The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยปีการศึกษา2565(ร่าง)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by eye.mala1, 2022-05-03 04:06:02

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยปีการศึกษา2565(ร่าง)

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยปีการศึกษา2565(ร่าง)

ตวั บ่งช้ี ชน้ั อนุบาล 1 สภาพทพี่ ึงประสงค์ ชัน้ อนุบาล 3
(อายุ 3 - ๔ปี) ชั้น อนุบาล 2 (อายุ 5 –6 ปี)
11.2 แสดง (อายุ 4 –5 ปี)
ทา่ ทาง/ ๑๑.๒.๑ เคลอ่ื นไหว 11.2.1 เคลื่อนไห
เคล่ือนไหว ทา่ ทางเพื่อส่ือสาร 11.2.1 เคลื่อนไหว ท่าทางเพื่อส่ือสาร
ตาม ความคิด ความรสู้ ึก ทา่ ทางเพอื่ สื่อสาร ความคดิ ความร้สู ึก
จนิ ตนาการ ความคิด ความรสู้ ึก ของ ของตนเองอย่าง
อยา่ ง ของตนเอง หลากหลายหรือ
สร้างสรรค์ ตนเอง
แปลกใหม่

สาระการเรยี นรู้รายปี

ประสบการณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้

หว 1.การเคลือ่ นไหวเคลอื่ นท่ี -การเคลื่อนไหวอยกู่ ับ -ความปลอดภัย

ร 2.การเล่นรายบุคคล กลมุ่ ย่อย ทแี่ ละเคล่ือนท่ี ในยานพาหนะ

ก กลมุ่ ใหญ่ -การเคลือ่ นไหวพร้อม - สตั ว์โลกน่ารัก

3.การเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น อุปกรณ์

4.การฟังและปฏิบัตติ ามคำแนะ -การแสดงความคดิ

5.การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง สร้างสรรคผ์ า่ นภาษา

บทร้อยกรองหรือเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ท่าทาง การ

6.การแสดงความคิดสร้างสรรค์ เคลื่อนไหว

ผา่ นภาษา ท่าทาง การเคลอ่ื นไหวและ -การเคลอื่ นไหวโดย

ศลิ ปะ ควบคุมตนเองไปใน

7. การทำซำ้ การต่อเต็มและการสรา้ ง ทศิ ทาง ระดับและ

แบบรปู พื้นท่ี

8. การเลน่ เคร่ืองอยา่ งปลอดภยั -การเคล่ือนไหวตาม

9.เรียนรกู้ จิ กรรมผ่านกลุม่ ประสบการณ์ เสยี งเพลง/ดนตรี

ชวี ิต - การฟงั เพลง การ

ร้องเพลงและการ

แสดงปฏกิ ิรยิ าโต้ตอบ

เสยี งดนตรี

๕๙

พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา
มาตรฐานท่ี 12 มีเจตคติท่ดี ีตอ่ การเรยี นรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความ

ตัวบง่ ช้ี ช้ันอนุบาล 1 สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ชั้น อนบุ าล 3
(อายุ 3 - ๔ปี) ช้ัน อนบุ าล 2 (อายุ 5 –6 ปี)
12.1 มีเจต (อายุ 4 –5 ปี)
คติทีด่ ีตอ่ การ ๑๒.๑.๑ สนใจหรือ 12.1.1 สนใจหยิบ
เรยี นรู้ ฟังอ่านหนังสือดว้ ย 12.1.1 สนใจซกั ถาม หนงั สอื มาอ่านและ
ตนเอง เกย่ี วกบั สัญลักษณห์ รอื เขยี นส่อื ความคดิ
ตัวหนงั สอื ทพ่ี บเหน็
ด้วยตนเองเปน็
ประจำอยา่ งต่อเนื่อ

มรูไ้ ดเ้ หมาะกับวัย

สาระการเรียนรูร้ ายปี

ประสบการณ์สำคญั สาระทีค่ วรเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้

บ 1.การเคลอื่ นไหวเคล่อื นท่ี -การเรยี นรู้เกย่ี วกบั -ฤดกู าลหรรษา
ะ 2. การใชภ้ าษา
ด 3. การอ่านหนังสือภาพ นทิ าน การใช้ภาษาเพ่ือสื่อ -การสอื่ สารไร้

หลากหลายประเภท/รูปแบบ ความหมายใน พรมแดน
อง 4. การอ่านอย่างอสิ ระตามลำพงั การ
ชีวิตประจำวัน -จังหวดั เชียงราย
อา่ นร่วมกัน การอา่ นโดยมีผชู้ ี้แนะ
5. การเหน็ แบบอย่างของการอ่านท่ี -ความร้พู ืน้ ฐาน -วนั ข้นึ ปใี หม่
ถกู ต้อง
6. การสงั เกตทิศทางการอา่ นตวั อกั ษร เกี่ยวกบั การใชห้ นงั สือ -อาเซียนน่ารู้
คำ และข้อความ
7. การอ่านและชีข้ ้อความ โดยกวาด และตัวหนงั สือ
สายตา ตามบรรทดั จากซา้ ยไปขวา
จากบนลงลา่ ง
8. การสงั เกตตัวอกั ษรทีป่ ระกอบเป็น
คำผา่ นการอ่านและเขียนของผใู้ หญ่
9. การสังเกตตัวอักษรทปี่ ระกอบเปน็

๖๐

สภาพทพ่ี ึงประสงค์

ตวั บง่ ชี้ ชั้นอนบุ าล 1 ชน้ั อนุบาล 2 ชน้ั อนุบาล 3

(อายุ 3 - ๔ป)ี (อายุ 4 –5 ปี) (อายุ 5 –6 ปี)

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สำคัญ สาระทีค่ วรเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้

คำผ่านการอ่านหรอื เขยี นของผู้ใหญ่
10. การเขียนรว่ มกนั ตามโอกาสและ
การเขียนอิสระ
11. การเขยี นคำทม่ี ีความหมายกับตัว
เด็ก/คำค้นุ เคย
12. การคดิ สะกดคำและเขียนเพ่อื สื่อ
ความหมายด้วยตนเองอย่างอิสระ
13. สืบเสาะหาความรู้เพ่ือค้นหา
คำตอบของข้อสงสยั ตา่ งๆ
14. การมีสว่ นรว่ มในการรวบรวม
ขอ้ มลู และการนำเสนอข้อมลู จากการ
สืบเสาะหาความรู้ในรปู แบบต่างๆและ
แผนภูมอิ ยา่ งง่าย
15.เรียนรู้กจิ กรรมผ่านกลมุ่ วิชาการ
(ภาษา)

๖๑

ตัวบ่งช้ี ชน้ั อนบุ าล 1 สภาพที่พงึ ประสงค์ ชั้น อนุบาล 3
(อายุ 3 - ๔ปี) ชน้ั อนุบาล 2 (อายุ 5 –6 ปี)
12.1 มเี จต (อายุ 4 –5 ปี)
คติทด่ี ตี ่อการ ๑๒.๑.๒ 12.1.2 ค้นหา
เรียนรู้ กระตือรอื ร้นในการ 12.1.2 กระตอื รือร้นใน คำตอบของข้อสงสยั
เข้ารว่ มกจิ กรรม การเข้าร่วมกิจกรรม ต่างๆ ด้วยวิธกี ารท
หลากหลายด้วย
ตนเอง

สาระการเรยี นรรู้ ายปี

ประสบการณ์สำคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้

1. การเคลือ่ นไหวพร้อมวสั ดุอุปกรณ์ -การเปลีย่ นแปลงและ -ความปลอดภัย

ย 2. เจตคติทีด่ ตี ่อการเรยี นรแู้ ละการ ความสมั พนั ธ์ของสิง่ ใยยานพาหนะ

ท่ี แสวงหาความรู้ ตา่ ง ๆ รอบตัว -ต้นไมใ่ หร้ ม่ เงา

3. การสำรวจสิ่งตา่ งๆและแหลง่ เรียนรู้ - การเรยี นรโู้ ดยใช้

รอบตวั กระบวนการสบื

4. การตงั้ คำถามในเร่ืองท่ีสนใจ เสาะหาความรู้

5. การสบื เสาะหาความรูเ้ พอ่ื คน้ หา

คำตอบของข้อสงสยั ตา่ งๆ

6. การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูล

และนำเสนอขอ้ มูลจากการสืบเสาะหา

ความรใู้ นรูปแบบต่างๆ และแผนภูมิ

อยา่ งง่าย

7. การรอจังหวะทีเ่ หมาะสมในการพดู

8. การเลน่ เคร่อื งเล่นสนามอย่างอิสระ

9. การเล่นนอกหอ้ งเรยี น

10 การศึกษานอกสถานที่

11.เรียนรูผ้ า่ นกิจรรมวชิ าการ

(คณิตศาสตรแ์ ละภาษา)

๖๒

ตวั บ่งชี้ ช้นั อนบุ าล 1 สภาพท่ีพึงประสงค์ ช้นั อนุบาล 3
ช้นั อนบุ าล 2 (อายุ 5 –6 ปี)
(อายุ 3 - ๔ป)ี (อายุ 4 –5 ปี)
12.2.2 ใชป้ ระโยค
12.2มี ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยค 12.2.2 ใช้ประโยค คำถามว่า
คำถามว่า “เมื่อไหร่”
ความสามารถใน คำถามว่า “ใคร” ”ท่ี ไหน” “ทำไม” ใน “อย่างไร” ในการ
การคน้ หาคำตอบ ค้นหาคำตอบ
การแสวงหาความรู้ “อะไร” ในการ

คน้ หาคำตอบ

สาระการเรยี นร้รู ายปี

ประสบการณ์สำคญั สาระที่ควรเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้

