3. ในสถานการณ์การกำบัง ต้องแน่ใจว่าผู้เล่นที่กำลังทำกำบังยืนนิ่งขณะ
เกิดการปะทะกัน เอาใจใส่เป็นพิเศษต่อการยื่นขา เข่า หรือข้อศอก
ผูเ้ ลน่ บางคนเจตนาหลอก(เลน่ ละคร) ล้มลงอย่างหนกั ขณะมกี ารปะทะ
กันโดยไมไ่ ดต้ ้ังใจ ต้องแนใ่ จว่า ได้เรียกฟาล์วในสิ่งท่เี ห็นตามความเป็นจรงิ
หนา้ ทีเ่ บ้อื งตน้ ของกรรมการทงั้ สองคน ประกอบด้วย :
1. การควบคมุ บอลนอกพน้ื ท่คี รอบคลมุ
2. การกำบัง ทัง้ ผูเ้ ลน่ ทีค่ รอบครองบอล และห่างจากลกู บอล
3. การใช้มือท่ผี ดิ กตกิ า
4. การเลน่ ในพืน้ ทเ่ี ขต 3 วนิ าที
ภาพที่ 70
ภาพที่ 71
ค่มู อื ผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอล 137
4.8 การป้องกันแบบกดดัน : Pressing defences
การป้องกันแบบกดดัน สามารถสร้างความยากลำบากให้กับกรรมการ ส่งผลให
้
การครอบคลุมในสนามแข่งขันไม่เป็นไปตามภาวะปกติของพวกเขา ดังน้ันสถานการณ์แบบนี้ จำเป็น
ต้องมีการเอาใจใส่ และทำงานร่วมกันอย่างดีเลิศ ในระหว่างการป้องกันแบบกดดัน ถ้ามีผู้เล่น
ฝ่ายป้องกัน 3 คน หรือมากกว่าอยู่ในแดนหลังของฝ่ายตรงข้าม กรรมการนำ ควรชะลอการเคลื่อนไป
ท่ีเส้นหลัง เพื่อคอยช่วยเหลือคู่ร่วมตัดสินในการครอบคลุมการเล่นทันทีท่ีลูกบอลข้ึนสู่แดนหน้า
ให้กรรมการนำเคลื่อนท่ีเข้าสู่ตำแหน่งตามปกติที่เส้นหลัง ในภาพท่ี 70 แสดงการครอบคลุม
การป้องกันแบบกดดนั มผี ้เู ลน่ ฝ่ายป้องกนั 1 คนอยู่ในแดนหลงั ของฝา่ ยตรงขา้ ม ดังนนั้ กรรมการนำ
ต้องคอยดูผู้เล่นทั้งหมดในครึ่งสนามแข่งขันใกล้ตัวเขา หากจำเป็น กรรมการตามควรเข้าใกล้การเล่น
คอยดูการฟาล์วและการผิดระเบียบที่อาจเกิดข้ึนอย่างระมัดระวัง ในภาพท่ี 71 ผู้เล่นฝ่ายป้องกัน
3 คน อยู่ในแดนหลังของฝ่ายตรงข้าม ให้ช่วยคู่ร่วมตัดสินครอบคลุมสถานการณ์การกดดันนี้
กรรมการนำควรชะลอการเคล่ือนท่ีไปข้างหน้าและอยู่ท่ีเส้นข้าง จนกว่าลูกบอลข้ามเส้นกลางสนาม
ทุกคร้ังท่ีมีการรุกกลับ : turnover (เปลี่ยนการครอบครองบอล) แล้วติดตามด้วยการป้องกัน
แบบกดดัน กรรมการต้องเคล่ือนที่ให้เร็วท่ีสุด เพื่อให้แน่ใจว่าเป็นการเล่นป้องกันที่ถูกต้องตามกติกา
การปะทะกนั ที่ผิดกตกิ าควรถูกลงโทษเปน็ การฟาล์วเสมอ
138 คู่มอื ผู้ตัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล
ภาพท่ี 72
ภาพท่ี 73
4.9 การป้องกนั แบบกดดันขณะส่งบอลเข้าเล่น : Throw-in with pressing defence
ในภาพที่ 72 ขณะท่ีทีมฝ่ายรุก เผชิญหน้ากับการป้องกันแบบกดดัน หลังจาก
ยื่นบอลให้กับผู้ส่งบอลเข้าเล่นแล้ว ให้กรรมการนำเคลื่อนที่ไปในตำแหน่งท่ีเส้นหลังทันที ที่นั่นเขา
สามารถเฝ้าดูผู้เล่นทุกคนที่บริเวณใกล้เคียงกับการส่งบอลเข้าเล่นได้โดยตรง รวมถึงผู้เล่นท่ีกำลัง
ส่งบอลเข้าเล่น กรรมการท่ีเกี่ยวข้องโดยตรงกับตำแหน่งการเล่นต้องแน่ใจว่าได้เตรียมพร้อมในการ
ควบคุมเหตุการณ์เก่ียวกับการป้องกันแบบกดดันอย่างประชิด และการกระทำอื่นรอบบริเวณใกล้กับ
ผู้รับลูกบอลหลังจากการส่งบอลเข้าเล่น กรรมการตามต้องตามเข้าไป เพราะลูกบอลได้เข้าไปอยู่ใน
ตำแหน่ง และดผู เู้ ล่นทีห่ ่างจากลกู บอล ในภาพที่ 73 กรรมการนำต้องรบั ผิดชอบการเล่นในตำแหนง่
คมู่ อื ผ้ตู ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 139
โพสท์และการกำบังท่ีอาจเกิดขึ้น เฝ้าดูการเล่นที่ห่างจากลูกบอล กรรมการตามสังเกตการกระทำ
รอบ ๆ ผู้ส่งบอล และบริเวณใกล้เคียงกบั ผรู้ บั ลกู ขณะย่นื บอลให้กบั ผู้ส่งบอลเขา้ เล่น
หมายเหต ุ ใชห้ ลักการของ “ การจัดกรอบผเู้ ล่น : boxing-in ”
ภาพท่ี 74
ภาพที่ 75
4.10 การปอ้ งกันแบบทำกับดัก : Trapping defences
กตกิ า “การปอ้ งกันแบบประชิด” เปน็ การให้โอกาสในการปอ้ งกนั ที่ดี เม่ือผเู้ ลน่ ถูกปอ้ งกนั
แบบประชิด (ในระยะ 1 ก้าวปกติของผู้เล่นฝ่ายป้องกัน) ถือลูกบอล ไม่สามารถส่งบอลยิงประตู
หรอื เลย้ี งบอลได้ภายในเวลา 5 วนิ าที ถอื เป็นการทำผดิ ระเบยี บ กรรมการทกุ คนต้องทราบถึงรูปแบบ
ของการป้องกันท่ีฝ่ายป้องกันใช้เพื่อสร้างความเหนือกว่ากับผู้เล่นที่ถือลูกบอล ในภาพที่ 74
และภาพที่ 75 กรรมการนำรับผิดชอบการกระทำรอบผู้เล่นท่ีกำลังถือลูกบอล กรรมการตาม
ดูการเล่นที่ห่างจากลูกบอล และเตรียมพร้อมที่จะช่วยเหลือคู่ร่วมตัดสินของเขาเม่ือมีการป้องกัน
แบบรุมสอง : double team
140 คมู่ ือผตู้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอล
ภาพที่ 76
ภาพท่ี 77
ในภาพที่ 76 และภาพท่ี 77 กรรมการตามเคล่ือนที่เข้าใกล้การเล่นตามความจำเป็น
ดูการฟาล์วหรือการผิดระเบียบท่ีอาจเกิดขึ้นได้ กรรมการนำ ใช้หลักการ “การจัดกรอบผู้เล่น :
boxing-in” ดูการเลน่ ที่ห่างจากลูกบอล
คู่มอื ผ้ตู ัดสินกฬี าบาสเกตบอล 141
5. สถานการณบ์ อลออกนอกสนามและการส่งบอลเข้าเลน่
: Out – of – bounds and throw – in situations
ภาพท่ี 78 ภาพท่ี 79
ภาพที่ 80
5.1 การรับผดิ ชอบเส้นเขตสนาม : Responsibility for the lines
โดยทั่วไป (ภาพที่ 78 และภาพท่ี 79) หน้าท่ีรับผิดชอบอันดับแรกสำหรับ
การตัดสนิ บอลออกนอกสนามมดี ังตอ่ ไปน้ี :
กรรมการนำ : Lead official - เสน้ หลัง และเสน้ ข้างด้านซ้ายมือของเขา
กรรมการตาม : Trial official - เส้นกลาง และเส้นขา้ งดา้ นซา้ ยมือของเขา
เมื่อลูกบอลส่งผ่านจากแดนหลังไปแดนหน้า ให้แบ่งความรับผิดชอบ (ภาพที่ 80)
โดยปกติกรรมการอีกคนไม่ควรจะเข้าไปเก่ียวข้องกับการตัดสินใจ เว้นแต่ว่าคู่ร่วมตัดสินต้องการ
ความช่วยเหลือ ส่งิ นีจ้ ะเป็นการปอ้ งกันการตดั สินท่ขี ัดแยง้ กัน และสถานการณล์ ูกกระโดด
ค่มู อื ผ้ตู ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล
142
ภาพที่ 81 ภาพที่ 82
ภาพท่ี 83 ภาพที่ 84
5.2 การส่งบอลเขา้ เลน่ : Throw – ins
เม่ือลกู บอลออกนอกสนาม :
1. กรรมการที่รับผิดชอบเส้นข้างหรือเส้นหลัง จะเป่านกหวีดของเขาพร้อมกับ
ยกแขนเหยียดข้ึนตรง แบมอื นวิ้ ชิดตดิ กนั เพ่ือหยุดเวลาแข่งขนั (ภาพที่ 81)
2. เขาจะแสดงทิศทางการเล่น โดยชี้ไปทางห่วงประตูของทีมฝ่ายตรงข้ามกับทีม
ที่ได้สง่ บอลเข้าเลน่ (ภาพท่ี 82)
3. เขาจะส่งบอลให้กับผู้ส่งบอลเข้าเล่นโดยตรง ณ ตำแหน่งที่จะดำเนินการ
สง่ บอลเขา้ เลน่
4. กรรมการจะย่ืนบอล ส่งบอลกระดอนพื้น หรือวางบอลกับพื้นให้กับผู้ส่งบอล
เข้าเล่น และตรวจความถูกต้องว่าเขาไม่ต้องก้าวเท้ามากเกินกว่า 1 ก้าวปกต
ิ
จากจุดทกี่ ำหนด (ภาพท่ี 83)
5. เมื่อการยิงประตู หรือการโยนโทษคร้ังสุดท้าย หรือการโยนโทษคร้ังเดียว
เป็นผลสำเร็จ กรรมการจะย่ืนบอล ส่งบอลกระดอนพ้ืนหรือวางบอลกับพ้ืน
ใหก้ ับผู้ส่งบอลเข้าเล่น
- โดยทำเม่อื ต้องการใหก้ ารแข่งขันเริม่ เล่นใหม่เรว็ ข้นึ
- หลังจากเวลานอก หรือการเปล่ียนตัวผูเ้ ล่น
- หลงั จากหยดุ การแข่งขนั ดว้ ยเหตผุ ลตามกตกิ าโดยกรรมการ
6. กรรมการจะให้สัญญาณเวลาใน ด้วยการสับมือลงมา เม่ือลูกบอลสัมผัส
ผูเ้ ลน่ คนแรก หรอื ผู้เล่นสัมผัสบอลครงั้ แรกในสนามแขง่ ขนั หลงั จากการสง่ บอล
เข้าเล่น (ภาพที่ 84)
ค่มู อื ผตู้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 143
ภาพท่ี 85 ภาพที่ 86
ภาพที่ 87 ภาพที่ 88
เมื่อลูกบอลออกนอกสนาม และกรรมการท่ีรับผิดชอบเส้นนั้นไม่แน่ใจว่าผู้เล่นคนใด
เป็นคนสุดท้ายท่ีได้สัมผัสบอล(ภาพท่ี 85) เขาจะเป่านกหวีด และให้สัญญาณเพื่อหยุดเวลาแข่งขัน
