หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั
ปกี ารศึกษา ๒๕๖5
โรงเรยี นเทศบาล 1 (บ้านเก่า)
สงั กดั กองการศกึ ษา เทศบาลตำบลเมอื งพาน
อำเภอพาน จงั หวดั เชยี งราย
กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น
กระทรวงมหาดไทย
ก
คำนำ
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕65 จัดทำขึ้นเพื่อให้โรงเรียนเทศบาล ๑ (บ้านเก่า)
ซึ่งจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยปรับปรุงให้
เหมาะสมกับเด็กและสภาพท้องถิ่น เพื่อที่กำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยให้มีพัฒนาการสมวัย
และมที ักษะชวี ติ ควบคทู่ ักษะสมอง เป็นคนดี มวี ินัย สำนึกความเป็นไทย และมคี วามรบั ผิดชอบต่อตนเอง
ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศไทยในอนาคต อย่างมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานตามจุดหมาย
หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
โรงเรียนเทศบาล ๑ (บ้านเก่า) สังกัดเทศบาลตำบลเมืองพาน อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย
ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน รวมทั้งคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๑ (บ้านเก่า)
ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย (ฉบับปรับปรุง) พุทธศักราช ๒๕๖5 ให้มีความ
เหมาะสมต่อการนำไปใชจ้ ดั การศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียนต่อไป
คณะผู้จดั ทำ
สารบญั ข
คำนำ หน้า
สารบญั
สว่ นนำ ก
ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวยั ข
วสิ ยั ทศั น์ ๑
พันธกจิ ๒
เป้าหมาย ๒
จดุ หมาย 2
มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตัวบ่งช้ี และสภาพที่พงึ ประสงค์ 3
ระยะเวลาเรยี น 3
สาระการเรยี นรู้รายปี ๓
ตารางการวเิ คราะห์สาระท่คี วรเรยี นรู้รายปี ๑๔
สาระที่ควรเรียนรู้ ๑๔
การจัดประสบการณร์ ปู แบบมอนเตสซอรี่ ๒๐
การจัดสภาพแวดลอ้ ม สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้ ๖4
การประเมินพัฒนาการ ๖5
การบริหารจดั การหลักสตู ร 70
การเช่อื มต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกบั ระดบั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ 79
การกำกับ ติดตาม ประเมิน และรายงาน 97
รายการอา้ งองิ ๑00
๑02
๑03
๑
ความนำ
สภาพการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประกอบกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ รวมทั้งกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ
๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔)
แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๖๑) แผนยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นเด็กปฐมวัย (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔)
นำไปสู่การกำหนดทักษะสำคัญสำหรับเด็กในศตวรรษท่ี ๒๑ ทมี่ ีความสำคัญในการกำหนดเป้าหมายในการ
พฒั นาเดก็ ปฐมวัยใหม้ คี วามสอดคลอ้ งและทันต่อการเปล่ียนแปลงทกุ ดา้ น
ตามที่หนังสือกะทรวงมหาดไทย ที่ มท. ๐๘๑๖.๔/ว ๕๐๐๕ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๒ เรื่อง
แนวทางการปฏิบัติในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในสถานศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท่ี
สอดคล้องกระทรวงศึกษาธิการได้มีคำสั่งที่ สพฐ.๑๒๒๓/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ เรื่อง ให้ใช้
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เพื่อให้การจัดการศกึ ษาปฐมวัยที่ตอ้ งพัฒนาเด็กตั้งแต่แรก
เกิด ถึง ๖ ปี ให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย
ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้และสร้างรากฐาน
ชีวิตให้พัฒนาเด็กปฐมวัยไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็น คนดี มีวินัย ภูมิใจชาติ และมีความ
รบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ เพราะฉะนน้ั สถานศกึ ษาทเ่ี ปดิ ทำการสอน
ต้งั แตร่ ะดับช้นั อนุบาล จะตอ้ งจัดทำหลกั สูตรสถานศึกษาระดับปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตร
การศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ข้ึนเพ่อื นำไปใชเ้ ป็นกรอบและทิศทางในการกำหนดเป้าหมายในการ
พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพฒั นาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา เป็นคนดี มีวินัย สำนึก
ความเป็นไทย และมีความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม และ ประเทศชาติ ในอนาคต
อย่างมีประสิทธิภาพและไดม้ าตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงคต์ ามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช
๒๕๖๐ มีการตรวจสอบเอกสารหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๔ ทุกรายการครบถ้วน
ถูกต้องสมบูรณ์ ตามองค์ประกอบของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยการมีส่วนร่วม
ของคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและงานวชิ าการสถานศกึ ษา
ข้อมูลท่ัวไปโรงเรยี นเทศบาล ๑ (บ้านเก่า)
โรงเรียน เทศบาล ๑ (บ้านเก่า)ตั้งอยู่เลขที่ ๓๕๗ หมู่ที่ 8 ตำบลเมืองพาน อำเภอพาน
จังหวัดเชียงราย รหัสไปรษณีย์ 57120 โทรศัพท์ 053-721075 โทรสาร 053-721075 สังกัด
เทศบาลตำบลเมืองพาน อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เปิดสอนระดับชั้นปฐมวัย ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนต้น จำนวน 2๗ ห้องเรียน แยกเป็นระดับปฐมวัย ๙ ห้องเรียน ระดับประถมศึกษา ๑๒ ห้องเรียน
และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๖ ห้องเรียน สำหรับระดับปฐมวัยจัดการเรียนการสอนรูปแบบบูรณการ
ตามแนวคดิ มอนเตสซอรี่ สำหรบั เดก็ อายุ ตง้ั แต่ ๓ – ๖ ปี
ประวัติความเป็นมาของโรงเรยี น
โรงเรียนบ้านเก่า ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ภายใต้การจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการตลอดมา จวบจนในปี พ.ศ. 2545 ทางโรงเรียนได้รับการอนุเคราะห์และสนับสนุน
จากทางเทศบาลตำบลเมืองพาน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในหลายๆ ด้าน อย่างสม่ำเสมอ ทำให้
โรงเรียนมีความก้าวหนา้ และพัฒนาขึ้นตามลำดับ จนเป็นที่ประจักษ์แก่ผู้ปกครองและประชาชนโดยทั่วไป
๒
ต่อมาทางรัฐบาลได้กระจายอำนาจให้ท้องถิ่นได้มีบทบาทในการบริหารและจัดการทางด้านการศึกษา
โรงเรยี นบา้ นเก่า ซ่ึงได้รบั ความเห็นชอบจากประชาชน ผ้ปู กครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และคณะครู
จึงไดส้ มัครใจเข้ารับการถา่ ยโอนเข้าสูส่ ังกดั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน กระทรวงมหาดไทย
กระทั่งวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2549 โรงเรียนบ้านเก่า ได้รับการถ่ายโอนภารกิจและทาง
โรงเรยี นได้จัดพิธีรบั มอบการถ่ายโอนเมื่อวนั ท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2550 และเม่ือวนั ที่ 16 เมษายน พ.ศ.
2550 สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาเชียงราย เขต 2 ไดโ้ อนบคุ ลากร เข้าสังกัดองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน
สำนักงานเทศบาลตำบลเมืองพาน จำนวน 10 คน และมีชื่อโรงเรียนว่า โรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านเก่า)
เปน็ ตน้ มา
ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านเกา่ )
โรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านเก่า) จัดการพัฒนาเด็ก อายุ 3 -6 ปี บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดู และ
ส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้ทีส่ นองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวยั ของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ
ผา่ นการเลน่ การช่วยเหลือตนเอง การมีวนิ ัยในตนเองของเด็กแตล่ ะคน ดว้ ยความรกั ความเข้าใจเพื่อสร้าง
รากฐานคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ีและจัดการพฒั นาเดก็ โดยองค์รวม
วสิ ยั ทศั น์
ภายในปี 256๖ โรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านเก่า) มุ่งพัฒนาเด็กปฐมวัย อายุ ๓ -6 ปี
ได้จัดการเรยี นการสอนตามแนวคดิ มอนเตสซอรี่ ส่งเสริมให้เด็กคิดสร้างสรรคผ์ า่ นงานศลิ ปะ มีทักษะชีวติ
ทักษะสมองที่เหมาะสมตามวัย เด็กมีพัฒนาการเป็นเลิศตามศักยภาพ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม
ทุกภาคสว่ น
พันธกจิ
๑. พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาท่ีมงุ่ เนน้ พัฒนาการเด็กปฐมวัยท้ัง ๔ ดา้ น ซ่ึงได้แก่พัฒนาการด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา อยา่ งสมดุล และเตม็ ศกั ยภาพ