ค 1. การเคล่อื นไหวโดยควบคมุ ตนเองไป -การเปลยี่ นแปลงและ -ผกั - ผลไม้

ในทิศทาง ระดับ และพน้ื ท่ี ความสมั พนั ธข์ องสง่ิ -หนเู ป็นเด็กไทย

2. การเคล่ือนไหวข้ามส่งิ กดี ขวาง ตา่ ง ๆ รอบตวั

3. เจตคตทิ ่ดี ตี ่อการเรยี นรู้และการ - การเรยี นรูโ้ ดยใช้

แสวงหาความรู้ กระบวนการสบื

4. การสำรวจสง่ิ ต่างๆและแหล่งเรยี นรู้ เสาะหาความรู้

รอบตัว

5. การตง้ั คำถามในเร่ืองท่ีสนใจ

6. การสืบเสาะหาความร้เู พื่อค้นหา

คำตอบของข้อสงสัยตา่ งๆ

7. การละเลน่ พ้ืนบ้านของไทย

8. การพูดกบั ผอู้ ื่นเกี่ยวกับ

ประสบการณ์ของตนเองหรอื พูดเลน่

เรื่องราวเกย่ี วกับตนเอง

9. การเล่นเครอ่ื งดนตรปี ระกอบจังหวะ

10.เรียนรู้ผา่ นกิจกรรมวิชาการ

(คณิตศาสตร์และภาษา)

๖๓

๖๔

สาระท่คี วรเรยี นรู้
สาระที่ควรเรียนรู้ เป็นเรื่องราวรอบตัวเด็กที่นำมาเป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิด

แนวคิดหลงั จากนำสาระการเรียนรู้นน้ั ๆ มาจัดประสบการณใ์ ห้เด็ก เพ่อื ใหบ้ รรลุจุดมุ่งหมายที่กำหนด
ไว้ทั้งนี้ ไม่เน้นการท่องจำเนื้อหา ครูสามารถกำหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ความ
ต้องการ และความสนใจของเด็ก โดยให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์สำคัญ ทั้งนี้ อาจยืดหยุ่น
เนือ้ หาไดโ้ ดยคำนงึ ถงึ ประสบการณแ์ ละสิง่ แวดลอ้ มในชีวิตจริงของเด็ก ดงั น้ี

๒.๑ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเดก็ เด็กควรรู้จักชื่อ นามสกุล รูปร่างหน้าตา รู้จักอวัยวะต่างๆ วิธี
ระวังรักษาร่างกายให้สะอาดและมีสุขภาพอนามัยที่ดี การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ การ
ระมัดระวงั ความปลอดภยั ของตนเองจากผู้อน่ื และภัยใกล้ตวั รวมท้งั การปฏบิ ัติต่อผู้อ่ืนอย่างปลอดภัย
การรู้จักความเป็นมาของตนเองและครอบครัว การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและ
โรงเรียน การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น การรู้จักแสดงความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความ
คิดเห็นของผู้อื่น การกำกับตนเอง การเล่นและทำสิ่งต่างๆด้วยตนเองตามลำพังหรือกับผู้อื่น การ
ตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะท้อนการรับรู้อารมณ์และความรู้สึกของ
ตนเองและผู้อืน่ การแสดงออกทางอารมณ์และความรสู้ ึกอย่างเหมาะสม การแสดงมารยาททด่ี ี
การมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม

๒.๒ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับครอบครัว
สถานศกึ ษา ชมุ ชน และบคุ คลตา่ งๆ ท่เี ดก็ ต้องเกย่ี วข้องหรือใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธใ์ นชีวิตประจำวัน
สถานที่สำคัญ วันสำคัญ อาชีพของคนในชุมชน ศาสนา แหล่งวัฒนาธรรมในชุมชน สัญลักษณ์สำคัญ
ของชาติไทยและการปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถิ่นและความเป็นไทย หรือแหล่งเรียนรู้จากภูมปิ ัญญา
ทอ้ งถน่ิ อื่นๆ

๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อ ลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลง
และความสัมพันธ์ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนการรู้จักเกี่ยวกับดิน น้ำ ท้องฟ้า สภาพอากาศ ภัย
ธรรมชาติ แรง และพลังงานในชีวิตประจำวันที่แวดล้อมเด็ก รวมทั้งการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการ
รกั ษาสาธารณสมบตั ิ

๒.๔ สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายใน
ชีวิตประจำวัน ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส
ขนาด รูปร่าง รปู ทรง ปรมิ าตร นำ้ หนัก จำนวน ส่วนประกอบ การเปล่ยี นแปลงและความสัมพันธ์ของ
สิ่งต่างๆรอบตัว เวลา เงิน ประโยชน์ การใช้งาน และการเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การ

๖๕

คมนาคม เทคโนโลยีและการสื่อสารต่างๆ ทีใ่ ช้อยใู่ นชวี ติ ประจำวนั อย่างประหยัด ปลอดภัยและรักษา
สิ่งแวดล้อม

การจัดประสบการณ์

การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยอายุ ๓ – ๖ ปี เป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการ
มอนเตสซอรี่ผ่านอุปกรณ์ การลงมอื กระทำจากประสบการณ์ตรงอยา่ งหลากหลาย เกดิ ความรู้ ทักษะ
คุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งเกิดการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยมี
หลกั การ และแนวทางการจัดประสบการณ์ ดงั นี้

๑. หลกั การจดั ประสบการณ์บรู ณาการรูปแบบมอนเตสซอร่ี
1.๑ พัฒนาการเรียนรู้ในการทำงานด้วยตนเอง โดยมีความรับผิดชอบในการที่จะ

ควบคุมตนเองให้ทำงานไดส้ ำเร็จ
๑.2 พัฒนาการทางด้านสังคม โดยการเรียนรู้ในการมีชีวิตสังคมที่แท้จริงใน

หอ้ งเรยี นรูบ้ ทบาทและหนา้ ทใ่ี นการเปน็ สมาชิกของกลมุ่ รู้จักท่ีจะชว่ ยในการดูแลสิ่งแวดล้อม
ทกั ษะทางสงั คมจะไดร้ บั การพัฒนาตามวัยและมีวนิ ยั ในตนเอง

๑.3 พัฒนาการทางด้านอารมณ์ ด้วยการเป็นผู้ทีมีจิตที่สงบ มีสมาธิในการทำงาน
รจู้ กั ควบคุมตนเองในการทำงานรว่ มกบั ผู้อนื่ และรจู้ กั การรอคอยโอกาสของตนเอง มีอารมณ์
ทเ่ี หมาะสม

๑.4 พัฒนาการทางด้านสติปัญญา ด้วยการรู้จักแยกแยะ มีความคิดริเริ่ม รู้จัก
ตดั สินใจและแก้ปัญหา เลอื กไดอ้ ย่างอสิ ระ

๑.5 การพัฒนาทางด้านร่างกาย ทักษะกลไกจะได้รับการดูแลและพัฒนาท้ัง
กล้ามเนื้อย่อยกล้ามเนื้อใหญ่ และสมดุลของร่างกาย รวมถึงการดูแลระวังรักษาสุขภาพให้
รา่ งกายเจริญเตบิ โตอย่างถูกสขุ ลักษณะและมสี ุขนสิ ยั ที่ดีในการทำกิจวตั รประจำวัน

๑.๖ จัดประสบการณ์การเล่นและการเรียนรู้หลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวม
อยา่ งสมดลุ และตอ่ เนอื่ ง
๑.๗ เน้นเดก็ เปน็ สำคัญ สนองความตอ้ งการ ความสนใจ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล
และบริบทของสังคมท่เี ดก็ อาศัยอยู่
๑.๘ จัดใหเ้ ด็กไดร้ ับการพฒั นาโดยให้ความสำคัญกบั กระบวนการเรียนร้แู ละพัฒนาการของเด็ก
๑.๙ จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง และเป็นส่วนหน่ึง
ของการจดั ประสบการณ์ พรอ้ มทง้ั นำผลการประเมินมาพัฒนาเด็กอยา่ งต่อเนอ่ื ง
๑.๑๐ ให้พอ่ แม่ ครอบครัว ชมุ ชน และทกุ ฝา่ ยทเี่ กีย่ วข้องมีส่วนรว่ มในการพัฒนาเด็ก

๖๖

๒. แนวทางการจัดประสบการณ์
๒.๑ จดั ประสบการณใ์ หส้ อดคล้องกบั จิตวทิ ยาพฒั นาการและการทำงานของสมองท่ี

เหมาะสมกับอายุ วฒุ ิภาวะและระดับพฒั นาการ เพ่ือใหเ้ ดก็ ทุกคนไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ
๒.๒ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับแบบการเรียนรู้ของเด็ก เด็กได้ลงมือกระทำ

เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า ได้เคลื่อนไหว สำรวจ เล่น สังเกต สืบค้น ทดลอง และคิด
แก้ปญั หาดว้ ยตนเอง

๒.๓ จัดประสบการณ์แบบบูรณาการ โดยบูรณาการทั้งกิจกรรม ทักษะ และสาระ
การเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ กิจกรรมมอนเตสซอรี่ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรม
ศิลปะ กิจกรรมพละศึกษา กิจกรรมโยคะ กิจกรรมว่ายน้ำ กิจกรรมเรียนรู้ภาษาจีน เรียนรู้
ภาษาอังกฤษ กิจกรรมเกษตร กจิ กรรมเรียนรวู้ ัฒนธรรม

๒.๔ จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเริ่มคิดวางแผนตัดสินใจลงมือกระทำและนำเสนอความคิดโดย
ครหู รอื ผจู้ ดั ประสบการณเ์ ปน็ ผู้สนับสนนุ อำนวยความสะดวกและเรยี นรูร้ ่วมกับเด็ก

๒.๕ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอื่นกับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อม
ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ในบรรยากาศที่อบอุ่นมีความสุข และเรียนรู้การทำกิจกรรมแบบร่วมมือ
ในลักษณะต่างๆกัน

๒.๖ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อและแหล่งการเรียนท่ีหลากหลาย
และอยใู่ นวิถชี วี ิตของเดก็

๒.๗ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใช้ชีวิตประจำวันตลอดจน
สอดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรมให้เป็นสว่ นหนึง่ ของการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรูอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง

๒.๘ จัดประสบการณ์ทั้งในลักษณะที่ดีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและแผนท่ีเกิดขึ้นใน
สภาพจรงิ โดยไม่ได้คาดการณ์ไว้

