรปู ทศนยิ ม

6. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมินผล วิธีการวัดผล เครือ่ งมือวัด เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์ 80% ขึน้ ไปถือว่าผา่ น
-ใบงานท่ี 12 เรอ่ื ง การเขยี น เกณฑ์การประเมนิ
ความรู้ความเขา้ ใจ (K) -ตรวจใบงานท่ี 12 เร่อื ง การ เศษสว่ นท่ีตัวสว่ นเปน็ 10
หรอื 100 หรือ 1,000 ในรปู 80% ข้ึนไปถือวา่ ผ่าน
เขียนเศษสว่ นที่ตวั ส่วนเป็น 10 ทศนิยม เกณฑ์การประเมนิ
-แบบฝกึ หัด 80% ขึน้ ไปถอื ว่าผา่ น
หรือ 100 หรอื 1,000 ในรูป เกณฑ์การประเมิน
-แบบประเมนิ คณุ ลักษณะที่
ทศนยิ ม พงึ ประสงคข์ องนกั เรียน
รายบคุ คล
-ตรวจแบบฝกึ หัด -แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการ
ทางาน
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -ประเมนิ คุณลักษณะทพี่ งึ
ประสงค์ของนกั เรียนรายบคุ คล

คณุ ลักษณะนสิ ยั (A) -สงั เกตพฤตกิ รรมในการทางาน

7. ส่ือ/ แหล่งการเรียนรู้

1. บตั รทศนิยม
2. ใบงานท่ี 12 เรอื่ ง การเขยี นเศษส่วนที่ตัวสว่ นเป็น 10 หรือ 100 หรอื 1,000 ในรปู ทศนยิ ม

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .............................................ครูผู้สอน ลงช่ือ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่อื ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 14

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ฒั นา

แผนจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนที่ ...............1/.....................ช่ือผู้สอน...................................................................................
กลุ่มสาระ.........คณติ ศาสตร.์ ..........ชัน้ ...........ประถมศกึ ษาปีท.ี่ ......5....... จานวน...........2………..คาบ
หนว่ ยการเรยี นท่ี..........2............เรื่อง.................................ทศนิยมและเศษส่วน.........................................

1 . มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ช้วี ดั

มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลทเี่ กดิ ข้ึนจาก
การดาเนนิ การ สมบัติของการดาเนนิ การ และนาไปใช้

ตัวชว้ี ัด ค 2.1 ป.5/1 เขียนเศษส่วนทมี่ ีตวั สว่ นเป็นตวั ประกอบของ 10 หรอื 100 หรือ 1,000 ในรูปทศนยิ ม

2 .สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

 เศษสว่ นท่ีตวั สว่ นเป็น 10 สามารถเขียนในรูปทศนิยมหนึง่ ตาแหนง่
 เศษสว่ นทีต่ ัวส่วนเป็น 100 สามารถเขยี นในรูปทศนยิ มสองตาแหนง่
 เศษสว่ นที่ตวั สว่ นเปน็ 1,000 สามารถเขียนในรปู ทศนิยมสามตาแหนง่

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. เมือ่ กาหนดทศนยิ มไมเ่ กินสามตาแหนง่ ให้ สามารถเขียนในรปู เศษส่วนได้ และเม่ือกาหนดเศษสว่ นท่มี ีตวั ส่วนเปน็ 10 หรอื 100

หรอื 1,000 ให้ สามารถเขียนในรปู ทศนิยมได้ (K)

2. อธิบายทศนิยมไมเ่ กนิ สามตาแหน่งให้ สามารถเขยี นในรูปเศษสว่ นได้ (P)
3. มคี วามละเอียดรอบคอบในการทางาน (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ

เมอ่ื กาหนดทศนยิ มไม่เกนิ สามตาแหน่งให้ สามารถเขียนในรปู เศษสว่ น พิจารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา
ได้ และเม่อื กาหนดเศษส่วนที่มตี วั ส่วนเปน็ 10 หรอื 100 หรือ 1,000

ให้ สามารถเขยี นในรูปทศนิยมได้

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
คาบที่ กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1 ขน้ั ท่ี 1 ข้นั นา
1. ครูตดิ แถบกระดาษแสดงเศษสว่ นบนกระดาน ดังนี้

กข

ใหน้ กั เรียนชว่ ยกันพิจารณาและตอบคาถามตอ่ ไปนี้

 ส่วนท่รี ะบายสใี นแถบกระดาษ ก แสดงเศษสว่ นใด ( 1 )
5
2
 ส่วนท่รี ะบายสีในแถบกระดาษ ข แสดงเศษส่วนใด ( 10 )

 ส่วนทร่ี ะบายสใี นแถบกระดาษทง้ั สองเทา่ กันหรือไม่ (เท่ากนั )

 2 เขยี นในรูปทศนิยมได้อยา่ งไร (0.2)
10

 ดังนัน้ 1 เขียนในรูปทศนิยมไดอ้ ยา่ งไร (0.2)
5

 จะเขยี น 1 ในรปู ทศนยิ มหนึง่ ตาแหนง่ ตวั สว่ นต้องเป็นเทา่ ใด (10)
5

ครใู ห้นักเรียนออกมาเขียนแสดงวธิ ีทาบนกระดานและคอยใหค้ าแนะนา ใหไ้ ดด้ งั นี้

1 = 1×2

5 5×2

=2

10

= 0.2

ครถู ามนกั เรยี นตอ่ ไปว่า

 จะเขยี น 1 ในรูปทศนยิ มสองตาแหน่ง ตวั สว่ นต้องเป็นเทา่ ใด (100)
5

ครใู ห้นกั เรยี นออกมาเขยี นแสดงวิธที าบนกระดานและคอยให้คาแนะนา ให้ได้ดังนี้

1 = 1×20

5 5×20

= 20

100

= 0.20

ครถู ามนกั เรียนต่อไปว่า

 จะเขยี น 1 ในรปู ทศนิยมสามตาแหนง่ ตัวส่วนต้องเป็นเทา่ ใด (1,000)
5

ครใู หน้ กั เรียนออกมาเขียนแสดงวธิ ีทาบนกระดานและคอยให้คาแนะนา ให้ไดด้ งั นี้

1 = 1×200

5 5×200

= 200

1,000

= 0.200

ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า การเขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ 10 หรือ

100 หรือ 1,000 ในรูปทศนยิ ม อาจทาไดโ้ ดยนาจานวนนับที่เทา่ กนั มาคณู ทัง้ ตวั เศษและตัวส่วนให้เป็นเศษส่วน

ท่ี ตัวส่วนเป็น 10 หรือ 100 หรือ 1,000 ก่อน แล้วจึงเขียนเป็นทศนิยมหนึ่งตาแหน่ง หรือทศนิยมสอง

ตาแหน่ง หรอื ทศนิยมสามตาแหน่ง

ขั้นที่ 2 ขัน้ สอน
2. ครเู ขียนจานวนคละท่ตี ัวสว่ นการ 10 ลงตวั บนกระดาน เชน่

1
32
ใหน้ กั เรยี นอ่านแล้วตอบคาถาม ดงั นี้

 3 1 เป็นจานวนชนดิ ใด (จานวนคละ)

2

 3 1 ประกอบดว้ ยจานวนใดกับจานวนใด ( 3 กบั 1 )

22

 3 1 เขียนในรูปการบวกได้อยา่ งไร ( 3 + 1 )
2
2

 1 = 10 (นา 5 คณู ทงั้ ตัวเศษและตวั ส่วนได้ 5 )
2
10

 3 1 เทา่ กบั 3 5 หรอื ไม่ (เทา่ กัน)
2
10

 35 เขียนในรูปทศนยิ มไดอ้ ย่างไร (3.5)

10

 ดังนั้น 3 1 เขยี นในรูปทศนิยมได้อย่างไร (3.5)
2

ครเู ขยี นแสดงวิธที าบนกระดาน ดงั น้ี

31 = 3+1

2 2

= 3 + 1×5

= 2×5

= 3 + 5
= 10

35

10

3.5

ครแู นะนาวา่ การเขยี นจานวนคละในรูปทศนิยมหนึง่ ตาแหนง่ ทาได้โดยเขียนจานวนคละในรูป

เศษเกนิ กอ่ น แลว้ ทาให้ตวั ส่วนเปน็ สิบ ซึง่ จะได้ดงั น้ี

31 = (3×2)+1

2 2
7
=
2

= 7×5

2×5

= 35

10

= 3.5

ครถู ามนกั เรียนว่าถา้ จะเขียน 3 1 เป็นทศนยิ มสองตาแหนง่ ตัวสว่ นต้องเป็นเทา่ ใด (100)

2

และถา้ จะเขียน 3 1 เปน็ ทศนยิ มสามตาแหน่ง ตวั ส่วนตอ้ งเป็นเทา่ ใด (1,000)
2

ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า การเขียนจานวนคละในรูปทศนิยม ทาได้โดยเขียนจานวน

คละในรปู เศษเกนิ กอ่ น แลว้ ทาให้ตัวส่วนเป็น 10 หรือ 100 หรอื 1,000

ขั้นท่ี 3 ข้นั สรปุ
3. ครูยกตัวอย่างการเขียนเศษส่วนและจานวนคละในรปู ทศนิยมอกี 2-3 ตัวอย่าง แล้วให้นักเรียน ทาใบ

งานท่ี 13 เรอ่ื ง การเขียนเศษสว่ นทต่ี ัวสว่ นเปน็ ตวั ประกอบของ 10 หรอื 100 หรือ 1,000 ในรูปทศนยิ ม

6. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

การวดั และประเมนิ ผล วิธีการวดั ผล เครื่องมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
จุดประสงค์

ความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) -ตรวจใบงานที่ 13 เร่อื ง การ -ใบงานท่ี 13 เรอื่ ง การเขยี น 80% ขึ้นไปถอื ว่าผา่ น
เขยี นเศษส่วนท่ตี ัวส่วนเปน็ ตัว เศษสว่ นทตี่ ัวส่วนเป็นตวั เกณฑ์การประเมิน
ประกอบของ 10 หรอื 100 ประกอบของ 10 หรอื 100

หรอื 1,000 ในรูปทศนิยม หรอื 1,000 ในรูปทศนิยม
-ตรวจแบบฝกึ หดั -แบบฝกึ หัด

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -ประเมนิ คณุ ลกั ษณะที่พึง -แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะท่ี 80% ขน้ึ ไปถือว่าผ่าน
ประสงคข์ องนักเรยี นรายบุคคล พงึ ประสงคข์ องนกั เรียน เกณฑ์การประเมนิ

รายบุคคล

คณุ ลกั ษณะนิสยั (A) -สงั เกตพฤตกิ รรมในการทางาน -แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการ 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน

ทางาน เกณฑก์ ารประเมิน

7. ส่ือ/ แหล่งการเรยี นรู้

1. แถบกระดาษแสดงเศษสว่ น
2. ใบงานที่ 13 เรอ่ื ง การเขยี นเศษส่วนทต่ี ัวสว่ นเปน็ ตวั ประกอบของ 10 หรอื 100 หรือ 1,000 ในรูปทศนยิ ม

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .............................................ครูผู้สอน ลงช่ือ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่อื ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 15

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ฒั นา

แผนจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนที่ ...............1/.....................ชือ่ ผู้สอน...................................................................................
กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร.์ ..........ชน้ั ...........ประถมศึกษาปีท่ี.......5....... จานวน...........1………..คาบ
หนว่ ยการเรียนที่..........2............เรอื่ ง..........................การหาคา่ ประมาณของทศนิยม........................