๒. พัฒนาครูปฐมวัยทกุ คนให้มีความรู้ความเขา้ ใจด้านการจัดประสบการณท์ ีส่ ่งเสริมการเรียนรู้ผา่ นการ
เลน่ ทมี่ ีความหมาย
๓. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั
๔. สง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมของผ้ปู กครอง ครอบครวั และชุมชนในการพฒั นาเด็กปฐมวัย
๓
เป้าหมาย
๑. เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาเป็นองค์
รวมอย่างสมดุลและมคี วามสขุ
๒. ครูปฐมวัยทุกคน มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการเล่นที่มี
ความหมาย
๓. มีสภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
อย่างเพยี งพอ
๔. ผู้ปกครอง ครอบครวั ชมุ ชน และหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องมีสว่ นร่วมในการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
จุดหมาย
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี มงุ่ ใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการตามวยั เต็มตามศักยภาพ
และมีความพร้อมในการเรียนรู้ต่อไป จึงกำหนดจุดหมายเพื่อให้เกิดกับเด็กเมื่อเด็กจบการศึกษาระดับ
ปฐมวยั ดงั น้ี
๑. ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวยั แขง็ แรง และมีสขุ นสิ ยั ทีด่ ี
๒. สขุ ภาพจิตดี มีสุนทรียภาพ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและจติ ใจที่ดีงาม
๓. มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวนิ ยั
และอยู่รว่ มกบั ผอู้ ่ืนได้อย่างมีความสุข
๔. มที ักษะการคดิ การใชภ้ าษาสื่อสาร และการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกับวัย
มาตรฐานคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์จำนวน ๑๒ มาตรฐาน
ประกอบดว้ ย
๑.พัฒนาการดา้ นรา่ งกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐานคอื
มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมสี ขุ นิสัยท่ีดี
มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกลา้ มเนื้อเล็กแขง็ แรงใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคลว่ และประสาน
สมั พนั ธก์ ัน
๒.พฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐานคอื
มาตรฐานที่ ๓ มสี ขุ ภาพจิตดีและมคี วามสุข
มาตรฐานที่ ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว
มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมจี ิตใจทด่ี ีงาม
๔
๓.พฒั นาการดา้ นสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ
มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชีวิตและปฏิบตั ติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเป็นไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยูร่ ว่ มกบั ผู้อ่ืนได้อยา่ งมีความสุขและปฏิบัติตนเปน็ สมาชิกท่ดี ีของสังคม
ในระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๔.พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐานคอื
มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกบั วยั
มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดทเ่ี ป็นพ้ืนฐานในการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มจี ินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์
มาตรฐานท่ี ๑๒ มีเจตคติที่ดตี ่อการเรยี นรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้
เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาเด็กที่มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์
สภาพที่พึงประสงค์
สภาพที่พึงประสงค์เป็นพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่คาดหวังให้เด็กเกิด บนพื้นฐาน
พัฒนาการตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดับอายุเพื่อนำไปใช้ในการกำหนดสาระ
เรียนรู้ใน การจัดประสบการณ์ กิจกรรมและประเมินพัฒนาการเด็กโดยมีรายละเอียดของมาตรฐาน
มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตวั บ่งชี้ และสภาพท่ีพงึ ประสงค์ ดงั น้ี
๑. พฒั นาการดา้ นร่างกาย
มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจรญิ เตบิ โตตามวัยเดก็ มีสขุ นสิ ัยที่ดี
ตวั บ่งช้ที ี่ ๑.๑ มนี ้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์
สภาพทพ่ี ึงประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-นำ้ หนักและส่วนสงู ตามเกณฑ์
-นำ้ หนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ -นำ้ หนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ของกรมอนามัย
ของกรมอนามยั ของกรมอนามยั
๕
ตัวบ่งช้ีท่ี ๑.๒ มีสขุ ภาพอนามยั สุขนสิ ยั ท่ีดี
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-ยอมรับประทานอาหารทม่ี ี -รับประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ -รบั ประทานอาหารท่มี ปี ระโยชน์
ประโยชนแ์ ละดืม่ น้ำทส่ี ะอาด และดม่ื น้ำสะอาดดว้ ยตนเอง ได้หลายชนดิ และด่ืมน้ำสะอาด
เมื่อมีผ้ชู ีแ้ นะ ไดด้ ว้ ยตนเอง
-ลา้ งมือก่อนรับประทานอาหาร -ลา้ งมอื ก่อนรับประทานอาหาร -ลา้ งมอื ก่อนรับประทานอาหาร
และหลังจากใช้ห้องนำ้ ห้องสว้ ม และหลงั จากใช้ห้องน้ำห้องส้วม และหลังจากใช้ห้องน้ำห้องสว้ ม
เมอื่ มผี ชู้ แี้ นะ ด้วยตนเอง ดว้ ยตนเอง
-นอนพักผ่อนเปน็ เวลา -นอนพักผ่อนเปน็ เวลา -นอนพักผ่อนเป็นเวลา
-ออกกำลงั กายเปน็ เวลา -ออกกำลงั กายเปน็ เวลา -ออกกำลังกายเปน็ เวลา
ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑.๓ รักษาความปลอดภยั ของตนเองและผู้อ่ืน
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-เลน่ และทำกจิ กรรมและปฏิบัติ
-เล่นและทำกจิ กรรมอย่าง -เล่นและทำกิจกรรมอยา่ ง ต่อผู้อ่นื อย่างปลอดภยั
ปลอดภัยเม่อื มีผชู้ ี้แนะ ปลอดภัยด้วยตนเอง
มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนื้อใหญแ่ ละกลา้ มเนอ้ื เลก็ แข็งแรงใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคล่วและประสานสมั พันธก์ ัน
ตวั บ่งชีท้ ่ี ๒.๑ เคล่อื นไหวร่างกายอยา่ งคลอ่ งแคลว่ ประสานสมั พนั ธแ์ ละทรงตัวได้
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-เดินตามแนวทีก่ ำหนดได้ -เดินตอ่ เทา้ ไปข้างหนา้ เป็นเส้นตรง -เดินต่อเท้าถอยหลงั เปน็ เสน้ ตรง
ได้โดยไม่ต้องกางแขน ไดโ้ ดยไม่ต้องกางเกง
-กระโดดสองขา ขนึ้ ลงอย่กู ับที่ -กระโดดขาเดยี วอยกู่ ับท่ไี ดโ้ ดยไม่ -กระโดดขาเดียว ไปขา้ งหนา้ ได้
ได้ เสียการทรงตวั อย่างต่อเนือ่ งโดยไมเ่ สียการทรง
ตวั
-วงิ่ แลว้ หยดุ ได้ -วิง่ หลบหลกี ส่งิ กดี ขวางได้ -วง่ิ หลบหลกี ส่งิ กีดขวางได้อย่าง
คล่องแคลว่
-รับลูกบอลโดยใชม้ ือและลำตัว -รับลกู บอลไดด้ ว้ ยมือทั้งสองข้าง -รับลกู บอลทก่ี ระดอนขึน้ จาก
ชว่ ย พื้นได้
๖
ตัวบ่งชี้ท่ี ๒.๒ ใช้มือ-ตาประสานสมั พันธก์ นั
สภาพท่ีพึงประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-ใช้กรรไกรตดั กระดาขาดจาก -ใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามแนว -ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนว
กนั ไดโ้ ดยใช้มือเดยี ว เส้นตรงได้ เสน้ โคง้ ได้
-เขียนรปู วงกลมตามแบบได้ -เขยี นรปู สีเ่ หลี่ยมตามแบบได้อยา่ ง -เขียนรูปสามเหลยี่ มตามแบบได้
มีมมุ ชัดเจน อย่างมีมุมชัดเจน
-รอ้ ยวสั ดุท่ีมีรูขนาดเสน้ ผ่าน -ร้อยวสั ดทุ ่ีมีรูจนาดเสน้ ผ่านศูนย์ -รอ้ ยวัสดุที่มีรขู นาดเส้นผ่าน
ศนู ยก์ ลาง ๑ ซม.ได้ ๐.๕ ซม.ได้ ศูนย์กลาง๐.๒๕ ซม.ได้
๒.พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ
มาตรฐานท่ี ๓ มีสขุ ภาพจิตดีและมีความสขุ
ตวั บ่งชี้ท่ี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์อยา่ งเหมาะสม
สภาพท่พี งึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-แสดงอารมณ์ ความรสู้ ึกได้ -แสดงอารมณ์ ความร้สู กึ ได้ -แสดงอารมณ์ ความรสู้ ึกไดส้ อดคล้อง
เหมาะสมกบั บาง ตามสถานการณ์ กบั สถานการณ์อย่างเหมาะสม
สถานการณ์
ตัวบง่ ชี้ท่ี ๓.๒ มีความรสู้ ึกที่ดีตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-กล้าพดู กล้าแสดงออก -กลา้ พดู กลา้ แสดงออกอย่าง -กล้าพูดกลา้ แสดงออกอยา่ ง
เหมาะสมบางสถานการณ์ เหมาะสมตามสถานการณ์
-แสดงความพอใจใน -แสดงความพอใจในผลงาน -แสดงความพอใจในผลงานและ
ผลงานตนเอง และความสามารถของตนเอง ความสามารถของตนเองและผู้อ่นื
๗
มาตรฐานที่ ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว
ตวั บ่งชีท้ ่ี ๔.๑ สนใจและมคี วามสุขและแสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ ดนตรีและการเคล่ือนไหว
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-สนใจและมคี วามสุขและ -สนใจและมีความสุขและ -สนใจและมีความสุขและแสดงออก
แสดงออกผ่านงานศลิ ปะ แสดงออกผ่านงานศิลปะ ผ่านงานศิลปะ
