The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือผู้ตัดสินบาสเกตบอล กรมพลศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanloveyayalovenoi, 2022-05-05 03:25:51

คู่มือผู้ตัดสินบาสเกตบอล กรมพลศึกษา

คู่มือผู้ตัดสินบาสเกตบอล กรมพลศึกษา

ขอ้ 24 การเลยี้ งบอล : Dribbling

2
4.1 คำจำกดั ความ

24.1.1 การเล้ียงบอล คือ การเคล่ือนที่ของบอลดีท่ีกระทำโดยผู้เล่นที่ครอบครองบอล

ด้วยการโยน ปัด กล้ิงบอลลงบนพื้นสนาม หรือเจตนาโยนลูกบอลไปกระทบ

แปน้ กระดาน

24.1.2 การเล้ียงบอล เร่ิมต้นเม่ือผู้เล่นที่ได้ครอบครองบอลดีในสนามแข่งขัน โยน ปัด
กล้ิง เล้ียงบอลลงบนพื้นสนาม หรือเจตนาโยนบอลไปกระทบแป้นกระดาน

แลว้ สมั ผสั ลูกบอลอกี ครัง้ ก่อนท่ีลูกบอลจะสัมผสั ผเู้ ล่นอ่นื

การเล้ียงบอล ส้ินสุด เมื่อผู้เล่นสัมผัสบอลพร้อมกันท้ังสองมือ หรือทำให้ลูกบอล
พกั อยู่ในมอื เดยี วหรือสองมือ

ในระหว่างการเลี้ยงบอล ลูกบอลอาจจะถูกโยนข้ึนไปในอากาศ โดยมีเง่ือนไขว่า
ลูกบอลต้องสัมผัสพื้น หรือถูกผู้เล่นอ่ืน ก่อนผู้เล่นที่โยนบอลจะไปสัมผัสบอล

ด้วยมือของเขาอีกคร้ัง ไม่มีข้อจำกัดเก่ียวกับจำนวนก้าวของผู้เล่นในการเคลื่อนท่ี

เม่อื ลูกบอลไม่ได้สมั ผัสมอื ของเขา

24.1.3 ผู้เล่นท่ีเสียการครอบครองบอลโดยบังเอิญ แล้วกลับมาครอบครองบอลด

ในสนามแข่งขันได้อีกครั้ง ให้พิจารณาว่าเป็นการทำบอลหลุดมือโดยไม่เจตนา
(Fumbling the ball)

24.1.4 การกระทำต่อไปนไ้ี มใ่ ชก่ ารเล้ียงบอล :

• การยงิ ประตูต่อเนอ่ื งกัน

• การทำบอลหลุดมอื โดยไม่เจตนา ขณะเรมิ่ ต้น หรอื ส้นิ สดุ การเล้ยี งบอล

• การพยายามเขา้ ครอบครองบอล ด้วยการปัดบอลออกจากกลุ่มผูเ้ ล่นอ่ืน

• การปดั บอลออกจากการครอบครองของผ้เู ลน่ อน่ื

• การสกัดกน้ั การส่งบอล และไดค้ รอบครองบอล

• การโยนบอลจากมือข้างหน่ึงไปยังอีกข้างหนึ่ง แล้วทำให้ลูกบอลพักอยู่ใน

มอื เดียวหรือสองมอื กอ่ นที่ลูกบอลจะสมั ผสั พื้น โดยมีเงอื่ นไขว่า ตอ้ งไม่ทำผิด


ระเบยี บการพาบอลเคล่ือนท ี่

24.2 หลกั เกณฑ์

ผู้เล่นจะต้องไม่เล้ียงบอลเป็นคร้ังที่สอง หลังจากการเล้ียงบอลครั้งแรกได้ส้ินสุด นอกจาก

ในระหว่างการเลีย้ งบอล 2 ครัง้ เขาไดเ้ สียการครอบครองบอลดใี นสนามแข่งขัน เพราะวา่ :

• การยงิ ประต

• การสัมผัสบอลโดยฝ่ายตรงข้าม

• ลูกบอลที่สง่ หรือ ลูกบอลหลดุ มอื โดยไม่เจตนาไดส้ มั ผสั หรอื ถูกผ้เู ลน่ คนอน่ื สัมผัส



คู่มอื ผู้ตัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 37


้อ 25 การพาบอลเคลอ่ื นที่ : Travelling


2
5.1 คำจำกดั ความ

25.1.1 การพาบอลเคล่ือนที่ คือ การเคลื่อนท่ีไปในทิศทางต่างๆ ที่ผิดกติกาของ


เท้าข้างเดียวหรอื ท้ังสองขา้ ง ทีน่ อกเหนือไปจากขอ้ กำหนดในกติกาน้ี ในขณะกำลัง

ถอื บอลดอี ยู่ในสนามแขง่ ขัน

25.1.2 การหมุนตัว (pivot) คือ การเคล่ือนท่ีไปในทิศทางต่างๆ อย่างถูกกติกาของผู้เล่น

ในขณะกำลังถือบอลดีในสนามแข่งขัน ด้วยการก้าวเท้าหน่ึงคร้ัง หรือมากกว่า

ด้วยเท้าข้างเดียวกัน ในขณะที่เท้าอีกข้างหนึ่งเรียกว่า เท้าหลัก (pivot foot)


เป็นจดุ สมั ผัสที่ยังคงตดิ อยู่กับพนื้

2
5.2 หลักเกณฑ์

25.2.1 การสรา้ งเทา้ หลกั โดยผู้เล่นท่จี บั บอลดีในสนามแข่งขัน :

• ขณะกำลังยนื ด้วยเทา้ ทง้ั สองขา้ งบนพืน้ :

- ทนั ทที ย่ี กเทา้ ขา้ งหนงึ่ ขึ้น เท้าอีกขา้ งหนง่ึ จะกลายเปน็ เท้าหลกั

• ขณะกำลังเคลื่อนท่ี :

- ถ้าเท้าขา้ งหนงึ่ สัมผัสพื้น เทา้ ข้างนัน้ จะกลายเป็นเทา้ หลกั

- ถ้าเท้าท้ังสองข้างพ้นจากพื้น แล้วผู้เล่นลงสู่พ้ืนด้วยเท้าทั้งสองข้าง

พร้อมกัน ทันทที ย่ี กเท้าข้างหนึง่ ขนึ้ เท้าอีกข้างหนึ่งจะกลายเป็นเท้าหลัก

- ถ้าเท้าท้ังสองข้างพ้นจากพ้ืน แล้วผู้เล่นลงสู่พ้ืนด้วยเท้าข้างเดียว

ในขณะนั้นเท้าข้างนั้นจะกลายเป็นเท้าหลัก หากผู้เล่นใช้เท้าข้างนั้น

กระโดดขึ้น แล้วลงสู่พ้ืนเพื่อหยุดด้วยเท้าท้ังสองข้างพร้อมกัน เช่นนี้แล้ว


จะไมม่ ีเท้าขา้ งใดเปน็ เทา้ หลัก

25.2.2 การเคลื่อนท่ีไปพร้อมกับลูกบอลโดยผู้เล่นที่สร้างเท้าหลักแล้ว ในขณะท
ี่
ครอบครองบอลดใี นสนามแข่งขนั :

• ขณะท่ีกำลังยนื ด้วยเทา้ สองข้างบนพนื้

- เพ่ือเร่ิมต้นเล้ียงบอล จะต้องไม่ยกเท้าหลักข้ึนก่อนท่ีลูกบอลจะถูกปล่อย

จากมือเดยี ว(สองมือ)

- เพื่อส่ง หรือยิงประตู ผู้เล่นอาจจะกระโดดข้ึนด้วยเท้าหลัก แต่ต้องไม่ให้

เท้าขา้ งใดข้างหนึ่งลงสู่พนื้ กอ่ นที่ลกู บอลจะถกู ปล่อยจากมอื เดียว(สองมอื )

• ขณะทกี่ ำลังเคลอ่ื นที่

- เพื่อส่ง หรือยิงประตู ผู้เล่นอาจจะกระโดดขึ้นด้วยเท้าหลักแล้วลงสู่พ้ืน

ด้วยเท้าข้างเดียว หรือสองข้างพร้อมกัน จากนั้นอาจจะยกเท้าข้างหนึ่ง




38 คู่มือผู้ตดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล

หรือทั้งสองข้างข้ึนจากพื้น แต่ต้องไม่ให้เท้าข้างใดข้างหนึ่งลงสู่พื้นก่อน

ท่ลี ูกบอลจะถกู ปล่อยจากมอื เดียว(สองมือ)

- เพ่ือเริ่มต้นเล้ียงบอล จะต้องไม่ยกเท้าหลักข้ึนก่อนที่ลูกบอลจะถูกปล่อย

จากมอื เดยี ว(สองมือ)

• ขณะทหี่ ยุดแลว้ เมือ่ ไมม่ เี ท้าข้างใดเปน็ เท้าหลกั

- เพ่ือเร่ิมต้นเลี้ยงบอล ไม่ให้ยกเท้าข้างใดข้างหน่ึงข้ึน ก่อนท่ีลูกบอลจะ

ถูกปลอ่ ยจากมือเดียว(สองมอื )

- เพอ่ื ส่ง หรอื ยิงประตู อาจจะยกเท้าข้างหนึง่ หรือทั้งสองข้างขน้ึ ได้ แต่จะต้อง

ไมใ่ หเ้ ทา้ น้ันลงสพู่ น้ื กอ่ นที่ลกู บอลจะถูกปลอ่ ยจากมอื เดียว(สองมือ)

25.2.3 ผู้เล่นล้มลง นอน หรือนั่งอยู่บนพื้น : Player falling, lying or sitting on

the floor

• เป็นการเล่นที่ ถูกกติกา เม่ือผู้เล่นล้มลง แล้วล่ืนไถลไปบนพื้นในขณะกำลัง

ถือบอล หรือในขณะท่นี อน หรอื นง่ั อยู่บนพ้ืน แล้วได้ครอบครองบอล

• เป็นการเล่นท่ี ผิดระเบียบ ถ้าผู้เล่นคนน้ัน ม้วนตัว หรือพยายามลุกขึ้นยืน

ในขณะกำลังถอื บอล





ข้อ 26 เวลา 3 วนิ าที : 3 seconds



26.1 หลกั เกณฑ์

26.1.1 ผู้เล่นจะต้องไม่อยู่ในเขตกำหนดเวลาของฝ่ายตรงข้ามนานเกินกว่า 3 วินาท ี


ต่อเน่ืองกันในขณะที่ทีมของเขากำลังครอบครองบอลดีอยู่ในแดนหน้า

และนาฬกิ าแขง่ ขันกำลังเดนิ

26.1.2 จะตอ้ งอนโุ ลมใหส้ ำหรบั ผ้เู ล่นท่ี :

• ทำใหเ้ ห็นวา่ พยายามท่จี ะออกจากเขตกำหนดเวลา

• อยู่ในเขตกำหนดเวลา ในขณะท่ีเขาหรือเพ่ือนร่วมทีมของเขาอยู่ในท่ากำลัง

ยงิ ประตู และลูกบอลกำลงั ออก หรือเพ่ิงออกจากมือของผ้เู ลน่ ทีย่ ิงประต

• เลี้ยงบอลอยู่ในเขตกำหนดเวลาเพื่อยิงประตู หลังจากได้อยู่ในนั้นมาแล้ว

เปน็ เวลานอ้ ยกวา่ 3 วนิ าที ตอ่ เนอื่ งกนั

26.1.3 เพ่ือทำใหต้ วั เขาออกนอกเขตกำหนดเวลา ผู้เล่นจะตอ้ งใหเ้ ทา้ ทงั้ สองข้างอยู่บนพืน้

นอกเขตกำหนดเวลา




คู่มือผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล 39


้อ 27 ผเู้ ลน่ ถกู ป้องกันแบบประชิด : Closely guarded player


27.1 คำจำกดั ความ

ผู้เล่นท่ีกำลังถือบอลดีในสนามแข่งขันถูกป้องกันอย่างประชิด เม่ือฝ่ายตรงข้ามอยู่ในตำแหน่ง

กำลังปอ้ งกันที่ถูกกตกิ า อย่างรุกเร้า กระตอื รือร้น ในระยะหา่ งไมเ่ กนิ 1 เมตร

27.2 ห
ลักเกณฑ์

ผเู้ ล่นทีถ่ ูกป้องกนั แบบประชดิ จะตอ้ งสง่ บอล ยิงประตู หรอื เล้ียงบอล ภายในเวลา 5 วินาท





ขอ้ 28 เวลา 8 วินาที : 8 seconds



28.1 หลักเกณฑ์

28.1.1 เม่อื ใดกต็ ามที่ :

• ผ้เู ล่นในแดนหลังได้ครอบครองบอลดี

• ในการส่งบอลเข้าเล่น ลูกบอลสัมผัส หรือถูกสัมผัสอย่างถูกกติกา โดยผู้เล่น


คนใดก็ตามในแดนหลัง และผู้เล่นของทีมท่ีส่งบอลเข้าเล่นนั้นยังคงครอบครองบอล

อยใู่ นแดนหลังของทีมตน

ทมี นนั้ ตอ้ งทำให้ลูกบอลขน้ึ ไปในแดนหนา้ ภายในเวลา 8 วนิ าท

28.1.2 ทมี ได้ทำใหล้ กู บอลขนึ้ ไปในแดนหน้าของตน เม่อื ใดก็ตามท่ี :

• ลกู บอล ไม่ไดอ้ ย่ใู นการครอบครองบอลของผู้เลน่ คนใด สมั ผสั กับแดนหน้า

• ลูกบอลสัมผัส หรือถูกสัมผัสอย่างถูกกติกา โดยผู้เล่นฝ่ายรุกที่มีเท้าท้ังสองข้าง

สมั ผสั กับแดนหนา้ ของเขาโดยสมบูรณ

• ลกู บอลสัมผสั หรือถูกสัมผสั อย่างถกู กตกิ า โดยผเู้ ล่นฝ่ายป้องกันทีม่ สี ว่ นหนงึ่

สว่ นใดของรา่ งกายสัมผัสแดนหลงั ของเขา

• ลูกบอลสัมผัสกรรมการท่ีมีส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายของเขา สัมผัสแดนหน้า

ของทีมทคี่ รอบครองบอล

• ในระหว่างการเลี้ยงบอลจากแดนหลังข้ึนไปแดนหน้า ลูกบอล และเท้า

ทั้งสองขา้ งของผเู้ ลี้ยงบอลสมั ผสั แดนหน้าโดยสมบูรณ์

28.1.3 ช่วงเวลา 8 วินาที จะนับต่อเน่ืองจากเวลาที่เหลือ เมื่อทีมเดิมที่ได้ครอบครองบอลมาก่อน

เป็นฝา่ ยได้ส่งบอลเข้าเลน่ ในแดนหลัง จากผลของ :

• ลกู บอลได้ออกนอกสนาม

• ผู้เล่นของทีมเดียวกนั ไดร้ ับบาดเจ็บ

• สถานการณล์ ูกกระโดด


40 คูม่ ือผู้ตดั สินกฬี าบาสเกตบอล

• การฟาลว์ คู่

• การยกเลกิ บทลงโทษท่ีเท่ากนั ของทัง้ สองทีม





ข้อ 29 เวลา 24 วนิ าที : 24 seconds





29.1 หลกั เกณฑ์

29.1.1 เมอื่ ใดกต็ าม ท่ี :

• ผูเ้ ลน่ ได้ครอบครอง บอลดี ใน สนามแข่งขัน

• ในการส่งบอลเข้าเล่น ลูกบอลสัมผัส หรือถูกสัมผัสอย่างถูกกติกาโดยผู้เล่น


คนใดก็ตาม ในสนามแข่งขัน และผู้เล่นของทีมท่ีส่งบอลเข้าเล่นนั้นยังคง

ครอบครองบอล

ทีมนน้ั จะต้องพยายามยงิ ประตภู ายในเวลา 24 วินาท

องคป์ ระกอบของการยิงประตภู ายในเวลา 24 วนิ าที :

• ลูกบอลตอ้ งออกจากมอื ของผู้เล่น ก่อนเสียงสญั ญาณของนาฬกิ ายิงประตูดัง และ

• ภายหลังลูกบอลได้ออกจากมือของผู้เล่น ลูกบอลจะต้องสัมผัสห่วง

หรือลงหว่ งตาขา่ ย

29.1.2 เมือ่ ใดที่มี การยงิ ประตใู นช่วงใกลส้ นิ้ สดุ เวลา 24 วนิ าที และเสยี งสญั ญาณของ

นาฬิกายิงประตดู งั ในขณะทีล่ ูกบอลกำลังลอยอยูใ่ นอากาศ :

• ถ้าลูกบอลลงห่วงตาข่าย ถือว่าไม่เกิดการทำผิดระเบียบ ไม่ต้องสนใจ

เสียงสัญญาณ และให้นบั เป็นประตู

• ถ้าลูกบอลสัมผัสห่วงแต่ไม่เข้าห่วงตาข่าย ถือว่าไม่เกิดการทำผิดระเบียบ

ไมต่ อ้ งสนใจเสียงสญั ญาณ แล้วใหก้ ารแข่งขันดำเนินต่อไป

• ถ้าลูกบอลไม่สัมผัสห่วง ถือว่าเกิดการทำผิดระเบียบ อย่างไรก็ตาม

ถ้าฝ่ายตรงข้ามได้ครอบครองบอลในทันทีอย่างชัดเจน ไม่ต้องสนใจเสียงสัญญาณ


แลว้ ใหก้ ารแข่งขันดำเนนิ ต่อไป

ข้อกำหนดท้ังหมด ท่ีเกี่ยวกับการปรับเป็นประตู (Goaltending) และการรบกวน

ห่วงตาข่าย (Interference) จะตอ้ งนำมาบงั คบั ใช้




คมู่ ือผูต้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 41

29.2 วธิ ดี ำเนินการ

29.2.1 เมอ่ื ใดกต็ ามที่กรรมการได้หยุดการแขง่ ขัน นาฬิกายงิ ประตูจะต้องตัง้ เวลาใหม่ :

• สำหรับการฟาล์ว หรือการทำผิดระเบียบ(ไม่ใช่ลูกบอลออกนอกสนาม)


โดยทมี ทไ่ี ม่ได้ครอบครองบอล

• สำหรับเหตุผลที่ถกู ต้องตามกติกาใดๆ โดยทมี ท่ีไม่ได้ครอบครองบอล


• สำหรับเหตผุ ลท่ถี กู ตอ้ งตามกตกิ าใดๆ ซ่งึ ไม่เก่ียวขอ้ งกับทีมใด

ในสถานการณเ์ หล่าน้ี การครอบครองบอล จะต้องให้แกท่ มี เดมิ ที่ไดค้ รอบครองบอลอยกู่ อ่ น