๒.๙ จัดทำสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็น
รายบุคคล นำมาไตร่ตรองและใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาเดก็ และการวจิ ัยในชั้นเรียน

๒.๑๐ จดั ประสบการณ์โดยให้พอ่ แม่ ครอบครัว และชุมชนมีสว่ นร่วมทัง้ การวางแผน
การสนับสนนุ ส่อื แหล่งเรยี นรู้ การเข้ารว่ มกจิ กรรม และการประเมนิ พัฒนาการ

๓. การจัดกจิ กรรมประจำวนั
กจิ กรรมสำหรบั เดก็ อายุ ๓ –๖ปีบริบูรณ์ สามารถนำมาจัดเป็นกิจกรรมประจำวันได้หลายรูปแบบเป็นการ

ช่วยให้ครูผสู้ อนหรอื ผู้จดั ประสบการณท์ ราบว่าแต่ละวันจะทำกจิ กรรมอะไร เมื่อใด และอยา่ งไร ทัง้ น้ี การจัดกิจกรรม
ประจำวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ท่ี
สำคัญครูผู้สอนต้องคำนึงถึงการจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านการจัดกิจกรรมประจำวันมีหลักการจัด
และขอบขา่ ยกิจกรรมประจำวันดงั นี้

๖๗

๓.๑ หลักการจดั กจิ กรรมประจำวัน
๑. กำหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแตล่ ะกิจกรรมใหเ้ หมาะสมกบั วัยของเด็กใน

แตล่ ะวนั แตย่ ดื หย่นุ ได้ตามความตอ้ งการและความสนใจของเด็ก เช่น
วัย ๓ - ๔ ปี มีความสนใจช่วงสน้ั ประมาณ ๘-๑๒ นาที
วยั ๔ – ๕ ปี มีความสนใจอยู่ได้ประมาณ ๑๒-๑๕ นาที
วัย ๕ - ๖ ปี มีความสนใจอยู่ได้ประมาณ ๑๕- ๒๐ นาที

๒. กิจกรรมที่ต้องใช้ความคิดทั้งในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใช้เวลาต่อเนื่องนาน
เกนิ กวา่ ๒๐ นาที

๓. กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรี เพื่อช่วยให้เด็กรู้จักเลือกตัดสินใจ คิด
แกป้ ญั หา คิดสรา้ งสรรค์ เช่น การเลน่ ตามมุม การเลน่ กลางแจ้ง ฯลฯใชเ้ วลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที

๔. กิจกรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมที่ใช้
กล้ามเนือ้ ใหญ่และกล้ามเน้ือเล็ก กิจกรรมที่เป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่เด็กเป็น
ผู้รเิ ร่ิมและครผู ูส้ อนหรอื ผู้จดั ประสบการณ์เปน็ ผู้ริเร่ิม และกิจกรรมท่ใี ช้กำลงั และไมใ่ ชก้ ำลัง จัดใหค้ รบ
ทุกประเภท ท้ังนี้ กิจกรรมท่ีต้องออกกำลังกายควรจัดสลบั กับกิจกรรมที่ไม่ต้องออกกำลังมากนัก เพ่ือ
เด็กจะไดไ้ ม่เหนอ่ื ยเกินไป

๓.๒ ขอบข่ายของกจิ กรรมประจำวนั
การเลือกกิจกรรมที่จะนำมาจัดในแต่ละวนั สามารถจัดได้หลายรปู แบบ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความ
เหมาะสมในการนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ที่สำคัญครูผู้สอนต้องคำนึกถึงการจัด
กิจกรรมให้ครอบคลมุ พฒั นาการทกุ ดา้ น ดังต่อไปน้ี

๓.๒.๑ การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ เป็นการพัฒนาความแข็งแรง การทรงตัว ความ
ยืดหยุ่น ความคล่องแคล่วในการใช้อวัยวะต่าง ๆ และจังหวะการเคลื่อนไหวในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่
โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นอิสระกลางแจ้ง เล่นเครื่องเล่นสนาม ปีนป่ายเล่นอิสระ เคลื่อนไหว
ร่างกายตามจงั หวะดนตรี กจิ กรรมมอนเตสซอรี่ กิจกรรมโยคะ กจิ กรรมเกษตร

๓.๒.๒ การพัฒนาการกลา้ มเนอ้ื เลก็ เป็นการพัฒนาความแขง็ แรงของกล้ามเน้ือเล็ก
กล้ามเนื้อมือ-นิ้วมือการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือและระบบประสาทตามือได้อย่าง
คล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นเคร่ืองสัมผสั อุปกรณ์มอนเตสซอรีก่ ลุ่ม
ประสาทสัมผัส เล่นเกมการศึกษา ฝึกช่วยเหลือตนเองในการแต่งกาย หยิบจับช้อนส้อม และใช้
อปุ กรณ์ศิลปะ เช่น สีเทยี น กรรไกร พกู่ ัน ดนิ น้ำมัน ฯลฯ

๓.๒.๓ การพัฒนาการอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เป็นการ
ปลูกฝังให้เด็กมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความเชื่อมั่น กล้าแสดงออก มีวินัย รับผิดชอบ
ซื่อสัตย์ ประหยัด เมตตากรุณา เอื้อเฟื้อ แบ่งปัน มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและ

๖๘

ศาสนาที่นบั ถือโดยจดั กิจกรรมต่างๆ ผา่ นการเล่นใหเ้ ดก็ ได้มีโอกาสตัดสินใจเลือก ได้รับการตอบสนอง
ตาความต้องการได้ฝึกปฏิบตั โิ ดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
อย่างต่อเน่ือง กิจกรรมรักการอา่ น

๓.๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เป็นการพัฒนาให้เด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออก
อย่างเหมาะสมและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวันมี
นิสัยรกั การทำงาน ระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น โดยรวมทั้งระมัดระวงั อันตรายจาก
คนแปลกหน้า ให้เด็กได้ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันอยา่ งสม่ำเสมอ เช่น รับประทานอาหาร พักผ่อนนอน
หลับ ขับถ่าย ทำความสะอาดร่างกาย เล่นและทำงานร่วมกับผู้อ่ืน ปฏิบัติตามกฎกติกาข้อตกลงของ
ส่วนรวม เก็บของเข้าท่ีเมือ่ เล่นหรอื ทำงานเสร็จ

๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เป็นการพัฒนาใหเ้ ด็กมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ความคดิ รวบยอดทางคณิตศาสตร์ และคดิ เชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตรโ์ ดยจัดกิจกรรม
ให้เด็กได้สนทนา อภิปรายและเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ศึกษานอกสถานที่
เล่นเกมการศึกษา ฝึกการแกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวนั ฝึกออกแบบและสร้างชิน้ งาน และทำกจิ กรรมท้ัง
เป็นกล่มุ ยอ่ ย กล่มุ ใหญ่และรายบคุ คล

๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เป็นการพัฒนาให้เด็กใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึก
นึกคดิ ความรคู้ วามเข้าใจในส่ิงต่างๆ ทเ่ี ด็กมปี ระสบการณ์โดยสามารถต้ังคำถามในสง่ิ ทส่ี งสัยใคร่รู้ จัด
กจิ กรรมทางภาษาให้มีความหลากหลายในสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ มงุ่ ปลูกฝงั ให้เด็กได้กล้า
แสดงออกในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่าน และบุคคลแวดล้อมต้องเป็นแบบอย่างที่ดีใน
การใชภ้ าษา ทง้ั นีต้ ้องคำนกึ ถึงหลกั การจดั กิจกรรมทางภาษาท่ีเหมาะสมกับเดก็ เป็นสำคญั

๓.๒.๗ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการส่งเสริมให้เด็กมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกและเห็นความสวยงามของสิ่งต่างๆ โดยจัด
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ดนตรี การเคลื่อนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ อย่าง
อสิ ระ เลน่ บทบาทสมมุติ เลน่ น้ำ เล่นทราย เล่นบล็อก และเล่นกอ่ สร้าง

๖๙

ตารางกจิ กรรมประจำวนั รูปแบบมอนเตสซอรี่

0๗.00 - 0๗.๔๕ น. รับเด็ก ตรวจสขุ ภาพรายบุคคล เก็บของใช้ส่วนตัว ดูแลห้องเรยี น
0๗.๔5 - 08.๒0 น. เคารพธงชาติ สวดมนตก์ จิ กรรม
08.๒0 - 0๙.๐0 น. พดู คยุ หน้าแถว (กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ)
๐๙.๐๐ – ๐๙.๑๐ น. กิจกรรมห้องเรียนเสรมิ ประสบการณ์
0๙.๑0 - 09.๕0 น. ดม่ื นม (กิจกรรมสถานศกึ ษาพอเพยี ง)
09.๕0 - ๑๐.๓0 น. กจิ กรรมห้องเรียนมอนเตสซอรี่
๑๐.๓0 – 1๑.๑0 น. กจิ กรรมห้องเรียนศลิ ปะสร้างสรรค์
กจิ กรรมเสริมรปู แบบมอนเตสซอรี่
11.๑0 - 12.00 น. - ภาษาจีน
12.00 - 1๔.๓0 น. - ภาษาองั กฤษ
14.๓0 - 1๕.๒0 น. - พลศึกษา(วา่ ยนำ้ ,โยคะ)
- รักการอา่ น
1๕.๒0 - 1๖.๐0 น. - เกษตร
- จติ สาธารณะ
- ICT ปฐมวัย
พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน
นอนหลับพกั ผ่อน เก็บทนี่ อน ลา้ งหน้า
กิจกรรมตามเปา้ หมายสถานศึกษา รปู แบบมอนเตสซอร่ี
- กิจกรรมภาษาไทย
- กจิ กรรมคณิตศาสตร์
- กจิ กรรม
- กิจกรรมวัฒนธรรม
- อบรมสุดสัปดาห์
สรุป กลบั บ้าน

