ค่มู ือ
ผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอล
จัดทำโดย
สถาบนั พัฒนาบุคลากรการพลศึกษาและการกฬี า
กรมพลศึกษา
กระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า
ค ำ น ำ
คู่มือผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอลเล่มนี ้ กรมพลศึกษา จัดทำขึ้นเพ่ือเผยแพร่ความร
ู้
ด้านการตัดสินกีฬาบาสเกตบอลให้มีความทันสมัย มีมาตรฐานสูงข้ึน สอดคล้องกับ
การจัดการแข่งขันกีฬาบาสเกตบอลในปัจจุบัน และมอบให้แก่ผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอลอาชีพ
ผู้ตัดสนิ กฬี าบาสเกตบอลทวั่ ไป และผู้สนใจท่ัวไป ไดใ้ ช้เป็นคูม่ อื ในการตดั สินกีฬาบาสเกตบอล
ทั้งนี้ การดำเนินการได้รับความร่วมมือจากสมาคมกีฬาบาสเกตบอลแห่งประเทศไทย และ
ผู้เชีย่ วชาญด้านกฬี าบาสเกตบอลมาเป็นวิทยากรและร่วมจดั ทำต้นฉบบั
กรมพลศึกษาขอขอบคุณสมาคมบาสเกตบอลแห่งประเทศไทย และผู้เชี่ยวชาญทุก
ท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดทำคู่มือผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอลเล่มน้ ี จนสำเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี
และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอล และผู้สนใจ
ทั่วไปศึกษา ค้นคว้าและนำไปใช้ในการพัฒนาการตัดสินและการจัดการแข่งขันกีฬา
บาสเกตบอลใหม้ มี าตรฐานสงู ขน้ึ สนองต่อนโยบายและแผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาตติ ่อไป
กรมพลศกึ ษา
กรกฎาคม 2558
สารบญั
หน้า
ผตู้ ดั สินกฬี าบาสเกตบอล
คุณสมบัตทิ ่ีดีของกรรมการผตู้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล.................................................. 1
ข้อแนะนำในการเป็นผตู้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอลทด่ี ี...................................................... 1
คุณลกั ษณะของผู้ตดั สนิ กฬี าบาสเกตบอลที่ด.ี ............................................................. 3
ทักษะเบ้ืองตน้ การเปน็ ผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอล........................................................ 4
ลกั ษณะการแต่งกายของผู้ตัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล..................................................... 7
ส
ัญญาณของผตู้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอล (Basketball Official Signals) ................... 7
กติกาบาสเกตบอล 2014 : OFFICIAL BASKETBALL 2014
กตกิ าหมวดท่ ี 1 การแข่งขนั : Rule one - The game ............................................ 9
ขอ้ 1 คำจำกดั ความ...................................................................................... 9
กตกิ าหมวดที่ 2 สนามและอปุ กรณ์ : Rule two - Court and equipment ............. 10
ขอ้ 2 สนาม : Court ..................................................................................... 10
ข
อ้ 3 อุปกรณก์ ารแขง่ ขนั : Equipment ...................................................... 15
กติกาหมวดที่ 3 ทีม : Rule Three - Teams ............................................................... 16
ข้อ 4 ทีม : Teams ........................................................................................ 16
ขอ้ 5 ผู้เลน่ บาดเจบ็ : Players : Injury. ........................................................ 18
ขอ้ 6 หวั หนา้ ทมี : อำนาจ และหน้าท่ี : Captain : Duties and powers .. 19
ข
อ้ 7 ผู้ฝึกสอน : อำนาจ และหน้าท่ี : Coaches : Duties and powers. ..... 20
กติกาหมวดท่ี 4 ระเบียบการแข่งขัน : Rule four - playing regulations ................. 21
ขอ้ 8 เวลาการแขง่ ขัน คะแนนเทา่ กัน และการตอ่ เวลาพเิ ศษ
: Playing time, tied score and extra periods ............................. 21
ข้อ 9 การเรม่ิ ตน้ และการส้นิ สดุ ของชว่ งเวลาแข่งขนั หรอื การแข่งขนั
: Beginning and end of a period or the game ........................... 22
ขอ้ 10 สถานภาพของลูกบอล : Status of the ball .................................... 22
ข้อ 11 ตำแหน่งของผูเ้ ล่น และกรรมการ
: Location of a player and an official ........................................ 23
ขอ้ 12 ลกู กระโดด และการสลับการครอบครองบอล
: Jump ball and alternating possession .................................... 24
ข้อ 13 วธิ ีการเล่นลกู บอล : How the ball is played ................................. 26
ขอ้ 14 การครอบครองบอล : Control of the ball ...................................... 26
ข้อ 15 ผู้เล่นอยูใ่ นท่ากำลงั ยงิ ประตู : Player in the act of shooting ........ 27
ข้อ 16 ประตู : การไดป้ ระตู และคา่ ของประตู
: Goal : When made and its value.............................................. 28
ขอ้ 17 การสง่ บอลเข้าเล่น : Throw - in........................................................ 29
สารบญั
หน้า
ขอ้ 18 เวลานอก : Time - out ........................................................................... 31
ขอ้ 19 การเปลยี่ นตัว : Substitution ................................................................. 32
ขอ้ 20 การแพ้การแขง่ ขนั โดยการถกู ปรบั แพ้ : Game lost by forfeit ............. 35
ข้อ 21 การแพก้ ารแขง่ ขนั โดยมีผเู้ ลน่ ไม่เพียงพอ : Game lost by default ...... 35
กตกิ าหมวดที่ 5 การผดิ ระเบียบ : Rule five - Violations ....................................... 36
ขอ้ 22 การผดิ ระเบยี บ : Violations .................................................................... 36
ข้อ 23 ผ้เู ล่นออกนอกสนาม และลกู บอลออกนอกสนาม
: Player out-of-bounds and ball out-of-bounds............................ 36
ข้อ 24 การเล้ียงบอล : Dribbling ........................................................................ 37
ข้อ 25 การพาบอลเคล่อื นที่ : Travelling ............................................................ 38
ข้อ 26 เวลา 3 วนิ าที : 3 seconds ............................................................. 39
ขอ้ 27 ผู้เล่นถกู ป้องกนั แบบประชดิ : Closely guarded player ...................... 40
ข้อ 28 เวลา 8 วินาที : 8 seconds..................................................................... 40
ข้อ 29 เวลา 24 วนิ าที : 24 seconds................................................................ 41
ขอ้ 30 ลกู บอลกลบั สู่แดนหลัง : Ball returned to the backcourt ................. 43
ขอ้ 31 การปรบั เป็นประตู และการรบกวนห่วงตาขา่ ย
: Goaltending and Interference.......................................................... 44
กติกาหมวดท่ี 6 การฟาลว์ : Rule Six - Foul........................................................... 46
ขอ้ 32 การฟาล์ว : Foul ...................................................................................... 46
ข้อ 33 การปะทะ : หลกั การทวั่ ไป : Contact - General principles ................ 46
ข้อ 34 ฟาล์วบุคคล : Personal foul ................................................................... 53
ข้อ 35 ฟาลว์ คู่ : Double foul ............................................................................ 54
ข้อ 36 ฟาลว์ เทคนิค : Technical foul ............................................................... 54
ขอ้ 37 ฟาลว์ ผิดวสิ ยั นักกฬี า : Unsportsmanlike foul ...................................... 57
ขอ้ 38 ฟาลว์ เสียสทิ ธ์ิ : Disqualiflying foul ....................................................... 58
ขอ้ 39 การทะเลาะววิ าท : Flighting ................................................................... 59
กตกิ าหมวดที่ 7 บทบัญญัตทิ ่ัวไป : Rule seven - General provisions ................. 61
ข้อ 40 ผู้เล่นฟาลว์ 5 ครงั้ : Five fouls by a player.......................................... 61
ข้อ 41 การฟาลว์ ทมี และบทลงโทษ : Team Foul : Penalty............................. 61
ข้อ 42 สถานการณ์พเิ ศษ : Special situations .................................................. 62
ขอ้ 43 การโยนโทษ : Free Throws .................................................................... 62
ขอ้ 44 การแก้ไขข้อผิดพลาด : Correctable errors. ........................................... 65
สารบญั
หน้า
กตกิ าหมวดท่ี 8 กรรมการ เจ้าหนา้ ทีโ่ ตะ๊ และผคู้ วบคมุ การแข่งขัน :
อำนาจ และหน้าท
่ี 68
: Rule eight - Officials, table officials and commissioner
68
- Duties and powers...................................................................... 68
ขอ้ 45 กรรมการ เจ้าหน้าท่โี ตะ๊ และผ้คู วบคมุ การแขง่ ขัน
70
: Officials, table officials and commissioner.......................... ......... 72
ข้อ 46 ผตู้ ัดสนิ : อำนาจ และหนา้ ที่ : Referee - Duties and powers ............. 73
ข้อ 47 กรรมการ : อำนาจ และหน้าท่ี : Officials - Duties and powers .......... 74
ข้อ 48 ผ้บู ันทกึ คะแนน และผ้ชู ่วยผู้บนั ทึกคะแนน : หน้าท
ี่ 77
: Scorer and assistant scorer - Duties............................................... 88
ข้อ 49 ผู้จบั เวลา : หนา้ ที่ : Timer - Duties ........................................................ 98
ข้อ 50 ผ้คู วบคุมนาฬิกายิงประตู : หน้าท่ี Shot clock operator - Duties.. ...... 99
A สญั ญาณของกรรมการ : OFFICIALS SIGNALS. ....................................... 105
B ใบบันทึกคะแนน : THE SCORE SHEET ..................................................
C ระเบยี บวธิ ีการประท้วง : PROTEST PROCEDURE .................................
D การจัดอนั ดับของทมี : CLASSIFICATION OF TEAMS ............................
E เวลานอกของส่ือ : MEDIA TIME - OUTS ................................................
ส ารบญั
หน้า
ผ้ตู ัดสิน วิธีการตดั สินบาสเกตบอลระบบ 2 คน : Official Basketball Rules 2010
Referees’ Manual two-Person Officiating 107
1 บทนำ : Introduction ……………………………………………………………..... ......................
2 การเตรยี มความพร้อมก่อนการแข่งขัน : ...............………………………………… ............. 110
Preparation before the game
2.1 การเดินทางมาสนามแขง่ ขัน : Arrival at venue........................................ 110
2.2 การประชมุ ของกรรมการ : Meeting of officials...................................... 111
2.3 การเตรียมความพร้อมของรา่ งกาย : Physical preparation………………… 112
2.4 การปฏิบตั ิหน้าที่ก่อนการแข่งขัน : Pre-game duties…………………….….… 113
3 การเรม่ิ ต้นของชว่ งการเล่น : Beginning of a period …………………….......... ........... 117
3.1 การดำเนินการก่อนการเรม่ิ ต้นของชว่ งการเล่น
: Administration before the beginning of a period…………….......... 117
3.2 การโยนลกู บอล : Opening toss................................................................ 118
3.3 การเคลอ่ื นท่ีของกรรมการ : Movement of official……………........... ....... 120
4 ตำแหนง่ และความรับผิดชอบของกรรมการ
: Positioning and responsibilities of Officials..................................................... 120
4.1 เทคนคิ การตดั สิน : Officiating techniques............................................. 121
4.2 การแบ่งพื้นทค่ี วามรับผดิ ชอบในสนาม
: Division of responsibilities on the court...........……………. .............. 122
4.3 กรรมการตาม : ตำแหนง่ และความรบั ผิดชอบ
: Trail official - positioning and responsibilities ……………................ 122
4.4 ขอ้ แนะนำในการปฏบิ ตั ขิ องกรรมการตาม
: Trail official – practical advice………………………………….................. 127
4.5 กรรมการนำ – ตำแหน่งและความรบั ผิดชอบ
: Lead official - positioning and responsibilities ...................... ...... 128
4.6 ข้อแนะนำในการปฏิบตั ขิ องกรรมการนำ
: Lead official - practical advice…........................…................. ......... 133
สารบัญ
หนา้
4.7 ข้อแนะนำเพม่ิ เตมิ ในการปฏิบัติหนา้ ท่ขี องกรรมการตาม และกรรมการนำ
136
: Trail and Lead official - Further practical advice.................... ..... 138
4.8 การป้องกนั แบบกดดนั : Pressing defences…....................…............ ..... 139
4.9 การป้องกนั แบบกดดันขณะสง่ บอลเขา้ เล่น
140
: Throw-in with pressing defence........….......................…................ ....
4.10 การปอ้ งกนั แบบทำกบั ดกั : Trapping defences..................................... 142
143
5 สถานการณบ์ อลออกนอกสนามและการส่งบอลเขา้ เลน่
149
: Out – of – bounds and throw – in situations
150
5.1 การรับผิดชอบเสน้ เขตสนาม : Responsibility for the lines............. ..... 151
5.2 การส่งบอลเข้าเล่น : Throw – ins........................................................ .... 151
5.3 เวลา 24 วินาที : Twenty – four second clock................................ .... 152
5.4 ลูกบอลกลับสแู่ ดนหลัง : Ball returned to the backcourt................... 153
6 สถานการณ์การยิงประตู : Shooting situations.................................................. ... 156
6.1 ลูกบอลลอยอย่ใู นอากาศ : Flight of the ball..................................... .... 157
6.2 การขัดขวางลูกบอลลงห่วง และ การรบกวนหว่ งตาข่าย
157
: Goal tending and Interference......................................................... 158
6.3 การพยายามยิงประตู 3 คะแนน
159
: Three – point field goal attempts................................................. 160
6.4 ส้นิ สุดเวลาการแขง่ ขันสำหรับช่วงการเลน่ หรือชว่ งตอ่ เวลาพิเศษ
161
: End of playing time for a period or extra period............. ..... 162
7 สญั ญาณและขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ : Signals and Procedures........................ ......... 164
7.1 สัญญาณ : Signals.................................................................................. ........ 165
7.2 การผดิ ระเบยี บ : Violations.......................................................................... 168
7.3 การฟาลว์ : Fouls..................................................................................... ......
7.4 การสลับตำแหน่งภายหลงั การฟาล์ว : Switching after fouls......................
7.5 การฟาล์วทีมครอบครองบอล : Team control foul....................................
7.6 การฟาล์ว และการยิงประตูเป็นผลสำเร็จ : Foul and successful field goal
7.7 การฟาล์วคู่ : Double foul..................................................................... .......
7.8 ตำแหน่งของกรรมการภายหลงั การฟาล์ว
: Positioning of officials after a foul ............................................... .......
7.9 การเรยี ก (calling) พรอ้ มกันของกรรมการทั้งสองคน : Both officials calling
สารบญั
หนา้
8 สถานการณก์ ารโยนโทษ : Free-throw Situations........................................ ........ 170
8.1 กรรมการตาม : Trail official................................................................. ........ 170
8.2 กรรมการนำ : Lead official................................................................. ......... 171
8.3 การโยนโทษโดยไม่มผี ้เู ล่นเรียงแถว
172
: Free – throw without line up of players.................................... ........ 173
174
9 เวลานอก และการเปล่ยี นตวั : Time – out and Substitutions................. ..........
9.1 การดำเนินการขอเวลานอก : Administration of time – out ................... 175
9.2 การให้เวลานอกภายหลังการยงิ ประตหู รือการโยนโทษครง้ั สดุ ท้ายหรอื
176
ครง้ั เดยี วเปน็ ผลสำเร็จ : Time-out after successful field goal or
177
last or only free throw....................................................................... ....... 177
9.3 การดำเนนิ การเปล่ียนตัว : Administration of substitution.............. ........ 179
181
10 ชว่ งส้นิ สุดเวลาการแขง่ ขนั : End of playing time..................................... ........
10.1 การตรวจสอบใบบนั ทกึ คะแนน : Checking the scoresheet............... .......
11 การทบทวนขอ้ คิดเหน็ : Review comments............................................... .........
12 บทสรปุ : Conclusion..............................................................................................
สารบญั
หนา้
ผูต้ ดั สิน วิธีการตดั สนิ บาสเกตบอลระบบ 3 คน : Official Basketball Rules 2010
Referees’ Manual three-Person officiting………………………………....................... 183
1 บทนำ : Introduction ………………………………………………………………............. ........... 185
1.1 คำนยิ ามศัพท์ : Important terms ................................................ ............ 185
2 การเร่มิ การแข่งขัน : Start of the game ................................................................. 187
2.1 การสงั เกตการณ์ทมี กอ่ นการแขง่ ขนั และพักครง่ึ เวลาขณะอบอุ่นร่างกาย
: Observation of pre-game and half-time warm-ups...................... 187
2.2 ตำแหน่งโดยทวั่ ไปในสนาม : General floor position ............................. 188
2.3 การเลน่ ลูกกระโดดเม่อื เรมิ่ การแข่งขัน
: Jump ball to begin the game ........................................................... 188
2.4 การเร่ิมเลน่ ลูกกระโดด – การเลน่ ไปทางดา้ นขวาของผตู้ ัดสนิ
: Jump ball to begin the game – play goes to referee’s right 189
2.5 การเริม่ เล่นลกู กระโดด – การเล่นไปทางด้านซ้ายของผ้ตู ัดสนิ
: Jump ball to begin the game – play goes to referee’s left....... 189
3 ตำแหนง่ และการครอบคลมุ พ้ืนท่ีในสนามโดยกรรมการ
: Positioning and court coverage by officials.................................................... 190
3.1 พน้ื ฐานการครอบคลมุ พ้นื ท่ีในสนามแข่งขนั
: Basic playing court coverage ............................................................ 190
3.2 พื้นฐานการครอบคลมุ พ้ืนที่ : Basic coverage. .......................................... 190
3.3 พน้ื ท่รี ับผิดชอบของกรรมการ : Officials working area ........................... 191
3.4 การครอบคลุมพนื้ ทีเ่ บือ้ งต้นเม่ือลกู บอลอยู่ในแดนหนา้
(ด้านโต๊ะผู้บันทึกคะแนนหรือด้านตรงขา้ มโตะ๊ ผบู้ ันทึกคะแนน)
: Primary coverage when the ball is in the frontcourt
(table-side or opposite side). ............................................................... 192
3.5 พืน้ ฐานการเคล่อื นท่เี มื่อสง่ บอลหรือเล้ียงบอลจากดา้ นหน่งึ ไปยงั อกี ดา้ นหนงึ่
(การสลบั ตำแหนง่ )
: Basic movement when the ball is passed or dribbled from one
side to the other (rotation)............................................................... 193
3.6 พน้ื ฐานการเคลือ่ นทเ่ี ม่อื ลกู บอลไปทางหว่ งตาขา่ ย
: Basic movement when the ball goes toward the basket. .......... 194
3.7 พื้นฐานการเคลอื่ นทเ่ี มื่อลูกบอลเคลือ่ นท่ีจากแดนหลังไปแดนหน้า
(ผ่านขึน้ แดนหน้า)
: Basic movement when the ball goes from the backcourt to
the frontcourt (transition) ...................................................................... 195
3.8 พืน้ ฐานการเคลื่อนทร่ี ะหว่างการป้องกัน “แบบกดดัน”
สารบญั
หนา้
4 สถานการณก์ ารสง่ บอลเข้าเล่น : Throw-in situations ................................... ....... 199
4.1 การครอบคลุมการส่งบอลเขา้ เลน่ : Throw-in coverage ............... .......... 199
4.2 การส่งบอลเข้าเลน่ จากเสน้ หลังเม่อื ลูกบอลไปแดนหน้า
199
: Throw-in from endline when the ball goes to frontcourt .. ......