แลว้ มองหาค่รู ่วมตัดสินของเขาเพ่ือขอความช่วยเหลือ(ภาพท่ี 86)
หากกรรมการอีกคนรู้ว่าผู้เล่นคนใดสัมผัสบอลเป็นคนสุดท้ายก่อนลูกบอลออกนอกสนาม
เขาจะแสดงทิศทางการเล่นตามวิธีการส่ือสารท่ีกำหนดกันไว้ระหว่างการประชุมก่อนการแข่งขัน
โดยไม่ต้องเป่านกหวีด จากน้ัน กรรมการท่ีรับผิดชอบเส้นน้ัน จะให้สัญญาณทิศทางการเล่น
(รปู ภาพที่ 87)
ในภาพที่ 88 กรรมการท้ังสองคน ไม่แน่ใจว่าทีมใดจะได้ส่งบอลเข้าเล่น ในกรณีน
้ี
พวกเขาควรใช้สัญญาณยกน้ิวหัวแม่มือทั้งสองแสดงสถานการณ์การเล่นลูกกระโดด ติดตามด้วย
สญั ญาณทศิ ทางการเล่น
การสลับการสง่ บอลเขา้ เลน่ จะส่ง ณ บริเวณใกล้จุดท่ลี ูกบอลออกนอกสนาม
144 คูม่ อื ผู้ตดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล
หลังจากการละเมิดกติกา หรือหยุดการเล่นท่ี ภาพท่ี 89
ทำให้ต้องกลับสู่การแข่งขันโดยการส่งบอลเข้าเล่น ภาพที่ 90
การส่งบอลเข้าเล่นน้ีจะส่ง ณ บริเวณใกล้จุดที่ม
ี
การละเมดิ กติกา หรือจดุ ที่หยดุ การเลน่
ภาพที่ 91
ถา้ อยใู่ นพืน้ ทสี่ เ่ี หล่ียมท่ี 4, 5 หรือ 6 บริเวณ
ใกล้จุดท่ีมีการละเมิด จะตัดสินใจโดยลากเส้นสมมุติ
ระหว่างมุมของสนามแข่งขันถึงส่วนปลายของเส้น
โยนโทษ (ภาพท่ี 89)
การส่งบอลเข้าเล่นจากภายในพ้ืนท่ีน้ี จะส่ง
ณ ภาพที่ 89 บริเวณใกล้กับเส้นหลัง ยกเว้น
แนวใตก้ ระดานหลัง
เม่ือการส่งบอลเข้าเล่นอยู่ระหว่างมุมทางซ้าย
ของกรรมการ และใกล้กับเส้นขอบของกระดานหลัง
กรรมการนำจะย่ืนบอลให้กับผู้เล่นด้วยมือซ้าย
ของเขา จากน้ันให้เคล่ือนที่ 1 หรือ 2 ก้าว ไปยัง
พื้นท่เี ขต 3 วินาที / ห่วงตาขา่ ย (ภาพที่ 90)
เม่ือการส่งบอลเข้าเล่นอยู่ระหว่างเส้นขอบ
ของแป้นกระดานห่างไปถึงเส้นข้างทางด้านขวาของ
กรรมการนำ เขาจะโยนหรือส่งกระดอนพื้นไปให
้
ผู้เล่น จากนั้นให้กลับเข้าสู่ตำแหน่งจัดกรอบผู้เล่น
ในทุกกรณี กรรมการตามเข้าไปในตำแหน่งท่ีสามารถ
สงั เก ตก า
รณ์การกระทำบอลนอกพน้ื ทท่ี ง้ั หมด
ข้อควรจำ : Remember
ถ้าลูกบอลลงห่วงตาข่าย แต่การโยนโทษ
หรอื การยิงประตูน้นั ถูกยกเลิกคะแนน การสง่ บอล
เข้าเล่นท่ีตามมา จะนำไปส่ง ณ เส้นข้างตามแนว
เสน้ โยนโทษ
คูม่ ือผตู้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 145
ภาพที่ 92
ภาพ
ที่ 93
เม่ือทีมได้ส่งบอลเข้าเล่นท่ีเส้นข้างในแดนหน้า กรรมการที่รับผิดชอบการส่งบอลเข้าเล่น
จะยื่นบอล ส่งบอลกระดอนพ้ืน หรือวางบอลให้กับผู้เล่นท่ีจะส่งบอลเข้าเล่น กรรมการที่เป็น
ผู้ยน่ื บอลเพ่อื ให้สง่ บอลเขา้ เล่น เปน็ ผู้รับผดิ ชอบในการควบคมุ การส่งบอลเขา้ เลน่ และจะใหส้ ญั ญาณ
เวลาใน เมื่อลูกบอลสัมผัสผู้เล่นคนแรกหรือผู้เล่นสัมผัสบอลครั้งแรกในสนามแข่งขันเขาต้อง
ตรวจสอบความพร้อมกับคู่ร่วมตัดสินก่อนส่งบอลให้ผู้ส่งบอลโดยการสื่อสารด้วยสายตา ในภาพท่ี 92
กรรมการนำท่ีรับผิดชอบการส่งบอลเข้าเล่นที่เส้นข้างด้านซ้ายของเขาจากแนวเส้นโยนโทษ
ถึงเส้นหลัง ให้ยื่นบอลหรือส่งบอลกระดอนพ้ืนไปให้ผู้เล่น ในขณะที่เขายังคงอยู่ตำแหน่งของ
กรรมการนำหลังจากการส่งบอลเข้าเล่น ให้เขายืนยันกับคู่ร่วมตัดสินของเขาโดยการยืนท่ีเส้นหลัง
ข้างผู้เล่น ในภาพท่ี 93 แสดงถึงกรรมการตามย่ืนบอลให้กับผู้เล่น กรรมการตามจะยืนด้านขวาของ
ผู้เล่น ในขณะที่เขายังคงอยู่ในตำแหน่งกรรมการตามต่อไป กรรมการนำจะเคลื่อนท่ีหาตำแหน่งเพ่ือ
“จัดกรอบ” ผู้เล่นทุกคน
146 ค่มู อื ผู้ตัดสินกฬี าบาสเกตบอล
ภาพท่ี 94
ภาพท่ี 95
ภาพที่ 94 แสดงตัวอย่างการส่งบอลเข้าเล่น ที่ดำเนินการระหว่างแนวเส้นโยนโทษ
กับเสน้ กลางสนาม กรรมการตามจะดำเนินการการสง่ บอลเขา้ เลน่ เขาจะส่อื สารด้วยสายตากบั ครู่ ว่ ม
ตดั สินของเขาท่ีไดเ้ คลอื่ นที่เข้าตำแหน่งเพอื่ “จดั กรอบ”
ภาพที่ 95 เป็นตัวอย่างของการส่งบอลเข้าเล่นในแดนหลัง กรรมการตามจะข้ามไปที่เส้นข้าง
ด้านไกล เพ่ือดำเนินการส่งบอลเข้าเล่น ขณะที่มีการส่งบอลเข้าเล่น กรรมการนำจะอยู่ตำแหน่ง
ตามภาพที่ 95 และ “จดั กรอบ” ผู้เล่นทกุ คน
หลังจากจังหวะแรกที่กรรมการตามย่ืนบอลไปให้ผู้เล่นเพ่ือส่งบอลเข้าเล่น ให้เขาย้าย
ข้ามสนามแข่งขันไปอยู่ในตำแหน่งกรรมการตามปกติ และกรรมการนำจะกลับเข้าสู่ตำแหน่ง
กรรมการนำปกติ
หมายเหตุ : “การจัดกรอบ” ไม่ได้หมายความว่าให้กรรมการต้องอยู่เป็นแนวทแยงกับด้านตรงข้าม
ตลอดเวลา
คมู่ อื ผู้ตดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 147
ภาพท่ี 96 ภาพท่ี 97
ในภาพท่ี 96 และภาพที่ 97 กรรมการตอ้ งแนใ่ จว่าผู้เลน่ ทส่ี ่งบอลเขา้ เลน่ ยนื อยู่ ณ บรเิ วณ
ใกล้กับจุดที่ละเมิดกติกา เม่ือส่ิงกีดขวางใกล้เส้นเขตสนามมากกว่า 2 เมตร ผู้เล่นคนอื่นทุกคน
ในสนามแข่งขันสามารถมีสิทธิ์เข้าใกล้เส้นเขตสนามได้ตามที่ต้องการ ถ้าบริเวณท่ีลูกบอลออกนอกสนาม
มีพื้นที่ว่างจากส่ิงกีดขวางน้อยกว่า 2 เมตร ผู้เล่นของท้ังสองทีมต้องไม่เข้าไปอยู่ภายในระยะ
1 เมตร ของผสู้ ง่ บอลเขา้ เลน่
กรรมการทร่ี ับผดิ ชอบในการดำเนนิ การส่งบอลเขา้ เลน่ จะดแู ลสถานการณน์
้ี
148 คู่มือผตู้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอล
ภาพที่ 98
ภาพท่ี 99
ภาพท่ี 100 ภาพที่ 101
5.3 เวลา 24 วินาที : Twenty – four second clock
เวลา 24 วินาที จะหยุดเดนิ เมอ่ื ลูกบอลออกนอกสนามเสมอ
เม่ือลูกบอลออกนอกสนาม เวลา 24 วินาที จะไมต่ ้ังใหม่ เวลา 24 วนิ าที เดินต่อไป
จากเวลาทไ่ี ด้หยุดไวท้ ันทที ผี่ ู้เล่นสมั ผัสบอลอยา่ งถกู กตกิ า หรอื บอลดีถกู สัมผสั ในสนามแขง่ ขัน
ภาพที่ 98 ผู้เล่นฝ่ายป้องกันอยู่ในแดนหน้าของเขา ตั้งใจเตะลูกบอล ขณะเหลือเวลา
18 วินาที จาก 24 วินาที ถือเป็นการผิดระเบียบ ผลท่ีตามมากรรมการให้สัญญาณตั้งเวลา
24 วินาทีใหม่ไปยังผู้จับเวลา 24 วินาที (ภาพที่ 99) กรรมการจะต้องแน่ใจว่านาฬิกา 24 วินาที
แสดงเวลา “24” (ภาพท่ี 100) ก่อนยน่ื บอลใหก้ ับผู้เลน่ ทส่ี ่งบอลเข้าเล่น (ภาพที่ 101)
ในสถานการณ์อ่ืนท้ังหมด กรรมการจะต้องแน่ใจว่านาฬิกา 24 วินาที แสดงเวลา
ท่ีถูกต้องก่อนดำเนินการส่งบอลเข้าเล่นทุกครั้ง กล่าวคือ แสดงเวลาที่เหลืออย่างถูกต้องแม่นยำ
หรือตั้งเวลา 24 วนิ าที ใหม่เปน็ 14 วนิ าที ในแดนหน้า
คูม่ อื ผู้ตัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล 149
ภาพท่ี 102 ภาพท่ี 103
ภาพท่ี 104 ภาพท่ี 105
5.4 ลกู บอลกลับสแู่ ดนหลัง : Ball returned to the backcourt
ในภาพท่ี 102 และภาพท่ี 103 ผู้เล่นท่ีครอบครองบอลอยู่ในแดนหน้า ทำบอล
กลับแดนหลังของเขา ถือเป็นการผิดระเบียบ กรรมการตามท่ีรับผิดชอบเส้นกลางสนาม ต้องเป่า
นกหวีดของเขา ให้สัญญาณหยุดเวลาแข่งขันตามด้วยสัญญาณลูกบอลกลับสู่แดนหลัง และสัญญาณ
ทิศทางการเลน่
ข้อควรจำ : Remember
ลกู บอลกลับสแู่ ดนหลงั ของทีม เมอื่ :
1. ลกู บอลสมั ผสั แดนหลงั
2. ลูกบอลสัมผัสหรือถูกสัมผัสโดยผู้เล่นฝ่ายรุกอย่างถูกกติกาท่ีมีส่วนหนึ่งส่วนใด
ของร่างกายเขาสมั ผัสกบั แดนหลัง
3. ลกู บอลสัมผัสกรรมการท่ีมสี ่วนหน่งึ ส่วนใดของรา่ งกายเขาสัมผัสกับแดนหลัง
150 คู่มอื ผู้ตัดสินกฬี าบาสเกตบอล
6. สถานการณก์ ารยิงประตู : Shooting situations
ภาพที่ 106
ภาพที่ 107
6.1 ลกู บอลลอยอยู่ในอากาศ : Flight of the ball
กรรมการตามเป็นผู้รับผิดชอบอันดับแรกสำหรับลูกบอลท่ีลอยอยู่ในอากาศ
เขาต้องตัดสินใจ ถ้าหากว่าลูกบอลลงห่วงตาข่าย โดยให้สัญญาณคะแนนนับไปยังโต๊ะผู้บันทึกคะแนน
กรรมการนำมุ่งความสนใจไปท่ีสถานการณ์ที่ห่างจากลูกบอล อย่างไรก็ตาม กรรมการ
ทเ่ี รยี กฟาลว์ (กรรมการนำหรอื กรรมการตาม) จะเปน็ ผูต้ ัดสนิ ใจว่าคะแนนนับหรือไม่นับเสมอ
โดยไม่ต้องคำนึงถึงกรรมการที่เรียกฟาล์ว เป็นส่ิงสำคัญที่สุดที่กรรมการตามต้อง
ดูลูกบอลที่อยู่ในอากาศลอยไปยังห่วงตาข่ายในขณะท่ีมีผู้เล่นพัวพันอยู่กับสถานการณ์การฟาล์ว
ทีมที่ได้คะแนนจะต้องไม่ถ่วงเวลาการแข่งขัน โดยการขัดขวางการส่งบอลเข้าเล่นอย่างทันทีทันใด
ไม่มีความจำเป็นที่ผู้เล่นของทีมนั้นต้องไปสัมผัสบอล ทีมนั้นจะได้รับการเตือนไม่เกิน 1 คร้ัง
ยง่ิ ไปกวา่ นน้ั ในบางกรณี อาจจะเรยี กฟาลว์ เทคนิคตอ่ การถ่วงเวลาแข่งขันครง้ั แรกได้
ค่มู อื ผตู้ ดั สินกฬี าบาสเกตบอล 151
ภาพที่ 108
ภาพท
ี่ 109
6.2 การขดั ขวางลกู บอลลงห่วง และการรบกวนหว่ งตาข่าย :
Goal tending and Interference
กรรมการตามเป็นคนรับผิดชอบในการดูลูกบอลท่ีลอยอยู่ในอากาศระหว่าง
การยิงประตู และเขาต้องตัดสินใจเก่ียวกับการขัดขวางลูกบอลลงห่วง และการรบกวนห่วงตาข่าย
ระหว่างการยิงประตู 2 คะแนน ผู้เล่นฝ่ายป้องกันสัมผัสบอลในขณะท่ีลูกบอลลอยลงมา
และอยู่เหนือระดับของห่วงอย่างสมบูรณ์ก่อนลูกบอลสัมผัสห่วง หรือเป็นที่ชัดเจนว่าลูกบอลจะสัมผัสห่วง
กรรมการตามจะเป่านกหวีดของเขา และใหส้ ัญญาณ 2 คะแนน กับทีมที่ยิงประตู (ภาพท่ี 108)
กรรมการตามเป็นคนรับผิดชอบการขัดขวางลูกบอลลงห่วง และการรบกวน
ห่วงตาข่ายของฝ่ายรุกด้วยเช่นกัน ขณะการยิงประตูลูกบอลลอยลงมาอยู่เหนือระดับของห่วง
อย่างสมบูรณ์ ก่อนลูกบอลสัมผัสห่วง หรือเป็นท่ีชัดเจนว่าลูกบอลจะสัมผัสห่วง ผู้เล่นฝ่ายรุกไม่อาจ
สัมผัสบอล(ภาพที่ 109) กรรมการตามจะเป่านกหวีดของเขาเพื่อให้สัญญาณหยุดเวลาแข่งขัน
ยกเลกิ การเลน่ และใหส้ ัญญาณทิศทางการเลน่ ใหม่
152
คูม่ ือผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล
ภาพท่ี 110
ภาพท่ี 111
6.3 การพยายามยิงประตู 3 คะแนน : Three – point field goal attempts
กรรมการตามเป็นคนรับผิดชอบให้สัญญาณการพยายามยิงประตู 3 คะแนน ทั้งหมด
เขาจะดูเท้าของผู้ยิงประตู ให้แน่ใจว่าการพยายามยิงประตูได้ยิงจากพ้ืนที่การยิงประตู 3 คะแนน
เมื่อตัดสินว่าเป็นการพยายามยิงประตู 3 คะแนนแล้ว กรรมการตามจะยกแขนข้างหน่ึงข้ึน
พร้อมดว้ ยน้ิวมอื 3 นิ้ว: น้ิวหวั แมม่ อื นิ้วช้ี และน้ิวกลาง (ภาพที่ 110)
ถ้าการพยายามยิงประตู 3 คะแนน เป็นผลสำเร็จ กรรมการตามจะยืนยันได้รับ
3 คะแนน โดยการยกแขนทงั้ สองขา้ งขึน้ พรอ้ มด้วย นิว้ มือ 3 น้วิ ของมอื แตล่ ะขา้ ง (ภาพท่ี 111)
กรรมการตามจะคงสัญญาณนี้ไว้ จนเขาม่ันใจว่า ผู้บันทึกคะแนนมีเวลาพอในการรับรู้
สัญญาณการยิงประตู 3 คะแนน เปน็ ผลสำเร็จเปน็ เรือ่ งสำคญั ทีก่ รรมการตามตอ้ งไม่หนั หลงั ใหก้ ับ
การเลน่ ในขณะที่เขาเคลอื่ นที่จากตำแหน่งตามไปยงั ตำแหนง่ นำ
คู่มอื ผู้ตัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล 153
ภาพท่ี 112
ภาพท
่ี 113
กรรมการตามไม่สามารถมองเห็นการพยายามยิงประตู 3 คะแนน อย่างชัดเจนได้ทุกครั้ง
โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกรณี การพยายามยิงประตูในมุมท่ีไกลออกไปจากเขามาก (พื้นท่ีสี่เหลี่ยมที่ 4)
เปน็ ความรับผดิ ชอบของกรรมการนำท่อี ยู่ใกลก้ ารเลน่ ที่จะชว่ ยคูร่ ่วมตัดสนิ ของเขา
เม่อื มีการพยายามยิงประตู 3 คะแนน กรรมการนำจะยกแขนข้างหนงึ่ ขน้ึ พรอ้ มด้วยนิ้วมือ
3 นิ้ว สัญญาณนีต้ อ้ งเปน็ ทร่ี ับรแู้ ละทำซำ้ โดยกรรมการตาม (ภาพท่ี 112)
ถา้ การพยายามยงิ ประตู 3 คะแนน เปน็ ผลสำเรจ็ ใหก้ รรมการตามคนเดียวเทา่ น้นั ยืนยัน
การให้คะแนนไปยังผู้บันทึกคะแนน โดยยกแขนท้ังสองข้างข้ึนพร้อมด้วยนิ้วมือ 3 นิ้วของมือ
แตล่ ะขา้ ง (ภาพท่ี 113)
การทำงานรว่ มกนั อยา่ งใกลช้ ดิ ระหวา่ งกรรมการท้ังสองคน เปน็ สงิ่ จำเปน็ ท่ีสำคญั ทส่ี ุด
ถ้าการพยายามได้กระทำโดยผู้เล่นท่ียืนคร่อมเส้นระหว่างพื้นที่สี่เหลี่ยมท่ี 3 กับพื้นที่
ส่เี หลย่ี มท่ี 4 กรรมการตามต้องตัดสนิ การเลน่ นี้จากตรงกลางสนาม
154 คูม่ ือผู้ตัดสินกฬี าบาสเกตบอล
ภาพที่ 114 ภาพที่ 115
ภาพท่ี 116 ภาพที่ 117
ภาพท่ี 114 แสดงตัวอย่าง ซึ่งกรรมการคนหนึ่งจะให้สัญญาณแรกในการพยายามยิง
ประตู 3 คะแนน กรรมการตามรับผดิ ชอบพนื้ ที่แรเงา และกรรมการนำรบั ผดิ ชอบพ้ืนท่เี สน้ ลาย
ตำแหน่งของผู้เล่นฝ่ายป้องกัน และตำแหน่งของผู้ยิง 3 คะแนน รวมท้ังมุมมองของ
กรรมการสองคน ซึ่งกรรมการจะตัดสินใจให้สัญญาณการพยายามยิงประตูเป็นอันดับแรก
(ภาพท่ี 115 และภาพท่ี 116)
การทำงานร่วมกันท่ีดีและการสื่อสารด้วยสายตาอย่างใกล้ชิดระหว่างกรรมการท้ังสองคน
เป็นสิ่งจำเป็นที่สำคัญที่สุดสำหรับการพยายามยิงประตู 3 คะแนนทุกครั้ง รวมถึงการพยายาม
ยงิ ประตูใกล้เสน้ 3 คะแนน
บางครั้งในกรณีการพยายามยิงประตู 2 คะแนน ท่ีใกล้กับเส้น 3 คะแนน กรรมการตาม
สามารถใหส้ ญั ญาณด้วยน้ิวมอื 2 นวิ้ ไปยงั ผบู้ ันทึกคะแนนได้ทนั ที หากการยงิ ประตูน้ีเปน็ ผลสำเรจ็
ให้นับ 2 คะแนน (ภาพท่ี 117) วิธีนี้สามารถหลีกเล่ียงแรงกดดันที่เพิ่มขึ้นจากผู้ชม ผู้ฝึกสอน
และผู้เลน่ เส้น 3 คะแนน ไมไ่ ด้เป็นสว่ นหนงึ่ ของเขตยิงประตู 3 คะแนน
คู่มอื ผ้ตู ดั สินกีฬาบาสเกตบอล 155
ภาพที่ 118 ภาพที่ 119
6.4 ส้ินสดุ เวลาการแขง่ ขนั สำหรับชว่ งการเลน่ หรอื ชว่ งต่อเวลาพิเศษ
: End of playing time for a period or extra period
การพยายามยิงประตูเมื่อใกล้สิ้นสุดเวลาการแข่งขันสำหรับช่วงการเล่น หรือช่วงต่อ
เวลาพิเศษ สามารถสร้างความยุ่งยากให้กับกรรมการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเม่ือมีผู้ชมเป็นจำนวนมาก
และสัญญาณไม่สามารถได้ยินอย่างชัดเจน การตัดสินใจควรกระทำอย่างรวดเร็วเท่าที่เป็นไปได้
กรรมการตามเป็นคนแรกท่ีรับผิดชอบในการแสดงสัญญาณคะแนนนับหรือไม่นับ ตามปกติ
ถ้ากรรมการนำเป็นผู้ตัดสิน เขาจะยอมรับการพิจารณาของคู่ร่วมตัดสินของเขา และควรทำทุกส่ิง
ทุกอย่างเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ช่วงเวลา 24 วินาที หรือน้อยกว่าของเวลาการแข่งขัน
ในช่วงการเล่น หรือช่วงต่อเวลาพิเศษ กรรมการตามจะให้สัญญาณว่าการเล่นคร้ังน้ีอาจเป็นครั้ง
สุดท้ายในช่วงการเล่น ด้วยการยกแขนข้างหนึ่งข้ึนตรง และชูน้ิวชี้ของเขาให้กรรมการตามแสดง
สัญญาณนี้จนกระท่ังกรรมการนำให้สัญญาณตอบกลับ อย่างไรก็ตาม มีโอกาสที่สถานการณ์อาจไม่
ชดั เจน กรรมการสองคนต้องปรกึ ษากัน กอ่ นทผี่ ตู้ ัดสินจะตัดสินใจครั้งสดุ ท้าย หากจำเป็นตอ้ งปรกึ ษา
หารือมากกว่านี้ ผู้ตัดสินอาจปรึกษาผู้ช่วยผู้ตัดสิน เจ้าหน้าที่ควบคุมการแข่งขัน ถ้ามี และ/หรือ
กรรมการโตะ๊ อยา่ งไรกต็ าม ผตู้ ัดสนิ จะเป็นคนตัดสนิ ใจครง้ั สุดทา้ ย
156 คมู่ อื ผู้ตดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล
7
. สญั ญาณและขัน้ ตอนการปฏบิ ัติ : Signals and Procedures
7.1 สญั ญาณ : Signals
ขณะท่ีการแข่งขันเป็นท่ีน่าสนใจเพิ่มขึ้น ประกอบกับผู้ชมท่ีมากขึ้น และการเสนอข่าว
ของสอ่ื มวลชนมีมากยงิ่ ข้ึน เป็นสงิ่ สำคัญอยา่ งยงิ่ ที่กรรมการต้องมีรูปแบบวธิ ีการทถี่ ูกต้อง เท่ยี งตรง
และชัดเจน เมื่อเขาให้สัญญาณขณะแข่งขัน เป็นเรื่องจำเป็นที่กรรมการต้องแสดงสัญญาณ
อย่างชัดเจนไปถงึ ทกุ คนทเ่ี ก่ยี วข้องกับการแข่งขัน รวมถึงผูช้ ม ไมว่ า่ มีบทบาทเชน่ ใด
1. ต้องใชส้ ัญญาณที่เปน็ ทางการของสหพันธบ์ าสเกตบอลนานาชาติ : FIBA เท่านั้น
2. การผิดระเบียบหรือการฟาล์วทุกคร้ัง เสียงนกหวีดต้อง ดัง คม ควรจะเป่าครั้งเดียว
เท่าน้นั และชัดเจน
3. การปฏบิ ัติจะเนน้ มากกวา่ การพูด และเสียงพูดควรจะใชเ้ มอ่ื จำเป็นเท่านนั้
4. สัญญาณควรดำเนินไปอย่างชดั เจน และกระชับได้ใจความ มีจังหวะ ในขณะทสี่ ่งิ เหล่านี้
จะส่งเสริมกรรมการในการนำเสนอการให้สัญญาณ ไม่มีความจำเป็นสำหรับการพูด
การกระทำท่อี อกท่าทางมากเกนิ ไป
5. สญั ญาณให้หยดุ เวลาแข่งขันตอ้ งชดั เจนเปน็ อย่างยง่ิ
กรรมการต้องหยุดเวลาแข่งขันด้วยการเหยียดแขนตรงข้ึนไป พร้อมกับกำหมัดให้แน่น
สำหรับการฟาล์ว เปิดฝ่ามือพร้อมกับน้ิวชิดติดกันสำหรับการผิดระเบียบ
หรอื สญั ญาณสำหรบั การฟาล์วเทคนิค การฟาล์วผดิ วสิ ยั นกั กีฬา หรือการฟาลว์ เสียสทิ ธ์ิ
หรอื สถานการณ์ลูกกระโดด
6. สัญญาณทง้ั หมดทแ่ี สดงไปยงั ผูบ้ นั ทึกคะแนน ตอ้ ง :
1) อยู่ในตำแหน่งโดยประมาณ 6 – 8 เมตร จากโต๊ะผู้บันทึกคะแนน เวลาแข่งขัน
หยดุ เดนิ ดังนัน้ ไมม่ คี วามจำเป็นตอ้ งเร่งรีบใหส้ ญั ญาณ
2) ใหส้ ัญญาณอยใู่ นระดบั สายตา และห่างจากลำตัว
3) ตอ่ ไปเป็นการลำดับการแสดงสัญญาณการฟาล์ว :
1. หมายเลขของผู้เล่น
2. ชนดิ ของการฟาลว์
3. จำนวนครั้งของการโยนโทษ หรือทศิ ทางการเล่น
หมายเหต ุ การนับเป็นคะแนน หรือการยกเลิกคะแนนต้องกระทำก่อนแสดงสัญญาณ
ดังกลา่ วดา้ นบน
คู่มอื ผ้ตู ัดสินกฬี าบาสเกตบอล 157
7. สำหรับการเฝ้าดู การป้องกันแบบประชิด การส่งบอลเข้าเล่น และการดำเนินการ
โยนโทษ และ 8 วินาที กรรมการที่รับผิดชอบการเล่นจะต้องแสดงการนับท่ีชัดเจน
(สัญญาณกรรมการ ลำดับท่ี 14)
คุณภาพของสัญญาณกรรมการจะเพ่ิมภาพลักษณ์ของเขาในฐานะกรรมการ มันจะบอก
ไดว้ ่าเขาเขา้ ใจในภาระงานของเขา และปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ไดเ้ ปน็ อย่างด
ี
สัญญาณทีถ่ กู ตอ้ งชดั เจนจะแสดงความนา่ เชอ่ื ถอื ของกรรมการ
ภาพที่ 120
ภาพท่ี 121
ภาพที่ 123
ภาพท่ี 122
7.2 การผิดระเบยี บ : Violations
เมื่อไรกต็ ามท่เี กดิ การผดิ ระเบียบขึน้ กรรมการทร่ี ับผดิ ชอบสำหรบั การเลน่ ต้อง :
1. เป่านกหวีด 1 ครั้ง และหยุดเวลาแข่งขันในเวลาเดียวกัน พร้อมกับยกแขน
เหยยี ดข้นึ ตรง (ไม่งอแขน) เปิดฝ่ามอื และนวิ้ ชดิ ติดกัน (ภาพที่ 120)
2. แสดงชนิดของการผิดระเบียบให้ชัดเจน (ภาพท่ี 121 – การพาบอลเคลื่อนท่ี)
ไมเ่ ปน็ การผิดระเบียบเมอ่ื ลูกบอลออกนอกสนาม
3. แสดงทิศทางการเล่นอย่างชัดเจน โดยใช้แขนข้างเดียวกัน ดังท่ีแสดงไว
้
(ภาพท่ี 122)
4. ในทุกสถานการณ์ กรรมการที่ดำเนินการส่งบอลให้ย่ืนบอลหรือส่งบอล
กระดอนพื้น (ภาพที่ 123)
158 คู่มอื ผตู้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล
5. ลำดบั การแสดงสญั ญาณสำหรับการผดิ ระเบียบ :
1) หยดุ เวลาแขง่ ขนั
2) ชนดิ การผดิ ระเบยี บ
3) ทิศทางการเลน่
ภาพที่ 124
ภาพท่ี 125
7.3
การฟาลว์ : Fouls
เม่อื ไรก็ตามที่เกิดการฟาลว์ ขนึ้ กรรมการที่รับผิดชอบสำหรับการเล่น ต้อง :
1. เป่านกหวีด 1 คร้ัง เป็นผลให้หยุดเวลาแข่งขันในเวลาเดียวกัน พร้อมกับ
ยกแขนเหยียดข้ึนตรง(ไม่งอแขน) และกำหมัดใหแ้ น่น (ภาพท่ี 124)
2. ต้องแน่ใจว่าผู้เล่นรับทราบว่าเขาเป็นคนกระทำฟาล์ว โดยการช้ีไปที่เอวของเขา
ด้วยแขนท่ีเหยียดตรงคว่ำฝ่ามือหาพื้น ในสถานการณ์ท่ีมีการโยนโทษ
ให้สัญญาณจำนวนคร้งั ของการโยนโทษด้วย
3. วิ่ง ไปยังโต๊ะผู้บันทึกคะแนน และหยุดอยู่ในตำแหน่งท่ีผู้บันทึกคะแนนมองเห็น
อย่างชัดเจน และมุมมองของผู้บันทึกคะแนนไม่ถูกขวางกั้น โดยประมาณ
6 – 8 เมตร จากโตะ๊ ผูบ้ ันทกึ คะแนน
4. รายงานสัญญาณทั้งหมดขณะท่ีกำลังยืนน่ิง ให้สัญญาณหมายเลขของผู้เล่น
ผู้ท่ีได้ทำฟาล์วอย่างชัดเจน และอย่างช้า ๆ ควรแสดงสัญญาณ “ติดค้าง”
คู่มอื ผูต้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 159
ต่อเน่ืองกันช่ัวขณะหน่ึง และที่สำคัญคือผู้บันทึกคะแนนต้องบันทึกหมายเลข
ไดถ้ ูกต้อง
5. ต่อจากน้ัน ให้แสดงชนิดของการฟาล์ว
6. เสร็จสิ้นขั้นตอนการส่ือสาร เมื่อแสดงจำนวนคร้ังของการโยนโทษ หรือทิศทางการเล่น
และวิง่ ไปยงั ตำแหน่งต่อไปดงั ท่ีแสดงไว้
7. ตามหลักการแล้ว เม่ือเสร็จสิ้นการให้สัญญาณ ให้กรรมการ 2 คน เปลี่ยน
ตำแหนง่ กนั
7.4 การสลับตำแหน่งภายหลงั การฟาล์ว : Switching after fouls
ภายใต้สภาวะปกติ กรรมการจะสลบั (เปล่ียน) ตำแหนง่ ภายหลังการฟาล์ว อย่างไรกต็ าม
กรรมการจะไม่เปลีย่ นตำแหนง่ ถา้ :
• ฝ่ายรุกถูกเรียกฟาล์วโดยกรรมการนำ กล่าวคือ หลังจากรายงานการฟาล์ว
ไปยังโต๊ะผบู้ นั ทกึ คะแนน เขาจะเปลีย่ นเป็นกรรมการตามคนใหม่ และกรรมการตาม
จะเปลยี่ นเปน็ กรรมการนำคนใหม่ที่เสน้ หลงั ดา้ นตรงข้าม
• ฝ่ายรับถูกเรียกฟาล์วโดยกรรมการตาม กล่าวคือ หลังจากรายงานการฟาล์ว
ไปยังโต๊ะผู้บันทึกคะแนน เขาจะยังคงเป็นกรรมการตาม และกรรมการนำจะยังคง
เป็นกรรมการนำที่เส้นหลัง
ภาพที่ 126 ภาพท่ี 127
ภาพท
่ี 128
160 ค่มู อื ผ้ตู ดั สินกฬี าบาสเกตบอล
7.5 การฟาล์วทีมครอบครองบอล : Team control foul
ผู้เล่นฝ่ายรุกท่ีกำลังเล้ียงบอลชนผู้เล่นฝ่ายป้องกันท่ีอยู่ในตำแหน่งการป้องกัน
ทถ่ี กู ต้อง (ภาพที่ 126 และภาพท่ี 127)
กรรมการท่ีรับผิดชอบสำหรับบอลในพ้ืนที่ครอบคลุมเป่านกหวีด และในเวลาเดียวกัน
ยกกำหมัดเป็นแนวตรงขึ้นบนอากาศ เพื่อหยุดเวลาแข่งขันในทันทีทันใด หลังจากให้สัญญาณฟาล์ว
บุคคล กรรมการให้สัญญาณฟาล์วทีมครอบครองบอล ด้วยการกำหมัดช้ีทิศทางไปยังห่วงตาข่าย
ของทมี ทก่ี ระทำฟาล์ว (ภาพที่ 128)
ภาพท่ี 129 ภาพท่ี 130
ภาพท
่ี 131
กรรมการท่ีเรียกฟาล์ว ให้ว่ิงไปยังตำแหน่งที่ว่างจากผู้เล่น โดยประมาณ 6 – 8 เมตร
จากโตะ๊ ผู้บันทึกคะแนน เพื่อรายงานการฟาล์ว
เขาแสดงหมายเลขของผู้เลน่ ในกรณีน้เี ป็นหมายเลข 7 (ภาพท่ี 129) และแสดงสญั ญาณ
การชนพรอ้ มลูกบอล (ภาพท่ี 130)
ลำดับข้ันตอนสุดท้ายคือ แสดงทิศทางการเล่นใหม่ โดยการใช้สัญญาณฟาล์วทีม
ครอบครองบอล (ภาพท่ี 131)
คมู่ ือผู้ตดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 161
ภาพที่ 132
ภาพท่ี 133 ภาพที่ 134
7.6 การฟาล์ว และการยงิ ประตเู ป็นผลสำเร็จ : Foul and successful field goal
ผเู้ ลน่ กระทำฟาล์วในขณะกำลงั ยิงประตู และการยิงประตูเป็นผลสำเร็จ (ภาพที่ 132)
กรรมการนำเป่านกหวดี ของเขา เปน็ ผลให้หยุดเวลาการแข่งขัน (ภาพที่ 133)
ต่อจากน้ัน เขาต้องแสดงสัญญาณไปยังทุกคนที่เก่ียวข้องในการแข่งขัน รวมทั้งผู้ชม
ว่าเป็นการพยายามยิงประตูและได้คะแนนหรือไม่ ต้องให้สัญญาณนี้เป็นอันดับแรก เพ่ือหลีกเลี่ยง
แรงกดดนั จากผชู้ ม ผู้ฝกึ สอน และผเู้ ลน่ (ภาพที่ 134)
ถ้ากรรมการท่ีเรียกฟาล์ว ไม่แน่ใจว่าลูกบอลลงห่วงตาข่าย เขาต้องขอคำยืนยัน
ข้อเท็จจริงกับคู่ร่วมตัดสินของเขา โดยใช้วิธีการตามที่กำหนดร่วมกันในการประชุมก่อนแข่งขัน
การตัดสินใจคร้ังสุดท้ายว่า การยิงประตูนั้นนับคะแนนหรือไม่นับคะแนน จะตัดสินใจโดย
กรรมการท่เี รยี กฟาล์ว
162 คู่มือผู้ตัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล
ภาพท่ี 135 ภาพท่ี 136
ภาพที่ 137 ภาพท่ี 138
กรรมการวงิ่ ไปยังตำแหน่งท่ีวา่ งจากผู้เล่น โดยประมาณ 6 – 8 เมตร จากโต๊ะผู้บนั ทึกคะแนน
และหยุดจากตำแหน่งซึ่งหยุดน่ิงน้ี อันดับแรกให้เขายืนยันว่าการยิงประตูนับเป็นคะแนนในภาพที่
135 กรรมการแสดงสัญญาณ ให้ 2 คะแนน แกท่ มี ที่ยงิ ประตู หลังจากนั้น กรรมการแสดงหมายเลข
ของผู้เล่นที่กระทำฟาล์ว (ภาพท่ี 136) และชนิดของการฟาล์ว : การดึง (ภาพที่ 137)
จนเสร็จสนิ้ ข้ันตอนปฏิบัตกิ ารรายงาน กรรมการแสดงสัญญาณให้โยนโทษ 1 ครั้ง (ภาพท่ี 138)
ค่มู ือผู้ตัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล 163
ภาพท่ี 139
7.7 การฟาล์วคู่ : Double foul
กรรมการเป่านกหวีดเรียกฟาล์ว และให้สัญญาณการฟาล์วคู่ในเวลาเดียวกัน
(ภาพที่ 139)
ภาพที่ 140
กรรมการวง่ิ ไปยังตำแหน่งที่วา่ งจากผูเ้ ล่น โดยประมาณ 6 – 8 เมตร จากโตะ๊ ผู้บันทกึ คะแนน
ต่อจากนั้นเขาให้สัญญาณทีมแรกโดยชี้ไปทางที่น่ังของทีม แล้วแสดงหมายเลขของผู้เล่น(6)
ในสถานการณ์นี้ มีความสำคัญเป็นอย่างย่ิงท่ีผู้บันทึกคะแนนจะต้องบันทึกหมายเลขของผู้เล่น
ให้ถูกต้อง หลังจากนั้น เขาให้สัญญาณทีมที่สอง โดยช้ีไปทางที่นั่งของทีม แล้วแสดงหมายเลข
ของผู้เล่น (7)
164 ค่มู ือผตู้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล
สุดท้าย กรรมการจะแสดงสัญญาณเกิดสถานการณ์ลูกกระโดด ติดตามด้วยสัญญาณ
ทศิ ทางการเล่น
ภาพท่ี 141 ภาพที่ 142
ภาพท
่ี 143
7.8 ตำแหนง่ ของกรรมการภายหลังการฟาล์ว :
Positioning of officials after a foul
การฟาล์วกระทำโดยผู้เล่นฝ่ายป้องกันต่อฝ่ายตรงข้าม ซ่ึงกำลังส่งบอล กรรมการตาม
เป่านกหวีดของเขา และให้สัญญาณฟาล์วด้วยการยกแขนขึ้นตรงและกำหมัด(ภาพท่ี 141)
กรรมการนำ(ไม่ได้เรียกฟาล์ว)ต้องยืนนิ่งรออยู่ช่ัวระยะหน่ึง และมุ่งความสนใจไว้ท่ีผู้เล่นในสนามแข่งขัน
เขาเป็นกรรมการคนเดียวเท่านั้นในช่วงเวลานี้ท่ีจะสังเกตการณ์ผู้เล่น เน่ืองจากกรรมการ
ทเี่ รียกฟาล์วกำลังรายงานการฟาลว์ ต่อผู้บนั ทกึ คะแนน (ภาพที่ 142)
กรรมการจะไม่เปลยี่ นตำแหน่ง (ภาพที่ 143)
คู่มอื ผู้ตดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 165
ภาพที่ 144 ภาพที่ 145
ภาพที่ 146 ภาพที่ 147
การฟาล์วกระทำโดยผู้เล่นฝ่ายป้องกันต่อฝ่ายตรงข้ามในท่ากำลังยิงประตู การพยายาม
ไมเ่ ป็นผลสำเรจ็ (ภาพที่ 144 และ ภาพท่ี 145)
กรรมการนำ ซึ่งเป็นคนรับผิดชอบบอลในพ้ืนท่ีครอบคลุม เป่านกหวีดของเขาสำหรับ
การฟาลว์ ของฝ่ายป้องกนั
กรรมการตาม(ไม่ได้เรียกฟาล์ว)ต้องยืนน่ิงรออยู่ช่ัวระยะหน่ึง และมุ่งความสนใจไว้ท
่ี
ผเู้ ล่นในสนามแขง่ ขนั (ภาพท่ี 145 และ ภาพที่ 146)
ทันทีท่ีคู่ร่วมตัดสินของเขาเร่ิมต้นรายงานการฟาล์ว กรรมการตามจะเคลื่อนที่ไปยัง
ตำแหน่งนำใหมข่ องเขา ในกรณีทีเ่ ส้นหลงั สายตายังคงอยู่ที่ผู้เลน่ (ภาพที่ 147) กรรมการนำจะกลาย
เป็นกรรมการตามคนใหม
่
กรรมการนำคนใหมร่ ับผดิ ชอบการดำเนินการโยนโทษทั้งหมด
166 คู่มอื ผ้ตู ัดสินกีฬาบาสเกตบอล
ภาพท่ี 148
การฟาล์วทีมครอบครองบอล เกิดข้ึนในท่ีอ่ืนห่างจากลูกบอล กรรมการตามซ่ึงรับผิดชอบ
ในการเลน่ เปา่ นกหวีดของเขาสำหรับการฟาล์วของฝ่ายรกุ และรายงานการฟาลว์ ไปยังโต๊ะผู้บนั ทกึ คะแนน
กรรมการนำยืนน่ิงรออยู่ช่ัวระยะหนึ่ง และสังเกตการณ์ผู้เล่น หลังจากคู่ร่วมตัดสินสิ้นสุดการรายงาน
การฟาลว์ พวกเขาจะเปลยี่ นตำแหน่งกนั
คมู่ อื ผ้ตู ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 167
ภาพที่ 149
7.9 การเรียก (calling) พร้อมกันของกรรมการทั้งสองคน : Both officials
c
alling
สภาวะที่อาจมีโอกาสให้กรรมการเป่านกหวีดในเวลาเดียวกันโดยประมาณ
(เสียงนกหวีดพร้อมกัน) เม่ือใดท่ีเกิดสภาวะนี้ กรรมการทั้งสองคนจะต้องสื่อสารด้วยสายตาซึ่งกัน
และกนั โดยทันที เพือ่ ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริงในการเรียกฟาลว์ การทำงานร่วมกนั อยา่ งใกล้ชิดระหวา่ ง
กรรมการทง้ั สองคนเป็นปจั จยั ที่สำคัญเปน็ อย่างยงิ่
ในกรณีนี้ กรรมการทั้งสองคนเป่านกหวีดของเขาสำหรับการฟาล์วฝ่ายป้องกัน
เพื่อหลีกเล่ียงคำตัดสินที่ขัดแย้งกันระหว่างกรรมการท้ังสองคน กรรมการที่อยู่ใกล้ที่สุด หรือกรรมการ
ทห่ี นั ไปทางการเลน่ ทมี่ ีการเคลือ่ นท่ี เปน็ ผ้รู บั ผิดชอบการเรยี กฟาล์ว ขณะท่กี ารฟาลว์ นี้ไดเ้ กิดขึ้นใกล้
กับกรรมการตาม เขาเปน็ ผู้รายงานการฟาลว์ กรรมการนำจะสงั เกตผเู้ ล่นทงั้ หมด ในขณะทกี่ รรมการตาม
กำลังรายงานการฟาล์วไปยงั โตะ๊ ผู้บนั ทกึ คะแนน กรรมการท้ังสองคนจะไมเ่ ปลีย่ นตำแหนง่ กัน
168 คูม่ อื ผูต้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล
ภาพท่ี 150
กรรมการสองคนเป่านกหวีดของพวกเขาสำหรับการฟาล์วของฝ่ายป้องกันในเวลาเดียวกัน
โดยประมาณ ไม่เป็นที่ชัดเจนว่ากรรมการคนใดอยู่ใกลส้ ถานการณท์ ่ีสดุ
กรรมการที่หันไปทางการเล่นที่มีการเคล่ือนที่ เป็นผู้รับผิดชอบการเรียกฟาล์ว เว้นแต่ว่า
กรรมการอกี คนได้สงั เกตเหน็ การฟาลว์ อนื่ หรอื การผิดระเบยี บ ทม่ี ีมากอ่ นเสียงนกหวดี พรอ้ มกนั
ในกรณีนี้ กรรมการตามจะรับผิดชอบสำหรับการรายงานการฟาล์ว อีกคร้ังหน่ึง
การส่ือสารด้วยสายตาระหว่างกรรมการเป็นสิ่งสำคัญท่ีสุด การทำงานร่วมกันอย่างดี
เป็นคุณลักษณะของกรรมการทุกคนที่ควรพยายามปฏิบัติให้ได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิง เมื่อมีเสียง
นกหวดี พรอ้ มกนั ในการเลน่ เดยี วกันอีกครัง้ ใหก้ รรมการนำเฝ้าดผู เู้ ลน่ เม่ือครู่ ่วมตัดสนิ เริ่มต้นรายงาน
ตามข้ันตอนการปฏิบัติ กรรมการท้งั สองคนจะไมเ่ ปล่ียนตำแหนง่ กนั
ค่มู อื ผ้ตู ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 169
8. สถานการณ์การโยนโทษ : Free-throw Situations
ภาพที่ 151
ภาพท่ี 152
8.1 กรรมการตาม : Trail official
การลงโทษด้วยการโยนโทษ อนั เนอื่ งจากมีการเรียกฟาลว์
กรรมการตามคนใหม่เคลอ่ื นท่ไี ปยังตำแหน่งแนวเสน้ โยนโทษตัดกับเส้น 3 คะแนน
ด้านซ้ายมือของผู้โยนโทษทันทีทกี่ รรมการนำ ไดเ้ สรจ็ สน้ิ การให้สญั ญาณจำนวนครงั้ ของการโยนโทษต่อผเู้ ล่น
เขาจะกลายเป็นกรรมการตามคนใหม่ และให้สัญญาณจำนวนคร้ังของการโยนโทษ โดยการยกแขน
ทั้งสองขึน้ (ภาพที่ 152)
กรรมการตามเปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบ สำหรบั :
1. คอยดผู โู้ ยนโทษ
2. คอยดูผ้เู ล่นแนวด้านตรงข้ามของเขตโยนโทษ
3. นับเวลา 5 วนิ าท
ี
4. คอยดูลกู บอลท่ีลอยอยใู่ นอากาศและลกู บอลบนหว่ ง
5. ยืนยันการได้คะแนน ถา้ การโยนโทษเปน็ ผลสำเร็จ
170 คู่มอื ผ้ตู ัดสินกีฬาบาสเกตบอล
ภาพท่ี 153
ภาพที่ 154
8.2 กรรมการนำ : Lead official
กรรมการนำอยู่ในตำแหน่งใต้ห่วงตาข่าย พร้อมกับลูกบอลในมือของเขา จากน้ัน
ดำเนินการโยนโทษทงั้ หมดจากตำแหน่งนี้
เมื่อผู้เล่นยืนเป็นแถวอย่างถูกต้อง เขาเข้าไปในเขตโยนโทษและให้สัญญาณจำนวนคร้ัง
ของการโยนโทษ (ภาพที่ 153) จากนนั้ ใหม้ องไปที่โตะ๊ ผู้บนั ทกึ คะแนน แลว้ จึงสง่ บอลกระดอนพืน้ ไป
ให้ผู้โยนโทษ (ภาพท่ี 154) กรรมการนำเป็นคนรับผิดชอบเก็บบอลหลังจากการโยนโทษแต่ละคร้ัง
ภายหลังการโยนโทษแต่ละคร้ัง เขาจะอยู่ที่ตำแหน่งห่างจากห่วงตาข่ายที่ด้านหลังเส้นหลัง
โดยเท้าขา้ งหน่ึงอยู่ท่ดี ้านใดด้านหน่ึงของแนวเสน้ เขตโยนโทษ ไมต่ อ้ งยกแขน
หลังจากท่ีลูกบอลออกจากมือผู้โยนโทษในการโยนโทษคร้ังสุดท้ายหรือคร้ังเดียว
เขาควรจะก้าวเท้าไปทางดา้ นขวาเพอื่ ให้ไดม้ ุมมองทดี่ กี ว่าขณะมกี ารแยง่ บอล
กรรมการนำเปน็ ผ้รู บั ผิดชอบ สำหรบั :
1. คอยดผู ู้เล่นแนวดา้ นตรงขา้ มของเขตโยนโทษ
2. มองดูสถานการณ์การปะทะกันและการผิดระเบียบที่อาจเกิดข้ึนในขณะโยนโทษ
โดยผูเ้ ล่นเข้าไปในเขตโยนโทษก่อนลกู บอลออกจากมือของผ้โู ยนโทษ
คมู่ อื ผตู้ ดั สินกฬี าบาสเกตบอล 171
หมายเหต ุ ทันทีที่ลูกบอลอยู่ท่ีผู้โยนโทษเพื่อโยนโทษครั้งแรกหรือคร้ังเดียว การเปล่ียนตัว
หรือการขอเวลานอกจะไม่อนุญาต ยกเว้น การโยนโทษครั้งสุดท้าย หรือครั้งเดียวเป็นผลสำเร็จ
หรือการโยนโทษครั้งสุดท้ายหรือครั้งเดียว ที่ติดตามด้วยการครอบครองบอลด้วยการส่งบอลเข้าเล่น
ณ
แนวเสน้ ก่ึงกลางสนาม ดา้ นตรงข้ามโต๊ะผูบ้ ันทกึ คะแนน
ภาพท่ี 155 ภาพที่ 156
ภาพที่ 157
8.3 การโยนโทษโดยไม่มีผู้เลน่ เรยี งแถว :
Free – throw without line up of players
สำหรับการฟาล์วเทคนิค(ภาพที่ 155) การฟาล์วผิดวิสัยนักกีฬา หรือการฟาล์ว
เสียสิทธิ์ทั้งหมด บทลงโทษคือ การโยนโทษ และการครอบครองบอลด้วยการส่งบอลเข้าเล่น
ณ แนวเส้นกง่ึ กลางสนามดา้ นตรงขา้ มโต๊ะ ผูบ้ นั ทกึ คะแนน
ดังนั้นเป็นไปไม่ได้ท่ีจะมีสถานการณ์การแย่งบอลเมื่อการโยนโทษเสร็จส้ิน ผู้เล่น
จงึ ไม่ต้องยนื เรียงแถวตามแนวเขตโยนโทษ(ภาพท่ี 156)
กรรมการท่ีไม่ได้เรียกฟาล์ว เป็นคนรับผิดชอบสำหรับการดำเนินการโยนโทษ
กรรมการที่เรียกฟาล์ว ยืนใกล้แนวเส้นก่ึงกลางสนามด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึกคะแนน พร้อมดำเนินการ
ส่งบอลเข้าเล่นทันทีท่ีการโยนโทษเสร็จส้ิน ผู้เล่นที่ส่งบอลเข้าเล่นจะมีเท้าข้างหนึ่งอยู่ท่ีด้านใด
ด้านหน่ึงของแนวเส้นเขตโยนโทษ และมีสิทธ์ิส่งบอลไปยังเพื่อนร่วมทีม ณ บริเวณใดก็ได
้
ในสนามแข่งขนั (ภาพที่ 157)
172 คมู่ อื ผตู้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล
9. เวลานอก และการเปล่ียนตวั : Time – out and Substitutions
เมื่อใดก็ตามที่ทีมร้องขอเวลานอก ผู้บันทึกคะแนนจะให้สัญญาณไปยังกรรมการ
โดยการให้สัญญาณเสียง เมื่อบอลกลายเป็นบอลตาย เวลาการแข่งขันหยุด และหากว่ากรรมการ
กำลังรายงานการฟาลว์ ได้สิ้นสดุ การสอื่ สารกับโตะ๊ ผบู้ ันทกึ คะแนน
กรรมการที่อยู่ใกล้โต๊ะผู้บันทึกคะแนนที่สุดเป่านกหวีดของเขาและให้สัญญาณเวลานอก
จากนั้น กรรมการเคล่ือนที่ไปยังตำแหน่งของพวกเขาด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึกคะแนน
(ภาพท่ี 159) เพื่อเฝ้าดูผู้เล่น การเปลี่ยนตัว และผู้ฝึกสอนของทีม รวมถึงส่ือสารด้วยสายตากับโต๊ะ
ผู้บันทึกคะแนน เม่ือเวลานอกผ่านไป 50 วินาที ผู้จับเวลาจะให้สัญญาณเสียงของเขา จากนั้น
ผู้ตัดสินจะเป่านกหวีดของเขาเพ่ือเรียกทีมกลับสู่สนามแข่งขันทันที เพื่อเร่ิมดำเนินการแข่งขันต่อไป
ไม่อนุญาตให้ผเู้ ล่นกลบั สสู่ นามแขง่ ขันก่อนสัญญาณเสียงน้
ี
ถ้าเป็นการให้เวลานอกคร้ังสุดท้ายในระหว่างคร่ึงเวลา หลังจากเสร็จสิ้น ผู้ตัดสินจะต้อง
แจ้งใหผ้ ฝู้ กึ สอนทราบวา่ เขาไดใ้ ช้เวลานอกคร้ังสดุ ท้ายแลว้
คู่มือผตู้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล 173
ภาพท่ี 158 ภาพท่ี 159
ภาพที่ 160
9.1 การดำเนินการขอเวลานอก : Administration of time – out
ลูกบอลออกนอกสนามท่ีเสน้ ขา้ งดา้ นตรงขา้ มโต๊ะผู้บนั ทึกคะแนน และถกู เรียกโดย
กรรมการตาม(ภาพท่ี 158)
กรรมการนำอยู่ใกล้กับโต๊ะผู้บันทึกคะแนน ฉะนั้นจึงเป็นคนดำเนินการให้เวลานอก
กรรมการทง้ั สอง อยทู่ ่ตี ำแหนง่ เดยี วกันกับตำแหน่งก่อนเริ่มต้นการแข่งขันด้านตรงขา้ มโต๊ะผ้บู นั ทกึ คะแนน
เพ่ือคอยดกู รรมการโตะ๊ ผ้บู นั ทึกคะแนนและทีม(ภาพท่ี 159)
ทันทีท่ีเวลานอกส้ินสุดลง กรรมการจะกลับไปยังตำแหน่งเดิมของพวกเขาเหมือนเดิม
การทำงานร่วมกันระหว่างกรรมการเป็นสิ่งท่ีจำเป็น เม่ือทุกคนพร้อมให้ยื่นบอลกับผู้ส่งบอลเข้าเล่น
กรรมการที่ดำเนินการส่งบอลเข้าเล่น ให้สัญญาณเวลาใน เมื่อลูกบอลสัมผัสผู้เล่น หรือถูกสัมผัส
โดยผเู้ ล่นครง้ั แรกในสนามแข่งขนั (ภาพท่ี 160)
174 คมู่ อื ผตู้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล
ภาพที่ 161
ภาพท่ี 162
9.2 การให้เวลานอกภายหลังการยิงประตูหรือการโยนโทษครั้งสุดท้าย
หรอื คร้งั เดยี วเปน็ ผลสำเรจ็ : Time-out after successful field goal or last
or only free throw
ผู้ฝึกสอนอาจให้เวลานอกตามการร้องขอของเขา ถ้าฝ่ายตรงข้ามได้คะแนนจาก
การยิงประตูหรือการโยนโทษคร้ังสุดท้าย หรือคร้ังเดียวเป็นผลสำเร็จ และการขอเวลานอกนั้น
ไดข้ อไวก้ อ่ นทลี่ กู บอลจะอยู่ที่ผสู้ ง่ บอลเข้าเลน่ (ภาพท่ี 161)
ผู้จับเวลาหรือควบคุมเวลาแข่งขันหยุดเวลา จากน้ันผู้บันทึกคะแนนให้สัญญาณ
ไปยงั กรรมการ ว่ามีการรอ้ งขอเวลานอก
กรรมการตามเปา่ นกหวีดของเขา และใหส้ ญั ญาณเวลานอก
กรรมการทั้งสอง อยู่ที่ตำแหน่งเดียวกันกับตำแหน่งก่อนเริ่มต้นการแข่งขันด้านตรงข้าม
โต๊ะผู้บันทึกคะแนน เพ่ือคอยดูกรรมการโต๊ะผู้บันทึกคะแนน และทีมท่ีอยู่เบื้องหน้าของพวกเขา
(ภาพท่ี 159)
เมื่อผู้เล่นทั้งหมดจากทั้งสองทีมได้กลับลงสู่สนามแข่งขัน และหลังจากกรรมการได้
ส่ือสารด้วยสายตาแล้ว กรรมการตามคนใหม่จะยื่นบอลให้กับผู้ส่งบอลเข้าเล่นจากเส้นหลัง
(ภาพที่ 162)
ค่มู ือผตู้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 175
ภาพที่ 163 ภาพที่ 164
ภาพที่ 165 ภาพท่ี 166
9.3 การดำเนนิ การเปลย่ี นตัว : Administration of substitution
เมื่อโอกาสการเปลี่ยนตัวผู้เล่นเร่ิมข้ึน ผู้บันทึกคะแนนให้สัญญาณไปยังกรรมการว่า
ได้มีการร้องขอเปลี่ยนตัวกรรมการท่ีอยู่ใกล้โต๊ะผู้บันทึกคะแนนตอบรับการขอเปล่ียนตัว
โดยเป่านกหวีดของเขา ให้สัญญาณการเปลี่ยนตัว(ภาพท่ี 164) และกวักมือเรียกผู้เล่นคนใหม
่
ให้เข้ามาในสนามแข่งขัน ท่ีสำคัญต้องไม่ทำให้การแข่งขันเกิดความล่าช้า กรรมการเพียงส่งสัญญาณมือง่ายๆ
(ภาพท่ี 165) หลังจากการเปลี่ยนตัวผู้เล่นแล้ว ความรับผิดชอบอันดับแรกเพื่อให้มีผู้เล่น
5 คน ในสนามแข่งขัน เป็นหน้าท่ีของผู้ฝึกสอนไม่ใช่กรรมการ ผู้เล่นที่ออกจากการแข่งขัน
ไมต่ ้องรายงานตวั กับผู้บันทกึ คะแนน และอนญุ าตใหก้ ลบั ไปยงั ที่นัง่ ของทมี ไดท้ ันท(ี ภาพท่ี 166)
กรรมการควรจำไว้เสมอว่า การแขง่ ขันตอ้ งดำเนินตอ่ ไปใหมโ่ ดยเรว็ เท่าทีเ่ ป็นไปได้
การแข่งขนั ตอ้ งดำเนนิ ไปอย่างรวดเรว็ ดังนัน้ :
• ไม่มีสภาวการณ์ใดที่จะเป็นเหตุให้การแข่งขันเกิดความล่าช้า เพราะความ
ด้อยคุณภาพ และไม่เหมาะสมของการเคล่ือนที่ของกรรมการในสนาม
โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งหลงั จากเวลาแขง่ ขนั ไดห้ ยดุ เดนิ และเป็นบอลตาย
176 คู่มอื ผูต้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอล
• ไม่มีสภาวการณ์ใดท่ีจะเป็นเหตุให้สถานการณ์ที่ผู้เล่นพร้อมแข่งขัน
(ส่งบอลเข้าเล่น การโยนโทษ) แล้วกรรมการยังไม่ไปอยู่ตำแหน่งเพ่ือ
เรมิ่ แข่งขนั ต่อไป
• ในทุกสถานการณ์ท่ีบอลกลายเป็นบอลตาย เวลาแข่งขันหยุดเดิน
ถา้ กรรมการต้องการเคลื่อนที่ พวกเขาตอ้ งทำด้วยความรวดเรว็
10. ชว่ งสิ้นสดุ เวลาการแขง่ ขัน : End of playing time
ภาพที่ 169
ภาพที่ 167
ภาพที่ 168
10.1 การตรวจสอบใบบนั ทึกคะแนน : Checking the scoresheet
เมื่อสัญญาณเสียงสำหรับส้ินสุดเวลาการแข่งขันดังขึ้น กรรมการสองคนควรจะ
เคล่ือนไปที่โต๊ะผู้บันทึกคะแนน ยกเว้นมีสภาวการณ์อื่น ภายหลังผู้บันทึกคะแนนเขียนใบบันทึกคะแนน
เรียบร้อยแล้ว ผู้บันทึกคะแนนจะต้องแน่ใจว่าผู้ช่วยผู้บันทึกคะแนน ผู้จับเวลาแข่งขัน และผู้ควบคุมเวลา
24 วนิ าที ได้ลงช่ือพวกเขาในชอ่ งลงชื่อแล้ว
ค่มู ือผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอล 177
จากนั้นผู้บันทึกคะแนนลงช่ือของเขาด้วยเช่นกัน และจะต้องให้ใบบันทึกคะแนน
แก่ผตู้ ัดสินเพอ่ื ตรวจสอบความถกู ต้อง
เมื่อผู้ตัดสินพอใจในความถูกต้องแล้ว ผู้ช่วยผู้ตัดสินจะลงลายมือชื่อเป็นคนแรก
ติดตามดว้ ยผ้ตู ัดสิน
การรับรอง และการลงลายมือชื่อในใบบันทึกคะแนนนี้ ถือเป็นการสิ้นสุด
การดำเนนิ การ และความเกย่ี วขอ้ งกบั การแข่งขนั ของกรรมการ
ภาพท่ี 170 ภาพท่ี 171
ภาพท่ี 172 ภาพท่ี 173
ถือเป็นธรรมเนียมที่กรรมการต้องขอบคุณกรรมการโต๊ะ และเจ้าหน้าที่ควบคุมการแข่งขัน
“ ถ้ามี ” สำหรับความร่วมมือ เพราะพวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของคณะทำงานเช่นเดียวกัน การจับมือกัน
ถอื เปน็ ธรรมเนยี มปฏิบัติตามปกติ
กรรมการท้งั สองคน ควรออกจากสนามพรอ้ มกนั
ถ้าคะแนนการแข่งขันใกล้เคียงกันในช่วงตอนท้ายของการแข่งขัน อาจเป็นเหตุให้ต้อง
ใช้ความรอบคอบมากขึ้น เพ่ือตรวจสอบและลงลายมือช่ือในใบบันทึกคะแนนในห้องแต่งตัว
ทเ่ี ปน็ สว่ นตวั ของกรรมการ
178 คู่มือผ้ตู ดั สินกีฬาบาสเกตบอล
ในสภาวการณ์เช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นที่กรรมการต้องมองหากันและกันในช่วงเสร็จสิ้น
การแขง่ ขนั เพื่อออกจากสนามพรอ้ มกัน และดำเนนิ การตรวจสอบในทันทเี ทา่ ทท่ี ำไดท้ ่ีหอ้ งแต่งตวั
หากมีความจำเป็นต้องทำการตรวจสอบ กรรมการควรหลีกเลี่ยงการโต้เถียงท่ีจะตามมา
กบั ผูฝ้ กึ สอน ผู้เลน่ และผชู้ ม ในสภาวการณท์ ้ังหมดนี้ กรรมการต้องมีมารยาทและสุภาพออ่ นน้อม
กรรมการต้องทำงานหนัก พวกเขาจึงตอ้ งร่วมมือกนั ทำใหด้ ีทีส่ ุด
“ ฉนั ไม่ไดเ้ ปน็ ผูต้ ัดสนิ คุณไมไ่ ดเ้ ปน็ ผชู้ ่วยผ้ตู ดั สิน เราเป็นทีมเดียวกนั ”
: I was not the referee; You were not the umpire; We were a team :
11. การทบทวนข้อคิดเหน็ : Review comments
การประชุมก่อนเร่มิ การแข่งขนั เป็นสิ่งจำเปน็ ท่สี ดุ
1. รู้พ้ืนท่ีรับผิดชอบของท่านในสนาม และหลีกเลี่ยงการมองที่ลูกบอลของกรรมการ
ทงั้ สองคน รวมถึงผ้เู ลน่ ท่กี ำลงั รมุ แยง่ บอล
2. ตัดสินการเล่นทีอ่ ยู่หา่ งจากลูกบอล ขณะทเ่ี ปน็ ความรบั ผดิ ชอบอันดบั แรกของท่าน
3. เม่ือเป่านกหวีดพร้อมกัน ให้ส่ือสารด้วยสายตากับคู่ร่วมตัดสินของท่าน ก่อนดำเนินการ
ให้สัญญาณ
ข้อควรจำ (Remember) : กรรมการที่ใกล้การเล่นที่สุดหรือหันไปยังผู้เล่นที่กำลังเคลื่อนท่
ี
เปน็ คนรับผดิ ชอบอนั ดับแรก
4. ให้การช่วยเหลือ เม่ือถูกร้องขอในสถานการณ์ลูกบอลออกนอกสนาม แต่ต้องเป็น
การรอ้ งขอจากคู่รว่ มตัดสินของทา่ นเทา่ นน้ั ปฏิบัตใิ หเ้ ปน็ นิสัยในการสอื่ สารดว้ ยสายตา
5. พยายามรู้เวลาทั้งหมด ไม่เฉพาะเพียงตำแหน่งของลูกบอล และผู้เล่นทุกคนเท่าน้ัน
แตต่ อ้ งรตู้ ำแหนง่ ของคู่ร่วมตัดสินของท่านด้วย
6. ในสถานการณ์การเล่นลูกเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในขณะซึ่งผู้เล่นฝ่ายรุกมีจำนวน
มากกว่าฝ่ายป้องกัน ปล่อยให้กรรมการท่ีอยู่ใกล้ตัดสินใจการเรียกหรือไม่เรียกฟาล์ว
หลีกเลีย่ งสงิ่ ดงึ ดดู ให้เรียกฟาล์ว เม่อื ท่านอยูห่ า่ งระยะ 10 เมตร หรือมากกว่าจากการเลน่
7. เป่านกหวีดสำหรับการฟาล์วเม่ือมีผลต่อการเล่นเท่านั้น การปะทะกันโดยไม่ได้ตั้งใจ
ควรจะมองขา้ ม พจิ ารณาผเู้ ล่นท่ีจำเป็นต้องเรยี กฟาล์ว
8. ต้องไม่อนุญาตการใช้มือท่ีมากเกินจำเป็น การสัมผัสเพียงผิวเผิน ไม่เป็นการฟาล์ว
แต่การขัดขวางการเคลื่อนท่ีของผู้เล่นเพื่อหาตำแหน่งใหม่อย่างผิดกติกา
ถือว่าเป็นการฟาลว์
คมู่ ือผตู้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 179
9. กำหนดมาตรฐานของท่านก่อนการแข่งขัน จะทำให้ง่ายต่อการควบคุมการเล่น
การเล่นท่ีหยาบเกเรและก้าวร้าวเกินไปต้องได้รับลงโทษทุกครั้ง ผู้เล่นจะปรับตัวเข้ากับ
รูปแบบการตดั สินท่ีท่านอนุญาตใหพ้ วกเขาเล่น
10. ระมัดระวังสถานการณ์การแย่งบอล ถ้าผู้เล่นไม่อยู่ในตำแหน่งที่ต้องการได้เปรียบ
การเล่นอย่างไม่ยุติธรรม น่ีคือการฟาล์ว การปะทะกัน เมื่อไม่มีเจตนาและไม่มีผล
กระทบผูเ้ ลน่ ควรจะมองขา้ ม
11. ควบคุมการเคล่อื นที่ ขณะที่การเล่นกำลังไปหาทา่ น และพยายามรกั ษาตำแหน่งให้ดที สี่ ดุ
รวมถึงมุมมองท่ีกว้าง ระหว่างผู้เล่นฝ่ายป้องกันกับผู้เล่นฝ่ายรุก อยู่บนการเล่น
เมือ่ ท่านเรียกฟาล์ว
12. ท่านต้องรู้ว่าลูกบอลอยู่ท่ีไหน ขณะที่เรียก 3 วินาที และต้องแน่ใจว่าท่านได้นับ
3 วินาที หลังจากไดเ้ ห็นผู้เลน่ ฝา่ ยรุกอยู่ในเขต 3 วนิ าท
ี
13. ไม่หยุดการแข่งขันเพียงแคเ่ ตอื นผเู้ ลน่ หรือผฝู้ ึกสอน เกีย่ วกบั ความประพฤตขิ องเขา
หากจำเปน็ ต้องเตือน ใหก้ ระทำเมือ่ เวลาแขง่ ขันหยุดเดนิ และเปน็ บอลตาย ถา้ จำเป็น
ตอ้ งหยดุ การแขง่ ขนั ทนั ที ต้องเรยี กเป็นฟาลว์ เทคนคิ
14. ไม่อนุญาตให้ผู้ฝึกสอนทำตัวเป็นจุดสนใจ ด้วยการเสแสร้งเล่นละคร และร้องเรียน
อยตู่ ลอดเวลา พฤติกรรมน้จี ะไมย่ อมใหเ้ กดิ ข้ึน กรรมการตอ้ งหยุดพฤติกรรมนีต้ ้งั แตแ่ รก
ไม่ต้องเกรงกลัวที่จะเรียกฟาล์วเทคนิค แม้ว่าผู้ฝึกสอนพยายามทำให้กลัว
หรอื ก่อความรำคาญ
15. ขณะรายงานการฟาล์ว และป้ายฟาล์วทีมอยูใ่ นการดำเนนิ การ ใหย้ นื ยันกบั ผู้บนั ทกึ คะแนน
ว่าเปน็ การฟาล์วคร้ังที่ 4 หรือ ครง้ั ที่ 5 ของทมี กอ่ นระบุบทลงโทษ
16. แสดงสัญญาณอย่างช้า ๆ ไปยังผู้บันทึกคะแนน โดยเฉพาะอย่างย่ิง เมื่อให้สัญญาณ
หมายเลขของผู้เลน่
17. ทำงานเป็นทีมกับคู่ร่วมตัดสินของท่าน ทำงานร่วมกันให้ดีท่ีสุด ส่ือสารด้วยสายตา
กอ่ นย่นื บอลใหผ้ ู้สง่ บอลเข้าเล่น
18. มาถงึ สนามพรอ้ มกนั ฉะนัน้ ถ้าเป็นไปได้ พยายามออกจากสนามแข่งขนั ด้วยกัน
19. ห้ามหยุดการเคลื่อนท่ี ปรับเปลี่ยนตำแหน่งของท่านเม่ือลูกบอลเคล่ือนที่ พวก
ท่านเปน็ นกั กีฬาเชน่ เดียวกัน
180 คู่มือผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอล
12. บทสรุป : Conclusion
กรรมการที่ได้รับมอบหมายหน้าที่ให้ตระหนักว่า การแข่งขันต้องเล่นอยู่ภายในขอบข่าย
และแนวทางของกติกา พวกเขาจำเป็นต้องตัดสินใจในทันทีบางคร้ัง อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การตัดสินใจต่างๆ
ตอ้ งกระทำอยา่ งรวดเรว็ การปราศจากเหตุผลที่เพยี งพอ อาจจะทำใหเ้ กิดการผดิ พลาด
“ไม่มีกรรมการคนใดทำงานได้สมบูรณ์แบบ” ไม่เคยมีเกมใด ซ่ึงหลังจากกรรมการ
มองย้อนกลับไปแล้วพูดว่า “ฉันไม่มีข้อบกพร่องเลย” การกระทำของคนเราจำเป็นต้องมีการประเมิน
บาสเกตบอลเป็นกีฬาท่ีเกี่ยวกับการแข่งขัน เป็นการเล่นที่เต็มไปด้วยอารมณ์ ซึ่งอารมณ
์
และความขดั แย้ง สามารถเพิม่ ข้นึ สูงได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อคะแนนสูสใี กล้เคียงกัน กรรมการต้อง
ควบคมุ การแข่งขนั ตลอดเวลา หมายความวา่ กรรมการ ต้องหนักแนน่ มนั่ คง เดด็ ขาดและไม่หวนั่ ไหว
กรรมการต้องเข้าใจผู้เล่นและผู้ฝึกสอน และตระหนักว่าอะไรทำให้พวกเขาเล่นได้ดี
และประสบความสำเร็จได้อย่างไร ไม่มีกรรมการคนใดสามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้ยอดเย่ียมในการแข่งขัน
โดยปราศจากการรว่ มมือจากผู้เลน่ และผฝู้ กึ สอน
กรรมการจำเป็นต้องตระหนัก และเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงเป้าหมาย รวมถึงจุดประสงค
์
ของผู้เล่นและผู้ฝึกสอน เก่ียวกับยุทธวิธี แผนการ ตลอดจนสามารถเข้าใจถึงความเครียด
และความกดดัน ซึ่งมีผลต่อพวกเขา กรรมการต้องเข้าใจถึงความผิดหวังในการเล่น และการสอน
ผู้เล่น ผู้ฝึกสอน และกรรมการเป็นส่วนหน่ึงของกันและกัน พวกเขาไม่ได้เป็นกลุ่มของความขัดแย้ง
ทแ่ี ยกจากกนั
สมาธิเป็นสิ่งสำคัญมากสำหรับกรรมการ โดยปกติสมาธิเกิดจากการเรียนรู้ที่ต้องใช
้
ความพยายามมาก ในตรงกนั ขา้ ม ผเู้ ลน่ กม็ ีโอกาสเสยี สมาธิ แม้ว่าจะไม่เก่ยี วขอ้ งโดยตรงกบั การเลน่
กรรมการสามารถผ่อนคลายในช่ัวระยะเวลาสั้น ๆ ในขณะมีการขอเวลานอก หรือเปลี่ยนตัว
ความเหน่อื ยลา้ ทำให้สมาธลิ ดลง ขณะทกี่ ารแขง่ ขนั ต้องยังคงดำเนนิ ตอ่ ไปจนส้ินสดุ
การเตรยี มร่างกาย และจิตใจกลายเป็นส่งิ สำคัญอยา่ งมาก ในความเป็นจริง ทา่ นไม่สามารถ
คาดเดาส่ิงท่ีจะเกิดข้ึน การเตรียมตัวที่ดีจะช่วยสนับสนุนความน่าเช่ือถือได้เป็นอย่างดีในท้ายที่สุด
การแสดงออกอย่างง่ายๆ เช่น การหาตำแหน่งท่ีดีท่ีสุดจากการดูการเล่น และความพยายามที่จะไป
ให้ถึงตำแหน่งนั้น การตัดสินที่อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม เวลาท่ีถูกต้อง ทำให้เกิดการเรียก :
call ท่ีเป็นธรรม การหาตำแหน่งเป็นกุญแจสำคัญ น่ีคือความสัมพันธ์ข้ันสูง ระหว่างตำแหน่ง
ของกรรมการกับการตดั สินใจทถ่ี ูกตอ้ งแมน่ ยำ
การตัดสินไม่ใช่ภารกิจง่าย ๆ ผู้เล่นตัวใหญ่และรวดเร็ว การแข่งขันท่ีเอาจริงเอาจัง
เคลื่อนท่ีไปมาอย่างรวดเร็ว มันเป็นการยากที่จะควบคุม หรือแม้แต่การมองเห็นทุกสิ่งทุกอย่าง
ที่เกิดขึ้น กรรมการท่ีดีต้องพยายามติดตามการเล่นที่ห่างจากลูกบอล ซึ่งท่ีจริงแล้ว ผู้เล่นแต่ละคน
ต่างก็มีจุดประสงค์มุ่งไปท่ีการรุกเพ่ือทำคะแนนเสมอ คุณสมบัติที่สำคัญท่ีสุดของกรรมการคือ
คู่มอื ผู้ตดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 181
ความสอดคล้อง เป็นส่ิงสำคัญที่ต้องพยายามที่จะเรียก : call การเล่นและแนวทางแบบเดียวกัน
โดยไม่คำนึงถึงช่วงเวลาการแข่งขัน หรือแรงกดดันใดๆ กรรมการท่ีดีที่สุดมีอำนาจหน้าที่ง่าย ๆ
ความเป็นมิตรกับผู้เล่น และผู้ฝึกสอน ความสามารถท่ีจะควบคุมอารมณ์ และการประพฤติตัว
ท่ีม่ันคงในสภาวะแวดล้อมที่กำลังต้องการมากท่ีสุด การเข้าใจอย่างละเอียดถ่ีถ้วนของการแข่งขัน
รวมถึงการสังเกตอย่างมีประสิทธิภาพและมีไหวพริบ พวกเขาเป็นบุคคลท่ีฉลาดอยู่ในสภาวะร่างกาย
ท่ีดีเยี่ยม บาสเกตบอลเป็นเกมของอารมณ์ท่ีรุนแรง การมีส่วนร่วม และความรับผิดชอบ จำเป็นที่
กรรมการต้องมีความรู้สึกกับการแข่งขัน เมื่อท่านเป็นกรรมการ ท่านจะไม่สามารถดูการแข่งขัน
ในฐานะเปน็ เพียงผ้ชู มอกี เชน่ เคย ถึงกระนั้นกต็ ามมนั ยงั คงเปน็ การแขง่ ขนั ซ่งึ ทกุ คนควรเพลิดเพลนิ
กบั มนั
“ แม้เป็นกรรมการกอ็ าจจะย้มิ ได้ ”
(Even officials may smile)
บรรณานุกรม
182 ค่มู ือผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล
ผู้ตัดสนิ วธิ กี ารตัดสินบาสเกตบอลระบบ 3 คน
Official Basketball Rules 2010 Referees’ Manual
Three-Person Officiating
คู่มอื ผู้ตัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล 183
184 ค่มู ือผ้ตู ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล
3วธิ ีการตัดสนิ บาสเกตบอล ระบบ คน
THREE - PERSON OFFICIATING
คู่มอื ผตู้ ัดสนิ
วธิ ีการตดั สนิ บาสเกตบอล ระบบ 3 คน
คู่มือผู้ตัดสิน : วิธีการตัดสินบาสเกตบอล ระบบ 3 คน ฉบับนี้ ท้ังหมดได้กล่าวถึงผู้เล่น ผู้ฝึกสอน
กรรมการ ฯลฯ สำหรบั เพศชาย รวมถึงใชก้ ับเพศหญงิ ดว้ ย ตอ้ งมีความเขา้ ใจว่า ค่มู ือผตู้ ดั สินนไี้ ด้
จดั ข้นึ เพื่อเหตุผลในการปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ เทา่ นน้ั
1. บทนำ : Introduction
1.1 คำนิยามศัพท์ : Important terms
ดา้ นทม่ี ลี กู บอล : Ball side
การกล่าวถึงตำแหน่งของลูกบอล เม่ือสนามแข่งขันถูกแบ่งโดยเส้นสมมุติจาก
ห่วงตาข่ายด้านหน่ึงไปยังห่วงตาข่ายอีกด้านหน่ึง ส่วนข้างของสนามแข่งขันที่มีลูกบอลอยู่ เรียกว่า
“ดา้ นท่ีมีลูกบอล” (Ball side)
กรรมการ : Officials
กรรมการนำ “L” (Lead) คือ กรรมการผู้ที่อยู่ในตำแหนง่ ท่เี สน้ หลงั
กรรมการกลาง “C” (Centre) คือ กรรมการผู้ท่ีอยู่ในตำแหน่งด้านตรงข้ามกับ
กรรมการนำ “L” ในแดนหน้า(ด้านตรงข้ามกับด้านที่มีลูกบอล) จากแนวเส้นโยนโทษ เข้าไปหา
หว่ งตาขา่ ย โดยประมาณ 2 กา้ ว ซงึ่ ข้นึ อยู่กบั ตำแหนง่ ของลกู บอล กรรมการกลางอาจจะอยดู่ า้ นใด
ดา้ นหน่ึงของแดนหน้ากไ็ ด้
กรรมการตาม “T” (Trail) คอื กรรมการผทู้ ี่อยู่ในตำแหนง่ ประมาณแนวขอบเขต
ที่นงั่ ของทมี ใกล้เส้นกลาง และอย่ดู ้านเดยี วกับกรรมการนำ “L” (ด้านทม่ี ีลกู บอล)
กรรมการนำ “L” (Lead) และ กรรมการตาม “T” (Trail) อยดู่ า้ นเดียวกนั ของ
สนามแขง่ ขัน ในขณะที่
กรรมการกลาง “C” (Centre) อยูด่ า้ นตรงขา้ ม
คมู่ อื ผตู้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล 185
ด้านตรงข้ามโตะ๊ ผ้บู ันทกึ คะแนน : Opposite side
การกล่าวถึงด้านของสนามแขง่ ขันทีอ่ ยู่ไกลจากโต๊ะผู้บันทึกคะแนน
การสลบั ตำแหนง่ : Rotation
การกล่าวถึงสถานการณ์บอลดี เมื่อลูกบอลเคล่ือนตำแหน่ง เป็นผลให้กรรมการนำ “L”
เปลย่ี นตำแหนง่ หรอื “ สลบั ตำแหนง่ ” (rotation) เป็นคนแรก ซ่งึ ตอ้ งสัมพันธก์ บั ตำแหนง่ ของลกู บอล
(ด้านโต๊ะผู้บันทึกคะแนนหรือด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึกคะแนน) ในแดนหน้าการเปลี่ยนตำแหน่ง
โดยกรรมการนำ “L” สง่ ผลให้เกิดการเปล่ยี นตำแหนง่ ของกรรมการกลาง “C” และกรรมการตาม “T”
ตามไปด้วย ตามหลักการแล้วในระหว่างการเล่นปกติ การสลับตำแหน่ง ควบคุมโดยกรรมการนำ
“L” การสลับตำแหน่งเริ่มเม่ือลูกบอลเคลื่อนท่ีไปด้านท่ีมีลูกบอล หรือลูกบอลเข้าหาห่วงตาข่าย
จากเส้นโยนโทษอย่างไรก็ตาม ถ้ากรรมการนำ “L” หรือกรรมการกลาง “C” ต้องการสังเกต
การปรับวิธีการเล่น/ สถานการณ์การเล่นกดดัน เหนือเส้นโยนโทษ พวกเขาอาจเคลื่อนที่
แ
ละเริ่มสลับตำแหน่ง
ดา้ นทม่ี ีการเลน่ บอล : Strong side
ด้านของสนามท่ีกรรมการนำ “L” อยู่
การเปล่ียนตำแหนง่ : Switch
การกล่าวถึงการเปล่ียนตำแหน่งโดยกรรมการ ในสถานการณ์บอลตายเม่ือเรียกฟาล์ว
กรรมการผู้ท่ีเรียกฟาล์ว ให้เคลื่อนที่ไปด้านตรงข้าม หลังจากรายงานการฟาล์วต่อกรรมการโต๊ะ
ผบู้ นั ทึกคะแนนเสมอ
อย่างไรกต็ าม ในสถานการณก์ ารส่งบอลเข้าเล่น กรรมการสองคนอยู่ดา้ นที่มลี กู บอลเสมอ
ดา้ นที่ไมม่ กี ารเล่นบอล : Weak side
ดา้ นข้างของแดนหนา้ ท่ีกรรมการนำ “L” ไม่ไดอ้ ยูใ่ นตำแหนง่ น้ัน
186 ค่มู ือผูต้ ดั สินกฬี าบาสเกตบอล