หมายเหตุ การจัดกิจกรรมในแต่ละวันสามารถปรบั เปล่ยี นได้ตามความเหมาะสม

๗๐

การจดั สภาพแวดล้อม สื่อและแหลง่ เรยี นรู้

การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา มีความสำคัญต่อเด็กเนื่องจากธรรมชาติของเด็กในวัยน้ี
สนใจที่จะเรียนรู้ ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ดังนั้น การจัดเตรียม
สิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมตามความต้องการของเด็ก จึงมีความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและ
การเรียนรู้ของเด็ก เด็กสามารถเรียนรู้จากการเล่นที่เป็น ประสบการณ์ตรงที่เกิดจากการรับรู้ด้วย
ประสาทสัมผัสทั้งห้าจึงจำเป็นต้องจัดสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพ และความ
ตอ้ งการของหลกั สูตร เพอ่ื ส่งผลใหบ้ รรลจุ ดุ หมายในการพฒั นาเด็ก

การจดั สภาพแวดล้อมคำนงึ ถึงสงิ่ ตอ่ ไปนี้
๑.ความสะอาด ความปลอดภัย
๒.ความมีอิสระอย่างมขี อบเขตในการเลน่
๓.ความสะดวกในการทำกิจกรรม
๔.ความพร้อมของอาคารสถานท่ี เช่น ห้องเรยี น หอ้ งนำ้ ห้องสว้ ม สนามเดก็ เล่น ฯลฯ
๕.ความเพยี งพอเหมาะสมในเรือ่ งขนาด น้ำหนัก จำนวน สขี องส่ือและเครื่องเลน่
๖.บรรยากาศในการเรยี นรู้ การจดั ที่เล่นและมมุ ประสบการณต์ ่างๆสภาพแวดล้อมภายในห้องเรยี น
หลักสำคัญในการจัดต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ความสะอาด เป้าหมายการพัฒนาเด็ก
ความเป็นระเบียบ ความเป็นตัวของเด็กเอง ให้เด็กเกิดความรูส้ กึ อบอุ่น มั่นใจ และมีความสุข ซึ่งอาจ
จดั แบง่ พนื้ ที่ให้เหมาะสมกบั การประกอบกจิ กรรมตามหลักสูตร ดงั น้ี
๑. พืน้ ท่อี ำนวยความสะดวกเพอ่ื เดก็ และผสู้ อน

๑.๑ ทแี่ สดงผลงานของเด็ก อาจจัดเป็นแผน่ ปา้ ย หรอื ท่แี ขวนผลงาน
๑.๒ ที่เก็บแฟ้มผลงานของเด็ก อาจจดั ทำเปน็ กล่องหรอื จดั ใสแ่ ฟม้ รายบุคคล
๑.๓ ท่เี ก็บเครือ่ งใชส้ ว่ นตัวของเด็ก อาจทำเปน็ ช่องตามจำนวนเด็ก
๑.๔ ท่เี กบ็ เครือ่ งใชข้ องผู้สอน เช่น อุปกรณ์การสอน ของส่วนตัวผ้สู อน ฯลฯ
๑.๕ ป้ายนิเทศตามหนว่ ยการสอนหรอื สิง่ ทเ่ี ด็กสนใจ

๒. พื้นทปี่ ฏบิ ัตกิ จิ กรรมและการเคลื่อนไหวตอ้ งกำหนดใหช้ ดั เจน ควรมีพน้ื ท่ที ่เี ดก็ สามารถจะ
ทำงานได้ด้วยตนเอง และทำกิจกรรมด้วยกันในกลุ่มเล็ก หรือกลุ่มใหญ่ เด็กสามารถเคลื่อนไหวได้
อยา่ งอิสระจากกิจกรรมหนงึ่ ไปยงั กิจกรรมหน่ึงโดยไม่รบกวนผ้อู ่นื

๓. พื้นที่จัดมุมเล่นหรือมุมประสบการณ์สามารถจัดได้ตามความเหมาะสมขึ้นอยู่กับสภาพของ
ห้องเรียน จัดแยกส่วนที่ใช้เสียงดังและเงียบออกจากกัน เช่น มุมบล็อกอยู่ห่างจากมุมหนังสือ มุม
บทบาทสมมติอยู่ติดกบั มุมบลอ็ ก มุมวิทยาศาสตร์อยู่ใกล้มมุ ศิลปะฯ ลฯ ที่สำคัญจะต้องมีของเล่น วัสดุ
อปุ กรณใ์ นมุมอย่างเพยี งพอตอ่ การเรยี นรู้ของเดก็ การเลน่ ในมุมเลน่ อย่างเสรี มักถูกกำหนดไว้ในตาราง
กิจกรรมประจำวัน เพื่อให้โอกาสเด็กได้เล่นอย่างเสรีประมาณวันละ ๖๐ นาทีการจัดมุมเล่นต่างๆ
ผสู้ อนควรคำนึงถงึ ส่งิ ต่อไปนี้

๓.๑ ในหอ้ งเรยี นควรมีมมุ เล่นอยา่ งน้อย ๓-๕ มมุ ท้งั น้ขี นึ้ อยกู่ ับพ้นื ท่ีของห้อง
๓.๒ ควรไดม้ ีการผลัดเปลีย่ นสื่อของเลน่ ตามมุมบา้ ง ตามความสนใจของเด็ก

๗๑

๓.๓ ควรจัดให้มีประสบการณ์ที่เด็กได้เรียนรู้ไปแล้วปรากฏอยู่ในมุมเล่น เช่น เด็ก
เรียนรู้เรื่องผีเสื้อ ผู้สอนอาจจัดให้มีการจำลองการเกิดผีเสื้อไว้ให้เด็กดูในมุมธรรมชาติศึกษาหรือมุม
วทิ ยาศาสตร์ ฯลฯ

๓.๔ ควรเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดมุมเล่น ทั้งนี้เพื่อจูงใจให้เด็กรู้สึกเป็น
เจ้าของ อยากเรียนรู้ อยากเข้าเล่น

๓.๕ ควรเสริมสร้างวินัยให้กับเด็ก โดยมีข้อตกลงร่วมกันว่าเมื่อเล่นเสร็จแล้วจะต้อง
จัดเก็บอุปกรณ์ทุกอย่างเข้าที่ให้เรียบร้อยสภาพแวดล้อมนอกห้องเรียนคือ การจัดสภาพแวดล้อม
ภายในอาณาบริเวณรอบ ๆ สถานศึกษา รวมทั้งจัดสนามเด็กเล่น พร้อมเครื่องเล่นสนาม จัดระวังรักษา
ความปลอดภัยภายในบริเวณสถานศึกษาและบริเวณรอบนอกสถานศึกษา ดูแลรักษาความสะอาด
ปลูกต้นไม้ให้ความร่มรื่นรอบๆบริเวณสถานศึกษาสิ่งต่างๆเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งที่ส่งผลต่อการเรียนรู้
และพัฒนาการของเด็กบริเวณสนามเดก็ เลน่ ตอ้ งจดั ใหส้ อดคลอ้ งกับหลกั สตู ร ดังน้ี

สนามเด็กเล่นมีพื้นผิวหลายประเภท เช่น ดิน ทราย หญ้า พื้นที่สำหรับเล่นของเลน่
ที่มีล้อ รวมทั้งที่ร่ม ที่โล่งแจ้ง พื้นดินสำหรับขุด ที่เล่นน้ำ บ่อทราย พร้อมอุปกรณ์ประกอบการเล่น
เครอ่ื งเล่นสนามสำหรับปีนปา่ ย ทรงตวั ฯลฯ ทง้ั นี้ตอ้ งไมต่ ิดกับบริเวณที่มีอนั ตราย ต้องหมน่ั ตรวจตรา
เครอ่ื งเลน่ ให้อย่ใู นสภาพแขง็ แรง ปลอดภยั อยู่เสมอ และหมัน่ ดแู ลเร่อื งความสะอาด

ทีน่ ัง่ เลน่ พักผอ่ น จัดที่นั่งไว้ใต้ต้นไม้มีร่มเงา อาจใช้กิจกรรมกลุ่มย่อย ๆ หรือ
กิจกรรมที่ต้องการความสงบ หรืออาจจัดเป็นลานนิทรรศการให้ความรู้แก่เด็กและผู้ปกครองบริเวณ
ธรรมชาติปลูกไม้ดอกไม้ประดับ พืชผักสวนครัว หากบริเวณสถานศึกษา มีไม่มากนัก อาจปลูกพืชใน
กระบะหรอื กระถาง

สือ่ และแหล่งเรยี นรู้
สื่อประกอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม

และสติปัญญาควรมีสื่อทั้งที่เป็นประเภท ๒ มิติ และ/หรือ ๓ มิติ ที่เป็นสื่อของจริง สื่อธรรมชาติ
สื่อที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก สื่อสะท้อนวัฒนธรรม สื่อที่ปลอดภัยต่อตัวเด็ก สื่อเพื่อพัฒนาเด็กในด้านต่างๆให้
ครบทุกด้านสื่อที่เอื้อให้เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า โดยการจัดการใชส้ ื่อเริ่มต้นจาก สื่อของ
จริง ภาพถ่ายภาพโครงร่าง และ สัญลักษณ์ทั้งนี้การใช้สื่อต้องเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความ
แตกต่างระหว่างบุคคล ความสนใจและความต้องการของเด็กที่หลากหลาย ตัวอยา่ งสื่อประกอบการ
จดั กิจกรรม มดี งั น้ี

กจิ กรรมเคล่อื นไหว และจังหวะ
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมที่ให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

ตามจังหวะอย่างอิสระ โดยใช้เสียงเพลง คำคล้องจอง เครื่องเคาะจังหวะ และอุปกรณ์อื่น ๆ
ประกอบการเคล่ือนไหว เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้เด็กเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ รู้จงั หวะและควบคุม
การเคลื่อนไหวของตนเองได้ ได้แก่ การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน การเคลื่อนไหวอิสระ การเคลื่อนไหว
ตามคำบรรยาย การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ การเคลื่อนไหวตามข้อตกลง การเคลื่อนไหวเชิง
สร้างสรรค์ การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ การเคลื่อนไหวเป็นคู่ การทำท่าทางประกอบเพลง การทำท่าทาง
ตามความหมายของเพลง การเปน็ ผูน้ ำและผ้ตู าม การร้องเพลง