4.3 การส่งบอลเขา้ เลน่ จากเสน้ ขา้ งเมือ่ ลูกบอลขึน้ ไปแดนหนา้ หรือ
200
ยังคงอย่ใู นแดนหนา้
204
: Throw-in from sideline when the ball goes or remains
204
in frontcourt ............................................................................................
4.4 การส่งบอลเขา้ เล่นจากเสน้ หลงั เมอ่ื ลกู บอลยงั คงอยใู่ นแดนหน้า
205
: Throw-in from endline when the ball remains in frontcourt
206
5 สถานการณ์การยงิ ประตู : Shooting situations ........................................... .......... 206
5.1 การครอบคลมุ การยิงประตูและการแย่งบอล
207
: Shot for a field goal and rebound coverage............................... .. 208
5.2 ความรบั ผิดชอบในการครอบคลุมพ้นื ที่เมือ่ ลูกบอลออกนอกสนาม
210
และเป็นผลใหส้ ่งบอลเขา้ เล่น
210
: Responsibility for out-of-bounds coverage and resulting
throw-ins...................................................................................................
6 สัญญาณและขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ : Signals and procedures ......................... ........ 211
6.1 ขนั้ ตอนการปฏิบัติเมื่อเรียกฟาลว์ : Procedure when a foul is called 211
6.2 การเปลย่ี นตำแหน่งภายหลงั การเรียกฟาลว์ , ลกู บอลยงั คงอยใู่ นแดนหน้า
211
: Switching positions after a foul is called, ball remains
212
in the frontcourt .................................................................................... 214
6.3 การเปลี่ยนตำแหนง่ ภายหลังการเรยี กฟาลว์ , ลูกบอลขึน้ ไปแดนหน้าใหม่
: Switching positions after a foul is called, ball goes to new frontcourt
7 สถานการณ์การโยนโทษ : Free-throw situations. ...............................................
7.1 การดำเนินการโยนโทษ : Free-throw administration ................. ..........
7.2 การดำเนนิ การตามบทลงโทษของการฟาลว์ เทคนิค, ฟาลว์ ผิดวิสัยนกั กฬี า
และฟาลว์ เสยี สทิ ธ ์ิ
: Administration of technical, unsportsmanlike and
disqualifying foul penalties........................................................... .......
8 การขอเวลานอกและการเปลย่ี นตวั : Time-outs and substitutions .......... .........
8.1 เวลานอก : Time-outs ....................................................................... .....
9 การครอบคลมุ การยงิ ประตู 3 คะแนน : Three-point field goal coverage.. ......
บรรณานุกรม …………………………………………………………………………….....................
ผ้ตู ัดสินกีฬาบาสเกตบอล
ค
ุณสมบตั ิท่ีดขี องกรรมการผูต้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล
ผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอลท่ีลงปฏิบัติหน้าที่ในเกมการแข่งขันจนเป็นที่ยอมรับนับถือ
ของผเู้ ลน่ ผูฝ้ ึกสอน หรือผู้ชมการแขง่ ขัน นอกจากมคี วามรู้ มปี ระสบการณ์ และมคี วามเขา้ ใจเก่ียวกบั
กฎกติกากฬี าบาสเกตบอลอยา่ งแทจ้ รงิ แลว้ ยังจำเป็นต้องมีคุณสมบัตทิ ่ดี ดี งั น
้ี
1. ต้องเป็นผู้ท่ีมีบุคลิกภาพที่ดี ได้แก่ มีรูปร่างที่ได้สัดส่วน แต่งกายเหมาะสม
ใช้สัญญาณนกหวีดและสญั ญาณมอื ไดช้ ดั เจน
2. ต้องเปน็ ผู้ทีม่ ีความยุตธิ รรม ซ่ือตรงในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทผ่ี ู้ตัดสิน
3. ต้องมีความมั่นใจและมีอารมณ์ม่ันคง สามารถควบคุมตนเองและจิตใจได้เป็นอย่างด
ี
เมือ่ เกดิ สถานการณ์ตา่ งๆ
4. ต้องเปน็ ผู้แกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ได้ถกู ต้อง
5. ต้องเป็นผู้มีสมรรถภาพทางกายที่ดี มีความว่องไว กระฉับกระเฉง พร้อมจะปฏิบัติ
หน้าท่ีไดท้ ันการณ
์
6. ตอ้ งเปน็ ผู้ทีม่ ีศกั ดศ์ิ รแี ละรักษาเกยี รตขิ องผตู้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอลทีม่ ีคณุ ธรรม
7. ต้องเปน็ ผู้ทม่ี ีอารมณ์เบกิ บาน มีความสขุ พดู จาสุภาพในการสือ่ สารกบั ผอู้ ืน่
8. ตอ้ งเป็นผู้ทมี่ คี วามกล้าในการกระทำส่งิ ที่ถูกตอ้ ง
9. ตอ้ งเป็นผ้ทู น่ี ำกติกามาวนิ ิจฉยั และนำมาใช้ไดถ้ ูกตอ้ งตามสถานการณ
์
10. ต้องเป็นผู้ที่เป็นนักประนีประนอมและยืดหยุ่นในเกมการแข่งขัน ด้วยสามัญสำนึก
ในการทรงไวซ้ ่งึ ความเท่ียงธรรม
ข้อแนะนำในการเป็นผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอลท่ดี ี
1. ผู้ตัดสินท่ีดีต้องให้ความสำคัญกับบุคลิกลักษณะภายนอกของตนเอง ชุดแต่งกายต้องแต่ง
ให้สะอาด ดูดี แต่คงไม่ถึงขนาดเป็นดารานักแสดง ชุดปฏิบัติหน้าที่เป็นไปตามที่สมาคมกำหนด
บคุ ลิกลกั ษณะภายนอกเปน็ หน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบส่วนบุคคล ทน่ี ำไปสูค่ วามภาคภมู ใิ จในตนเอง
2. ผู้ตัดสินท่ีดีต้องตรงต่อเวลา ต้องตระหนักว่าท้ังผู้ฝึกสอนและผู้เล่นมีส่ิงท่ีต้องคิด
ในการเล่นมากพออยู่แล้วที่จะต้องคอยกังวลว่าเมื่อไหร่ผู้ตัดสินจะมา โดยความเป็นจริงที่สำคัญมาก
ก็คือ การเดินทางมาให้ตรงเวลา ยังเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนแข่ง ถือเป็นช่วงแรกของเวลา
การแข่งขัน คำว่า “ตรงเวลามิได้หมายถึงเวลาการแข่ง” ผู้ตัดสินต้องมีเวลาเพียงพอในการแต่งกาย
ปรึกษาหารือเหตุการณ์การแข่งขันกับผู้ร่วมงาน และลงปฏิบัติหน้าท่ีในสนามอย่างมืออาชีพ
ไม่มีอะไรท่ีจะดูเลวร้ายยิ่งไปกว่าการวิ่งอย่างเร่งรีบออกจากห้องเปล่ียนเครื่องแต่งกายในช่วงก่อน
การแขง่ ขันหรือเมือ่ เรม่ิ เล่นในครง่ึ เวลาหลัง
คมู่ ือผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอล 1
3. ผู้ตัดสินที่ดีต้องไม่ปฏิบัติหน้าท่ีเพียงโดยลำพัง ในการแข่งขันมิได้มีเพียงสองทีม
แตม่ ีสามทมี อีกทีมหนึง่ กค็ ือ ทมี ของผูต้ ดั สนิ การปรึกษาหารือกนั ก่อนการแขง่ ขันเปน็ เร่อื งสำคัญ
ซึ่งอาจรวมถึงเวลาพักหรือตลอดการแข่งขัน ผู้ตัดสินต้องตระหนักว่าเจ้าหน้าท่ีโต๊ะไม่สามารถปกป้อง
ตนเอง หรือหลีกเล่ียงจากเสียงพูดจาดูถูกได้ ในการเสนอแนะหรือให้คำแนะนำ ผู้ตัดสินควร
หยิบย่ืน (ด้วยความยินดี) ส่ิงท่ีเป็นประโยชน์ สร้างสรรค์ เป็นมิตร วิจารณ์อย่างเป็นกันเอง
เพอื่ การปรับปรุงและรว่ มกนั ปฏบิ ัติหนา้ ทีอ่ ย่างมีประสทิ ธิภาพต่อไป
4. ระหว่างการแข่งขันผู้ตัดสินที่ดีต้องไม่พูดคุยโต้ตอบกับผู้เล่นและผู้ฝึกสอนจนยืดยาว
การโต้เถียงเช่นนั้นจะเป็นเหตุทำให้ปัญหามากข้ึนมากกว่าจะพบทางแก้ปัญหา หากมีความจำเป็น
ต้องติดต่อพูดคุยกับใคร การพูดคุยน้ันต้องสุภาพ มีมารยาท ชัดเจน แต่กะทัดรัดได้ใจความ
ในทางตรงกันข้าม การพูดคุยกับผู้บันทึกคะแนนและผู้จับเวลาต้องให้ความละเอียดชัดเจน ไม่เร่งรีบ
เจ้าหน้าทโี่ ต๊ะเปน็ ส่วนหนึ่งของทมี ผ้ตู ัดสินในสนามทจ่ี ะคอยให้ความช่วยเหลอื ผ้ตู ัดสินเมอื่ จำเป็น
5. ผู้ตดั สนิ ท่ดี ีตอ้ งไม่ทำตนเองใหเ้ ป็นจุดสนใจ ต้องรับรู้บทบาทของผตู้ ดั สนิ ควรดำเนนิ
ไปอย่างไม่สะดุดเท่าท่ีจะทำได ้ ควรยับยั้งสัญญาณที่เกินความเป็นจริง การใช้เสียงดังเกินความจำเป็น
การแสดงออกทางใบหน้า หรือการสอ่ื สารด้วยร่างกายกบั ผู้เล่น ผูฝ้ กึ สอนหรือกองเชยี ร ์ ตรงกนั ข้าม
เสียงท่ีใช้ต้องชัดเจน จริงจัง และน่าเชื่อถือ เสียงนกหวีดต้องคมและสั้น สัญญาณสื่อความหมายได้
ชัดเจน การหยุดเกมตอ้ งคงไว้ซ่ึงความเฉยี บขาดเท่าทีจ่ ะทำได้ ผตู้ ัดสนิ จะต้องตระหนักวา่ พฤติกรรม
ไร้น้ำใจนักกีฬาส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นเม่ือหยุดการเล่น เมื่อผู้เล่นรู้สึกขุ่นเคืองหรือเจ็บใจหรือเม่ือผู้เล่น
กระทบกระท่ังและเขากลายเป็นคนผิด หนทางท่ีดีท่ีสุดเพื่อยับย้ังการเผชิญหน้ากันคือการกลับเข้าสู่
การเล่นใหเ้ ร็วทส่ี ดุ เท่าท่จี ะทำได
้
6. ผู้ตัดสินที่ดีต้องรู้ว่า การตัดสินท่ีเกิดข้ึนในระหว่างการแข่งขันอาจจะเป็นท่ีสงสัยของ
ผู้เล่นหรือผู้อื่น การตัดสินใจทุกคร้ังไม่ได้กำหนดด้วยเสียงนกหวีด เวลาส่วนใหญ่ ผู้ตัดสินอาจ
พิจารณาว่าการละเมดิ ยงั ไมเ่ กดิ ขึน้ ถึงแมว้ ่าผู้เลน่ ผ้ฝู ึกสอน กองเชยี ร์ อาจจะคิดอกี อยา่ งในกรณนี ี้
การไม่มีสัญญาณนกหวีดคือการส่ือสารในตัวเองอย่างชัดเจน ไม่มีความจำเป็นท่ีจะต้องแสดง
เหตุผลกับคำตัดสินนั้น การส่ายศีรษะหรือแสดงท่าทางไม่ยอมรับ เป็นเพียงเร่ืองเล็กน้อยของ
ส่วนหน่ึงในการแสดงออก
7. ผู้ตัดสินท่ีดีต้องไม่ยึดถือ (เป็นทาส) หนังสือกติกาจนเกินไป เขาควรตระหนักว่า
กติกาทุกข้อประสงค์เพ่ือสะท้อนให้เห็นถึงปรัชญาการเล่น เขาควรรู้และใช้กติกาให้เป็นไปตาม
จดุ ประสงค์ คำวา่ “จงั หวะ” “การไหลล่ืนของเกม” และ “การจัดการกับเกม” เปน็ เร่อื งที่มีความสำคัญ
เชน่ เดียวกบั คำนยิ ามในกติกา
8. ผู้ตัดสินท่ีดีต้องมีลักษณะเป็นมืออาชีพ เปิดเผย และมีเหตุผล การหยุดเวลาเล่น
ไม่ใช่เป็นเพียงเวลาสำหรับผู้ตัดสินดำเนินการโยนโทษหรือให้คะแนน หากในเวลานั้น
การได้พูดคุยบ่อยๆ กับผู้ร่วมงาน การให้คำแนะนำเล็กๆ น้อยๆ สำหรับผู้อื่นท่ีต้องการความมั่นใจ
แนวทางการตัดสินท่ีเหมาะสมท่ีผู้ตัดสินแต่ละคนควรปฏิบัติเม่ือเกมดำเนินต่อ เพราะระหว่างเวลานอก
ผู้ตัดสินต้องยืนตามตำแหน่งท่ีกำหนดไว้ในสนาม การใช้ช่วงการหยุดเวลาเป็นการเตรียมความพร้อม
ของจติ ใจเพอ่ื เข้าสกู่ ารเล่นตอ่ ไป
9. ผู้ตัดสินท่ีดี คือ ผู้ท่ีมีมารยาทและควบคุมอารมณ์ของตนเองได ้ และไม่สูญเสีย
ความอดทนกับผู้เล่นหรือท้ังผู้ฝึกสอนและกองเชียร ์ ผู้ตัดสินต้องยอมรับการพูดคุย ปรึกษา
2 คู่มอื ผตู้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล
ข้อขัดแย้งในการเล่น ในขณะเดียวกันต้องควบคุมสถานการณ์ให้ได้โดยปราศจากพฤติกรรม
ที่หยิ่งยโส ต้องรู้ว่าใครคือผู้ที่สามารถจะพูดคุยส่ังการได้ และตระหนักว่าหากเกิดการทักท้วง
ต่อคำตัดสิน ต้องรู้จักใช้กติกาและจุดประสงค์ของกติกาจัดการกับคำทักท้วงน้ันอย่างชาญฉลาด
ขณะเดียวกันผู้ตัดสินต้องตระหนักถึงคำสองคำท่ีมีความสำคัญมากในการพูดเมื่อปฏิบัติหน้าท่ีคือ
กรณุ า และขอขอบคุณ หากผ้มู ีน้ำใจส่งบอลคนื เพือ่ ให้เกมเขา้ ส่กู ารเลน่ ไดเ้ ร็วขน้ึ
10. สุดท้ายน้ี ผู้ตัดสินท่ีดีต้องตระหนักว่าเขาไม่ใช่ผู้ท่ีไม่รู้จักความผิดพลาด ความผิดพลาด
ย่อมมีโอกาสเกิดข้นึ ได้เสมอ เม่อื ความผดิ พลาดไดร้ บั การแกไ้ ขแลว้ มนั กค็ อื ความถูกต้อง หากมันเกิน
ขอบเขตท่ีจะแก้ไขได้ การแข่งขันก็ต้องดำเนินต่อไป การปฏิบัติหน้าที่ให้เต็มความสามารถที่สุดคือ
วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติหน้าท่ีเสมอ เกมที่คุณทำหน้าท่ีได้อย่างสมบูรณ์ที่สุดในวันน้ีมันก็จะ
ผ่านไป
บ่อยครั้งท่ีการปฏิบัติหน้าท่ีจะไม่ได้รับคำขอบคุณจากใครเลย มันเป็นไปไม่ได้ท่ีจะทำให้
คำตัดสินของคุณได้รบั ความชืน่ ชมจากทุก ๆ คน ดังนัน้ จงลืมคนเหล่านนั้ และจงใชค้ วามยุติธรรม
เป็นแนวทางการพจิ ารณา การปฏบิ ตั ิตามระเบยี บแบบแผน การมมี ารยาทท่ีดี ความมน่ั ใจในตัวเอง
และความเป็นมืออาชีพ แล้วจะประสบความสำเร็จ นั่นคือ ทั้งหมดเก่ียวข้องกับการปฏิบัติหน้าท