1 . มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ช้วี ดั

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลท่เี กิดข้นึ จาก

การดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนนิ การ และนาไปใช้

2 .สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

การหาค่าประมาณเป็นทศนิยมหนึง่ ตาแหน่งของทศนิยมใด อาจทาไดโ้ ดยพิจารณาเลขโดดในหลักส่วนรอ้ ยของทศนิยมน้ัน ถา้
เป็น 5 ถงึ 9 ใหป้ ระมาณเปน็ ทศนยิ มหน่งึ ตาแหน่งทีม่ ากกว่าทศนิยมตาแหน่งทห่ี นง่ึ เดมิ อยู่ 0.1 ถ้าเปน็ 0 ถึง 4 ใหป้ ระมาณเปน็ ทศนิยม

หน่งึ ตาแหนง่ ท่มี ที ศนยิ มตาแหนง่ ทีห่ น่ึงเทา่ เดมิ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. เม่ือกาหนดทศนยิ มไม่เกินสามตาแหน่งให้ สามารถหาคา่ ประมาณเป็นทศนยิ มหนึ่งตาแหนง่ ได(้ K)

2. อธิบายทศนยิ มไมเ่ กินสามตาแหน่งให้ สามารถหาคา่ ประมาณเป็นทศนิยมหนง่ึ ตาแหน่งได(้ P)

3. มีความละเอยี ดรอบคอบในการทางาน (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน

เมือ่ กาหนดทศนิยมไม่เกินสามตาแหนง่ ให้ สามารถหาค่าประมาณเปน็ พิจารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา

ทศนยิ มหนึ่งตาแหนง่ ได้

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
คาบ กจิ กรรมการเรยี นการสอน
ท่ี

1 ขั้นท่ี 1 ข้นั นา
1. ครูนาแถบแสดงเส้นจานวนติดบนกระดาน แลว้ ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณารว่ มกันดังน้ี

9.1 9.2
9.11 9.12 9.13 9.14 9.15 9.16 9.17 9.18 9.19
ทศนิยมสองตาแหน่งบนเส้นจานวน คือ 9.11 ถึง 9.19 หากต้องการจะประมาณค่าเป็นทศนิยม

หน่งึ ตาแหน่ง เช่น ต้องการหาคา่ ประมาณเป็นทศนยิ มหนงึ่ ตาแหน่งของ 9.12

9.1 9.2

9.11 9.12 9.13 9.14 9.15 9.16 9.17 9.18 9.19

9.12 อยู่ระหวา่ ง 9.1 และ 9.2
9.12 มคี ่าใกล้เคยี ง 9.1 มากกว่า 9.2
ดังนนั้ ค่าประมาณเปน็ ทศนิยมหน่งึ ตาแหนง่ ของ 9.12 คอื 9.1

7.7 7.8
7.71 7.72 7.73 7.74 7.75 7.76 7.77 7.78 7.79

7.78 อย่รู ะหว่าง 7.7 และ 7.8
7.78 มีค่าใกล้เคียง 7.7 มากกว่า 7.8
ดังน้ัน ค่าประมาณเปน็ ทศนยิ มหนึ่งตาแหน่งของ 7.78 คือ 7.8

5.3 5.4
5.31 5.32 5.33 5.34 5.35 5.36 5.37 5.38 5.39

5.35 อยู่กึง่ กลางระหว่าง 5.3 และ 5.4
ถือเป็นข้อตกลงวา่ ให้ประมาณเป็นทศนยิ มหน่งึ ตาแหน่งทีม่ ากกวา่
ดงั นน้ั คา่ ประมาณเปน็ ทศนยิ มหนง่ึ ตาแหนง่ ของ 5.35 คือ 5.4
ขั้นท่ี 2 ขน้ั สอน
2. ครูและนักเรยี นรว่ มกันอภิปรายจนได้ขอ้ สรปุ ว่า การหาค่าประมาณเปน็ ทศนิยมหน่ึงตาแหน่งของทศนิยม
ใด อาจทาไดโ้ ดยพจิ ารณาเลขโดดในหลักส่วนร้อยของทศนยิ มน้นั ถา้ เป็น 5 ถึง 9 ใหป้ ระมาณเปน็ ทศนยิ มหนง่ึ ตาแหน่ง
ท่ีมากกว่าทศนิยมตาแหนง่ ทห่ี น่งึ เดมิ อยู่ 0.1 ถา้ เป็น 0 ถงึ 4 ใหป้ ระมาณเป็นทศนยิ มหนึ่งตาแหนง่ ที่มีทศนยิ มตาแหน่ง
ที่หน่ึงเทา่ เดมิ
3. ครูให้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายผลัดกนั ออกมาเขียนทศนิยมไม่เกินตาแหนง่ แล้วให้นกั เรียนอกี ฝ่าย
ออกมาเขียนคา่ ประมาณเปน็ ทศนยิ มหนง่ึ ตาแหน่งบนกระดาน โดยครคู อยให้คาแนะนาเพมิ่ เติม เชน่
6.49 ค่าประมาณเป็นทศนยิ มหน่ึงตาแหนง่ คือ 6.5
0.08 คา่ ประมาณเปน็ ทศนยิ มหนง่ึ ตาแหนง่ คอื 0.1
13.219 คา่ ประมาณเป็นทศนิยมหนึ่งตาแหนง่ คือ 13.2
7.831 ค่าประมาณเป็นทศนิยมหน่ึงตาแหนง่ คอื 7.8
94.965 คา่ ประมาณเปน็ ทศนิยมหนึง่ ตาแหน่ง คอื 95.0
29.85 คา่ ประมาณเปน็ ทศนิยมหนึ่งตาแหนง่ คอื 29.9
9.99 คา่ ประมาณเปน็ ทศนิยมหนึ่งตาแหนง่ คอื 10.0

ขน้ั ที่ 3 ข้นั สรุป
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้อีกคร้ัง จากนั้นให้นักเรียนทาใบงานท่ี 15 เรื่อง การหาค่าประมาณเป็น
ทศนิยมหนึง่ ตาแหนง่

6. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวดั และประเมนิ ผล วิธกี ารวดั ผล เครอ่ื งมอื วัด เกณฑ์การประเมินผล
จุดประสงค์ 80% ขน้ึ ไปถอื ว่าผา่ น
-ตรวจใบงานท่ี 14 เรือ่ ง การ เกณฑก์ ารประเมิน
ความรูค้ วามเข้าใจ (K) -ตรวจใบงานที่ 14 เรื่อง การ เขยี นเศษสว่ นทต่ี ัวสว่ นเปน็ ตวั
ประกอบของ 10 หรอื 100 80% ข้ึนไปถอื วา่ ผา่ น
เขยี นเศษส่วนที่ตวั สว่ นเปน็ ตวั หรอื 1,000 ในรูปทศนิยม เกณฑ์การประเมิน
-แบบฝึกหัด 80% ขน้ึ ไปถอื วา่ ผา่ น
ประกอบของ 10 หรอื 100 เกณฑก์ ารประเมิน
-แบบประเมนิ คุณลักษณะท่ี
หรือ 1,000 ในรูปทศนยิ ม พงึ ประสงคข์ องนกั เรียน
รายบุคคล
-ตรวจแบบฝึกหัด -แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ
ทางาน
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -ประเมนิ คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึง
ประสงคข์ องนักเรยี นรายบคุ คล

คุณลกั ษณะนิสยั (A) -สังเกตพฤตกิ รรมในการทางาน

7. สื่อ/ แหลง่ การเรยี นรู้

1. แถบแสดงเสน้ จานวน
2. ใบงานที่ 15 เรอื่ ง การหาคา่ ประมาณเปน็ ทศนิยมหนึง่ ตาแหนง่

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ครูผู้สอน ลงชอ่ื ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผ้บู ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 15

โรงเรยี นขจรเกียรติพัฒนา

แผนจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี ...............1/.....................ช่ือผู้สอน...................................................................................
กลุ่มสาระ.........คณติ ศาสตร.์ ..........ชน้ั ...........ประถมศึกษาปีท.่ี ......5....... จานวน...........1………..คาบ
หน่วยการเรียนที่..........2............เรื่อง..........................การหาค่าประมาณของทศนยิ ม........................

1 . มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วัด

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลทีเ่ กิดขึ้นจาก

การดาเนนิ การ สมบตั ิของการดาเนนิ การ และนาไปใช้

2 .สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

การหาค่าประมาณเป็นทศนยิ มหนึ่งตาแหน่งของทศนิยมใด อาจทาได้โดยพิจารณาเลขโดดในหลักส่วนพนั ของทศนิยมน้ัน ถ้า
เปน็ 5 ถงึ 9 ให้ประมาณเป็นทศนิยมสองตาแหนง่ ทม่ี ากกวา่ ทศนิยมตาแหนง่ ทส่ี องเดิมอยู่ 0.01 ถา้ เปน็ 0 ถงึ 4 ใหป้ ระมาณเปน็ ทศนิยม

สองตาแหนง่ ท่มี ที ศนิยมตาแหนง่ ทส่ี องเทา่ เดมิ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. เมื่อกาหนดทศนิยมไม่เกินสามตาแหน่งให้ สามารถหาค่าประมาณเป็นทศนยิ มสองตาแหนง่ ได(้ K)

2. อธิบายทศนิยมไม่เกินสามตาแหน่งให้ สามารถหาค่าประมาณเป็นทศนิยมสองตาแหน่งได(้ P)

3. มีความละเอยี ดรอบคอบในการทางาน (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถิ่น

เมอื่ กาหนดทศนิยมไมเ่ กนิ สามตาแหน่งให้ สามารถหาค่าประมาณเปน็ พิจารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา

ทศนิยมสองตาแหน่งได้

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
คาบ กิจกรรมการเรยี นการสอน
ที่

1 ขน้ั ท่ี 1 ขนั้ นา
1. ครนู าแถบแสดงเสน้ จานวนตดิ บนกระดาน แลว้ ให้นักเรยี นพจิ ารณารว่ มกนั ดงั น้ี

6.20 6.21

6.201 6.202 6.203 6.204 6.205 6.206 6.207 6.208 6.209

6.203 อยรู่ ะหวา่ ง 6.20 และ 9.21
6.203 มีค่าใกลเ้ คียง 6.20 มากกว่า 6.21
ดงั นั้น ค่าประมาณเปน็ ทศนยิ มสองตาแหน่งของ 6.203 คอื 6.20

7.78 7.79

7.781 7.782 7.783 7.784 7.785 7.786 7.787 7.788 7.789

7.788 อยูร่ ะหว่าง 7.78 และ 7.79
7.788 มีคา่ ใกลเ้ คยี ง 7.79 มากกว่า 7.78
ดังนนั้ ค่าประมาณเป็นทศนยิ มสองตาแหนง่ ของ 7.788 คือ 7.79

5.34 5.35

5.341 5.342 5.343 5.344 5.345 5.346 5.347 5.348 5.349

5.345 อยูก่ ึ่งกลางระหว่าง 5.34 และ 5.35
ถือเปน็ ขอ้ ตกลงว่าให้ประมาณเปน็ ทศนิยมสองตาแหน่งทม่ี ากกวา่
ดงั นนั้ คา่ ประมาณเป็นทศนยิ มหนงึ่ ตาแหนง่ ของ 5.345 คอื 5.35
ขัน้ ท่ี 2 ขั้นสอน
2. ครูและนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายจนไดข้ อ้ สรปุ ว่า การหาคา่ ประมาณเป็นทศนิยมสองตาแหน่งของทศนิยมใด อาจทา
ได้โดยพิจารณาเลขโดดในหลักสว่ นพันของทศนิยมน้ัน ถ้าเป็น 5 ถึง 9 ให้ประมาณเป็นทศนิยมสองตาแหนง่ ทีม่ ากกว่า
ทศนยิ มตาแหน่งทีส่ องเดิมอยู่ 0.01 ถ้าเปน็ 0 ถงึ 4 ให้ประมาณเป็นทศนยิ มสองตาแหนง่ ที่มที ศนยิ มตาแหนง่ ที่สองเท่า
เดมิ

3. ครูให้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายผลัดกันออกมาเขียนทศนิยมตาแหน่งแล้วให้นักเรียนอีกฝ่ายออกมาเขียน
คา่ ประมาณเปน็ ทศนยิ มสองตาแหน่งบนกระดาน โดยครคู อยให้คาแนะนาเพม่ิ เติม เช่น

2.572 คา่ ประมาณเปน็ ทศนิยมสองตาแหน่ง คือ 2.57
7.388 ค่าประมาณเป็นทศนิยมสองตาแหน่ง คอื 7.39
5.625 คา่ ประมาณเป็นทศนิยมสองตาแหนง่ คือ 5.63
8.464 ค่าประมาณเป็นทศนิยมสองตาแหนง่ คือ 8.46
94.965 ค่าประมาณเปน็ ทศนยิ มหนง่ึ ตาแหน่ง คือ 94.97
29.854 ค่าประมาณเปน็ ทศนยิ มหนึ่งตาแหนง่ คอื 29.85
9.999 ค่าประมาณเปน็ ทศนิยมหนง่ึ ตาแหน่ง คือ 10.00

ข้ันที่ 3 ข้นั สรุป
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้อีกคร้ัง จากน้ันให้นักเรียนทาใบงานท่ี 16 เร่ือง การหาค่าประมาณเป็น
ทศนยิ มสองตาแหน่ง

6. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการวัดผล เครือ่ งมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ ผล
จุดประสงค์ 80% ข้ึนไปถอื วา่ ผา่ น
เกณฑก์ ารประเมิน
ความร้คู วามเข้าใจ (K) -ตรวจใบงานที่ 16 เรอ่ื ง การหา -ใบงานที่ 16 เรื่อง การหา
คา่ ประมาณเป็นทศนิยมสอง ค่าประมาณเป็นทศนยิ มสอง 80% ขึ้นไปถือวา่ ผ่าน
เกณฑ์การประเมนิ
ตาแหน่ง ตาแหน่ง 80% ขึ้นไปถอื วา่ ผ่าน
เกณฑ์การประเมนิ
-ตรวจแบบฝกึ หัด -แบบฝึกหัด

ทักษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ -แบบประเมนิ คณุ ลักษณะที่
ประสงคข์ องนักเรียนรายบคุ คล พงึ ประสงค์ของนกั เรียน

รายบคุ คล

คุณลกั ษณะนสิ ยั (A) -สงั เกตพฤติกรรมในการทางาน -แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ

ทางาน

7. ส่ือ/ แหล่งการเรียนรู้

1. แถบแสดงเส้นจานวน
2. ใบงานที่ 16 เรอื่ ง การหาค่าประมาณเป็นทศนิยมสองตาแหนง่

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .............................................ครูผู้สอน ลงชอื่ ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 15

โรงเรียนขจรเกียรติพฒั นา

แผนจดั การเรียนรู้

ภาคเรยี นที่ ...............1/.....................ชอ่ื ผู้สอน.................................................................................
กลมุ่ สาระ.........คณติ ศาสตร์...........ช้ัน...........ประถมศกึ ษาปีท.่ี ......5....... จานวน...........1………..คาบ
หน่วยการเรียนท่ี..........2............เร่อื ง.................................การบวก การลบทศนิยม...............................

1 . มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ช้ีวัด

มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลที่เกิดข้ึนจาก

การดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนนิ การ และนาไปใช้

2 .สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

 การบวกทศนิยมใชห้ ลกั การเดียวกบั การบวกจานวนนับ คอื นาจานวนทีอ่ ยใู่ นหลกั เดยี วกนั มาบวกกัน
 การลบทศนิยมใช้หลกั การเดียวกับการลบจานวนนบั คือ นาจานวนทีอ่ ยใู่ นหลักเดยี วกันมาลบกัน

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. เมือ่ กาหนดโจทย์การบวก การลบทศนยิ มไมเ่ กนิ สามตาแหนง่ ให้ สามารถหาคาตอบพร้อมท้งั ตระหนกั ถงึ ความสมเหตุสมผลของ

คาตอบทไ่ี ด้ และแสดงวิธที าได้ (K)

2. อธบิ ายโจทย์การบวก การลบทศนยิ ม ไม่เกนิ สามตาแหนง่ ใหไ้ ด(้ P)

3. มคี วามละเอียดรอบคอบในการทางาน (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถนิ่

เมอ่ื กาหนดโจทย์การบวก การลบทศนิยมไมเ่ กนิ สามตาแหนง่ ให้ พิจารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา

สามารถหาคาตอบพรอ้ มทง้ั ตระหนกั ถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ

ทไ่ี ด้ และแสดงวิธที าได้

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
คาบที่ กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1 ขั้นท่ี 1 ขั้นนา
1. ครูทบทวนเร่ืองการบวก การลบทศนิยมไม่เกินสามตาแหน่ง โดยให้นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายจนได้ข้อสรปุ ว่า
การบวก การลบทศนิยมไม่เกินสามตาแหนง่ ใชห้ ลักการเดียวกบั การบวก การลบจานวนนับ คอื นาจานวนที่
อยใู่ นหลกั เดียวกนั มาบวก มาลบกัน

ข้ันที่ 2 ขน้ั สอน
2. ครูแจกกระดาษโน๊ตใหน้ กั เรียนคนละ 1 แผ่น แล้วให้นักเรยี นเขียนทศนิยมไม่เกนิ สามตาแหน่งลงในกระดาษ
ทไี่ ด้รับคนละ 1 จานวน

3. ครตู ดิ แผ่นชารต์ เนื้อเพลง “พายเรอื หาเพ่ือน” แลว้ ใหน้ กั เรียนฝกึ รอ้ งตาม จากนั้นใหน้ ักเรียนยืนรอบ
หอ้ งเรยี นร่วมกนั ราวงและรอ้ งเพลง เพอื่ แบง่ กลมุ่ ดังนี้

เพลง พายเรอื หาเพอ่ื น
พายเรือไปตามธาราเหน็ หอย ปู ปลา แหวกวา่ ยเวียนวน ( ซา้ )

พายเรือกนั ไปหลายคน ( ซ้า ) เห็นคน 3 คน น่ังลอ้ มวงกนั

เมอื่ เพลงจบใหน้ กั เรียนจบั กลุ่ม กล่มุ ละ 3 คน และนง่ั ลอ้ มวงกัน จากนน้ั ครูแจกกระดาษ A4 ให้ กล่มุ
ละ 1 แผ่น และอธิบายว่าให้นักเรียนนากระดาษโน๊ตท่ีนักเรียนแต่ละคนในกลุ่มเขียนทศนิยมไว้ทั้ง 3
จานวน มาสร้างเป็นโจทยก์ ารบวก หรือการลบทศนิยม แล้วติดลงในกระดาษ A4 และเขียนแสดงวธิ ีหาผลลัพธ์
ครูให้คาแนะนาเพ่ิมเติมว่าโจทย์การลบ ตัวตั้งต้องมากกว่าตัวลบ เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมา
นาเสนอผลงาน
ขน้ั ที่ 3 ขน้ั สรปุ
4. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งและความสมเหตุสมผล ให้คาชมเชยและคาแนะนาเพ่ิมเติม

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมนิ ผล วิธีการวัดผล เคร่อื งมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์
-แบบประเมนิ ชน้ิ งาน 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน
ความร้คู วามเขา้ ใจ (K) -ประเมินชน้ิ งาน -แบบฝึกหัด เกณฑก์ ารประเมนิ
80% ขึ้นไปถือวา่ ผ่าน
-ตรวจแบบฝกึ หดั -แบบประเมินคณุ ลักษณะท่ี เกณฑก์ ารประเมิน
พึงประสงค์ของนกั เรยี น
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -ประเมนิ คุณลักษณะท่ีพึง รายบคุ คล 80% ขน้ึ ไปถอื วา่ ผ่าน
ประสงค์ของนกั เรียนรายบุคคล -แบบสงั เกตพฤติกรรมการ เกณฑ์การประเมนิ
ทางาน
คณุ ลกั ษณะนิสัย (A) -สงั เกตพฤตกิ รรมในการทางาน

7. สื่อ/ แหล่งการเรียนรู้

1. แผ่นชาร์ตเน้ือเพลง “พายเรือหาเพ่อื น”

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ครูผู้สอน ลงช่ือ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 15

โรงเรยี นขจรเกียรติพฒั นา

แผนจดั การเรียนรู้

ภาคเรียนที่ ...............1/.....................ช่ือผู้สอน...................................................................................
กลุม่ สาระ.........คณิตศาสตร์...........ช้นั ...........ประถมศึกษาปีท่ี.......5....... จานวน...........1………..คาบ
หนว่ ยการเรยี นที่..........2............เรือ่ ง.......................โจทยป์ ญั หาการบวก การลบทศนยิ ม.......................

1 . มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชีว้ ดั

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลทเี่ กดิ ขึน้ จาก

การดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้

2 .สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การแก้โจทย์ปัญหาต้องเริม่ จากการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา การวางแผนแก้โจทยป์ ัญหา การแก้ปัญหาโดยเขียนเป็นประโยค

สัญลกั ษณ์ แสดงวธิ ีทาเปน็ ลาดบั ขนั้ ตอน แลว้ จึงหาคาตอบ พรอ้ มทั้งตรวจสอบ ความสมเหตสุ มผลของคาตอบ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. เมือ่ กาหนดโจทย์ปญั หาการบวก การลบทศนยิ มไม่เกินสามตาแหน่งให้ สามารถวิเคราะห์ หาคาตอบพรอ้ มทง้ั ตระหนักถงึ ความ

สมเหตุสมผลของคาตอบทไ่ี ด้ และแสดงวิธีทาได้(K)

2. อธิบายโจทย์ปัญหาการบวก การลบทศนยิ มไมเ่ กินสามตาแหน่งให้ (P)

3. มคี วามละเอยี ดรอบคอบในการทางาน (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่

เม่อื กาหนดโจทยป์ ัญหาการบวก การลบทศนยิ มไม่เกินสามตาแหน่ง พิจารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ให้ สามารถวิเคราะห์ หาคาตอบพรอ้ มทง้ั ตระหนกั ถงึ ความ

สมเหตุสมผลของคาตอบทไี่ ด้ และแสดงวิธีทาได้

5. กิจกรรมการเรียนรู้
คาบที่ กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1 ขนั้ ท่ี 1 ขัน้ นา
1. ครูทบทวนเรื่องการบวก การลบทศนิยมไมเ่ กนิ สามตาแหนง่ โดยให้นักเรียนร่วมกนั อภิปรายจนได้ข้อสรุปวา่
การบวก การลบทศนยิ มไมเ่ กินสามตาแหนง่ ใช้หลกั การเดียวกับการบวก การลบจานวนนับ คอื นาจานวนที่
อยู่ในหลกั เดยี วกันมาบวก มาลบกัน
ข้ันท่ี 2 ข้ันสอน
2. ครูตดิ แถบโจทย์ปัญหาบนกระดานแล้วใหน้ ักเรียนพจิ ารณาร่วมกนั ดงั นี้

ในการแข่งขนั ปน่ั จกั รยาน 1 ชว่ั โมง พงษป์ ่ันจักรยานไดร้ ะยะทาง 14.675 กิโลเมตร
เอกปนั่ จกั รยานไดร้ ะยะทาง 14.924 กิโลเมตร เอกปน่ั จักรยานไดร้ ะยะทางมากกว่า
หรือน้อยกวา่ พงษ์ก่ีกิโลเมตร

ให้นกั เรยี นช่วยกนั เขยี นประโยคสัญลักษณ์และแสดงวธิ ีทาให้ไดด้ ังนี้

ประโยคสัญลกั ษณ์ 14.924 – 14.675 = 

วธิ ที า เอกปน่ั จกั รยานได้ระยะทาง 14.924 กโิ ลเมตร
กิโลเมตร
พงษป์ นั่ จกั รยานไดร้ ะยะทาง 14.675 กิโลเมตร

เอกปนั่ จกั รยานได้ระยะทางมากกวา่ พงษ์ 0.249

ตอบ เอกปั่นจกั รยานได้ระยะทางมากกว่าพงษ์ 0.249 กโิ ลเมตร

3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน แล้วส่งตัวแทนออกมาสุ่มหยิบแถบโจทย์ปัญหากลุ่มละ 1 ข้อ

และรับกระดาษโปสเตอร์ 1 แผ่น ให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันเขียนประโยคสัญลักษณ์และแสดงวธิ ีทา ตรวจสอบ
ความถูกตอ้ งและความสมเหตสุ มผลของคาตอบ แล้วออกมานาเสนอผลงาน
ข้นั ท่ี 3 ขน้ั สรปุ
4. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้องและความสมเหตสุ มผล ให้คาชมเชยและคาแนะนาเพิม่ เตมิ

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมนิ ผล วิธกี ารวดั ผล เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมินผล
จุดประสงค์
-แบบประเมินชิ้นงาน 80% ขึ้นไปถอื วา่ ผ่าน
ความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) -ประเมินชนิ้ งาน -แบบฝกึ หัด เกณฑก์ ารประเมิน
80% ขึ้นไปถอื ว่าผา่ น
-ตรวจแบบฝกึ หดั -แบบประเมนิ คณุ ลักษณะที่ เกณฑ์การประเมนิ
พึงประสงคข์ องนกั เรยี น
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -ประเมนิ คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ รายบคุ คล 80% ข้ึนไปถือว่าผ่าน
ประสงค์ของนักเรยี นรายบุคคล -แบบสงั เกตพฤติกรรมการ เกณฑก์ ารประเมิน
ทางาน
คณุ ลกั ษณะนสิ ัย (A) -สังเกตพฤติกรรมในการทางาน

7. สื่อ/ แหลง่ การเรยี นรู้

1. แถบโจทย์ปัญหาการบวก การลบทศนยิ ม

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................ครูผู้สอน ลงชือ่ ...................................................ฝา่ ยวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอ่ื ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 16

โรงเรยี นขจรเกียรติพัฒนา

แผนจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี ...............1/.......2562..............ชอ่ื ผูส้ อน..........................................................................
กลมุ่ สาระ.........คณิตศาสตร์...........ชั้น...........ประถมศกึ ษาปีท.่ี ......5....... จานวน...........2………..คาบ
หนว่ ยการเรยี นที่..........2............เร่อื ง.......................โจทยป์ ญั หาการบวก การลบทศนยิ ม.......................

