The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยปีการศึกษา2565(ร่าง)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by eye.mala1, 2022-05-03 04:06:02

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยปีการศึกษา2565(ร่าง)

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยปีการศึกษา2565(ร่าง)

ประกาศโรงเรยี นเทศบาล ๑ (บา้ นเก่า)
เรือ่ ง ให้ใช้หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนเทศบาล ๑ (บา้ นเกา่ ) พทุ ธศักราช ๒๕๖5

ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖0
---------------------------------------------------------------------

เพื่อให้การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม

สภาพแวดล้อม สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษที่ 21 เด็กมีศักยภาพในการแข่งขันและ

ดำรงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้เป็นไปตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

พุทธศักราช ๒๕๖๐ และได้ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาในปีการศึกษา ๒๕๖5 เพื่อให้สถานศึกษานำ

หลักสูตรไปใช้โดยปรบั ปรุงใหเ้ หมาะสมกับเดก็ และสภาพท้องถิน่

โรงเรียนเทศบาล ๑ (บ้านเก่า) จึงได้ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย และปรับปรุง

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนเทศบาล ๑ (บ้านเกา่ ) พุทธศกั ราช ๒๕๖5 ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย

พุทธศักราช ๒๕๖๐ เพื่อส่งเสริมให้เด็กบรรลุมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่หลักสูตรการศึกษา

ปฐมวัยกำหนด โดยคำนึงถึงวิสัยทัศน์ จุดเน้น ภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพบริบท และความต้องการของชุมชน

รวมท้ังการเปลีย่ นแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ สอดคลอ้ งกับธรรมชาติและการเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัย

ทั้งนี้ หลักสูตรดังกล่าวได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียน

เทศบาล ๑ (บ้านเก่า) ในคราวประชุม เมื่อวันที่ พฤษภาคม ๒๕๖๕ จึงประกาศให้ใช้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย โรงเรียนเทศบาล ๑ (บา้ นเก่า) พทุ ธศักราช ๒๕๖5

ประกาศ ณ วนั ท่ี เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

(นายวชริ ดวงแสงทอง) (นายพรเทพ ศรจี กั ร์)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา
โรงเรยี นเทศบาล ๑ (บา้ นเก่า)

การกาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ

เพ่อื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

ระดบั ปฐมวยั โรงเรยี นเทศบาล ๑ (บ้านเก่า)

ปี การศึกษา ๒๕๖๕

มาตรฐาน / ตวั บ่งชี้/ ตวั บ่งชี้ยอ่ ย/ รายการพิจารณา ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ การบรหิ ารจดั การสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ระดบั ดมี าก

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๑.๑ การบรหิ ารจดั การอยา่ งเป็นระบบ ระดบั ดมี าก

ตัวบ่งช้ยี ่อย

๑.๑.๑ บริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบ ระดบั ดมี าก

๑.๑.๒ บริหารหลกั สตู รสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ระดบั ดมี าก

๑.๑.๓ บรหิ ารจดั การขอ้ มูลอย่างเป็นระบบ ระดบั ดมี าก

ตัวบ่งช้ที ่ี ๑.๒ การบริหารจัดการบุคลากรทุกประเภทตามหนว่ ยงานท่ีสังกัด ระดบั ดมี าก

ตวั บ่งชยี้ ่อย

๑.๒.๑ บรหิ ารจัดการบุคลากรอยา่ งเปน็ ระบบ ระดบั ดมี าก

๑.๒.๒ ผู้บริหารสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั /หัวหน้าระดับปฐมวยั /ผดู้ ำเนนิ กจิ การ มีคณุ วุฒิ/ ระดบั ดมี าก

คณุ สมบัติเหมาะสม และบริหารงานอยา่ งมีประสิทธิภาพ

๑.๒.๓ คร/ู ผูด้ แู ลเด็กทท่ี ำหนา้ ที่หลักในการดูแลและพฒั นาเด็กปฐมวัย มวี ฒุ ิการศึกษา/ ระดบั ดมี าก

คุณสมบตั เิ หมาะสม

๑.๒.๔ บริหารบุคลากรจัดอตั ราส่วนของครู/ผูด้ ูแลเด็กอย่างเหมาะสมพอเพยี งตอ่ จำนวน ระดบั ดมี าก