่ี
ผตู้ ัดสนิ
แหล่งทม่ี า : FIBA ASSIST MAGAZINE
Mr. Fred Hogan เป็นผู้ใหญ่ท่ีมีอัธยาศัยใจดี มีน้ำใจไมตรี เรียบง่าย และเป็นสมาชิก
คณะกรรมการเทคนิค FIBA ท่านเป็นวิทยากรในการอบรมผู้ตัดสินของ FIBA Americas
กรรมการเทคนิคของแคนาดา และเป็นสมาชิกคณะกรรมการเทคนิค FIBA Americas
ในป ี ค.ศ.1996 เขาไดร้ บั การคดั เลอื กใหบ้ นั ทกึ ชอื่ อยู่ในหอเกยี รติยศของ Canada Basketball
คณุ ลกั ษณะของผูต้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอลท่ดี ี
ทุกคนมีโอกาสเป็นผู้ตัดสินได้ แต่การเป็นผู้ตัดสินท่ีดีน้ันจำเป็นต้องมีหลักการ มีความร
ู้
ในกฎกติกาอย่างถ่องแท้ มีเทคนิคและกลวิธีท่ีดีในการดำเนินการตัดสิน นอกจากนี้ยังต้องศึกษา
หาขอ้ บกพร่อง ปรับปรงุ แก้ไข การตดั สินใจของตนให้ดียง่ิ ๆ ขึ้น ดังน้ัน ผู้ตดั สินท่ีดจี งึ ควรต้องมี
แนวปฏิบตั ิดงั นี
้
1. เป็นผู้มีบุคลิกลักษณะท่าทางนิยม หมายถึง สภาพร่างกาย กิริยา ท่าทาง
การแตง่ กาย ท้ังภายในและภายนอกสนามเหมาะสม
2. เป็นผู้มีอารมณม์ ่นั คง แสดงออกถงึ ความเชอ่ื ม่นั
3. เป็นผู้ท่ีมีความซื่อตรง แสดงออกถึงความน่าเช่ือถือ ความเที่ยงตรง และศักด์ิศรีของ
การเปน็ ผู้ตัดสินทง้ั ภายในและภายนอกสนาม
4. เป็นผู้ท่ีมีความกล้าหาญ แสดงออกถึงการมีน้ำใจเด็ดเดี่ยว และกระฉับกระเฉง
ไม่เชอื่ งช้า เกมที่รุนแรงตอ้ งเป่า ไมก่ ลวั อทิ ธพิ ลใด ๆ
5. การตดั สินตอ้ งใช้สามญั สำนึก ยืดหยนุ่ พอเหมาะพอควร
ค่มู อื ผ้ตู ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 3
6. แสดงออกถึงความสามารถ ให้คำนึงเสมอว่าการตัดสินทุกครั้งคือการทำแบบฝึกหัด
ที่ยากมาก ตอ้ งพยายามให้ดยี ิ่งขน้ึ
7. อุปนิสัยใจคอหนักแน่น ไม่คล้อยตามสถานการณ์ขณะแข่งขัน เพราะแต่ละทีม
มุ่งเพยี งชนะเทา่ นัน้
8. เป็นผมู้ ีความซอ่ื สัตยต์ ่อผู้เล่นในทมี และต่อผ้ตู ัดสนิ ดว้ ยกนั
9. เปน็ ผ้มู ีเกยี รติ ไม่นำเอาข้อเสียของทีมหนงึ่ ไปเล่าให้อกี ทมี หน่ึงเปน็ อันขาด
10. เป็นผ้มู ีความยุตธิ รรม ตดั สินการเลน่ ดว้ ยความยตุ ิธรรม ด้วยสามญั สำนกึ ดูเกมให้ทัน
ตัดสนิ ใจใหแ้ น่นอน ยอ่ มไมท่ ำใหก้ ารตัดสนิ ผิดพลาด
11. เปน็ ผู้มคี วามรอบรู้ มีเชาวนด์ ี ทำดว้ ยความสขุ มุ มคี วามสุภาพ จะทำให้การเลน่
เปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ย
12. เปน็ ผมู้ คี วามพรอ้ ม มีความคล่องแคลว่ วอ่ งไว ตลอดเกมการแขง่ ขัน
ทักษะเบื้องต้นของการเป็นผ้ตู ัดสินกฬี าบาสเกตบอล
การศึกษาเบ้ืองต้นอันเป็นพื้นฐานที่จะนำไปสู่การเป็นผู้ตัดสินได้นั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะ
ตอ้ งเข้าใจพ้ืนฐานของเกมเสยี ก่อน ซึ่งจะทำให้งา่ ยและสะดวกในการวนิ จิ ฉยั ชว่ ยในการตดั สนิ ใจได้
รวดเรว็ ทนั เกม ผตู้ ดั สินตอ้ งสำรวจตัวเองตามหัวขอ้ ตา่ งๆ วา่ มสี ิ่งใดทีค่ วรจะตอ้ งปรบั ปรงุ และศกึ ษาเพ่มิ เตมิ
ซ่ึงจะช่วยในการตัดสนิ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขน้ึ ได้แก่
1. ในการโยนลูกบอลในการเลน่ ลูกกระโดด
1.1 โยนลูกตรงหรือไม่
1.2 โยนสงู พอควรหรือไม่
1.3 โยนลูกนิ่งหรือไม
่
1.4 ผู้โยนลูกกระโดดไม่ควรคาบนกหวดี
2. ตำแหน่งการตัดสนิ ใจ
2.1 ไม่ควรยนื นงิ่ อย่จู ดุ ใดจุดหนึ่งนานๆ
2.2 ไมค่ วรอยตู่ ำ่ เกนิ ไปเม่ือเป็นผ้ตู ดั สินตาม หรอื อยสู่ ูงเกนิ ไปเมื่อเปน็ ผตู้ ดั สินนำ
2.3 ควรมกี ารยดื หยนุ่ ตามความเหมาะสม และตามสถานการณ์
2.4 ตำแหน่งการยนื ขณะวิง่ ตามฝ่ายรกุ และฝา่ ยรับ ย่อมแตกตา่ งกัน
3. สญั ญาณนกหวีดควรเป็นดังน
้ี
3.1 เป่าใหด้ ัง
3.2 เป่าใหแ้ น่นอน
3.3 เป่าใหม้ ีความหมาย
4. การใชเ้ สยี ง
4.1 เสียงดงั ชดั เจน แตไ่ มใ่ ช่ตะโกน
4.2 เสียงนา่ ฟงั น่าเช่ือถือ
4.3 น้ำเสียงเด็ดขาด แตไ่ มใ่ ชน่ ำ้ เสียงแบบขู่บงั คบั
5. การแสดงสัญญาณ
5.1 สามารถแสดงสัญญาณถูกต้อง
4 ค่มู ือผูต้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล
5.2 ตอ้ งแสดงสัญญาณใหช้ ัดเจน
5.3 เมอ่ื แสดงสัญญาณแลว้ ตอ้ งไมเ่ ปลยี่ นแปลง
5.4 แสดงทา่ ทางให้เหน็ สวยงาม
5.5 ไมแ่ สดงทา่ ทางรวดเร็วเกนิ ไป
6. การพดู
6.1 ควรพดู แตท่ จี่ ำเปน็
6.2 ไมใ่ ชค้ ำพูดทีท่ ำให้ผู้เล่นเกดิ อารมณ์ เชน่ คำวา่ เตะ จงใจชก ผลกั และอนื่ ๆ
เพียงแตใ่ ชส้ ญั ญาณฟาวลบ์ อกลกั ษณะการกระทำผดิ และหมายเลขผทู้ ำฟาวล
์
7. ความพร้อม
7.1 พรอ้ มทจี่ ะเปลยี่ นตำแหน่งการวงิ่ ได้ทนั ท
ี
7.2 ว่ิงไปพร้อมกับผู้เล่นเล็กน้อยเมื่อเป็นผู้ตัดสินนำ และว่ิงไปพร้อมกับผู้เล่นหรือ
ตามหลังผเู้ ล่นเล็กนอ้ ยเม่ือเป็นผูต้ ัดสนิ ตาม
8. ตำแหนง่ การยนื เมือ่ มีการโยนโทษ
8.1 เขา้ ยืนประจำทใี่ ห้ถกู ตอ้ ง
8.2 ยืนใหห้ า่ งพอประมาณ
8.3 ตำแหน่งการยนื สามารถมองเหน็ ได้ทัว่ สนาม
8.4 อย่าแสดงการลงั เลใจ
8.5 อย่าให้การเล่นหยดุ ชะงัก
8.6 พยายามช่วยเหลือผตู้ ดั สนิ ดว้ ยกัน
9. การเปา่ นกหวีด
9.1 หลงั จากเป่านกหวดี แลว้ ตอ้ งเรียกขาน หรือแสดงสญั ญาณทันที
9.2 จงระลึกเสมอว่าการเล่นที่จะดำเนินต่อไปนั้นมีความสำคัญมาก เม่ือเป่านกหวีดแล้ว
ให้รีบดำเนินการแขง่ ขนั ต่อไปทันท
ี
9.3 ไม่พูดขณะทีป่ ากคาบนกหวีด
9.4 เมื่อขานนกหวดี แล้วควรหันหนา้ เขา้ หาโต๊ะผู้บันทึก แล้วแจง้ สญั ญาณใหผ้ บู้ นั ทึก
ทราบทนั ที ไมค่ วรใชส้ ายตามองผูเ้ ลน่ เสมือนการจบั ผิด
9.5 แจง้ หมายเลขผ้กู ระทำผดิ
9.6 ให้สญั ญาณลกู ลงหว่ ง ใหย้ ิงประตหู รือไม่ใหย้ งิ ด้วยความมนั่ ใจและชดั เจน
9.7 ต้องแจ้งจำนวนครง้ั ในการโยนโทษใหช้ ดั เจน
10. การควบคมุ การแขง่ ขัน
10.1 อยา่ หันหลังให้การแข่งขนั ซ่ึงกำลังดำเนินอยเู่ ป็นอนั ขาด
10.2 จับตาดกู ารเล่นทร่ี วดเรว็ เช่น การเล่นลกู ลกั ไก ่ (Fast Break)
10.3 ไม่ควรมองดูห่วงประตู ในขณะการแขง่ ขนั ยงั ดำเนนิ อยู่ นอกจากลูกยิงประตู
10.4 ไม่มองดูแตเ่ ฉพาะลกู บอล แต่ควรมองดผู ้เู ลน่ ทง้ั สองทมี ทว่ั สนาม
11. ลกั ษณะท่าทางการเคล่อื นไหว
11.1 แสดงความร้สู ึกกระปรก้ี ระเปรา่
11.2 ไม่ควรทำกริ ิยาอนั แสดงถึงความเม่อื ยลา้ ของรา่ งกาย
คู่มือผู้ตัดสินกฬี าบาสเกตบอล 5
11.3 เคลือ่ นทไ่ี ปหาจุดทเี่ หมาะสมและถกู ตอ้ งไดอ้ ย่างรวดเรว็
11.4 แสดงให้เห็นถงึ ความแข็งแรง วอ่ งไว
12. การวินิจฉยั
12.1 ใหโ้ อกาสผเู้ ลน่ แสดงฝมี ือเตม็ ท่ีในเชิงเกมกีฬา
12.2 ผู้ตัดสินต้องคำนึงอยู่เสมอว่าบางคร้ังการถูกต้องตัวกับการกดลูกบอลในขณะ
กำลงั ยงิ ประตูหรอื อืน่ ๆ อาจไม่ใช่การฟาวล์เสมอไป และการเล่นแรงในเกมไมใ่ ชก่ ารเล่นทกี่ า้ วร้าว
13. แสดงออกถงึ ความเด็ดขาด กลา้ หาญ
13.1 ในการตดั สินตอ้ งไมห่ วนั่ เกรงตอ่ อทิ ธิพลใด ๆ ทัง้ ส้นิ
13.2 ต้องไม่ฝืนความรูส้ กึ ตัวเอง ไม่กลวั ต่อการเลน่ รนุ แรง
13.3 เมือ่ เห็นเหตกุ ารณ์เกดิ ข้ึนใหร้ บี เปา่ นกหวีดทันท
ี
13.4 ไมค่ วรปฏิบตั อิ ยา่ งลังเลใจ
14. เมื่อมีการขอเวลานอก
14.1 ให้ความยุตธิ รรมแกผ่ เู้ ลน่ ทง้ั สองทีม
14.2 ไมล่ ังเลใจในการเป่านกหวีด เมื่อไดย้ ินสญั ญาณต่างๆ
15. การวางตัว
15.1 วางตัวใหเ้ หมาะสมกับการเป็นผ้ตู ดั สิน ซง่ึ เป็นตำแหน่งอนั มีเกียรติ
15.2 สร้างลกั ษณะทา่ ทางให้เป็นกนั เอง แตเ่ ด็ดขาด
15.3 การแสดงออกถึงความสุภาพเรียบรอ้ ย ย่อมเป็นทีน่ ับถอื ของคนทั่วไป
16. การแสดงออกถงึ ความสามารถ
16.1 แสดงออกให้เห็นจากกรยิ า ทา่ ทาง และมารยาทดว้ ยการสร้างความเช่อื มั่น
16.2 สามารถควบคุมอารมณใ์ ห้เปน็ ปกติ ไมป่ ระหมา่
17. ระหว่างขอเวลานอกและเปลี่ยนตวั
17.1 ยนื ให้ถกู ตำแหนง่ อนั ควรจะยนื
17.2 ผู้ตัดสินต้องจับลูกบอลไว้ และผู้ตัดสินอีกคนหนึ่งควรหันหน้าไปยังผู้บันทึก
เพอื่ ตรวจดคู วามเรยี บร้อย
17.3 พยายามอยา่ ยืนรวมกัน
17.4 ควรพูดกบั ผู้เลน่ ผู้ฝึกสอน เทา่ ทจ่ี ำเปน็
18. การให้สัญญาณพรอ้ มกัน
18.1 ไม่ควรแย่งกันตดั สนิ หรือไมค่ วรแยง่ กันเป่า
18.2 การเป่านกหวีดซ้อนกนั หรอื การตัดสินแยง้ กันผูอ้ ยูใ่ กลเ้ หตุการณ์ควรเป็นผขู้ าน
19. กรณีฟาวล์เทคนคิ
19.1 ต้องใช้ความรอบคอบระมดั ระวงั
19.2 การรู้จกั ผอ่ นสัน้ ผอ่ นยาว ทำให้เกมการแข่งขนั ดำเนินไปดว้ ยด
ี
20. ความทะมดั ทะแมงของผูต้ ัดสนิ
20.1 ช่วยทำใหเ้ กมสนกุ สนาน และทำให้การแขง่ ขันดำเนนิ ไปอยา่ งสดุ ฝีมอื
20.2 หากผู้ตัดสินอิดโรย เฉอื่ ยชา ทำใหเ้ กมการแขง่ ขนั ไม่สนกุ สนาน
6 คมู่ อื ผ้ตู ัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล
ลกั ษณะการแตง่ กายของผู้ตัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล
กรรมการผู้ตัดสินบาสเกตบอลต้องเป็นผู้ที่รับผิดชอบในการควบคุมการแข่งขันในสนาม
ซึ่งต้องมีชุดแต่งกายท่ีทำให้ดูมีความเช่ือถือและเกิดความศรัทธา ซ่ึงต้องมีลักษณะตามกติกา
ของสหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติข้อ 45 ซ่ึงระบุไว้ว่าชุดแต่งกายของกรรมการประกอบด้วย
เสื้อตัดสิน กางเกงขายาวสีดำ ถุงเท้าสีดำและรองเท้าบาสเกตบอลสีดำและกรรมการต้องสวมใส่
เครือ่ งแต่งกายทเ่ี หมอื นกัน
ภาพแสดงชุดเครื่องแต่งกายผตู้ ดั สินบาสเกตบอล
สัญญาณของผู้ตดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล (Basketball Official Signals)
ผู้ตัดสินบาสเกตบอลต้องมีการฝึกการใช้สัญญาณท่ีมีความจำเป็นในการลงปฏิบัติหน้าที่
การตดั สนิ บาสเกตบอล ซ่งึ สัญญาณท่ตี อ้ งใชแ้ ยกเปน็ 2 ชนิด คือ
1. สญั ญาณนกหวีด
นกหวีดท่ีผู้ตัดสินบาสเกตบอลนำมาใช้ ควรเป็นนกหวีดที่มีลักษณะเหมาะสมกับ
แต่ละบุคคล ได้แก่ ขนาดที่ง่ายต่อการคาบนกหวีดของผู้ตัดสิน สายคล้องคอท่ีมีขนาดยาวพอเหมาะ
รวมทั้งคุณภาพของเสียงทีม่ ีเสียงดัง โดยไม่ตอ้ งใช้แรงในการเป่าลมมากเกินไป เป็นตน้
ลกั ษณะของนกหวีดในการตดั สินกฬี าบาสเกตบอล มีท้ังชนดิ เหล็กและชนิดพลาสตกิ
ซึง่ ต้องมีสายคล้องคอ ดงั ภาพประกอบ
คมู่ อื ผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล 7
2. สัญญาณมอื
8 คมู่ ือผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอล 2014
OFFICIAL BASKETBALL 2014
กตกิ าบาสเกตบอลฉบับนี้ ไดเ้ รียกผเู้ ล่น ผูฝ้ กึ สอน กรรมการ หรอื บุคคลอ่ืนเป็นเพศชาย(เขา) ทง้ั หมด
ซ่ึงใหใ้ ชร้ วมไปถึงเพศหญงิ ด้วย ทงั้ นต้ี ้องเข้าใจว่ากติกาไดจ้ ัดขน้ึ เพื่อนำไปปฏบิ ตั เิ ท่าน้ัน
1
การแข่งขัน : Rule one - The game
กตกิ าหมวดท่ี
ข้อ 1 คำจำกดั ความ
1.1 การแข่งขนั บาสเกตบอล : Basketball game
บาสเกตบอลเปน็ การเล่นโดยทมี 2 ทีม แตล่ ะทมี มีผเู้ ล่น 5 คน จดุ มุ่งหมายของแต่ละทีม
คือ การทำคะแนนด้านห่วงตาข่ายของฝ่ายตรงข้าม และป้องกันฝ่ายตรงข้ามไม่ให้ทำคะแนน
การแข่งขนั ถกู ควบคุมโดยกรรมการ เจ้าหน้าทโ่ี ต๊ะ และผู้ควบคมุ การแขง่ ขัน
1.2 หว่ งตาขา่ ยฝ่ายตรงขา้ ม / หว่ งตาขา่ ยทมี ตนเอง : Basket − Opponents / Own
ห่วงตาข่ายท่ีทีมนั้นรุกไปทำคะแนน คือ ห่วงตาข่ายฝ่ายตรงข้าม และห่วงตาข่ายที่ทีมน้ัน
ปอ้ งกนั ไม่ใหฝ้ า่ ยตรงข้ามทำคะแนน คือ หว่ งตาขา่ ยทีมพวกเขาเอง
1.3 ผูช้ นะการแข่งขัน : Winner of a game