1 . มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ดั

มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลท่เี กดิ ขึน้ จาก

การดาเนนิ การ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้

2 .สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

การแก้โจทย์ปัญหาต้องเรมิ่ จากการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา การวางแผนแกโ้ จทยป์ ัญหา การแก้ปัญหาโดยเขียนเป็นประโยค

สัญลักษณ์ แสดงวิธีทาเปน็ ลาดบั ขั้นตอน แล้วจงึ หาคาตอบ พร้อมท้งั ตรวจสอบ ความสมเหตุสมผลของคาตอบ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. เม่ือกาหนดโจทย์ปัญหาการบวก การลบทศนิยมไม่เกนิ สามตาแหน่งให้ สามารถวเิ คราะห์ หาคาตอบพรอ้ มทง้ั ตระหนักถงึ ความ

สมเหตุสมผลของคาตอบทไี่ ด้ และแสดงวธิ ที าได้(K)

2. อธิบายโจทยป์ ัญหาการบวก การลบทศนยิ มไมเ่ กนิ สามตาแหน่งให้ (P)

3. มีความละเอียดรอบคอบในการทางาน (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถน่ิ

เม่ือกาหนดโจทยป์ ญั หาการบวก การลบทศนยิ มไมเ่ กินสามตาแหน่ง พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา
ให้ สามารถวเิ คราะห์ หาคาตอบพร้อมท้งั ตระหนกั ถงึ ความ

สมเหตุสมผลของคาตอบทไ่ี ด้ และแสดงวธิ ที าได้

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
คาบท่ี กิจกรรมการเรยี นการสอน

1 ข้ันที่ 1 ขน้ั นา
1. ครูทบทวนเรื่องการบวก การลบทศนิยมไม่เกนิ สามตาแหนง่ โดยให้นักเรียนร่วมกันอภปิ รายจนได้ข้อสรุปวา่
การบวก การลบทศนยิ มไมเ่ กินสามตาแหน่ง ใชห้ ลกั การเดยี วกับการบวก การลบจานวนนบั คือ นาจานวนที่
อยู่ในหลักเดยี วกันมาบวก มาลบกนั
ขน้ั ท่ี 2 ขนั้ สอน
2. ครตู ิดแถบโจทย์ปญั หาบนกระดานแล้วใหน้ ักเรยี นพิจารณารว่ มกนั ดงั นี้

ในการแข่งขนั ปน่ั จกั รยาน 1 ชว่ั โมง พงษ์ปนั่ จกั รยานไดร้ ะยะทาง 14.675 กโิ ลเมตร
เอกปนั่ จกั รยานไดร้ ะยะทาง 14.924 กิโลเมตร เอกป่นั จกั รยานได้ระยะทางมากกวา่
หรือน้อยกวา่ พงษ์ก่ีกิโลเมตร

ให้นกั เรยี นช่วยกนั เขยี นประโยคสัญลักษณ์และแสดงวิธีทาให้ได้ดงั นี้

ประโยคสัญลกั ษณ์ 14.924 – 14.675 = 

วธิ ที า เอกปน่ั จกั รยานได้ระยะทาง 14.924 กโิ ลเมตร
กิโลเมตร
พงษป์ นั่ จกั รยานไดร้ ะยะทาง 14.675 กโิ ลเมตร

เอกปนั่ จกั รยานได้ระยะทางมากกวา่ พงษ์ 0.249

ตอบ เอกปั่นจกั รยานได้ระยะทางมากกวา่ พงษ์ 0.249 กโิ ลเมตร

3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน แล้วส่งตัวแทนออกมาสุ่มหยิบแถบโจทย์ปัญหากลุ่มละ 1 ข้อ

และรับกระดาษโปสเตอร์ 1 แผ่น ให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันเขียนประโยคสัญลักษณ์และแสดงวิธีทา ตรวจสอบ
ความถกู ตอ้ งและความสมเหตสุ มผลของคาตอบ แล้วออกมานาเสนอผลงาน
ข้นั ที่ 3 ขน้ั สรปุ
4. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้องและความสมเหตสุ มผล ให้คาชมเชยและคาแนะนาเพิม่ เตมิ

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมินผล วิธกี ารวดั ผล เครอื่ งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมินผล
จุดประสงค์
-แบบประเมนิ ชน้ิ งาน 80% ขึ้นไปถอื วา่ ผา่ น
ความรคู้ วามเข้าใจ (K) -ประเมินชนิ้ งาน -แบบฝึกหัด เกณฑ์การประเมนิ
80% ข้นึ ไปถอื ว่าผา่ น
-ตรวจแบบฝกึ หดั -แบบประเมนิ คณุ ลักษณะท่ี เกณฑ์การประเมนิ
พึงประสงคข์ องนกั เรยี น
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -ประเมนิ คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ รายบคุ คล 80% ข้ึนไปถือว่าผา่ น
ประสงค์ของนักเรยี นรายบุคคล -แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ เกณฑก์ ารประเมิน
ทางาน
คณุ ลกั ษณะนสิ ัย (A) -สังเกตพฤติกรรมในการทางาน

7. สื่อ/ แหลง่ การเรียนรู้

1. แถบโจทยป์ ญั หาการบวก การลบทศนยิ ม

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................ครูผู้สอน ลงชือ่ ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอ่ื ................................................... ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 16

โรงเรยี นขจรเกยี รติพัฒนา

แผนจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี ...............1/.....................ช่อื ผู้สอน.................................................................................
กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร.์ ..........ชนั้ ...........ประถมศึกษาปีที่.......5....... จานวน...........2………..คาบ
หน่วยการเรียนที่..........2............เร่ือง.........การคณู ทศนิยมทีผ่ ลคูณเป็นทศนยิ มไม่เกนิ สามตาแหน่ง............

1 . มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวัด

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลทเี่ กิดขนึ้ จาก

การดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนนิ การ และนาไปใช้

ตัวช้ีวดั ค 1.1 ป.5/6 หาผลคณู ของทศนิยมทผ่ี ลคูณเปน็ ทศนยิ มไม่เกินสามตาแหน่ง

2 .สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

การแก้โจทย์ปัญหาต้องเร่ิมจากการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา การวางแผนแก้โจทยป์ ัญหา การแก้ปัญหาโดยเขียนเป็นประโยค

สัญลกั ษณ์ แสดงวธิ ีทาเป็นลาดับข้ันตอน แล้วจึงหาคาตอบ พรอ้ มท้ังตรวจสอบ ความสมเหตสุ มผลของคาตอบ

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. เม่ือกาหนดโจทย์การคณู ทศนิยมที่ผลคูณเปน็ ทศนยิ มไม่เกนิ สามตาแหนง่ ให้ สามารถหาคาตอบพร้อมท้ังตระหนักถึงความ

สมเหตุสมผลของคาตอบทไ่ี ด้ และแสดงวิธีทาได้(K)

2. อธิบายโจทยก์ ารคูณทศนยิ มทผ่ี ลคูณเป็นทศนิยมไมเ่ กนิ สามตาแหน่งให้ (P)

3. มีความละเอียดรอบคอบในการทางาน (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถิน่

เมือ่ กาหนดโจทย์การคูณทศนยิ มท่ผี ลคูณเปน็ ทศนิยมไม่เกินสาม พิจารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา

ตาแหน่งให้ สามารถหาคาตอบพร้อมทั้งตระหนกั ถงึ ความ

สมเหตุสมผลของคาตอบทไ่ี ด้ และแสดงวธิ ีทาได้

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
คาบที่ กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1 ขั้นท่ี 1 ขน้ั นา
1. ทบทวนการคูณจานวนนบั กับจานวนนับโดยใช้การบวก ดังนี้
5 × 3 = 3 + 3 + 3 + 3 + 3 = 15
3 × 10 = 10 + 10 + 10 = 30
จากนน้ั ครูเขียน 20 + 20 + 20 + 20 ใหน้ กั เรยี นเขยี นในรปู การคูณ (4 × 20)

ครเู ขียน 0.3 + 0.3 + 0.3 + 0.3 แลว้ ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามและทากจิ กรรม ตอ่ ไปนี้
 0.3 + 0.3 + 0.3 + 0.3 เขยี นในรูปการคูณได้อย่างไร (4 × 0.3)
 0.3 + 0.3 + 0.3 + 0.3 ไดผ้ ลลัพธ์เท่าใด (1.2)
 4 × 0.3 ไดผ้ ลลัพธเ์ ท่าใด (1.2)

ครูสรปุ วา่ 4 × 0.3 = 0.3 + 0.3 + 0.3 + 0.3
= 1.2

ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั สอน
2. ครยู กตัวอยา่ งโจทยก์ ารคูณจานวนนบั กบั ทศนิยมอีกหลายๆ ตวั อย่างใหน้ ักเรยี นช่วยกันหาผลคูณ โดยใชก้ าร
บวกซ้าๆ เช่น

2 × 2.4 = 
4 × 0.8 = 
5 × 0.5 = 
6 × 1.2 = 
ข้ันที่ 3 ข้นั สรุป
3. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรปุ วา่ การคูณทศนยิ มกับจานวนนับ อาจทาได้โดยการบวกทศนยิ มน้ัน ซ้าๆ กนั โดย
จานวนของทศนิยมท่ีนามาบวกเทา่ กบั จานวนนับนนั้ จากน้ันใหน้ กั เรียนทาใบงานที่ 18 เรอ่ื ง การคูณทศนิยม
โดยใชก้ ารบวก

6. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมนิ ผล วิธกี ารวัดผล เครอ่ื งมอื วัด เกณฑ์การประเมินผล
จุดประสงค์
-ใบงานท่ี 18 เร่ือง การคูณ 80% ขึ้นไปถือวา่ ผ่าน
ความรู้ความเข้าใจ (K) -ตรวจใบงานที่ 18 เรื่อง การ ทศนยิ มโดยใช้การบวก เกณฑ์การประเมิน
-แบบฝกึ หัด
คูณทศนิยมโดยใชก้ ารบวก 80% ขน้ึ ไปถอื ว่าผ่าน
-แบบประเมนิ คุณลกั ษณะที่ เกณฑ์การประเมนิ
-ตรวจแบบฝึกหัด พงึ ประสงค์ของนกั เรียน
รายบคุ คล 80% ข้ึนไปถอื ว่าผา่ น
ทักษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคุณลกั ษณะท่พี ึง -แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการ เกณฑ์การประเมิน
ประสงคข์ องนักเรียนรายบุคคล ทางาน

คณุ ลกั ษณะนสิ ยั (A) -สงั เกตพฤตกิ รรมในการทางาน

7. สื่อ/ แหลง่ การเรียนรู้

1. ใบงานที่ 18 เรอ่ื ง การคูณทศนิยมโดยใชก้ ารบวก

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงช่อื .............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 17

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี ...............1/.....................ช่ือผู้สอน..................................................................................
กลมุ่ สาระ.........คณิตศาสตร.์ ..........ช้ัน...........ประถมศกึ ษาปีท่.ี ......5....... จานวน...........1………..คาบ
หน่วยการเรยี นที่..........3............เรือ่ ง.................................เตรยี มความพรอ้ ม.......................................