-สนใจ มคี วามสขุ และ -สนใจ มีความสุขและ -สนใจ มีความสุขและแสดงออก
แสดงออกผา่ นเสยี งเพลง แสดงออกผา่ นเสียงเพลง ผ่านเสยี งเพลง ดนตรี
ดนตรี ดนตรี
-สนใจ มีความสุขและแสดง -สนใจ มีความสขุ และแสดง -สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/
ทา่ ทาง/เคล่ือนไหวประกอบ ท่าทาง/เคลอ่ื นไหวประกอบ เคล่ือนไหวประกอบเพลง จังหวะ
เพลง จังหวะและ ดนตรี เพลง จงั หวะและ ดนตรี และ ดนตรี
มาตรฐานท่ี ๕ มีคุณธรรม จริยธรรมและมจี ิตใจท่ดี ีงาม
ตวั บ่งชที้ ี่ ๕.๑ ซ่ือสัตย์ สจุ ริต
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
- ขออนญุ าตหรือรอคอยเม่ือ
-บอกหรือชี้ไดว้ ่าส่ิงใดเปน็ ของ - ขออนญุ าตหรอื รอคอย ต้องการสง่ิ ของของผ้อู ื่นดว้ ยตนเอง
ตนเองและสิ่งใดเปน็ ของผู้อื่น เมือ่ ต้องการสิ่งของของ
ผู้อนื่ เมื่อมีผู้ชีแ้ นะ
ตวั บง่ ช้ที ่ี ๕.๒ มีความเมตตา กรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือแบง่ ปัน
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-แสดงความรักเพ่ือนและมีเมตตา -แสดงความรกั เพ่ือนและ -แสดงความรักเพ่อื นและมีเมตตา
สตั ว์เลี้ยง มเี มตตาสัตวเ์ ลย้ี ง สตั ว์เลี้ยง
-แบง่ ปนั สิง่ ของใหผ้ ู้อน่ื ได้เม่ือมีผู้ -ชว่ ยเหลอื และแบ่งปนั -ชว่ ยเหลือและแบง่ ปนั ผูอ้ ืน่ ได้ดว้ ย
ชี้แนะ ผอู้ น่ื ไดเ้ ม่ือมีผ้ชู ้ีแนะ ตนเอง
๘
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๕.๓ มีความเหน็ อกเหน็ ใจผูอ้ ่นื
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-แสดงสหี นา้ หรอื ทา่ ทางรบั รู้
-แสดงสหี น้าหรอื ทา่ ทางรบั รู้ -แสดงสีหน้าหรือทา่ ทางรับรู้ ความรูส้ ึกผอู้ ืน่ อย่างสอดคลอ้ ง
กบสถานการณ์
ความรู้สึกผูอ้ ื่น ความรูส้ กึ ผอู้ น่ื
ตัวบง่ ช้ที ี่ ๕.๔ มีความรับผิดชอบ
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-ทำงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจนสำเร็จ -ทำงานที่ไดร้ ับมอบหมายจน -ทำงานที่ได้รบั มอบหมายจน
เมอื่ มผี ู้ช่วยเหลือ สำเรจ็ เมื่อมผี ู้ชีแ้ นะ สำเร็จดว้ ยตนเอง
๓.พัฒนาการด้านสงั คม
มาตรฐานที่ ๖ มที ักษะชีวิตและปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวบ่งชท้ี ี่ ๖.๑ ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกจิ วัตรประจำวัน
สภาพท่ีพึงประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
- แตง่ ตวั โดยมีผู้ชว่ ยเหลอื - แต่งตัวด้วยตนเอง - แต่งตัวด้วยตนเองไดอ้ ย่าง
คล่องแคลว่
- รบั ประทานอาหารดว้ ยตนเอง -รบั ประทานอาหารดว้ ย - รบั ประทานอาหารดว้ ยตนเอง
ตนเอง อย่างถูกวิธี
-ใช้ห้องน้ำห้องส้วมโดยมีผู้ -ใช้ห้องนำ้ หอ้ งส้วมด้วย -ใช้และทำความสะอาดหลังใช้
ช่วยเหลือ ตนเอง ห้องนำ้ หอ้ งส้วมด้วยตนเอง
ตัวบง่ ช้ีท่ี ๖.๒ มีวนิ ยั ในตนอง สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ 5-๖ ปี
อายุ 4-๕ ปี -เก็บของเลน่ ของใช้เขา้ ท่ีอยา่ ง
อายุ 3-๔ ปี เรียบร้อยดว้ ยตนเอง
-เก็บของเล่นของใช้เข้าท่ีเมื่อมผี ู้ -เก็บของเลน่ ของใชเ้ ขา้ ที่ -เข้าแถวตาลำดบั กอ่ นหลงั ได้ดว้ ย
ชี้แนะ ดว้ ยตนเอง ตนเอง
-เข้าแถวตาลำดับกอ่ นหลงั ได้เมื่อมี -เขา้ แถวตาลำดบั ก่อนหลงั
ผู้ช้ีแนะ ได้ดว้ ยตนเอง
๙
ตัวบ่งช้ีท่ี ๖.๓ ประหยัดและพอเพียง
สภาพทพ่ี ึงประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-ใชส้ ิง่ ของเคร่ืองใช้อย่างประหยดั -ใช้สงิ่ ของเคร่ืองใช้อย่าง -ใชส้ ิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยดั
และพอเพียงเม่ือมีผชู้ ้ีแนะ ประหยดั และพอเพยี งเมื่อมี และพอเพียงด้วยตนเอง
ผชู้ ีแ้ นะ
มาตรฐานที่ ๗ รกั ธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย
ตัวบง่ ช้ีท่ี ๗.๑ ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สภาพทีพ่ ึงประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-มีส่วนรว่ มในการดูแลรักษา -มสี ว่ นร่วมในการดแู ลรกั ษา -มสี ่วนร่วมในการดูแลรักษา
ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมเม่ือมผี ู้ ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมดว้ ย
ชี้แนะ เมื่อมผี ู้ช้แี นะ ตนเอง
-ทิ้งขยะไดถ้ ูกท่ี -ทิง้ ขยะได้ถูกที่ -ทง้ิ ขยะไดถ้ ูกท่ี
ตัวบง่ ช้ที ่ี ๗.๒ มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรกั ความเปน็ ไทย
สภาพทพ่ี ึงประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-ปฏิบตั ติ นตามมารยาทไทยได้ -ปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทย -ปฏิบตั ิตนตามมารยาทไทยได้
เม่อื มีผู้ช้ีแนะ ได้ดว้ ยตนเอง ตามกาลเทศะ
-กล่าวคำขอบคุณและขอโทษเม่ือ -กล่าวคำขอบคุณและขอ -กล่าวคำขอบคุณและขอโทษ
มีผชู้ ้แี นะ โทษดว้ ยตนเอง ดว้ ยตนเอง
-หยุดเมื่อได้ยินเพลงชาติไทยและ -หยุดเมื่อได้ยนิ เพลงชาติ -ยนื ตรงและร่วมร้องเพลงชาติ
เพลงสรรเสรญิ พระบารมี ไทยและเพลงสรรเสริญพระ ไทยและเพลงสรรเสริญพระมาร
บารมี มี
๑๐
มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ
ตวั บ่งช้ีท่ี ๘.๑ ยอมรับความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
สภาพที่พึงประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-เลน่ และทำกจิ กรรมร่วมกับเด็กที่ -เล่นและทำกจิ กรรม -เลน่ และทำกิจกรรมรว่ มกับเดก็
แตกตา่ งไปจากตน ร่วมกับกลมุ่ เด็กท่แี ตกต่าง ทีแ่ ตกตา่ งไปจากตน
ไปจากตน
ตัวบ่งช้ีที่ ๘.๒ มีปฏิสมั พนั ธ์ทด่ี กี บั ผู้อ่ืน
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-เล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อน
-เล่นรว่ มกบั เพ่อื น -เล่นหรือทำงานรว่ มกบั อยา่ งมีเป้าหมาย
-ยม้ิ หรือทักทายหรือพดู คยุ กับ
เพื่อนเป็นกล่มุ ผ้ใู หญแ่ ละบคุ คลท่ีค้นุ เคยได้
เหมาะสมกบั สถานการณ์
-ยม้ิ หรอื ทกั ทายผู้ใหญแ่ ละบุคคล -ยม้ิ หรอื ทกั ทายหรือพดู คยุ
ท่ีคนุ้ เคยเมื่อมผี ูช้ ีแ้ นะ กบั ผู้ใหญ่และบุคคลท่ี
คุน้ เคยไดด้ ว้ ยตนเอง
ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๘.๓ ปฏบิ ัตติ นเบื้องต้นในการเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสังคม
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลงเม่ือมผี ชู้ ี้แนะ -มีส่วนรว่ มสร้างข้อตกลง -มสี ว่ นรว่ มสรา้ งข้อตกลงและ
และปฏิบตั ติ ามข้อตกลงเมื่อ ปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเอง
มผี ชู้ แ้ี นะ
-ปฏิบัตติ นเป็นผู้นำและผตู้ ามเมอื่ -ปฏบิ ตั ิตนเป็นผนู้ ำและผู้ -ปฏิบัตติ นเปน็ ผู้นำและผูต้ ามได้
มผี ูช้ ้ีแนะ ตามทดี่ ีไดด้ ้วยตนเอง เหมาะสมกบั สถานการณ์
-ยอมรบั การประนีประนอมแกไ้ ข -ประนปี ระนอมแก้ไข -ประนปี ระนอมแกไ้ ขปญั หาโดย
ปัญหาเมอื่ มีผู้ชีแ้ นะ ปัญหาโดยปราศจากการใช้ ปราศจากการใชค้ วามรุนแรงด้วย
ความรุนแรงเม่ือมผี ูช้ ีแ้ นะ ตนเอง
๑๑
๔. พฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา
มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาส่ือสารไดเ้ หมาะสมกบั วยั
ตัวบ่งชท้ี ี่ ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและเลา่ เร่ืองใหผ้ ู้อน่ื เขา้ ใจ
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-ฟงั ผูอ้ นื่ พูดจนจบและสนทนา
-ฟงั ผู้อ่นื พดู จนจบและโต้ตอบ -ฟงั ผ้อู ่ืนพดู จนจบและ โต้ตอบอย่างตอ่ เน่ืองเช่ือมโยงกบั
เร่อื งท่ีฟัง
เกยี่ วกบั เร่ืองท่ฟี ัง สนทนาโตต้ อบสอดคล้อง -เลา่ เปน็ เรอื่ งราวต่อเน่ืองได้
กบั เรื่องท่ฟี งั
-เลา่ เรอื่ งด้วยประโยคส้ันๆ -เลา่ เรอ่ื งเป็นประโยคอยา่ ง
ต่อเน่อื ง
ตัวบง่ ชี้ที่ ๙.๒ อา่ น เขียนภาพ และสัญลักษณไ์ ด้
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-อา่ นภาพ สัญลกั ษณ์ คำ ดว้ ย
-อา่ นภาพ และพูดขอ้ ความดว้ ย -อ่านภาพ สัญลกั ษณ์ คำ การชี้ หรอื กวาดตามองจดุ เริ่มตน้
และจุดจบของข้อความ
ภาษาของตน พร้อมท้ังชี้ หรือกวาดตา -เขยี นชื่อของตนเอง ตามแบบ
เขียนขอ้ ความด้วยวธิ ที ค่ี ดิ ข้นึ เอง
มองข้อความตามบรรทดั
-เขียนขดี เขีย่ อย่างมีทศิ ทาง -เขยี นคลา้ ยตวั อักษร
มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคิดทเ่ี ปน็ พนื้ ฐานในการเรยี นรู้
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๑ มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-บอกลักษณะของส่ิงของต่างๆจาก -บอกลักษณะและ -บอกลักษณะ ส่วนประกอบ การ
การสังเกตโดยใชป้ ระสาทสมั ผัส สว่ นประกอบของสิง่ ของ เปลี่ยนแปลง หรอื ความสัมพันธ์
ต่างๆจากการสังเกตโดยใช้ ของสงิ่ ของต่างๆจากการสงั เกต
ประสาทสัมผัส โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั
-จบั คู่หรือเปรยี บเทยี บสงิ่ ต่างๆโดย -จับคแู่ ละเปรยี บเทียบ -จับค่แู ละเปรียบเทยี บความ
ใช้ลักษณะหรอื หนา้ ทก่ี ารงานเพียง ความแตกต่างหรือความ แตกต่างหรือความเหมอื นของสิง่