ทมี ทม่ี ีคะแนนมากกว่าเมอ่ื สน้ิ สุดเวลาการแข่งขัน จะเปน็ ผู้ชนะการแขง่ ขัน
คูม่ อื ผตู้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล 9
2กติกาหมวดท่ี สนาม และอปุ กรณ์ :
Rule two - Court and equipment
ข
้อ 2 สนาม : Court
2
.1 สนามแขง่ ขนั : Playing court
สนามแขง่ ขัน ตอ้ งเปน็ พืน้ เรยี บ แขง็ ไมม่ ีสงิ่ กดี ขวาง (ภาพที่ 1) โดยมีขนาด ยาว 28 เมตร
และกว้าง 15 เมตร ซง่ึ วัดจากขอบในของเส้น
2
.2 แดนหลงั : Backcourt
แดนหลงั ของทมี ประกอบดว้ ยห่วงตาข่ายของทีมตนเอง สว่ นของกระดานหลงั ทีย่ นื่ เขา้ มา
ในสนามแข่งขัน และส่วนของสนามแข่งขันที่กำหนดโดยเส้นหลังที่อยู่ด้านหลังห่วงตาข่าย
ของพวกเขาเอง เส้นขา้ งและเสน้ กลาง
2
.3 แดนหนา้ : Frontcourt
แดนหน้า ของทีม ประกอบด้วย ห่วงตาข่ายของฝ่ายตรงข้าม ส่วนของกระดานหลังที่ยื่น
เข้ามาในสนามแข่งขัน และส่วนของสนามแข่งขันท่ีกำหนดโดยเส้นหลังท่ีอยู่ด้านหลัง
ห่วงตาขา่ ยของฝ่ายตรงข้าม เส้นขา้ งและขอบในของเสน้ กลางใกล้หว่ งตาข่ายของฝา่ ยตรงขา้ ม
2.4 เส้น : Lines
เส้นทุกเส้นจะต้องตีด้วยสขี าว กว้าง 5 เซนติเมตร สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
2.4.1 เส้นเขตสนาม : Boundary line
สนามแข่งขันจะกำหนดด้วยเส้นเขตสนาม ประกอบด้วย เส้นหลัง และเส้นข้าง
เส้นดังกล่าวไม่ใช่ส่วนของสนามแข่งขันและส่ิงกีดขวางใด ๆ รวมทั้งท่ีน่ังของทีม
ต้องอยู่ห่างจากสนามแขง่ ขันอย่างน้อย 2 เมตร
10 คู่มอื ผตู้ ดั สินกฬี าบาสเกตบอล
ss
ภาพที่ 1 สนามแขง่ ขนั : Full size playing court
คูม่ ือผ้ตู ัดสินกฬี าบาสเกตบอล 11
2.4.2 เสน้ กลาง วงกลมกลาง และครง่ึ วงกลมโยนโทษ
: Centre line centre circle and free-throw semi-circles
เส้นกลาง จะต้องตีเส้นขนานกับเส้นหลังจากจุดกึ่งกลางของเส้นข้าง เส้นกลางจะ
ต้องตอ่ ยน่ื ออกไปจากเส้นขา้ ง 15 เซนตเิ มตร ท้ังสองดา้ น เส้นกลางเป็นสว่ นหนง่ึ ของ
แดนหลงั
วงกลมกลาง จะต้องตีเส้นวงกลมที่กึ่งกลางสนามแข่งขัน และมีรัศมี 1.80 เมตร
โดยวัดถึงขอบนอกของเส้นรอบวง ถ้าจะทาสีในวงกลมกลาง จะต้องทาเป็น
สเี ดียวกนั กบั สีของเขตกำหนดเวลา
ครึ่งวงกลมโยนโทษ จะต้องตเี สน้ ครง่ึ วงกลมไวใ้ นสนามแข่งขัน มรี ศั มี 1.80 เมตร
โดยวัดถึงขอบนอกของเส้นรอบวง ซึ่งมีจุดศูนย์กลางอยู่ท่ีก่ึงกลางเส้นโยนโทษ
(ภาพท่ี 2)
2.4.3 เส้นโยนโทษ เขตกำหนดเวลา และชอ่ งยนื เพอื่ แยง่ บอลการโยนโทษ
: Free-throw lines restricted areas and free-throw rebound places
เส้นโยนโทษ จะต้องตีเส้นขนานกับเส้นหลังของแต่ละข้าง โดยจะต้องมีขอบนอก
ไกลที่สุดห่างจากขอบในของเส้นหลัง 5.80 เมตร และมีความยาว 3.60 เมตร
จุดก่ึงกลางของเส้นโยนโทษ จะต้องอยู่บนเส้นสมมติท่ีลากต่อเชื่อมกันจาก
จุดกึ่งกลางของเสน้ หลังท้ังสองขา้ ง
เขตกำหนดเวลา จะต้องตีเป็นรูปสี่เหล่ียมมุมฉากอยู่ในสนามแข่งขันที่กำหนดโดย
เส้นหลัง เส้นท่ีย่ืนต่อของเส้นโยนโทษ และเส้นที่ลากมาจากเส้นหลัง โดยมีขอบนอก
ห่างจากจุดก่ึงกลางของเส้นหลัง 2.45 เมตร และส้ินสุดที่ขอบนอกของเส้น
ที่ย่ืนต่อของเส้นโยนโทษ เส้นต่างๆ เหล่านี้ ยกเว้นเส้นหลัง ถือเป็นส่วนหน่ึงของ
เขตกำหนดเวลา ตอ้ งทาสภี ายในเขตกำหนดเวลาเป็นสีเดียวกนั
ช่องยืนแย่งบอลการโยนโทษ ตามแนวเขตกำหนดเวลา สงวนไว้เพื่อให้ผู้เล่นยืน
ในระหว่างการโยนโทษ ใหท้ ำช่องยืนดงั กลา่ วตามภาพท่ี 2
2.4.4 เขตการยงิ ประตู 3 คะแนน : Three-point field goal area
เขตยงิ ประตู 3 คะแนนของทมี (ภาพท่ี 1 และ ภาพที่ 3) คอื พนื้ ทที่ ง้ั หมดของ
สนามแข่งขัน ยกเว้น พ้ืนที่ใกล้ห่วงตาข่ายของฝ่ายตรงข้าม โดยมีเขตกำหนด
และรวมถึงสิง่ ต่อไปนี้ :
12 คู่มือผูต้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล
• เส้นขนาน 2 เส้น ท่ีต่อย่ืนต้ังฉากออกจากเส้นหลัง โดยมีขอบนอกห่างจาก
ขอบในของเส้นข้าง 0.90 เมตร
• เส้นโค้งท่ีมีรัศมี 6.75 เมตร วัดจากจุดก่ึงกลางห่วงตาข่ายท่ีดิ่งลงมาบน
พ้ืนสนาม โดยวัดถึงขอบนอกของเส้น จุดก่ึงกลางห่วงตาข่ายบนพ้ืนสนาม
ถึงขอบในของจุดกึ่งกลางของเส้นหลัง มีระยะ1.575 เมตร เส้นโค้งต้อง
เชอ่ื มตอ่ กับเส้นขนานทัง้ สองเสน้
เสน้ 3 คะแนน ไมใ่ ช่ส่วนของเขตยิงประตู 3 คะแนน
2.4.5 เขตทนี่ ัง่ ของทีม : Team bench areas
เขตท่ีนั่งของทีม จะต้องกำหนดไว้นอกสนามแข่งขันด้วยเส้น 2 เส้น
ดังภาพที่ 1 ในเขตที่น่ังของทีมจะต้องจัดที่น่ังจำนวน 14 ที่นั่ง สำหรับ
บุคคลที่เกี่ยวข้องในทีมซ่ึงประกอบด้วย ผู้ฝึกสอน ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน
ผู้เล่นสำรอง ผู้เล่นท่ีถูกให้ออก และผู้ติดตามทีม บุคคลอ่ืนจะต้องอยู่
หลังเขตที่นง่ั ของทมี ออกไปอยา่ งน้อย 2 เมตร
2.4.6 เส้นส่งบอลเขา้ เลน่ : Throw-in lines
จะต้องตีเส้น 2 เส้น ยาว 0.15 เมตร ที่เส้นข้างนอกสนามแข่งขัน
ด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึกคะแนน โดยวัดจากขอบนอกของเส้นเหล่าน
้ี
ถงึ ขอบในของเส้นหลงั ท่ีใกลท้ ส่ี ดุ 8.325 เมตร
2.4.7 เขตพนื้ ทีค่ รง่ึ วงกลมปลอดการฟาลว์ ชน : No-charge semi-circle areas
จะตอ้ งตเี ส้นคร่งึ วงกลมปลอดการฟาลว์ ชนในสนามแขง่ ขนั ตามท่กี ำหนดดงั น้ี :
• คร่ึงวงกลมที่มีรัศมี 1.25 เมตร วัดจากจุดกึ่งกลางห่วงตาข่าย
ทีด่ ิง่ ลงมาบนพน้ื สนามถงึ ขอบในของครึง่ วงกลม
• เส้นครง่ึ วงกลมเชื่อมต่อกับ : เสน้ ขนาน 2 เส้น ท่ตี ้ังฉากกบั เส้นหลงั
วัดจากขอบในถึงจุดก่ึงกลางห่วงตาข่ายท่ีดิ่งลงมาบนพื้นสนาม
1.25 เมตร มีความยาว 0.375 เมตร และสนิ้ สดุ ทร่ี ะยะหา่ ง 1.20 เมตร
จากขอบในของเส้นหลงั
คมู่ อื ผ้ตู ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 13
เขตพ้ืนที่ครึ่งวงกลมปลอดการฟาล์วชน ครอบคลุม sFermeei--cthirrcolwes
ทั้งหมดด้วยเส้นสมมติที่เช่ือมต่อกับปลายสุดของ
เส้นขนานท่ีลากตรงลงมาด้านล่างจากขอบในของ
กระดานหลังเส้นเขตพ้ืนท่ีคร่ึงวงกลมปลอดการฟาล์วชน
เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ครึ่งวงกลมปลอดการฟาล์วชน
(ภาพที่ 2)
ภาพท่ี 2 เขตกำหนดเวลา : Restricted area
ภาพที่ 3 เขตยิงประตู 2 คะแนน / เขตยิงประตู 3 คะแนน : Two-point / Three-point field goal area
2.5 ตำแหน่งของโต๊ะผูบ้ ันทึกคะแนน และ ที่น่ังผู้เล่นขอเปลยี่ นตวั (ภาพที่ 4)
ภาพท่ี 4 โต๊ะผู้บนั ทกึ คะแนน และ ทีน่ ่ังผู้เลน่ ขอเปล่ียนตวั : Scorer’s table and substitution chairs
14 คู่มอื ผตู้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล
ข้อ 3 อปุ กรณก์ ารแข่งขัน : Equipment
อปุ กรณก์ ารแข่งขนั ท่ตี อ้ งจดั เตรยี มมีดงั น้ี :
• ชดุ อปุ กรณก์ ระดานหลงั ประกอบด้วย :
- กระดานหลงั
- ชุดหว่ งตาข่าย ประกอบดว้ ย ห่วงชนิดตา้ นแรงดึง (Pressure release) และตาขา่ ย
- โครงสร้างเคร่อื งยึดกระดานหลงั รวมถงึ นวมหุ้ม
• ลูกบาสเกตบอล
• นาฬิกาแขง่ ขัน
• ปา้ ยคะแนน (Scoreboard)
• นาฬิกายงิ ประตู (Shot clock)
• นาฬิกาจับเวลา หรือ อุปกรณ์ท่ีเหมาะสม (มองเห็นชัดเจน) สำหรับจับเวลานอก
(ไม่ใช่นาฬกิ าแข่งขัน)
• อุปกรณ์ให้สัญญาณเสียง 2 ชุด ท่ีให้เสียงดัง และแตกต่างกันอย่างชัดเจน อุปกรณ
์
แตล่ ะชดุ เพอ่ื สำหรับ
- ผคู้ วบคุมนาฬิกายิงประต
ู
- ผู้บนั ทกึ คะแนน / ผู้จับเวลา
• ใบบันทึกคะแนน
• ปา้ ยแสดงจำนวนการฟาลว์ ของผ้เู ลน่
• ปา้ ยแสดงจำนวนการฟาลว์ ของทีม
• ลูกศรแสดงการสลับการครอบครองบอล
• พ้นื สนามแข่งขนั
• สนามแข่งขนั
• แสงสว่างท่ีพอเหมาะ
สำหรับคำอธิบายรายละเอียดของอุปกรณ์บาสเกตบอลท่ีมากกว่านี้ ให้ดูในภาคผนวก
ของอุปกรณก์ ารแขง่ ขัน
คูม่ อื ผตู้ ัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล 15
3กติกาหมวดที่ ทมี : Rule three - Teams
ข้อ 4 ทีม : Teams
4
.1 คำจำกดั ความ
4.1.1 สมาชิกของทีมมีคุณสมบัติเข้าแข่งขัน เมื่อเขาได้รับมอบอำนาจให้ลงแข่งขันให้กับทีม
ตามระเบียบทฝี่ ่ายจดั การแขง่ ขนั กำหนด รวมถึงการกำหนดอาย ุ
4.1.2 สมาชิกของทีมมีสิทธ์ิลงแข่งขัน เม่ือเขามีชื่อในใบบันทึกคะแนนก่อนเริ่ม
การแขง่ ขนั ตราบใดที่เขาไมถ่ กู ตดั สทิ ธกิ์ ารแขง่ ขนั หรือ กระทำฟาล์วครบ 5 ครั้ง
4.1.3 ในระหวา่ งเวลาแขง่ ขนั สมาชกิ ของทีมมสี ถานะดงั นี้ :
• ผูเ้ ลน่ เมอ่ื เขาอย่ใู สนาม และมสี ทิ ธ์แิ ข่งขัน
• ผู้เล่นสำรอง เมอ่ื เขาไมไ่ ด้อยใู่ นสนามแขง่ ขัน แต่เขามีสทิ ธล์ิ งแข่งขัน
• เป็นผู้เล่นท่ีถูกให้ออก (excluded player) เม่ือเขาได้กระทำฟาล์วครบ
5 ครัง้ และไม่มสี ทิ ธิล์ งแข่งขนั อีกต่อไป
4.1.4 ในระหว่างช่วงพักการแข่งขัน สมาชิกของทีมทุกคนที่มีสิทธิ์ลงแข่งขัน มีสถานะ
เป็นผเู้ ลน่
4.2 หลักเกณฑ
์
4.2.1 แต่ละทมี จะประกอบดว้ ย :
• สมาชิกท่มี สี ทิ ธล์ิ งแข่งขัน จำนวนไมเ่ กิน 12 คน รวมทง้ั หัวหนา้ ทมี
• ผูฝ้ กึ สอนหนึง่ คน และผชู้ ่วยผฝู้ ึกสอนหนึ่งคน ถา้ ทมี ตอ้ งการ
• ผู้ติดตามทีมไม่เกิน 5 คน ท่ีอาจนั่งอยู่ในเขตที่นั่งของทีม และมีหน้าท่ีพิเศษ
เชน่ ผจู้ ดั การทีม แพทย์ นักกายภาพบำบัด นักสถติ ิ และล่าม เป็นตน้
4.2.2 ในเวลาแข่งขัน ผู้เล่น 5 คนของแต่ละทีม จะอยู่ในสนามแข่งขัน และสามารถ
เปล่ียนตัวได้
4.2.3 ผเู้ ล่นสำรองกลายเปน็ ผู้เลน่ และ ผ้เู ลน่ กลายเปน็ ผเู้ ลน่ สำรอง เมื่อ :
• กรรมการกวักมือเรยี กใหผ้ ้เู ลน่ สำรองเขา้ ไปในสนามแขง่ ขัน
• ในระหว่างเวลานอก หรือช่วงพักการแข่งขัน ผู้เล่นสำรองขอเปลี่ยนตัว
กบั ผบู้ นั ทกึ คะแนน
16 คู่มอื ผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอล
4.3 ชดุ แขง่ ขัน
4.3.1 ชุดแขง่ ขนั ของทมี จะประกอบดว้ ย :
• เส้ือ ที่มีสีเด่นชัดเหมือนกัน ท้ังด้านหน้า และด้านหลังผู้เล่นทุกคนต้องเก็บ
ชายเส้ือไว้ในกางเกงของตนเอง และอนุญาตให้ใส่ชุดท่ีมีเสื้อติดกับกางเกง
เปน็ ชนิ้ เดยี วกนั (All-in-one) ได
้
• กางเกงขาสน้ั ทม่ี สี ีเด่นชัดเหมอื นกนั ทั้งด้านหน้า และด้านหลัง แต่ไม่จำเปน็
ตอ้ งมีสเี ดียวกันกบั เสอ้ื ชายกางเกงต้องยาวสดุ ทเ่ี หนอื เขา่
• ถุงเท้า ทม่ี สี เี ดน่ ชัดเหมอื นกนั สำหรบั ผ้เู ลน่ ทกุ คนในทมี
4.3.2 สมาชิกของทีมแต่ละคน จะต้องใส่เสื้อท่ีมีหมายเลขท้ังด้านหน้า และด้านหลังด้วยตัวเลข
ทม่ี สี เี ข้มตดั กับสีของเส้อื อย่างเดน่ ชดั
ตวั เลขจะต้องมองเห็นไดช้ ดั เจน และมลี ักษณะดังนี้ :
• ตวั เลขด้านหลังตอ้ งสงู อยา่ งน้อย 20 เซนติเมตร
• ตัวเลขด้านหน้าต้องสูงอย่างนอ้ ย 10 เซนติเมตร
• ตัวเลขต้องมีความกว้างอย่างน้อย 2 เซนตเิ มตร
• ทกุ ทีมต้องใช้หมายเลข จาก 1 ถึง 99 รวมถึง 0 กบั 00
• ผ้เู ล่นทมี เดียวกัน ตอ้ งไม่ใสเ่ สือ้ ชดุ แข่งขนั ท่มี หี มายเลขเดยี วกัน
• การโฆษณา หรือสัญลักษณ์ (logo) จะต้องมีระยะห่างจากตัวเลขอย่างน้อย
5 เซนตเิ มตร
4.3.3 ทีมต้องมีเส้อื ชุดแขง่ ขนั อยา่ งน้อย 2 ชุด และ :
• ทมี ช่ือแรกในโปรแกรมการแข่งขัน (ทีมเหยา้ ) จะตอ้ งใสเ่ สื้อชดุ สีออ่ น
(น่าจะเปน็ สขี าว)
• ทมี ช่อื ที่สองในโปรแกรมการแข่งขนั (ทมี เยอื น) จะตอ้ งใสเ่ ส้ือชุดสเี ขม้