หากการส่งบอลเข้าเล่น ได้ให้แก่ทีมเดิมท่ีได้ครอบครองบอลอยู่ก่อนในแดนหลัง


นาฬิกายงิ ประตู จะตอ้ งต้งั เวลาใหม่เป็น 24 วินาท ี

หากการส่งบอลเข้าเล่นได้ดำเนินการอยู่ในแดนหน้า นาฬิกายิงประตู จะต้องตั้งเวลาใหม


ดงั ต่อไปนี้ :

• ถา้ นาฬกิ ายิงประตู แสดงเวลา 14 วนิ าที หรือมากกวา่ เมอื่ เวลาการแข่งขนั


ได้หยดุ ลง นาฬกิ ายิงประตู จะตอ้ งไมต่ ้ังใหม่ แตจ่ ะดำเนินการแข่งขันตอ่ จาก

เวลาที่ไดห้ ยดุ ไว

• ถ้านาฬกิ ายงิ ประตู แสดงเวลา 13 วินาที หรอื น้อยกว่า เม่อื เวลาการแขง่ ขนั


ไดห้ ยุดลง นาฬิกายิงประตู จะต้องตัง้ เป็นเวลา 14 วินาที

อย่างไรก็ตาม ถ้าการแข่งขันได้หยุดลงโดยกรรมการด้วยเหตุผลท่ีถูกต้องตามกติกา

ซึ่งไม่เก่ียวข้องกับทีมใด และภายใต้การพิจารณาของกรรมการว่า การตั้งนาฬิกายิงประตูใหม ่

จะทำให้ฝ่ายตรงข้ามจะอยู่ในสถานะเสียเปรียบ นาฬิกายิงประตูจะต้องเดินต่อเน่ืองจาก
เวลาที่ได้หยุดไว

29.2.2 นาฬิกายิงประตู จะต้องต้ังเวลาใหม่เป็น 24 วินาที เม่ือการส่งบอลเข้าเล่นได้ให

แก่ทีมตรงข้ามหลังจากการแข่งขันได้หยุดลงโดยกรรมการ ด้วยเหตุจากการฟาล์ว

หรอื การผิดระเบยี บที่ไดก้ ระทำโดยทมี ครอบครองบอล

29.2.3 หลังจากลูกบอลได้สัมผัสห่วงตาข่ายของทีมตรงข้าม นาฬิกายิงประตูจะต้อง

ตง้ั เวลาใหม่ เป็น

• 24 วินาที ถ้าทมี ตรงข้ามได้ครอบครองบอล

• 14 วินาที ถ้าทีมที่ได้ครอบครองบอล เป็นทีมเดิมที่ได้ครอบครองบอล

ก่อนที่ลกู บอลได้สัมผสั หว่ ง

29.2.4 หากสัญญาณนาฬิกายิงประตู ดังผิดพลาด ในขณะที่มีทีมกำลังครอบครองบอล

หรือไม่มีทีมครอบครองบอล ไม่ต้องสนใจเสียงสัญญาณนั้น และให้การแข่งขัน

ดำเนนิ ต่อไป


42 ค่มู ือผ้ตู ัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล

อย่างไรก็ตาม หากกรรมการพิจารณาว่า ฝ่ายตรงข้ามจะอยู่ในสถานะเสียเปรียบ

จะต้องหยุดการแข่งขัน เวลาของนาฬิกายิงประตูจะต้องแก้ไขให้ถูกต้อง แล้วให้ทีมเดิมได

ครอบครองบอล






ขอ้ 30 ลูกบอลกลบั สแู่ ดนหลัง : Ball returned to the backcourt



30.1 คำจำกดั ความ

30.1.1 ทีมอยูใ่ นการครอบครองบอลดใี นแดนหน้าของพวกเขา ถา้ :

• ผู้เล่นของทีมน้ัน กำลังสัมผัสแดนหน้าของเขา ด้วยเท้าทั้งสองในขณะกำลัง


ถือบอล กำลังจบั บอล หรอื กำลังเลยี้ งบอลในแดนหนา้ ของเขา หรือ

• ลกู บอลถูกส่งระหว่างผ้เู ล่นของทีมน้นั ในแดนหน้าของพวกเขา

30.1.2 ทีมอยู่ในการครอบครองบอลดีในแดนหน้าของพวกเขา ทำลูกบอลกลับสู่แดนหลัง


ของพวกเขาอย่างผิดกติกา ถ้าผู้เล่นของทีมน้ันเป็นคนสุดท้ายท่ีสัมผัสบอล


ในแดนหนา้ ของเขา แล้วลูกบอลถกู สมั ผสั ครงั้ แรก โดยผู้เลน่ ของทมี นัน้

• ผ้ทู ี่มสี ว่ นหนงึ่ ส่วนใดของรา่ งกายเขาสัมผัสกับแดนหลัง หรอื


• หลังจากลูกบอลไดส้ ัมผสั แดนหลังของทมี นั้น


ข้อกำหนดน้ี บังคบั ใช้กับทุกสถานการณใ์ นแดนหนา้ ของทีม รวมถึงการส่งบอลเขา้ เลน่

อย่างไรก็ตาม จะไม่บังคับใช้กับผู้เล่นที่กระโดดจากแดนหน้าของเขา แล้วทำให้ได้เป็นทีม

ครอบครองบอลใหม่ในขณะที่ยังคงลอยตัวอยู่ในอากาศ และลงสู่พ้ืนพร้อมกับลูกบอล


ในแดนหลังของทีมเขา

3
0.2 หลกั เกณฑ์

ทีมท่ีอยู่ในการครอบครองบอลดีในแดนหน้าของพวกเขา จะต้องไม่ทำให้ลูกบอลกลับสู่แดนหลัง

ของพวกเขาอย่างผดิ กตกิ า


30.3 บทลงโทษ

จะตอ้ งให้ลูกบอลแกฝ่ า่ ยตรงข้าม เพ่ือส่งเข้าเล่นในแดนหนา้ ของเขา ณ บริเวณทีใ่ กล้กับท่มี ี

การละเมิดกตกิ ามากทีส่ ดุ ยกเว้น ตรงดา้ นหลงั กระดานหลัง






คูม่ ือผตู้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 43

ขอ้ 31 การปรับเป็นประตู และการรบกวนห่วงตาข่าย :


Goaltending and Interference


31.1 คำจำกดั ความ

31.1.1 การยิงประตู หรือ การโยนโทษ :

• เร่มิ ต้น เมือ่ ลูกบอลหลดุ ออกจากมอื ของผเู้ ลน่ ท่อี ยูใ่ นทา่ กำลังยิงประตู

• ส้ินสุด เม่อื ลกู บอล :

- ลงห่วงตาข่ายโดยตรงจากด้านบน และคงอยู่ในตาข่าย หรือผ่านห่วง


ตาข่ายลงมา

- ไม่มโี อกาสทจ่ี ะลงห่วงตาขา่ ย

- กระทบห่วง

- สมั ผัสพ้ืน


- กลายเปน็ บอลตาย


31.2 หลักเกณฑ์

31.2.1 การปรับเป็นประตู (Goaltending) เกิดข้ึนในระหว่าง การยิงประตู เม่ือผู้เล่น


สมั ผสั บอลขณะทล่ี ูกบอลลอยอยเู่ หนือระดบั หว่ งอยา่ งสมบรู ณ์ และ :

• ลกู บอลลดต่ำลงมาท่หี ่วงตาขา่ ย หรอื

• หลงั จากลูกบอลได้กระทบแปน้ กระดาน

31.2.2 การปรับเป็นประตู (Goaltending) เกิดข้ึนในระหว่าง การโยนโทษ เม่ือผู้เล่น


สมั ผสั บอลขณะท่ลี ูกบอลลอยขึน้ ไปทห่ี ่วงตาข่าย และก่อนทล่ี ูกบอลจะสัมผสั หว่ ง

31.2.3 ข้อกำหนดของการปรับเปน็ ประตู ให้บงั คับใช้ จนกระทัง่

• ลกู บอลไม่มีโอกาสทจ่ี ะลงหว่ งตาขา่ ย

• ลกู บอลได้กระทบหว่ ง

31.2.4 การรบกวนห่วงตาข่าย (Interference) เกดิ ขนึ้ เมือ่ :

• ภายหลังการยิงประตู หรือการโยนโทษคร้ังสุดท้ายหรือคร้ังเดียว เมื่อผู้เล่น


สมั ผัสห่วงตาขา่ ยหรอื แป้นกระดาน ในขณะท่ลี กู บอลกระทบอยู่กับหว่ ง

• ภายหลังการโยนโทษ ท่ีติดตามด้วยการโยนโทษเพิ่มอีก ผู้เล่นสัมผัส


หว่ งตาขา่ ย หรือแป้นกระดาน ในขณะทีล่ ูกบอลยงั มโี อกาสทจ่ี ะลงหว่ งตาขา่ ย

• ผูเ้ ล่นยืน่ มอื ลอดผ่านหว่ งตาขา่ ยจากด้านล่างข้ึนไปด้านบน และสัมผัสลกู บอล

• ผู้เล่นฝ่ายป้องกันสัมผัสบอล หรือสัมผัสห่วงตาข่าย ในขณะท่ีลูกบอลอยู่


ภายในห่วงตาข่าย เพือ่ เป็นการขดั ขวางไม่ให้ลูกบอลผา่ นห่วงตาขา่ ยลงมา


44 คู่มอื ผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล

• ผู้เล่นทำให้ห่วงตาข่ายส่ันสะเทือน หรือจับห่วงตาข่าย ซ่ึงกรรมการพิจารณา

ว่าการกระทำนั้นเป็นการขัดขวางไม่ให้ลูกบอลลงห่วงตาข่าย หรือเป็นเหต

ทำให้ลกู บอลลงหว่ งตาขา่ ย



• ผู้เลน่ จับหว่ งตาข่ายเพ่อื เล่นบอล


31.2.5 เมื่อ :

• กรรมการเป่านกหวีดในขณะที่ลูกบอลอยู่ในมือของผู้เล่นท่ีอยู่ในท่ากำลัง


ยงิ ประตู หรอื ลกู บอลกำลงั ลอยอยูใ่ นอากาศจากการยิงประต

• เสียงสัญญาณของนาฬิกาแข่งขันดังหมดช่วงเวลาการแข่งขัน ในขณะท่ี


ลกู บอลกำลังลอยอยใู่ นอากาศจากการยิงประต

ห้ามผู้เล่นสัมผัสบอลหลังจากท่ีลูกบอลได้กระทบห่วง ในขณะที่ลูกบอลยังมีโอกาสท่ีจะลง

ห่วงตาข่าย ข้อกำหนดทั้งหมด ที่เกี่ยวกับการปรับเป็นประตู (Goaltending)


และการรบกวนหว่ งตาข่าย (Interference) จะต้องนำมาบงั คับใช ้

3
1.3 บทลงโทษ

31.3.1 หากการผิดระเบียบกระทำโดย ผู้เล่นฝ่ายรุก จะไม่ให้คะแนน และให้ลูกบอล


แก่ฝ่ายตรงข้ามเพ่ือส่งเข้าเล่น ณ แนวยื่นต่อของเส้นโยนโทษ เว้นแต่กติกา

ได้กำหนดไวเ้ ป็นอยา่ งอ่ืน

31.3.2 หากการผดิ ระเบียบกระทำโดย ผเู้ ลน่ ฝา่ ยป้องกนั ใหท้ ีมฝ่ายรกุ ไดค้ ะแนน :

• 1 คะแนน ถ้าลกู บอลถกู ปลอ่ ยจากการโยนโทษ

• 2 คะแนน ถา้ ลกู บอลถูกปล่อยจากเขตพ้ืนที่ 2 คะแนน


• 3 คะแนน ถา้ ลูกบอลถูกปลอ่ ยจากเขตพื้นที่ 3 คะแนน


การใหเ้ ปน็ คะแนน ให้เปรยี บเสมือนลูกบอลได้ลงห่วงตาข่าย

31.3.3 หากการปรับเป็นประตู(Goaltending) เป็นการกระทำผิดโดย ผู้เล่นฝ่ายป้องกัน

ในระหวา่ งการโยนโทษคร้งั สดุ ท้าย หรือคร้งั เดียว จะต้องให้ 1 คะแนนแกท่ มี ฝา่ ยรกุ

ตดิ ตามดว้ ยปรบั ฟาลว์ เทคนคิ ต่อผูเ้ ล่นฝา่ ยปอ้ งกนั








คู่มือผตู้ ดั สินกฬี าบาสเกตบอล 45

6 กติกาหมวดที่ การฟาลว์ : Rule Six - Foul








้อ 32 การฟาลว์ : Foul


3
2.1 คำจำกัดความ

32.1.1 การฟาลว์ คอื การละเมิดกติกาทเ่ี ก่ยี วกบั การถูกตอ้ งตวั (personal contact) กบั


ฝ่ายตรงข้ามท่ีผิดกติกา และ/หรือพฤติกรรมท่ีไม่ใช่วิสัยนักกีฬา (unsports

manlike behavior)

32.1.2 ทีมหนึ่งๆ อาจถูกเรียกฟาล์วจำนวนเท่าใดก็ได้ โดยไม่ต้องคำนึงถึงการลงโทษ

การปรับเป็นฟาล์วแต่ละครั้ง ให้บันทึกลงในใบบันทึกต่อผู้ที่กระทำผิด

และให้ลงโทษไปตามกตกิ า





้อ 33 การปะทะ : หลกั การทัว่ ไป : Contact - General principles


3
3.1 หลกั การรูปทรงกระบอก : Cylinder principles

33.1.1 หลักการรูปทรงกระบอก คือ การกำหนดพ้ืนท่ีสมมติภายในรูปทรงกระบอกของ


ผู้เล่นท่ีครอบครองอยู่บนพ้ืน รวมถึงพื้นท่ีว่างเหนือผู้เล่นข้ึนไป และถูกจำกัดโดย

สิง่ ต่อไปนี้ :

• ด้านหน้า โดยฝ่ามือของมอื ทัง้ สองข้าง

• ดา้ นหลงั โดยสะโพก และ


• ดา้ นขา้ ง โดยด้านนอกของแขน และขาทงั้ สองขา้ ง

มือและแขนทั้งสองข้าง อาจจะย่ืนออกไปด้านหน้าของลำตัวได้ และไม่เลยออกไปเกินกว่า
ตำแหนง่ ของเทา้ โดยงอแขนทขี่ ้อศอก ดงั น้ัน แขนท่อนลา่ ง และมือจึงถูกยกข้นึ ระยะหา่ ง
ระหว่างเท้าท้งั สองของเขาจะแตกตา่ งกนั เป็นไปตามความสูงของเขา










46 คมู่ ือผู้ตดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล

ภาพท่ี 5 หลักการรูปทรงกระบอก : Cylinder principle



33. 2
หลักการของแนวดง่ิ : Principle of verticality

ในระหว่างการแข่งขัน ผู้เล่นแต่ละคนมีสิทธ์ิที่จะอยู่ ณ ตำแหน่งใดก็ได้(รูปทรงกระบอก)


ในสนามแขง่ ขนั โดยไมม่ ฝี า่ ยตรงข้ามยืนอยกู่ อ่ น

หลักการน้ ี เป็นการป้องกันพ้ืนที่ว่างบนพื้นที่ท่ีเขายืน และพื้นที่ว่างเหนือตัวเขาข้ึนไป


เมือ่ เขากระโดดข้นึ ในแนวด่งิ ภายในพ้ืนท่วี า่ งนัน้

ทันทีที่ผู้เล่นออกจากตำแหน่งแนวด่ิงของเขา (รูปทรงกระบอก) และเกิดมีการปะทะตัวกัน

กับฝ่ายตรงข้ามท่ีได้จัดตำแหน่งแนวด่ิงของเขาอยู่ก่อนแล้ว (รูปทรงกระบอก) ผู้เล่นที่ออกจาก

ตำแหน่งแนวด่งิ (รปู ทรงกระบอก) เป็นผรู้ ับผิดชอบต่อการปะทะกัน

ผู้เล่นฝ่ายป้องกันต้องไม่ถูกลงโทษ เน่ืองจากการกระโดดข้ึนจากพ้ืนในแนวดิ่ง (ในรูปทรง

กระบอกของเขา) หรอื ไดย้ ื่นมอื และแขนขนึ้ เหนอื ตวั เขาภายในรปู ทรงกระบอกของเขา

ผู้เล่นฝ่ายรุก ไม่ว่าอยู่บนพื้น หรือลอยตัวอยู่ในอากาศ จะต้องไม่ทำให้เกิดการปะทะกัน


กบั ผ้เู ลน่ ฝา่ ยปอ้ งกนั ทอ่ี ยูใ่ นตำแหนง่ การปอ้ งกนั ท่ถี กู กตกิ า โดยการ :

• ใช้แขน ทำให้ตัวเขามีพื้นทวี่ า่ งมากขึน้ (ผลักออก)

• กางขา หรือแขนของเขาออกกว้าง จนทำให้เกิดมีการปะทะกันในระหว่างการยิงประตู


หรอื ทนั ทภี ายหลังการยิงประต ู

33 .3
ตำแหนง่ การป้องกนั ท่ถี กู กติกา : Legal guarding position

ผู้เล่นฝา่ ยป้องกนั ได้จดั ตำแหน่งข้นั ต้นของการป้องกนั ท่ีถกู กตกิ า เมอ่ื :


คมู่ ือผ้ตู ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 47

• เขายืนหนั หนา้ (facing) เข้าหาฝ่ายตรงขา้ ม


• เขายืนด้วยเท้าทั้งสองข้างอยู่บนพื้น

ตำแหน่งของการป้องกันท่ีถูกกติกา จะย่ืนข้ึนไปเป็นแนวดิ่งเหนือตัวเขา(รูปทรงกระบอก)

จากพ้ืนถึงเพดาน เขาอาจจะยกแขนและมือขึ้นเหนือศีรษะของเขา หรือกระโดดข้ึน

ในแนวด่ิง แต่เขาจะต้องคงอยู่ในตำแหน่งแนวดิ่งของพวกเขา ภายในกรอบรูปทรงกระบอก


สมมต

3
3.4 การปอ้ งกันผูเ้ ล่นท่คี รอบครองบอล : Guarding a player who controls the ball

ขณะท่ีกำลังป้องกัน ผู้เล่นที่ครอบครองบอล (กำลังถือบอลหรือกำลังเลี้ยงบอล)

องค์ประกอบของเวลาและระยะทาง (elements of time and distance) จะไม่นำมา
บังคับใช้ ผู้เล่นท่ีครอบครองบอลต้องคาดการณ์ว่าจะถูกป้องกัน และต้องเตรียมพร้อม

ท่ีจะหยุด หรือเปลี่ยนทิศทางของเขา ในเวลาใดก็ตามท่ีฝ่ายตรงข้ามได้จัดตำแหน่งข้ันต้น

ของการปอ้ งกันทถ่ี ูกกตกิ าตรงหน้าเขา แม้วา่ การป้องกันนน้ั จะจัดทำในชว่ งเส้ยี ววินาทีกต็ าม