๗๒

กิจกรรมมอนเตสซอร่ี
สื่ออุปกรณม์ อนเตสซอร่ี ประกอบดว้ ยสอื่ ๓ กลุม่ ได้แก่กลุ่มประสบการณ์ชวี ติ กลุ่มประสาท

สัมผัส และกลุ่มวิชาการซึ่งประกอบด้วย อุปกรณ์สำหรับการเขียน,อ่าน และคณิตศาสตร์ ซึ่งช่วย
พัฒนาทักษะความเป็นตวั ของตัวเอง พัฒนาทักษะการใช้กล้ามเนื้อมือ การประสานสัมพันธข์ องตา-
มือ พฒั นาทักษะดา้ นอารมณ์ พัฒนาทักษะการดแู ลส่งิ แวดลอ้ ม พัฒนาทักษะการชว่ ยเหลอื ตนเอง

อุปกรณ์กลุ่มประสบการณ์ชีวิต กิจกรรมในกลุ่มประสบการณ์ชีวิต มีวัตถุประสงค์ ในการฝึก
เด็กให้มีระเบียบวินัย มีสมาธิ เป็นตัวของตัวเอง สามารถตัดสินใจเองได้ เรียนรู้กระบวนการในการ
ทำงานตั้งแต่ต้นจนจบ ฝึกกล้ามเนื้อมัดใหญ่ มัดเล็ก และกล้ามเนื้อมือ ฝึกตา-มือ ประสานสัมพันธ์
เป็นการปูพื้นฐานในการเรียนต่อไป ได้แก่ การฝึกทำอุปกรณ์ตีไข่ คีบใหญ่ ติดแปะ เจาะกระดาษ ไม้
หนีบผ้า ปัดฝุน่ เทเมด็ สาคู ตดั กระดาษเฉยี ง ตดั กระดาษตรงฉกี กระดาษ เปิด-ปดิ ฝาขวด ตวงข้าวสาร
ตวงของเหลว ปั้นแป้งโด ขัดรองเท้า อาบน้ำน้อง คีบฟองน้ำ หยอดเหรียญ ตำถั่ว ร้อยกระดุมใหญ่
รอ้ ยกระดุมเลก็ กวาดขยะ บบี ฟองน้ำ เทนำ้ ตามขีดทีก่ ำหนด เทน้ำผา่ นกรวย รอ้ ยมาลยั เช็ดกระจก
กรอกนำ้ ใส่ขวด เย็บกระดาษ ยา้ ยไข่ เทนำ้ ใส่ถาดทำนำ้ แขง็ จดั แจกนั ดอกไม้ หวีลูกตาล สวมถุงมอื
สวมถงุ เท้า เปิด-ปิดกญุ แจ รีดผ้า ตักถั่ว แว่นขยาย สวมเถาปิ่นโต คีบตะเกียบ ใส่ปลอกหมอน ตักหิน
สดี ว้ ยทพั พกี รองร้อยหลอดด้าย ผูกเชอื กรองเท้า แยกสีลวดเสียบกระดาษ พับผ้า ตกั ลูกปิงปอง กรอบ
ไม้ฝึกผูกโบว์ กรอบไม้ฝึกคาด เข็มขัด กรอบไม้ฝึกติดกระดุมเลก็ กรอบไม้ฝึกติดกระดุมใหญ่ กรอบไม้
ฝึกติดตะขอ กรอบไมฝ้ กึ กลดั เขม็ กลดั

อุปกรณ์มอนเตสซอร่ี กลุ่มประสาทสัมผัส ช่วยพัฒนาทกั ษะด้านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้าน
ได้แก่ การฟัง การสัมผัส การดมกลิ่น การรู้รส และการมองเห็น ซึ่งมีความจำเป็นต่อการเรียนรู้
ของเด็ก เด็กจะได้เรียนรู้จากรูปธรรมไปสู่นามธรรม ทำให้เข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้โดย ง่าย เป็นการปู
พื้นฐานให้เด็กได้มีความเข้าใจสิ่งต่างๆรอบตัว เป็นเส้นทางไปสู่การเรียนรู้โลกภายนอกได้ดียิ่งขึ้นโดย
การฝึกทำอุปกรณ์จับคู่เปลือกหอย ถาดแยกพวก ปิดตาสัมผัสผ้า กล่องเสียง กล่องสี 1 กล่องสี 2
กล่องสี 3 ทรงกระบอกไร้จุกสีน้ำเงิน ทรงกระบอกไร้จุกสีเขียว ทรงกระบอกไร้จุกสีเหลือง
ทรงกระบอกไร้จุกสีแดง ทรงกระบอกมีจุกท่อนที่ 1 ทรงกระบอกมีจุกท่อนที่ 2 ทรงกระบอกมีจุก
ท่อนที่ 3 ทรงกระบอกมีจุกท่อนที่ 4 แผ่นสัมผัสหยาบ-เรียบ แผ่นไม้ประมาณน้ำหนัก สัมผัสถุงผ้า
ขวดสำรวจกลิ่น ชุดสามเหลี่ยม ชุดห้าเหล่ียม ชุดหกเหลี่ยม แผ่นไม้ประมาณน้ำหนัก ขวดอุณหภูมิ
หอคอยสชี มพู แขนงไม้สีแดง แผ่นภาพเรขาคณติ รปู ทรงเราขาคณติ บันไดสีน้ำตาล

อุปกรณ์มอนเตสซอรี่ กลุ่มวิชาการ กิจกรรมในกลุ่มวิชาการ (คณิตศาสตร์ และภาษา) มี
วตั ถุประสงคเ์ พื่อปูพนื้ ฐานความรู้ใหแ้ ก่เด็กเกย่ี วกบั จำนวน ตัวเลข การอา่ น และการเขยี น โดยเด็กจะ
ได้เรยี นรผู้ ่านกระบวนการอยา่ งเป็นข้ันตอน จากรปู ธรรมสนู่ ามธรรม โดยใช้อปุ กรณ์ของมอนเตสซอร่ี
เป็นส่อื

๗๓

อุปกรณ์ทางด้านภาษาการเขียนและการอ่าน ไดแ้ ก่ การฝกึ ทำอุปกรณแ์ ผ่นภาพโลหะ กรอบรูป
เรขาคณติ บัตรพยัญชนะ สระ บัตรอกั ษรกระดาษทราย กระบะทรายสำหรบั เขยี น ตัวอักษรเคล่ือนท่ี
สำหรบั ใช้ในการสรา้ งคำหรือประสมคำ บัตรคำ บตั รภาพ และของจำลอง

อุปกรณ์ทางด้านคณิตศาสตร์ ได้แก่ การฝึกทำอุปกรณ์.บัตรตัวเลขกระดาษทราย แขนงไม้
คณติ ศาสตร์ นับแท่งไม้ / นบั ตะเกียบ นบั กระดมุ ลกู ปัดหลักเลขทจี่ ัดไวส้ ำหรับการเรียนเกี่ยวกับหลัก
เลขหน่วย สิบ ร้อย พัน กระดานบวกเลข กระดานลบเลข ไม้จำนวน ตัวเลขกระดาษทราย เกม
ธนาคาร ลูกปัด ๑๑–๑๙ กระดาน ๑๑–๑๙ บัตรเลข กระดาน ๑๐–๙๐ การนับต่อเนื่อง การนับ
ขา้ ม กระดานคณู กระดานหาร

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ /กิจกรรมในวงกลม
เป็นการเรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆ รอบตวั ที่เป็นพืน้ ฐานสำหรับการเรียนในระดับชนั้ ทส่ี งู ขึ้น

ไป ด้วยการใช้สื่อ ได้แก่ บัตรภาพตามหน่วยการเรียนรู้ เช่น วันสำคัญต่างๆ บัตรคำ ตามหน่วยการ

เรียนรู้ เช่น วนั สำคญั ตา่ งๆ จกิ ซอว์ ตวั ต่อ กิจกรรมเสริม เช่น A – Z , 1 - 10สื่อจำลอง ชุด การ
แปรงฟัน สื่อจำลอง ชุด สัตว์ / ผลไม้ ส่อื จำลอง ชุด ตกุ๊ ตาอาเซยี น สอ่ื ของจริงทอ่ี ยูใ่ กล้ตัวและสื่อจาก
ธรรมชาติหรือวัสดุท้องถิ่น เช่น ต้นไม้ ใบไม้ เปลือกหอย เสื้อผ้า สื่อวิทยาศาสตร์ สื่อจำลอง เช่น
ลูกโลก ตุ๊กตาสัตว์ สื่อหนังสือนิทาน สื่ออาเซียน สื่อไม้บล็อก กระดานไวท์บอร์ดพับได้ ฟันจำลอง
ขนาดเล็ก ร่างกายจำลอง สื่อชุดอาชีพและยานพาหนะ เกมฝึกกล้ามเนื้อมือ ความสัมพันธ์ ตาชั่ง 2
แขน ตาชั่งพลาสติก กระดานผสม พยัญชนะ-สระ เกมวัดทักษะด้านเหตุผล ห้องครัว-ห้องนอน จับคู่
ความสัมพันธ์ เกมจับคู่บุคคล-อาชีพ-เครื่องใช้ เครื่องหมายจราจร ชุดโบทานี(ชิ้นส่วนพฤษศาสตร์)
ชุดโบทานี(ชดุ สัตว์) โรงหนุ่ ฉากนิทาน

ศนู ย์การเรียนกิจกรรมเสรี การเลน่ ตามมุม

จุดมุ่งหมายของการจัดศูนย์การเรยี น กิจกรรมเสรี การเล่นตามมุมศูนย์การเรียนกิจกรรมเสรีมี
ความมุ่งหมายที่สำคญั โดยเฉพาะ ดงั นี้