เด็กในแตล่ ะกลุ่มอายุ

ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๑.๓ การบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอ้ มเพ่ือความปลอดภยั ระดบั ดมี าก
ตัวบ่งช้ยี ่อย
๑.๓.๑ บรหิ ารจดั การดา้ นสภาพแวดล้อมเพอื่ ความปลอดภัยอยา่ งเป็นระบบ ระดบั ดมี าก
๑.๓.๒ โครงสรา้ งและตัวอาคารม่นั คง ตัง้ อยูใ่ นบริเวณและสภาพแวดล้อมท่ีปลอดภยั ระดบั ดมี าก
๑.๓.๓ จดั การความปลอดภยั ของพ้นื ท่เี ล่น/สนามเด็กเลน่ และสภาพแวดลอ้ มภายนอกอาคาร ระดบั ดมี าก
๑.๓.๔ จัดการสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ เคร่ืองใชใ้ ห้ปลอดภยั เหมาะสมกับการ ระดบั ดมี าก

ใชง้ านและเพยี งพอ

มาตรฐาน / ตวั บ่งชี้/ ตวั บ่งชี้ย่อย/ รายการพิจารณา ระดบั คณุ ภาพ
๑.๓.๕ จัดใหม้ ขี องเลน่ ท่ีปลอดภัยไดม้ าตรฐาน มจี ำนวนเพยี งพอ สะอาด เหมาะสมกบั ระดับ ระดบั ดมี าก
พัฒนาการของเดก็
๑.๓.๖ ส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ ปฐมวัยเดินทางอย่างปลอดภยั ระดบั ดมี าก
๑.๓.๗ จัดใหม้ ีระบบปอ้ งกนั ภยั จากบุคคลทงั้ ภายในและภายนอกสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ระดบั ดมี าก
๑.๓.๘ จดั ใหม้ รี ะบบรับเหตฉุ กุ เฉนิ ป้องกันอคั คภี ยั /ภัยพิบตั ติ ามความเสี่ยงของพนื้ ท่ี ระดบั ดมี าก
ระดบั ดมี าก
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑.๔ การจัดการเพ่อื ส่งเสริมสขุ ภาพและการเรยี นรู้
ตัวบ่งช้ีย่อย ระดบั ดมี าก

๑.๔.๑ มกี ารจดั การเพือ่ ส่งเสรมิ สขุ ภาพ เฝา้ ระวังการเจรญิ เติบโต ของเด็ก และดูแลการเจ็บป่วย ระดบั ดมี าก
เบ้ืองต้น
ระดบั ดมี าก
๑.๔.๒ มีแผนและดำเนินการตรวจสุขอนามยั ประจาวัน ตรวจสุขภาพประจำปี และป้องกันควบคุม
โรคตดิ ต่อ ระดบั ดมี าก
ระดบั ดมี าก
๑.๔.๓ อาคารต้องมีพน้ื ท่ีใชส้ อยเป็นสดั สว่ นตามกิจวตั รประจำวนั ของเด็กที่เหมาะสมตามชว่ งวัย และ
การใชป้ ระโยชน์ ระดบั ดมี าก

๑.๔.๔ จัดใหม้ พี น้ื ท/่ี มุมประสบการณ์ และแหลง่ เรียนรู้ในห้องเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น ระดบั ดมี าก
๑.๔.๕ จัดบรเิ วณห้องนา้ หอ้ งส้วม ท่แี ปรงฟนั /ล้างมือให้เพียงพอ สะอาด ปลอดภยั และเหมาะสมกับ
การใช้งานของเด็ก ระดบั ดมี าก
๑.๔.๖ จดั การระบบสุขาภบิ าลท่ีมปี ระสิทธิภาพ ครอบคลมุ สถานทปี่ รุง ประกอบอาหารน้ำดม่ื นำ้ ใช้
กำจดั ขยะ สิ่งปฏิกูล และพาหะนำโรค ระดบั ดมี าก
๑.๔.๗ จัดอุปกรณ์ภาชนะและเครอ่ื งใช้สว่ นตวั ใหเ้ พยี งพอกบั การใชง้ านของเด็กทกุ คนและดแู ลความ
สะอาดและปลอดภัยอย่างสม่ำเสมอ ระดบั ดมี าก
ระดบั ดมี าก
ตัวบง่ ช้ที ่ี ๑.๕ การสง่ เสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ระดบั ดมี าก
ตวั บง่ ช้ยี ่อย ระดบั ดมี าก
๑.๕.๑ มกี ารสื่อสารเพ่อื สร้างความสัมพนั ธแ์ ละความเข้าใจอนั ดรี ะหวา่ งพ่อแม่/ผู้ปกครองกบั สถาน ระดบั ดมี าก