ลักษณะเดยี ว เหมอื นของส่ิงต่างๆโดยใช้
๑๒
-คดั แยกส่งิ ตา่ งๆตามลักษณะหรือ ลักษณะทีส่ งั เกตพบเพียง ต่างๆโดยใชล้ ักษณะทส่ี งั เกตพบ
หน้าที่การใชง้ าน ลกั ษณะเดียว สองลักษณะขึน้ ไป
-จำแนกและจัดกล่มุ ส่งิ -จำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆโดย
-เรียงลำดับสง่ิ ของหรือเหตุการณ์ ต่างๆโดยใชอ้ ยา่ งน้อยหนง่ึ ใชต้ ้งั แตส่ องลักษณะขึ้นไปเป็น
อย่างน้อย ๓ ลำดับ ลกั ษณะเปน็ เกณฑ์ เกณฑ์
-เรียงลำดับส่ิงของหรือ -เรยี งลำดบั ส่ิงของหรือเหตุการณ์
เหตุการณ์อย่างน้อย ๔ อยา่ งน้อย ๕ ลำดับ
ลำดับ
ตวั บ่งช้ที ี่ ๑๐.๒ มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
สภาพท่พี งึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-ระบผุ ลทเ่ี กดิ ขึน้ ในเหตกุ ารณ์ -ระบุสาเหตุหรือผลท่เี กิดข้นึ -อธบิ ายเชือ่ มโยงสาเหตแุ ละผลที่
หรอื การกระทำเมื่อมีผู้ชแ้ี นะ ในเหตกุ ารณ์หรือ การกระทำ เกดิ ขนึ้ ในเหตุการณห์ รือการ
เม่อื มผี ้ชู ้ีแนะ กระทำด้วยตนเอง
-คาดเดา หรือ คาดคะเนส่งิ ท่ีอาจ -คาดเดา หรอื คาดคะเนส่งิ ท่ี -คาดคะเนสง่ิ ที่อาจจะเกดิ ขน้ึ
เกิดข้นึ อาจจะเกดิ ข้ึน หรือมสี ่วน และมสี ่วนร่วมในการลงความเห็น
รว่ มในการลงความเหน็ จาก จากข้อมลู อยา่ งมเี หตุผล
ข้อมูล
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑๐.๓ มีความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาและตัดสินใจ
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-ตดั สนิ ใจในเรอ่ื งง่ายๆ -ตัดสนิ ใจในเรอ่ื งง่ายๆและ -ตดั สนิ ใจในเรอื่ งง่ายๆและ
เริ่มเรียนรูผ้ ลท่เี กิดขน้ึ ยอมรับผลทีเ่ กิดข้ึน
-แกป้ ญั หาโดยลองผดิ ลองถูก -ระบุปญั หา และแก้ปัญหา -ระบปุ ัญหาสร้างทางเลอื กและ
โดยลองผิดลองถูก เลอื กวธิ แี ก้ปญั หา
๑๓
มาตรฐานที่ ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๑.๑ เล่น/ทำงานศลิ ปะตามจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
สภาพทีพ่ ึงประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-สรา้ งผลงานศิลปะเพื่อสือ่ สาร -สร้างผลงานศิลปะเพื่อ -สรา้ งผลงานศลิ ปะเพื่อสอื่ สาร
ความคดิ ความร้สู ึกของตนเอง ส่ือสารความคดิ ความรสู้ กึ ความคดิ ความรู้สึกของตนเองโดย
ของตนเองโดยมีการ มกี ารดัดแปลงและแปลกใหม่จาก
ดัดแปลงและแปลกใหมจ่ าก เดมิ และ
เดิมหรอื มรี ายละเอียด มีรายละเอียดเพิ่มขน้ึ
เพิ่มขึ้น
ตวั บ่งช้ที ่ี ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/เคลื่อนไหวตามจินตนาการอยา่ งสร้างสรรค์
สภาพท่พี ึงประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-เคลื่อนไหวท่าทางเพอ่ื สื่อสาร -เคล่ือนไหวท่าทางเพอื่ -เคล่ือนไหวท่าทางเพอ่ื ส่ือสาร
ความคิด ความรู้สึกของตนเอง สอ่ื สารความคดิ ความรสู้ ึก ความคดิ ความรสู้ ึกของตนเอง
ของตนเอง อยา่ งหลากหลายและแปลกใหม่
อยา่ งหลากหลายหรือแปลก
ใหม่
มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคติทดี่ ีตอ่ การเรียนรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกบั วยั
ตัวบ่งช้ีท่ี ๑๒.๑ มเี จตคติทีด่ ีต่อการเรียนรู้
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-สนใจฟังหรอื อ่านหนงั สือดว้ ย -สนใจซกั ถามเก่ยี วกับ -หยบิ หนังสือมาอ่านและเขยี นสอ่ื
ตนเอง สญั ลกั ษณห์ รือตัวหนงั สอื ท่ี ความคดิ ดว้ ยตนเองเปน็ ประจำ
พบเห็น อย่างต่อเน่อื ง
-กระตือรือร้นในการเข้าร่วม -กระตือรอื รน้ ในการเข้าร่วม -กระตือรอื รน้ ในการรว่ มกจิ กรรม
กจิ กรรม กิจกรรม ตง้ั แต่ต้นจนจบ
๑๔
ตัวบง่ ชี้ท่ี ๑๒.๒ มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์
อายุ 3-๔ ปี อายุ 4-๕ ปี อายุ 5-๖ ปี
-คน้ หาคำตอบของข้อสงสยั ตา่ งๆ -ค้นหาคำตอบของข้อสงสัย -คน้ หาคำตอบของข้อสงสยั ตา่ งๆ
ตามวิธีการทมี่ ีผชู้ แ้ี นะ ตา่ งๆ ตามวธิ ีการของตนเอง ตามวธิ ีการท่หี ลากหลายด้วยตนเอง
-เชอื่ มโยงคำถา “อะไร” ในการ -ใช้ประโยคคำถามว่า “ที่ -ใช้ประโยคคำถามว่า “เม่ือไร”
ค้นหาคำตอบ ไหน” “ทำไม” ในการค้นหา อยา่ งไร” ในการคน้ หาคำตอบ
คำตอบ
ระยะเวลาเรียน
หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียนเทศบาล ๑ (บา้ นเก่า) กำหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาในการจัด
ประสบการณ์ให้กับเด็ก ๓ ปีการศึกษา ปีการศึกษาละ ๒ ภาคเรียน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับอายุของเด็กที่เริ่มเข้า
สถานศกึ ษา เวลาเรยี นสำหรับเดก็ ปฐมวัยไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๘๐ วนั ตอ่ ๑ ปีการศึกษา
สาระการเรียนรู้รายปี
สาระการเรียนรู้ใชเ้ ป็นสื่อกลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กเพ่ือส่งเสรมิ พัฒนาการ
ทุกด้าน ให้เป็นไปตามจุดหมายของหลักสูตรที่กำหนด ประกอบด้วย ประสบการณ์สำคัญและสาระที่ควร
เรยี นรู้ ดังนี้
๑. ประสบการณ์สำคัญ
ประสบการณ์สำคัญเป็นแนวทางสำหรับผู้สอนไปใช้ในการออกแบบการจัดประสบการณ์ ให้
เด็กปฐมวัยเรยี นรู้ ลงมอื ปฏิบัติ และได้รับการสง่ เสรมิ พัฒนาการครอบคลมุ ทกุ ด้าน ดงั นี้
๑.๑ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มี
โอกาสพัฒนาการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อและระบบ
ประสาท ในการทำกิจวัตรประจำวันหรือทำกิจกรรมต่างๆและสนับสนุนให้เด็กมีโอกาสดูแลสุขภาพและ
สุขอนามัย และการรักษาความปลอดภยั ดงั น้ี
๑.๑.๑ การใชก้ ลา้ มเนอื้ ใหญ่
๑.๑.๑.๑ การเคลอื่ นไหวอยู่กับที่
๑.๑.๑.๒ การเคล่อื นไหวเคลื่อนท่ี
๑.๑.๑.๓ การเคลอ่ื นไหวพร้อมวัสดอุ ุปกรณ์
๑.๑.๑.๔ การเคลอ่ื นไหวท่ใี ช้การประสานสัมพนั ธข์ องการใช้กล้ามเนือ้ มัดใหญใ่ นการ
ขว้าง การจับ การโยน การเตะ
๑.๑.๑.๕ การเล่นเครอ่ื งเล่นสนามอยา่ งอสิ ระ
๑๕
๑.๑.๒ การใชก้ ลา้ มเนือ้ เล็ก
๑.๑.๒.๑ การเลน่ เครอื่ งเล่นสมั ผัสและการสร้างจากแท่งไม้ บล็อก
๑.๑.๒.๒ การเขียนภาพและการเลน่ กับสี
๑.๑.๒.๓ การปั้น
๑.๑.๒.๔ การประดษิ ฐ์สิ่งต่างๆดว้ ย เศษวสั ดุ
๑.๑.๒.๕ การหยบิ จับ การใชก้ รรไกร การฉีก การตดั การปะ และการร้อยวสั ดุ
๑.๑.๓ การรกั ษาสขุ ภาพอนามยั ส่วนตัว
๑.๑.๓.๑ การปฏิบัตติ นตามสขุ อนามยั สุขนสิ ยั ที่ดใี นกจิ วตั รประจำวนั
๑.๑.๔ การรกั ษาความปลอดภยั
๑.๑.๔.๑ การปฏบิ ตั ติ นให้ปลอดภัยในกิจวตั รประจำวนั
๑.๑.๔.๒ การฟงั นทิ าน เรอ่ื งราว เหตกุ ารณ์ เกีย่ วกับการปอ้ งกันและรักษาความปลอดภัย
๑.๑.๔.๓ การเลน่ เครื่องเล่นอย่างปลอดภัย
๑.๑.๔.๔ การเล่นบทบาทสมมติเหตกุ ารณ์ต่างๆ
๑.๑.๕ การตระหนกั รู้เกยี่ วกับร่างกายตนเอง
๑.๑.๕.๑ การเคลอื่ นไหวเพ่ือควบคมุ ตนเองไปในทิศทาง ระดบั และพนื้ ท่ี
๑.๑.๕.๒ การเคลอื่ นไหวข้ามสิ่งกดี ขวาง
๑.๒ ประสบการณ์สำคัญทส่ี ่งเสริมพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ เปน็ การสนับสนุนให้เด็กได้
แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะที่เป็น
อัตลักษณ์ ความเป็นตัวของตัวเอง มีความสุข ร่าเริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผู้อื่นได้พัฒนาคุณธรรม
จรยิ ธรรม สนุ ทรียภาพ ความร้สู ึกทดี่ ตี ่อตนเอง และความเชอ่ื มัน่ ในตนเองขณะปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ งๆ ดังน้ี
๑.๒.๑ สุนทรยี ภาพด้านดนตรี
๑.๒.๑.๑ การฟงั เพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกริ ิยาโตต้ อบเสยี งดนตรี
๑.๒.๑.๒ การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
๑.๒.๑.๓ การเล่นบทบาทสมมติ
๑.๒.๑.๔ การทำกจิ กรรมศิลปะต่างๆ
๑.๒.๑.๕ การสรา้ งสรรค์สิ่งสวยงาม
๑.๒.๒ การเล่น
๑.๒.๒.๑ การเล่นอสิ ระ
๑.๒.๒.๒ การเลน่ รายบคุ คล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่
๑.๒.๒.๓ การเล่นตามมุมประสบการณ์
๑.๒.๒.๔ การเลน่ นอกห้องเรียน
๑๖
๑.๒.๓ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
๑.๒.๓.๑ การปฏิบัตติ นตามหลักศาสนาท่ีนบั ถือ
๑.๒.๓.๒ การฟงั นทิ านเกย่ี วกับคุณธรรม จรยิ ธรรม
๑.๒.๓.๓ การรว่ มสนทนาแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ เชงิ จรยิ ธรรม
๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์
๑.๒.๔.๑ การสะทอ้ นความรสู้ กึ ของตนเองและผู้อ่นื
๑.๒.๔.๒ การเล่นบทบาทสมมติ
๑.๒.๔.๓ การเคลอื่ นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
๑.๒.๔.๔การร้องเพลง
๑.๒.๔.๕ การทำงานศิลปะ
๑.๒.๕ การมอี ตั ลกั ษณเ์ ฉพาะตนและเชอ่ื วา่ ตนเองมคี วามสามารถ
๑.๒.๕.๑ การปฏิบัตกิ จิ กรรมตา่ งๆตามความสามารถของตนเอง
๑.๒.๖ การเหน็ อกเห็นใจผอู้ ่นื
๑.๒.๖.๑ การแสดงความยนิ ดีเม่อื ผ้อู ื่นมีความสุข เห็นอกเห็นใจเมอ่ื ผู้อนื่ เศรา้ หรือเสียใจ
และการ ชว่ ยเหลือปลอบโยนเมอื่ ผูอ้ น่ื ไดร้ ับบาดเจบ็