1. ใหเ้ ด็กไดร้ ับประสบการณต์ รง ด้วยการประกอบกจิ กรรมทสี่ อดคลอ้ งกับธรรมชาติ และ
สนองความต้องการของเด็ก โดยแบ่งกลุ่มกิจกรรมเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มประสบการณ์ชีวิต กลุ่ม
ประสาทสัมผสั และกลมุ่ คณิตศาสตรแ์ ละภาษา

2. เปิดโอกาสให้เด็กได้ตัดสินใจเลือกกิจกรรมด้วยตนเอง ได้ลงมือปฏิบัติจริง เด็ก
ได้รบั ความสนกุ และเพลิดเพลนิ แสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง โดยไม่ต้องวติ กกังวล

3. ฝึกทักษะการเตรียมความพร้อมด้านประสาทสัมพันธ์ทางตาและมือเกิดพัฒนาการ
ทางการตัดสินใจ การมีเหตุผล รู้ขนาด จำนวนสี และรูปลักษณะ ทั้งช่วยฝึกเชาวน์ปัญญา
อนั เปน็ ทางนำหรือเตรียมเดก็ ไปสู่การอา่ น และการเขยี นในโอกาสตอ่ ไป

4. ฝกึ เด็กให้ เรยี นร้สู ิทธแิ ละหนา้ ท่ี ความรับผิดชอบของตนและเพ่ือนภายในสงั คมเลก็ ๆ และรับ
ฟงั ความคิดเห็นของผู้อืน่

๗๔

5. ฝึกเด็กให้รู้จักการเล่นเครื่องเล่น การเก็บรักษาอุปกรณ์เครื่องเล่น ให้อยู่ในสภาพท่ี
เรยี บร้อยและครบถ้วน

6. ใหเ้ ป็นวิธกี ารที่เด็ก ๆ ไดร้ บั ความรัก ความอบอุ่น การอบรมเลย้ี งดู และการปกป้องให้
เกดิ ความปลอดภัยทีจ่ ะอยรู่ ว่ มกนั ในสถานศกึ ษาได้อยา่ งมีความสุข

7. ให้เป็นวิธีการช่วยส่งเสริมเด็ก ๆ ได้รับพัฒนาการทางอารมณ์จิตใจและร่างกาย
สตปิ ญั ญา และสังคม ครบถ้วนพรอ้ มในโอกาสเดียวกนั

8. ให้เป็นวิธีการช่วยให้ครูทราบปัญหา ความคับข้องใจของเด็ก ทำให้ครูสามารถหาวิธี
ช่วยคลี่คลายปญั หาแกเ่ ด็กได้

9. เป็นวิธีการปูพื้นฐานประสบการณ์ และความรู้ ให้เด็กมีความพร้อมสามารถช่วยตนเอง
ไดถ้ ูกต้อง เหมาะสมกบั วยั ของเดก็

10. ให้เป็นวิธีที่ช่วยให้ครูทราบความสนใจเป็นพิเศษของเด็ก และสามารถประเมินผล
พัฒนาการ และพฤติกรรมของเด็กแต่ละคนได้ พรอ้ มทจี่ ะรายงานลงในสมุดรายงานประจำวนั เด็กแต่
ละคนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

11. ให้มีวิธีการช่วยให้ครูตื่นตัวอยู่เสมอ ในการที่จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม สำรวจ
แหล่งวัสดุ อุปกรณ์ และคิดค้น สร้างสรรค์ อุปกรณ์ใหม่ ๆ ขึ้น เพื่อส่งเสริมความพร้อมให้แก่เด็ก
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพมากยิ่งขนึ้ ศูนยก์ ารเรียนกิจกรรมเสรีและการเลน่ ตามมุมจดั เปน็ มุมเล่นดงั นี้

กิจกรรมสรา้ งสรรค์ควรมีวสั ดุ อปุ กรณ์ ดังนี้
๑. การวาดภาพและระบายสี ได้แก่ สีเทียนแท่งใหญ่ สีไม้ สีชอล์ก สีน้ำ พู่กันขนาด

ใหญ(่ ประมาณเบอร์ ๑๒ ) กระดาษ เส้ือคลมุ หรอื ผา้ กันเป้อื น
๒. การเลน่ กบั สี การเป่าสี การหยดสีน้ำ การพบั สี การละเลงสี อปุ กรณไ์ ดแ้ ก่ สีนำ้ กระดาษ

หลอดกาแฟ พู่กนั แป้งเปียก
๓. การพิมพภ์ าพ แม่พมิ พ์ต่าง ๆ จากของจริง เช่น นิ้วมือ ใบไม้ กา้ นกล้วย แม่พิมพ์จากวสั ดุ

อ่ืน ๆ เช่น เชอื ก เสน้ ดา้ ย ตรายาง กระดาษ ผ้าเชด็ มอื สโี ปสเตอร์ สีน้ำ สีฝุ่น
๔.การปน้ั เชน่ ดนิ น้ำมนั ดนิ เหนียว แป้งโดว์แผ่นรองป้นั แมพ่ มิ พ์รปู ตา่ ง ๆ ไม้นวดแปง้
๕.การพับ ฉีก ตัดปะ เชน่ กระดาษ หรือวสั ดุอน่ื ๆที่จะใช้พบั ฉีก ตัด ปะ กรรไกรขนาดเล็ก

ปลายมน กาวนำ้ หรือแป้งเปียก ผา้ เชด็ มอื
๖. การประดษิ ฐเ์ ศษวสั ดุ เช่น เศษวสั ดุต่าง ๆ มกี ล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผา้ เศษ

ไหม กาว กรรไกร สี ผ้าเช็ดมือ ฯลฯ
๗. การรอ้ ยเชน่ ลูกปัด หลอดกาแฟ หลอดดา้ ย ฯลฯ
๘. การสาน เช่น กระดาษ ใบตอง ใบมะพรา้ ว ฯลฯ
๙. การเล่นพลาสติกสร้างสรรค์ พลาสตกิ ชิ้นเลก็ ๆ รปู ทรงต่าง ๆ ผู้เลน่ สามารถนำมาต่อ

เปน็ รปู แบบต่าง ๆ ตามความตอ้ งการ
๑๐.การสร้างรปู เช่นจากกระดานปักหมุดจากแป้นตะปูท่ใี ช้หนังยางหรอื เชอื กผกู ดึงใหเ้ ป็นรปู ร่างต่างๆ

๗๕

เกมการศกึ ษา ตัวอย่างสื่อประเภทเกมการศึกษามีดงั นี้
๑. เกมจบั คู่ ได้แก่ จบั ครู่ ูปร่างท่ีเหมอื นกนั จับคู่ภาพเงา จับคูภ่ าพทซ่ี ่อนอยู่ในภาพหลัก

จับคูส่ ิ่งทีม่ คี วามสมั พนั ธ์กนั สิง่ ทีใ่ ชค้ กู่ นั จบั คภู่ าพส่วนเต็มกับส่วนยอ่ ย จบั คูภ่ าพกับโครงร่าง จบั คู่
ภาพชิน้ ส่วนทีห่ ายไป จับค่ภู าพทเ่ี ปน็ ประเภทเดยี วกนั จับคู่ภาพทซี่ ่อนกัน จับค่ภู าพสมั พนั ธ์แบบ
ตรงกันข้าม จับค่ภู าพที่สมมาตรกัน จบั คู่แบบอปุ มาอุปไมย จบั คแู่ บบอนุกรม

๒. เกมภาพตัดตอ่
- ภาพตัดตอ่ ท่ีสมั พันธ์กับหน่วยการเรยี นตา่ ง ๆ เชน่ ผลไม้ ผกั ฯลฯ

๓. เกมจดั หมวดหมู่ ได้แก่ ภาพส่ิงต่าง ๆ ท่ีนำมาจัดเป็นพวก ๆ เกยี่ วกบั ประเภทของใช้
ในชวี ิตประจำวนั ภาพจัดหมวดหมตู่ ามรูปรา่ ง สี ขนาด รปู ทรงเรขาคณิต

๔. เกมวางภาพต่อปลาย (โดมิโน) ไดแ้ ก่ โดมิโนภาพเหมือน โดมิโนภาพสัมพันธ์
๕. เกมเรยี งลำดบั ไดแ้ ก่ เรยี งลำดับภาพเหตกุ ารณต์ ่อเนือ่ ง เรยี งลำดับขนาด
๖. เกมศึกษารายละเอียดของภาพ (ล็อตโต้)
๗. เกมจบั คู่แบบตารางสัมพันธ์ (เมตริกเกม)
๘. เกมพน้ื ฐานการบวก

กจิ กรรมกลางแจง้ สอ่ื มดี งั นี้
๑. เครอ่ื งเล่นสนาม เช่น เครอ่ื งเลน่ สำหรบั ปีนป่าย เคร่ืองเล่นประเภทล้อเล่อื น ฯลฯ
๒. ทเี่ ลน่ ทราย มีทรายละเอยี ด เคร่ืองเล่นทราย เคร่ืองตวง ฯลฯ
๓. ทีเ่ ลน่ น้ำ มภี าชนะใสน่ ำ้ หรอื อ่างนำ้ วางบนขาต้ังทมี่ ่นั คง ความสูงพอที่เด็กจะยืนได้พอดี

เสือ้ คลมุ หรอื ผ้ากันเปื้อนพลาสตกิ อปุ กรณ์เล่นนำ้ เช่น ถ้วยตวง ขวดตา่ งๆ สายยาง กรวยกรอกนำ้
ต๊กุ ตายาง ฯลฯ

กิจกรรมเคลอ่ื นไหวและจังหวะตัวอยา่ งสือ่ มดี ังน้ี
๑. เคร่ืองเคาะจังหวะ เช่นฉิง่ เหลก็ สามเหลีย่ ม กรับ รำมะนา กลอง ฯลฯ
๒. อุปกรณ์ประกอบการเคลื่อนไหว เชน่ หนงั สือพิมพ์ ริบบ้ิน แถบผา้ หว่ ง ฯลฯ