พัฒนาเดก็ ปฐมวัยเก่ยี วกับตัวเดก็ และการดำเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ระดบั ดมี าก
๑.๕.๒ การจัดกิจกรรมท่ีพอ่ แม่/ผู้ปกครอง/ครอบครัว และชมุ ชน มสี ว่ นรว่ ม
๑.๕.๓ ดำเนนิ งานใหส้ ถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยเปน็ แหล่งเรียนรแู้ ก่ชมุ ชนในเรื่องการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
๑.๕.๔ มีคณะกรรมการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

มาตรฐานดา้ นท่ี ๒ ของครู/ผ้ดู แู ลเด็กใหก้ ารดูแล และจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และการเล่นเพื่อ
พฒั นาเด็กปฐมวัย
ตัวบ่งชท้ี ่ี ๒.๑ การดูแลและพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน

ตวั บง่ ชีย้ อ่ ย
๒.๑.๑ มแี ผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ทสี่ อดคลอ้ งกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั มกี าร
ดำเนนิ งานและประเมนิ ผล

มาตรฐาน / ตวั บง่ ชี้/ ตวั บ่งชี้ย่อย/ รายการพิจารณา ระดบั คณุ ภาพ
๒.๑.๒ จัดพ้ืนท/่ี มมุ ประสบการณก์ ารเรยี นรแู้ ละการเล่นที่เหมาะสมอย่างหลากหลาย ระดบั ดมี าก
๒.๑.๓ จดั กิจกรรมสง่ เสริมพฒั นาการทกุ ด้านอยา่ งบูรณาการตามธรรมชาตขิ องเดก็ ท่ีเรยี นรู้ ดว้ ย ระดบั ดมี าก
ประสาทสัมผสั ลงมือทำ ปฏสิ ัมพันธ์ และการเลน่
๒.๑.๔ เลอื กใช้ส่ือ/อุปกรณ์ เทคโนโลยี เครือ่ งเล่นและจดั สภาพแวดล้อมภายใน-ภายนอกแหล่งเรียนรู้ ระดบั ดมี าก
ทเี่ พียงพอ เหมาะสม ปลอดภัย
๒.๑.๕ เฝ้าระวังติดตามพัฒนาการเดก็ รายบุคคลเป็นระยะ เพ่ือใชผ้ ลในการจัดกิจกรรมพฒั นาเด็กทกุ ระดบั ดมี าก
คนให้เต็มตามศักยภาพ
ระดบั ดมี าก
ตวั บง่ ชี้ท่ี ๒.๒ การส่งเสริมพัฒนาการดา้ นรา่ งกายและดูแลสขุ ภาพ
ตวั บ่งช้ียอ่ ย ระดบั ดมี าก
๒.๒.๑ ใหเ้ ดก็ อายุ ๖ เดือนขึ้นไป รับประทานอาหารที่ครบถว้ นในปริมาณท่ีเพยี งพอ และส่งเสรมิ
ระดบั ดมี าก
พฤติกรรมการกินท่เี หมาะสม
๒.๒.๒ จดั กิจกรรมให้เดก็ ได้ลงมือปฏิบัติอย่างถูกตอ้ งเหมาะสมในการดูแล สขุ ภาพความปลอดภยั ใน ระดบั ดมี าก

ชีวิตประจาวัน ระดบั ดมี าก
๒.๒.๓ ตรวจสุขภาพอนามัยของเดก็ ประจำวนั ความสะอาดของร่างกาย ฟนั และชอ่ งปากเพอ่ื คดั กรอง ระดบั ดมี าก
ระดบั ดมี าก
โรคและการบาดเจบ็
๒.๒.๔ เฝา้ ระวังติดตามการเจริญเติบโตของเด็กเป็นรายบุคคล บนั ทกึ ผลภาวะโภชนาการอย่างต่อเน่ือง ระดบั ดมี าก
๒.๒.๕ จดั ให้มีการตรวจสขุ ภาพรา่ งกาย ฟันและช่องปาก สายตา หู ตามกำหนด
ระดบั ดมี าก
ตัวบ่งช้ที ี่ ๒.๓ การส่งเสริมพัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา ภาษาและการสอ่ื สาร
ตวั บง่ ชี้ย่อย ระดบั ดมี าก
๒.๓.๑ จดั กจิ กรรมส่งเสริมให้เด็กได้สังเกต สัมผัส ลองทำ คิดต้ังคำถาม สืบเสาะหาความรู้