ผู้เล่นท่ีกำลังป้องกัน(ฝ่ายป้องกัน) ต้องจัดตำแหน่งข้ันต้นของการป้องกันที่ถูกกติกา


โดยไมท่ ำใหเ้ กดิ การปะทะกนั กอ่ นเขา้ ไปอยู่ในตำแหน่งของเขา

ทันทีที่ผู้เล่นฝ่ายป้องกันได้จัดตำแหน่งข้ันต้นของการป้องกันที่ถูกกติกา เขาอาจจะเคลื่อนท่ี
เพ่ือป้องกันฝ่ายตรงข้ามของเขา แต่เขาต้องไม่ยื่นแขน หัวไหล่ สะโพก หรือขา


เพือ่ ขดั ขวางผเู้ ลย้ี งบอลทีก่ ำลังเลีย้ งผา่ นเขาไป

ในการพิจารณาสถานการณ์ การชน/การสกัดกั้น (charge/block) ทเี่ กย่ี วกบั ผู้เลน่ ท่มี บี อล
กรรมการจะตอ้ งใชห้ ลักการ ต่อไปนี้ :

• ผู้เล่นฝ่ายป้องกัน ต้องจัดตำแหน่งข้ันต้นของการป้องกันที่ถูกกติกา โดยการหันหน้า

เข้าหาผ้เู ลน่ ท่ีมบี อล และมีเทา้ ทั้งสองขา้ งอยู่บนพ้นื

• ผู้เล่นฝ่ายป้องกัน อาจจะยืนอยู่กับที่ กระโดดขึ้นในแนวดิ่ง เคลื่อนท่ีไปทางด้านข้าง

หรอื ถอยหลงั เพือ่ ใหค้ งอยูใ่ นตำแหน่งขัน้ ตน้ ของการปอ้ งกนั ทถ่ี ูกกติกา

• ขณะที่กำลังเคลื่อนท่ี เพ่ือให้คงอยู่ในตำแหน่งขั้นต้นของการป้องกันที่ถูกกติกา

เท้าข้างหน่ึงหรือท้ังสองข้าง อาจจะยกขึ้นจากพ้ืนช่ัวระยะหนึ่ง ตราบท่ียังเคล่ือนท่ีไป

ทางด้านขา้ ง หรือถอยหลัง แต่ไมใ่ ชเ่ คลอื่ นทเี่ ขา้ ไปหา ผู้เล่นที่ครอบครองบอล

• การปะทะกันจะต้องเกิดขึ้นท่ีลำตัว ซ่ึงในกรณีนี้ ผู้เล่นฝ่ายป้องกันจึงจะได้รับ

การพจิ ารณาว่าเขาได้อย่ใู นตำแหนง่ ท่เี กิดการปะทะกอ่ น

• เม่ือได้จัดตำแหน่งขั้นต้นของการป้องกันท่ีถูกกติกาแล้ว ผู้เล่นฝ่ายป้องกันอาจจะ

หมุนตัว ภายในกรอบ รปู ทรงกระบอกของเขาเพ่ือหลกี เลยี่ งการบาดเจบ็


48 คูม่ ือผู้ตัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล

ในทุกสถานการณด์ งั กลา่ วขา้ งต้นน้ี จะต้องพจิ ารณาวา่ การปะทะกันไดเ้ กดิ ขน้ึ เพราะผเู้ ลน่ ท่ี


ครอบครองบอล

33.5 การปอ้ งกนั ผู้เลน่ ทไ่ี ม่ได้ครอบครองบอล : Guarding a player who does not control

the ball

ผู้เล่นที่ไม่ได้ครอบครองบอล มีสิทธิ์เคล่ือนที่ได้โดยอิสระ และอยู่ ณ ตำแหน่งใดๆ ก็ได้


ในสนามแข่งขนั ท่ไี ม่มผี ู้เลน่ อนื่ ยนื อยูก่ อ่ น

ขณะกำลังป้องกันผู้เล่นท่ีไม่ได้ครอบครองบอล จะต้องนำ องค์ประกอบของเวลา และ


ระยะทาง มาบังคับใช้ ผู้เล่นฝ่ายป้องกันไม่สามารถเข้าไปยืนในตำแหน่งใกล้จนเกินไป

และ/หรือรวดเร็วจนเกินไปในเส้นทางของฝ่ายตรงข้ามที่กำลังเคลื่อนท่ี จนทำให้เขาไม่มี

เวลา หรอื ระยะทางเพยี งพอท่ีจะหยดุ หรอื เปล่ียนทศิ ทางของเขา


ระยะทางเปน็ สดั สว่ นโดยตรงกบั ความเรว็ ของฝา่ ยตรงขา้ ม แตต่ อ้ งไมน่ อ้ ยกว่า 1 ก้าวปกต ิ

หากผู้เล่นฝ่ายป้องกันไม่เคารพต่อองค์ประกอบของเวลาและระยะทาง ในการจัดตำแหน่ง
ขั้นต้นของการป้องกันท่ีถูกกติกา แล้วเกิดการปะทะกันกับฝ่ายป้องกัน เขาต้องรับผิดชอบ

ต่อการปะทะนน้ั

ทันทีที่ผู้เล่นฝ่ายป้องกันอยู่ในตำแหน่งขั้นต้นของการป้องกันท่ีถูกกติกา เขาอาจเคลื่อนที่
เพื่อป้องกันฝ่ายตรงข้ามของเขา เขาต้องไม่ขัดขวางฝ่ายตรงข้ามท่ีกำลังเคล่ือนที่ผ่านตัวเขาไป
โดยการย่ืนแขน ไหล่ สะโพก หรือขา ไปในเส้นทางของฝ่ายตรงข้าม เขาอาจจะหมุนตัว

ภายในกรอบรูปทรงกระบอกของเขา เพ่ือหลกี เล่ียงการบาดเจ็บ


33.6 ผูเ้ ล่นทล่ี อยตวั อยู่ในอากาศ : A player who is in the air

ผู้เล่นท่ีได้กระโดดจากพื้นสนามแข่งขันข้ึนไปในอากาศ มีสิทธ์ิที่จะลงสู่พ้ืนสนามอีก


ณ จุดเดมิ

เขามีสิทธิ์ลงสู่พื้นสนามแข่งขัน ณ จุดอ่ืนได้ โดยมีเง่ือนไขว่า บริเวณท่ีเขาลงสู่พ้ืน

และระหว่างเส้นทางจากจุดที่เขากระโดดขึ้นกับจุดท่ีเขาลงสู่พ้ืน ไม่มีฝ่ายตรงข้ามคนเดียว

(หลายคน) ยืนอยู่ก่อนในเวลาท่ีกระโดด หากผู้เล่นที่ได้กระโดดขึ้น และลงสู่พ้ืน แต่ด้วยแรงส่ง
ของเขา(momentum) ทำให้เขาไปปะทะกับฝ่ายตรงข้ามท่ีได้อยู่ในตำแหน่งการป้องกัน


ที่ถูกกตกิ า ซ่งึ อยูห่ า่ งออกไปจากจดุ ที่ลงสพู่ นื้ ผู้กระโดดเปน็ ผู้รับผดิ ชอบตอ่ การปะทะกนั

ฝ่ายตรงข้ามต้องไม่เคลื่อนท่ีเข้าไปในเส้นทางของผู้เล่น หลังจากท่ีผู้เล่นได้กระโดดขึ้นไป




ในอากาศแล้ว


คมู่ อื ผตู้ ดั สินกฬี าบาสเกตบอล 49

การเคลอ่ื นที่เข้าไปดา้ นล่างผ้เู ลน่ ท่ลี อยตวั อยู่ในอากาศ แลว้ ทำใหเ้ กิดการปะทะกัน โดยปกติ
เป็นการฟาล์วผิดวิสัยนักกีฬา(unsportsmanlike foul) และในสภาวะท่ีม่ันใจ อาจปรับ



เปน็ ฟาล์วเสยี สิทธิ์ได(้ disqualifying foul)


33.7 การกำบงั : การกำบังที่ถกู กติกา และ ผิดกติกา : Screening − Legal and illegal

การกำบัง คือ การพยายามยับย้ัง หรือป้องกันผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามท่ีไม่มีลูกบอล ไม่ให้ไปยัง

ตำแหน่งทตี่ อ้ งการในสนามแข่งขนั

การกำบังท่ี ถกู กติกา คือ การท่ผี ้เู ลน่ ทำการกำบังฝา่ ยตรงข้าม โดย :

• ยืนน่งิ (ในกรอบรปู ทรงกระบอกของเขา) เมอื่ เกดิ การปะทะกนั


• เท้าทั้งสองข้างอยบู่ นพ้นื เม่อื เกดิ การปะทะกนั

การกำบงั ท่ี ผดิ กตกิ า คือ การที่ผู้เลน่ ทำการกำบงั ฝ่ายตรงข้าม โดย :

• กำลังเคลื่อนที่ เมอื่ เกดิ การปะทะกัน

• ไม่ได้ให้ระยะห่างเพียงพอในการทำกำบังนอกสายตาของฝ่ายตรงข้ามท่ียืนนิ่ง


เมื่อเกดิ การปะทะกนั

• ละเมิดเร่ืององค์ประกอบของเวลา และระยะทาง ของฝ่ายตรงข้ามท่ีกำลังเคล่ือนท ่ี


เม่ือเกดิ การปะทะกัน

หากการกำบังทำ อยู่ใน สายตาของฝ่ายตรงขา้ มทีย่ นื นิ่ง(ดา้ นหนา้ หรอื ดา้ นขา้ ง) ผกู้ ำบังอาจ

จะทำการกำบังในระยะใกล้กับฝ่ายตรงข้ามได้ตามที่เขาต้องการ โดยมีข้อกำหนดว่า ต้องไม่

เกิดการปะทะกนั

หากการกำบังทำอยู่ นอกสายตา ของฝ่ายตรงข้ามท่ียืนน่ิง ผู้กำบังต้องยอมให้มีระยะห่าง


แกฝ่ ่ายตรงข้ามเพอ่ื ก้าวเท้าได้ 1 กา้ วปกติ โดยไมม่ ีการปะทะกัน

หากฝ่ายตรงข้าม กำลังเคลื่อนท่ี ให้นำองค์ประกอบของเวลาและระยะทางมาบังคับใช้


ผู้กำบังต้องเว้นให้มีระยะห่างเพียงพอ เพ่ือให้ผู้เล่นที่ถูกกำบังสามารถหลีกเลี่ยงการถูกกำบัง
ด้วยการหยุด หรือเปลี่ยนทศิ ทางระยะทางท่ีกำหนดคอื ต้องไมน่ อ้ ยกวา่ 1 กา้ ว และไมเ่ กิน

กว่า 2 ก้าวปกติ


ผ้เู ลน่ ท่ถี กู กำบังอยา่ งถูกกตกิ า ตอ้ งรับผดิ ชอบตอ่ การปะทะกันใดๆ กบั ผู้เล่นท่ไี ด้ทำกำบงั

3
3.8 การชน : Charging

การชน คือ การปะทะร่างกายที่ผิดกติกาในขณะที่มีลูกบอลหรือไม่มีก็ตาม ด้วยการผลัก
หรอื เคลือ่ นท่เี ข้าชนลำตัวของฝ่ายตรงขา้ ม


50 คูม่ ือผตู้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล

33.9 การสกัดกัน้ : Blocking

การสกัดก้ัน คือ การปะทะร่างกายท่ีผิดกติกา ซึ่งเป็นการขัดขวางการเคล่ือนไปข้างหน้า


ของฝา่ ยตรงขา้ มทีม่ ีลกู บอลหรือไมม่ กี ็ตาม

ผู้เล่นที่พยายามทำกำบังจะกระทำฟาล์วสกัดกั้นได้ ถ้าการปะทะกันเกิดขึ้น เมื่อเขากำลัง

เคล่ือนที่ และฝ่ายตรงขา้ มยืนนิง่ หรอื ถอยหา่ งจากเขา

หากผู้เล่นไม่สนใจที่จะเล่นลูกบอล หันหน้าเข้าหาฝ่ายตรงข้าม แล้วขยับตำแหน่งของเขาไป

ตามการเคล่ือนตำแหน่งของฝ่ายตรงข้าม ในเบื้องต้นเขาต้องรับผิดชอบต่อการปะทะใดๆ


ทเ่ี กดิ ขนึ้ ยกเวน้ จะมปี ัจจยั อน่ื เขา้ มาเกี่ยวข้อง

ข้อความ “ยกเว้นจะมีปัจจัยอ่ืนเข้ามาเก่ียวข้อง” หมายถึง การจงใจผลัก เข้าชน หรือดึง

โดยผู้เลน่ ทถี่ กู กำบัง

เป็นการเล่นที่ถูกกติกา สำหรับผู้เล่นท่ีย่ืนแขน กางข้อศอก ออกนอกกรอบรูปทรงกระบอก

ของเขา เพ่อื การเขา้ หาตำแหนง่ บนพน้ื สนาม แต่เขาตอ้ งลดแขน หรอื หุบข้อศอกลงมาเข้าไป
ในกรอบรูปทรงกระบอก เม่ือฝ่ายตรงข้ามพยายามที่จะเคลื่อนผ่านไป ถ้าแขน หรือข้อศอก
อยู่นอกกรอบรูปทรงกระบอกของเขา และเกิดการปะทะกัน จะถือเป็นการสกัดกั้น

หรอื การดงึ



3
3.10 เขตพืน้ ท่คี ร่ึงวงกลมปลอดการฟาล์วชน : No charge semi-circle area

เขตพื้นท่ีคร่ึงวงกลมปลอดการฟาล์วชน ได้ทำลงไปในสนามแข่งขัน โดยมีจุดมุ่งหมาย

เพอ่ื กำหนดเขตพ้ืนทโ่ี ดยเฉพาะสำหรบั การตคี วามเกย่ี วกับสถานการณ์ การชน / การสกดั กั้น

ใตห้ ่วงตาขา่ ย

ในสถานการณ์ของการรุกเข้าไปในเขตพ้ืนที่คร่ึงวงกลมปลอดการฟาล์วชนแต่ละคร้ัง

การปะทะใดๆ ท่ีเกิดจาก ผู้เล่นฝ่ายรุกท่ีลอยตัวอยู่ในอากาศต่อผู้เล่นฝ่ายป้องกันภายใน

ครึ่งวงกลมปลอดการฟาล์วชน จะต้องไม่เรียกเป็นการฟาล์วของฝ่ายรุก นอกจาก

ผเู้ ล่นฝา่ ยรกุ ใชม้ อื แขน ขา หรือร่างกายอยา่ งผิดกติกา กติกาขอ้ น้ใี ห้บังคับใช้ เม่ือ

• ผเู้ ล่นฝา่ ยรุก เปน็ ผ้คู รอบครองบอลขณะลอยตัวอยู่ในอากาศ และเขาพยายามยิงประต ู

หรอื สง่ บอล

• ขณะปะทะกัน ผู้เล่นฝ่ายป้องกันมีเท้าข้างหนึ่ง หรือเท้าท้ังสองข้างอยู่ภายใน


เขตพน้ื ที่ครงึ่ วงกลมปลอดการฟาล์วชน

33.11 การสัมผัสฝ่ายตรงขา้ มด้วยมือ และ/หรอื แขน


: Contacting an opponent with the hand(s) and/or arm(s)


ค่มู ือผูต้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 51

การสัมผสั ฝ่ายตรงข้ามด้วยมือ การกระทำในลกั ษณะนไี้ มจ่ ำเป็นต้องเปน็ การฟาลว์ เสมอไป

กรรมการจะต้องพิจารณาว่า ผู้เล่นท้ังสองท่ีทำให้เกิดการปะทะกันน้ัน มีการได้เปรียบหรือไม ่


ถ้าการสัมผัสโดยผู้เล่นด้วยวิธีการใดๆ ก็ตาม เป็นการจำกัดการเคลื่อนที่โดยอิสระ


ของฝา่ ยตรงข้าม การสัมผสั น้นั ถอื เปน็ การทำฟาล์ว

การใช้มือ หรือการยื่นแขนที่ผิดกติกา เกิดข้ึนเมื่อผู้เล่นฝ่ายป้องกันที่อยู่ในตำแหน่ง


การป้องกัน และใช้มือหรือแขนของเขาวาง และคงอยู่บนร่างกายฝ่ายตรงข้ามที่มีบอล


หรือไม่มีบอล เพ่อื หน่วงเหนย่ี วการเคลื่อนทีไ่ ปข้างหนา้ ของฝา่ ยตรงขา้ ม

การแตะสัมผัสอย่างซ้ำๆ หรือ “แย็บ” (jab) ฝ่ายตรงข้ามที่มีบอลหรือไม่มีบอล ถือเป็น


การฟาลว์ เพราะอาจจะนำไปสกู่ ารเล่นทร่ี นุ แรง

ถือเป็นการทำฟาลว์ โดย ผเู้ ล่นฝา่ ยรุกที่มีบอล เมือ่ เขา :

• ใช้แขน หรือ ศอก “เก่ยี ว” (Hook) หรือโอบรอบตัวผูเ้ ลน่ ฝา่ ยตรงข้าม

เพอ่ื ให้ได้เปรยี บ

• “ผลกั ออก” (Push off) เพอ่ื ขัดขวางผเู้ ลน่ ฝา่ ยตรงข้ามจากการเลน่ บอล

หรอื พยายามจะเล่นบอล หรอื เพอ่ื ให้มพี นื้ ท่วี ่างมากข้นึ แก่ตัวเขาเอง

• ใช้แขนท่อนล่าง หรือมือย่ืนออกไป ในขณะกำลังเล้ียงบอล เพื่อป้องกันฝ่ายตรงข้าม


เข้ามาแยง่ บอล

ถอื เปน็ การกระทำฟาล์ว โดย ผูเ้ ล่นฝ่ายรุกที่ไมม่ ีบอล ทใ่ี ชว้ ธิ กี าร “ผลักออก” เพือ่ :

• ใหม้ อี สิ ระในการรับบอล

• ขดั ขวางผู้เลน่ ฝา่ ยตรงขา้ มออกจากการเล่น หรอื พยายามจะเลน่ บอล

• ทำให้มีพนื้ ที่ว่างมากขน้ึ เพอื่ ตัวเขาเอง




33.12 การเล่นตำแหนง่ โพสท์ : Post play


หลักการของแนวดงิ่ (หลักการรูปทรงกระบอก) ให้นำมาบังคบั ใชก้ บั การเลน่ ตำแหนง่ โพสท ์

ผู้เล่นฝ่ายรุกในตำแหน่งโพสท์ และผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามที่ป้องกันเขา ต้องเคารพสิทธิ์ซ่ึงกันและกัน

ในตำแหน่งแนวด่งิ (รูปทรงกระบอก)

ถือเป็นการฟาล์วโดยผู้เล่นฝ่ายรุก หรือผู้เล่นฝ่ายป้องกันในตำแหน่งโพสท์ ที่ใช้หัวไหล่