การเลือกส่อื มวี ิธกี ารเลือกส่อื ดงั นี้
๑. เลือกให้ตรงกบั จุดมุ่งหมายและเรอื่ งทีส่ อน
๒. เลอื กให้เหมาะสมกบั วัยและความสามารถของเด็ก
๓. เลือกให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของท้องถน่ิ ท่ีเดก็ อยู่หรือสถานภาพของสถานศึกษา
๔. มีวิธีการใชง้ า่ ย และนำไปใชไ้ ดห้ ลายกิจกรรม
๕. มีความถูกต้องตามเน้อื หาและทนั สมัย
๖. มีคุณภาพดี เชน่ ภาพชดั เจน ขนาดเหมาะสม ไม่ใช้สีสะท้อนแสง
๗. เลอื กสอื่ ทีเ่ ด็กเขา้ ใจง่ายในเวลาสน้ั ๆ ไม่ซบั ซ้อน
๘. เลือกสื่อที่สามารถสมั ผัสได้
๙. เลือกสื่อเพื่อใชฝ้ ึก และสง่ เสริมการคิดเปน็ ทำเปน็ และกล้าแสดงความคดิ เห็นดว้ ยความม่นั ใจ

๗๖

การจดั หาส่อื สามารถจดั หาได้หลายวิธี คอื
๑.จัดหาโดยการขอยืมจากแหล่งตา่ งๆ เชน่ ศูนย์สอื่ ของสถานศกึ ษาของรฐั บาล หรือ

สถานศึกษาเอกชน ฯลฯ
๒.จัดซือ้ ส่ือและเครอื่ งเล่นโดยวางแผนการจัดซื้อตามลำดับความจำเป็น เพ่ือใหส้ อดคล้องกับ

งบประมาณท่ีทางสถานศึกษาสามารถจัดสรรให้และสอดคล้องกับแผนการจดั ประสบการณ์
๓.ผลติ สอ่ื และเครื่องเลน่ ขน้ึ ใช้เองโดยใชว้ ัสดทุ ีป่ ลอดภัยและหางา่ ยเป็นเศษวสั ดเุ หลือใช้ท่ีมีอยใู่ น

ท้องถ่ินนนั้ ๆ เช่น กระดาษแข็งจากลงั กระดาษ รปู ภาพจากแผ่นป้ายโฆษณา รูปภาพจากหนงั สือนิตยสาร
ต่าง ๆ เปน็ ตน้

ข้ันตอนการดำเนินการผลิตสือ่ สำหรบั เด็กมดี ังน้ี
๑. สำรวจความตอ้ งการของการใช้สอ่ื ให้ตรงกบั จุดประสงค์ สาระการเรยี นรแู้ ละกจิ กรรมท่ีจัด
๒. วางแผนการผลติ โดยกำหนดจดุ ม่งุ หมายและรปู แบบของส่อื ให้เหมาะสมกับวยั และความสามารถ
ของเด็ก สอ่ื น้นั จะตอ้ งมีความคงทนแขง็ แรง ประณีตและสะดวกตอ่ การใช้
๓. ผลิตสอื่ ตามรูปแบบทีเ่ ตรียมไว้
๔. นำสื่อไปทดลองใชห้ ลาย ๆ ครง้ั เพ่ือหาข้อดี ข้อเสยี จะได้ปรบั ปรงุ แก้ไขใหด้ ีย่ิงข้นึ
๕. นำสอื่ ทปี่ รบั ปรุงแก้ไขแลว้ ไปใชจ้ รงิ

การใชส้ ่ือดำเนินการดังนี้

๑. การเตรยี มพร้อมกอ่ นใช้ส่ือ มขี ั้นตอน คือ
๑.๑ เตรยี มตวั ผสู้ อน
- ผูส้ อนจะต้องศกึ ษาจดุ มุ่งหมายและวางแผนว่าจะจดั กิจกรรมอะไรบา้ ง
- เตรยี มจดั หาสือ่ และศกึ ษาวิธีการใช้ส่อื
- จดั เตรียมสื่อและวสั ดุอ่ืน ๆ ท่จี ะต้องใช้รว่ มกัน
- ทดลองใชส้ ่ือก่อนนำไปใช้จริง
๑.๒ เตรยี มตวั เด็ก
- ศึกษาความรู้พนื้ ฐานเดิมของเดก็ ใหส้ มั พนั ธก์ ับเร่ืองที่จะสอน
- เร้าความสนใจเด็กโดยใชส้ ่ือประกอบการเรียนการสอน
- ให้เดก็ มคี วามรบั ผิดชอบ รู้จักใช้สอ่ื อย่างสรา้ งสรรค์ ไม่ใชท่ ำลาย เลน่ แล้วเกบ็ ใหถ้ ูกท่ี
๑.๓ เตรียมสือ่ ให้พร้อมก่อนนำไปใช้
- จดั ลำดบั การใชส้ ือ่ วา่ จะใช้อะไรก่อนหรือหลงั เพือ่ ความสะดวกในการสอน
- ตรวจสอบและเตรียมเครื่องมือให้พร้อมทจี่ ะใช้ไดท้ นั ที
- เตรียมวัสดุอุปกรณ์ทใี่ ช้รว่ มกับสอ่ื

๒. การนำเสนอส่อื เพอ่ื ใหบ้ รรลุผลโดยเฉพาะใน กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ /
กจิ กรรมวงกลม / กจิ กรรมกลุ่มย่อย ควรปฏิบัติ ดงั นี้

๒.๑ สร้างความพร้อมและเร้าความสนใจใหเ้ ดก็ ก่อนจดั กิจกรรมทุกคร้ัง

๗๗

๒.๒ ใชส้ อ่ื ตามลำดบั ขั้นของแผนการจดั กจิ กรรมท่ีกำหนดไว้
๒.๓ ไมค่ วรให้เด็กเห็นส่อื หลายๆชนดิ พร้อมๆกัน เพราะจะทำให้เด็กไม่สนใจกิจกรรมท่ีสอน
๒.๔ ผสู้ อนควรยืนอยู่ด้านข้างหรือด้านหลังของสือ่ ทใ่ี ช้กับเดก็ ผสู้ อนไมค่ วรยืน หันหลังให้
เดก็ จะต้องพดู คยุ กับเด็กและสงั เกตความสนใจของเด็ก พร้อมทงั้ สำรวจข้อบกพรอ่ งของสอ่ื ท่ใี ช้ เพื่อนำไป
ปรบั ปรุงแก้ไขใหด้ ีขึน้
๒.๕ เปิดโอกาสใหเ้ ด็กได้ร่วมใช้สื่อ

ข้อควรระวงั ในการใชส้ ่ือการเรียนการสอน การใช้สื่อในระดับปฐมวัยควรระวังในเร่ืองตอ่ ไปน้ี
๑.วัสดุทใ่ี ช้ ต้องไม่มีพษิ ไมห่ ัก และแตกง่าย มีพ้นื ผวิ เรียบ ไม่เปน็ เส้ยี น
๒.ขนาด ไม่ควรมีขนาดใหญ่เกินไป เพราะยากต่อการหยบิ ยก อาจจะตกลงมาเสียหาย แตก

เปน็ อันตรายต่อเด็กหรือใชไ้ ม่สะดวก เชน่ กรรไกรขนาดใหญ่ โตะ๊ เกา้ อี้ทใี่ หญแ่ ละสูงเกนิ ไป และไม่ควรมีขนาด
เลก็ เกินไป เด็กอาจจะนำไปอมหรือกลืนทำให้ติดคอหรอื ไหลลงทอ้ งได้ เชน่ ลกู ปัดเล็ก ลกู แก้วเล็ก ฯลฯ

๓. รปู ทรง ไม่เปน็ รูปทรงแหลม รูปทรงเหล่ียม เปน็ สัน
๔. น้ำหนัก ไมค่ วรมีน้ำหนักมากเพราะเดก็ ยกหรือหยิบไม่ไหวอาจจะตกลงมาเปน็ อนั ตรายต่อตัวเด็ก
๕. สอ่ื หลกี เลยี่ งส่อื ท่ีเปน็ อนั ตรายตอ่ ตัวเด็ก เช่น สารเคมี วัตถุไวไฟ ฯลฯ
๖. สี หลีกเล่ียงสที ่ีเปน็ อนั ตรายตอ่ สายตา เช่น สีสะท้อนแสง ฯลฯ

การประเมินการใชส้ ่ือ
ควรพิจารณาจากองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ผู้สอน เด็ก และสื่อ เพื่อจะได้ทราบว่าสื่อนนั้

ช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้มากน้อยเพียงใด จะได้นำมาปรับปรุงการผลิตและการใช้สื่อให้ดียิ่งขึ้น โดยใช้วิธี
สังเกต ดงั น้ี

๑. ส่อื น้ันช่วยใหเ้ ด็กเกิดการเรยี นรเู้ พียงใด
๒. เด็กชอบสื่อนัน้ เพียงใด
๓. สอ่ื นน้ั ชว่ ยให้การสอนตรงกับจุดประสงค์หรือไม่ ถูกต้องตามสาระการเรียนรู้และทันสมัย

หรือไม่
๔. สือ่ น้นั ช่วยใหเ้ ด็กสนใจมากน้อยเพียงใด เพราะเหตุใด

การเก็บ รกั ษา และซ่อมแซมสอื่
การจดั เก็บสอื่ เป็นการสง่ เสริมให้เด็กฝึกการสังเกต การเปรยี บเทยี บ การจดั กลุ่ม ส่งเสริมความ

รับผิดชอบ ความมีน้ำใจ ชว่ ยเหลอื ผ้สู อนไม่ควรใชก้ ารเก็บสอื่ เปน็ การลงโทษเดก็ โดยดำเนินการดงั นี้
๑.เกบ็ สื่อใหเ้ ปน็ ระเบียบและเป็นหมวดหมตู่ ามลกั ษณะประเภทของส่ือ ส่ือทเ่ี หมือนกันจัดเก็บ

หรอื จัดวางไว้ด้วยกนั
๒. วางส่อื ในระดับสายตาของเด็ก เพ่ือใหเ้ ด็กหยิบใช้ จดั เก็บได้ดว้ ยตนเอง
๓. ภาชนะที่จัดเก็บสื่อควรโปร่งใส เพื่อให้เด็กมองเห็นสิ่งที่อยู่ภายในได้ง่ายและควรมีมือจับ