แก้ปัญหา จินตนาการ คิดสรา้ งสรรค์ โดยยอมรบั ความคิดและผลงานที่แตกตา่ งของเด็ก
๒.๓.๒ จดั กจิ กรรมและประสบการณ์ทางภาษาท่มี ีความหมายตอ่ เด็ก เพื่อการส่อื สารอยา่ งหลากหลาย

ฝึกฟัง พูด ถาม ตอบ เล่าและสนทนาตามลาดับขน้ั ตอน พัฒนาการ
๒.๓.๓ จดั กจิ กรรมปลกู ฝงั ใหเ้ ดก็ มนี สิ ยั รกั การอา่ นใหเ้ ด็กมีทักษะการดูภาพ ฟังเรื่องราว พดู เล่า อา่ น

วาด/เขยี น เบ้ืองตน้ ตามลำดับพัฒนาการ โดยครู/ ผดู้ ูแลเด็ก เป็นตวั อย่างของการพดู และการอ่านที่
ถูกต้อง

๒.๓.๔ จดั ใหเ้ ดก็ มปี ระสบการณเ์ รียนรูเ้ ก่ียวกบั ตัวเด็ก บคุ คล ส่ิงตา่ งๆ สถานที่ และธรรมชาติรอบตัว ระดบั ดมี าก
ด้วยวิธกี ารทเี่ หมาะสมกบั วัยและพัฒนาการ

๒.๓.๕ จดั กจิ กรรมและประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตรเ์ บ้ืองต้นตามวัยโดยเดก็ เรียนรู้ ระดบั ดมี าก
ผา่ นประสาทสมั ผสั และลงมือปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง

มาตรฐาน / ตวั บง่ ชี้/ ตวั บ่งชี้ยอ่ ย/ รายการพิจารณา ระดบั คณุ ภาพ
ระดบั ดมี าก
ตัวบ่งชท้ี ี่ ๒.๔ การส่งเสริมพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ-สงั คม ปลกู ฝงั คณุ ธรรมและความเป็น
พลเมืองดี ระดบั ดมี าก

ตวั บง่ ชยี้ อ่ ย

๒.๔.๑ สรา้ งความสัมพนั ธท์ ีด่ ีและม่ันคง ระหวา่ งผใู้ หญ่กบั เดก็ จัดกจิ กรรมสรา้ งเสรมิ ความสมั พันธ์ทีด่ ี

ระหวา่ งเดก็ กับเด็ก และการแก้ไขข้อขัดแยง้ อยา่ งสร้างสรรค์

๒.๔.๒ จดั กิจกรรมสง่ เสริมใหเ้ ด็กมคี วามสขุ แจ่มใส ร่าเริง ได้แสดงออกด้านอารมณ์ความรู้สกึ ท่ีดีต่อ ระดบั ดมี าก
ตนเอง โดยผา่ นการเคลือ่ นไหวร่างกาย ศิลปะ ดนตรี ตามความ สนใจและถนัด ระดบั ดมี าก

๒.๔.๓ จดั กิจกรรมและประสบการณ์ ปลูกฝงั คุณธรรมใหเ้ ด็กใฝด่ ี มวี นิ ยั ซ่ือสตั ย์ รู้จกั สทิ ธิ และหนา้ ท่ี
รับผดิ ชอบของพลเมืองดี รกั ครอบครวั โรงเรียน ชุมชนและประเทศชาติ ดว้ ยวิธีที่เหมาะสมกับวัย และ
พัฒนาการ

ตวั บ่งช้ที ่ี ๒.๕ การสง่ เสริมเด็กในระยะเปลี่ยนผ่านให้ปรบั ตวั ส่กู ารเช่ือมตอ่ ในขั้นถดั ไป ระดบั ดมี าก