๑.๓ ประสบการณ์สำคัญท่สี ่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นสงั คม เปน็ การสนบั สนนุ ให้เด็กไดม้ โี อกาส
ปฏสิ มั พันธ์กับบุคลและส่ิงแวดล้อมตา่ งๆรอบตัวจากการปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ผ่านการเรยี นรู้ทางสงั คม เชน่
การเล่น การทำงานกับผู้อนื่ การปฏบิ ัติกิจวตั รประจำวัน การแกป้ ญั หาข้อขัดแย้งต่างๆ
๑.๓.๑ การปฏบิ ัตกิ จิ วัตรประจำวนั
๑.๓.๑.๑ การช่วยเหลอื ตนเองในกิจวัตรประจำวนั
๑.๓.๑.๒การปฏิบตั ิตนตามแนวทางหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๑.๓.๒ การดแู ลรกั ษาธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
๑.๓.๒.๑ การมสี ่วนร่วมรบั ผดิ ชอบดแู ลรกั ษาส่ิงแวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอกหอ้ งเรยี น
๑.๓.๒.๒ การทำงานศลิ ปะท่ีใช้วสั ดหุ รอื สิ่งของทีใ่ ชแ้ ลว้ มาใชซ้ ้ำหรอื แปรรูปแลว้ นำกลบั มาใช้ใหม่
๑.๓.๒.๓ การเพาะปลูกและดูแลตน้ ไม้
๑.๓.๒.๔ การเลย้ี งสตั ว์
๑.๓.๒.๕ การสนทนาข่าวและเหตกุ ารณท์ เ่ี กี่ยวกับธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มใน
ชวี ติ ประจำวัน
๑.๓.๓ การปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถิ่นท่อี าศัยและความเปน็ ไทย
๑.๓.๓.๑ การเล่นบทบาทสมมุตกิ ารปฏิบตั ิตนในความเป็นคนไทย
๑.๓.๓.๒ การปฏิบตั ติ นตามวฒั นธรรมทอ้ งถิน่ ที่อาศัยและประเพณีไทย
๑.๓.๓.๓ การประกอบอาหารไทย
๑๗
๑.๓.๓.๔ การศึกษานอกสถานท่ี
๑.๓.๓.๕ การละเลน่ พื้นบา้ นของไทย
๑.๓.๔ การมีปฏิสมั พันธ์ มีวินัย มสี วนร่วม และบทบาทสมาชกิ ของสังคม
๑.๓.๔.๑ การรว่ มกำหนดข้อตกลงของห้องเรียน
๑.๓.๔.๒ การปฏบิ ตั ติ นเป็นสมาชิทด่ี ขี องห้องเรยี น
๑.๓.๔.๓ การใหค้ วามร่วมมอื ในการปฏิบตั ิกจิ กรรมตา่ ง ๆ
๑.๓.๔.๔ การดแู ลห้องเรียนร่วมกัน
๑.๓.๔.๕ การรว่ มกิจกรรมวันสำคัญ
๑.๓.๕ การเลน่ แบบรว่ มมือร่วมใจ
๑.๓.๕.๑ การร่วมสนทนาและแลกเปลย่ี นความคิดเหน็
๑.๓.๕.๒ การเลน่ และทำงานรว่ มกบั ผ้อู ่นื
๑.๓.๕.๓ การทำศิลปะแบบร่วมมือ
๑.๓.๖ การแก้ปญั หาความขัดแย้ง
๑.๓.๖.๑ การมสี ว่ นรว่ มในการเลอื กวธิ กี ารแก้ปญั หา
๑.๓.๖.๒ การมสี ว่ นร่วมในการแก้ปญั หาความขดั แย้ง
๑.๓.๗ การยอมรบั ในความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
๑.๓.๗.๑ การเลน่ หรือ ทำกจิ กรรมร่วมกับกลุม่ เพื่อน
๑.๔ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้รับรู้
เรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม บุคคลและสื่อต่างๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย เพอ่ื เปิดโอกาสให้เด็กพัฒนาการใชภ้ าษา จนิ ตนาการความคดิ สร้างสรรค์การแกป้ ัญหา การคิด
เชิงเหตุผล และการคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวและมีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ที่เป็น
พื้นฐานของการเรียนรู้ในระดบั ทส่ี ูงขึน้ ตอ่ ไป
๑.๔.๑ การใช้ภาษา
๑.๔.๑.๑ การฟังเสยี งตา่ งๆ ในสิง่ แวดลอ้ ม
๑.๔.๑.๒ การฟงั และปฏิบัตติ ามคำแนะนำ
๑.๔.๑.๓ การฟงั เพลง นทิ าน คำคลอ้ งจอง บทร้อยกรงหรือเร่อื งราวต่างๆ
๑.๔.๑.๔ การแสดงความคดิ ความรสู้ ึก และความต้องการ
๑.๔.๑.๕ การพูดกับผ้อู นื่ เกย่ี วกบั ประสบการณ์ของตนเอง หรือพูดเล่าเรื่องราวเกีย่ วกับ
ตนเอง
๑.๔.๑.๖ การพดู อธิบายเก่ยี วกับสิ่งของ เหตกุ ารณ์ และความสัมพนั ธข์ องส่งิ ต่างๆ
๑.๔.๑.๗ การพดู อย่างสรา้ งสรรค์ในการเล่น และการกระทำต่างๆ
๑๘
๑.๔.๑.๘ การรอจังหวะท่ีเหมาะสมในการพูด
๑.๔.๑.๙ การพูดเรยี งลำดบั เพื่อใช้ในการส่อื สาร
๑.๔.๑.๑๐ การอา่ นหนงั สือภาพ นทิ าน หลากหลายประเภท/รปู แบบ
๑.๔.๑.๑๑ การอ่านอิสระตามลำพงั การอา่ นรว่ มกัน การอ่านโดยมผี ชู้ ้แี นะ
๑.๔.๑.๑๒ การเห็นแบบอยา่ งของการอ่านท่ีถูกต้อง
๑.๔.๑.๑๓ การสงั เกตทศิ ทางการอ่านตัวอกั ษร คำ และขอ้ ความ
๑.๔.๑.๑๔ การอ่านและชีข้ ้อความโดยกวาดสายตาตามบรรทัดจากซา้ ยไปขวาจากบนลงลา่ ง
๑.๔.๑.๑๕ การสงั เกตตัวอกั ษรในชื่อของตน หรอื คำค้นุ เคย
๑.๔.๑.๑๖ การสังเกตตวั อักษรท่ีประกอบเปน็ คำผา่ นการอา่ นหรอื เขียนของผู้ใหญ่
๑.๔.๑.๑๗ การคาดเดาคำวลี หรือประโยคที่มโี ครงสร้างซ้ำๆกนั จากนิทานเพลงคำคลอ้ งจอง
๑.๔.๑.๑๘ การเล่นเกมทางภาษา
๑.๔.๑.๑๙ การเห็นแบบอย่างของการเขียนท่ีถูกตอ้ ง
๑.๔.๑.๒๐ การเขียนร่วมกันตามโอกาส และการเขยี นอสิ ระ
๑.๔.๑.๒๑ การเขยี นคำทมี่ ีความหมายกบั ตวั เด็ก/คำคุ้นเคย
๑.๔.๑.๒๒ การคดิ สะกดคำและเขยี นเพ่ือสื่อความหมายด้วยตนเองอยา่ งอสิ ระ
๑.๔.๒ การคดิ รวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การตัดสินใจและแกป้ ญั หา
๑.๔.๒.๑ การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลง และความสัมพันธ์ของสิ่ง
ตา่ งๆโดยใชป้ ระสาทสมั ผัสอยา่ งเหมาะสม
๑.๔.๒.๒ การสังเกตส่ิงตา่ งๆ และสถานที่จากมุมมองท่ตี า่ งกัน
๑.๔.๒.๓ การบอกและแสดงตำแหนง่ ทิศทาง และระยะทางของสิ่งตา่ งๆดว้ ยการกระทำ
ภาพวาด ภาพถา่ ย และรปู ภาพ
๑.๔.๒.๔ การเลน่ กับส่อื ต่างๆท่ีเป็นทรงกลม ทรงส่ีเหลย่ี มมมุ ฉาก ทรงกระบอก กรวย
๑.๔.๒.๕ การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการจำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง
รปู ทรง
๑.๔.๒.๖ การต่อของชนิ้ เลก็ เตมิ ในชนิ้ ใหญ่ให้สมบรู ณ์ และการแยกชิ้นสว่ น
๑.๔.๒.๗ การทำซำ้ การต่อเติม และการสร้างแบบรูป
๑.๔.๒.๘ การนับและแสดงจำนวนของสงิ่ ตา่ งๆในชวี ติ ประจำวัน
๑.๔.๒.๙ การเปรยี บเทียบและเรยี งลำดับจำนวนของสง่ิ ตา่ งๆ
๑.๔.๒.๑๐ การรวมและการแยกสิง่ ตา่ งๆ
๑.๔.๒.๑๑ การบอกและแสดงอนั ดบั ท่ีของสิ่งต่างๆ
๑.๔.๒.๑๒ การช่งั ตวง วดั สิ่งตา่ งๆโดยใช้เครอ่ื งมือและหน่วยที่ไมใ่ ช่หนว่ ยมาตรฐาน
๑๙
๑.๔.๒.๑๓ การจับคู่ การเปรียบเทียบและการเรยี งลำดับส่ิงต่างๆตามลักษณะความยาว/
ความสูงน้ำหนัก ปริมาตร
๑.๔.๒.๑๔ การบอกและเรียงลำดบั กิจกรรมหรือเหตกู ารณ์ตามชว่ งเวลา
๑.๔.๒.๑๕ การใชภ้ าษาทางคณติ ศาสตรก์ ับเหตกุ ารณ์ในชวี ิตประจำวนั
๑.๔.๒.๑๖ การอธิบายเชอ่ื มโยงสาเหตุและผลทเี่ กิดขึ้นในเหตกุ ารณห์ รอื การกระทำ
๑.๔.๒.๑๗ การคาดเดาหรือการคาดคะเนสง่ิ ท่ีอาจเกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล
๑.๔.๒.๑๘ การมสี ่วนร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูลอยา่ งมเี หตุผล
๑.๔.๒.๑๙ การตดั สนิ ใจและมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการแก้ปญั หา
๑.๔.๓ จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
๑.๔.๓.๑ การรบั รู้ และแสดงความคดิ ความรู้สกึ ผา่ นส่อื วัสดุ ของเล่น และชิ้นงาน
๑.๔.๓.๒ การแสดงความคดิ สรา้ งสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลือ่ นไหว และศลิ ปะ
๑.๔.๓.๓ การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปรา่ งรูปทรงจากวัสดุที่หลากหลาย
๑.๔.๔ เจตคตทิ ี่ดีตอ่ การเรียนรู้และการแสวงหาความรู้
๑.๔.๔.๑ การสำรวจส่ิงตา่ งๆ และแหล่งเรยี นรรู้ อบตัว
๑.๔.๔.๒ การต้ังคำถามในเร่อื งทีส่ นใจ
๑.๔.๔.๓ การสืบเสาะหาความรเู้ พื่อคน้ หาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ
๑.๔.๔.๔ การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมูลจากการสืบเสาะหา
ความรูใ้ นรปู แบบต่างๆและแผนภมู ิอย่างง่าย
การวิเคราะหส์ าระ
(สำหรบั อา
พฒั นาการดา้ นร่างกาย
มาตรฐานท่ี 1 รา่ งกายเจริญเตบิ โตตามวัย
สภาพทพ่ี ึงประสงค์
ตวั บง่ ช้ี ชั้นอนุบาล 1 ชน้ั อนบุ าล 2 ช้ัน อนบุ าล 3
(อายุ 3 - ๔ป)ี (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี)
1.1 น้ำหนัก 1.1.1 มีนำ้ หนัก 1.1.1 มีนำ้ หนัก 1.1.1 มนี ำ้ หนัก ๑.
และสว่ นสูงตาม ส่วนสูงตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ สว่ นสงู ตาม ใน
เกณฑ์ ของกรมอนามยั ของกรมอนามัย เกณฑ์ของกรม ๒.
อนามยั แล
เสีย
๓.
รว่
๔.
คว
5.เ
ปร
ะการเรียนร้รู ายปี
ายุ 3 –6 ปี)
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ประสบการณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้
การปฏบิ ตั ติ นตามสขุ อนามัย - อาหารหลัก 5 หมู่ - ขา้ วมหัศจรรย์
นกิจวตั รประจำวัน - อาหารแตล่ ะชนิดมีรสชาติที่ - อาหารดีมปี ระโยชน์
แตกต่างกัน เชน่ ขม หวาน
การฟังเพลง การรอ้ งเพลง เปรี้ยว เคม็ เผ็ด
ละการแสดงปฏกิ ริ ิยา โต้ตอบ - สุขนิสัยและมารยาททด่ี ีใน
ยงดนตรี การรับประทานอาหาร
การเลน่ และการทำงาน - ประโยชนข์ องอาหาร
วมกับผู้อื่น - วธิ ีการประกอบอาหาร เช่น
การพดู แสดงความคิดเหน็ ต้ม ผดั แกง ทอด
วามรู้สกึ และความต้องการ
เรยี นรูก้ จิ กรรมผ่านกลุม่
ระสบการณช์ ีวิต
๒๐
สภาพท่พี ึงประสงค์
ตวั บง่ ช้ี ช้ันอนุบาล 1 ช้นั อนุบาล 2 ช้นั อนบุ าล 3
1.2 มสี ขุ ภาพ (อายุ 3 - ๔ป)ี (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี)
อนามัยและสขุ
นิสยั ท่ดี ี 1.2.1 ยอม 1.2.1 1.2.1 ๑.