1 . มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความร้ทู างสถติ ิในการแกป้ ัญหา

ตัวชวี้ ัด ค 3.1 ป.5/1 ใชข้ อ้ มูลจากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา

ตวั ช้ีวัด ค 3.1 ป.5/2 เขียนแผนภูมิแท่งจากขอ้ มลู ท่เี ปน็ จานวนนับ

2 .สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การยน่ ระยะของเสน้ แสดงจานวนเหมาะกบั ข้อมูลทีแ่ ตล่ ะรายการมปี รมิ าณมาก ๆ หรือข้อมลู แตล่ ะรายการมปี ริมาณใกล้เคยี งกัน

• แผนภูมิแท่งและแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ เป็นการนาเสนอข้อมูลรูปแบบหนึง่ โดยแผนภูมิแท่งเป็นการนาเสนอขอ้ มูล

เพยี ง 1 ชดุ สว่ นแผนภูมแิ ทง่ เปรยี บเทียบ เปน็ การนาเสนอขอ้ มลู ต้งั แต่ 2 ชดุ ข้นึ ไป

• การอ่านแผนภูมิแท่งท่ีมีการย่นระยะและแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทียบ มีวิธีอ่านเหมือนกัน โดยเทียบส่วนปลายสุดของรปู

สีเ่ หลย่ี มมมุ ฉากแต่ละรูปกับตัวเลขบนเส้นแสดงจา นวน แต่การอ่านแผนภูมแิ ทง่ เปรียบเทียบต้องดูสญั ลกั ษณ์ทีร่ ะบวุ ่าเป็นข้อมูลชุด

ใดประกอบด้วย

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อา่ นแผนภมู แิ ท่งท่ีมกี ารยน่ ระยะ และแผนภมู ิแทง่ เปรยี บเทยี บได้ (K)

2. เขียนแผนภมู แิ ท่งท่มี กี ารย่นระยะและแผนภมู ิแทง่ เปรียบเทียบ (P)

3. รบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ

อา่ นแผนภมู ิแทง่ ท่มี กี ารยน่ ระยะ และแผนภมู ิแทง่ เปรยี บเทียบ พจิ ารณาตามหลักสูตรสถานศกึ ษา

5. กิจกรรมการเรยี นรู้
คาบท่ี กิจกรรมการเรยี นการสอน

1 ข้นั ท่ี 1 ข้ันนา
1. ใช้ขอ้ มลู หน้าเปิดซ่ึงเป็นเน้อื หาใหม่เกี่ยวกบั กราฟเส้นเพอ่ื กระตุ้นความสนใจเกีย่ วกับการนาเสนอข้อมลู โดยใช้
คาถาม เชน่
• การนาเสนอขอ้ มูลดงั กล่าวเป็นการนาเสนอเกย่ี วกับเร่ืองใด

• การนาเสนอขอ้ มลู น้ีมลี ักษณะแตกต่างจากท่ีเคยเรียนมาหรอื ไม่ อยา่ งไร
• ควรจะเรียกการนาเสนอข้อมูลลักษณะเช่นน้ีว่าอย่างไร เพราะเหตุใด คาตอบของนักเรียนอาจ
แตกตา่ งกนั

ขั้นท่ี 2 ข้ันสอน
2. ครูไม่จาเป็นต้องเฉลย ควรให้นักเรียนเป็นผู้หาคาตอบเองหลังจากเรียนเร่ืองกราฟเส้น ครูควรให้ความรู้
เพมิ่ เติมเกีย่ วกบั โรคไข้เลือดออกและนาสนทนาเกยี่ วกบั วิธีการปอ้ งกนั โรคไขเ้ ลือดออก
3. เตรยี มความพร้อมเปน็ การตรวจสอบความรู้ พน้ื ฐานที่จาเปน็ สาหรบั การเรยี นบทน้ี โดยอาจจัด กิจกรรมดงั นี้

- ทบทวนความรู้เกี่ยวกับลักษณะ และส่วนประกอบของแผนภูมิแท่ง รูปแบบของแผนภูมิแท่ง การ
อา่ นและการเขียน แผนภูมิแท่ง ซ่ึงครคู วรเนน้ ย้าเก่ยี วกับ การแบ่งระยะบนเส้นแสดงจานวน
4. แล้วให้นกั เรยี นทา กิจกรรมหนา้ 124 หนงั สือเรียนรายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน ป.5 เลม่ 1 (สสวท.)

- ทบทวนการอ่านตาราง โดยใช้ขอ้ มลู ข้อ 3 หนา้ 125 ครูอาจใหค้ วามรู้เพิม่ เติมเก่ียวกับโรคเบาหวาน
และนาสนทนา ถงึ สาเหตุและการปอ้ งกนั การเกิดโรคเบาหวาน

ขัน้ ที่ 3 ข้นั สรปุ
5. จากน้นั ใหท้ า แบบฝึกหัด 3.1 ในแบบฝึกหดั รายวชิ าคณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.) เป็นรายบุคคล

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวดั และประเมินผล วธิ ีการวัดผล เครือ่ งมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์
-แบบประเมนิ ช้ินงาน 80% ขึ้นไปถอื วา่ ผ่าน
ความรู้ความเข้าใจ (K) -ประเมินชิน้ งาน -แบบฝึกหัด เกณฑ์การประเมิน
80% ขึน้ ไปถือวา่ ผ่าน
-ตรวจแบบฝกึ หัด -แบบประเมินคณุ ลักษณะที่ เกณฑก์ ารประเมนิ
พงึ ประสงคข์ องนกั เรยี น
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -ประเมนิ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ รายบุคคล 80% ขึ้นไปถอื วา่ ผ่าน
ประสงคข์ องนกั เรียนรายบคุ คล -แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการ เกณฑ์การประเมนิ
ทางาน
คุณลกั ษณะนสิ ยั (A) -สงั เกตพฤติกรรมในการทางาน

7. สื่อ/ แหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สือเรยี นรายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.)
2. แบบฝึกหดั รายวชิ าคณิตศาสตร์พน้ื ฐาน ป.5 เลม่ 1 (สสวท.)

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .............................................ครูผู้สอน ลงชอื่ ...................................................ฝา่ ยวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอ่ื ................................................... ผูบ้ รหิ าร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 17

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนจัดการเรียนรู้

ภาคเรยี นท่ี ...............1/.....................ช่อื ผู้สอน..................................................................................
กลุ่มสาระ.........คณติ ศาสตร์...........ชน้ั ...........ประถมศึกษาปีท.ี่ ......5....... จานวน...........1………..คาบ
หนว่ ยการเรยี นท่ี..........3............เรื่อง.................................แผนภมู แิ ท่ง...............................................

1 . มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วดั

มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามร้ทู างสถติ ิในการแก้ปญั หา

ตวั ช้ีวดั ค 3.1 ป.5/1 ใชข้ อ้ มลู จากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา

ตัวช้วี ดั ค 3.1 ป.5/2 เขยี นแผนภมู ิแท่งจากข้อมลู ทเ่ี ปน็ จานวนนบั

2 .สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

การย่นระยะของเส้นแสดงจานวนเหมาะกบั ข้อมูลท่แี ตล่ ะรายการมีปริมาณมาก ๆ หรอื ข้อมลู แต่ละรายการมีปริมาณใกลเ้ คียงกนั

• แผนภูมิแท่งและแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ เป็นการนาเสนอขอ้ มูลรูปแบบหน่ึง โดยแผนภูมิแท่งเป็นการนาเสนอขอ้ มลู

เพยี ง 1 ชุด ส่วนแผนภูมิแท่งเปรียบเทยี บ เปน็ การนาเสนอขอ้ มลู ต้ังแต่ 2 ชดุ ขึ้นไป

• การอ่านแผนภมู ิแท่งท่ีมีการย่นระยะและแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ มีวิธีอ่านเหมือนกัน โดยเทียบส่วนปลายสุดของรูป

สี่เหล่ียมมมุ ฉากแต่ละรูปกับตัวเลขบนเส้นแสดงจา นวน แต่การอา่ นแผนภูมแิ ทง่ เปรียบเทียบต้องดูสัญลกั ษณ์ทีร่ ะบุว่าเปน็ ข้อมูลชุด

ใดประกอบด้วย

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อา่ นแผนภมู ิแท่งทีม่ กี ารยน่ ระยะ และแผนภมู แิ ท่งเปรยี บเทียบได้ (K)

2. เขียนแผนภูมิแทง่ ทม่ี ีการยน่ ระยะและแผนภมู แิ ท่งเปรยี บเทยี บ (P)

3. รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ที ไ่ี ด้รับมอบหมาย (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น

อ่านแผนภูมแิ ท่งทมี่ ีการย่นระยะ และแผนภมู ิแท่งเปรยี บเทียบ พิจารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
คาบที่ กิจกรรมการเรยี นการสอน

1 ขัน้ ท่ี 1 ข้ันนา
1. ครูติดแผนภูมิแท่งแสดงจานวนผู้ใช้บริการห้องสมุดชุมชน แบบท่ี 1 หน้า 126 ให้นักเรียนอ่านข้อมูลจาก
แผนภูมิ ร่วมกันพิจารณาผลการอ่านข้อมูลของแต่ละคน ซ่ึงจะพบว่า นักเรียนอ่านข้อมูลได้ไม่ตรงกัน แล้ว
รว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกับสาเหตุท่อี า่ นขอ้ มูลได้ไม่ตรงกนั และหาวิธที ่ีจะช่วยให้ การอ่านข้อมลู ไดต้ รงกัน

ขัน้ ที่ 2 ขน้ั สอน
2. จากนน้ั ครูติดภาพแผนภูมิแทง่ แบบท่ี 2 แลว้ ใหน้ กั เรยี นอ่านข้อมูลอีกครั้ง แลว้ เปรยี บเทียบผลการอ่านข้อมูล
ระหว่าง แบบที่ 1 กับ แบบที่ 2 จากนั้นให้ร่วมกันอภิปรายเพอื่ ให้ได้ข้อสงั เกต ว่าการนา เสนอขอ้ มูลดว้ ยแผนภมู ิ
แทง่ แบบท่ี 2 จะช่วยให้การอา่ นขอ้ มลู มีความถกู ตอ้ งชดั เจนมากขึ้น

3. ให้นักเรียนสังเกตแผนภูมิแท่ง แบบท่ี 1 กับแบบที่ 2 ว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร โดย
ร่วมกันอภิปราย ถึงความเหมือนและความแตกต่างของแผนภูมิท้ัง 2 แบบ ซ่ึงจะได้ว่า ท้ังสองแบบมี
ส่วนประกอบเหมือนกัน แต่แบบที่ 2 มีการย่นระยะบนเส้นแสดงจานวน ทาให้การแสดงข้อมูลของแต่ละ
รายการมีความละเอียด ชัดเจนขึ้น การอ่านข้อมูล จึงอ่านได้ถูกต้องยิ่งขึ้น ดังน้ันการนาเสนอข้อมูลด้วย
แผนภูมิแท่งที่มีการย่นระยะของเส้นแสดงจา นวนเหมาะกับข้อมูล ท่ีแต่ละรายการมี ปริมาณมาก ๆ หรือ
ข้อมูลท่ีแต่ละรายการมีปริมาณใกลเ้ คียงกันมาก รวมท้ังระยะห่างระหว่างรูปสี่เหล่ียมมุมฉาก แต่ละรูปควร
เทา่ กัน
4. เพ่ือฝึกทักษะการอ่านแผนภูมิแท่งที่มีการย่นระยะ ให้นักเรียนร่วมกันตอบคาถามโดยใช้ข้อมูล หน้า 127
หนังสือเรียนรายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ นื้ ฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.) และครูอาจต้งั คาถามเพิม่ เติม เช่น

- เขตพื้นที่ที่นักเรียนอาศัยอยูม่ ีผเู้ สยี ชวี ติ กคี่ น
- เขตพ้นื ทใ่ี ดทีม่ ผี ู้เสยี ชวี ติ นอ้ ยกว่า 50 คน
- เขตพนื้ ที่ทีม่ ีผ้เู สยี ชีวติ มากท่สี ดุ กับนอ้ ยทสี่ ุด ต่างกันเทา่ ใด
ข้นั ที่ 3 ข้นั สรปุ
5. จากน้ันให้นักเรียนปฏิบัติตามกิจกรรม หน้า 128 – 129 หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน
ป.5 เล่ม 1 (สสวท.) ครูแนะนาการจาแนกประเภทของ ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ พร้อมให้นักเรียน
ทดลองยกตวั อย่างข้อมลู แตล่ ะประเภท แล้วให้ทา แบบฝึกหดั 3.2 ในแบบฝึกหดั รายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ นื้ ฐาน ป.
5 เล่ม 1 (สสวท.) เปน็ รายบคุ คล
6. เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ท่ีได้ ให้นักเรียนทา กิจกรรมหน้า 130 เป็นรายบุคคลถ้าไม่
เสรจ็ ใหเ้ อากลับไปทาเปน็ การบ้านและส่งคาบถัดไป

6. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมนิ ผล วธิ กี ารวัดผล เครอื่ งมือวัด เกณฑก์ ารประเมินผล
จุดประสงค์
-แบบประเมนิ ชนิ้ งาน 80% ขน้ึ ไปถือว่าผ่าน
ความรู้ความเขา้ ใจ (K) -ประเมนิ ชิ้นงาน -แบบฝึกหัด เกณฑ์การประเมนิ
80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน
-ตรวจแบบฝึกหดั -แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะท่ี เกณฑ์การประเมนิ
พงึ ประสงคข์ องนกั เรยี น
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -ประเมนิ คณุ ลกั ษณะที่พงึ รายบุคคล 80% ขนึ้ ไปถือวา่ ผ่าน
ประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล -แบบสงั เกตพฤติกรรมการ เกณฑ์การประเมนิ
ทางาน
คุณลักษณะนิสยั (A) -สังเกตพฤติกรรมในการทางาน

7. ส่ือ/ แหลง่ การเรียนรู้

1. หนังสอื เรยี นรายวิชาคณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน ป.5 เลม่ 1 (สสวท.)
2. แบบฝึกหัดรายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ืน้ ฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.)
3. แผนภมู ิแท่งแสดงจา นวนผ้ใู ช้บริการหอ้ งสมดุ ชมุ ชนทไี่ มม่ ีการย่นระยะ (แบบที่ 1)
4. แผนภมู ิแท่งแสดงจา นวนผู้ใช้บรกิ ารหอ้ งสมุดชุมชนทม่ี ีการย่นระยะ (แบบท่ี 2)

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................ครูผู้สอน ลงชือ่ ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอ่ื ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 17

โรงเรยี นขจรเกียรตพิ ัฒนา

แผนจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี ...............1/.....................ชือ่ ผู้สอน..................................................................................
กลุ่มสาระ.........คณติ ศาสตร์...........ช้นั ...........ประถมศกึ ษาปีท่ี.......5....... จานวน...........1………..คาบ
หน่วยการเรียนที่..........3............เรื่อง.................................แผนภมู แิ ท่ง...............................................

1 . มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั

มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรทู้ างสถติ ิในการแก้ปญั หา

ตวั ชว้ี ดั ค 3.1 ป.5/1 ใช้ข้อมลู จากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา

ตวั ชีว้ ัด ค 3.1 ป.5/2 เขียนแผนภูมิแทง่ จากขอ้ มูลทเ่ี ปน็ จานวนนบั

2 .สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

การยน่ ระยะของเสน้ แสดงจานวนเหมาะกับข้อมูลท่ีแตล่ ะรายการมปี ริมาณมาก ๆ หรือขอ้ มลู แต่ละรายการมีปริมาณใกลเ้ คียงกนั

• แผนภูมิแท่งและแผนภูมิแท่งเปรยี บเทียบ เป็นการนาเสนอขอ้ มูลรูปแบบหนง่ึ โดยแผนภูมิแท่งเป็นการนาเสนอขอ้ มลู

เพยี ง 1 ชุด สว่ นแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทยี บ เปน็ การนาเสนอข้อมูลต้ังแต่ 2 ชดุ ข้ึนไป

• การอ่านแผนภมู ิแท่งท่ีมีการยน่ ระยะและแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทียบ มีวิธีอ่านเหมือนกัน โดยเทียบส่วนปลายสุดของรปู

สี่เหลย่ี มมุมฉากแต่ละรูปกับตวั เลขบนเส้นแสดงจา นวน แต่การอ่านแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทียบต้องดูสัญลักษณ์ที่ระบวุ ่าเปน็ ข้อมูลชุด

ใดประกอบดว้ ย

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อ่านแผนภมู แิ ท่งทีม่ ีการยน่ ระยะ และแผนภมู ิแท่งเปรียบเทียบได้ (K)

2. เขยี นแผนภมู ิแท่งทีม่ ีการยน่ ระยะและแผนภูมแิ ทง่ เปรยี บเทยี บ (P)

3. รบั ผดิ ชอบต่อหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ

อ่านแผนภมู ิแท่งท่มี กี ารยน่ ระยะ และแผนภูมิแทง่ เปรยี บเทยี บ พจิ ารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
คาบท่ี กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1 ข้นั ที่ 1 ข้นั นา
1. ครูติดแผนภูมิแท่งแสดงน้า หนักของสัตว์น้า ที่ชาวประมงจับได้ในเดือนพฤศจิกายน และเดือนธันวาคมให้
นักเรยี นตอบคาถาม เชน่
• เดือนพฤศจกิ ายนชาวประมงจบั ปลาไดม้ ากกว่าก้งุ เท่าใด

• เดอื นธันวาคมชาวประมงจับหอยได้น้อยกว่าหมึกไดเ้ ทา่ ใด
• เดอื นพฤศจิกายนกบั เดือนธันวาคมเดอื นใดชาวประมงจับปไู ด้มากกวา่ และมากกวา่ กนั อยเู่ ท่าใด
• สตั วน์ า้ ชนดิ ใดบา้ งที่ชาวประมงจับในเดือนธันวาคม ได้นอ้ ยกวา่ เดือนพฤศจกิ ายน

ขนั้ ท่ี 2 ขนั้ สอน
2. จากตัวอยา่ งคาถาม จะเห็นได้ว่า 2 คาถามแรกนกั เรียนสามารถตอบได้โดยอา่ นข้อมูลจากแตล่ ะแผนภูมิ แต่ 2
คาถามหลงั นกั เรยี นตอ้ งพจิ ารณาข้อมูลจากแผนภูมทิ ้งั สองเพอื่ ตอบคา ถาม ซึง่ ไม่สะดวก

3. จากนั้นครูตดิ แผนภูมิแทง่ เปรียบเทียบท่ีได้จากการนา ข้อมูลของเดือนพฤศจกิ ายนและเดือนธนั วาคม
มาเขียนไว้ในแผนภูมิเดียวกัน พร้อมแนะนาว่าเป็นการนาเสนอข้อมูลด้วย แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ แล้วให้
นักเรียนพิจารณาว่าการหาคาตอบของคาถาม 2 คาถามหลัง ถ้าพิจารณาจากแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบจะหา
คาตอบได้ง่ายและสะดวกกว่าทั้งน้ีครูอาจตั้งคาถามเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนตอบโดยใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง
เปรียบเทียบ

4. ครูให้นักเรียนฝึกการอ่านแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ โดยใช้ข้อมูล หน้า 132 หนังสือเรียนรายวิชา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.) แล้วร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับ ลักษณะของข้อมูลที่สามารถนา เสนอ
ด้วยแผนภูมิแท่ง เปรียบเทียบ เพื่อให้ไดข้ อ้ สรปุ ทีว่ ่า การนาเสนอข้อมลู ด้วย แผนภูมิแท่งเปรียบเทยี บเป็นการ
นาเสนอข้อมูลมากกว่า 1 ชุด ที่เป็นเร่ืองเดียวกันและมีลักษณะเดียวกัน ซึ่งในการนาเสนอต้องมีสัญลักษณ์
แสดงข้อมลู แต่ละชุด

ข้นั ท่ี 3 ข้นั สรปุ
5. ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ิกิจกรรม หน้า 133-134 หนงั สอื เรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน ป.5 เลม่ 1 (สสวท.) และ
ครูนา สนทนาเกี่ยวกับเข่ือนในประเทศไทย และการใช้ประโยชน์จากเข่ือน แล้วทา แบบฝึกหัด 3.3 ใน
แบบฝึกหดั รายวิชาคณติ ศาสตรพ์ ้นื ฐาน ป.5 เลม่ 1 (สสวท.) เป็นรายบคุ คล
6. เพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ให้นักเรยี นทา กจิ กรรมหนา้ 135 เป็นรายบุคคล

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมินผล วิธกี ารวัดผล เครอ่ื งมอื วดั เกณฑ์การประเมินผล
จดุ ประสงค์
-แบบประเมนิ ชนิ้ งาน 80% ข้นึ ไปถอื ว่าผ่าน
ความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) -ประเมนิ ชิน้ งาน -แบบฝกึ หัด เกณฑ์การประเมิน
80% ข้นึ ไปถือวา่ ผ่าน
-ตรวจแบบฝกึ หดั -แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะที่ เกณฑ์การประเมิน
พงึ ประสงค์ของนกั เรยี น
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคุณลักษณะท่ีพงึ รายบุคคล 80% ขน้ึ ไปถือวา่ ผา่ น
ประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล -แบบสงั เกตพฤติกรรมการ เกณฑ์การประเมิน
ทางาน
คณุ ลกั ษณะนิสยั (A) -สงั เกตพฤตกิ รรมในการทางาน

7. ส่ือ/ แหล่งการเรียนรู้

1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.)
2. แบบฝึกหัดรายวิชาคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.)
3. แผนภมู ิแทง่ แสดงน้า หนักของสตั ว์น้าที่ชาวประมงจับไดใ้ นเดอื นพฤศจิกายน
4. แผนภูมแิ ทง่ แสดงนา้ หนักของสตั ว์น้าท่ีชาวประมงจบั ได้ในเดอื นธันวาคม
5. แผนภมู ิแทง่ เปรยี บเทียบท่ีชาวประมงจับได้ในเดอื นพฤศจิกายนและเดือนธนั วาคม

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .............................................ครูผู้สอน ลงช่อื ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 17

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนท่ี ...............1/.....................ช่ือผู้สอน..................................................................................
กล่มุ สาระ.........คณติ ศาสตร์...........ช้ัน...........ประถมศึกษาปีท.ี่ ......5....... จานวน...........1………..คาบ
หนว่ ยการเรียนท่ี..........3............เรอื่ ง.................................แผนภมู ิแท่ง...............................................

1 . มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรู้ทางสถิติในการแก้ปญั หา

ตวั ช้วี ัด ค 3.1 ป.5/1 ใชข้ ้อมลู จากกราฟเสน้ ในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา

ตัวชีว้ ัด ค 3.1 ป.5/2 เขียนแผนภูมิแทง่ จากข้อมูลทเี่ ปน็ จานวนนบั

2 .สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

การยน่ ระยะของเส้นแสดงจานวนเหมาะกบั ข้อมลู ทแี่ ต่ละรายการมีปรมิ าณมาก ๆ หรือข้อมลู แต่ละรายการมีปริมาณใกล้เคียงกัน

• แผนภูมิแท่งและแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ เป็นการนาเสนอข้อมูลรูปแบบหน่งึ โดยแผนภูมิแท่งเป็นการนาเสนอข้อมูล

เพยี ง 1 ชดุ สว่ นแผนภมู ิแท่งเปรยี บเทียบ เปน็ การนาเสนอขอ้ มลู ตงั้ แต่ 2 ชุดขน้ึ ไป

• การอ่านแผนภมู ิแท่งท่ีมีการย่นระยะและแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทียบ มีวิธีอ่านเหมือนกัน โดยเทียบส่วนปลายสุดของรปู

สีเ่ หลยี่ มมุมฉากแต่ละรูปกับตวั เลขบนเสน้ แสดงจา นวน แตก่ ารอ่านแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทียบตอ้ งดูสัญลกั ษณ์ทีร่ ะบุว่าเปน็ ข้อมูลชุด

ใดประกอบด้วย

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อ่านแผนภมู ิแทง่ ท่ีมีการย่นระยะ และแผนภูมิแท่งเปรยี บเทยี บได้ (K)

2. เขียนแผนภูมแิ ท่งท่มี ีการยน่ ระยะและแผนภมู แิ ท่งเปรียบเทยี บ (P)

3. รับผิดชอบตอ่ หน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถิน่

อ่านแผนภมู แิ ทง่ ท่ีมีการยน่ ระยะ และแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทยี บ พิจารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา

5. กิจกรรมการเรยี นรู้
คาบท่ี กิจกรรมการเรยี นการสอน

1 ข้ันที่ 1 ขั้นนา
1. ครูติดแผนภูมิแท่งแสดงน้า หนักของสัตว์น้า ท่ีชาวประมงจับได้ในเดือนพฤศจิกายน และเดือนธันวาคมให้
นักเรยี นตอบคาถาม เช่น