หรือสะโพกดันฝ่ายตรงข้ามให้ออกจากตำแหน่ง หรือรบกวนอิสระในการเคลื่อนท
่ี

ของฝ่ายตรงขา้ ม ด้วยการยื่นแขน หัวไหล ่ สะโพก ขา หรอื ส่วนอ่ืนใดของร่างกาย


52 คู่มอื ผ้ตู ดั สินกฬี าบาสเกตบอล

33.13 การป้องกันจากดา้ นหลงั ท่ีผดิ กตกิ า : illegal guarding from the rear

การป้องกันจากด้านหลังท่ีผิดกติกา คือ การปะทะตัวฝ่ายตรงข้ามจากด้านหลังโดยผู้เล่น

ฝ่ายป้องกัน ในความเป็นจริงการท่ีผู้เล่นฝ่ายป้องกันกำลังพยายามที่จะเล่นบอลนั้น



ไมจ่ ำเป็นวา่ ตอ้ งเป็นการปะทะจากเขาทเ่ี กิดกับฝ่ายตรงขา้ มจากด้านหลัง

3
3.14 การดึง : Holding

การดึง คือ การถูกตัวฝ่ายตรงข้ามที่ผิดกติกา ซึ่งเป็นการรบกวนอิสระในการเคลื่อนที่


การถูกตัว(การดึง) แบบน้ี สามารถเกิดขึ้นไดก้ ับส่วนอ่ืนใดของรา่ งกาย

3
3.15 การผลกั /ดัน : Pushing

การผลัก/ดัน คือ การปะทะตัวฝ่ายตรงข้ามที่ผิดกติกาด้วยส่วนใดๆ ของร่างกาย เมื่อผู้เล่น

ออกแรงดนั หรอื พยายามดันฝา่ ยตรงข้ามทคี่ รอบครองบอล หรอื ปราศจากลกู บอล





ขอ้ 34 ฟาลว์ บุคคล : Personal foul

3
4.1 คำจำกดั ความ

34.1.1 การฟาล์วบุคคล คือ การปะทะที่ผิดกติกาของผู้เล่นกับฝ่ายตรงข้าม ไม่ว่าจะเป็น

บอลดี หรอื บอลตายกต็ าม ผเู้ ล่นจะตอ้ งไมด่ งึ สกดั กนั้ ผลกั ชนทำให้เกดิ การสะดดุ

หรือกีดขวางการเคลื่อนท่ีไปข้างหน้าของฝ่ายตรงข้าม ด้วยการย่ืนมือของเขา

แขน ข้อศอก หัวไหล่ สะโพก ขา เข่าหรือเท้า หรือก้มงอตัวของเขาให้อยู่ใน


ตำแหน่งที่ผิดวิสัย (นอกกรอบรูปทรงกระบอกของเขา) หรือต้องไม่ใช้วิธีการเล่น

ที่กา้ วร้าวเกเรหรอื รุนแรงใดๆ

3
4.2 บทลงโทษ


จะต้องปรับฟาลว์ บุคคลตอ่ ผูท้ ก่ี ระทำผดิ

34.2.1 หากการฟาล์วไดก้ ระทำต่อผูเ้ ล่นท่ีไมอ่ ยู่ในทา่ กำลงั ยงิ ประตู :

• ให้ดำเนินการแข่งขันต่อไป ด้วยการส่งบอลเข้าเล่น โดยทีมที่ไม่ได้กระทำผิด


ณ บริเวณใกล้ กับท่ีมกี ารละเมดิ กติกา

• ถ้าหากว่า ทีมที่กระทำผิดอยู่ในสถานการณ์ของการลงโทษการฟาล์วทีม

เชน่ น้นั แลว้ จะต้องนำกติกาขอ้ 41 (บทลงโทษการฟาล์วทีม) มาบงั คบั ใช้


34.2.2 หากการฟาล์วได้กระทำต่อผู้เล่นท่ีอยู่ในท่ากำลังยิงประตู ผู้เล่นคนนั้นจะต้องได้

โยนโทษ ดงั ตอ่ ไปน้ี :


คู่มือผูต้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 53

• ถ้าการยิงประตูปล่อยจากพ้ืนท่ีน้ันเป็นผลสำเร็จ จะต้องนับเป็นประตู

และใหโ้ ยนโทษเพมิ่ อีก 1 ครงั้


• ถ้าการยิงประตูปล่อยจากเขตพื้นที่ 2 คะแนน และไม่เป็นผลสำเร็จ

ให้โยนโทษ 2 คร้ัง


• ถ้าการยิงประตูปล่อยจากเขตพ้ืนท่ี 3 คะแนน และไม่เป็นผลสำเร็จ ให้โยนโทษ

3 ครั้ง


• ถ้าผู้เล่นถูกกระทำฟาล์ว ในขณะที่หรือก่อนท่ีเสียงสัญญาณของนาฬิกา

แข่งขันดังหมดเวลา ของช่วงเวลาการแข่งขัน หรือในขณะที่หรือก่อนที่เสียง

สัญญาณนาฬิกายิงประตูดังขึ้น ในขณะที่ลูกบอลยังคงอยู่ในมือของผู้เล่น

และการยิงประตูเป็นผลสำเร็จ จะต้องไม่นับเป็นประตู แต่จะต้องให้โยนโทษ

2 ครั้ง หรือ 3 ครั้ง






อ้ 35 ฟาล์วคู่ : Double foul



35.1 คำจำกัดความ

35.1.1 การฟาล์วคู่ คือ สถานการณ์ที่ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามกัน 2 คน กระทำฟาล์วบุคคล


ซึง่ กันและกนั ณ ชว่ งเวลาเดยี วกนั โดยประมาณ


35.1.2 บทลงโทษ

จะต้องปรับเป็นฟาล์วบุคคลต่อผู้กระทำผิดแต่ละคน ไม่ต้องมีการโยนโทษ แล้วให้ดำเนิน

การแขง่ ขันต่อไป ดงั นี้ :

ถา้ ณ ช่วงเวลาเดียวกนั โดยประมาณ ทเี่ กดิ การฟาลว์ คู่ :

• มีการยิงประตูได้อย่างถูกต้อง หรือการโยนโทษคร้ังสุดท้ายหรือครั้งเดียวเป็นคะแนน


จะต้องให้ลูกบอลแก่ทมี ทีไ่ มไ่ ดท้ ำคะแนนเพอ่ื สง่ เข้าเลน่ ณ จดุ ใดกไ็ ดท้ ่เี สน้ หลงั

• มีทีมครอบครองบอล หรือได้สิทธ์ิครอบครองบอล จะต้องให้ลูกบอลแก่ทีมน้ัน


เพือ่ สง่ เข้าเลน่ ณ บรเิ วณท่ีใกลท้ ่ีสดุ กบั ท่ีละเมิดกติกา

• ไม่มีทีมใดได้ครอบครองบอล หรือได้สิทธิ์ครอบครองบอล ถือว่าเกิดสถานการณ์


ลูกกระโดด





้อ 36 ฟาล์วเทคนิค : Technical foul



36.1 หลกั เกณฑ์ของการประพฤตปิ ฏบิ ัติ : Rules of conduct

36.1.1 การจัดการแข่งขันท่ีถูกต้องสมบูรณ์แบบ ต้องได้รับความร่วมมืออย่างจริงใจ


และเต็มใจจากผู้เล่น และบุคคลท่ีเกี่ยวข้องในทีมที่มีต่อกรรมการ เจ้าหน้าท่ีโต๊ะ

รวมถงึ ผูค้ วบคุมการแข่งขัน ถ้าม


54 คูม่ ือผตู้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอล

36.1.2 แต่ละทีมต้องแข่งขันให้เต็มความสามารถเพ่ือให้ได้ชัยชนะ แต่ต้องแข่งขันภายใต้

จติ วิญญาณของความมีน้ำใจนกั กฬี า และการเล่นที่ยตุ ธิ รรม


36.1.3 การเจตนา หรอื ไม่ให้ความรว่ มมือซำ้ ๆ หลายครงั้ หรอื ไมแ่ ขง่ ขนั ดว้ ยความมจี ิตใจ

นกั กีฬาและไมป่ ฏิบัติตามเจตนารมณ์ของกตกิ านี้ จะถูกพิจารณาเป็นฟาล์วเทคนคิ


36.1.4 กรรมการอาจจะป้องกันการทำฟาล์วเทคนิคด้วยการเตือน หรืออาจจะมองข้าม

การละเมิดกติกาเล็กน้อยท่ีเห็นได้ชัดว่าไม่มีเจตนา และไม่มีผลโดยตรงต่อการแข่งขัน

เวน้ แต่มีการกระทำผดิ ในเรอ่ื งเดมิ ซ้ำๆ อีก หลังจากไดต้ ักเตอื นแลว้


36.1.5 ถ้าการละเมิดกติกา ได้ถูกตรวจพบภายหลังบอลกลายเป็นบอลดี จะต้องหยุด

การแข่งขัน และปรับฟาล์วเทคนิค การลงโทษจะถูกดำเนินการเสมือนว่า

การฟาล์วเทคนคิ ได้เกดิ ขน้ึ ณ เวลาที่ได้ปรบั ฟาลว์ เทคนคิ น้นั สงิ่ ใดก็ตามทเ่ี กดิ ขึน้



ในช่วงเวลาระหว่างการละเมิดกติกาถึงการหยุดการแขง่ ขนั จะตอ้ งคงไว้ตามกตกิ า

3
6.2 ความรุนแรง : Violence

36.2.1 การกระทำท่ีรุนแรงอาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการแข่งขัน ซ่ึงขัดต่อจิตวิญญาณ


ของความมีน้ำใจนักกีฬาและการเล่นท่ียุติธรรม การกระทำเหล่าน้ีต้องได้รับการ

ยุติทันทีโดยกรรมการ และถ้าจำเป็นอาจใช้เจ้าหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อย

เขา้ ระงบั เหต

36.2.2 เม่ือใดก็ตามท่ีเกิดการกระทำที่รุนแรงซ่ึงนำไปสู่ผู้เล่น หรือบุคคลที่เก่ียวข้องในทีม

ในสนามแข่งขัน หรือในบริเวณใกล้เคียง กรรมการต้องใช้ทุกวิธีการเพ่ือ

ยุตกิ ารกระทำนัน้

36.2.3 บุคคลใดๆ ที่ได้กล่าวข้างต้น ท่ีมีความผิดเนื่องจากการกระทำท่ีก้าวร้าว

อยา่ งชดั เจนตอ่ ฝา่ ยตรงขา้ ม หรือกรรมการ จะตอ้ งถูกตดั สทิ ธ์ิการแข่งขัน ผ้ตู ัดสิน

ตอ้ งรายงานเหตุการณ์ทีเ่ กิดขน้ึ ตอ่ ฝ่ายจัดการแข่งขัน

36.2.4 เจ้าหน้าท่ีรักษาความสงบเรียบร้อย อาจจะเข้าไปในสนามแข่งขันได้ ถ้ามี

การร้องขอให้เข้าระงับเหตุจากกรรมการ อย่างไรก็ตาม หากมีผู้ชมเข้าไปในสนาม

แข่งขัน โดยมีเจตนาชัดเจนว่าจะทำให้เกิดความรุนแรง เจ้าหน้าท่ีรักษาความสงบ

เรยี บร้อยต้องเขา้ ขัดขวางเพ่อื คมุ้ ครองทีม และกรรมการทันที

36.2.5 พ้ืนท่ีทั้งหมดอ่ืนๆ รวมท้ังทางเข้า−ออก ทางเดินตามอาคาร ห้องพักนักกีฬา

เป็นต้น จะอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของฝ่ายจัดการแข่งขัน และเจ้าหน้าที่รักษา

ความสงบเรียบรอ้ ย

36.2.6 กรรมการต้องไม่อนุญาตให้การกระทำใดๆ ของผู้เล่น หรือบุคคลท่ีเกี่ยวข้องในทีม


ทีอ่ าจจะทำให้เกิดความเสยี หายต่ออปุ กรณก์ ารแขง่ ขนั

เมื่อกรรมการสังเกตเห็นพฤติกรรมในลักษณะดังกล่าว ผู้ฝึกสอนของทีมท่ีกระทำผิดจะต้อง
ถกู เตือน หากยงั มกี ารกระทำซ้ำๆ อกี จะต้องเรียกฟาล์วเทคนิคตอ่ บุคคลที่ก่อเหตทุ ันที


คูม่ ือผตู้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล 55

36.3 คำจำกดั ความ

36.3.1 ฟาลว์ เทคนคิ คอื การฟาลว์ ของผ้เู ล่นทไ่ี มถ่ กู ตวั กัน รวมถงึ พฤตกิ รรม

การกระทำในลักษณะตา่ งๆ ทีม่ ิไดจ้ ำกัดถงึ สง่ิ ตอ่ ไปน
้ี
• เพกิ เฉยต่อการตกั เตือนของกรรมการ

• ถูกตัวกรรมการ ผู้ควบคุมการแข่งขัน เจ้าหน้าท่ีโต๊ะคะแนน หรือบุคคล


ท่ีเก่ยี วข้องทีมอ่ืน ดว้ ยกริ ยิ าทไี่ มส่ ภุ าพ

• พูดจากับกรรมการ ผู้ควบคุมการแข่งขัน เจ้าหน้าท่ีโต๊ะ หรือฝ่ายตรงข้าม


ดว้ ยกิรยิ าทไี่ ม่สภุ าพ

• ใชค้ ำพูด หรอื แสดงท่าทางเยาะเย้ย หรอื ย่วั ยอุ ารมณผ์ ชู้ ม

• หลอกล่อ หรือปิดบังสายตาของฝ่ายตรงข้าม โดยการโบกมือของเขาใกล้ๆ


นัยน์ตา

• เหวย่ี งศอกเกินเหตุจำเป็น

• ถ่วงเวลาการแข่งขัน โดยเจตนาสัมผัสลูกบอล หลังจากลูกบอลผ่าน


ห่วงตาขา่ ยลงมา หรอื โดยการขัดขวางการส่งบอลเข้าเลน่ อย่างทนั ทว่ งที

• แกล้งลม้ ลงเพอ่ื ให้ไดฟ้ าลว์

• โหนห่วงในลักษณะท่ีทำให้ห่วงต้องรับน้ำหนักผู้เล่น ยกเว้น ผู้เล่นจับห่วงไว


ชั่วขณะภายหลังการยัดห่วง หรือกรรมการพิจารณาว่าเป็นความพยายาม

ปอ้ งกันตัวเขาเอง หรอื ผูเ้ ลน่ อนื่ ไมใ่ ห้ได้รบั บาดเจบ็

• ทำให้เกิดการปรับเป็นประตู(Goaltending) โดยผู้เล่นฝ่ายป้องกันในระหว่าง

การโยนโทษคร้ังสุดท้ายหรอื คร้งั เดยี ว ทมี ฝ่ายรกุ จะได้รับ 1 คะแนน ตดิ ตาม


ด้วยการลงโทษผเู้ ล่นฝา่ ยป้องกันโดยการปรบั ฟาลว์ เทคนคิ

36.3.2 การฟาลว์ เทคนคิ ของบุคคลท่เี กยี่ วข้องในทีม คือ การฟาล์วเนือ่ งจากการพดู จาด้วย

กิริยาท่ีไม่สุภาพ หรือถูกตัวกรรมการ ผู้ควบคุมการแข่งขัน เจ้าหน้าที่โต๊ะ

หรอื ฝา่ ยตรงขา้ ม หรือการละเมดิ กติกาทเ่ี กี่ยวกับขัน้ ตอนหรือลกั ษณะวธิ ดี ำเนนิ การ

36.3.3 ผู้เล่นจะถูกตัดสิทธิ์การแข่งขันสำหรับส่วนของการแข่งขันที่เหลือ เมื่อเขาถูก

ปรบั ฟาล์วเทคนิค 2 ครง้ั

36.3.4 ผฝู้ กึ สอนจะถกู ตัดสทิ ธ์ิการแขง่ ขนั ในสว่ นของการแข่งขันท่ีเหลอื เมอ่ื :

• เขาถูกปรับฟาล์วเทคนิค(C) 2 คร้ัง จากการแสดงพฤติกรรมการไม่มีน้ำใจ

นกั กีฬาดว้ ยตวั ของเขา

• เขาถูกปรับฟาล์วเทคนิค 3 ครั้ง โดยเป็นการฟาล์วทั้งหมดของพวกเขา(B)

หรือเป็นการฟาล์วหน่ึงครั้ง(C) ของเขา อันมีผลมาจากการแสดงพฤติกรรม

การไม่มีนำ้ ใจนักกีฬาของบุคคลอน่ื ท่เี กี่ยวขอ้ งในทมี


56 คูม่ ือผตู้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล

36.3.5 หากผเู้ ล่นหรอื ผู้ฝกึ สอนถกู ตดั สิทธก์ิ ารแขง่ ขนั ภายใตก้ ตกิ าข้อ 36.3.3 หรอื 36.3.4

จะถูกลงโทษเฉพาะการฟาล์วเทคนิคครั้งนั้นเท่าน้ัน และไม่ต้องดำเนินการลงโทษ


เพ่ิมเตมิ จากการตดั สิทธก์ิ ารแขง่ ขนั


36.4 บทลงโทษ

36.4.1 หากการฟาล์วเทคนคิ กระทำ :

• โดยผู้เล่น จะต้องปรับฟาล์วเทคนิคต่อผู้เล่นคนน้ันเหมือนการฟาล์วของผู้เล่น

และจะนบั เป็นหนงึ่ ครัง้ ของฟาลว์ ทีม

• โดยบุคคลท่ีเก่ียวข้องในทีม จะต้องปรับเป็นฟาล์วเทคนิคผู้ฝึกสอน

และจะไมน่ ับเป็นหน่งึ ครงั้ ของฟาล์วทีม

36.4.2 ตอ้ งให้ฝ่ายตรงขา้ มโยนโทษ 1 ครั้ง แล้วตดิ ตามด้วย :

• การส่งบอลเข้าเล่น ท่ีแนวย่ืนต่อของเส้นกลางด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึก

คะแนน

• การเล่นลกู กระโดดทว่ี งกลมกลาง เพ่อื เริม่ ตน้ การแขง่ ขนั ชว่ งเวลาทห่ี น่งึ





้อ 37 ฟาลว์ ผดิ วิสัยนกั กฬี า : Unsportsmanlike foul


37.1 คำจำกดั ความ

37.1.1 การฟาล์วผิดวิสัยนักกีฬา คือ การฟาล์วที่มีการปะทะตัวผู้เล่น ซึ่งกรรมการ


พิจารณา ดังน้ี :