รบั ประทานอาหาร รับประทานอาหาร รบั ประทานอาหาร ที่ด
ทมี่ ปี ระโยชน์และ ทมี่ ปี ระโยชน์และ ที่มปี ระโยชน์ได้ ๒.
ด่ืมน้ำสะอาดเม่ือมี ด่ืมนำ้ สะอาดดว้ ย หลายชนดิ และด่มื ๓.
ผชู้ ้ีแนะ ตนเอง นำ้ สะอาดด้วย เลน่
ตนเอง ๔.
๕.
เหต
ตา่ ง
6.เ
ชวี ิต
1.2.2 ลา้ งมือก่อน 1.2.2 ลา้ งมือ 1.2.2 ล้างมอื ๑.
รบั ประทานอาหาร ก่อนรับประทาน กอ่ นรับประทาน ทด่ี
และหลังจากใช้ อาหารและ อาหารและ ๒.
หอ้ งนำ้ ห้องสว้ มเมอ่ื หลังจากใชห้ อ้ งน้ำ หลงั จากใช้หอ้ งน้ำ ๓.
มีผู้ชแ้ี นะ ห้องส้วมด้วย ห้องสว้ มดว้ ย ประ
ตนเอง ตนเอง ๔.
๕.
สง่ิ ข
สิ่งต
6.เ
ชีวิต
สาระการเรียนร้รู ายปี
ประสบการณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้
การปฏิบัตติ นตามสุขอนามัย สุขนสิ ยั - อาหารหลกั 5 หมู่ - หนนู อ้ ยปลอด
COVID - 19
ดใี นกจิ วัตรประจำวนั - อาหารแต่ละชนิดมีรสชาตทิ ่ี - อวยั วะและ
ประสาทสัมผสั
การเคลอื่ นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี แตกตา่ ง กัน เชน่ ขม หวาน -อาหารดมี ปี ระโยชน์
การเล่นตามมุม ประสบการณ/์ มมุ เปร้ยี ว เคม็ เผ็ด - หนูนอ้ ยปลอด
COVID - 19
นต่าง ๆ - สุขนสิ ยั และมารยาทท่ีดีในการ -อวัยวะและประสาท
สมั ผัส
การเลน่ และการทํางานร่วมกบั ผอู้ ่นื รับประทานอาหาร -อาหารดมี ีประโยชน์
การพดู อธบิ ายเก่ยี วกบั สง่ิ ของ - ประโยชน์ของอาหาร
ตุการณ์ และความสัมพันธ์ของส่งิ - วธิ ีการประกอบอาหาร เชน่ ต้ม
งๆ ผดั แกง ทอด
เรียนรู้กิจกรรมผ่านกลุ่มประสบการณ์
ต
การปฏบิ ตั ติ นตามสขุ อนามยั สขุ นสิ ัย - อาหารหลกั 5 หมู่
ดใี นกจิ วัตรประจำวัน - อาหารแตล่ ะชนดิ มีรสชาตทิ ่ี
การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี แตกต่าง
การเล่นตามมมุ กนั เช่น ขม หวาน เปรีย้ ว เค็ม
ะสบการณ์/มมุ เลน่ ตา่ ง ๆ เผด็
การเลน่ และการทํางานรว่ มกบั ผอู้ ่นื - สุขนสิ ยั และมารยาทท่ดี ใี นการ
การพูดอธิบายเกีย่ วกับ รับประทานอาหาร
ของ เหตุการณ์ และความสมั พนั ธข์ อง - ประโยชนข์ องอาหาร
ต่างๆ - วธิ ีการประกอบอาหาร เชน่ ตม้
เรียนรู้กจิ กรรมผา่ นกลุ่มประสบการณ์ ผดั แกง ทอด
ต
๒๑
สภาพทพ่ี ึงประสงค์
ตวั บง่ ชี้ ชัน้ อนุบาล 1 ชั้น อนุบาล 2 ช้ัน อนบุ าล 3
(อายุ 3 - ๔ปี)
1.2 มีสุขภาพ (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี)
อนามัยและสุข 1.2.3 นอน
นิสยั ที พกั ผอ่ น 1.2.3 นอน 1.2.3 นอน ๑
เปน็ เวลา
พกั ผ่อน พกั ผอ่ น ส
เป็นเวลา เป็นเวลา ๒
น
3
4
ถ
5
จ
6
ป
7
แ
สาระการเรยี นรู้รายปี
ประสบการณส์ ำคัญ สาระทค่ี วรเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้
๑. การรักษาสุขภาพอนามัย - ประโยชน์ของการนอนหลบั - หนนู ้อยปลอด
ส่วนตน พกั ผ่อน COVID - 19
๒. การปฏิบัติตนตามสขุ อนามัย สขุ -อวัยวะและ
นสิ ยั ทด่ี ใี นกจิ วตั รประจำวัน ประสาทสัมผสั
3. การเล่นทางภาษา -หนนู อ้ ยคนเก่ง
4. การเห็นแบบอย่างของการเขยี นที่ -อาหารดมี ี
ถูกต้อง ประโยชน์
5. การฟังนทิ านเกยี่ วกบั คุณธรรม
จริยธรรม
6. การชว่ ยเหลือตนเองในกจิ วตั ร
ประจำวัน
7. การพูดแสดงความคิด ความร้สู ึก
และความต้องการ
๒๒
1.2.4 ออกกำลัง 1.2.4 ออกกำลัง 1.2.4 ออก 8
กายเปน็ เวลา กายเป็นเวลา กำลังกายเป็น เค
9
เวลา 1
1
1
ป
1
(ภ
สภาพทพ่ี งึ ประสงค์
ตวั บ่งช้ี ชัน้ อนบุ าล 1 ชั้น อนุบาล 2 ช้นั อนุบาล 3
(อายุ 3 - ๔ป)ี (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี)
1.3 รักษา 1.3.1 เล่นและทำ 1.3.1 เลน่ และ 1.3.1 เล่น ทำ ๑
ความปลอดภยั กิจกรรมอย่าง ทำกิจกรรมอย่าง กจิ กรรมและ น
ของตนเองและ ปลอดภยั เมอื่ มีผู้ ปลอดภัยด้วย ปฏบิ ตั ิตอ่ ผอู้ ืน่ ๒
ผู้อ่นื ช้ีแนะ ตนเอง อยา่ งปลอดภยั ๓
๔
ป
๕
6
ป
8. การใช้กลา้ มเน้ือใหญ่ การ - การออกกำลังกายท่ีเหมาะสม -จากบ้านสู่โรงเรียน
คลอ่ื นไหว พร้อมวัสดุ กบั วยั -อวยั วะและ
9. การเล่นอสิ ระ ประสาทสัมผสั
10. การเล่นและทำงานร่วมกับผอู้ น่ื -หนูน้อยคนเก่ง
11.การฟงั และปฏิบตั ติ ามคำแนะนำ
12.เรยี นรู้กิจกรรมผา่ นกลุ่ม
ประสบการณ์ชีวิต
13.เรยี นรกู้ ิจกรรมผ่านกลุ่มวิชาการ
ภาษา)
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ประสบการณ์สำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้
๑. การปฏบิ ัตติ นตามสขุ อนามยั สุข - ระวงั รักษาความสะอาดของ -จากบ้านสโู้ รงเรยี น
นสิ ยั ที่ดีในกิจวัตรประจำวัน ร่างกายและการมีสุขอนามยั ที่ดี - หนนู อ้ ยปลอด
๒. การเล่นเครอื่ งเลน่ สนามอยา่ งอสิ ระ - การช่วยเหลือตนเองในกจิ วัตร COVID - 19
๓. การทาํ งานศิลปะ ประจําวัน -หนูน้อยคนเกง่
๔. การช่วยเหลอื ตนเองในกจิ วตั ร - การลา้ งมอื
ประจำวัน - การแต่งกาย
๕. การฟงั และปฏิบตั ิตามคําแนะนาํ - การรบั ประทานอาหาร
6.เรียนร้ผู า่ นกจิ กรรมกลุม่ - การใช้หอ้ งนำ้ หอ้ งส้วม
ประสบการณช์ วี ิต
๒๓
พัฒนาการด้านรา่ งกาย
มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนอื้ ใหญ่ละกล้ามเนือ้ เลก็ แข็งแรง ใชไ้ ดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ และป
ตวั บง่ ชี้ ชน้ั อนุบาล 1 สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 1
(อายุ 3 - ๔ป)ี 2
2.1เคลือ่ นไหว ช้ัน อนุบาล 2 ชนั้ อนบุ าล 3 3
ร่างกายอย่าง ๒.๑.๑ เดินตาม (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี) ก
คลอ่ งแคลว่ แนวทีก่ ำหนดได้ 4
ประสาน 2.1.1. เดินตอ่ 2.1.1. เดนิ ต่อ แ
สมั พันธ์และ เท้าไปข้างหนา้ เทา้ ถอยหลังเปน็
ทรงตัวได้ เปน็ เสน้ ตรงได้ เส้นตรงไดโ้ ดยไม่
โดยไม่ต้องกาง ตอ้ งกางแขน
แขน
5
(ค
๒.๑.๒ กระโดด 2.1.2 กระโดด 2.1.2 กระโดด 1
สองขาขน้ึ ลงอยู่ ขาเดียวอยู่กับที่ ขาเดียวไป ก
กับทไ่ี ด้ โดยไม่เสยี การ ขา้ งหนา้ ได้อยา่ ง 2
ทรงตัว ตอ่ เน่อื งโดยไม่ 3
เสียการทรงตัว 4
ก
5
ป
6
(ค
ประสานสมั พันธ์กนั
สาระการเรียนร้รู ายปี
ประสบการณ์สำคัญ สาระท่ีควรเรียนรู้ หนว่ ยการ
เรียนรู้
1. การเคล่อื นไหวอยู่กบั ที่ - ความแตกต่างระหวา่ ง
2. การเล่นบทบาทสมมติ กลางวัน กลางคืน -กลางวัน
3. การใชค้ วามรว่ มมอื ในการปฏบิ ตั ิ - ลักษณะของดวงอาทิตย์ กลางคนื
กจิ กรรมต่าง ๆ - ลกั ษณะของดวงจันทร์
4. การพดู อธิบายเกี่ยวกับเหตุการณ์ - การปฏิบัติกิจวัตรประจำวนั -ลอยกระทง
และความสมั พันธข์ องส่งิ ตา่ ง ๆ - สตั ว์ท่ีหากินในเวลากลางวัน
5.เรยี นรผู้ ่านกิจกรรมกลุม่ วิชาการ และกลางคืน
คณติ ศาสตร์และภาษา)
- ความเป็นมาและความสำคัญ
1. การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉกี ของวันลอยกระทง
การตัดการปะ และการร้อยวัสดุ - กิจกรรมในวันลอยกระทง
2. การฟังเพลง - การดแู ลรักษาสิ่งแวดลอ้ มใน
3. การดแู ลหอ้ งเรียนร่วมกัน แมน่ ้ำ
4. การคิดรวบยอด การคิดเชงิ เหตผุ ล - สว่ นประกอบของกระทง
การตัดสินใจและแกป้ ัญหา - การประดษิ ฐก์ ระทง
5.เรียนรู้กจิ กรรมผา่ นกล่มุ
ประสบการณ์ชวี ิต
6.เรียนร้กู จิ กรรมผ่านกล่มุ วิชาการ
คณิตศาสตรแ์ ละภาษา)
๒๔
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
ตัวบง่ ชี้ ชัน้ อนุบาล 1 ชน้ั อนบุ าล 2 ชั้น อนบุ าล 3
(อายุ 3 - ๔ป)ี (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี)
2.1เคลื่อนไหว ๒.๑.๓ ว่งิ แลว้ 2.1.3 วงิ่ หลบ 2.1.3 วง่ิ หลบ 1.