ตวั บ่งช้ียอ่ ย ระดบั ดมี าก
๒.๕.๑ จัดกิจกรรมกับผปู้ กครองให้เตรยี มเด็กก่อนจากบ้านเข้าสู่สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย/ โรงเรยี น ระดบั ดมี าก
และจัดกิจกรรมชว่ งปฐมนเิ ทศให้เด็กคอ่ ยปรบั ตวั ในบรรยากาศท่ีเป็นมิตร
๒.๕.๒ จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การปรับตัวก่อนเข้ารับการศึกษาในระดบั ทสี่ ูงข้นึ แต่ละขน้ั จนถงึ การเป็น
นักเรียนระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑

มาตรฐานดา้ นท่ี ๓ คุณภาพของเดก็ ปฐมวัย ระดบั ดมี าก
• สำหรับเด็ก อำยุ ๓ ปี - อำยุ ๖ ปี (ก่อนเข้ำประถมศึกษำปี ท่ี ๑)
ระดบั ดมี าก
ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๓.๑ ข เดก็ มีการเจรญิ เติบโตสมวัยและมีสขุ นิสัยท่เี หมาะสม
ตวั บง่ ช้ีย่อย ระดบั ดมี าก
๓.๑.๑ ข เด็กมีน้ำหนกั ตัวเหมาะสมกบั วัยและสงู ดสี มส่วน ซง่ึ มีบนั ทึกเปน็ รายบุคคล ระดบั ดมี าก
๓.๑.๒ ข เดก็ มีสขุ นสิ ัยท่ดี ีในการดูแลสุขภาพตนเองตามวัย ระดบั ดมี าก
๓.๑.๓ ข เดก็ มสี ขุ ภาพชอ่ งปากดี ไม่มีฟนั ผุ ระดบั ดมี าก

ตวั บง่ ช้ที ่ี ๓.๒ ข เดก็ มพี ัฒนาการสมวัย ระดบั ดมี าก
ตวั บง่ ชี้ยอ่ ย ระดบั ดมี าก
๓.๒.๑ ข เด็กมพี ฒั นาการสมวัยโดยรวม ๕ ดา้ น
ระดบั ดมี าก
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๓.๓ ข เด็กมีพัฒนาการดา้ นการเคลอื่ นไหว ระดบั ดมี าก
ตวั บง่ ชย้ี อ่ ย
๓.๓.๑ ข เด็กมีพฒั นาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเน้ือมัดใหญ่ สามารถเคลือ่ นไหว และทรงตวั ได้ ตามวยั
๓.๓.๒ ข เดก็ มีพฒั นาการดา้ นการใชก้ ล้ามเนือ้ มัดเล็ก และการประสานงานระหวา่ งตากับมือ ตามวัย

มาตรฐาน / ตวั บง่ ชี้/ ตวั บ่งชี้ยอ่ ย/ รายการพิจารณา ระดบั คณุ ภาพ
ระดบั ดมี าก
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๓.๔ ข เด็กมพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์จิตใจ
ระดบั ดมี าก
ตวั บ่งชย้ี อ่ ย
ระดบั ดมี าก
๓.๔.๑ ข เดก็ แสดงออก ร่าเริง แจ่มใส รู้สึกม่นั คงปลอดภยั แสดงความรู้สกึ ทดี่ ตี ่อตนเองและผู้อน่ื ได้
สมวัย ระดบั ดมี าก