• อยา่ งไรก็ตาม หาก 2 ทมี ตกลงกนั ได้ พวกเขาสามารถเปลีย่ นสีเส้ือได
้
4
.4 อุปกรณอ์ ื่นๆ
4.4.1 อุปกรณ์ทุกชนิดท่ีผู้เล่นใช้ต้องเป็นอุปกรณ์ท่ีจัดไว้สำหรับการเล่นบาสเกตบอล
ไม่อนุญาตให้ใช้อุปกรณ์ใดๆ ท่ีออกแบบให้เพิ่มความสูงของผู้เล่น หรือเอื้อมได
้
ไกลข้นึ หรอื วธิ ีใดวธิ ีหน่งึ ที่ทำใหไ้ ด้เปรยี บอยา่ งไม่ยุติธรรม
คมู่ อื ผูต้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอล 17
4.4.2 ผู้เล่นจะต้องไม่สวมใส่อุปกรณ์(วัตถุสิ่งของ) ที่อาจเป็นเหตุทำให้ผู้เล่นอื่นได้รับ
บาดเจ็บ
• ไมอ่ นญุ าต ใหใ้ ชส้ ง่ิ ต่อไปนี้ :
− เครื่องป้องกันน้ิวมือ มือ ข้อมือ ข้อศอก หรือแขนท่อนล่าง เฝือก
หรือเครื่องรั้ง (braces) ที่ทำด้วยหนัง พลาสติก พลาสติกอ่อน โลหะ
หรอื วสั ดแุ ขง็ อนื่ ใด แม้จะหมุ้ ด้วยสิง่ อ่อนนุ่มก็ตาม
- วัตถทุ ่อี าจจะบาด หรือทำให้เกิดรอยถลอก (เลบ็ มือตอ้ งตดั ใหเ้ รียบรอ้ ย)
- สิ่งคลุมศีรษะ เครื่องประดับผม หรอื ประดับเพชรพลอย
• อนุญาต ให้ใช้สิ่งตอ่ ไปนี้ :
- เครื่องป้องกันไหล่ แขนท่อนบน ขาท่อนบน ขาท่อนล่าง ที่ทำด้วยวัสด
ุ
ที่ห่อหมุ้ อยา่ งด
ี
- ปลอกแขนกระชับกลา้ มเน้อื ทมี่ สี เี ด่นชดั เหมอื นกบั สเี สอ้ื ชดุ แข่งขัน
- ถุงน่องกระชับกล้ามเน้ือ ท่ีมีสีเด่นชัดเหมือนกับกางเกงขาส้ัน ถ้าใช้กับ
ขาทอ่ นบนจะต้องสุดที่เหนือเขา่ ถ้าใชก้ บั ขาทอ่ นลา่ ง ตอ้ งสดุ ทใี่ ตเ้ ขา่
- เครือ่ งปอ้ งกันหัวเข่า ตอ้ งห่อหุ้มอย่างด
ี
- เครอื่ งปอ้ งกนั การบาดเจ็บที่จมกู แมจ้ ะทำดว้ ยวัสดแุ ขง็
- เครือ่ งปอ้ งกันปาก ชนิดโปรง่ ใส ไม่มีส
ี
- แวน่ ตา หากไมท่ ำให้เกิดอนั ตรายกบั ผู้เลน่ อ่ืน
- แถบคาดศีรษะท่ีมีขนาดกว้างไม่เกิน 5 เซนติเมตร ทำด้วยผ้ายืด
สีพ้ืนสีเดียว พลาสติกอ่อน หรอื ยาง
- ผ้าเทปชนดิ โปรง่ ใส ไม่มสี ี สำหรบั ยดึ กล้ามเนอื้ แขน ไหล ่ ขา เป็นตน้
4.4.3 ในระหว่างการแข่งขัน ผู้เล่นไม่ควรแสดงป้ายช่ือโฆษณาการค้า การส่งเสริม
การขาย หรือการกุศลใดๆ เคร่ืองหมาย โลโก้ หรือส่ิงแสดงตนใดๆ รวมถึง
ท่ีแสดงบนรา่ งกาย ทรงผม หรือ ส่วนอื่นใดของเขา
4.4.4 อุปกรณ์อื่นใดที่ไม่ได้กล่าวระบุไว้ในกติกาข้อน้ี ต้องได้รับการรับรองจาก
คณะกรรมการเทคนิคของสหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติ (FIBA Technical
Commission)
ข้อ 5 ผเู้ ล่นบาดเจบ็ : Players - Injury
5.1 ในกรณีทีผ่ เู้ ล่นเกิดการบาดเจบ็ กรรมการอาจจะหยุดการแขง่ ขันได
้
18 คู่มือผตู้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล
5.2 ถ้าการบาดเจ็บเกิดขึ้นในขณะท่ีบอลกำลังเป็นบอลดี กรรมการต้องไม่เป่านกหวีดจนกว่าทีม
ที่ครอบครองบอลจะได้ยิงประตู เสียการครอบครองบอล ถือบอลเพ่ือหยุดการเล่น
หรือบอลกลายเป็นบอลตาย แต่หากจำเป็นเพ่ือคุ้มครองผู้เล่นท่ีบาดเจ็บ กรรมการสามารถ
หยุดการแข่งขันไดท้ นั ท ี
5.3 ถ้าผ้เู ลน่ ที่บาดเจ็บไมส่ ามารถเลน่ ต่อไปไดใ้ นทนั ที (ภายในประมาณ 15 วนิ าท)ี หรือ ถา้ เขา
ได้รับการดูแลรักษา เขาจะต้องถูกเปล่ียนตัว นอกจากทีมน้ันจะเหลือผู้เล่นในสนามแข่งขัน
น้อยกว่า 5 คน
5.4 บุคคลที่เก่ียวข้องในทีมอาจจะเข้าไปในสนามแข่งขันได้ โดยได้รับอนุญาตจากกรรมการเท่าน้ัน
เพ่ือดูแลรักษาผ้เู ลน่ ทบ่ี าดเจบ็ กอ่ นท่ีเขาจะถูกเปลีย่ นตัว
5.5 แพทย์อาจจะเข้าไปในสนามแข่งขันได้ โดยไม่ต้องรับการอนุญาตจากกรรมการ ถ้าแพทย์
พิจารณาวา่ ผเู้ ลน่ ทีบ่ าดเจ็บตอ้ งได้รับการดแู ลรักษาอยา่ งทนั ทีทนั ใด
5.6 ในระหว่างการแข่งขัน ผู้เล่นท่ีมีเลือดออก หรือแผลเปิดจะต้องถูกเปล่ียนตัว เขาอาจจะ
กลับเข้าไปในสนามแข่งขันได้อีก หลังจากบริเวณที่มีบาดแผล หรือแผลเปิดได้รับการปิด
อย่างเรียบรอ้ ย และเลือดหยุดไหลแล้วเท่านั้น
ถา้ ผเู้ ล่นท่ีบาดเจบ็ หรือผู้เล่นท่มี เี ลอื ดออก หรอื แผลเปิด มีอาการดีขน้ึ ในระหว่างเวลานอกที่
ขอโดยทีมใดทีมหน่ึง ก่อนที่ผู้บันทึกคะแนนจะให้สัญญาณเพ่ือการเปล่ียนตัว ผู้เล่นคนน้ัน
อาจจะเล่นต่อไปได
้
5.7 ผู้เล่นที่ถูกระบุโดยผู้ฝึกสอนให้เล่นตอนเร่ิมต้นการแข่งขัน หรือผู้เล่นที่ได้รับการรักษา
ในระหว่างการโยนโทษ อาจจะถูกเปล่ียนตัวได้ ถ้าหากมีการบาดเจ็บ ในกรณีน้ีฝ่ายตรงข้าม
มสี ิทธิ์เปลย่ี นตวั ตามในจำนวนที่เทา่ กันไดด้ ว้ ยเชน่ กนั ถา้ ตอ้ งการ
ขอ้ 6 หัวหนา้ ทมี : อำนาจ และ หนา้ ท่ี : Captain - Duties and powers
6.1 หัวหน้าทีม(CAP) คือ ผู้เล่นท่ีถูกแต่งต้ังโดยผู้ฝึกสอนให้ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของทีม
ในสนามแข่งขัน ในระหว่างการแข่งขันเขาอาจจะติดต่อกับกรรมการด้วยกริยาท่ีสุภาพ
เพ่ือขอทราบข้อมูล อย่างไรก็ตาม เขาจะติดต่อได้เฉพาะเม่ือบอลกลายเป็นบอลตาย และ
นาฬิกาแขง่ ขนั หยุดเดนิ เทา่ นัน้
6.2 หัวหน้าทีม จะต้องแจ้งต่อผู้ตัดสินในทันทีที่จบการแข่งขัน หากทีมของเขาต้องการ
ประท้วงผลการแข่งขัน และลงช่ือในใบบันทึกคะแนนที่ช่อง “ลายเซ็นหัวหน้าทีมกรณีมี
การประทว้ ง”
คู่มือผตู้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล 19
ข
อ้ 7 ผูฝ้ กึ สอน : อำนาจ และ หนา้ ที่ : Coaches: Duties and powers
7.1 ก่อนเริ่มการแข่งขันตามกำหนดการอย่างน้อย 20 นาที ผู้ฝึกสอน หรือตัวแทนของแต่ละทีม
จะต้องส่งรายชื่อผู้เล่น รวมทั้งหมายเลขของสมาชิกของทีมที่มีคุณสมบัติในการเข้าแข่งขัน
พรอ้ มทัง้ ชื่อของหวั หนา้ ทมี ผู้ฝึกสอน ผ้ชู ่วยผฝู้ กึ สอน ต่อผู้บันทึกคะแนน สมาชกิ ของทมี
ทุกคนท่ีได้กรอกชื่อลงในใบบันทึกคะแนนจะมีสิทธ์ิแข่งขัน แม้ว่าผู้เล่นเหล่านั้นจะมาถึง
ภายหลงั การเร่มิ การแข่งขันแลว้ กต็ าม
7.2 ก่อนเรม่ิ การแขง่ ขนั ตามกำหนดการอย่างน้อย 10 นาที ผู้ฝึกสอนของแต่ละทมี จะต้องยนื ยัน
รับรองรายชื่อ และหมายเลขของสมาชิกในทีมของเขา รวมท้ังช่ือผู้ฝึกสอน โดยการเซ็นชื่อ
ในใบบันทึกคะแนน ขณะเดียวกันเขาจะต้องระบุผู้เล่น 5 คนท่ีจะเร่ิมต้นการแข่งขัน
โดยผูฝ้ กึ สอนทมี เอ(A) จะต้องเป็นฝา่ ยให้ข้อมูลดังกลา่ วก่อน
7.3 บุคคลท่ีเกี่ยวข้องในทีม คือ ผู้ท่ีได้รับอนุญาตให้นั่งอยู่ในเขตที่น่ังของทีม และอยู่ภายใน
บรเิ วณพ้ืนท่ีนง่ั ของทีมเท่าน้ัน
7.4 ผู้ฝึกสอน หรือผู้ช่วยผู้ฝึกสอนอาจจะไปที่โต๊ะผู้บันทึกคะแนนในระหว่างการแข่งขัน
เพื่อขอทราบข้อมูลทางสถติ ิ เฉพาะเมื่อบอลตาย และนาฬิกาแขง่ ขนั หยุดเดินเท่านน้ั
7.5 ในระหว่างการแข่งขัน อนุญาตให้ผู้ฝึกสอน หรือผู้ช่วยผู้ฝึกสอนคนใดคนหนึ่งเท่านั้นยืนได้
ตามช่วงเวลาที่กำหนดไว้ พวกเขาอาจจะพูดจาติดต่อกับผู้เล่นได้ โดยมีข้อแม้ว่าพวกเขา
จะตอ้ งคงอยู่ในเขตที่นง่ั ของทีม ผชู้ ว่ ยผูฝ้ ึกสอนไมส่ ามารถพูดจาสอ่ื สารกบั กรรมการได้
7.6 ถ้ามีผู้ช่วยผู้ฝึกสอน ช่ือของเขาจะต้องถูกบันทึกลงในใบบันทึกคะแนนก่อนเริ่มต้น
การแขง่ ขนั (ไม่จำเป็นตอ้ งมีลายเซน็ ) เขาจะต้องรับหนา้ ที่ และอำนาจท้งั หมดของผ้ฝู ึกสอน
ในกรณีทผี่ ูฝ้ กึ สอน ไมส่ ามารถทำหน้าทีต่ อ่ ไปได้ดว้ ยเหตุผลใดก็ตาม
7.7 เมื่อหัวหน้าทีมต้องออกจากสนามแข่งขัน ผู้ฝึกสอนจะต้องแจ้งหมายเลขของผู้เล่นที่จะ
ปฏิบตั ิหนา้ ทีห่ ัวหนา้ ทมี แทนในสนามแข่งขนั ให้กรรมการทราบ
7.8 หัวหน้าทีมจะต้องทำหน้าที่ผู้ฝึกสอน ถ้าทีมน้ันไม่มีผู้ฝึกสอน หรือผู้ฝึกสอนไม่สามารถ
ทำหน้าท่ีต่อไปได้ และไม่มีช่ือผู้ช่วยผู้ฝึกสอนอยู่ในใบบันทึกคะแนน (หรือต่อมาไม่สามารถ
ทำหน้าท่ีได้) ถ้าหัวหน้าทีมต้องออกจากสนามแข่งขัน เขาอาจจะเป็นผู้ฝึกสอนต่อไปได้
ถ้าเขาต้องออกจากสนามแข่งขันจากการทำฟาล์วเสียสิทธ์ิ หรือเขาไม่สามารถทำหน้าที่เป็น
ผู้ฝึกสอนต่อไปได้ เพราะการบาดเจ็บ ผู้เล่นท่ีเปล่ียนมาเป็นหัวหน้าทีม สามารถเป็น
ผู้ฝกึ สอนแทนเขาได้ด้วย
7.9 ผูฝ้ กึ สอนจะตอ้ งเป็นคนระบุตวั ผูโ้ ยนโทษของทมี เขา ในทกุ กรณที ีก่ ตกิ าไมไ่ ด้ระบุผ้โู ยนโทษ
20 คู่มอื ผู้ตดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล
4 กติกาหมวดท่ี ระเบียบการแขง่ ขัน :
Rule four - Playing regulations
ข้อ 8 เวลาการแข่งขนั คะแนนเทา่ กัน และการต่อเวลาพเิ ศษ
: Playing time tied score and extra periods
8.1 การแข่งขนั ต้องประกอบด้วย 4 ช่วงเวลา ช่วงเวลาละ 10 นาที
8
.2 จะตอ้ งมชี ่วงพกั การแข่งขนั ก่อนเรมิ่ ตน้ การแข่งขนั ตามกำหนดการ 20 นาที
8.3 จะตอ้ งมชี ว่ งพกั การแข่งขัน 2 นาที ระหวา่ งช่วงเวลาท่หี น่ึง กบั ช่วงเวลาที่สอง (คร่ึงแรก)
ระหว่างชว่ งเวลาทสี่ าม กับ ช่วงเวลาที่ส่ี (ครึง่ หลงั ) และ ก่อนแตล่ ะช่วงการตอ่ เวลาพเิ ศษ
8.4 จะตอ้ งมชี ่วงพักครึง่ เวลาการแข่งขัน 15 นาที (ระหว่างชว่ งเวลาทสี่ องกับชว่ งเวลาทส่ี าม)
8.5 ชว่ งพกั การแข่งขนั เร่มิ ต้น :
• 20 นาที ก่อนเริ่มการแข่งขันตามกำหนดการ
• เม่อื เสยี งสญั ญาณนาฬิกาเวลาแขง่ ขนั ดังขนึ้ เมอื่ หมดช่วงเวลา
8.6 ช่วงพักการแข่งขนั สิ้นสุด :
• เมื่อเร่ิมต้นการแข่งขันของช่วงเวลาท่ีหน่ึง ขณะที่ลูกบอลหลุดจากมือของผู้ตัดสิน
ในการโยนบอล เพอื่ เลน่ ลกู กระโดด
• เมือ่ เรมิ่ ตน้ การแข่งขันของทุกช่วงเวลา เมอื่ ลกู บอลอย่กู บั ผู้เล่นทีจ่ ะสง่ บอลเข้าเลน่
8.7 ถา้ คะแนนเทา่ กัน เมอื่ หมดเวลาการแข่งขันของช่วงเวลาทส่ี ี่ การแข่งขนั จะตอ้ งดำเนินตอ่ ไป
ด้วยการต่อเวลาพิเศษเป็นเวลา 5 นาที หากจำเป็นอาจต้องต่อเวลาพิเศษหลายคร้ังก็ได้
เพือ่ ให้มผี ลชนะ − แพ้
8.8 ถ้ามีการกระทำฟาล์วขณะที่หรือก่อนที่เสียงสัญญาณนาฬิกาแข่งขันดังหมดเวลา
การโยนโทษใดๆ ทีจ่ ะเกดิ ข้ึนในช่วงท้ายนี้ จะตอ้ งดำเนนิ การหลงั จากหมดเวลาการแข่งขัน
8.9 ถ้าต้องมีการต่อเวลาพิเศษจากผลของการโยนโทษดังกล่าว การฟาล์วทั้งหมดท่ีกระทำหลัง
จากหมดเวลาการแข่งขัน ให้พิจารณาว่าเป็นการฟาล์วท่ีเกิดขึ้นในระหว่างช่วงพักการแข่งขัน
และการโยนโทษจะต้องดำเนินการกอ่ นเริ่มการแข่งขนั ของชว่ งต่อเวลาพิเศษ
คู่มอื ผู้ตดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 21
ข้อ 9 การเร่มิ ต้น และการส้นิ สุดของช่วงเวลาแขง่ ขนั หรอื การแข่งขัน
: Beginning and end of a period or the game
9.1 ช่วงเวลาท่ีหนึ่ง เริ่มต้นเม่ือลูกบอลหลุดจากมือของผู้ตัดสินในขณะโยนบอล เพื่อเล่น
ลกู กระโดด
9.2 ช่วงเวลาอืน่ ทง้ั หมด เร่ิมตน้ เมอ่ื ลูกบอลอยูก่ บั ผ้เู ลน่ ทจี่ ะส่งบอลเขา้ เลน่
9.3 การแข่งขันไม่สามารถเร่ิมต้นได้ ถ้าทีมใดทีมหนึ่งไม่อยู่ในสนามแข่งขัน ด้วยผู้เล่น 5 คน
ทีพ่ รอ้ มจะแข่งขัน
9.4 สำหรับการแข่งขันทุกคร้ัง ให้ทีมท่ีมีชื่อแรกในโปรแกรม(ทีมเหย้า) จะต้องได้ที่นั่งของทีม
และห่วงตาข่ายฝ่ายตัวเองอยู่ทางด้านซ้ายของโต๊ะผู้บันทึกคะแนน เม่ือหันหน้าเข้าหา
สนามแข่งขัน อย่างไรก็ตาม ถ้าทั้งสองทีมตกลงกันได้ พวกเขาสามารถสับเปลี่ยนที่นั่ง
ของทมี และ/หรือห่วงตาขา่ ยของทีมได้
9.5 ก่อนเริ่มการแข่งขันช่วงเวลาท่ีหน่ึง และช่วงเวลาท่ีสาม ทั้งสองทีมมีสิทธ์ิอบอุ่นร่างกาย
ในครึ่งสนามแขง่ ขันด้านหว่ งตาข่ายของฝ่ายตรงขา้ มได
้
9
.6 ทัง้ สองทมี ตอ้ งเปลยี่ นห่วงตาขา่ ยในครงึ่ เวลาหลงั