• เดือนพฤศจิกายนชาวประมงจบั ปลาได้มากกวา่ กุง้ เทา่ ใด
• เดอื นธนั วาคมชาวประมงจับหอยได้นอ้ ยกว่าหมกึ ไดเ้ ทา่ ใด
• เดือนพฤศจิกายนกบั เดอื นธนั วาคมเดือนใดชาวประมงจบั ปูได้มากกว่า และมากกวา่ กันอยู่เท่าใด
• สตั ว์นา้ ชนดิ ใดบ้างท่ีชาวประมงจับในเดอื นธนั วาคม ได้น้อยกวา่ เดอื นพฤศจิกายน

ขนั้ ท่ี 2 ขัน้ สอน
2. จากตัวอยา่ งคาถาม จะเห็นไดว้ า่ 2 คาถามแรกนักเรยี นสามารถตอบไดโ้ ดยอ่านข้อมลู จากแตล่ ะแผนภูมิ แต่ 2
คาถามหลงั นักเรยี นตอ้ งพิจารณาขอ้ มูลจากแผนภมู ิทั้งสองเพอ่ื ตอบคา ถาม ซ่ึงไม่สะดวก

3. จากนน้ั ครูติดแผนภมู ิแท่งเปรียบเทียบที่ได้จากการนา ข้อมูลของเดือนพฤศจิกายนและเดือนธันวาคม
มาเขียนไว้ในแผนภูมิเดียวกัน พร้อมแนะนาว่าเป็นการนาเสนอข้อมูลด้วย แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ แล้วให้
นักเรียนพิจารณาว่าการหาคาตอบของคาถาม 2 คาถามหลัง ถ้าพิจารณาจากแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบจะหา
คาตอบได้ง่ายและสะดวกกว่าท้ังนี้ครูอาจต้ังคาถามเพ่ิมเติมเพ่ือให้นักเรียนตอบโดยใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง
เปรยี บเทยี บ

4. ครูให้นักเรียนฝึกการอ่านแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ โดยใช้ข้อมูล หน้า 132 หนังสือเรียนรายวิชา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.) แล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ ลักษณะของข้อมูลที่สามารถนา เสนอ
ดว้ ยแผนภูมิแทง่ เปรียบเทยี บ เพือ่ ให้ได้ขอ้ สรปุ ท่ีว่า การนาเสนอข้อมลู ด้วย แผนภูมิแทง่ เปรียบเทยี บเปน็ การ
นาเสนอข้อมูลมากกว่า 1 ชุด ท่ีเป็นเร่ืองเดียวกันและมีลักษณะเดียวกัน ซึ่งในการนาเสนอต้องมีสัญลักษณ์
แสดงขอ้ มลู แต่ละชดุ

ข้นั ที่ 3 ข้นั สรปุ
5. ใหน้ กั เรยี นปฏิบตั กิ ิจกรรม หนา้ 133-134 หนงั สือเรียนรายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ น้ื ฐาน ป.5 เลม่ 1 (สสวท.) และ
ครูนา สนทนาเกี่ยวกับเขื่อนในประเทศไทย และการใช้ประโยชน์จากเข่ือน แล้วทา แบบฝึกหัด 3.3 ใน
แบบฝกึ หดั รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.) เปน็ รายบคุ คล
6. เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรทู้ ี่ได้ใหน้ ักเรยี นทา กิจกรรมหน้า 135 เปน็ รายบคุ คล

6. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้

การวดั และประเมินผล วิธกี ารวดั ผล เครอ่ื งมือวดั เกณฑ์การประเมินผล
จดุ ประสงค์
-แบบประเมนิ ชนิ้ งาน 80% ข้ึนไปถอื ว่าผ่าน
ความร้คู วามเข้าใจ (K) -ประเมินชิ้นงาน -แบบฝกึ หัด เกณฑ์การประเมิน
80% ข้ึนไปถอื ว่าผ่าน
-ตรวจแบบฝกึ หดั -แบบประเมนิ คุณลกั ษณะท่ี เกณฑก์ ารประเมนิ
พงึ ประสงค์ของนกั เรยี น
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคุณลักษณะท่ีพึง รายบุคคล 80% ขึ้นไปถือวา่ ผา่ น
ประสงคข์ องนกั เรียนรายบคุ คล -แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ เกณฑก์ ารประเมนิ
ทางาน
คณุ ลกั ษณะนสิ ยั (A) -สังเกตพฤติกรรมในการทางาน

7. ส่ือ/ แหลง่ การเรียนรู้

1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าคณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน ป.5 เลม่ 1 (สสวท.)
2. แบบฝึกหัดรายวิชาคณติ ศาสตรพ์ ืน้ ฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.)
3. แผนภูมิแทง่ แสดงน้า หนักของสตั ว์น้าท่ีชาวประมงจบั ได้ในเดอื นพฤศจิกายน
4. แผนภูมิแทง่ แสดงน้า หนกั ของสตั วน์ ้าท่ีชาวประมงจบั ไดใ้ นเดือนธันวาคม
5. แผนภูมแิ ท่งเปรยี บเทียบที่ชาวประมงจบั ไดใ้ นเดือนพฤศจิกายนและเดือนธันวาคม

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 17

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนที่ ...............1/.....................ชอ่ื ผู้สอน..................................................................................
กลมุ่ สาระ.........คณิตศาสตร.์ ..........ชัน้ ...........ประถมศกึ ษาปีที่.......5....... จานวน...........1………..คาบ
หน่วยการเรยี นท่ี..........3............เรอ่ื ง.................................แผนภมู ิแท่ง...............................................

1 . มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวดั

มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถิติในการแกป้ ัญหา

ตวั ชี้วัด ค 3.1 ป.5/1 ใชข้ ้อมลู จากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา

ตวั ชีว้ ดั ค 3.1 ป.5/2 เขียนแผนภูมิแทง่ จากข้อมลู ที่เป็นจานวนนับ

2 .สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

การยน่ ระยะของเสน้ แสดงจานวนเหมาะกบั ขอ้ มลู ทแี่ ต่ละรายการมปี รมิ าณมาก ๆ หรอื ข้อมลู แต่ละรายการมีปรมิ าณใกล้เคียงกนั

• แผนภูมิแท่งและแผนภูมิแท่งเปรยี บเทียบ เป็นการนาเสนอข้อมูลรูปแบบหนง่ึ โดยแผนภูมิแท่งเป็นการนาเสนอข้อมูล

เพียง 1 ชุด ส่วนแผนภมู ิแท่งเปรียบเทียบ เป็นการนาเสนอข้อมลู ตัง้ แต่ 2 ชุดข้นึ ไป

• การอ่านแผนภูมิแท่งที่มีการย่นระยะและแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทียบ มีวิธีอ่านเหมือนกัน โดยเทียบส่วนปลายสุดของรปู

สเี่ หลีย่ มมุมฉากแต่ละรูปกับตัวเลขบนเสน้ แสดงจา นวน แต่การอ่านแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบต้องดูสัญลกั ษณ์ทรี่ ะบุว่าเปน็ ข้อมูลชุด

ใดประกอบดว้ ย

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อ่านแผนภูมแิ ทง่ ที่มีการยน่ ระยะ และแผนภมู แิ ทง่ เปรียบเทยี บได้ (K)

2. เขียนแผนภูมิแท่งท่ีมกี ารยน่ ระยะและแผนภมู ิแท่งเปรียบเทียบ (P)

3. รับผิดชอบต่อหนา้ ท่ที ี่ได้รับมอบหมาย (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถน่ิ

อา่ นแผนภมู ิแท่งทม่ี ีการยน่ ระยะ และแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทยี บ พจิ ารณาตามหลกั สูตรสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
คาบท่ี กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1 ข้ันท่ี 1 ขั้นนา
1. การเขียนแผนภูมิแท่งที่มีการย่นระยะ ครูควรทบทวนส่วนประกอบของแผนภูมิแท่งก่อน แล้วร่วมกัน
พิจารณาตารางแสดงจา นวนนกั เรียนชัน้ ป.1- ป.6 หนา้ 136 แลว้ รว่ มกนั อภิปรายเกย่ี วกับปริมาณของขอ้ มลู แต่
ละรายการ และการกาหนดช่วงบนเสน้ แสดงจา นวนเพอื่ เช่อื มโยงไปสกู่ ารนาเสนอขอ้ มูลด้วยแผนภมู ิแทง่ ท่ีมกี าร
ยน่ ระยะ

ขั้นที่ 2 ข้ันสอน
2. ครูนาตารางแสดงจานวนผู้ต้องหาคดียาเสพติดหน้า 137 และกระดาษกราฟแผ่นใหญ่ติดบนกระดานให้
นกั เรียนรว่ มกันกา หนดชว่ งบนเสน้ แสดงจานวนแลว้ ใหต้ ัวแทนนกั เรียนเขยี นแผนภมู ิแทง่ จากข้อมูลดงั กลา่ ว
ครูแนะนาว่ากรณีท่ีข้อมูลแต่ละรายการมีปริมาณใกล้เคียงกันมาก นอกจากจะใช้การย่นระยะบนเส้นแสดงจา
นวนแล้วอาจเขียนตวั เลขแสดงจา นวนกา กบั ไวท้ ่ีรปู สเ่ี หล่ียมมุมฉากแตล่ ะรปู

ขัน้ ท่ี 3 ข้นั สรุป
3. ครูให้นักเรียนร่วมกันทา กิจกรรม หน้า 138 หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.)
โดยครูควรเน้นย้า เร่ืองการเขียนส่วนประกอบของแผนภูมิแท่งท่ีมีการย่นระยะให้ครบถ้วนและทา แบบฝึกหัด
3.4 ในแบบฝึกหัดรายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.) เป็นรายบุคคล
4. เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรทู้ ่ไี ด้ ใหน้ กั เรยี นทา กิจกรรมหน้า 138 เป็นรายบคุ คล

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมินผล วธิ ีการวดั ผล เครื่องมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์
-แบบประเมินช้ินงาน 80% ขึน้ ไปถือวา่ ผ่าน
ความรคู้ วามเข้าใจ (K) -ประเมนิ ชิน้ งาน -แบบฝกึ หัด เกณฑก์ ารประเมิน
80% ข้นึ ไปถอื วา่ ผา่ น
-ตรวจแบบฝึกหัด -แบบประเมินคุณลักษณะท่ี เกณฑ์การประเมิน
พงึ ประสงค์ของนกั เรียน
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -ประเมนิ คุณลกั ษณะทพี่ ึง รายบคุ คล 80% ขึ้นไปถอื วา่ ผา่ น
ประสงค์ของนกั เรียนรายบุคคล -แบบสงั เกตพฤติกรรมการ เกณฑก์ ารประเมนิ
ทางาน
คณุ ลักษณะนิสยั (A) -สงั เกตพฤติกรรมในการทางาน

7. ส่ือ/ แหลง่ การเรียนรู้

1. หนังสอื เรยี นรายวิชาคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน ป.5 เลม่ 1 (สสวท.)
2. แบบฝกึ หัดรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.)
3. กระดาษกราฟแผ่นใหญ่
4. ดนิ สอสี
5. ไม้บรรทดั

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................ครูผู้สอน ลงช่ือ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ................................................... ผ้บู ริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 18

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนที่ ...............1/.....................ชอ่ื ผู้สอน..................................................................................
กลมุ่ สาระ.........คณิตศาสตร.์ ..........ชัน้ ...........ประถมศกึ ษาปีที่.......5....... จานวน...........1………..คาบ
หน่วยการเรยี นท่ี..........3............เรอ่ื ง.................................แผนภมู ิแท่ง...............................................

1 . มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวดั

มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถิติในการแกป้ ัญหา

ตวั ชี้วัด ค 3.1 ป.5/1 ใชข้ ้อมลู จากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา

ตวั ชีว้ ดั ค 3.1 ป.5/2 เขียนแผนภูมิแทง่ จากข้อมลู ที่เป็นจานวนนับ

2 .สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

การยน่ ระยะของเสน้ แสดงจานวนเหมาะกบั ขอ้ มลู ทแี่ ต่ละรายการมปี รมิ าณมาก ๆ หรอื ข้อมูลแตล่ ะรายการมีปรมิ าณใกล้เคียงกนั

• แผนภูมิแท่งและแผนภูมิแท่งเปรยี บเทียบ เป็นการนาเสนอข้อมูลรูปแบบหน่ึง โดยแผนภูมิแท่งเป็นการนาเสนอข้อมลู

เพียง 1 ชุด ส่วนแผนภมู ิแท่งเปรียบเทียบ เป็นการนาเสนอข้อมลู ตง้ั แต่ 2 ชุดข้นึ ไป

• การอ่านแผนภูมิแท่งที่มีการย่นระยะและแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทียบ มีวิธีอ่านเหมือนกัน โดยเทียบส่วนปลายสุดของรูป

สเี่ หลีย่ มมุมฉากแต่ละรูปกับตัวเลขบนเสน้ แสดงจา นวน แต่การอ่านแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบต้องดูสัญลกั ษณ์ทรี่ ะบุว่าเปน็ ข้อมูลชุด

ใดประกอบดว้ ย

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อ่านแผนภูมแิ ทง่ ที่มีการยน่ ระยะ และแผนภมู แิ ทง่ เปรียบเทยี บได้ (K)

2. เขียนแผนภูมิแท่งท่ีมกี ารยน่ ระยะและแผนภมู ิแท่งเปรียบเทียบ (P)

3. รับผิดชอบต่อหนา้ ท่ที ี่ได้รับมอบหมาย (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถนิ่

อา่ นแผนภมู ิแท่งทม่ี ีการยน่ ระยะ และแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทยี บ พจิ ารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา

5. กิจกรรมการเรยี นรู้
คาบที่ กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1 ข้นั ที่ 1 ข้นั นา
1. การสอนการเขียนแผนภมู ิแทง่ เปรยี บเทยี บ ครคู วรทบทวนเกีย่ วกับส่วนประกอบของแผนภูมิแทง่ เปรยี บเทียบ
แล้วร่วมกันพิจารณาตารางแสดงจา นวนนักเรียน ช้ัน ป.1-ป.6 ของ รร.ดุสิตา หน้า 139 หนังสือเรียนรายวิชา
คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.) แล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลจากตารางสองทางมา
นาเสนอด้วยแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบว่าจากตาราง มีข้อมูลกี่ชุด แต่ละชุดมีกี่รายการ และแต่ละรายการมี
ปริมาณเท่าใดเพ่ือวางแผนการเขียนแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ ต่อไป 2. ครูนา ตารางแสดงคะแนนสอบ
O-NET 4 วิชา ของนักเรยี น 3 คน หนา้ 140 ตดิ บนกระดาน ให้นักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายว่าต้องการเปรียบเทยี บ
ข้อมูลในลักษณะใด เช่น เปรียบเทียบคะแนนสอบ O-NET จาแนกเป็นรายวิชา หรือ จาแนกเป็นรายบุคคล
จากนน้ั ร่วมกันพิจารณาการกาหนดช่วงบนเส้น แสดงจานวน และการกาหนดสัญลกั ษณ์แสดงข้อมลู
แต่ละชดุ

ข้นั ท่ี 2 ขั้นสอน
2. ครูนา ตารางแสดงคะแนนสอบ O-NET 4 วิชาของนักเรียน 3 คน หน้า 140 ติดบนกระดาน ให้นักเรียน
ร่วมกันอภปิ รายวา่ ต้องการเปรียบเทียบข้อมูลในลักษณะใด เช่น เปรียบเทียบคะแนนสอบ O-NET จาแนกเป็น

รายวิชา หรือ จาแนกเป็นรายบุคคลจากนั้นร่วมกันพิจารณาการกา หนดช่วงบนเส้นแสดงจานวน และการ
กาหนดสญั ลกั ษณ์แสดงขอ้ มลู แตล่ ะชดุ

ขนั้ ที่ 3 ข้นั สรปุ
3. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันทา กิจกรรม หนา้ 141 แลว้ ใหน้ ักเรยี นทา แบบฝึกหัด 3.5 เป็นรายบคุ คล

6. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการวัดผล เครื่องมือวดั เกณฑก์ ารประเมินผล
จุดประสงค์
-แบบประเมนิ ชิ้นงาน 80% ขน้ึ ไปถอื วา่ ผ่าน
ความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) -ประเมนิ ชนิ้ งาน -แบบฝกึ หัด เกณฑ์การประเมนิ
80% ขน้ึ ไปถือวา่ ผ่าน
-ตรวจแบบฝึกหัด -แบบประเมินคุณลกั ษณะท่ี เกณฑก์ ารประเมิน
พงึ ประสงคข์ องนกั เรยี น
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) -ประเมนิ คุณลักษณะทีพ่ งึ รายบคุ คล 80% ข้นึ ไปถือว่าผ่าน
ประสงคข์ องนกั เรียนรายบุคคล -แบบสงั เกตพฤติกรรมการ เกณฑ์การประเมนิ
ทางาน
คุณลกั ษณะนสิ ยั (A) -สังเกตพฤติกรรมในการทางาน

7. ส่ือ/ แหลง่ การเรียนรู้

1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน ป.5 เลม่ 1 (สสวท.)
2. แบบฝึกหัดรายวิชาคณิตศาสตรพ์ ้นื ฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.)

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชือ่ ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 18

โรงเรียนขจรเกียรติพัฒนา

แผนจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี ...............1/.....................ชือ่ ผู้สอน..................................................................................
กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร์...........ชั้น...........ประถมศึกษาปีท่ี.......5....... จานวน...........1………..คาบ
หน่วยการเรียนที่..........3............เรือ่ ง.................................แผนภมู แิ ท่ง...............................................

1 . มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ช้ีวัด

มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความร้ทู างสถติ ิในการแกป้ ัญหา

ตัวชี้วัด ค 3.1 ป.5/1 ใชข้ อ้ มลู จากกราฟเสน้ ในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา

ตัวชี้วดั ค 3.1 ป.5/2 เขยี นแผนภมู แิ ทง่ จากข้อมูลทเ่ี ป็นจานวนนบั

2 .สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

การย่นระยะของเส้นแสดงจานวนเหมาะกบั ข้อมูลท่แี ตล่ ะรายการมีปรมิ าณมาก ๆ หรือข้อมูลแต่ละรายการมปี ริมาณใกลเ้ คยี งกัน

• แผนภูมิแท่งและแผนภมู ิแท่งเปรยี บเทียบ เป็นการนาเสนอขอ้ มลู รูปแบบหนง่ึ โดยแผนภูมิแท่งเป็นการนาเสนอขอ้ มลู

เพยี ง 1 ชดุ ส่วนแผนภูมิแทง่ เปรียบเทียบ เป็นการนาเสนอข้อมูลตงั้ แต่ 2 ชุดขึน้ ไป

• การอ่านแผนภมู ิแท่งท่ีมีการย่นระยะและแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทียบ มีวิธีอ่านเหมือนกัน โดยเทียบส่วนปลายสุดของรปู

ส่เี หลยี่ มมุมฉากแต่ละรูปกับตวั เลขบนเสน้ แสดงจา นวน แต่การอา่ นแผนภูมแิ ทง่ เปรียบเทียบต้องดูสญั ลักษณ์ท่รี ะบุว่าเป็นข้อมูลชุด

ใดประกอบดว้ ย

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อา่ นแผนภมู ิแทง่ ที่มีการยน่ ระยะ และแผนภมู แิ ทง่ เปรยี บเทยี บได้ (K)

2. เขยี นแผนภูมแิ ท่งทมี่ ีการย่นระยะและแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทยี บ (P)

3. รับผิดชอบต่อหนา้ ทท่ี ไี่ ดร้ ับมอบหมาย (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ

อา่ นแผนภมู แิ ทง่ ทีม่ ีการย่นระยะ และแผนภมู ิแทง่ เปรยี บเทยี บ พิจารณาตามหลักสูตรสถานศกึ ษา

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
คาบท่ี กิจกรรมการเรยี นการสอน

1 ข้ันท่ี 1 ข้ันนา
1. การเขียนแผนภูมิแท่งท่ีมีการย่นระยะ ครูควรทบทวนส่วนประกอบของแผนภูมิแท่งก่อน แล้วร่วมกัน
พิจารณาตารางแสดงจา นวนนักเรยี นช้นั ป.1- ป.6 หนา้ 136 แล้วร่วมกนั อภิปราย

ขัน้ ท่ี 2 ขั้นสอน
2. ครทู บทวนการเขยี นแผนภูมแิ ท่ง และให้นักเรยี นออกมาทาโจทย์หน้ากระดาน 2 ข้อ จากนนั้ รว่ มกนั อภปิ ราย

และสรปุ ขนั้ ตอนวิธีการเขยี นแผนภมู ิ
ขน้ั ที่ 3 ข้นั สรปุ
3. เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ทไ่ี ด้ให้นักเรยี นทา กจิ กรรมหน้า 142 เป็นรายบุคคล

6. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมินผล วธิ กี ารวดั ผล เครอื่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์
-แบบประเมนิ ช้นิ งาน 80% ขนึ้ ไปถือวา่ ผ่าน
ความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) -ประเมินช้ินงาน -แบบฝกึ หัด เกณฑ์การประเมิน
80% ขึน้ ไปถอื วา่ ผา่ น
-ตรวจแบบฝึกหดั -แบบประเมินคณุ ลักษณะที่ เกณฑ์การประเมิน
พึงประสงค์ของนกั เรียน
ทักษะ/กระบวนการ (P) -ประเมนิ คณุ ลักษณะท่ีพงึ รายบคุ คล 80% ข้นึ ไปถอื ว่าผ่าน
ประสงค์ของนกั เรียนรายบคุ คล -แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการ เกณฑ์การประเมิน
ทางาน
คณุ ลกั ษณะนสิ ยั (A) -สงั เกตพฤตกิ รรมในการทางาน

7. สื่อ/ แหลง่ การเรยี นรู้

1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน ป.5 เลม่ 1 (สสวท.)
2. แบบฝกึ หัดรายวชิ าคณิตศาสตร์พนื้ ฐาน ป.5 เล่ม 1 (สสวท.)

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .............................................ครูผู้สอน ลงชอื่ ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาหท์ ่ี 18

โรงเรียนขจรเกียรติพฒั นา

แผนจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนที่ ...............1/.....................ช่ือผู้สอน..................................................................................
กลุ่มสาระ.........คณติ ศาสตร์...........ชน้ั ...........ประถมศึกษาปีที.่ ......5....... จานวน...........1………..คาบ
หนว่ ยการเรยี นท่ี..........3............เร่ือง.................................กราฟเส้น.................................................

1 . มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชวี้ ัด

มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรูท้ างสถติ ิในการแกป้ ญั หา

ตัวช้วี ดั ค 3.1 ป.5/1 ใช้ขอ้ มูลจากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา

ตัวชี้วดั ค 3.1 ป.5/2 เขยี นแผนภมู แิ ท่งจากขอ้ มลู ทเี่ ป็นจานวนนบั

2 .สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

• กราฟเส้น เป็นการนาเสนอข้อมลู รูปแบบหนงึ่ ที่ใช้สว่ นของเส้นตรงเชือ่ มจดุ ต่าง ๆ ซ่งึ แต่ละจุดใชแ้ สดงปรมิ าณของแต่ละ

รายการ

• การอา่ นกราฟเส้น ใช้วิธเี ทยี บตาแหน่งของจดุ ที่แสดงขอ้ มูลแตล่ ะรายการกบั ตัวเลขบนเสน้ จา นวน

• กราฟเสน้ นิยมใช้กับข้อมูลที่มกี ารเปล่ยี นแปลงอย่างต่อเนอ่ื งตามลาดบั ก่อน-หลังของเวลา การเขียนกราฟเส้นมขี อ้ ควร

ระวังเชน่ เดยี วกนั กบั การเขยี นแผนภมู ิแทง่ กลา่ วคือ ระยะห่างระหวา่ งขอ้ มลู ของแต่ละรายการควรเท่ากัน

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อา่ นกราฟเส้นได้ (K)

2. เขยี นกราฟเสน้ ได้ (P)

3. รับผิดชอบต่อหน้าท่ีทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่

กราฟเส้น พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
คาบท่ี กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1 ขั้นที่ 1 ขน้ั นา
1. การสอนการอา่ นกราฟเส้น ครูควรอธบิ ายเชือ่ มโยงจากแผนภมู ิแทง่ ไปสกู่ ราฟเสน้ โดยครูติดภาพของแผนภูมิ
แท่งหน้า 143 แล้วครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าข้อมูลจากแผนภูมิแท่งเป็นข้อมูลท่ีเก่ียวกบั อุณหภูมิ การ
อ่านแผนภูมิแท่งจะอ่านข้อมูลจากปลายสุดของรปู สี่เหลี่ยมมุมฉากแต่ละรปู แต่เน่ืองจากอุณหภูมิของอากาศมี


Click to View FlipBook Version