๓.๔.๒ ข เด็กมีความสนใจ และรว่ มกจิ กรรมต่างๆ อยา่ งสมวัย ซ่ึงรวมการเล่น การทำงาน ศลิ ปะ ระดบั ดมี าก
ดนตรี กฬี า
ระดบั ดมี าก
๓.๔.๓ ข เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคุมตนเอง ยับยง้ั ช่งั ใจ ทำตามขอ้ ตกลง คำนึงถึงความรูส้ ึก ระดบั ดมี าก
ของผู้อ่ืน มีกาลเทศะ ปรับตัวเข้ากบั สถานการณ์ใหมไ่ ด้สมวัย
ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๓.๕ ข เดก็ มีพัฒนาการด้านสติปญั ญา เรียนรู้และสรา้ งสรรค์ ระดบั ดมี าก
ระดบั ดมี าก
ตวั บ่งช้ียอ่ ย ระดบั ดมี าก
ระดบั ดมี าก
๓.๕.๑ ข เด็กบอกเกีย่ วกับตัวเด็ก บคุ คล สถานท่แี วดล้อมธรรมชาติ และสิ่งต่างๆ รอบตวั เด็กได้สมวัย
ระดบั ดมี าก
๓.๕.๒ ข เด็กมพี น้ื ฐานดา้ นคณิตศาสตร์ สามารถสงั เกต จำแนก และเปรียบเทียบ จำนวน มิติ สมั พันธ์ ระดบั ดมี าก
(พ้นื ท่ี/ระยะ) เวลา ได้สมวัย
ระดบั ดมี าก
๓.๕.๓ ข เดก็ สามารถคดิ อย่างมเี หตผุ ล แก้ปญั หาไดส้ มวยั
ระดบั ดมี าก
๓.๕.๔ ข เด็กมีจินตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ ท่แี สดงออกได้สมวยั
ระดบั ดมี าก
๓.๕.๕ ข เด็กมีความพยายาม มุ่งมั่นตงั้ ใจ ทำกจิ กรรมใหส้ ำเรจ็ สมวยั
ระดบั ดมี าก
ตวั บ่งชที้ ่ี ๓.๖ ข เดก็ มีพัฒนาการดา้ นภาษาและการสื่อสาร
ระดบั ดมี าก
ตวั บง่ ชีย้ ่อย
ระดบั ดมี าก
๓.๖.๑ ข เดก็ สามารถฟงั พดู จบั ใจความ เลา่ สนทนา และสือ่ สารไดส้ มวยั
ระดบั ดมี าก
๓.๖.๒ ข เดก็ มีทกั ษะในการดรู ปู ภาพ สัญลักษณ์ การใช้หนงั สือ รูจ้ กั ตวั อักษร
การคดิ เขียนคำและการอ่านเบ้ืองต้นไดส้ มวยั และตามลำดับพัฒนาการ

๓.๖.๓ ข เด็กมที กั ษะการวาด การขีดเขยี นตามลาดับข้ันตอนพัฒนาการสมวัย นำไปสู่การขีดเขียนคำที่
คนุ้ เคย และสนใจ

๓.๖.๔ ข เดก็ มที กั ษะในการส่อื สารอยา่ งเหมาะสมตามวัย โดยใชภ้ าษาไทยเป็นหลักและมคี วามคุ้นเคย
กับภาษาอ่ืนดว้ ย
ตวั บง่ ช้ที ่ี ๓.๗ ข เด็กมีพัฒนาการดา้ นสังคม คุณธรรม มีวนิ ัย และความเปน็ พลเมืองดี

ตวั บ่งชี้ย่อย
๓.๗.๑ ข เด็กมปี ฏิสมั พนั ธก์ ับผู้อื่นได้อยา่ งสมวยั และแสดงออกถงึ การยอมรบั ความแตกตา่ งระหวา่ ง
บุคคล
๓.๗.๒ ข เด็กมคี วามเมตตา กรณุ า มวี นิ ัย ซือ่ สตั ย์ รบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสว่ นรวม และมีค่านยิ มที่
พงึ ประสงค์สมวยั
๓.๗.๓ ข เด็กสามารถเลน่ และทำงานร่วมกับผูอ้ น่ื เปน็ กลุ่ม เปน็ ไดท้ ้งั ผนู้ ำและผตู้ าม แกไ้ ขข้อขดั แย้ง
อย่างสรา้ งสรรค์
๓.๗.๔ ข เดก็ ภาคภมู ิใจท่ีเป็นสมาชิกท่ดี ใี นครอบครวั ชุมชน สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยและตระหนักถึง
ความเป็นพลเมืองดีของประเทศไทย และภูมภิ าคอาเซยี น

การกาหนดค่าเป้าหมาย

1. ศกึ ษาขอ้ มลู เดมิ ผลการประเมนิ ต่างๆ ทผ่ี า่ นมา เพอ่ื เป็นขอ้ มลู ฐานในการกาหนดคา่ เป้าหมาย

2. มาตรฐานการตดั สนิ แต่ละระดบั กาหนดการตดั สนิ คณุ ภาพของมาตรฐาน มี 4 ระดบั เพอ่ื ให้

สอดคลอ้ งกบั การประเมนิ ดงั น้ี

ระดบั 3 ดมี าก คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป

ระดบั 2 ดี คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ ๖๐ – ๗๙.๙๙

ระดบั 1 ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ ๔๐ – ๕๙.๙๙

ระดบั ๐ ตอ้ งปรบั ปรุง คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ ต่ากวา่ รอ้ ยละ ๔๐


Click to View FlipBook Version