9.7 ในทุกช่วงของการต่อเวลาพิเศษ ทั้งสองทีมต้องเริ่มแข่งขันอีกคร้ัง ด้วยการรุกไปยัง
หว่ งตาขา่ ยเดมิ เหมอื นในชว่ งเวลาทส่ี
ี่
9.8 ช่วงเวลาการแข่งขัน ช่วงต่อเวลาพิเศษ หรือการแข่งขัน จะส้ินสุดลงเม่ือเสียงสัญญาณ
นาฬิกาแข่งขันดังข้ึนสำหรับช่วงเวลานั้นๆ หากกระดานหลังได้ติดตั้งอุปกรณ์แสงไฟ
รอบขอบนอกกระดาน ให้ยึดแสงไฟเป็นหลกั เหนอื เสยี งสัญญาณของนาฬิกาแขง่ ขนั
ขอ้ 10 สถานภาพของลกู บอล : Status of the ball
10.1 ลกู บอลสามารถเปน็ ได้ทั้ง บอลดี หรอื บอลตาย
10.2 ลูกบอลกลายเป็น บอลดี (ball becomes live) เมอ่ื :
• ในระหวา่ งการเล่นลกู กระโดด ลูกบอลหลุดจากมือของผู้ตดั สนิ ขณะโยนบอล
• ในระหวา่ งการโยนโทษ ลกู บอลอยู่กบั ผู้เลน่ ทจี่ ะโยนโทษ
• ในระหวา่ งการส่งบอลเขา้ เล่น ลูกบอลอยู่ที่ผ้เู ลน่ ที่จะสง่ บอลเขา้ เล่น
10.3 ลกู บอลกลายเป็น บอลตาย (ball becomes dead) เมอ่ื :
• การยิงประตู หรือการโยนโทษเปน็ ผล
22 คูม่ อื ผ้ตู ัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล
• กรรมการเป่านกหวดี ของเขา ขณะท่ลี กู บอลเปน็ บอลดี
• เป็นทแ่ี นช่ ัดว่า ลูกบอลไมล่ งห่วงตาข่ายจากการโยนโทษ ทีต่ อ้ งดำเนนิ การต่อไป โดย
- มีการโยนโทษอกี
- มบี ทลงโทษเพ่ิมอกี (การโยนโทษ และ/หรือ การไดค้ รอบครองบอล)
• เสยี งสญั ญาณนาฬกิ าแข่งขันดงั หมดเวลา สำหรับชว่ งเวลาการแขง่ ขัน
• เสียงสญั ญาณของนาฬกิ ายงิ ประตูดัง ในขณะมีทีมครอบครองบอล
• ลกู บอลทีล่ อยอยใู่ นอากาศจากการยงิ ประตู ถูกผ้เู ล่นทีมใดทมี หนึ่ง หลังจาก :
- กรรมการเป่านกหวดี ของเขา
- เสียงสัญญาณนาฬกิ าเวลาการแขง่ ขนั ดังหมดเวลา
- เสยี งสญั ญาณของนาฬกิ ายิงประตดู งั
10.4 ลกู บอล ไม่ กลายเป็น บอลตาย และใหน้ ับเปน็ ประตู ถา้ ลกู บอลลงห่วงตาขา่ ย เมื่อ :
• ลูกบอลลอยอยู่ในอากาศจากการยงิ ประตู แล้ว :
- กรรมการเปา่ นกหวดี ของเขา
- เสียงสัญญาณนาฬกิ าเวลาการแขง่ ขันดงั หมดเวลา
- เสียงสัญญาณของนาฬิกายิงประตดู งั
• ลูกบอลลอยอยู่ในอากาศจากการโยนโทษ และกรรมการเป่านกหวีด เน่ืองจาก
มกี ารละเมดิ กตกิ าที่กระทำโดยผู้เลน่ อนื่ ที่ไมใ่ ช่ผโู้ ยนโทษ
• ผู้เล่นกระทำฟาล์วฝ่ายตรงข้ามท่ีมีลูกบอลอยู่ในครอบครอง และกำลังยิงประตู
และเขาไดส้ ้นิ สดุ การยิงประตจู ากการเคล่ือนที่ต่อเนื่อง ซึ่งไดเ้ ริ่มต้นมาก่อนท่ีจะเกิดการฟาล์ว
ข้อกำหนดต่อไปนี้ ไม่ให้นำมาใช้ และ ไม่นับเป็นประตู ถ้า
- หลังจากกรรมการเป่านกหวีดของเขา แล้วได้ทำท่ากำลังยิงประตูครั้งใหม่
(new act of shooting)
- ในระหว่างการเคล่ือนท่ีต่อเน่ืองของผู้เล่นที่อยู่ในท่ากำลังยิงประตู มีเสียงสัญญาณ
นาฬิกาเวลาการแขง่ ขัน หรือเสยี งสัญญาณของนาฬกิ ายิงประตดู ังขึ้น
ข้อ
11 ตำแหนง่ ของผู้เลน่ และกรรมการ : Location of a player and an official
11.1 ตำแหน่งของ ผเู้ ลน่ ถกู กำหนดโดยพ้นื ท่ซี งึ่ เขากำลังสัมผสั พืน้ สนาม ขณะที่เขากำลงั ลอยตัว
ในอากาศ เขายังคงอยู่ในสถานภาพเหมือนตอนที่เขาได้สัมผัสพื้นสนามครั้งสุดท้าย รวมทั้ง
เส้นเขตสนาม เส้นกลาง เส้นเขตยิงประตู 3 คะแนน เส้นโยนโทษ เส้นเขตกำหนดเวลา
และเส้นกำหนดเขตพน้ื ท่คี รึง่ วงกลมปลอดการฟาล์วชน
11.2 ตำแหน่งของ กรรมการ ถูกกำหนดในลักษณะเช่นเดียวกันกับผู้เล่น ถ้าลูกบอลสัมผัส
กรรมการ ใหเ้ ปรียบเสมือนกับลกู บอลถกู พ้นื สนามท่ตี ำแหน่งน้นั ของกรรมการ
คู่มือผ้ตู ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 23
ข้อ 12 ลกู กระโดด และการสลับการครอบครองบอล : Jump ball and alternating
possession
12.1 คำจำกัดความ : ลูกกระโดด
12.1.1 ลูกกระโดด เกิดข้ึนเมื่อกรรมการโยนบอลขึ้นระหว่างผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามกันคนใด
ก็ได้ 2 คน ในวงกลมกลาง ตอนเรมิ่ ต้นการแข่งขนั ของชว่ งเวลาทีห่ นง่ึ
12.1.2 ลูกยึด (held ball) เกิดข้ึนเมื่อผู้เล่นหน่ึงคนหรือมากกว่าจากทีมตรงข้ามกัน
ใช้มือเดียว หรือสองมือจับบอลไว้อย่างมั่นคง โดยไม่มีผู้เล่นคนใดสามารถ
ครอบครองบอลได้ โดยปราศจากการเล่นท่กี า้ วร้าว รนุ แรง
12.2 วธิ ีดำเนินการเล่นลูกกระโดด : Jump ball procedure
12.2.1 ผู้เล่นลูกกระโดดแต่ละคน จะต้องยืนให้เท้าท้ังสองข้างอยู่ในคร่ึงวงกลมด้านใกล
้
หว่ งตาข่ายของเขาเอง และต้องให้เทา้ ข้างหนง่ึ อยู่ใกลเ้ สน้ กลาง
12.2.2 ผู้เล่นทีมเดียวกัน จะต้องไม่ยืนชิดติดกันรอบวงกลม ถ้าฝ่ายตรงข้ามต้องการ
เขา้ ไปยืน ณ ตำแหนง่ นัน้
12.2.3 ต่อจากน้ัน กรรมการจะต้องโยนบอลตรงขึ้นเป็นแนวดิ่งระหว่างผู้เล่นลูกกระโดด
2 คน ให้สงู กว่าทีผ่ ู้เลน่ คนใดสามารถกระโดดเอ้ือมถึง
12.2.4 ลูกบอลจะต้องถูกปัดด้วยมือเดียว(สองมือ) ของผู้เล่นลูกกระโดดอย่างน้อยหนึ่งคน
หลังจากลกู บอลขึน้ ไปถึงจดุ สงู สุด
12.2.5 ผู้เล่นลูกกระโดด จะต้องไม่ออกจากตำแหน่งของเขาจนกว่าลูกบอลได้ถูกปัด
อยา่ งถกู กตกิ า
12.2.6 ผู้เล่นลูกกระโดด จะต้องไม่จับบอลหรือปัดบอลมากกว่าสองครั้ง จนกว่าลูกบอล
ได้สมั ผัสผเู้ ลน่ ท่ีไมไ่ ด้เลน่ ลกู กระโดดหรอื ได้สัมผัสพ้นื
12.2.7 หากลกู บอลไมไ่ ดถ้ ูกปดั โดยผู้เล่นลูกกระโดดอยา่ งนอ้ ยหน่งึ คน จะตอ้ งดำเนินการ
เลน่ ลูกกระโดดใหม่
12.2.8 ผู้เล่นท่ีไม่ได้เล่นลูกกระโดด จะต้องไม่ทำให้ส่วนหน่ึงส่วนใดของร่างกายอยู่บน
แนวเส้นรอบวง หรือยื่นล้ำข้ามเส้นรอบวงกลม(รูปทรงกระบอก) ก่อนท่ีลูกบอล
จะถกู ปัด
การละเมิดกติกาข้อ 12.2.1, 12.2.4, 12.2.6 และ 12.2.8 เปน็ การทำผิดระเบยี บ
12.3 สถานการณล์ กู กระโดด : Jump ball situations
สถานการณ์ลูกกระโดดเกิดขึ้น เมอื่ :
• มกี ารเรียกลูกยดึ
24 ค่มู ือผตู้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอล
• ลูกบอลออกนอกสนาม และกรรมการไม่แน่ใจ หรือขัดแย้งกันว่าผู้เล่นฝ่ายใดเป็น
ผสู้ ัมผัสลกู บอลเป็นคนสุดท้าย
• เกิดการทำผิดระเบียบการโยนโทษของทั้งสองฝ่าย ในระหว่างการโยนโทษครั้งสุดท้าย
หรือครงั้ เดียวท่ีไมเ่ ป็นผลสำเรจ็
• บอลดี ติดค้างระหว่างห่วงกับกระดานหลัง (ยกเว้น ระหว่างมีการโยนโทษหลายคร้ัง
และหลังจากการโยนโทษคร้ังสุดท้ายหรือครั้งเดียว ท่ีติดตามด้วยการส่งบอลเข้าเล่น
ท่ีแนวย่นื ตอ่ ของเสน้ กลางด้านตรงขา้ มโตะ๊ ผบู้ นั ทกึ คะแนน)
• ลกู บอลกลายเปน็ บอลตาย ขณะท่ไี ม่มีทมี ใดครอบครองบอล หรือมีสิทธิไ์ ดค้ รอบครองบอล
• ภายหลังการยกเลิกบทลงโทษท่ีเท่ากันของทั้งสองทีม ไม่มีบทลงโทษการฟาล์วอ่ืนเหลือ
ให้ดำเนินการต่อไป และไม่มีทีมใดได้ครอบครองบอลมาก่อน หรือมีสิทธ์ิได
้
ครอบครองบอลกอ่ นมกี ารฟาลว์ คร้งั แรก หรือก่อนมีการทำผดิ ระเบยี บครงั้ แรก
• เริ่มต้นการแขง่ ขันชว่ งเวลาทห่ี นงึ่ ยกเวน้ ชว่ งเวลาอ่นื
1
2.4 คำจำกดั ความ : การสลับการครอบครองบอล : Alternating possession definition
12.4.1 การสลับการครอบครองบอล คือ วิธีการที่ทำให้บอลกลายเป็นบอลดี ด้วยการ
สง่ บอลเข้าเลน่ แทนการเล่นลกู กระโดด
12.4.2 การสลับการส่งบอล : Alternating possession throw-in
• เรมิ่ ต้น เมอ่ื ลูกบอลอยูก่ ับผู้เลน่ ที่จะสง่ บอลเข้าเล่น
• ส้นิ สุด เมือ่
- ลกู บอลสมั ผัส หรือถกู ผเู้ ลน่ ในสนามสมั ผสั อยา่ งถูกกตกิ า
- ทีมที่ส่งบอลเข้าเลน่ ทำผิดระเบยี บ
- บอลดตี ิดค้างระหว่างห่วงกับกระดานหลัง ในระหว่างการส่งบอลเขา้ เล่น
12.5 วธิ ีดำเนนิ การสลับการครอบครองบอล : Alternating possession procedure
12.5.1 ในสถานการณ์ลูกกระโดดทั้งหมด ท้ังสองทีมจะต้องสลับการครอบครองบอล
โดยการสง่ บอลเข้าเล่น ณ ตำแหน่งทีใ่ กล้กับที่เกดิ สถานการณ์ลกู กระโดด
12.5.2 ทีมท่ีไม่ได้ครอบครองบอลดีในสนามแข่งขัน ภายหลังการเล่นลูกกระโดด
เม่อื ตอนเร่ิมตน้ การแขง่ ขันของช่วงทห่ี นง่ึ จะได้สิทธิ์การสลับการครอบครองบอล
เปน็ ครั้งแรก
12.5.3 ทีมที่ได้สิทธิ์ในการสลับการครอบครองบอลคร้ังต่อไป ณ ตอนส้ินสุดการแข่งขัน
ของแต่ละชว่ งเวลาจะเป็นฝา่ ยเร่ิมตน้ การแขง่ ขนั ในช่วงเวลาตอ่ ไปด้วยการส่งบอล
เข้าเล่น ณ แนวต่อย่ืนของเส้นกลางด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึกคะแนน ยกเว้น
จะมกี ารโยนโทษและการครอบครองบอล ท่ตี ้องดำเนนิ การเพม่ิ เติม
12.5.4 ทีมที่ได้สิทธิ์ในการส่งบอลจากการสลับการครอบครองบอล จะแสดงให้เห็นด้วย
ลูกศรสลับการครอบครองบอลท่ีช้ีไปทางด้านห่วงตาข่ายของคู่แข่งขัน ทิศทาง
คมู่ ือผูต้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 25
ของลูกศรสลับการครอบครองบอล จะชี้กลับตรงข้ามทันที เม่ือการส่งบอลเข้าเล่น
จากการสลับการครอบครองบอลสิน้ สดุ
12.5.5 การทำผิดระเบียบของทีมในระหว่างการส่งบอลเข้าเล่นจากการสลับการครอบครองบอล
จะทำให้ทีมนั้นสูญเสียการส่งบอลเข้าเล่นจากการสลับการครอบครองบอล
ทิศทางของลูกศรการสลับการครอบครองบอลจะชี้กลับตรงข้ามทันที แสดงว่า
ฝ่ายตรงข้ามกบั ทมี ท่ที ำผดิ ระเบียบ จะเปน็ ฝ่ายไดส้ ทิ ธ์ใิ นการสง่ บอลจากการสลบั
การครอบครองบอลเม่ือเกิดสถานการณ์ลูกกระโดดคร้ังต่อไป จากนั้นให้เริ่ม
การแข่งขันใหม่ โดยให้ลูกบอลแก่ฝ่ายตรงข้ามกับทีมท่ีทำผิดระเบียบเพ่ือส่งบอล
เขา้ เล่น ณ จดุ ส่งบอลเขา้ เลน่ ครงั้ แรก
12.5.6 การฟาลว์ โดยทมี ใดทมี หนึ่ง (ทเ่ี กดิ ขนึ้ ) :
• ก่อนเริม่ ตน้ แขง่ ขนั ของช่วงเวลาอืน่ ทนี่ อกเหนือจาก ช่วงเวลาที่หนึ่ง หรือ
• ในระหว่าง การส่งบอลเข้าเล่นจากการสลับการครอบครองบอลจะไม่เป็นเหต
ุ
ใหท้ มี ที่ได้สิทธ์สิ ่งบอลเข้าเล่น ต้องสญู เสียสิทธิใ์ นการสลบั การครอบครองบอล
ข้อ 13 วิธีการเลน่ ลกู บอล : How the ball is played
1
3.1 คำจำกัดความ
ในระหว่างการแข่งขัน ลูกบอลจะถูกเล่นด้วยมือเดียว(สองมือ) เท่าน้ัน และอาจถูกส่ง โยน
ปดั กลิ้ง หรอื เลี้ยงไปในทิศทางใดกไ็ ด้ ภายใตข้ อ้ กำหนดของกติกานี ้
13.2 หลักเกณฑ์
ผู้เล่นจะต้องไม่วิ่งไปพร้อมกับลูกบอล ไม่เจตนา (deliberately) เตะ หรือสกัดก้ันลูกบอลด้วย
ส่วนใดๆ ของขา หรือชกลูกบอลด้วยหมัด อย่างไรก็ตามถ้าลูกบอลบังเอิญมากระทบ หรือ
สัมผสั ลกู บอลด้วยส่วนหน่งึ สว่ นใดของขา ถอื ว่าไมเ่ ป็นการทำผิดระเบยี บ
การละเมิดกติกาข้อ 13.2 เปน็ การทำผดิ ระเบียบ
ข
้อ 14 การครอบครองบอล : Control of the ball
1
4.1 คำจำกดั ความ
14.1.1 การครอบครองบอลของทีม เริ่มต้นเม่ือผู้เล่นของทีมน้ันได้ครอบครองบอลดี
(live ball) โดยการถือบอล หรือเลี้ยงบอล หรือบอลดีอยู่ท่ีผู้ถูกกำหนดให้เล่น
บอลของทมี เขา
26 คู่มือผ้ตู ดั สินกฬี าบาสเกตบอล
14.1.2 การครอบครองบอลของทมี ยังคงตอ่ เน่ือง เมอ่ื :
• ผู้เล่นของทีมนัน้ กำลงั ครอบครองบอลดี
• ลกู บอลกำลงั ถกู ส่งระหว่างผู้เล่นทมี เดยี วกนั
14.1.3 การครอบครองบอลของทีม ส้นิ สุด เม่อื :
• ฝา่ ยตรงขา้ มได้ครอบครองบอล
• ลูกบอลกลายเป็นบอลตาย
• ลกู บอลปล่อยจากมอื ของผูเ้ ลน่ ที่ยงิ ประตู หรอื โยนโทษ
ข
้อ 15 ผเู้ ล่นอยู่ในทา่ กำลังยิงประตู : Player in the act of shooting
1
5.1 คำจำกัดความ
15.1.1 การยิง (A shot) ประตู หรือ การโยนโทษ (a free throw) คือ การกระทำ
เมื่อลูกบอลถูกจับอยู่ในมือเดียว(สองมือ) ของผู้เล่น และต่อจากนั้นถูกโยนข้ึนไป