• ไม่พยายามอย่างแท้จริงที่จะเล่นบอลโดยตรง ด้วยความมีจิตใจเป็นนักกีฬา

และเจตนารมณ์ของกติกา

• ผ้เู ล่นที่พยายามเลน่ บอล ทำใหเ้ กดิ การปะทะทีร่ นุ แรงเกินเหตจุ ำเป็น

• การปะทะโดยผู้เล่นฝ่ายป้องกันต่อฝ่ายตรงข้ามจากด้านหลังหรือด้านข้าง

เพ่ือพยายามที่จะหยุดการเล่นแบบรุกเร็ว(fast break) และไม่มีผู้เล่น

ฝา่ ยป้องกัน ระหวา่ งผเู้ ลน่ ฝา่ ยรกุ กบั หว่ งตาขา่ ยของฝ่ายตรงข้าม

• การปะทะโดยผู้เล่นฝ่ายป้องกันกับฝ่ายตรงข้ามในสนามแข่งขัน ในระหว่าง

เวลา 2 นาทสี ุดทา้ ยของช่วงการเล่นท่ี 4 และช่วงต่อเวลาพเิ ศษ เม่ือลูกบอล

ออกนอกสนามและต้องส่งบอลเข้าเล่น ในขณะที่ลูกบอลยังอยู่ในมือของ

กรรมการหรอื อย่ใู นมอื ของผเู้ ลน่ ท่สี ่งบอล

37.1.2 กรรมการต้องตีความการฟาล์วผิดวิสัยนักกีฬาอย่างเสมอต้นเสมอปลาย


ตลอดการแข่งขัน และพิจารณาตัดสินเฉพาะการกระทำเทา่ นน้ั


คู่มือผ้ตู ัดสินกีฬาบาสเกตบอล 57

3
7.2 บทลงโทษ

37.2.1 จะต้องปรบั เปน็ ฟาล์วผิดวสิ ยั นกั กฬี าต่อผูท้ ก่ี ระทำผดิ

37.2.2 จะตอ้ งให้ผ้เู ลน่ ทีถ่ ูกกระทำฟาลว์ ไดโ้ ยนโทษ และตดิ ตามด้วย :

• การสง่ บอลเขา้ เล่น ท่แี นวยืน่ ตอ่ ของเส้นกลางด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บันทกึ คะแนน
• การเล่นลูกกระโดดทีว่ งกลมกลาง เพ่ือเรมิ่ ตน้ การแขง่ ขันของช่วงเวลาท่หี น่งึ

จำนวนครง้ั ของการโยนโทษ ใหเ้ ปน็ ดงั น้ี :

• ถ้าการฟาล์วได้กระทำกบั ผูเ้ ลน่ ทีไ่ มไ่ ด้อยู่ในทา่ การยิงประตู : ใหโ้ ยนโทษ 2 ครง้ั

• ถา้ การฟาลว์ ได้กระทำกบั ผเู้ ล่นทีอ่ ย่ใู นทา่ กำลงั ยงิ ประตู ถา้ ทำประตูได้

ให้นับเป็นคะแนน และใหโ้ ยนโทษเพม่ิ อีก 1 คร้งั

• ถ้าการฟาล์วได้กระทำกับผู้เล่นที่อยู่ในท่ากำลังยิงประตู และทำประตูไม่ได้ :


ใหโ้ ยนโทษ 2 หรอื 3 คร้งั

37.2.3 ผู้เล่นจะต้องถูกตัดสิทธ์ิการแข่งขัน สำหรับส่วนของการแข่งขันที่เหลือ เม่ือเขาถูก


ปรับฟาลว์ ผิดวสิ ยั นกั กีฬา 2 คร้ัง

37.2.4 หากผู้เล่นถูกตัดสิทธิ์การแข่งขัน (Disqualified) ตามกติกาข้อ 37.2.3 จะต้อง


ลงโทษเฉพาะการฟาล์วผิดวิสัยนักกีฬาครั้งนั้นเท่าน้ัน และไม่ต้องดำเนินการ

ลงโทษเพิม่ เตมิ จากการตดั สทิ ธ์ิการแข่งขนั






้อ 38 ฟาล์วเสยี สทิ ธิ์ : Disqualiflying foul


3
8.1 คำจำกัดความ

38.1.1 ฟาล์วเสียสิทธ์ิ คือ การกระทำใดๆ ที่ผิดวิสัยนักกีฬาที่ปรากฏชัดเจนของผู้เล่น


หรอื บุคคลที่เก่ยี วขอ้ งในทีม

38.1.2 ผู้ฝึกสอนท่ีถูกปรับฟาล์วเสียสิทธิ์ จะต้องให้ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนที่ได้ลงชื่อในใบบันทึก


คะแนนปฏิบัติหน้าท่แี ทน ถา้ ไม่มีชอ่ื ผชู้ ว่ ยผฝู้ ึกสอนในใบบันทกึ คะแนน เขาจะต้อง


ใหห้ วั หนา้ ทีม(CAP) ปฏบิ ัติหนา้ ทแี่ ทน

3
8.2 บทลงโทษ

38.2.1 จะต้องปรบั เปน็ ฟาล์วเสียสทิ ธิต์ ่อผทู้ กี่ ระทำผดิ

38.2.2 เมื่อใดก็ตามท่ีผู้กระทำผิดถูกปรับเป็นฟาล์วเสียสิทธ์ิตามกติกาท่ีเก่ียวข้องน ้ี


เขาจะต้องออกไป และอยู่ในห้องพักนักกีฬาของเขาตลอดเวลาการแข่งขัน

หรือถา้ เขาเลือก เขาอาจจะออกไปจากอาคารแขง่ ขนั

38.2.3 จะตอ้ งใหโ้ ยนโทษ :

• แก่ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามคนใดก็ได้ ตามท่ีได้ระบุโดยผู้ฝึกสอน ในกรณีของ

การฟาลว์ ทไี่ มม่ กี ารถูกตวั กัน


58 คูม่ อื ผตู้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอล

• แก่ผเู้ ล่นทถ่ี กู กระทำฟาลว์ ในกรณีของการฟาลว์ ที่มีการถูกตัวกนั


ตดิ ตามด้วย :

• การส่งบอลเขา้ เลน่ ที่แนวยืน่ ต่อของเส้นกลางดา้ นตรงขา้ มโต๊ะผู้บันทึกคะแนน

• การเลน่ ลูกกระโดดท่ีวงกลมกลาง เพือ่ เริ่มต้นการแขง่ ขันช่วงเวลาทหี่ นงึ่

38.2.4 จำนวนครงั้ ของการโยนโทษ จะต้องให้ดังนี ้ :

• ถ้าการฟาลว์ เปน็ การฟาล์วทไ่ี มม่ กี ารปะทะ : ใหโ้ ยนโทษ 2 คร้งั

• ถ้าการฟาล์วได้กระทำต่อผู้เล่นที่ไม่ได้อยู่ในท่ากำลังยิงประตู : ให้โยนโทษ

2 คร้งั

• ถ้าการฟาล์วได้กระทำต่อผู้เล่นท่ีอยู่ในท่ากำลังยิงประตู : ถ้าทำประตูได้

ใหน้ ับเป็นคะแนน และใหโ้ ยนโทษเพมิ่ อกี 1 คร้ัง

• ถ้าการฟาล์วได้กระทำต่อผู้เล่นท่ีอยู่ในท่ากำลังยิงประตู และทำประตูไม่ได้ :

ใหโ้ ยนโทษ 2 หรือ 3 ครง้ั





ข้อ 39 การทะเลาะวิวาท : FIighting


39.1 คำจำกดั ความ

การทะเลาะวิวาท คือ การกระทบกระท่ังร่างกายซึ่งกันและกัน ระหว่างฝ่ายตรงข้ามกัน 2 คน

หรอื มากกว่า (ผ้เู ล่นและบุคคลที่เก่ียวขอ้ งในทีม)

กติกาข้อนี้ให้บังคับใช้เฉพาะกับบุคคลท่ีเก่ียวข้องในทีมที่ออกจากเขตของบริเวณที่น่ัง

ของทีมในระหว่างการทะเลาะวิวาท หรือในระหว่างสถานการณ์ใดๆ ที่อาจจะนำไปสู่


การทะเลาะวิวาท

3
9.2 หลักเกณฑ์

39.2.1 ผู้เล่นสำรอง ผู้เล่นท่ีถูกให้ออก หรือผู้ติดตามทีมท่ีออกจากเขตที่นั่งของทีม

ในระหว่างการทะเลาะวิวาท หรือในระหว่างสถานการณ์ท่ีอาจจะนำไปสู่

การทะเลาะววิ าท จะต้องถูกตดั สิทธิ์การแขง่ ขัน

39.2.2 เฉพาะผู้ฝึกสอน และ/หรือผู้ช่วยผู้ฝึกสอนเท่านั้น ท่ีอนุญาตให้ออกจากเขตท่ีน่ัง
ของทีมในระหว่างการทะเลาะวิวาท หรือในระหว่างสถานการณ์ท่ีอาจจะนำไปสู่
การทะเลาะวิวาท เพื่อช่วยกรรมการทำให้เหตุการณ์สงบหรือยุติลง ในสถานการณ์น้ี
พวกเขาจะไม่ถกู ตดั สิทธ์กิ ารแขง่ ขัน

39.2.3 หากผฝู้ ึกสอน และ/หรอื ผู้ช่วยผูฝ้ ึกสอน ออกจากเขตท่นี ั่งของทีม และไมช่ ว่ ยเหลือ
หรือไม่พยายามช่วยกรรมการเพ่ือให้เหตุการณ์สงบหรือยุติลง พวกเขาจะต้องถูก

ตัดสิทธิ์การแขง่ ขนั


คมู่ อื ผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล 59

39.3 บทลงโทษ

39.3.1 ไม่ต้องคำนึงถึง จำนวนคนของบุคคลท่ีเก่ียวข้องในทีมท่ีถูกตัดสิทธิ์การแข่งขัน

เน่ืองจากการออกไปจากเขตท่ีน่ังของทีม จะต้องปรับฟาล์วเทคนิคเพียงครั้งเดียว
ต่อผฝู้ ึกสอน(B)

39.3.2 หากบุคคลที่เกี่ยวข้องในทีมของทั้งสองทีมถูกตัดสิทธิ์การแข่งขันภายใต้กติกาข้อน้ี
และไม่มีบทลงโทษการฟาล์วอ่ืนๆ เหลืออยู่ให้ดำเนินการ จะต้องดำเนินการ

แข่งขันต่อไปดงั นี้

ถ้าในเวลาเดียวกันกบั ท่ีการแข่งขนั ไดห้ ยดุ ลง เนื่องจากการทะเลาะวิวาท :

• มีการได้คะแนนจากการยิงประตู จะต้องให้ลูกบอลแก่ทีมที่ไม่ได้ทำคะแนน

เพอื่ ส่งเข้าเลน่ ณ จุดใดก็ไดท้ ีเ่ ส้นหลงั

• มีทีมได้ครอบครองบอล หรือมีสิทธิ์ได้ครอบครองบอล จะต้องให้ลูกบอล

แกท่ มี น้ัน เพื่อสง่ เข้าเล่นท่ีเสน้ ยืน่ ตอ่ ของเส้นกลางตรงขา้ มโต๊ะผู้บนั ทึกคะแนน

• ไม่มีทีมใดได้ครอบครองบอล หรือมีสิทธิ์ได้ครอบครองบอล ถือว่าเป็น


สถานการณ์ลกู กระโดด

39.3.3 การฟาล์วเสียสิทธ์ทั้งหมด จะต้องบันทึกเช่นเดียวกับท่ีได้อธิบายไว้ในข้อ

B 8.3 และจะไม่นับเปน็ การฟาลว์ ทีม

39.3.4 บทลงโทษท้ังหมดที่มีต่อผู้เล่นในสนามแข่งขัน ซ่ึงเก่ียวข้องกับการทะเลาะวิวาท

หรือสถานการณ์ใดๆที่อาจจะนำไปสู่การทะเลาะวิวาท จะต้องดำเนินการ

ไปตามกติกาข้อ 42 (สถานการณพ์ เิ ศษ)








60 คู่มือผู้ตัดสินกฬี าบาสเกตบอล

7 กติกาหมวดท่ี บทบญั ญตั ทิ ัว่ ไป :


Rule seven - General provisions






อ้ 40 ผู้เล่นฟาล์ว 5 ครง้ั : Five fouls by a player


40.1 ผู้เล่นท่ีได้กระทำฟาล์วครบ 5 ครั้ง จะได้รับการแจ้งจากกรรมการ และต้องออกจาก


การแข่งขนั ทันที เขาตอ้ งถกู เปล่ียนตัวภายใน 30 วนิ าท

40.2 การฟาล์วโดยผู้เล่นที่ได้กระทำฟาล์วครบ 5 คร้ังไปแล้ว ให้พิจารณาว่าเป็นการฟาล์ว


ของผู้เล่นที่ถูกให้ออก ดังน้ันจึงปรับฟาล์ว และบันทึกเป็นการฟาล์วต่อผู้ฝึกสอน(B)


ในใบบนั ทกึ คะแนน



้อ 41 การฟาลว์ ทีม และบทลงโทษ : Team Fouls : Penalty


4
1.1 คำจำกัดความ

41.1.1 การฟาล์วทีมคือ การฟาล์วบุคคล การฟาล์วเทคนิค การฟาล์วผิดวิสัยนักกีฬา


หรือการฟาล์วเสียสิทธิ์ ท่ีได้กระทำโดยผู้เล่น ทีมอยู่ในสถานการณ์ของการลงโทษ
ฟาลว์ ทมี เม่ือทมี ไดก้ ระทำฟาลว์ 4 ครง้ั ของทมี ในหนึง่ ช่วงการเล่น

41.1.2 ฟาล์วทีมทั้งหมดที่ได้กระทำในช่วงพักการแข่งขัน จะถูกพิจารณาว่าเป็น

การกระทำฟาลว์ ในชว่ งเวลาต่อไป หรอื ช่วงต่อเวลาพิเศษทต่ี ามมา

41.1.3 ฟาลว์ ทีมทัง้ หมดทไี่ ด้กระทำในชว่ งตอ่ เวลาพเิ ศษ จะถูกพิจารณาวา่ เปน็ การกระทำ

ฟาล์วในชว่ งเวลาท่สี ่ ี

4
1.2 หลกั เกณฑ์

41.2.1 เมื่อทีมอยู่ในสถานการณ์ของการลงโทษฟาล์วทีม การทำฟาล์วบุคคลของผู้เล่น

ทุกคร้ังถัดไป ท่ีได้กระทำต่อผู้เล่นที่ไม่ได้อยู่ในท่ากำลังยิงประตู จะต้องถูกลงโทษ
โดยการโยนโทษ 2 คร้ัง แทนการส่งบอลเข้าเล่น ผู้เล่นที่ถูกกระทำฟาล์วจะเป็น

ผโู้ ยนโทษ

41.2.2 หากการฟาล์วบุคคล ได้กระทำโดยผู้เล่นของทีมที่กำลังครอบครองบอลดี

หรือทีมที่มีสิทธ์ิได้ครอบครองบอล การฟาล์วน้ันจะถูกลงโทษด้วยการส่งบอลเข้า
เล่นโดยฝ่ายตรงขา้ ม


คู่มอื ผู้ตัดสินกฬี าบาสเกตบอล 61

ข้อ 42 สถานการณพ์ ิเศษ : Special situations



42.1 คำจำกัดความ

ในช่วงเดียวกันกับท่ีนาฬิกาแข่งขันหยุดเดิน ซึ่งตามด้วยการละเมิดกติกา สถานการณ์พิเศษ

อาจจะเกิดขน้ึ ได้ เมือ่ มกี ารกระทำฟาล์วทีเ่ พมิ่ ขน้ึ

4
2.2 วธิ ีดำเนินการ

42.2.1 จะต้องปรับเป็นฟาล์วทัง้ หมด และระบกุ ารลงโทษท้งั หมด

42.2.2 จะต้องพิจารณาจัดลำดบั การทำฟาลว์ ท้ังหมดทเี่ กิดขึน้

42.2.3 บทลงโทษที่เท่ากันท้ังหมดที่เก่ียวข้องกับท้ังสองทีม และการลงโทษการฟาล์วคู่

ทั้งหมดจะต้องถูกยกเลิกตามลำดับที่กรรมการได้เรียกฟาล์ว เมื่อบทลงโทษได้ถูกบันทึก
และยกเลกิ แล้ว ให้พจิ ารณาเหมือนวา่ การฟาล์วเหลา่ น้ันไมเ่ คยเกดิ ข้นึ

42.2.4 สิทธิ์ในการครอบครองบอลท่ีเป็นส่วนหนึ่งของบทลงโทษคร้ังสุดท้าย จะยกเลิก
สิทธ์ิการครอบครองบอลอ่ืนทม่ี ีมาก่อน

42.2.5 ทันทีที่บอลได้กลายเป็นบอลดีในขณะการโยนโทษคร้ังแรกหรือครั้งเดียว

หรือในขณะการส่งบอลเข้าเล่น การลงโทษนั้นไม่สามารถใช้ยกเลิกบทลงโทษอ่ืนๆ

ท่ีเหลอื อย
ู่
42.2.6 บทลงโทษอื่นท้ังหมดที่เหลืออยู่ จะต้องดำเนินการไปตามลำดับท่ีกรรมการได้เรียก
ฟาล์ว

42.2.7 ถ้าหลังจากยกเลิกบทลงโทษท่ีเท่ากันของท้ังสองทีมแล้ว ไม่มีบทลงโทษอ่ืนเหลืออยู่

ไว้ใหด้ ำเนินการ จะต้องดำเนนิ การแขง่ ขันตอ่ ไป ดังนี้ :

ถ้า ณ เวลาเดยี วกันโดยประมาณกับท่มี ีการละเมิดกติกาครัง้ แรก :

• มีการได้คะแนนจากการยิงประตู จะต้องให้ลูกบอลแก่ทีมท่ีไม่ได้ทำคะแนน

เพือ่ ส่งเขา้ เลน่ ณ จุดใดก็ไดท้ เ่ี ส้นหลัง

• มีทีมท่ีได้ครอบครองบอลหรือมีสิทธ์ิได้ครอบครองบอล จะต้องให้ลูกบอลแก่ทีมน
ี้
เพ่ือส่งเขา้ เล่น ณ จดุ ทีใ่ กลท้ ี่สดุ ทไ่ี ด้ละเมดิ กติกาครงั้ แรก

• ไม่มีทีมใดได้ครอบครองบอลหรือมีสิทธ์ิได้ครอบครองบอล ถือว่าเกิด

สถานการณ์ลกู กระโดด





้อ 43 การโยนโทษ : Free Throws


4
3.1 คำจำกดั ความ

43.1.1 การโยนโทษ คือ การให้โอกาสแก่ผู้เล่นเพ่ือทำคะแนน 1 คะแนน จากตำแหน่ง


หลังเสน้ โยนโทษภายในคร่งึ วงกลม โดยไมม่ ีการรบกวน


62 คู่มอื ผตู้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล

43.1.2 ชุดของการโยนโทษ หมายถึง การโยนโทษทั้งหมด และ/หรือการครอบครองบอล

ทีต่ ามมา ซึง่ เปน็ ผลมาจากการลงโทษของการทำฟาลว์ ครั้งเดียว

4
3.2 หลกั เกณฑ์

43.2.1 เมอ่ื มีการเรียกฟาลว์ บคุ คล จะต้องใหโ้ ยนโทษ ดังน้ี :