รา่ งกายอย่าง หยุดได้ หลีกสงิ่ กีดขวางได้ หลกี สง่ิ กดี ขวางได้ 2.
คล่องแคลว่ อย่างคล่องแคลว่ แล
ประสาน 3.
สมั พนั ธแ์ ละ อย
ทรงตัวได้ 4.
5.เ
ปร
6.เ
(ภา
๒.๑.๔ รบั ลกู บอล 2.1.4 รับลกู 2.1.4 รบั ลกู บอล 1.
โดยใช้มอื และลำตัว บอบโดยใช้มอื ทงั้ ทีก่ ระดอนขน้ึ จาก 2.
ช่วย สองขา้ ง พื้นได้
3.
สิง่ แ
4.
ขอ
อย
5.เ
(คณ
สาระการเรียนรรู้ ายปี
ประสบการณส์ ำคัญ สาระที่ควรเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้
การเคล่ือนไหวพร้อมอุปกรณ์ - การแยกของใชส้ ว่ นตัวและ -ของเลน่ ของใช้
การพดู สะท้อนความรู้สึกของตนเอง สว่ นรวม
- ลกั ษณะของเลน่ ของใช้
ละผ้อู ืน่ - การเก็บของเล่นของใช้
การใช้วสั ดุและสิ่งของเครื่องใช้ - การปฏบิ ัตติ นในการเลน่
ยา่ งคุ้มค่า - การใชว้ ัสดุและของเลน่ ของ
การฟงั และปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำ ใช้อย่างคุ้มค่า
เรียนรผู้ ่านกจิ กรรมกลุ่ม
ระสบการณช์ ีวติ
เรียนร้ผู า่ นกจิ กรรมกล่มุ วชิ าการ
าษา)
การเขยี นภาพและการเลน่ กับสี - ชือ่ และส่วนประกอบของ -ต้นไมใ้ หร้ ม่ เงา
การทำกจิ กรรมศิลปะต่างๆ ตน้ ไม้
การดูแลรกั ษาธรรมชาตแิ ละ - รปู ร่างและลักษณะของใบไม้
แวดลอ้ ม - การปลกู ตน้ ไม้ การดูแล
การสงั เกตลักษณะส่วนประกอบ ตน้ ไม้
องส่งิ ต่างๆ โดยใชป้ ระสาทสัมผสั - ประโยชน์ของต้นไม้
ยา่ งเหมาะสม - การประกอบอาหารจากพชื
เรยี นรผู้ ่านกิจกรรมกลุ่มวิชาการ
ณติ ศาสตร์และภาษา)
๒๕
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
ตวั บง่ ชี้ ช้ันอนุบาล 1 ชัน้ อนุบาล 2 ชัน้ อนบุ าล 3
(อายุ 3 - ๔ป)ี (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี)
2.2 ใชม้ ือ ตา ๒.๒.๑ ใช้กรรไกร 2.2.1 ใชก้ รรไกร 2.2.1 ใชก้ รรไกร 1
ประสานสัมพันธ์ ตัดกระดาษขาด ตดั กระดาษ ตดั กระดาษ ก
กนั จากกันได้โดยใช้ ตามแนวเส้นตรง ตามแนวเส้นโค้ง 2
มือเดยี ว ได้ ได้
3
4
ภ
5
ป
2.2 ใช้มือ ตา ๒.๒.๒เขียนรปู 2.2.2 เขยี นรปู 2.2.2 เขียนรปู 1
ประสานสัมพนั ธ์ วงกลมตามแบบ ส่ีเหล่ยี มตามแบบ สามเหลย่ี มตาม 2
กนั ได้ ได้อยา่ งมีมุม แบบได้ 3
ชัดเจน อยา่ งมีมมุ ชดั เจน ป
4
5
ป
6
วชิ
สาระการเรยี นรู้รายปี
ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้ หน่วยการ
เรียนรู้
1. การหยบิ จบั การใชก้ รรไกร การฉกี - อาหารหลัก 5 หมู่ -อาหารดมี ี
การตัด การปะ และการรอ้ ยวัสดุ - อาหารแต่ละชนดิ มีรสชาติท่ี ประโยชน์
แตกต่าง กัน เชน่ ขม หวาน
2. การเล่นบทบาทสมมตุ ิ
เปรี้ยว เค็ม เผ็ด
3. การประกอบอาหารไทย
- สขุ นสิ ัยและมารยาทท่ีดใี นการ
4. การแสดงความคิดสรา้ งสรรค์ผา่ น รับประทานอาหาร
ภาษาทา่ ทางการเคล่อื นไหวและศิลปะ - ประโยชน์ของอาหาร และ
5.เรยี นร้ผู ่านกจิ กรรมกลมุ่ วธิ ีการประกอบอาหาร เช่น ต้ม
ประสบการณช์ ีวิต ผัด แกง ทอด
1. การเขียนภาพและการเลน่ กบั สี - ระวังรักษาความสะอาดของ -หนนู ้อยคนเกง่
2. การทำกจิ กรรมศลิ ปะต่างๆ ร่างกายและการมสี ุขอนามยั ที่ดี
3. การช่วยเหลอื ตนเองในกิจวัตร - การช่วยเหลอื ตนเองในกิจวัตร
ประจำวนั ประจำวนั
4. การฟงั และปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนํา - การลา้ งมอื
5.เรียนรผู้ า่ นกิจกรรมกลมุ่ - การแตง่ กาย
ประสบการณช์ วี ิต - การรับประทานอาหาร
6.เรยี นรกู้ ิจกรรมกิจกรรมผา่ นกลมุ่ - การใชห้ อ้ งนำ้ หอ้ งส้วม
ชาการ(ภาษา) - การเก็บของใชส้ ่วนตัว
- การปแู ละเกบ็ เครื่องนอน
๒๖
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
ตวั บ่งช้ี ชนั้ อนุบาล 1 ชน้ั อนบุ าล 2 ชั้น อนบุ าล 3
(อายุ 3 - ๔ป)ี (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี)
๒.๒.๓ ร้อยวสั ดทุ ่ี 2.2.3 ร้อยวสั ดุท่ี 2.2.3 ร้อยวสั ดุที่ 1
มีรขู นาด มรี ขู นาดเส้น ผา่ มีรขู นาด ก
เส้นผ่าศนู ย์กลาง ๑ ศูนย์กลาง๐.๕ เสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง 2
ซม.ได้ เซนตเิ มตรได้ ๐.๒๕ เซนตเิ มตรได้ พ
แ
3
ป
4
(ภ
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ประสบการณ์สำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้
-ขา้ วมหัศจรรย์
1. การหยิบจับ การใชก้ รรไกร การฉกี - ข้าวชนิดต่าง ๆ เชน่
การตัด การปะ และการรอ้ ยวัสดุ ขา้ วเปลือกขา้ วสาร ข้าวสุก
2. การทำกจิ กรรมศลิ ปะต่างๆ 3. การ - ลกั ษณะของตน้ ขา้ ว
พูดอธิบายเก่ียวกบั สิง่ ของ เหตกุ ารณ์ - การนบั ปากเปล่าจำนวน 1 -
10
และความสมั พันธ์ของส่งิ ตา่ งๆ - ขน้ั ตอนในการทำนา
3.เรยี นรู้กิจกรรมผา่ นกล่มุ
ประสบการณช์ วี ิต - อาหารที่ทำมาจากขา้ ว
4.เรียนร้กู จิ กรรมผ่านกลมุ่ วชิ าการ
ภาษา)
๒๗
พฒั นาการด้านอารมณ์
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข
สภาพท่พี ึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ ชั้นอนบุ าล 1 ชัน้ อนบุ าล 2 ชนั้ อนุบาล 3
(อายุ 3 - ๔ป)ี (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี)
3.1 แสดงออก ๓.๑.๑ แสดง 3.1.1. แสดง 3.1.1 แสดง 1
ทางอารมณ์ได้ อารมณ์ อารมณ์ความรู้สกึ อารมณ์ความรูส้ กึ ด
อย่างเหมาะสม ความรู้สึกได้ ได้ตาม ไดส้ อดคล้องกับ 2
เหมาะสมกบั สถานการณ์ สถานการณ์อยา่ ง ค
สถานการณ์ เหมาะสม เส
ผ
3
ข
อ
4
5
ห
6
ป
7
ส
8
(ค
สาระการเรียนรู้รายปี
ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้
1. การเคล่อื นไหวตามเสยี งเพลง/ -การสะท้อนการรับรู้อารมณ์ -เพ่อื นๆนา่ รัก
ดนตรี และความรูส้ กึ ของตนเองและ -โรงเรยี นของเรา
2. การแสดงความยินดีเมื่อผู้อืน่ มี ผู้อ่นื
ความสุข เหน็ ใจเม่ือผู้อ่ืนเศร้าหรือ -การแสดงออกทางอารมณแ์ ละ
สยี ใจและการช่วยเหลือปลอดโยนเม่ือ ความรู้สึกอย่างเหมาะสม
ผู้อ่ืนได้รับบาดเจ็บ - การเล่นและทำส่งิ ต่างๆด้วย
3. การสงั เกตลกั ษณะ ส่วนประกอบ ตนเองตามลำพังหรือกบั ผู้อื่น
ของสิ่งต่างๆ โดยใช้ประสาทสัมผัส
อย่างเหมาะสม
4. การเล่นและทำงานรว่ มกบั ผู้อื่น
5. การฟงั เพลง นทิ าน คำคล้องจอง
หรือเรอ่ื งราวต่างๆ
6.เรียนรู้กจิ กรรมผา่ นกล่มุ
ประสบการณช์ ีวิต
7.เรียนรู้กจิ กรรมผ่านกลมุ่ ประสาท
สมั ผสั
8.เรียนรู้กิจกรรมผ่านกลมุ่ วิชาการ
คณติ ศาสตร์และภาษา)
๒๘
ตัวบ่งชี้ ช้นั อนุบาล 1 สภาพท่พี ึงประสงค์ 1
(อายุ 3 - ๔ป)ี ด
ชั้น อนบุ าล 2 ชั้น อนบุ าล 3
3.2 มีความรู้สึก ๓.๒.๑ กล้าพูด (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี) 2
ทด่ี ตี ่อตนเองและ กลา้ แสดงออก
ผอู้ ื่น 3.2.1กล้าพูด 3.2.1กล้าพูด 3
กล้าแสดงออก กลา้ แสดงออก 4
อย่างเหมาะสม อย่างเหมาะสม แ
บางสถานการณ์ ตามสถานการณ์ 5
(ภ
3.2 มีความรู้สกึ ๓.๒.๒ แสดงความ 3.2.2 แสดงความ 3.2.2 แสดงความ 1
ที่ดีตอ่ ตนเองและ พงึ พอใจในผลงาน พอใจในผลงานของ พอใจในผลงานของ ด
ผู้อน่ื ตนเอง ตนเอง ตนเองและ 2
ความสามารถของ เศ
คนอ่นื
3
4
5
ก
สาระการเรยี นรู้รายปี
ประสบการณ์สำคัญ สาระทีค่ วรเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้
1. การเคลอื่ นไหวตามเสียงเพลง/ -การรจู้ กั แสดงความคดิ เหน็ ของ -เพอื่ นๆนา่ รัก