ในอากาศตรงไปยังห่วงตาข่ายของฝ่ายตรงข้าม การปัด (A tap) คือ การกระทำ
เมอ่ื ลกู บอลถูกควบคมุ ดว้ ยมือเดยี ว(สองมอื ) ใหต้ รงไปยงั ห่วงตาข่ายของฝ่ายตรงขา้ ม
การยัดห่วง (A dunk) คือ การกระทำเมื่อลูกบอลถูกแรงกดลงไปในห่วงตาข่าย
ของฝ่ายตรงขา้ มด้วยมือเดยี ว หรือ สองมือ
การปัด และการยดั ห่วง ให้พจิ ารณาเป็นการยงิ ประตูเช่นเดียวกัน
15.1.2 ทา่ กำลังยงิ ประตู : The act of shooting
• เริ่มต้น เมื่อผู้เล่นเร่ิมเคลื่อนที่อย่างต่อเนื่องตามปกติ ก่อนปล่อยลูกบอล
ออกจากมือ โดยกรรมการพิจารณาว่า เขาได้เร่ิมต้นพยายามท่ีจะทำคะแนน
ด้วยการโยน ปัด หรือยัดลกู บอล ไปยงั ห่วงตาข่ายของฝ่ายตรงขา้ ม
• ส้ินสุด เม่ือลูกบอลได้หลุดออกจากมือเดียว(สองมือ) และในกรณีผู้ยิงประต
ู
ลอยตวั ในอากาศ ท่ากำลงั ยงิ ประตสู น้ิ สุดเมื่อเทา้ ท้ังสองขา้ งไดล้ งสพู่ ื้นแลว้
ผู้เล่นที่กำลังพยายามทำคะแนนอาจถูกฝ่ายตรงข้ามดึงแขนเดียว(สองแขน) เพื่อป้องกัน
ไม่ให้เขาทำคะแนน ถึงกระนั้นก็ตาม ยังพิจารณาว่าเขาได้กำลังพยายามทำคะแนน ในกรณีน
้ี
จึงไม่จำเป็นที่ลูกบอลจะต้องหลุดออกจากมือเดียว(สองมือ) ของผู้เล่นคนน้ัน ไม่มีความ
สัมพันธ์ใดๆ ระหว่างจำนวนกา้ วตามกติกากบั ท่ากำลังยงิ ประตู
15.1.3 การเคลอื่ นทต่ี ่อเนือ่ ง ของทา่ กำลังยงิ ประต ู
• เริ่มตน้ เม่ือลูกบอลได้พักอยูใ่ นมือเดียว(สองมือ) ของผู้เลน่ และการเคลื่อนท่
ี
ยงิ ประตไู ดเ้ รม่ิ ต้นแล้ว โดยปกติจะเคลือ่ นทขี่ ึน้
คมู่ อื ผตู้ ัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล 27
• อาจจะรวมท้ังการเคล่ือนท่ีของแขนเดียว(สองแขน) และ/หรือส่วนของ
รา่ งกายในความพยายามของเขาเพอ่ื ทำประตู
• สิ้นสุด เม่ือลูกบอลได้หลุดจากมือเดียว(สองมือ) หรือถ้าได้เริ่มท่ากำลัง
ยิงประตใู หม่ทัง้ หมด
ขอ้ 16 ประตู : การไดป้ ระตูและค่าของประตู : Goal : When made and its value
16.1 คำจำกัดความ
16.1.1 ประตูทำได้ เมอ่ื บอลดีเข้าไปในห่วงตาขา่ ยจากด้านบน แล้วคงอยภู่ ายใน
ตาขา่ ย หรือ ผา่ นห่วงตาขา่ ยลงไป
16.1.2 ลูกบอลจะถูกพิจารณาว่าอยู่ภายในห่วงตาข่าย เม่ือส่วนเพียงเล็กน้อย
ของลูกบอลอยภู่ ายในหว่ ง และตำ่ กวา่ ระดบั ของห่วง
16.2 หลกั เกณฑ์
16.2.1 ใหป้ ระตแู กท่ ีมทร่ี กุ หว่ งตาขา่ ยของฝา่ ยตรงข้าม ซง่ึ ลกู บอลได้ลงหว่ งตาขา่ ย
ดังนี้ :
• ประตู ทไี่ ด้ปล่อยจาก การโยนโทษ นบั 1 คะแนน
• ประตู ทีไ่ ด้ปลอ่ ยจากเขตพืน้ ที่ 2 คะแนน นับ 2 คะแนน
• ประตู ท่ไี ด้ปลอ่ ยจากเขตพ้ืนท่ี 3 คะแนน นบั 3 คะแนน
• หลังจากลูกบอลได้สัมผัสห่วงจากการโยนโทษครั้งสุดท้าย
หรือครั้งเดียว แล้วลูกบอลถูกสัมผัสอย่างถูกกติกาโดยผู้เล่นฝ่ายรุก
หรอื ฝา่ ยปอ้ งกัน ก่อนท่ีลกู บอลจะลงหว่ ง ใหน้ ับประตนู นั้ เปน็ 2 คะแนน
16.2.2 ถ้าผู้เล่น บังเอิญ ทำคะแนนได้โดยการยิงประตูลงห่วงตาข่ายของทีม
เขาเอง ให้นับประตูเป็น 2 คะแนน และจะบันทึกเป็นการทำคะแนน
โดยหัวหน้าทมี ตรงขา้ มที่อยู่ในสนามแขง่ ขัน
16.2.3 ถ้าผู้เล่น เจตนา ทำคะแนนได้ โดยการยิงประตูลงห่วงตาข่ายของทีม
เขาเอง ถอื เป็นการทำผดิ ระเบียบ และไมน่ ับเปน็ ประตู
16.2.4 ถ้าผู้เล่นทำให้ลูกบอลทะลุผ่านห่วงตาข่ายจากด้านล่างข้ึนไปท้ังลูก
ถอื เปน็ การทำผิดระเบียบ
16.2.5 นาฬกิ าแข่งขันต้องแสดงเวลา 0:00.3 วินาที (เศษสามส่วนสิบของวนิ าท)ี
หรือมากกว่า เพื่อให้ผู้เล่นท่ีได้ครอบครองบอลจากการส่งบอลเข้าเล่น
หรือจากการแย่งบอลหลังจากการโยนโทษคร้ังสุดท้าย หรือคร้ังเดียว
ได้พยายามยิงประตู ถ้านาฬิกาแข่งขันแสดงเวลา 0:00.2 วินาที หรือ
0:00.1 วินาที แล้ว วิธีการยิงประตูท่ีถูกต้องตามกติกา คือการยิงประต
ู
โดยการปดั บอล หรอื การยัดลกู บอลลงห่วงโดยตรงเทา่ นน้ั
28 คู่มอื ผู้ตัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล
ขอ้ 17 การสง่ บอลเขา้ เลน่ : Throw - in
1
7.1 คำจำกัดความ
17.1.1 การส่งบอลเข้าเล่น เกิดข้ึนเมื่อลูกบอลถูกส่งเข้าไปในสนามแข่งขัน โดยผู้เล่น
ที่อย่นู อกสนามเปน็ ผู้สง่ เข้าเลน่
1
7.2 วิธีดำเนนิ การ
17.2.1 กรรมการต้องยื่นบอล หรือวางบอล ให้ผู้เล่นที่ส่งบอลเข้าเล่น เขาอาจจะโยน
หรอื สง่ บอลกระดอนพน้ื ไปให้ผเู้ ล่น โดยมีเงือ่ นไข ดงั น้ี :
• กรรมการอยู่หา่ งจากผเู้ ล่นที่ส่งบอลเขา้ เล่น ไม่เกิน 4 เมตร
• ผเู้ ล่นท่สี ่งบอลเขา้ เลน่ อยู่ ณ ตำแหนง่ ทถี่ กู ตอ้ งตามทกี่ รรมการกำหนด
17.2.2 ผู้เล่นต้องส่งบอลเข้าเล่น ณ จุดใกล้กับท่ีมีการทำผิดระเบียบ หรือจุดใกล้กับ
ท่ีกรรมการไดห้ ยดุ การแขง่ ขนั ยกเวน้ ตรงด้านหลังแป้นกระดาน
17.2.3 ในสถานการณ์ต่อไปน้ี การส่งบอลเข้าเล่นท่ีตามมา จะต้องดำเนินการ
ณ แนวยน่ื ตอ่ ของเสน้ กลาง ด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บนั ทึกคะแนน
• ในชว่ งเวลาเร่มิ ตน้ ของทุกช่วงเวลาแข่งขัน นอกเหนือจากชว่ งเวลาท่หี น่งึ
• การเล่นท่ีต่อจากการโยนโทษครั้งเดียว(หลายครั้ง) ที่มีผลมาจากฟาล์วเทคนิค
ฟาล์วผดิ วสิ ัยนักกีฬา หรือฟาล์วเสยี สิทธ
ิ์
ผู้เล่นที่ส่งบอลเข้าเล่น จะต้องยืนคร่อมแนวเส้นที่ยื่นต่อของเส้นกลาง ด้านตรงข้าม
โต๊ะผู้บันทึกคะแนน และมีสิทธ์ิส่งบอลไปให้เพื่อนร่วมทีมท่ีอยู่ ณ ที่ใดก็ได
้
ในสนามแข่งขนั
17.2.4 หากนาฬิกาแข่งขันแสดงเวลา 2:00 นาที หรือน้อยกว่าในช่วงเวลาที่ส่ ี
และในแต่ละช่วงต่อเวลาพิเศษ การส่งบอลเข้าเล่นที่ต่อจากการขอเวลานอกของทีม
ที่ได้สิทธิ์ส่งบอลเข้าเล่นในแดนหลัง จะต้องดำเนินการ ณ เส้นส่งบอลเข้าเล่น
(throw-in line) ดา้ นตรงข้ามโตะ๊ ผู้บันทกึ คะแนนในแดนหน้าของทมี
17.2.5 ต่อจากการทำฟาล์วบุคคล ที่กระทำโดยผู้เล่นของทีมที่ครอบครองบอลด ี
หรือผู้เล่นของทีมท่ีมีสิทธ์ิได้บอล การส่งบอลเข้าเล่นท่ีตามมา จะต้องดำเนินการ
ณ จดุ ใกล้กบั ท่ีมีการละเมดิ กตกิ าท่ีสดุ
17.2.6 เม่ือใดก็ตามท่ีลูกบอลลงห่วงตาข่ายจากการยิงประตู หรือการโยนโทษแต่ไม่นับ
เป็นประตู การสง่ บอลเขา้ เลน่ ทต่ี ามมา จะตอ้ งดำเนินการ ณ แนวเส้นโยนโทษ
17.2.7 ตอ่ จากการยงิ ประตู หรือการโยนโทษครง้ั สุดท้ายหรอื คร้งั เดยี วเป็นผลสำเร็จ :
• ผู้เล่นคนใดคนหนึ่งของทีมท่ีไม่ได้ทำคะแนน จะต้องส่งบอลเข้าเล่นท่ีเส้นหลัง
ของทีม ณ จุดใด ก็ได้ การส่งบอลดังกล่าวให้นำไปใช้ร่วมกับกรณีหลังจาก
คมู่ ือผตู้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 29
กรรมการย่ืนบอล หรือวางบอลให้ผู้ส่งบอลเข้าเล่น ภายหลังหมดเวลานอก
หรือภายหลังการหยุดการแข่งขันด้วยกรณีใดๆ ก็ตาม หลังจากการยิงประตู
หรือการโยนโทษคร้งั สดุ ท้าย หรอื ครัง้ เดยี วเปน็ ผลสำเรจ็
• ผู้เล่นที่ส่งบอลเข้าเล่น อาจเคลื่อนที่ไปทางด้านข้าง และ/หรือถอยหลัง
และอาจจะสง่ บอลระหวา่ งเพ่อื นร่วมทีมทีอ่ ยู่นอกเสน้ หลงั แต่จะเร่ิมนับ 5 วินาที
เม่ือลูกบอลอยกู่ ับผเู้ ลน่ คนแรกทอ่ี ยนู่ อกสนาม
1
7.3 หลักเกณฑ์
17.3.1 ผูส้ ่งบอลเขา้ เล่น ต้องไม่ :
• ใช้เวลามากกว่า 5 วินาที ในการปลอ่ ยบอล
• ก้าวเท้าเขา้ ไปในสนามแขง่ ขนั ขณะท่มี ลี กู บอลอย่ใู นมอื ของเขา
• ทำใหล้ ูกบอลสมั ผสั บรเิ วณนอกสนาม ภายหลงั ทไ่ี ด้ปล่อยบอลจากการส่งบอล
เขา้ เล่น
• สมั ผัสลกู บอลในสนามแขง่ ขนั ก่อนทลี่ ูกบอลจะได้สัมผสั ผู้เลน่ คนอื่น
• ทำใหล้ ูกบอลลงหว่ งตาขา่ ยโดยตรง
• เคลื่อนท่ีออกจากบริเวณที่กำหนดให้ส่งบอลเข้าเล่นนอกเส้นเขตสนาม
โดยเคล่อื นทไี่ ปทางด้านข้างในทิศทางเดียว หรือท้ังสองทิศทาง เปน็ ระยะทาง
รวมกันเกินกว่า 1 เมตร ก่อนท่ีจะปล่อยบอล อย่างไรก็ตาม อนุญาตให้เขา
เคลื่อนที่ถอยหลังโดยตรงจากเส้นเขตสนามได้ไกลตามที่สภาวะแวดล้อม
จะเออ้ื อำนวย
17.3.2 ในระหว่างการส่งบอลเขา้ เล่น ผเู้ ลน่ อน่ื ต้องไม่ :
• ให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายล้ำออกนอกเส้นเขตสนาม ก่อนที่ลูกบอล
จะถูกส่งเข้าเล่นขา้ มเสน้ เขตสนาม
• เข้าประชิดผู้ส่งบอลเข้าเล่นใกล้กว่า 1 เมตร เม่ือพ้ืนที่การส่งบอลเข้าเล่น
ระหว่างเส้นเขตสนามกับสิ่งกีดขวางต่างๆ นอกสนาม มีระยะห่างน้อยกว่า
2 เมตร
การละเมิดกตกิ าข้อ 17.3 เปน็ การทำผิดระเบียบ
1
7.4 บทลงโทษ
ใหล้ กู บอลแก่ฝา่ ยตรงขา้ ม เพือ่ สง่ บอลเข้าเล่น ณ บริเวณส่งบอลเขา้ เลน่ เดิม
30 คู่มอื ผตู้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล
ข้อ 18 เวลานอก : Time - out
18.1 คำจำกดั ความ
เวลานอก คอื การหยดุ การแขง่ ขัน โดยการร้องขอจากผฝู้ กึ สอน หรือผูช้ ว่ ยผู้ฝึกสอน
1
8.2 หลกั เกณฑ ์
18.2.1 เวลานอก แต่ละครั้งจะต้องให้เวลานอกนาน 1 นาที หรือเวลานอกแต่ละครั้ง
ชว่ งเวลาละ 1 นาที
18.2.2 จะอนุญาตใหเ้ วลานอกได้ในระหวา่ ง โอกาสการให้เวลานอก
18.2.3 โอกาสการใหเ้ วลานอก เร่ิมตน้ เมื่อ :
• สำหรับทั้งสองทีม เมื่อบอลกลายเป็นบอลตาย นาฬิกาแข่งขันหยุดเดิน
และกรรมการสนิ้ สุดการสอ่ื สารกับโตะ๊ ผู้บันทึกคะแนน
• สำหรับท้ังสองทีม เม่ือบอลกลายเป็นบอลตาย ภายหลังการโยนโทษ
ครัง้ สดุ ทา้ ย หรือครัง้ เดียวเป็นผลสำเร็จ
• สำหรับทีมที่ไม่ได้ทำคะแนน (non-scoring team) เม่ือมีการได้คะแนน
จากการยิงประต
ู
18.2.4 โอกาสการให้เวลานอกส้ินสุด เม่ือลูกบอลอยู่ที่ผู้เล่นที่จะส่งบอลเข้าเล่น
หรอื เพอ่ื โยนโทษคร้ังแรก หรอื ครัง้ เดยี ว
18.2.5 อนุญาตให้แตล่ ะทมี ได้
• เวลานอก 2 ครัง้ ในระหวา่ งครึ่งเวลาแรก
• เวลานอก 3 ครั้ง ในระหว่างคร่ึงเวลาหลัง โดยให้เวลานอกได้สูงสุดไม่เกิน
2 ครงั้ ใน 2 นาทีสดุ ท้ายของคร่ึงเวลาหลงั
• เวลานอก 1 คร้ัง ในแต่ละช่วงต่อเวลาพเิ ศษ
18.2.6 เวลานอกท่ีไมไ่ ด้ใช้ ไม่สามารถนำไปใชใ้ นครงึ่ เวลาตอ่ ไป หรอื ช่วงต่อเวลาพเิ ศษ
18.2.7 เวลานอกจะให้กับทมี ที่ผ้ฝู ึกสอนได้รอ้ งขอไวก้ ่อน ยกเว้น เวลานอกทีใ่ ห้ต่อจากการ
ได้คะแนนจากการยิงประตโู ดยฝ่ายตรงข้าม และไม่มกี ารเรยี กการทำผดิ กตกิ า
18.2.8 ไม่อนุญาตให้เวลานอกแก่ทีมที่ทำคะแนนได้ต่อจากการยิงประตูเป็นผลสำเร็จ
เมื่อนาฬิกาแข่งขันแสดงเวลา 2:00 นาที หรือน้อยกว่าในช่วงเวลาท่ีส่ ี
และในแตล่ ะช่วงตอ่ เวลาพิเศษ ยกเว้นกรรมการได้หยดุ การแขง่ ขนั
18.3 วิธีดำเนินการ
18.3.1 เฉพาะผู้ฝึกสอน หรือผู้ช่วยผู้ฝึกสอนเท่าน้ัน ที่มีสิทธิ์ร้องขอเวลานอก เขาต้อง
ส่ือสารให้ผู้บันทึกคะแนนมองเห็น หรือเขาอาจไปท่ีโต๊ะผู้บันทึกคะแนน
และขอเวลานอกให้ชัดเจนพร้อมกับแสดงสัญญาณตามท่ีกำหนดไว้อย่างถูกต้อง
ดว้ ยมอื ของเขา
ค่มู อื ผู้ตดั สินกฬี าบาสเกตบอล 31
18.3.2 การขอเวลานอกอาจจะยกเลิกได้ แต่ต้องก่อนที่สัญญาณของผู้บันทึกคะแนน
จะดงั เพ่ือการขอเวลานอกครัง้ น้ันเทา่ นัน้
18.3.3 ช่วงของเวลานอก :
• เรม่ิ ต้น เม่ือกรรมการเป่านกหวดี และแสดงสญั ญาณเวลานอก
• ส้ินสุด เมื่อกรรมการเป่านกหวีด และกวักมือเรียกทั้งสองทีมกลับเข้าไป
ในสนามแขง่ ขัน
18.3.4 ทันทีที่โอกาสการให้เวลานอกเร่ิมต้น ผู้บันทึกคะแนนจะต้องให้เสียงสัญญาณ
แจง้ ให้กรรมการว่าได้มีการขอเวลานอก
ถ้ามีการได้คะแนนจากการยิงประตูต่อทีมท่ีได้ขอเวลานอกไว้ ผู้จับเวลาจะต้อง
หยุดนาฬกิ าแข่งขนั ทันที และให้เสยี งสัญญาณ