• ผู้เล่นทีถ่ ูกกระทำฟาล์ว จะตอ้ งเป็นผูไ้ ด้โยนโทษ

• ถ้ามีการรอ้ งขอเปลย่ี นตวั ผู้โยนโทษ เขาต้องโยนโทษกอ่ นออกจากการแขง่ ขัน

• ถ้าเขาต้องออกจากการแข่งขัน เน่ืองจากการบาดเจ็บ ได้กระทำฟาล์วคร้ังท่ี 5


หรือถูกตัดสิทธิ์การแข่งขัน ผู้ที่เข้ามาแทนเขาจะต้องเป็นผู้โยนโทษ หากไม่มี

ผู้เล่นสำรอง เพื่อนร่วมทีมคนใดคนหนึ่งท่ีถูกระบุโดยผู้ฝึกสอน จะเป็นผู้โยน

โทษแทน

43.2.2 ถ้าเป็นการเรียกฟาล์วเทคนิค สมาชิกคนใดก็ได้ของทีมฝ่ายตรงข้ามที่ถูกระบุโดย

ผฝู้ ึกสอนจะเปน็ ผโู้ ยนโทษ

43.2.3 ผโู้ ยนโทษ จะต้อง :

• เข้าไปอยูใ่ นตำแหนง่ หลังเส้นโยนโทษ และอยู่ภายในครงึ่ วงกลม

• ใช้วิธีการใดก็ได้เพื่อยิงลูกโทษ ด้วยวิธีที่ให้ลูกบอลลงห่วงตาข่ายจากด้านบน

หรอื ลกู บอลสัมผสั หว่ ง

• ปล่อยลูกบอลภายในเวลา 5 วินาที หลังจากกรรมการได้ใหล้ ูกบอลกับเขา

• ไม่สัมผัสเส้นโยนโทษ หรือเข้าไปในเขตกำหนดเวลา จนกว่าลูกบอลได้ลงห่วง

ตาข่าย หรอื ไดส้ มั ผัสหว่ ง

• ไมห่ ลอกโยนโทษ

43.2.4 ผู้เล่นท่ีอยู่ในช่องยืนแย่งบอลการโยนโทษ จะมีสิทธ์ิเข้าไปยืนสลับตำแหน่งกัน

ในชอ่ งเหล่าน้ัน ซึง่ ถูกพิจารณาใหม้ ีความลึก 1 เมตร (ภาพที่ 6)

ในระหวา่ งการโยนโทษ ผู้เล่นเหลา่ นจี้ ะต้องไม่ :

• เข้าไปยนื ในช่องยืนเพอ่ื แย่งบอลการโยนโทษ ท่ีพวกเขาไม่มสี ทิ ธ์ิยืน

• เข้าไปในเขตกำหนดเวลา เขตปลอดผู้เล่นหรือออกจากช่องยืนแย่งบอล

การโยนโทษ จนกวา่ ลกู บอลไดถ้ กู ปลอ่ ยออกจากมอื ของผ้โู ยนโทษ

• แสดงท่าทางรบกวนสมาธผิ ูโ้ ยนโทษ










ค่มู อื ผูต้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 63

ภาพท่ี 6 ตำแหน่งของผูเ้ ลน่ ในระหวา่ งการโยนโทษ

: Players’ positions during free throws



43.2.5 ผู้เล่นท่ีไม่ได้อยู่ในช่องยืนแย่งบอลการโยนโทษ จะต้องคงอยู่หลังแนวท่ีย่ืนต่อของ

เส้นโยนโทษ และหลงั เสน้ เขตยงิ ประตู 3 คะแนน จนกวา่ การโยนโทษจะส้นิ สดุ

43.2.6 ในระหว่างการโยนโทษ ที่จะติดตามด้วยการโยนโทษชุดอ่ืน หรือโดยการส่ง

เข้าเล่น ผู้เล่นทุกคนจะต้องคงอยู่หลังแนวที่ยื่นต่อของเส้นโยนโทษ และหลังเส้น


เขตยงิ ประตู 3 คะแนน



การละเมดิ กติกาข้อ 43.2.3, 43.2.4, 43.2.5 และ 43.2.6 ถอื เป็นการทำผดิ ระเบียบ

4
3.3 บทลงโทษ

43.3.1 ถา้ การโยนโทษเป็นผลสำเร็จ และมีการกระทำผิดระเบยี บโดยผู้โยนโทษ คะแนน


ที่ทำได้จะไม่นบั

บรรดาการกระทำผิดระเบียบของผู้เล่นอ่ืนๆ ท่ีเกิดขึ้นอย่างทันทีในช่วงก่อน เวลาใกล้เคียงกัน

หรือหลงั จากการทำผดิ ระเบยี บโดยผูโ้ ยนโทษ จะถกู เพกิ เฉย

จะต้องให้ลูกบอลแก่ฝ่ายตรงข้ามเพ่ือส่งเข้าเล่น ณ แนวที่ย่ืนต่อของเส้นโยนโทษ


ยกเวน้ จะมีการโยนโทษอ่ืนเพิม่ เข้ามา หรอื ดำเนินการต่อไปด้วยโทษการครอบครองบอล

43.3.2 ถ้า การโยนโทษเป็นผลสำเร็จ และมีการกระทำผิดระเบียบโดยผู้เล่นอื่น

ทนี่ อกเหนือจากผู้โยนโทษ :

• จะตอ้ งนบั คะแนน ถา้ ทำได้

• การทำผิดระเบยี บ จะถกู เพิกเฉย


64 คู่มอื ผ้ตู ัดสินกีฬาบาสเกตบอล

ในกรณีการโยนโทษคร้ังสุดท้ายหรือคร้ังเดียว จะต้องให้ลูกบอลแก่ฝ่ายตรงข้าม


เพอื่ สง่ เข้าเล่น ณ จดุ ใดก็ไดจ้ ากเสน้ หลงั

43.3.3 ถา้ การโยนโทษไม่เป็นผลสำเร็จ และมีการกระทำผดิ ระเบียบโดย :

• ผู้โยนโทษ หรือ เพ่ือนร่วมทีม ของเขาในการโยนโทษคร้ังสุดท้าย


หรือคร้ังเดียว จะต้องให้ลูกบอลแก่ฝ่ายตรงข้ามเพื่อส่งเข้าเล่น ณ แนวที่ยื่นต่อ

ของเส้นโยนโทษ ยกเว้น ทมี นัน้ เปน็ ฝา่ ยมสี ทิ ธ์ไิ ด้ครอบครองบอลต่อไป

• ฝ่ายตรงข้ามกบั ผโู้ ยนโทษ จะตอ้ งให้ผู้โยนโทษไดโ้ ยนโทษใหม

• ท้ังสองทีมในการโยนโทษคร้ังสุดท้ายหรือครั้งเดียว ถือว่าเกิดสถานการณ์

ลกู กระโดด






ขอ้ 44 การแกไ้ ขข้อผดิ พลาด : Correctable errors


44.1 คำจำกัดความ

กรรมการสามารถแก้ไขข้อผิดพลาด หากไม่ได้ปฏิบัติตามกติกาโดยไม่ได้ตั้งใจ


เฉพาะสถานการณต์ ่อไปน้เี ท่าน้นั :

• ให้โยนโทษกับทีมที่ไมส่ มควรไดโ้ ยนโทษ

• ไม่ใหโ้ ยนโทษกบั ทีมทส่ี มควรไดโ้ ยนโทษ

• ใหค้ ะแนน หรือ ยกเลิกคะแนนผิดพลาด


• ใหผ้ ูเ้ ล่นผิดคนไดโ้ ยนโทษ


44.2 วิธีดำเนนิ การทว่ั ไป

44.2.1 เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับการยอมรับจากกรรมการ


ผู้ควบคุมการแข่งขัน (ถ้ามี) หรือเจ้าหน้าท่ีโต๊ะ ก่อนบอลกลายเป็นบอลด ี

ตอ่ จากบอลตายครั้งแรกภายหลังนาฬกิ าแข่งขนั ไดเ้ ร่มิ เดนิ ต่อจากขอ้ ผดิ พลาด

44.2.2 กรรมการสามารถหยุดการแข่งขันได้ทันที เมื่อยอมรับข้อผิดพลาด ตราบใด

ทไี่ ม่ทำให้ทมี ใดอยูใ่ นสถานะทเี่ สียเปรียบ

44.2.3 การทำฟาล์วใดๆ คะแนนที่ทำได้ เวลาท่ีใช้ไป และการกระทำอ่ืนใดท่ีอาจเกิดเพ่ิมข้ึน

หลังจากที่ไดเ้ กิดข้อผิดพลาด และก่อนการยอมรับขอ้ ผดิ พลาด จะต้องคงไว้ตามกติกา
44.2.4 หลังจากการแก้ไขข้อผิดพลาด จะต้องดำเนินการแขง่ ขนั ตอ่ ไป ณ จุดท่ีการแข่งขนั

ได้หยุดลงเพื่อทำการแก้ไขข้อผิดพลาด โดยให้ลูกบอลแก่ทีมที่มีสิทธิ์ได้ครอบครอง

ณ เวลาท่ีหยุดการแข่งขันเพื่อทำการแก้ไขข้อผิดพลาด ยกเว้นในกติกาจะกำหนดไว

เป็นอย่างอน่ื


คู่มอื ผู้ตัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 65

44.2.5 ทนั ทีทีข่ อ้ ผิดพลาดที่ยงั คงแกไ้ ขได้ ไดร้ บั การยอมรับ จากน้ัน :

• ถ้าผู้เล่นท่ีเก่ียวข้องกับการแก้ไขข้อผิดพลาดอยู่ในท่ีนั่งของทีม ภายหลังที่ได


ถูกเปลี่ยนตัวอย่างถูกต้อง เขาต้องกลับเข้าไปในสนามแข่งขัน เพื่อร่วมในการ


แกไ้ ขข้อผิดพลาด ณ จดุ นีเ้ ขาจะกลายเปน็ ผเู้ ลน่

เมื่อการแก้ไขข้อผิดพลาดได้เสร็จสมบูรณ์แล้ว เขาอาจจะยังคงอยู่ในการแข่งขัน


นอกจากการเปลี่ยนตัวตามกติกาจะถูกร้องขออีกครั้ง ในกรณีนี้ ผู้เล่นอาจจะ

ออกจากสนามแข่งขันได้

• ถ้าผู้เล่นถูกเปล่ียนตัวเน่ืองจากเขาได้รับบาดเจ็บ ได้กระทำฟาล์วครบ 5 คร้ัง

หรือถูกตัดสิทธ์ิการแข่งขัน ผู้เล่นที่เปลี่ยนตัวเข้ามาแทนเขาต้องร่วมในการ


แก้ไขขอ้ ผดิ พลาด

44.2.6 การแกไ้ ขข้อผดิ พลาดไมส่ ามารถถกู แกไ้ ขได้ ภายหลังผตู้ ัดสนิ ได้เซน็ ชอ่ื ในใบบันทึก

คะแนนแล้ว

44.2.7 ข้อผิดพลาดใดๆ ในการบนั ทึกคะแนน การจับเวลา และการทำงานของนาฬิกายิงประต ู

โดยเจ้าหน้าท่ีโต๊ะที่เกี่ยวข้องกับคะแนน จำนวนของการฟาล์ว จำนวนของเวลานอก

เวลาของนาฬิกาแข่งขัน และนาฬิกายิงประตูที่ถูกใช้ไป หรือถูกตัดออกไป

สามารถแก้ไขได้โดยกรรมการ ก่อนท่ีผู้ตัดสินจะเซ็นชื่อในใบบันทึกคะแนน

ณ เวลาใดก็ได้




4
4.3 วิธีดำเนินการในกรณพี ิเศษ : Special procedure


44.3.1 การให้โยนโทษแก่ทีมท่ไี ม่สมควรได้โยนโทษ

การโยนโทษซ่ึงเป็นผลมาจากความผิดพลาดท่ีได้กระทำไปแล้ว จะต้องถูกยกเลิก


และจะตอ้ งดำเนนิ การแขง่ ขนั ต่อไปดังนี้ :

• ถ้านาฬิกาแข่งขันยังไม่ได้เริ่มเดิน จะต้องให้ลูกบอลแก่ทีมท่ีถูกยกเลิก


การโยนโทษ เพอื่ สง่ เข้าเลน่ จากแนวท่ยี ืน่ ต่อของเส้นโยนโทษ

• ถ้านาฬกิ าแข่งขนั ไดเ้ ร่ิมเดินไปแล้ว และ :

- ทีมที่กำลังครอบครองบอลหรือทีมที่ได้สิทธ์ิครอบครองบอล ณ เวลา


ที่ข้อผิดพลาดได้รับการยอมรับ เป็นทีมเดียวกันกับทีมท่ีครอบครองบอล

ณ เวลาทเี่ กิดความผิดพลาด

- ไม่มีทีมใดกำลังครอบครองบอล ณ เวลาที่ข้อผิดพลาดได้รับการยอมรับ

จะตอ้ งให้ลูกบอลแกท่ ีมทไ่ี ด้สทิ ธิ์การครอบครองบอล ณ เวลาทีเ่ กดิ ความ

ผดิ พลาด


66 คู่มอื ผตู้ ัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล

• ถ้านาฬกิ าแขง่ ขันไดเ้ ร่ิมเดินไปแล้ว และ ณ เวลาทข่ี ้อผดิ พลาดไดร้ ับการยอมรับ

ทีมท่ีกำลังครอบครองบอล หรือทีมที่ได้สิทธิ์การครอบครองบอล เป็นฝ่ายตรงข้าม

กับทีมที่กำลังครอบครองบอล ณ เวลาที่เกิดข้อผิดพลาด ถือว่าเกิด

สถานการณล์ กู กระโดด


• ถ้านาฬิกาแข่งขันได้เร่ิมเดินไปแล้ว และ ณ เวลาที่ข้อผิดพลาดได้รับการยอมรับ

มีการฟาล์วที่มีบทลงโทษเก่ียวกับการได้โยนโทษ จะต้องดำเนินการโยนโทษก่อน

และจะต้องให้ลูกบอลเพ่ือการส่งเข้าเล่นแก่ทีมที่ได้ครอบครองบอลมาก่อน

ณ เวลาท่ีไดเ้ กดิ ความผิดพลาด


44.3.2 การไมใ่ หโ้ ยนโทษกับทมี ท่สี มควรได้โยนโทษ

• ถ้าไม่มีการเปลี่ยนการครอบครองบอลหลังจากได้เกิดข้อผิดพลาด จะต้อง


ดำเนินการแข่งขันต่อไปหลังจากการแก้ไขข้อผิดพลาดแล้ว เหมือนกับการเล่น

หลังการโยนโทษปกต

• ถ้าเป็นทีมเดียวกันทำคะแนนได้ ภายหลังที่ได้ครอบครองบอลที่ไม่ถูกต้อง

เพอ่ื ส่งเข้าเลน่ ข้อผิดพลาดนนั้ ให้ผา่ นเลยไปโดยไม่ตอ้ งแก้ไข

44.3.3 ใหผ้ ู้เลน่ ผดิ คนได้โยนโทษ

บรรดาการโยนโทษที่ได้ดำเนินการไปแล้ว จะต้องถูกยกเลิก รวมถึงการครอบครองบอล

ซ่ึงหากเป็นส่วนหนึ่งของบทลงโทษน้ัน และจะต้องให้ลูกบอลแก่ฝ่ายตรงข้าม

เพ่ือส่งเข้าเล่นจากแนวย่ืนต่อของเส้นโยนโทษ ยกเว้นมีบทลงโทษสำหรับการละเมิด

กตกิ าอ่นื ใหด้ ำเนนิ การตอ่ ไป


คมู่ ือผูต้ ัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล 67

8กติกาหมวดที่ กรรมการ เจา้ หนา้ ท่ีโตะ๊ และผู้ควบคุมการแข่งขัน

: อำนาจ และหนา้ ท่ี

Rule eight : Officials, table officials

and commissioner - Duties and powers

ข้อ 45 กรรมการ เจา้ หน้าทโ่ี ตะ๊ และผู้ควบคุมการแขง่ ขนั :

Officials, table officials and commissioner




45.1 กรรมการ (officials) จะตอ้ งเปน็ ผตู้ ัดสิน (referee) และผู้ชว่ ยผู้ตดั สิน (umpire) 1 หรือ 2 คน

โดยมีเจ้าหน้าที่โต๊ะ(table officials) และผู้ควบคุมการแข่งขัน(commissioner)


ถา้ มเี ปน็ ผูช้ ว่ ยเหลอื

45.2 เจ้าหน้าที่โต๊ะ (table officials) จะต้องเป็นผู้บันทึกคะแนน(scorer) ผู้ช่วยผู้บันทึกคะแนน

(assistant scorer) ผู้จับเวลา(timer) และผู้ควบคุมนาฬิกายิงประตู (Shot clock

operator)

45.3 ผู้ควบคุมการแข่งขัน (commissioner) จะต้องนั่งอยู่ระหว่างผู้บันทึกคะแนนกับผู้จับเวลา

หน้าที่หลักอันดับแรกของเขาในระหว่างการแข่งขันคือ ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของ

เจา้ หนา้ ทโี่ ต๊ะ และชว่ ยผตู้ ัดสนิ และผ้ชู ่วยผู้ตัดสิน ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านเปน็ ไปด้วยความราบร่ืน

45.4 กรรมการทไ่ี ดร้ ับมอบหมายใหต้ ัดสนิ ไมค่ วรมสี ่วนเก่ียวข้องกบั ทมี ใดทีมหนง่ึ ในสนามแข่งขนั

45.5 กรรมการ เจ้าหน้าที่โต๊ะ และผู้ควบคุมการแข่งขัน จะต้องควบคุมการแข่งขันให้เป็นไป

ตามกติกาน้ี และไมม่ ีอำนาจในการเปลยี่ นแปลงกติกา

45.6 ชุดแต่งกายของกรรมการ จะต้องประกอบด้วย เสื้อตัดสิน กางเกงขายาวสีดำ ถุงเท้าสีดำ

และรองเทา้ บาสเกตบอลสดี ำ

45.7 กรรมการ และเจ้าหนา้ ทโ่ี ต๊ะ จะตอ้ งแตง่ กายทีเ่ ป็นรปู แบบเดยี วกัน





ข้อ 46 ผตู้ ดั สนิ : อำนาจ และหน้าที่ : Referee - Duties and powers



้ตู ัดสนิ จะตอ้ ง :

46.1 ตรวจ และรบั รองอุปกรณ์ทุกชนิดท่ีใช้ในระหว่างการแข่งขัน


68 คมู่ ือผ้ตู ัดสินกีฬาบาสเกตบอล

46.2 กำหนดนาฬิกาแข่งขัน นาฬิกายิงประตู นาฬิกาจับเวลา และให้การยอมรับเจ้าหน้าท่ีโต๊ะ


ทกุ คน

46.3 เลือกลูกบอลสำหรับแข่งขันอย่างน้อย 2 ลูก จากลูกบอลท่ีใช้แล้วที่ได้จัดเตรียมไว้โดย


ทีมเหย้า ถ้าไม่มีลูกบอลใดที่เหมาะสมที่จะใช้เป็นลูกบอลสำหรับแข่งขัน เขาอาจจะเลือก

ลกู บอลทีม่ ีคณุ ภาพดีทสี่ ดุ เท่าทจ่ี ะหาได้มาใช้


46.4 ไม่อนญุ าตใหผ้ ู้เลน่ คนใดสวมใสอ่ ปุ กรณ์ทีอ่ าจจะทำใหผ้ เู้ ล่นอนื่ บาดเจ็บ

46.5 ดำเนินการเล่นลูกกระโดดเพ่ือเริ่มต้นการแข่งขันช่วงเวลาท่ีหนึ่ง และการส่งบอลเข้าเล่น


จากการสลับการครอบครองบอล เพ่อื เร่มิ ตน้ การแข่งขันอ่นื ๆ ทุกช่วง


46.6 มีอำนาจท่จี ะหยดุ การแข่งขัน เมื่อมีสถานการณท์ ี่มเี หตุสมควร


46.7 มีอำนาจทีจ่ ะตดั สินใจใหท้ มี แพด้ ้วยการถกู ปรบั แพ้ (forfeit)

46.8 ตรวจสอบใบบันทึกคะแนน ด้วยความละเอียดรอบคอบ หลังจากหมดเวลาการแข่งขัน


หรอื ณ เวลาใด กต็ ามที่เขาคิดวา่ มีความจำเป็น

46.9 รับรอง และเซ็นชื่อในใบบันทึกคะแนนเมื่อหมดเวลาการแข่งขัน ถือเป็นการสิ้นสุด


การปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเป็นทางการ และความเก่ียวข้อง กับการแข่งขัน อำนาจ

ของกรรมการจะเร่ิมต้นเม่ือเขามาถึงสนามแข่งขันก่อนเร่ิมต้นการแข่งขันตามกำหนดการ

20 นาที และส้ินสุดเมื่อสัญญาณนาฬิกาแข่งขันดังหมดเวลาแข่งขัน เมื่อได้รับรองผลโดย

กรรมการ

46.10 เขียนบันทึกที่ดา้ นหลงั ของใบบันทึกคะแนน กอ่ นเซน็ ช่ือเมื่อมเี หตกุ ารณต์ ่อไปน้ี:

• การปรับเปน็ แพ้(forfeit) หรือมีการฟาลว์ เสยี สิทธ์ใิ ดๆ

• การแสดงพฤติกรรมผิดวิสัยนักกีฬาใดๆ ของผู้เล่น หรือบุคคลที่เก่ียวข้องในทีมท่ีเกิดข้ึน

ก่อน 20 นาที ก่อนเร่ิมต้นการแข่งขันตามกำหนดการ หรือในระหว่างการสิ้นสุดเวลา


การแขง่ ขนั และการเซน็ ช่ือรับรองในใบบนั ทึกคะแนน

ในกรณีน้ี ผู้ตัดสิน (ผู้ควบคุมการแข่งขัน − ถ้ามี) ต้องส่งรายงานอย่างละเอียดเสนอไป


ยังฝา่ ยจัดการแขง่ ขนั

46.11 ทำการตัดสินใจคร้ังสุดท้าย เมื่อใดท่ีจำเป็นหรือเม่ือกรรมการขัดแย้งกัน ในการตัดสินใจ

ครั้งสุดท้าย เขาอาจจะปรึกษากับผู้ช่วยผู้ตัดสิน ผู้ควบคุมการแข่งขัน ถ้ามี และ/หรือ

เจา้ หนา้ ท่โี ตะ๊


คูม่ ือผตู้ ดั สินกฬี าบาสเกตบอล 69

46.12 มีอำนาจให้การรับรองก่อนการแข่งขัน และให้ใช้ระบบการดูภาพซ้ำ (Instant Replay
System : IRS) ถา้ มใี ช้ เพื่อตัดสินใจก่อนเซน็ ช่ือในใบบันทกึ คะแนน


• ณ เม่ือส้ินสุดของช่วงเวลาแขง่ ขนั หรอื ช่วงต่อเวลาพิเศษ กรณี :

- การยิงประตูท่ีเป็นผลสำเร็จ ลูกบอลได้หลุดออกจากมือก่อนที่เสียงสัญญาณ


หมดเวลาแขง่ ขนั ดงั ขึ้น

- จำนวนเวลาของนาฬกิ า ท่จี ะตอ้ งแสดงบนนาฬิกาแข่งขนั หาก :

• เกิดการผิดระเบยี บการออกนอกสนามของผยู้ ิงประตู

• เกิดการผิดระเบียบเกย่ี วกบั นาฬิกายิงประต

• เกิดการผดิ ระเบยี บเวลา 8 วินาท

• การเรยี กฟาลว์ กอ่ นสนิ้ สดุ เวลาการแข่งขัน

• เมื่อนาฬิกาแข่งขันแสดงเวลา 2:00 นาที หรือน้อยกว่าในช่วงเวลาที่สี่ รวมถึงแต่ละ


ชว่ งต่อเวลาพิเศษ กรณี :

- การยิงประตูที่เป็นผลสำเร็จ ลูกบอลได้หลุดออกจากมือ ก่อนที่เสียงสัญญาณ


หมดเวลาแขง่ ขนั ดงั ข้ึน

- การยิงประตู ลกู บอลได้หลุดออกจากมอื กอ่ นมกี ารเรยี กฟาล์วใดๆ ก็ตาม

- เพ่อื ระบุตวั ผเู้ ล่นท่ที ำใหล้ กู บอลออกนอกสนาม

• ในระหว่างเวลาใดก็ตามของการแข่งขนั กรณี :

- การยงิ ประตูทเี่ ป็นผลสำเร็จ จะต้องนบั เป็น 2 หรือ 3 คะแนน

- จำนวนเวลาของนาฬิกาท่ีได้รับการแก้ไข ภายหลังนาฬิกาแข่งขันหรือนาฬิกา


ยงิ ประตขู ัดข้อง

- เพอ่ื ระบุผู้ยิงลูกโทษท่ีถกู ต้อง


- เพื่อชี้ตัวสมาชกิ ของทีม และผ้ตู ดิ ตามทีม ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการทะเลาะววิ าท

46.13 มีอำนาจตดั สินใจในเร่อื งใดๆ ที่ไม่ไดร้ ะบไุ ว้เป็นการเฉพาะในกตกิ านี้




ขอ้ 47 กรรมการ : อำนาจ และหน้าท่ี : Officials - Duties and powers




47.1 กรรมการจะมีอำนาจในการตัดสินในเรื่องการละเมิดกติกา ไม่ว่าเป็นการกระทำผิดภายใน

หรอื นอกเส้นเขตสนามรวมถึงโต๊ะผู้บันทกึ คะแนน ทน่ี ่งั ของทมี และบรเิ วณท่ีตดิ กบั เส้นหลงั

47.2 กรรมการจะต้องเป่านกหวีดเมื่อเกิดการละเมิดกติกา เม่ือช่วงเวลาหมดลง


หรือเมื่อกรรมการเห็นว่า จำเป็นให้หยุดการแข่งขัน กรรมการไม่ต้องเป่านกหวีดภายหลัง

การยงิ ประตูเปน็ ผลสำเร็จ การโยนโทษเปน็ ผลสำเร็จ หรอื เม่ือบอลกลายเป็นบอลดี


70 ค่มู อื ผตู้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล

47.3 เม่ือตัดสินในเร่ืองการถูกตัวกัน หรือการผิดระเบียบ ในแต่ละกรณี กรรมการต้องใส่ใจ

และให้ความสำคัญตอ่ หลักการเบื้องต้น ดังต่อไปนี้ :


• ความมีจิตใจเป็นนักกีฬาและเจตนารมณ์ (spirit and intent) ของกติกา รวมทั้ง

ความจำเป็นใน การส่งเสรมิ ความเป็นอนั หนึ่งอนั เดียวกนั ของการแขง่ ขนั บาสเกตบอล


• ความคงเส้นคงวาในการใชห้ ลักการของ “การได้เปรยี บ/เสยี เปรียบ” กรรมการไมค่ วร

ทำให้ความไหลล่ืนของการแข่งขันหยุดชะงักโดยไม่จำเป็น เพียงเพื่อลงโทษ

การถูกตัวโดยบังเอิญ ซึ่งไม่ได้ทำให้ผู้เล่นท่ีรับผิดชอบได้เปรียบ หรือทำให้ฝ่ายตรงข้าม

ของเขาเสียเปรยี บ


• ความคงเส้นคงวาในการใช้สามัญสำนึก (common sense) ในแต่ละเกมการแข่งขัน

พิจารณาถึงความสามารถของผู้เล่นที่เกี่ยวข้อง รวมถึงทัศนคติ และความประพฤต

ของพวกเขาในระหวา่ งการแข่งขนั


• ความคงเส้นคงวาในการรักษาของความสมดุลระหว่างการควบคุมเกมกับความไหลลื่น

ของการแข่งขัน มี “ความรู้สึก (feeling)” ในสิ่งท่ีผู้มีส่วนร่วมกำลังพยายามกระทำ



และการเรยี กฟาลว์ ในสง่ิ ทถ่ี ูกต้องสำหรบั การแขง่ ขนั

47.4 เมอื่ มกี ารยน่ื ประทว้ งโดยทีมใดทีมหนง่ึ ผตู้ ัดสนิ (ผคู้ วบคมุ การแขง่ ขัน−ถ้าม)ี จะต้องรายงาน

การประทว้ งไปยังฝา่ ยจดั การแข่งขนั ภายใน 1 ชั่วโมง หลงั จากหมดเวลาการแข่งขัน

47.5 ถา้ กรรมการบาดเจบ็ หรือไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิหนา้ ทีไ่ ดต้ ่อไป ด้วยเหตใุ ดกต็ ามภายใน 5 นาที

หลังเกิดเหตุ จะต้องดำเนินการแข่งขันต่อไป โดยกรรมการที่เหลืออยู่จะปฏิบัติหน้าท
่ี
โดยลำพัง สำหรับเวลาที่เหลืออยู่ของการแข่งขัน ยกเว้นมีความเป็นไปได้ในการเปลี่ยน
กรรมการสำรองท่ีมีคุณสมบัติเข้ามาแทนกรรมการท่ีได้รับบาดเจ็บ หลังจากปรึกษากับ

ผู้ควบคุมการแข่งขัน(ถ้ามี) กรรมการที่เหลือ จะเป็นผู้ตัดสินใจในความเป็นไปได้ของการปฏิบัติ

หน้าทแี่ ทน

47.6 สำหรับการแข่งขันในระดับนานาชาติทั้งหมด ถ้าจำเป็นต้องมีการสื่อสารด้วยวาจา


เพื่อให้การตดั สนิ มคี วามชัดเจน จะตอ้ งใช้ภาษาองั กฤษในการสอื่ สาร

47.7 กรรมการแต่ละคนมีอำนาจ(power) ในการตัดสินภายในขอบเขตตามหน้าที่ของเขา


แตเ่ ขาไม่มอี ำนาจ(authority) ทีจ่ ะเพกิ เฉย หรือสอบถามคำตดั สนิ ของกรรมการคนอน่ื

47.8 คำตดั สนิ ของกรรมการถือเป็นทีส่ นิ้ สดุ และไมส่ ามารถโตแ้ ยง้ หรือเพิกเฉยได


ค่มู ือผ้ตู ัดสินกฬี าบาสเกตบอล 71

ข้อ 48 ผู้บันทึกคะแนน และ ผู้ชว่ ยผู้บนั ทึกคะแนน : หนา้ ที่


Scorer and assistant scorer Duties


48.1 ผบู้ ันทึกคะแนน จะตอ้ งจดั เตรยี มใบบนั ทึก และจะตอ้ งทำการบันทกึ ส่งิ ตอ่ ไปนี้ :

• ทีม โดยบนั ทกึ ชอ่ื ทีม และหมายเลขของผู้เลน่ ท่จี ะเริ่มต้นการแขง่ ขัน และผเู้ ล่นสำรอง

ทั้งหมดท่ีลงแข่งขัน เมื่อมีการละเมิดกติกาเก่ียวกับผู้เล่น 5 คนแรก ที่จะเริ่มต้น

การแข่งขัน ผู้เล่นสำรอง หรือหมายเลขของผู้เล่น เขาจะต้องแจ้งกรรมการที่อยู่ใกล้
โดยเร็วทส่ี ุดเท่าทจ่ี ะทำได้

• บันทึกตามลำดบั ของคะแนน โดยทำการบันทึกการยงิ ประตู และการโยนโทษที่ทำได

• การปรับฟาล์วต่อผู้เล่นแต่ละคน ผู้บันทึกคะแนนต้องแจ้งกรรมการทันท ี

เม่ือมีการปรับฟาล์ว ผู้เล่นคนใดคนหน่ึงที่กระทำฟาล์ว 5 คร้ัง เขาจะต้องบันทึก

การฟาล์วที่ปรับต่อผู้ฝึกสอนแต่ละคน และต้องแจ้งกรรมการทันที เมื่อผู้ฝึกสอน

ถกู ตัดสทิ ธิก์ ารแข่งขนั ในทำนองเดียวกัน เขาตอ้ งแจ้งกรรมการทนั ที เมื่อผู้เล่นกระทำ
ฟาล์วเทคนิค 2 คร้ัง หรือฟาล์วผิดวิสัยนักกีฬา 2 ครั้ง ซ่ึงเขาจะต้องถูกตัดสิทธิ์

การแขง่ ขนั

• เวลานอก เขาต้องแจ้งกรรมการเก่ียวกับโอกาสการให้เวลานอก เมื่อมีทีมร้องขอ

เวลานอก และโอกาสการขอเวลานอกมาถึง และแจ้งผู้ฝึกสอนผ่านกรรมการ

เมือ่ ผู้ฝึกสอนไมม่ เี วลานอกเหลอื อยใู่ นแตล่ ะครง่ึ เวลา หรอื ช่วงตอ่ เวลาพเิ ศษ

• การสลบั การครอบครองบอลครัง้ ต่อไป โดยควบคุมลกู ศรการสลับการครอบครองบอล
ผู้บันทึกคะแนนจะต้องพลิกกลับทิศทางของลูกศรทันทีภายหลังการส้ินสุดการแข่งขัน

ในครงึ่ เวลาแรก เนอื่ งจากทีมจะต้องเปล่ียนหว่ งตาขา่ ยกนั สำหรับครึ่งเวลาหลงั

48.2 ผบู้ ันทกึ คะแนน ตอ้ งดำเนนิ การเรอ่ื งตอ่ ไปนีด้ ว้ ย :

• แสดงจำนวนคร้ังของการกระทำฟาล์วท่ีทำโดยผู้เล่นแต่ละคน ด้วยการยกป้ายจำนวนคร้ัง
ของการกระทำฟาล์วของผู้เล่นคนนั้นขึ้น ในลักษณะที่ให้ผู้ฝึกสอนทั้งสองทีม

มองเหน็ ได้ชดั เจน

• จัดวางเครื่องหมายการฟาล์วทีมบนโต๊ะผบู้ ันทึกคะแนน ท่ีดา้ นใกล้กับที่นัง่ ของทีมที่อยู่
ในสถานการณ์ของการลงโทษฟาล์วทีม เม่ือบอลกลายเป็นบอลดีต่อจากการฟาล์วทีม

คร้ังที่ 4 ของช่วงเวลานัน้

• ดแู ลจดั การการเปลย่ี นตวั

• ให้เสียงสัญญาณของเขา เฉพาะ เมื่อบอลกลายเป็นบอลตาย และก่อนที่บอลกลาย
เป็นบอลดีอีกครั้ง เสียงสัญญาณของเขาไม่ทำให้นาฬิกาแข่งขันหยุดเดิน

หรือหยดุ การแข่งขนั หรือทำใหบ้ อลกลายเปน็ บอลตาย


72 คมู่ ือผตู้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอล

48.3 ผู้ช่วยผู้บันทึกคะแนน จะต้องควบคุมป้ายคะแนน(scoreboard) และช่วยผู้บันทึกคะแนน

ในกรณที ี่เกดิ ความขดั แยง้ ใดๆ ระหวา่ งป้ายคะแนนกับใบบนั ทกึ คะแนน ซ่งึ ไม่สามารถ
ตกลงกันได้ จะต้องยึดใบบันทึกคะแนนเป็นหลัก และจะต้องแก้ไขป้ายคะแนนให


ถกู ตอ้ งตามนั้น

48.4 หากพบวา่ ในใบบนั ทึกคะแนน มกี ารบนั ทกึ คะแนนผิดพลาด :

• ในระหว่างการแข่งขัน ผู้บันทึกคะแนนต้องรอบอลตายคร้ังแรก ก่อนให้เสียงสัญญาณ
ของเขา

• หลังจากหมดเวลาการแข่งขัน และก่อนท่ีผู้ตัดสินจะเซ็นชื่อลงในใบบันทึก ความผิดพลาด
จะต้องไดร้ ับการแก้ไข แมว้ า่ การแก้ไขนี้จะมกี ระทบต่อผลสุดทา้ ยของการแขง่ ขนั

• หลังจากผู้ตัดสินได้เซ็นช่ือในใบบันทึกแล้ว ข้อผิดพลาดไม่สามารถแก้ไขได้ ผู้ตัดสิน
หรือผคู้ วบคมุ การแขง่ ขัน ถ้าม ี ตอ้ งสง่ รายงานโดยละเอยี ดไปยงั ฝ่ายจดั การแข่งขัน





ข้อ 49 ผู้จบั เวลา : หนา้ ท่ี : Timer - Duties


49.1 ผจู้ บั เวลา ต้องจัดเตรียมนาฬิกาแข่งขัน และ นาฬิกาจบั เวลา และจะต้อง :

• จบั เวลาแขง่ ขนั เวลานอก และเวลาพกั การแขง่ ขัน

• ม่ันใจว่าเสียงสัญญาณเวลาการแข่งขันมีเสียงดังมาก และดังโดยอัตโนมัต ิ


เมือ่ หมดเวลาแขง่ ขนั ของชว่ งเวลา

• ใช้ทุกวิถีทางเพ่ือแจ้งให้กรรมการทราบทันที หากเสียงสัญญาณของเขาขัดข้องหรือไม่

ไดย้ นิ

• แจ้งให้ทีมและกรรมการทราบอย่างน้อย 3 นาที ก่อนเร่ิมต้นการแข่งขันในช่วงเวลา


ทส่ี าม

49.2 ผจู้ บั เวลา จะตอ้ งจับ เวลาการแขง่ ขนั ดงั นี้ :

• เร่มิ เดนิ นาฬกิ าแขง่ ขนั เมอ่ื

- ในระหว่างการเล่นลูกกระโดด ลูกบอลถูกปัดอย่างถูกกติกาโดยผู้เล่นลูกกระโดด


คนใดคนหน่งึ

- หลังจากการโยนโทษครั้งสุดท้ายหรือครั้งเดียวไม่สำเร็จ และบอลยังเป็นบอลดีต่อไป


ลกู บอลสัมผัส หรอื ถกู สมั ผัสโดยผูเ้ ล่นในสนามแข่งขัน

- ในระหว่างการส่งบอลเข้าเล่น ลูกบอลสัมผัสหรือถูกสัมผัสโดยผู้เล่น

ในสนามแข่งขนั อยา่ งถูกกติกา

• หยุดนาฬกิ าแขง่ ขนั เม่ือ

- หมดเวลาตอนสิ้นสุดของช่วงเวลาแข่งขัน หากนาฬิกาแข่งขันไม่หยุดโดยอัตโนมัต


ดว้ ยตวั นาฬกิ าแข่งขันเอง


คูม่ ือผ้ตู ดั สินกฬี าบาสเกตบอล 73

- กรรมการเป่านกหวดี ของเขาในขณะท่ีเปน็ บอลด

- มกี ารทำประตูทีเ่ ป็นคะแนนตอ่ ทมี ท่ีไดร้ ้องขอเวลานอก

- มีการทำประตูท่ีเป็นคะแนน เม่ือนาฬิกาแข่งขันแสดงเวลา 2 นาที หรือ


น้อยกว่าในช่วงเวลาทส่ี ่ี และในแต่ละชว่ งต่อเวลาพเิ ศษ


- มีเสยี งสญั ญาณนาฬิกายิงประตดู งั ในขณะทท่ี มี ใดทีมหนึง่ กำลังครอบครองบอล

49.3 ผูจ้ ับเวลา จะตอ้ งจบั เวลานอก ดังน้ ี :

• เริ่มเดินนาฬิกาจับเวลาทันที เม่ือกรรมการเป่านกหวีดของเขา และให้สัญญาณ


เวลานอก

• ใหเ้ สียงสญั ญาณของเขา เมอ่ื เวลานอกได้ผ่านไป 50 วนิ าที


• ให้เสียงสญั ญาณของเขา เม่ือเวลานอกได้ส้ินสดุ ลง

49.4 ผูจ้ ับเวลา จะต้องจบั เวลาชว่ งพักการแข่งขัน ดงั น้ี :

• เรม่ิ เดนิ นาฬิกาจบั เวลาทันที เมอ่ื ชว่ งเวลาแขง่ ขันกอ่ นหน้าไดส้ ิ้นสุดลง

• ให้เสียงสัญญาณของเขาก่อนเริ่มช่วงเวลาที่หนึ่ง และช่วงเวลาท่ีสาม เม่ือเหลือเวลา


3 นาที และ 1.30 นาที กอ่ นท่ีจะเริ่มต้นช่วงการแขง่ ขัน

• ให้เสียงสัญญาณของเขา ก่อนเร่ิมช่วงเวลาที่สอง ช่วงเวลาท่ีส่ี และแต่ละช่วงต่อเวลา


พเิ ศษเมือ่ เหลอื เวลา 30 วินาที กอ่ นทจ่ี ะเริ่มต้นช่วงการแขง่ ขัน

• ให้เสียงสัญญาณของเขา และในขณะเดียวกันให้หยุดนาฬิกาจับเวลาทันที เม่ือเวลา


ช่วงพกั การแข่งขันไดส้ ิน้ สุด





ข้อ 50 ผ้คู วบคุมนาฬกิ ายงิ ประตู : หน้าท่ี Shot clock operator - Duties



ผูค้ วบคุมนาฬิกายงิ ประตู จะตอ้ งจัดเตรยี มนาฬกิ ายิงประตู ซ่ึงจะตอ้ ง :

50.1 เร่ิมเดนิ หรอื ต้ังเวลาใหม่ เมอ่ื :

• มีทีมได้ครอบครองบอลดีในสนามแข่งขัน ทว่าภายหลังที่มีการสัมผัสลูกบอล


เพยี งเล็กน้อย โดยฝ่ายตรงขา้ ม ไม่ทำใหเ้ ริ่มเดนิ เวลานาฬกิ ายิงประตรู อบใหม่ หากทีมเดิม

ยังคงได้ครอบครองบอล

• ในการส่งบอลเข้าเล่น ลูกบอลสัมผัส หรือถูกสัมผัสอย่างถูกกติกาโดยผู้เล่นคนใด


ก็ตามในสนามแข่งขัน

50.2 หยุดเดิน แต่ไม่ต้ังเวลาใหม่ เมื่อทีมเดิมท่ีครอบครองบอลอยู่ก่อนได้ส่งบอลเข้าเล่น

อนั เป็นผลมาจาก :




74 ค่มู ือผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอล

• ลกู บอลออกนอกเขตสนาม

• ผเู้ ล่นของทมี เดียวกันได้รับบาดเจบ็

• สถานการณล์ กู กระโดด

• การฟาล์วคู่


• การยกเลกิ บทลงโทษของทีมทีเ่ ท่ากัน

50.3 หยุดเดนิ และต้งั เวลา 24 ใหม่ โดยไม่เปดิ เผยเวลาให้เห็น เมื่อ :

• ลูกบอลลงหว่ งตาขา่ ยอย่างถูกกติกา

• ลูกบอลกระทบห่วงตาข่ายของฝ่ายตรงข้าม(ยกเว้นลูกบอลติดค้างระหว่างห่วงกับ


กระดาน) และลูกบอลถูกครอบครองโดยทีมที่ไม่ได้ครอบครองบอล ก่อนลูกบอล

ได้กระทบห่วง

• ทีมไดส้ ง่ บอลเข้าเล่นในแดนหลงั :

- เป็นผลมาจากการฟาล์ว หรือการผดิ ระเบียบ

- การแขง่ ขนั ได้หยุดลง เนอื่ งจากการกระทำทีไ่ ม่เก่ยี วข้องกับทีมครอบครองบอล

- การแข่งขันได้หยุดลง เนื่องจากการกระทำที่ไม่เก่ียวข้องกับทีมใด ยกเว้น

ฝ่ายตรงข้ามอยู่ในสถานะเสียเปรยี บ

• ทมี ไดโ้ ยนโทษ


• มกี ารละเมิดกติกาโดยทมี ทคี่ รอบครองบอล

50.4 หยุดเดิน แต่ไม่ต้ังเวลา 24 วินาทีใหม่ เม่ือทีมเดิมท่ีครอบครองบอลอยู่ก่อน ได้ส่งบอล

เข้าเล่นในแดนหน้า และเวลา 14 วินาที หรือมากกวา่ ไดแ้ สดงบนนาฬกิ ายงิ ประต

- เปน็ ผลมาจากการฟาลว์ หรือ การผดิ ระเบยี บ

- การแขง่ ขันได้หยุดลง เน่อื งจากการกระทำท่ีไม่เก่ียวข้องกับทมี ครอบครองบอล

- การแข่งขันได้หยุดลง เนื่องจากการกระทำที่ไม่เกี่ยวข้องกับทีมใด ยกเว้นฝ่ายตรงข้าม


อยู่ในสถานะเสียเปรยี บ

50.5 หยุดเดิน และ ต้งั เวลาใหมเ่ ปน็ 14 วินาที เมอ่ื :

• ทีมเดิมท่ีครอบครองบอลอยู่ก่อน ได้ส่งบอลเข้าเล่นในแดนหน้า และเวลา 13 วินาที

หรอื นอ้ ยกวา่ ได้แสดงบนนาฬกิ ายงิ ประตู :

- เป็นผลมาจากการฟาล์ว หรือการผิดระเบียบ

- การแขง่ ขนั ไดห้ ยดุ ลง เนอ่ื งจากการกระทำที่ไมเ่ กีย่ วข้องกับทมี ครอบครองบอล

- การแข่งขันได้หยุดลง เน่ืองจากการกระทำท่ีไม่เกี่ยวข้องกับทีมใด ยกเว้นฝ่ายตรงข้าม

อยู่ในสถานะเสียเปรียบ




คมู่ ือผูต้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 75

- ภายหลังท่ีลูกบอลได้สัมผัสห่วงจากการยิงประตู หรือหลังจากการโยนโทษ

ครั้งสุดท้ายหรือคร้ังเดียว และไม่เป็นผลสำเร็จ หรือขณะการส่งบอล

ถ้าทีมท่ีได้กลับมาครอบครองบอล เป็นทีมเดิมท่ีได้ครอบครองบอลก่อนท
ี่


ลกู บอลได้สัมผัสห่วง

50.6 ปิดเครื่อง หลังจากบอลกลายเป็นบอลตาย และนาฬิกาแข่งขันได้หยุดเดินในทุกช่วงเวลา

แข่งขัน เม่ือมีทีมหนึ่งทีมใดได้การครอบครองใหม่ และมีเวลาเหลือน้อยกว่า 14 วินาที
แสดงบนนาฬิกาแข่งขัน เสียงสัญญาณของนาฬิกายิงประตู ไม่ทำให้เวลาแข่งขันหยุดเดิน
หรือหยุดการแข่งขัน หรือไม่เป็นเหตุทำให้บอลกลายเป็นบอลตาย ยกเว้นมีทีมใดที่กำลัง
ครอบครองบอลอยู่






76 คู่มือผ้ตู ัดสินกีฬาบาสเกตบอล

A สัญญาณมอื ของกรรมการ : OFFICIALS’ SIGNALS





A
.1 สัญญาณมือตามภาพประกอบในกติกาน ้ี เป็นสญั ญาณเฉพาะของกรรมการเท่านน้ั

A.2 ขณะกำลังรายงานไปยังโต๊ะบันทึกคะแนน ให้ใช้คำพูดเพ่ือสนับสนุนการสื่อสาร


ซงึ่ เปน็ ข้อแนะนำทค่ี วรปฏิบัตเิ ปน็ อย่างย่ิง (ในการแขง่ ขันระดบั นานาชาตเิ ปน็ ภาษาองั กฤษ)

A
.3 เป็นสิง่ สำคญั ท่ีเจ้าหน้าทโี่ ต๊ะ ตอ้ งทำความเขา้ ใจกับสัญญาณเหลา่ นี ้


สัญญาณเวลาการแข่งขนั : Game clock signals


การหยดุ เวลา


การหยุดเวลา สำหรับการฟาล์ว นาฬกิ าเรม่ิ เดนิ















3


1
2


เปิดฝา่ มือ กำหมัด สับมอื ลง


สัญญาณการใหค้ ะแนน : Game clock signals
3 คะแนน

1 คะแนน 2 คะแนน












4
5
6



1 น้วิ 2 นิ้ว 3 นวิ้ กางออก

สะบดั ขอ้ มือลง สะบัดข้อมอื ลง แขนเดียว : พยายามยงิ

ท้งั สองแขน : เป็นผลสำเร็จ



คมู่ อื ผตู้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 77

การเปลย่ี นตัว และ เวลานอก : Substitution and Time-out













กาไรข
เวปแ้ ลขี่ยนน ตวั 7

กวกั มือ 8
การใหเ้ วลานอก เวลานอกสือ่

หงายฝ่ามอื
9
10


แสดงอกั ษร ‘T’ กางแขนออก

โบกเข้าลำตวั ดว้ ยนวิ้ ช้ี พรอ้ มกับกำหมดั



การแจง้ ใหท้ ราบ : Informative



การยกเลิกคะแนน, การยกเลิกการเลน่ การแสดงการนบั

















11
12


ไขว้แขนแบบกรรไกร เคลอื่ นขยบั ฝา่ มอื ในขณะกำลังนับ

ตามแนวขวางผ่านอกครัง้ เดยี ว







78 คู่มอื ผู้ตัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล

ทศิ ทางการเล่น

และ/หรอื ลูกยึด/สถานการณ์

การส่ือสาร ต ั้งนาฬิกายงิ ประตูใหม ่ บอลออกนอกสนาม ลกู กระโดด
















13
14
15
16


ยกนว้ิ หวั แม่มือ เหยยี ดนวิ้ ช้ีหมนุ ข้อมอื ช้ที ศิ ทางการเลน่ ชนู ิ้วหวั แมม่ ือ

แขนขนานกบั เสน้ ข้าง จากน้ัน ชที้ ิศทาง
ลกู ศรสลับ

การครอบครองบอล





การผิดระเบียบ : Violations


การเล้ยี งบอลผดิ กตกิ า การเลีย้ งบอลผดิ กติกา

การพาบอลเคล่อื นที ่ เล้ยี งบอลสองหน พาลกู บอล
















17
18
19


หมุนข้อมือ ตีดว้ ยฝา่ มอื หมุนฝ่ามอื คร่งึ รอบ


ค่มู อื ผ้ตู ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 79

3 วินาที 5 วินาท ี 8 วินาท ี
















20
21
22


เหยยี ดแขน แสดง 3 นว้ิ
แสดง 5 นิ้ว แสดง 8 นว้ิ






24 วินาท ี ลกู บอลกลับสูแ่ ดนหลงั เจตนาเตะบอล

















23
24
25


น้ิวมอื แตะไหล่ โบกแขนด้านหน้าลำตวั ชไี้ ปทเ่ี ท้า


80 คมู่ อื ผู้ตดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล

หมายเลขของผเู้ ลน่ : Number of Players


หมายเลข 00 และ 0















26



มือทั้งสองข้างแสดง มือขวาแสดง












หมายเลข 1-5 หมายเลข 6-10 หมายเลข 11-15


27
28
29


มือขวาแสดง มอื ขวาแสดง หมายเลข 5 มือขวากำหมัด

หมายเลข 1-5 มือซ้าย แสดง หมายเลข 1-5 มือซ้ายแสดงหมายเลข 1-5


หมายเลข 16 หมายเลข 24











30
31


ขนั้ แรก พลิกหลังมอื แสดงหมายเลข 1
ข้นั แรก พลกิ หลังมอื แสดงหมายเลข 2
สำหรบั เลขหลักสบิ จากน้นั เปิดฝา่ มอื ออก
สำหรับเลขหลักสิบ จากน้นั เปิดฝา่ มือออก


แสดงหมายเลข 6 สำหรบั เลขหลกั หน่วย
แสดงหมายเลข 4 สำหรบั เลขหลกั หน่วย

คู่มือผู้ตัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล 81

หมายเลข 40 หมายเลข 62


32
33

ขั้นแรก พลิกหลงั มอื แสดงหมายเลข 4 ขัน้ แรก พลิกหลงั มือแสดงหมายเลข 6
สำหรับเลขหลกั สิบ จากน้นั เปิดฝ่ามือออก สำหรับเลขหลกั สบิ จากนั้น เปิดฝา่ มอื ออก
แสดงหมายเลข 0 สำหรับเลขหลักหน่วย แสดงหมายเลข 2 สำหรับเลขหลักหน่วย

หมายเลข 78 หมายเลข 99


34
35

ขั้นแรก พลิกหลงั มือแสดงหมายเลข 7 ขัน้ แรก พลิกหลังมือแสดงหมายเลข 9
สำหรบั เลขหลักสบิ จากนน้ั เปดิ ฝ่ามอื ออก สำหรับเลขหลกั สิบ จากนัน้ เปิดฝา่ มอื ออก
แสดงหมายเลข 8 สำหรับเลขหลักหน่วย แสดงหมายเลข 9 สำหรบั เลขหลกั หนว่ ย

82 คมู่ ือผูต้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล

ชนิดของการฟาล์ว : Type of Fouls


การสกัดกั้น (ฝ่ายปอ้ งกัน)
การกำบงั ทีผ่ ิดกตกิ า การผลักหรอื ชน

การดึง (ฝ่ายรุก) ทีไ่ ม่มีลูกบอล การใชม้ ือเหนีย่ วรัง้








36
37
38
39


จบั ขอ้ มือดงึ ลง มอื ท้ังสองอยบู่ นสะโพก แสดงท่าผลกั จบั ฝา่ มอื และ
เคลอ่ื นไปขา้ งหนา้

การใช้มือ การชน การปะทะทม่ี อื การเหว่ยี งศอก

อยา่ งผิดกติกา ขณะมีลกู บอล อย่างผดิ กตกิ า เกนิ เหตจุ ำเปน็





40
41
42
16
43


ตีข้อมือ กำหมัดชกฝ่ามอื ใชฝ้ า่ มอื ตีท่ีแขน เหว่ยี งศอกกลบั ด้านหลงั

ค่มู ือผู้ตดั สินกฬี าบาสเกตบอล 83

การฟาล์วโดย



การตศี ีรษะ ทมี ครอบครองบอล


7


44
45


แสดงทา่ ตที ศ่ี ีรษะ กำหมัดช้ีไปยงั ห่วง
ทีมตรงขา้ ม




การฟาล์วอยใู่ นท่ากำลังยิงประตู การฟาล์วไมไ่ ด้อยใู่ นทา่ กำลังยิงประตู


46
47


ยกแขนเดียวพร้อมกำหมดั ตดิ ตามด้วย ยกแขนเดยี วพรอ้ มกำหมดั ตดิ ตามดว้ ย
การระบจุ ำนวนของการโยนโทษ การช้ีไปท่ีพน้ื

84 คู่มือผตู้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล

การฟาล์วลกั ษณะพิเศษ : Special Fouls


การฟาลว์ คู ่ การฟาลว์ เทคนคิ การฟาล์วผดิ วิสยั การฟาลว์ เสียสิทธ์

นกั กีฬา














48
49
50
51


โบกหมดั ข้นึ ทง้ั สองมือ แสดงตัว ‘T’ ดว้ ยฝ่ามอื กำขอ้ มอื ข้ึนข้างบน กำหมัดขน้ึ ทั้งสองมือ


ารดำเนินการลงโทษการฟาล์ว : Foul Penalty Administration

การรายงานไปยังโตะ๊ : Reporting to Table





หลังจากการฟาล์ว หลังจากการฟาล์ว

ทไ่ี มม่ ีการโยนโทษ โดยทีมครอบครองบอล





52
53


ชที้ ศิ ทางของการเลน่ กำหมดั ไปในทศิ ทาง
แขนขนานกบั เสน้ ขา้ ง ของการเล่น

แขนขนานกบั เสน้ ขา้ ง

คู่มือผตู้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 85

โยนโทษ 1 ครัง้ โยนโทษ 2 คร้งั
โยนโทษ 3 ครัง้



















54
55
56


ยกนิว้ 1 นิ้ว ยกนิ้ว 2 นว้ิ ยกน้ิว 3 น้วิ


การดำเนินการโยนโทษ โดยกรรมการนำ

: Administrating Free Throws – Active Official (Lead)





โยนโทษ 1 ครั้ง โยนโทษ 2 ครง้ั โยนโทษ 3 คร้ัง



58
59




2 นิว้ แนวนอน 3 นิว้ แนวนอน













57

1 น้วิ แนวนอน





86 คูม่ ือผ้ตู ดั สินกฬี าบาสเกตบอล


Click to View FlipBook Version