ดนตรี ตนเองและรับฟังความคิดเหน็ -โรงเรียนของเรา
ของผู้อน่ื
2. การเล่นบทบาทสมมติ -การเคารพสิทธขิ องตนเองและ
ผู้อ่นื
3. การเล่นและทำงานรว่ มกับผู้อ่ืน - การชื่นชมผลงานของตนเอง
4. การพูดแสดงความคดิ ความรู้สึก และผ้อู ื่น
และความต้องการ - การรบั รูอ้ ารมณ์และแสดง
5.เรียนรกู้ จิ กรรมผา่ นกลุ่มวชิ าการ ความรู้สกึ ตอ่ ตนเองและผู้อ่นื
ภาษา) อย่างเหมาะสม
- การแสดงมารยาทท่ีดี
1. การเคล่อื นไหวตามเสยี งเพลง/ - ความภาคภูมใิ จในตนเอง
ดนตรี
2. การประดิษฐ์สง่ิ ต่าง ๆ ดว้ ย -ความภาคภมู ิใจในตนเอง -เพื่อนๆนา่ รัก
ศษวัสดุ -การรู้จกั แสดงความคดิ เหน็ ของ -โรงเรยี นของเรา
ตนเองและรับฟังความคิดเหน็ -วนั เด็ก วนั ครู
3. การเล่นบทบาทสมมติ ของคนอ่ืน
-การแสดงออกทางอารมณแ์ ละ
4. การเล่นและทำงานรว่ มกบั ผู้อื่น ความรูส้ ึกอย่างเหมาะสม
5. การใหค้ วามรว่ มมอื ในการปฏิบัติ - ชนื่ ชมยินดี เมื่อผ้อู ื่นประสบ
กิจกรรมต่าง ๆ ผลสำเร็จ
- ความภาคภมู ใิ จในตนเอง
๒๙
สภาพทพี่ ึงประสงค์
ตวั บง่ ชี้ ชั้นอนุบาล 1 ช้ัน อนุบาล 2 ชน้ั อนุบาล 3
(อายุ 3 - ๔ป)ี (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี)
6
แ
7
(ภ
8
ป
สาระการเรียนรรู้ ายปี
ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่ีควรเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้
6. การพูดแสดงความคดิ ความรู้สึก
และความต้องการ
7.เรยี นรกู้ ิจกรรมผา่ นกลุ่มวชิ าการ
ภาษา)
8.เรียนรู้กิจกรรมผา่ นกล่มุ
ประสบการณช์ วี ติ
๓๐
พฒั นาการดา้ นอารมณ์-จิตใจ
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
ตัวบ่งชี้ ช้นั อนุบาล 1 ช้ัน อนุบาล 2 ชั้น อนุบาล 3
(อายุ 3 - ๔ป)ี (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี)
4.1 สนใจ ๔.๑.๑ สนใจ มี 4.1.1 สนใจ มี 4.1.1 สนใจ มี ๑
๒
มีความสุขและ ความสขุ และ ความสุขและ ความสขุ และ แ
๓
แสดงออกผ่าน แสดงออกผา่ น แสดงออกผา่ น แสดงออกผ่าน ก
๔
งานศลิ ปะ งานศลิ ปะ งานศลิ ปะ งานศลิ ปะ ๕
ส
ดนตรแี ละการ
เคลื่อนไหว
4.1 สนใจ ๔.๑.๒ สนใจ มี 4.1.2 สนใจ มี 4.1.2 สนใจ มี ๑
มคี วามสุขและ ความสขุ และ ความสขุ และ ความสขุ และ ๒
แสดงออกผา่ น แสดงออกผ่าน แสดงออกผา่ น แสดงออกผา่ น ๓
งานศิลปะ เสียงเพลงดนตรี เสียงเพลง ดนตรี เสยี งเพลง ดนตรี เพ
ดนตรแี ละการ
เคลอื่ นไหว ๔
ภ
ศ
๕.ก
สง่ิ ต
สาระการเรยี นรู้รายปี
ประสบการณ์สำคญั สาระทคี่ วรเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้
๑. การเคล่อื นไหวอยู่กับท่ี - ความภาคภมู ิใจในตนเอง - วนั แมแ่ ห่งชาติ
- สีแสนสวย
๒. การฟงั เพลง การร้องเพลง และการ - การสะทอ้ นการรบั รู้ทาง
-ลอยกระทง
แสดงปฏิกริ ยิ าโต้ตอบเสยี งดนตรี อารมณ์และความรู้สึกของ -พอ่ ของหนู
-วันขึ้นปีใหม่
๓. การให้ความร่วมมอื ในการปฏบิ ัติ ตนเองและผ้อู ่ืน
กจิ กรรมตา่ ง ๆ - การแสดงออกทางอารมณ์และ
๔. การฟงั และปฏิบัตติ ามคำแนะนำ ความรู้สกึ อย่างเหมาะสม
๕. การเลน่ เครือ่ งเลน่ สัมผัสและการ - การเรียนรทู้ ีจ่ ะแสดงความ
สรา้ งสิ่งต่างๆจากแทง่ ไม้บลอ็ ก คิดเห็น
- การเรยี นรทู้ ีจ่ ะเลน่ หรือทำสิ่ง
ต่างๆด้วยตนเองหรือกับผู้อื่น
๑. การเคลอ่ื นไหวอยู่กบั ท่ี - ความภาคภมู ใิ จในตนเอง
๒.การทำกิจกรรมศิลปะต่างๆ - การสะท้อนการรบั รู้ทาง
๓.การเล่นหรอื ทำกจิ กรรมร่วมกับกลมุ่ อารมณ์และความรสู้ กึ ของ
พอื่ น ตนเองและผอู้ ืน่
๔.การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่าน - การแสดงออกทางอารมณ์และ
ภาษา ทา่ ทางการเคล่ือนไหว และ ความรู้สกึ อย่างเหมาะสม
ศลิ ปะ - การเรียนร้ทู ี่จะแสดงความ
การเล่นเคร่ืองเลน่ สมั ผัสและการสร้าง คิดเหน็
ต่างๆจากแทง่ ไมบ้ ลอ็ ก - การเรยี นรู้ทจ่ี ะเล่นหรือทำส่ิง
ต่างๆด้วยตนเองหรือกับผอู้ ื่น
๓๑
ตวั บง่ ช้ี สภาพท่พี งึ ประสงค์ ๑.
๒.
4.1 สนใจ ชั้นอนบุ าล 1 ชัน้ อนุบาล 2 ชัน้ อนุบาล 3 ดน
มีความสุขและ (อายุ 3 - ๔ปี) (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี) ๓.
แสดงออกผ่าน ๔.
งานศิลปะ ๔.๑.๓ สนใจ 4.1.3 สนใจ 4.1.3 สนใจ มี แล
ดนตรแี ละการ มีความสุข และ มีความสุขและแสดง ความสขุ และ ๕.
เคล่ือนไหว แสดงท่าทาง/ ท่าทาง/เคล่ือนไหว แสดงท่าทาง/
เคล่ือนไหวประกอบ ประกอบเพลง เคลือ่ นไหว
เพลงจังหวะ และ จังหวะและดนตรี ประกอบเพลง
ดนตรี จังหวะและดนตรี
สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้
การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอปุ กรณ์ - ความภาคภมู ใิ จในตนเอง -วันขึน้ ปใี หม่
การเคลือ่ นไหวตามเสียงเพลง/ - การสะท้อนการรบั รู้ทาง -วันลอยกระทง
นตรี อารมณ์และความร้สู ึกของ
การเลน่ และทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่นื ตนเองและผอู้ ืน่
การพดู แสดงความคิด ความรสู้ ึก - การแสดงออกทางอารมณ์และ
ละความต้องการ ความรสู้ ึกอยา่ งเหมาะสม
เรียนรผู้ า่ นกลมุ่ ประสาทสมั ผัส - การเรยี นรทู้ ่ีจะแสดงความ
คิดเห็น
- การเรียนรู้ท่ีจะเลน่ หรือทำสิ่ง
ตา่ งๆด้วยตนเองหรือกับผ้อู น่ื
๓๒
พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ
มาตรฐานที่ 5 มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิตใจทด่ี งี าม
สภาพทพี่ ึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ ชัน้ อนุบาล 1 ชั้น อนบุ าล 2 ชน้ั อนบุ าล 3
(อายุ 3 - ๔ปี) (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี)
5.1 ซื่อสตั ย์ 5.1.1 บอก 5.1.1 ขอ 5.1.1 ขอ ๑.
ชีว
สุจริตและรู้ หรือชไ้ี ด้ว่าสิ่งใด อนุญาตหรือรอ อนญุ าตหรือรอ ๒.
ถกู ผดิ เปน็ ของตนและ คอยเม่ือต้องการ คอยเม่ือต้องการ จร
สิ่งใดเปน็ ของ ส่ิงของของผู้อืน่ ส่งิ ของของผู้อน่ื ๓.
คิด
ผูอ้ น่ื เมื่อมผี ชู้ ี้แนะ ดว้ ยตนเอง ๔.
คดิ
5.๑.๑.สามารถ 5.๑.๑. สามารถ 5.๑.๑. สามารถ ๕.
แยกระหวา่ ง แยกระหวา่ ง แยกระหว่าง แล
ผลประโยชน์ ผลประโยชนส์ ว่ น ผลประโยชน์สว่ น 6.
ส่วนตนกับผล ตนกบั ตนกับ ชีว
7.
ชีว
8.
๑.
๒.
ขัด
๓.
สาระการเรยี นรู้รายปี
ประสบการณส์ ำคญั สาระที่ควรเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้
. การปฏิบตั ติ นให้ปลอดภยั ใน - การเคารพสิทธขิ องตนเอง -หนูคนเก่ง
วิตประจำวัน และผอู้ ่นื -วดั
. การฟังนทิ านเกย่ี วกับคุณธรรม - การมีคุณธรรม จรยิ ธรรม -ชุมชนของเรา
ริยธรรม -ครอบครวั สขุ
. การรว่ มสนทนา และแลกเปลย่ี นความ - การแยกระหว่าง สันต์
ดเห็น ผลประโยชนส์ ว่ นตนกับ -โตไปไม่โกง
. การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม
ดเหน็ เชงิ จรยิ ธรรม -หนูคนเก่ง
. การพดู สะท้อนความรูส้ ึกของตนเอง -วดั
ละผอู้ ืน่ -ชมุ ชนของเรา
.เรียนรกู้ ิจกรรมผ่านกลุ่มประสบการณ์
วิต
.เรียนร้กู จิ กรรมผา่ นกลุ่มประสบการณ์
วิต
.เรยี นร้กู จิ กรรมผา่ นกลมุ่ วิชาการ(ภาษา)
. การปฏิบตั ิตนตามศาสนาทีน่ บั ถือ
.การมสี ว่ นรว่ มในการแกป้ ัญหาความ
ดแยง้
.สำรวจส่ิงตา่ งๆ และแหลง่ เรียนรู้รอบตัว
๓๓