18.3.5 ในระหว่างเวลานอก และระหว่างช่วงพักการแข่งขัน ก่อนเร่ิมการแข่งขันช่วงเวลา
ท่ีสอง ช่วงเวลาท่ีส่ี หรือแต่ละช่วงต่อเวลาพิเศษ ผู้เล่นอาจจะออกจากสนามแข่งขัน
และน่ังในเขตที่นั่งของทีม รวมถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องในทีมอาจเข้าไปในสนามแข่งขันได้
โดยมขี ้อแมว้ ่าพวกเขาจะตอ้ งอย่ใู นบรเิ วณเขตพ้นื ทนี่ ง่ั ของทมี
18.3.6 ถ้าทีมใดทีมหน่ึงร้องขอเวลานอก หลังจากท่ีลูกบอลอยู่ที่ผู้โยนโทษในการโยนโทษ
คร้ังแรกหรือครงั้ เดยี ว อนญุ าตให้เวลานอกได้ ถา้ :
• การโยนโทษครงั้ สุดทา้ ยหรือครั้งเดยี ว เป็นผลสำเร็จ
• การโยนโทษคร้ังสุดท้ายหรือคร้ังเดียว ท่ีตามด้วยการส่งบอลเข้าเล่นท่ีแนวย่ืน
ตอ่ ของเสน้ กลาง ดา้ นตรงขา้ มโตะ๊ ผ้บู นั ทกึ คะแนน
• ได้มีการเรียกฟาล์วระหว่างการโยนโทษ ในกรณีน้ี ให้ดำเนินการโยนโทษ
ให้เสร็จสมบูรณ์ก่อน และจะอนุญาตให้เวลานอกก่อนที่จะดำเนินการลงโทษ
การฟาล์วคร้งั ใหม่
• ได้มีการเรียกฟาล์ว ก่อนบอลกลายเป็นบอลดีหลังการโยนโทษคร้ังสุดท้าย
หรือครั้งเดียวในกรณีน้ี จะอนุญาตให้เวลานอกก่อนที่จะดำเนินการลงโทษ
การฟาลว์ ครง้ั ใหม่
• ได้มีการเรียกการทำผิดระเบียบก่อนบอลกลายเป็นบอลดีหลังการโยนโทษ
ครงั้ สุดท้าย หรือ คร้ังเดียว ในกรณีนี้ จะอนญุ าตให้เวลานอกก่อนทจี่ ะดำเนนิ
การส่งบอลเข้าเลน่
ในเหตุการณ์ของการโยนโทษท่ีเป็นชุดต่อเนื่องกัน และ/หรือการได้ครอบครองบอล
จากผลของการฟาลว์ ท่ีมากกวา่ 1 ครงั้ บทลงโทษของแต่ละชดุ ให้ดำเนินการแยกจากกนั
ขอ้ 19 การเปลี่ยนตัว : Substitution
19.1 คำจำกดั ความ
การเปลีย่ นตวั คอื การหยุดการแขง่ ขนั ทีร่ อ้ งขอโดยผ้เู ลน่ สำรอง เพอ่ื เปล่ียนเป็นผเู้ ลน่
32 ค่มู ือผตู้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอล
1
9.2 หลกั เกณฑ์
19.2.1 ทมี อาจจะเปล่ียนตวั ผ้เู ล่นคนเดยี ว(หลายคน) ในระหว่างโอกาสของการเปลยี่ นตัว
19.2.2 โอกาสของการเปลี่ยนตัว เรมิ่ ต้น เมือ่ :
• สำหรับท้ังสองทีม เมื่อบอลกลายเป็นบอลตาย นาฬิกาแข่งขันหยุดเดิน
และกรรมการสิ้นสดุ การสื่อสารกบั โต๊ะผูบ้ ันทกึ คะแนน
• สำหรับท้ังสองทีม เมื่อบอลกลายเป็นบอลตาย ภายหลังการโยนโทษ
ครัง้ สดุ ทา้ ย หรอื ครัง้ เดียว เปน็ ผลสำเรจ็
• สำหรับทีมที่ไม่ได้ทำคะแนน(non-scoring team) เมื่อมีการได้คะแนนจาก
การยิงประตูเม่ือนาฬิกาแข่งขันแสดงเวลา 2:00 นาที หรือน้อยกว่าใน
ช่วงเวลาทีส่ ่ี และในแต่ละชว่ งตอ่ เวลาพเิ ศษ
19.2.3 โอกาสของการเปลี่ยนตัว ส้ินสุด เมื่อลูกบอลอยู่ที่ผู้เล่นท่ีจะส่งบอลเข้าเล่น
หรอื โยนโทษครั้งแรกหรือครงั้ เดยี ว
19.2.4 ผู้เล่นท่ีเปล่ียนเป็นผู้เล่นสำรอง และผู้เล่นสำรองที่เปลี่ยนเป็นผู้เล่นตามลำดับน้ัน
ไมส่ ามารถกลบั ลงไปแข่งขนั หรอื ออกจากการแขง่ ขนั ได้ จนกว่าบอลจะกลายเป็น
บอลตายอกี ครง้ั หลังจากช่วงของเวลาการแข่งขันไดเ้ ดนิ ไปแล้ว ยกเว้น :
• ทมี นั้น มผี เู้ ลน่ จำนวนซงึ่ ลดลงนอ้ ยกว่า 5 คนในสนามแข่งขนั
• ผู้เล่นที่มีสิทธ์ิได้โยนโทษจากผลของการแก้ไขข้อผิดพลาด น่ังอยู่ในท่ีน่ังของทีม
ภายหลงั ได้เปลยี่ นตวั อยา่ งถูกต้องแลว้
19.2.5 ไม่อนุญาตให้เปลี่ยนตัวแก่ทีมท่ีทำคะแนนได้ เม่ือนาฬิกาแข่งขันหยุดเดินที่ต่อจาก
การยิงประตเู ปน็ ผลสำเรจ็ เมอ่ื นาฬกิ าแขง่ ขันแสดงเวลา 2:00 นาที หรือนอ้ ยกว่า
ในชว่ งเวลาทสี่ ี่ และแต่ละชว่ งตอ่ เวลาพิเศษ นอกจากกรรมการได้หยุดการแข่งขัน
19.3 วิธดี ำเนินการ
19.3.1 เฉพาะผู้เล่นสำรองเท่านั้น ท่ีมีสิทธิ์ร้องขอเพ่ือเปล่ียนตัวเขา (ไม่ใช่ผู้ฝึกสอนหรือ
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน) จะต้องไปที่โต๊ะผู้บันทึกคะแนน และแจ้งขอเปล่ียนตัวให้ชัดเจน
พร้อมกับแสดงสัญญาณตามท่ีกำหนดไว้อย่างถูกต้องด้วยมือของเขา หรือนั่งท่ีเก้าอ้ี
สำหรับเปลีย่ นตัว เขาต้องพรอ้ มท่ีจะแข่งขันทนั ท
ี
19.3.2 การร้องขอเปลยี่ นตวั อาจจะยกเลกิ ได้ แต่ต้องกอ่ นที่สญั ญาณของผู้บันทึกคะแนนจะดัง
เพอื่ การขอเปลย่ี นตวั ครงั้ น้นั เทา่ น้ัน
19.3.3 ทันทีที่โอกาสของการเปลี่ยนตัวเร่ิมข้ึน ผู้บันทึกคะแนนจะต้องให้เสียงสัญญาณ
แจ้งให้กรรมการทราบวา่ ไดม้ กี ารขอเปลยี่ นตวั
19.3.4 ผู้เล่นสำรอง จะต้องอยู่นอกเส้นเขตสนาม จนกว่ากรรมการจะเป่านกหวีด
ให้สญั ญาณเปลยี่ นตัว และกวักมือเรียกใหเ้ ขาเข้าไปในสนามแข่งขนั
คู่มือผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล 33
19.3.5 ผู้เล่นท่ีถูกเปล่ียนตัว อนุญาตให้ออกไปยังท่ีนั่งของทีมโดยตรงได้ โดยไม่ต้องแจ้ง
ผู้บันทึกคะแนน หรอื กรรมการ
19.3.6 การเปลี่ยนตัวจะต้องทำให้เสร็จส้ินอย่างรวดเร็วเท่าที่จะทำได้ ผู้เล่นที่ได้กระทำฟาล์ว
ครบ 5 คร้ัง หรือถูกตัดสิทธ์ิการแข่งขัน ต้องถูกเปลี่ยนตัวออกทันที (ภายในเวลา
ประมาณ 30 วินาที) ถ้ากรรมการเห็นว่า มีการถ่วงเวลาการแข่งขัน ให้ปรับ
เป็นเวลานอกกบั ทมี ที่ทำผิด ถา้ หากทีมนั้นไมม่ ีเวลานอกเหลืออยู่ อาจปรับฟาล์เทคนคิ
เนอื่ งจากการถว่ งเวลาการแข่งขันต่อผู้ฝึกสอน บนั ทึกอักษรเปน็ “B”
19.3.7 ถ้าการขอเปลี่ยนตัวได้ร้องขอในระหว่างเวลานอก หรือ ในระหว่างช่วงพัก
การแข่งขันอ่ืน นอกเหนือจากช่วงพักคร่ึงเวลา ผู้เล่นท่ีจะเปล่ียนตัวต้องแจ้ง
ผู้บันทกึ คะแนนก่อนลงแขง่ ขัน
19.3.8 ถา้ ผู้โยนโทษต้องถกู เปลย่ี นตัว เพราะเขา :
• ไดร้ บั บาดเจ็บ
• ทำฟาลว์ ครบ 5 ครง้ั
• ถกู ตัดสทิ ธก์ิ ารแข่งขนั
การโยนโทษครง้ั เดยี ว(หลายครัง้ ) ต้องทำโดยผเู้ ล่นท่ีเปล่ยี นตวั กบั เขา และผู้เล่นทเี่ ปลีย่ นตวั
เข้ามานั้นไม่สามารถถูกเปลยี่ นตวั ได้ จนกวา่ เขาจะไดเ้ ลน่ ในชว่ งของเวลาการแขง่ ขนั ทไ่ี ดเ้ ดนิ
ไปแล้ว
19.3.9 ถ้าได้มีการร้องขอเปล่ียนตัวโดยทีมใดทีมหนึ่ง หลังจากลูกบอลอยู่ที่ผู้โยนโทษ
เพื่อการโยนโทษครงั้ แรกหรอื คร้งั เดียว จะอนุญาตใหเ้ ปลยี่ นตวั ได้ ถ้า :
• การโยนโทษครงั้ สดุ ทา้ ยหรือครง้ั เดียว เป็นผลสำเรจ็
• การโยนโทษคร้ังสุดท้ายหรือครั้งเดียว แล้วตามด้วยการส่งบอลเข้าเล่น
ณ แนวยนื่ ตอ่ ของเสน้ กลางดา้ นตรงข้ามโตะ๊ ผบู้ นั ทกึ คะแนน
• มีการเรียกฟาล์วระหว่างการโยนโทษ ในกรณีนี้จะต้องดำเนินการโยนโทษ
ต่อไปให้เสร็จส้ินก่อน จึงจะอนุญาตให้เปลี่ยนตัวก่อนที่จะดำเนินการ
ตามบทลงโทษของการฟาล์วคร้ังใหม
่
• มีการเรียกฟาล์ว ก่อนบอลกลายเป็นบอลดี หลังการโยนโทษคร้ังสุดท้ายหรือ
โยนโทษครั้งเดียว ในกรณีนี้ จะอนุญาตให้เปลี่ยนตัว ก่อนดำเนินการ
ตามบทลงโทษการฟาล์วครัง้ ใหม่
• มีการทำผิดระเบียบก่อนบอลกลายเป็นบอลดี หลังการโยนโทษครั้งสุดท้าย
หรือครงั้ เดียว ในกรณนี ี้ จะอนญุ าตใหเ้ ปลี่ยนตัว กอ่ นทจี่ ะดำเนินการสง่ บอล
เข้าเล่น
ในเหตุการณ์ของการโยนโทษท่ีเป็นชุดต่อเนื่องกัน และ/หรือ การได้ครอบครองบอล
จากผลของการฟาลว์ ที่มากกวา่ 1 คร้ัง บทลงโทษของแต่ละชดุ ใหด้ ำเนนิ การแยกจากกนั
34 คู่มอื ผ้ตู ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล
ข
อ้ 20 การแพ้การแขง่ ขนั โดยการถกู ปรับแพ้ : Game lost by forfeit
20.1 ห
ลกั เกณฑ์
ทีมจะแพก้ ารแข่งขนั โดยการถกู ปรบั แพ้ ถา้ :
• ทีมน้ันยังไม่มาแสดงตน หรือไม่สามารถจัดผู้เล่นให้ครบ 5 คน ท่ีพร้อมจะทำ
การแขง่ ขนั หลงั จากเวลาตามกำหนดการแข่งขัน ไดเ้ ริม่ เดนิ ไปแล้ว 15 นาท ี
• การกระทำใดๆ ทีข่ ดั ขวางการแขง่ ขนั ไมใ่ ห้สามารถเล่นตอ่ ไปได้
• ปฏเิ สธท่ีจะทำการแขง่ ขัน หลังจากผู้ตดั สินได้ส่ังให้แข่งขัน
20.2 บทลงโทษ
20.2.1 ให้ฝ่ายตรงข้ามเป็นฝ่ายชนะการแข่งขัน และจะต้องบันทึกคะแนนเป็น 20 ต่อ 0
นอกจากน้นั ทมี ท่ถี กู ปรบั แพจ้ ะได้ 0 คะแนน ในการจัดอันดับของทีม
20.2.2 สำหรับระบบการแข่งขัน 2 คร้ัง (เหย้า-เยือน) นับคะแนนลำดับ (คะแนนรวม
สะสม) และการแข่งขนั รอบคัดเลอื ก : Play−Offs (2 ใน 3 เกม) ทีมที่ถูกปรับแพ้
ในเกมแรก เกมท่ีสอง หรอื เกมทสี่ าม จะต้องเป็นฝา่ ยแพก้ ารแขง่ ขัน หรอื แพใ้ นระบบ
รอบคัดเลอื ก : Play−Offs โดยการ “ถกู ปรับแพ”้ (Forfeit) กรณนี ้ี จะไม่บังคบั ใช้
กับการแข่งขนั ระบบคัดเลอื ก : Play−Offs (3 ใน 5 เกม)
20.2.3 ถ้าในการแข่งขันแบบทัวร์นาเม้นต์(Tournament) ทีมท่ีถูกปรับแพ้เป็นครั้งที่สอง
จะถูกตัดสิทธ์ิจากการแข่งขันแบบทัวร์นาเม้นต์ และจะต้องให้ผลการแข่งขัน
ท้ังหมดท่ที มี นนั้ เขา้ ร่วมแข่งขันเปน็ โมฆะ
ขอ้ 21 การแพก้ ารแขง่ ขัน โดยมผี ูเ้ ล่นไมเ่ พียงพอ : Game lost by default
21.1 หลักเกณฑ์
ทีมจะแพ้การแข่งขันโดยมีจำนวนผู้เล่นไม่เพียงพอ ถ้าในระหว่างการแข่งขัน ทีมนั้นมีผู้เล่น
น้อยกว่า 2 คน ในสนามแขง่ ขนั ทีพ่ รอ้ มจะแขง่ ขัน
21.2 บทลงโทษ
21.2.1 ถ้าทมี ซ่ึงจะเป็นทีมชนะการแขง่ ขนั มคี ะแนนนำ ให้ถือผลคะแนน ณ เวลาทไ่ี ดห้ ยุด
การแข่งขัน ถา้ ทีม ซง่ึ จะเป็นทมี ชนะการแขง่ ขนั มีคะแนนตามหลัง คะแนนจะต้อง
ถูกบนั ทึกเปน็ 2 − 0 แก่ทีมท่ชี นะทีมท่มี จี ำนวนผ้เู ลน่ ไมเ่ พยี งพอ จะได้ 1 คะแนน
ในการจัดอันดับของทมี
21.2.2 สำหรับระบบการแขง่ ขนั 2 ครั้ง(เหยา้ -เยือน) นบั คะแนนลำดบั (คะแนนรวมสะสม)
ทีมท่ีแพ้เพราะมีผู้เล่นไม่เพียงพอ ในเกมท่ีหน่ึง หรือเกมท่ีสอง จะเป็นฝ่ายแพ้
ในระบบนั้น โดย “มีผเู้ ล่นไมเ่ พียงพอ” (default)
คูม่ อื ผูต้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 35
5 กตกิ าหมวดที่ การผดิ ระเบยี บ :
Rule five - Violations
ข้อ 22 การผิดระเบียบ : Violations
2
2.1 คำจำกัดความ
การผดิ ระเบยี บ คือ การกระทำทเ่ี ปน็ การละเมิดกตกิ า
22.2 บทลงโทษ
ให้ลูกบอลแก่ฝ่ายตรงข้าม เพื่อส่งเข้าเล่น ณ จุดใกล้กับที่มีการละเมิดกติกาท่ีสุด ยกเว้น
ตรงดา้ นหลงั แป้นกระดาน เวน้ แตก่ ติกาจะกำหนดไวเ้ ป็นอยา่ งอ่ืน
ขอ้ 23 ผเู้ ลน่ ออกนอกสนาม และ ลูกบอลออกนอกสนาม
: Player out-of-bounds and ball out-of-bounds
23.1 คำจำกดั ความ
23.1.1 ผู้เล่นออกนอกสนาม เม่ือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายของเขาสัมผัสพื้น
หรือวตั ถุอืน่ ใดทไ่ี ม่ใชผ่ ูเ้ ล่น ซึง่ อยบู่ น เหนอื หรอื นอกเสน้ เขตสนาม
23.1.2 ลูกบอล ออกนอกสนาม เมอื่ ลกู บอลสัมผัส :
• ผเู้ ล่น หรอื บคุ คลอนื่ ท่อี ยู่นอกสนาม
• พ้นื หรือวตั ถุอืน่ ใดทอี่ ยบู่ น เหนือ หรอื นอกเส้นเขตสนาม
• เครื่องยดึ แปน้ กระดาน สว่ นหลังของแป้นกระดาน หรอื วตั ถุอ่นื ใดทอี่ ยเู่ หนือ
สนามแข่งขนั
23.2 หลักเกณฑ์
23.2.1 ลูกบอลได้ออกนอกสนาม โดยผู้เล่นคนสดุ ท้ายท่สี ัมผัสลกู บอล หรือลูกบอลสัมผสั ผูเ้ ลน่
ก่อนที่ลูกบอลจะออกนอกสนาม แม้ว่าลูกบอลนั้นได้ออกนอกสนามโดยลูกบอล
ไปสัมผัสส่ิงอืน่ ใดที่ไม่ใชผ่ เู้ ลน่
23.2.2 ถ้าลูกบอลออกนอกสนามเพราะสัมผัสผู้เล่น หรือถูกสัมผัสโดยผู้เล่นที่อยู่บน
หรอื นอกเสน้ เขตสนาม ถือวา่ ผู้เล่นคนนนั้ เปน็ ผูท้ ำใหล้ ูกบอลออกนอกสนาม
23.2.3 ถ้าผู้เล่นคนเดียว(หลายคน) เคลื่อนท่ีออกนอกสนาม หรือกลับแดนหลังของเขา
ในระหวา่ งเกดิ ลกู ยดึ ถอื ว่าเกิดสถานการณล์ กู กระโดด
36 คู่มอื ผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล