2. การเร่มิ การแข่งขนั : Start of the game
2.1 การสงั เกตการณท์ ีมก่อนการแข่งขนั และพกั คร่งึ เวลาขณะอบอ่นุ รา่ งกาย
: Observation of pre-game and half-time warm-ups
ภาพที่ 1 ตำแหนง่ กอ่ นการแข่งขันและพกั ครง่ึ เวลาขณะอบอุน่ ร่างกาย
A. ผู้ตดั สนิ และผชู้ ว่ ยผตู้ ดั สินทง้ั สองคนอย่ใู นตำแหน่งทเี่ ส้นข้างตรงขา้ มโตะ๊ ผบู้ นั ทึกคะแนน
B. ผูต้ ัดสินยืนอยู่ท่ีจดุ ตดั ของเส้นกลางกับเสน้ ขา้ ง
C. ผู้ช่วยผู้ตัดสินท่ี 1 (U1:Umpire 1) อยู่ในตำแหน่งห่างจากผู้ตัดสินทางซ้ายมือ ประมาณ
3 เมตร และคอยสังเกตการอบอนุ่ ร่างกายของทมี ไปถงึ สดุ ในสนามแข่งขนั
D. ผู้ช่วยผู้ตัดสินที่ 2 (U2:Umpire 2) อยู่ในตำแหน่งห่างจากผู้ตัดสินทางขวามือ ประมาณ
3 เมตร และคอยสงั เกต การอบอุ่นรา่ งกายของทมี ไปถึงสุดในสนามแข่งขัน
E. 10 นาที ก่อนกำหนดการแข่งขันจะเร่ิม ผู้ตัดสินจะไปที่โต๊ะผู้บันทึกคะแนนเพ่ือดูคุณสมบัติ
ของรายชื่อทีม รวมถึงผู้เล่น 5 คนแรก ที่จะเร่ิมการแข่งขันของทีมในใบบันทึกคะแนน
และกลบั ไปทด่ี ้านตรงข้ามโตะ๊ ผู้บนั ทกึ คะแนน
F. หากถูกต้อง 6 นาทีก่อนการแข่งขัน ผู้ตัดสินเป่านกหวีด และให้ผู้เล่นทั้งหมดกลับไปยังเขต
ท่นี ัง่ ของทมี เพ่ือเตรยี มแนะนำทีม
G. หลงั จากการแนะนำทมี แลว้ ผูต้ ดั สนิ เป่านกหวดี และใหส้ ญั ญาณเหลือเวลา 3 นาที ที่จะเรม่ิ
การแข่งขัน
H. 2 นาที ก่อนการแขง่ ขัน ผู้ตดั สินและผ้ชู ว่ ยผตู้ ัดสนิ เคล่อื นท่ไี ปดา้ นโตะ๊ ของสนามแขง่ ขัน
I. เหลือเวลาอกี 1.30 นาที ก่อนการแขง่ ขนั ผู้ตดั สินเปา่ นกหวดี และใหผ้ ู้เลน่ ทัง้ หมดกลับไปยงั
เขตทีน่ ัง่ ของแตล่ ะทีมทนั ที
คู่มอื ผตู้ ดั สินกีฬาบาสเกตบอล 187
J. ระหว่างการอบอุ่นร่างกายในช่วงพักคร่ึงเวลา กรรมการทุกคนต้องทำหน้าท่ีในตำแหน่งเดิม
สำหรับการอบอนุ่ ร่างกายก่อนเร่มิ การแขง่ ขัน
2.2 ตำแหนง่ โดยท่ัวไปในสนาม : General floor position
ในการตัดสินบาสเกตบอลแบบ 3 คน กรรมการต้องพยายามรักษาตำแหน่ง
ของแต่ละคนให้สัมพันธ์กัน เป็นเหมือนรูปสามเหลี่ยมตลอดเวลา ในขณะท่ีลูกบอลเคลื่อนท่ีไปยังตำแหน่ง
ต่างๆ ในสนามแข่งขันหรือเม่ือมีการเปลี่ยนการครอบครองบอล กรรมการต้องพยายามรักษา
รปู สามเหลี่ยมน้ี ขณะทเี่ ขาเคลอ่ื นทไ่ี ปยงั ตำแหนง่ ใหมใ่ นสนามแข่งขัน
2.3 การเลน่ ลูกกระโดดเม่อื เรมิ่ การแข่งขัน : Jump ball to begin the game
ภาพท่ี 2 การเล่นลูกกระโดด
A. ผตู้ ดั สนิ เป็นผรู้ บั ผดิ ชอบในการโยนลูกกระโดด จากตำแหนง่ หนั หนา้ เขา้ หาโต๊ะผู้บันทกึ คะแนน
B. ผู้ช่วยผู้ตัดสินอยู่ในตำแหน่งบนเส้นข้าง ผู้ช่วยผู้ตัดสินที่1(U1) อยู่ด้านโต๊ะระหว่างแนวขอบ
ของเขตที่น่ังทีมกับเส้นกลาง ผู้ช่วยผู้ตัดสินท่ี 2(U2) อยู่ด้านตรงข้ามระดับเดียวกับแนวขอบ
ของเขตทีน่ ัง่ ทมี
C. ความรับผิดชอบของผู้ชว่ ยผตู้ ัดสินท่ี 1(U1) :
1. เรียกเป็นการเล่นลูกกระโดดใหม่ เม่ือผู้ตัดสินโยนบอลไม่ดี หรือผู้เล่นลูกกระโดด
ทำผดิ ระเบียบ
2. ให้สญั ญาณเวลาใน เพือ่ เร่มิ เวลาแขง่ ขนั เม่อื ลกู บอลถกู ปดั อย่างถูกกติกา
D. ความรับผิดชอบของผู้ช่วยผ้ตู ดั สินที่ 2(U2) : สังเกตผ้ทู ไี่ มไ่ ดเ้ ลน่ ลกู กระโดดอกี 8 คน
188 คูม่ อื ผตู้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล
2.4 การเริ่มเล่นลกู กระโดด – การเลน่ ไปทางด้านขวาของผตู้ ดั สนิ
: Jump ball to begin the game – play goes to referee’s right
ภาพท่ี 3 การเล่นลูกกระโดด – การเล่นไปทางดา้ นขวาของผ้ตู ัดสิน
ผชู้ ว่ ยผูต้ ดั สินที่ 2(U2) กลายเปน็ กรรมการนำ(L)
ผู้ชว่ ยผ้ตู ัดสินท่ี 1(U1) กลายเปน็ กรรมการกลาง(C)
ผตู้ ัดสินเคลื่อนทไ่ี ปเส้นข้าง ที่ผชู้ ่วยผตู้ ัดสนิ ที่ 2(U2) อยู่ระหวา่ งการเลน่ ลกู กระโดด
และกลายเป็นกรรมการตาม(T)
A.
B.
C.
2.5 การเริม่ เล่นลกู กระโดด – การเลน่ ไปทางดา้ นซ้ายของผู้ตดั สนิ
: Jump ball to begin the game – play goes to referee’s left
189
ภาพท่ี 4 การเลน่ ลูกกระโดด – การเล่นไปทางด้านซา้ ยของผ้ตู ดั สิน
ค่มู อื ผูต้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล
A. ผชู้ ่วยผู้ตดั สินท่ี 1 (U1) กลายเปน็ กรรมการนำ(L)
B. ผ้ชู ว่ ยผตู้ ดั สินที่ 2 (U2) กลายเป็นกรรมการกลาง(C)
C. ผู้ตัดสินเคล่ือนท่ีไปเส้นข้างที่ผู้ช่วยผู้ตัดสินท่ี 1(U1) อยู่ระหว่างการเล่นลูกกระโดด และกลายเป็น
กรรมการตาม(T)
3. ตำแหน่งและการครอบคลุมพืน้ ทใี่ นสนามโดยกรรมการ
: Positioning and court coverage by officials
3.1 พ้นื ฐานการครอบคลุมพืน้ ที่ในสนามแข่งขนั
: Basic playing court coverage
ภาพท่ี 5 พ้นื ฐานการครอ
บคลมุ พนื้ ทีใ่ นสนามแข่งขนั
3.2 พ้ืนฐานการครอบคลุมพน้ื ที่ : Basic coverage
A การเล่นรอบบอล เมื่อลูกบอลอยู่ในพ้ืนท่ีของกรรมการคนนั้น (บอลในพ้ืนท่ีครอบคลุม :
on-the ball coverage)
B. ผู้เล่นท่ีอยู่ห่างจากลูกบอลในพ้ืนที่ของกรรมการคนน้ัน เม่ือลูกบอลเข้าไปอยู่ในพ้ืนท่ีของ
กรรมการอกี คนหนึ่ง(บอลนอกพน้ื ทคี่ รอบคลมุ : off-the ball coverage)
C. กรรมการกลาง(C) ยืนจากแนวเส้นโยนโทษ 2 เมตร ไปถงึ ห่วงตาข่าย หากจำเป็นเขาสามารถ
เคลื่อนทีใ่ นสนามแขง่ ขัน หรือเคลอ่ื นทลี่ งไปถงึ หว่ งตาขา่ ย
190 คมู่ อื ผู้ตัดสินกฬี าบาสเกตบอล
D. กรรมการตาม(T) ใหอ้ ยใู่ นตำแหนง่ ทข่ี อบแนวเขตท่นี ง่ั ของทีม หากจำเป็นเขาสามารถเคลื่อนท่ี
ในสนามแข่งขนั หรอื เคลอ่ื นทล่ี งไปถึงหว่ งตาขา่ ย
E. ในสถานการณ์การส่งบอลเข้าเล่น ก่อนยื่นบอลให้กับผู้ส่งบอล กรรมการผู้ดำเนินการส่งบอล
ต้องตรวจสอบให้มีกรรมการ 2 คน อยูด่ ้านเดียวกับลูกบอล
3.3 พ้ืนทีร่ ับผดิ ชอบของกรรมการ : Officials working area
ภาพที่ 6 ลกู บอลอยู่ดา้ นโต๊ะผู้บันทกึ คะแนน
ภาพที่ 7 ลกู บอลอยู่ดา้ นตรงข้ามโตะ๊ ผู้บนั ทกึ คะแนน
คู่มือผู้ตัดสินกฬี าบาสเกตบอล 191
A. พน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบของกรรมการ เมือ่ ลกู บอลอยูด่ ้านโตะ๊ ผู้บันทึกคะแนน (ภาพท่ี 6)
B. พ้นื ที่รบั ผิดชอบของกรรมการ เมอ่ื ลกู บอลอยดู่ ้านตรงข้ามโตะ๊ ผู้บันทกึ คะแนน (ภาพท่ี 7)
ตามหลักการกรรมการทุกคนจะต้องดูแลพื้นท่ีในเขตรับผิดชอบ อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าเวลาใด
หากจำเป็นกรรมการอาจเคลื่อนที่ออกนอกตำแหน่งพื้นท่ีรับผิดชอบของพวกเขา เพื่อควบคุม
สถานการณเ์ ฉพาะของการแข่งขนั ทีด่ กี ว่า
3.4 การครอบคลุมพื้นท่เี บอ้ื งต้นเมอื่ ลกู บอลอยูใ่ นแดนหนา้ (ด้านโตะ๊ ผูบ้ นั ทกึ คะแนน
หรอื ด้านตรงข้ามโตะ๊ ผบู้ นั ทึกคะแนน) : Primary coverage when the ball
is in the frontcourt (table-side or opposite side)
ภาพที่ 8 ลกู บอลอยู่ด้านโตะ๊ ผบู้ นั ทกึ คะแนน (ตวั อยา่ ง)
ภาพที่ 9 ลูกบอลอยู่ด้านตรงขา้ มโตะ๊ ผู้บันทกึ คะแนน (ตวั อย่าง)
192 คูม่ ือผู้ตดั สินกีฬาบาสเกตบอล
A. กรรมการแตล่ ะคนรบั ผดิ ชอบเขตครอบคลมุ พื้นทีเ่ บ้ืองต้น
B. เม่ือลูกบอลอยู่ในเขตครอบคลุมพื้นท่ีเบ้ืองต้นของกรรมการ กรรมการคนนั้นต้องรับผิดชอบ
ตอ่ การฟาล์ว และการทำผดิ ระเบยี บในเขตใกล้เคยี งกับลูกบอล(บอลในพ้นื ทคี่ รอบคลุม)
C. เม่ือลูกบอลไม่ได้อยู่ในเขตครอบคลุมพ้ืนที่เบื้องต้นของกรรมการ กรรมการคนน้ันต้อง
รับผิดชอบผ้เู ลน่ ทกุ คน ท่อี ยูใ่ นพนื้ ทีน่ ัน้ (บอลนอกพ้นื ท่คี รอบคลมุ )
D. เขตพ้ืนท่ีครอบคลุมร่วม (Areas of dual coverage) อยู่ระหว่างกรรมการนำ(L)
กับกรรมการตาม(T) เทา่ นั้น
3.5 พ้ืนฐานการเคลื่อนท่ี เมื่อส่งบอลหรือเล้ียงบอลจากด้านหนึ่งไปยังอีก
ด้านหนงึ่ (การสลับตำแหนง่ )
: Basic movement when the ball is passed or dribbled from one
side to the other (rotation)
ภาพที่ 10 ลกู บอลเคลื่อนที่ไปยงั ด้านตรงขา้ มโต๊ะผูบ้ นั ทกึ คะแนน
ภาพท่ี 11 ลกู บอลเคล่ือนทไ่ี ปยงั ดา้ นโตะ๊ ผู้บันทึกคะแนน
คู่มอื ผู้ตดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล 193
A. กรรมการนำ(L) เคลื่อนที่ไปยังด้านที่มีลูกบอล เมื่อลูกบอลถูกส่งไปให้ผู้เล่นอีกด้านหน่ึง
หรือเม่อื ลูกบอลเขา้ ไปทางขอบแนวเสน้ โยนโทษใกล้กรรมการกลาง(C) ยกเว้น การเคล่ือนทนี่ ี้
เป็นจงั หวะการยิงประตูอยา่ งรวดเรว็ หรอื เปน็ การพงุ่ เขา้ หาหว่ งตาขา่ ยโดยตรง
B. การสลบั ตำแหน่งของกรรมการในแดนหน้า ต้องรักษาขนาดของสามเหลยี่ ม
C. กรรมการนำ(L) เป็นผู้รับผิดชอบในการสลับตำแหน่งเป็นคนแรก รวมท้ังรับผิดชอบต่อเน่ือง
ไปถึงผู้เล่นในตำแหน่งโพสท์ในขณะที่เคลื่อนที่ข้ามเขตพ้ืนที่ 3 วินาที กรรมการกลาง(C)
ต้องอยู่ในตำแหนง่ จนกว่ากรรมการนำ(L) มาถึง และครอบคลมุ การเลน่
D. จากนั้นใหก้ รรมการตาม(T) เคล่ือนที่ไปอยู่ในตำแหน่งกรรมการกลาง(C)
E. กรรมการกลาง(C) คือ คนสดุ ทา้ ยท่เี คลื่อนไปยังตำแหนง่ กรรมการตาม(Trail)ใหม
่
F. การสื่อสารด้วยสายตา(Eyes contact) เป็นสิ่งสำคัญมาก กรรมการกลาง(C) และกรรมการตาม(T)
ต้องรู้ตัว และเตรียมพร้อมที่จะเปลี่ยนตำแหน่ง เมื่อการสลับตำแหน่งได้เริ่มข้ึน
โดยกรรมการนำ(L)
3.6 พืน้ ฐานการเคลื่อนทเ่ี มือ่ ลกู บอลไปทางห่วงตาขา่ ย
: Basic movement when the ball goes toward the basket
ภาพที่ 12 การเล่นปกติ
194 ค่มู ือผตู้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล
ภาพที่ 13 ลูกบอลพ่งุ เขา้ ห่วงตาข่าย
เมอื่ เกิดการเลน่ บอลพ่งุ เข้าหาห่วงตาขา่ ย
A. กรรมการนำ(L) เคลือ่ นท่ีไปพรอ้ มกับลูกบอล
B. กรรมการกลาง(C) ยืนจากแนวเส้นโยนโทษไปถึงหว่ งตาขา่ ย ระยะ 2 เมตร
C. กรรมการตาม(T) เคล่อื นทล่ี งเข้าไปหาห่วงตาขา่ ย
D. รปู สามเหลี่ยมระหว่างกรรมการกลายเปน็ สามเหล่ียมทีเ่ ล็กลง
3.7 พ้ืนฐานการเคลื่อนทีเ่ มื่อลกู บอลเคลอ่ื นที่จากแดนหลังไปแดนหนา้
(ผา่ นขึ้นแดนหนา้ )
: Basic movement when the ball goes from the backcourt to
the frontcourt (transition)
ภาพที่ 14 การเคลื่อนทีผ่ ่านขน้ึ แดนหนา้
คมู่ อื ผู้ตัดสินกฬี าบาสเกตบอล 195
ภาพท่ี 15 การเคล่ือนท่ผี า่ นข้นึ แดนหนา้ หลังจากสลบั ตำแหนง่
A. กรรมการตาม(T) กลายเปน็ กรรมการนำ(L) คนใหม่ และรับผิดชอบ :
1. พื้นท่คี รอบคลมุ เสน้ หลงั
2. การเล่นทก่ี ำลังมาถงึ พืน้ ทค่ี รอบคลมุ ของเขา
3. ผูเ้ ลน่ ตำแหน่งโพสท์ เม่ือผเู้ ล่นเคล่อื นทข่ี ้ามเขตพื้นท่ี 3 วนิ าที ทกุ คร้งั
4. เป็นผู้นำการสลบั ตำแหน่ง
B. กรรมการกลาง(C) ยังคงเป็นกรรมการกลาง(C) ในการผ่านข้ึนแดนหน้า(ห่างจากกรรมการตาม(T)
คนใหม่ประมาณ 7 - 10 เมตร) และรับผิดชอบ :
1. การทำผิดระเบียบและการฟาล์วทั้งหมด ในพื้นที่ระหว่างส่วนบนสุดของคร่ึงวงกลม
โยนโทษดา้ นของเขา
2. การส่งบอลแบบรุกเร็ว ตามด้วยการเล่นอย่างรวดเร็วเพ่ือช่วยเหลือกรรมการนำ(L)
คนใหม่ พร้อมท้ังรบั ผิดชอบพืน้ ทคี่ รอบคลุมทมี่ ีลกู บอล
3. สำหรับพน้ื ที่ครอบคลุมท่มี ีลกู บอล ถ้าลกู บอลเคลอ่ื นไปยงั หว่ งตาขา่ ยดา้ นของเขา
C. กรรมการนำ(L) กลายเปน็ กรรมการตาม(T) คนใหม่ และรับผดิ ชอบ :
1. การตัดสินใจในความรบั ผดิ ชอบเส้นขา้ งเสน้ ใหม่
2. พ้นื ท่ีครอบคลมุ ดา้ นหลังของการเล่นแบบรุกเรว็
3. ผเู้ ลน่ ทกุ คนในแดนหลงั จนกวา่ พวกเขาจะเคล่อื นทไ่ี ปในแดนหนา้
196 คมู่ ือผู้ตดั สินกฬี าบาสเกตบอล
3.8 พน้ื ฐานการเคล่อื นท่รี ะหวา่ งการปอ้ งกัน “แบบกดดัน”
: Basic movement during “pressing” defence
กรรมการต้องคลุมการแข่งขัน โดยใช้พื้นท่ีรูปสามเหลี่ยมกว้างครอบคลุมพ้ืนที่ที่มีการเล่น
กรรมการตาม(T) รับผิดชอบการนับ 8 วินาที และจะคลุมการเล่นในแดนหลัง เอาใจใส่ต่อความเป็นไปได
้
ทจี่ ะมกี ารเปล่ยี น
การครองบอลอย่างรวดเร็ว(quick turnover) กรรมการกลาง(C) และกรรมการตาม(T)
เคลื่อนท่ีดว้ ยความเร็วไปกับลกู บอล
กรรมการกลาง(C) ควรจะอยู่ในตำแหน่งที่จะช่วยกรรมการตาม(T) ดูการทำผิดระเบียบ
ท่ีเส้นกลาง
กรรมการนำ(L) เป็นผู้ที่อยู่ในตำแหน่งใกล้เส้นกลาง จะคลุมการเล่นแบบรุกเร็ว
หรอื การสง่ บอลระยะไกลลงมาในสนาม
สนามแข่งขัน กรรมการทุกคนต้องรักษาการเคล่ือนที่ และมีความพร้อมที่จะหลีกเลี่ยง
การกดี ขวางกนั
ภาพท่ี 16 ผู้เลน่ ทุกคนอยู่ในแดนหลงั
คู่มือผ้ตู ัดสินกฬี าบาสเกตบอล 197
ภาพท่ี 17 ผเู้ ลน่ อยใู่ นแดนหนา้ และแดนหลงั
3.8.1 ผเู้ ลน่ ทุกคนอยูใ่ นแดนหลัง
A. กรรมการกลาง(C) และกรรมการตาม(T) ครอบคลมุ พฤตกิ ารณ์การเล่นในแดนหลงั
B. กรรมการนำ(L) อยูใ่ นตำแหน่งใกล้เสน้ กลาง จดั ผ้เู ลน่ ทุกคนใหอ้ ยู่ในสายตา
3.8.2 ผู้เลน่ อยู่ในแดนหนา้ และแดนหลงั
A. กรรมการกลาง(C) และกรรมการตาม(T) ครอบคลุมพฤติการณก์ ารเล่นในแดนหลงั
B. กรรมการนำ(L) อยู่ในตำแหนง่ ที่สามารถสังเกตผเู้ ลน่ ในแดนหน้า
C. ถ้าการป้องกันแบบกดดันเกิดขึ้นด้านท่ีไม่มีการเล่นบอล กรรมการกลาง(C)
อาจจะสลบั ตำแหน่งลงมาท่ีเส้นกลางเพอ่ื ครอบคลมุ การเลน่
198 คู่มือผู้ตดั สินกฬี าบาสเกตบอล
4
. สถานการณก์ ารสง่ บอลเข้าเล่น : Throw-in situations
4.1 การครอบคลมุ การสง่ บอลเข้าเลน่ : Throw-in coverage
A. กรรมการนำ(L) จะรับผดิ ชอบเส้นหลงั ในแดนหนา้
B. กรรมการกลาง(C) จะรบั ผดิ ชอบเส้นขา้ งดา้ นของเขาในสนามแขง่ ขนั
C. กรรมการตาม(T) จะรับผิดชอบเส้นข้างด้านของเขาในสนาม รวมถึงเส้นหลัง
ในแดนหลัง
4.2 การส่งบอลเขา้ เล่นจากเส้นหลังเม่อื ลกู บอลไปแดนหน้า
: Throw-in from endline when the ball goes to frontcourt
ภาพที่ 18 ด้านโต๊ะผบู้ ันทกึ คะแนน
ภาพท่ี 19 ดา้ นตรงขา้ มโตะ๊ ผู้บันทึกคะแนน
คมู่ ือผตู้ ดั สินกฬี าบาสเกตบอล 199
A. กรรมการตาม(T) เป็นผู้ดำเนินการส่งบอลเข้าเล่น ถ้าการส่งบอลเข้าเล่นนำไปส่งท่ีเส้นหลัง
ด้านโต๊ะผู้บันทึกคะแนน กรรมการตาม(T) จะอยู่ในตำแหน่งระหว่างลูกบอลกับเส้นข้าง
ด้านโต๊ะผู้บันทึกคะแนน ถ้าการส่งบอลเข้าเล่นนำไปส่งท่ีด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึกคะแนน
กรรมการตาม(T) จะอยู่ในตำแหน่งระหว่างลูกบอลกับเส้นข้างด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึกคะแนน
กรรมการตาม(T) และกรรมการนำ(L) ต้องอยู่ด้านเดยี วกับลูกบอลเสมอ
B. กรรมการกลาง(C) อยู่ในตำแหน่งห่างจากกรรมการตาม(T) ระยะ 7-10 เมตร และพร้อม
ที่จะปรับการเคลื่อนที่ตามผู้เล่นเมื่อส่งลูกบอลเข้าเล่น กรรมการกลาง(C) อยู่ด้านตรงข้ามกับ
กรรมการตาม(T) และกรรมการนำ(L) เสมอ
C. กรรมการนำ(L) อยู่ในตำแหน่งท่ีแนวเส้นโยนโทษในแดนหน้า และพร้อมที่จะปรับ
การเคล่ือนที่ตามการเคลือ่ นท่ีของผู้เล่น
D. กรรมการนำ(L) ไม่จำเป็นต้องเคลื่อนที่ไปยังด้านที่มีลูกบอล จนกว่าลูกบอล และผู้เล่นทุกคน
ไดเ้ คล่อื นที่ไปในแดนหน้า
4.3 การส่งบอลเข้าเล่นจากเส้นข้างเม่ือลูกบอลข้ึนไปแดนหน้าหรือยังคง
อยู่ในแดนหน้า
: Throw-in from sideline when the ball goes or remains in frontcourt
ภาพท่ี 20 ดา้ นโต๊ะผบู้ ันทึกคะแนน
200 คมู่ อื ผู้ตดั สินกฬี าบาสเกตบอล
ภาพท่ี 21 ดา้ นตรงข้ามโต๊ะผบู้ นั ทกึ คะแนน
A. กรรมการตาม(T) เป็นผ้ดู ำเนินการส่งบอลเขา้ เล่น และยังคงเป็นกรรมการตาม(T)
B. กรรมการกลาง(C) อยูใ่ นตำแหนง่ ห่างจากกรรมการตาม(T) ระยะ 7 - 10 เมตร และพรอ้ มที่
จะปรบั การเคล่ือนที่ตามผู้เลน่ เม่อื ส่งบอลเขา้ เล่น ในขณะท่ยี งั คงเปน็ กรรมการกลาง(C)
C. กรรมการนำ(L) อยู่ในตำแหน่งแนวเส้นโยนโทษในแดนหน้า และพร้อมท่ีจะปรับการเคล่ือนที่
ตามการเคลอื่ นท่ขี องผู้เล่น
D. ถ้าการส่งบอลเข้าเล่น เป็นผลมาจากลูกบอลออกนอกสนามด้านของกรรมการตาม(T) ในแดนหลัง
หรือแดนหน้า ให้กรรมการตาม(T) อยู่ในตำแหน่งน้ันต่อไปและเป็นผู้ดำเนินการส่งบอล
เขา้ เล่น
E. กรรมการนำ(L) ไม่จำเป็นต้องเคลื่อนท่ีไปยังด้านที่มีลูกบอล จนกว่าลูกบอลและผู้เล่นทุกคน
ได้เคลือ่ นท่ไี ปแดนหน้า
คู่มือผ้ตู ดั สินกฬี าบาสเกตบอล 201
ภาพที่ 22 ดา้ นตรงข้ามโตะ๊ ผ้บู นั ทกึ คะแนน
ภาพท่ี 23 ดา้ นตรงข้ามโต๊ะผู้บนั ทกึ คะแนน
A. กรรมการกลาง(C) เรียกการทำผิดระเบียบลูกบอลออกนอกสนาม ให้กรรมการกลาง(C)
เคลื่อนที่ไปยังจุดที่ส่งบอลเข้าเล่นเพื่อดำเนินการส่งบอลเข้าเล่น และกลายเป็นกรรมการตาม(T)
คนใหม
่
B. กรรมการตาม(T) เคลือ่ นที่ไปยงั ตำแหน่งกรรมการกลาง(C) คนใหม
่
C. กรรมการนำ(L) เคลือ่ นทไี่ ปด้านที่มีลกู บอล
202 คมู่ อื ผตู้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล
4.4 การสง่ บอลเข้าเลน่ จากเสน้ หลงั เมือ่ ลกู บอลยงั คงอยู่ในแดนหนา้
: Throw-in from endline when the ball remains in frontcourt
ภาพที่ 24 ด้านโตะ๊ ผบู้ ันทกึ คะแนน
ภาพท่ี 25 ดา้ นตรงข้ามโต๊ะผบู้ ันทึกคะแนน
A. กรรมการนำ(L) ดำเนินการส่งบอลเข้าเล่นจากตำแหน่งระหว่างผู้ส่งบอลเข้าเล่น
กับหว่ งตาข่าย
B. กรรมการกลาง(C) อยู่ในตำแหน่งถัดลงไปจากแนวเส้นโยนโทษด้านเส้นข้างของสนามแข่งขัน
2 เมตร
C. กรรมการตาม(T) อยใู่ นตำแหน่งแนวขอบเขตทน่ี ั่งของทีม
คู่มอื ผตู้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 203
5
. สถานการณก์ ารยงิ ประตู : Shooting situations
5.1 การครอบคลุมการยงิ ประตูและการแยง่ บอล :
Shot for a field goal and rebound coverage
ภาพท่ี 26 การยิงประตูจากบริเวณวงกลมเขตโยนโทษ
A. กรรมการกลาง(C) เป็นผู้รับผิดชอบหลักสำหรับความพยายามยิงประตูท้ังหมดจากบริเวณ
ภายในครงึ่ วงกลมโยนโทษ
B. กรรมการตาม(T) เป็นผู้รับผิดชอบในการช่วยเหลือสำหรับการยิงประตูจากบริเวณภายใน
ครงึ่ วงกลมโยนโทษทางดา้ นของกรรมการตาม(T)
ภาพที่ 27 การยิงประตจู ากดา้ นโตะ๊ ผบู้ นั ทึกคะแนน
คู่มือผูต้ ดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล
204
ภาพที่ 28 การยงิ ประตดู ้านตรงข้ามโต๊ะผบู้ ันทกึ คะแนน
ค
วามพยายามยงิ ประตจู ากดา้ นทีม่ กี ารเล่นบอล ความรับผดิ ชอบให้เป็นดังตอ่ ไปนี้ :
A. กรรมการนำ(L) รับผดิ ชอบผู้ยิงประตู พรอ้ มกบั การแย่งบอลดา้ นที่มลี ูกบอล
B. กรรมการกลาง(C) เป็นผู้รับผิดชอบหลักสำหรับการทำผิดระเบียบเก่ียวกับการขัดขวางลูกบอล
ลงห่วง และการรบกวนห่วงตาข่ายกับความรับผิดชอบรองลงมาสำหรับการแย่งบอลด้านที่ไม่มี
การเล่นบอล
C. กรรมการตาม(T) รับผิดชอบสำหรับการทำผิดระเบียบเกี่ยวกับการขัดขวางลูกบอลลงห่วง
และการรบกวนห่วงตาข่าย พร้อมกบั การแยง่ บอลบรเิ วณวงกลมเขตโยนโทษ
5.2 ความรับผิดชอบในการครอบคลุมพื้นท่ีเม่ือลูกบอลออกนอกสนาม
และเป็นผลให้ส่งบอลเข้าเล่น
: Responsibility for out-of-bounds coverage and resulting throw-ins
ภาพท่ี 29 ความรบั ผิดชอบในการส่งบอลเขา้ เล่น
205
คูม่ อื ผตู้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล
กรรมการแต่ละคนจะรับผิดชอบในการครอบคลุมพ้ืนที่เม่ือลูกบอลออกนอกสนาม
ด้านเส้นข้าง หรือเส้นหลังในพื้นท่ีสนามของเขา หากกรรมการคนนั้นสงสัยว่าใครทำให้ลูกบอล
ออกนอกสนาม เขาควรดูผ้รู ่วมตัดสนิ ทีค่ อยชว่ ยเหลือ
วิธีการน้ีให้ใช้สำหรับการทำผิดระเบียบเก่ียวกับการทำลูกบอลกลับสู่แดนหลังท่ีเส้นกลาง
ได้เช่นเดียวกนั
6. สัญญาณและขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ : Signals and procedures
6.1 ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั เิ มอ่ื เรยี กฟาลว์ : Procedure when a foul is called
A. กรรมการผเู้ รียกฟาล์ว :
1. ชี้ตัวผู้เล่นที่กระทำฟาล์ว และว่ิงไปยังบริเวณที่ไม่มีผู้เล่น หยุดน่ิงเพื่อรายงาน
การฟาล์วตอ่ โตะ๊ ผู้บนั ทกึ คะแนน
2. เคล่อื นทไ่ี ปด้านตรงข้ามโต๊ะผบู้ นั ทึกคะแนนของสนามแข่งขนั
B. กรรมการที่ไมไ่ ดเ้ รียกฟาล์ว :
1. หยุดน่ิงและสังเกตผู้เล่นทุกคน จนกว่าการรายงานการฟาล์วได้เริ่มขึ้น จากนั้น
เคลอ่ื นที่ไปยงั ตำแหนง่ ใหมข่ องพวกเขา โดยทยี่ ังคงสงั เกตผ้เู ล่นอยู่ตลอดเวลา
2. ถ้ากรรมการด้านโต๊ะผู้บันทึกคะแนนไม่ได้เรียกฟาล์ว เขายังคงอยู่ด้านโต๊ะผู้บันทึก
คะแนน
3. กรรมการท่ีอยู่ใกล้โต๊ะผู้บันทึกคะแนนเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการการขอเวลานอก
และการเปล่ียนตวั
C. กรรมการผูเ้ รยี กฟาลว์ ฝา่ ยรกุ :
1. ด้านโต๊ะผู้บันทึกคะแนน กลายเป็นกรรมการกลาง(C)คนใหม่ท่ีด้านตรงข้ามโต๊ะ
ผ้บู นั ทกึ คะแนน
2. ด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บนั ทึกคะแนน กลบั ไปอยู่ด้านตรงข้ามโต๊ะ บนั ทึกคะแนน
D. การโยนโทษ :
1. กรรมการนำ(L) คนใหม่ เป็นผู้ดำเนินการโยนโทษท้ังหมดจากด้านตรงข้ามโต๊ะ
ผู้บันทึกคะแนนเสมอ
2. ก่อนเข้าไปในเขตโยนโทษเพ่ือดำเนินการโยนโทษ(ครั้งเดียว/หลายคร้ัง)
กรรมการนำ(L)ต้องตรวจสอบโต๊ะผู้บันทึกคะแนนสำหรับการขอเวลานอก
หรือขอเปล่ยี นตัวท่ลี า่ ชา้
206 คมู่ ือผูต้ ัดสินกฬี าบาสเกตบอล
3. กรรมการกลาง(C) ตำแหนง่ ของเขาอยทู่ ี่ระดบั เส้นโยนโทษด้านโต๊ะผ้บู นั ทกึ คะแนน
4. กรรมการตาม(T) ตำแหน่งของเขาอยู่ท่ีระดับของเขตท่ีน่ังของทีมด้านตรงข้ามโต๊ะ
ผู้บันทึกคะแนน ในกรณีของการส่งบอลเข้าเล่นภายหลังการโยนโทษท่ีแนวเส้นกลาง
ตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึกคะแนน เขาต้องก้าวลงไปท่ีเส้นกลางเพ่ือดำเนินการส่งบอล
เข้าเล่น
6.2 การเปล่ยี นตำแหน่งภายหลังการเรยี กฟาลว์ ลูกบอลยงั คงอย่ใู นแดนหนา้
: Switching positions after a foul is called, ball remains in the
frontcourt
ภาพที่ 30 กรรมการกลาง(C) เรยี กฟาลว์ ผู้เลน่ ฝ่ายปอ้ งกนั
ภาพที่ 31 กรรมการนำ(L) เรียกฟาลว์ ผู้เลน่ ฝ่ายปอ้ งกนั
คมู่ อื ผู้ตัดสนิ กฬี าบาสเกตบอล 207
ภาพท่ี 32 กรรมการตาม(T) เรียกฟาลว์ ผ้เู ลน่ ฝ่ายป้องกัน
A. กรรมการท่ีเรียกฟาล์ว รายงานการฟาล์วต่อกรรมการโต๊ะผู้บันทึกคะแนน และเคลื่อนท่ีไป
ดา้ นตรงข้ามโตะ๊ ผบู้ ันทึกคะแนนของสนามแขง่ ขนั
B. กรรมการคนอ่ืนหยุดน่ิงและสังเกตผู้เล่นทุกคน จนกว่าการรายงานการฟาล์วได้เร่ิมข้ึน
จากน้นั ให้เคลอ่ื นทไ่ี ปยงั ตำแหน่งใหม่ของพวกเขา โดยทยี่ งั คงสังเกตผ้เู ลน่ อยู่ตลอดเวลา
6.3 การเปลี่ยนตำแหนง่ ภายหลงั การเรียกฟาล์ว ลูกบอลข้ึนไปแดนหนา้ ใหม่
: Switching positions after a foul is called, ball goes to
new frontcourt
ภาพท่ี 33 กรรมการกลาง(C) เรียกฟาลว์ ผ้เู ลน่ ฝ่ายรกุ
208 คู่มือผู้ตัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล
ภาพท่ี 34 กรรมการนำ(L) เรยี กฟาล์วผเู้ ลน่ ฝา่ ยรุก
ภาพท่ี 35 กรรมการตาม(T) เรียกฟาล์วผู้เล่นฝ่ายรกุ
A. กรรมการท่ีเรียกฟาล์ว รายงานการฟาล์วต่อกรรมการโต๊ะผู้บันทึกคะแนน และเคล่ือนที่ไป
ดา้ นตรงขา้ มโต๊ะผบู้ นั ทกึ คะแนนของสนามแข่งขนั
B. กรรมการคนอ่ืนหยุดน่ิงและสังเกตผู้เล่นทุกคน จนกว่าการรายงานการฟาล์วได้เริ่มข้ึน
จากน้ันใหเ้ คล่ือนที่ไปยังตำแหน่งใหม่ของพวกเขา โดยท่ยี ังคงสังเกตผ้เู ล่นอยู่ตลอดเวลา
คู่มอื ผู้ตัดสินกีฬาบาสเกตบอล 209
7
. สถานการณก์ ารโยนโทษ : Free-throw situations
7.1 การดำเนินการโยนโทษ : Free-throw administration
A. ความรบั ผิดชอบของกรรมการนำ(L) ด้านตรงข้ามโตะ๊ ผบู้ นั ทึกคะแนน :
1. รับบอลกลับมาและดำเนินการโยนโทษทั้งหมด โดยให้สัญญาณจำนวนคร้ัง
ของการโยนโทษ และสง่ ลูกบอลกระดอนพ้ืนไปยังผโู้ ยนโทษ
2. ดผู ู้เล่นตามแนวด้านตรงข้าม ของเขต 3 วินาที
3. ภายหลังการโยนโทษครั้งสุดท้ายหรือคร้ังเดียวเป็นผลสำเร็จ ให้สัญญาณเวลาใน
เรมิ่ เดนิ เวลาการแข่งขัน
B. ความรับผดิ ชอบของกรรมการกลาง(C) ด้านโตะ๊ ผู้บันทกึ คะแนน :
1. ให้สญั ญาณจำนวนคร้งั ของการโยนโทษ
2. ดูผเู้ ลน่ ตามแนวด้านตรงข้าม ของเขต 3 วินาท
ี
3. สังเกตเท้าของผโู้ ยนโทษ
C. ความรับผดิ ชอบของกรรมการตาม(T) ดา้ นตรงข้ามโต๊ะผบู้ ันทกึ คะแนน :
1. ชว่ ยดกู ารทำผดิ ระเบยี บการโยนโทษ บริเวณทีจ่ ำเป็น
2. ดำเนินการส่งบอลเข้าเล่นท่ีแนวเส้นกลางสนามตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึกคะแนน
เม่ือกติกากำหนดไว้ กรรมการทุกคนต้องแน่ใจว่า ผู้เล่นที่กำลังพยายาม
โยนโทษเปน็ ผ้เู ล่นท่ถี กู ต้อง
ภาพที่ 36 การดำเนนิ การโยนโทษ
210 คมู่ อื ผู้ตัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล
7.2 การดำเนินการตามบทลงโทษของการฟาล์วเทคนิค ฟาล์วผิดวิสัยนักกีฬา
และฟาลว์ เสยี สทิ ธ์ิ : Administration of technical, unsportsmanlike and
disqualifying foul penalties
A. กรรมการที่เรียกฟาล์วเทคนิค ฟาล์วผิดวิสัยนักกีฬา หรือฟาล์วเสียสิทธิ์ ให้รายงานการฟาล์ว
และกลายเป็นกรรมการตาม(T) คนใหม่ : ด้านตรงข้ามโตะ๊ ผบู้ นั ทกึ คะแนน
B. กรรมการนำ(L) : ด้านตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึกคะแนน ดำเนินการโยนโทษท้ังหมด โดยให้
สัญญาณจำนวนครัง้ ของการโยนโทษ และส่งบอลกระดอนพ้ืนไปใหผ้ ู้โยนโทษ
C. กรรมการกลาง(C) : ด้านโตะ๊ บนั ทกึ คะแนน ให้ตำแหนง่ ของเขาอยทู่ ีแ่ นวเส้นโยนโทษ ในขณะ
การดำเนนิ การโยนโทษ
D. หลังจากการโยนโทษคร้ังสุดท้ายหรือคร้ังเดียว กรรมการนำ(L) ส่งหรือกลิ้งบอลไปให
้
กรรมการตาม(T) เพ่ือดำเนนิ การส่งบอลเข้าเลน่ ท่แี นวเสน้ กลาง ตรงขา้ มโตะ๊ ผบู้ นั ทึกคะแนน
E. กรรมการกลาง(C) ยังคงอยใู่ นตำแหน่งกรรมการกลาง(C) ตามปกติ
ภาพที่ 37 การดำเนนิ การสง่ บอลเข้าเล่นที่แนวเสน้ กลางสนาม,ตรงขา้ มโตะ๊ ผ้บู นั ทึกคะแนน
8
. การขอเวลานอกและการเปลีย่ นตวั : Time-outs and substitutions
8.1 เวลานอก : Time-outs
A. ในช่วงเวลาทเี่ หมาะสม ผูบ้ ันทกึ คะแนนจะแจ้งกรรมการโดยใหส้ ญั ญาณเสียงของเขา วา่ มกี าร
ขอเวลานอกหรือเปลี่ยนตัว ให้กรรมการที่อยู่ใกล้โต๊ะผู้บันทึกคะแนนเป่านกหวีดและให้
สัญญาณเวลานอกหรือสัญญาณการเปล่ียนตัว ในกรณีท่ีกรรมการด้านโต๊ะผู้บันทึกคะแนน
คู่มือผู้ตดั สนิ กีฬาบาสเกตบอล 211
เรียกฟาล์ว การขอเวลานอก และ/หรือการเปล่ียนตัวจะอนุญาตโดยกรรมการที่เข้ามาแทน
กรรมการดา้ นโตะ๊ ผบู้ นั ทกึ คะแนน
B. กรรมการท้ังหมดอยู่ท่ีตำแหน่งเช่นเดียวกับช่วงก่อนเริ่มการแข่งขัน กรรมการที่ให้เวลานอก
กลายเป็นกรรมการกลาง(C) และยืนคร่อมเส้นกลางตรงข้ามโต๊ะผู้บันทึกคะแนน กรรมการ
คนอื่นยืนอยู่ทางด้านซ้ายและด้านขวาของเขา ถ้ากลับสู่การแข่งขันด้วยการโยนโทษ
ให้กรรมการนำ(L) ถือบอล ถ้ากลับสู่แข่งขันด้วยการส่งบอลเข้าเล่น ท่ีเส้นข้างหรือเส้นหลัง
ให้กรรมการทีร่ บั ผิดชอบในการส่งบอลเข้าเล่นถือบอล
C. เม่ือสัญญาณเวลา 50 วินาทีดัง กรรมการต้องแน่ใจว่าผู้เล่นทุกคนกลับลงสู่สนามแข่งขัน
จากน้นั ให้กรรมการเคลื่อนทีไ่ ปยังตำแหน่งการโยนโทษหรือตำแหนง่ การส่งบอลเข้าเลน่ ตามปกต
ิ
ภาพที่ 38 ระหวา่ งเวลานอก
9. การครอบคลมุ การยงิ ประตู 3 คะแนน : Three-point field goal coverage
A. เมื่อคาดว่ามีความพยายามยิงประตู 3 คะแนน กรรมการควรปรับตำแหน่งของเขา
เพอ่ื พิจารณาความพยายามยงิ ประตูให้ถูกต้องชดั เจน
B. เมื่อผู้เล่นพยายามยิงประตู 3 คะแนน กรรมการท่ีอยู่ในพื้นท่ีของผู้เล่นที่พยายามยิงประตู
ต้องให้สัญญาณพยายามยิงประตู 3 คะแนน โดยเหยียดแขนข้างหนึ่งข้ึนเหนือศีรษะของเขา
พรอ้ มด้วยเหยียดนิ้วมือ 3 นวิ้
C. เมื่อการยิงประตู 3 คะแนนเป็นผลสำเร็จ กรรมการที่ครอบคลุมพื้นท่ีต้องให้สัญญาณ
โดยการเหยยี ดแขนท้ังสองขา้ งขึ้นเหนอื ศรี ษะพร้อมด้วยเหยียดนว้ิ มอื 3 น้ิว
212 คมู่ ือผู้ตดั สินกฬี าบาสเกตบอล
D. เม่ือกรรมการตาม(T) ให้สัญญาณการยิงประตู 3 คะแนน เป็นผลสำเร็จ กรรมการกลาง(C)
ต้องให้สัญญาณตอบกลับ รวมถึงเม่ือกรรมการกลาง(C) ให้สัญญาณการยิงประตู 3 คะแนน
เป็นผลสำเร็จ กรรมการตาม(T) ตอ้ งให้สญั ญาณตอบกลับด้วย
E. จากแนวเส้นโยนโทษถึงระดับสูงสุดของครึ่งวงกลมโยนโทษท้ังสองด้าน ให้กรรมการตาม(T)
และกรรมการกลาง(C) ร่วมกนั รับผดิ ชอบสำหรับความพยายามการยิงประตู 3 คะแนน
F. กรรมการนำ(L) จะรับผิดชอบคอยช่วยเหลือสำหรับความพยายามการยิงประตู 3 คะแนน
จากการส่งแบบรุกเร็วเมื่อกรรมการกลาง(C) และกรรมการตาม(T) ไม่สามารถอยู่ในตำแหน่ง
การมองเห็นความพยายามยงิ ประต
ู
G. ขณะแสดงสัญญาณ กรรมการต้องไม่หันหลังให้ผู้เล่นหรือสนามแข่งขัน กรรมการต้อง
คาดการณ์การเล่นรุกเร็ว (Fast break) ในทันทีทันใดหลังจากความพยายามยิงประตู
3 คะแนนเปน็ ผลสำเรจ็ และต้องพร้อมท่จี ะปฏิบตั หิ น้าท่ีติดตามการเลน่ ต่อไป
ภาพที่ 39 การครอบคลุม
การยิงประตู 3 คะแนน
ภาพท่ี 40 การครอบคลุมการยงิ ประตู 3 คะแนน
คูม่ ือผตู้ ัดสินกีฬาบาสเกตบอล 213
บรรณานกุ รม
อดุ ม พิมพา. กตกิ าบาสเกตบอล ฉบบั ปี 2555(2012). กรงุ เทพฯ : 2556. (อดั สำเนา)
วัชระ คล้ายรอด. กตกิ าบาสเกตบอล ฉบับปี 2551(2008). กรุงเทพฯ : 2551. (อดั สำเนา)
__________. คำอธิบายกตกิ าบาสเกตบอล ฉบบั ปี 2551(2008). กรุงเทพฯ : 2551. (อัดสำเนา)
สุชาย วจิ ติ รบญุ ยรกั ษ.์ กติกาบาสเกตบอล ฉบบั ปี 2553(2010). กรงุ เทพฯ : 2553. (อดั สำเนา)
__________. คำอธิบายกติกาบาสเกตบอล ฉบับปี 2553(2010). กรุงเทพฯ : 2553.
(อดั สำเนา)
สุชาย วจิ ิตรบญุ ยรักษ.์ กติกาบาสเกตบอล ฉบับปี 2555(2012). กรุงเทพฯ : 2553. (อัดสำเนา)
FIBA Central Board, International Basketball Federation (FIBA). Official Basketball
Rules 2012 Rio de Janeiro, Brazil, 29th April 2012
FIBA Central Board, International Basketball Federation (FIBA). Official Basketball
Rules 2014 Barcelona, Spain, 2nd February 2014
ดนยั ถกึ ไทย. ค่มู อื ผตู้ ัดสนิ การตัดสนิ บาสเกตบอลระบบ 2 คน. กรุงเทพฯ : 2550. (อัดสำเนา)
FIBA Central Board, International Basketball Federation (FIBA). Official Basketball
Rules 2010
Rules 2010 Referees’ Manual Two - Person Officiating. San Juan, Puerto Rico,
17th April 2010.
FIBA Central Board, International Basketball Federation (FIBA). Official Basketball
Rules 2010
Referees’ Manual Three - Person Officiating. San Juan, Puerto Rico, 31st March 2006
214 คูม่ อื ผู้ตัดสินกฬี าบาสเกตบอล
คณะผูจ้ ัดทำ
ท
ป่ี รึกษา
ดร.พัฒนาชาติ กฤดบิ วร อธบิ ดกี รมพลศึกษา
ดร.กติ ติพงษ์ โพธิม ู รองอธิบดีกรมพลศกึ ษา
นายนิวัตน์ ลมิ้ สขุ นิรันดร์ รองอธบิ ดีกรมพลศึกษา
คณะผู้จดั ทำ
นายปัญญา หาญลำยวง ผ้อู ำนวยการสถาบนั พฒั นาบคุ ลากรการพลศกึ ษาและ
การศกึ ษาและการกีฬา
นายชาญ ชมมณฑา
นางบงกชรตั น์ โมลี นักพัฒนาการกีฬาชำนาญการพิเศษ
นางปารชิ าติ ชมช่นื นักพัฒนาการกีฬาชำนาญการพิเศษ
ผ
แู้ ปลและเรียบเรยี งต้นฉบับ
นายสุชาย วิจติ รบญุ ยรกั ษ์
ผู้เรยี บเรียง
นายณัฏฐนนั ท์ ศศะรมย์ นักพฒั นาการกีฬาปฏิบัตกิ าร
นางสาวชารสิ า วัดตาล นกั พฒั นาการกฬี าปฏบิ ัตกิ าร
นางสาววรศิ รา ฟงุ สูงเนิน นกั พัฒนาการกฬี าปฏบิ ัตกิ าร
คู่มือผู้ตดั สินกฬี าบาสเกตบอล 215
คู่มือผตู้ ัดสนิ กีฬาบาสเกตบอล
พมิ พค์ รั้งท่ี 1 พ.ศ. 2558
จำนวนพมิ พ์ 800 เลม่
จัดทำโดย สถาบนั พฒั นาบุคลากรการพลศกึ ษาและการกฬี า
กรมพลศกึ ษา
154 ถนนพระราม 1 แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วัน
กรุงเทพมหานคร 10330
พิมพท์ ี ่ สำนกั งานกิจการโรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก
216 ค่มู ือผูต้ ดั สนิ กฬี าบาสเกตบอล