เพอ่ื ใหส้ ะดวกในการขนยา้ ย
๔. ฝึกให้เด็กรู้ความหมายของรูปภาพหรือสีที่เป็นสัญลักษณ์แทนหมวดหมู่ ประเภทส่ือ

เพื่อเด็กจะไดเ้ ก็บเข้าที่ได้ถกู ตอ้ ง การใช้สัญลกั ษณ์ควรมีความหมายต่อการเรียนรู้ของเดก็ สัญลักษณ์

๗๘

ควรใช้สื่อของจริง ภาพถ่ายหรือสำเนา ภาพวาด ภาพโครงร่างหรือภาพประจุด หรือบัตรคำติดคู่กับ
สัญลกั ษณอ์ ยา่ งใดอย่างหนง่ึ

๕.ตรวจสอบสอ่ื หลังจากทีใ่ ชแ้ ล้วทกุ ครั้งว่ามสี ภาพสมบูรณ์ จำนวนครบถ้วนหรอื ไม่
๖. ซอ่ มแซมสื่อชำรดุ และทำเตมิ ส่วนทีข่ าดหายไปใหค้ รบชุด

การพัฒนาสอื่
การพัฒนาสื่อเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมในระดับปฐมวัยนั้นก่อนอื่นควรได้ สำรวจข้อมูล

สภาพปญั หาต่างๆของส่ือทุกประเภทท่ีใช้อย่วู า่ มีอะไรบ้างท่ีจะต้องปรับปรงุ แก้ไข เพื่อจะได้ปรับเปล่ียน
ให้เหมาะสมกบั ความตอ้ งการแนวทางการพัฒนาสือ่ ควรมีลักษณะเฉพาะ ดังน้ี

๑. ปรบั ปรุงส่ือใหท้ ันสมยั เข้ากบั เหตกุ ารณ์ ใชไ้ ด้สะดวกไมซ่ ับซอ้ นเกนิ ไปเหมาะสมกับวยั ของเด็ก
๒. รกั ษาความสะอาดของสื่อ ถ้าเป็นวสั ดุทล่ี า้ งนำ้ ได้ เมอื่ ใชแ้ ลว้ ควรได้ล้าง เช็ด หรือปัดฝุ่น
ให้สะอาด เกบ็ ไว้เป็นหมวดหมู่ วางเป็นระเบยี บหยบิ ใชง้ า่ ย
๓. ถ้าเป็นสื่อที่ผู้สอนผลิตขึ้นมาใช้เองและผ่านการทดลองใช้มาแล้ว ควรเขียนคู่มือ
ประกอบการใช้สื่อนั้น โดยบอกชื่อสื่อ ประโยชน์และวิธีใช้สื่อ รวมทั้งจำนวนชิ้นส่วนของสื่อในชุดนั้น
และเกบ็ คมู่ อื ไว้ในซองหรอื ถงุ พรอ้ มส่ือท่ีผลิต
๔. พฒั นาสือ่ ทส่ี ร้างสรรค์ ใชไ้ ด้เอนกประสงค์ คือ เป็นได้ทงั้ สื่อเสริมพัฒนาการและเป็นของ
เล่นสนุกสนานเพลิดเพลิน

แหลง่ การเรยี นรู้
โรงเรยี นเทศบาล ๑ (บ้านเกา่ )ไดจ้ ัดบรรยากาศท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนท่ีเอื้อต่อการ

เรียนรู้ของเด็ก ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กแต่ละวัยบูรณาการการเรียนรู้
ผ่านการเล่นที่สนุกสนาน สถานศึกษาควรดาเนินการจัดแหล่งเรียนรู้ ดังน้ี ได้แบ่งประเภทของแหล่ง
เรียนรู้ ไดด้ งั น้ี

๑. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล ได้แก่ วิทยากรหรือผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้าน ที่จัดหามาเพื่อให้
ความรู้ ความเขา้ ใจอย่างกระจ่างแก่เด็กโดยสอดคล้องกับเนือ้ หาสาระการเรียนรู้ตา่ งๆได้แก่ เจ้าหน้าท่ี
สาธารณสขุ พระสงฆ์ เจ้าหน้าท่ีตำรวจ ผูป้ กครอง แมค่ ้าขนม ครู ภารโรง แมค่ รัว ฯลฯ

๒. แหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน ได้แก่ แหล่งข้อมูลหรือแหล่งวิทยาการต่างๆ ที่อยู่ในชุมชน
มีความสัมพันธ์กับเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและประเพณีช่วยให้เด็กสามารถเชื่อมโยงโลกภายในและ
โลกภายนอก (inner world & outer world) ได้ และสอดคล้องกบั วถิ กี ารดำเนนิ ชีวิตของเด็กปฐมวัย
ได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียนเทศบาล ๑ (บ้านเก่า) ห้องสมุดประชาชน ห้องวิทยาศาสตร์ โรงเพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตำบลเมืองพาน ร้านซ่อมรถ ร้านค้าในหมู่บ้าน ตลาดหลวงปรีชา ตลาดหกแยก ศาล
เจ้าปึ่งเถ่ากง โรงเรียนวุฒิวิทยาลัย วัดเกตุแก้ว วัดป่าซาง วัดเทพวัน วัดม่วงชุม ค่ายลูกเสือชั่วคราว
โรงเรยี นเทศบาล ๑ (บา้ นเกา่ )

๓. แหล่งเรียนรู้ภายในอำเภอ ได้แก่ วัดร้องหลอด วัดห้วยประสิทธิ์ วัดจี้กง วัดดอยจอมแว่
ฟาร์มจระเข้โภคธารา สวนบัวฟา้ ใสวคิ ตอเรีย นำ้ ตกปูแกง

๓. สถานที่สำคัญต่างๆในจังหวัดเชียงราย พะเยา ได้แก่ แหล่งความรู้สำคัญต่างๆ ที่เด็กให้
ความสนใจ ได้แก่ วดั รอ่ งขนุ่ วัดพระแกว้ วดั รอ่ งเสือเต้น อนสุ าวรยี พ์ ่อขุนเม็งราย พระตำหนักดอยตุง

๗๙

ไร่เชญิ ตะวัน สถานีเพาะพนั ธสุ์ ตั ว์ปา่ แม่ลาว ภูเทียนรีสอรท์ ฝายแม่ลาว ปางชา้ งเผอื ก ศูนย์การเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย สถานที่สำคัญต่างๆในจังหวัดพะเยา ได้แก่
ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาประมงนำ้ จดื พะเยา วัดศรีโคมคำ จังหวดั พะเยา หอวัฒนธรรมนิทัศน์ วัดศรีโคมคำ
จงั หวดั พะเยา ศูนย์การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดพะเยา

การประเมนิ พฒั นาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี เป็นการประเมินพัฒนาการทางด้านร่างกาย

อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ญั ญาของเดก็ โดยถือเปน็ กระบวนการตอ่ ตนเอง และเปน็ ส่วนหนึง่ ของ
กิจกรรมปกติที่จัดให้เด็กในแต่ละวัน ผลที่ได้จากการสังเกตพัฒนาการเด็กต้องนำมาจัดทำสารนิทัศน์
หรือจัดทำข้อมูลหลักฐานหรือเอกสารอย่างเป็นระบบ ด้วยการวบรวมผลงานสำหรับเด็กเป็น
รายบุคคลที่สามารถบอกเรื่องราวหรือประสบการณ์ที่เด็กได้รับว่าเด็กเกิดการเรียนรู้ และมี
ความก้าวหน้าเพียงใด ทั้งนี้ ให้นำข้อมูลผลการประเมินพัฒนาการเด็กมาพิจารณา ปรับปรุงวางแผน
การจัดกจิ กรรม และสง่ เสรมิ ให้เด็กแต่ละคนได้รับการพฒั นาตามจดุ หมายของหลักสูตรอยา่ งต่อเน่ือง
การประเมนิ พัฒนาการควรยึดหลกั ดงั นี้

๑. วางแผนการประเมินพัฒนาการอยา่ งเป็นระบบ
๒. ประเมินพฒั นาการเด็กครบทุกด้าน
๓. ประเมินพฒั นาการเด็กเป็นรายบคุ คลอยา่ งสม่ำเสมอต่อเนอื่ งตลอดปี
๔. ประเมินพฒั นาการตามสภาพจริงจากกจิ กรรมประจำวันดว้ ยเครอื่ งมอื และวธิ กี ารที่

หลากหลายไม่ควรใชแ้ บบทดสอบ
๕. สรปุ ผลการประเมนิ จัดทำขอ้ มูลและนำผลการประเมินไปใชพ้ ัฒนาเดก็
สำหรับวิธีการประเมินที่เหมาะสมและควรใช้กับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การบันทึก
พฤตกิ รรม การสนทนากบั เด็ก การสมั ภาษณ์ การวิเคราะหข์ ้อมูลจากผลงานเด็กท่ีเก็บอย่างมีระบบ
ประเภทของการประเมนิ พัฒนาการ

การพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรูข้ องเดก็ ประกอบด้วย ๑) วตั ถปุ ระสงค์ (Obejetive) ซง่ึ ตาม
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมายถึง จุดหมายซึ่งเป็นมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ ตัวบ่งชี้และสภาพที่พึงประสงค์ ๒) การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ (Leanning) ซึ่งเป็น
กระบวนการได้มาของความรู้หรือทักษะผ่านการกระทำสิ่งต่าง ๆ ที่สำคัญตามหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัยกำหนดให้หรือที่เรียกว่า ประสบการณ์สำคัญ ในการช่วยอธิบายให้ครูเข้าใจถึงประสบการณ์
ที่เด็กปฐมวัยต้องทำเพื่อเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว และช่วยแนะผู้สอนในการสังเกต สนั บสนุน และ
วางแผนการจัดกิจกรรมให้เด็กและ ๓) การประเมินผล (Evaluation) เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมหรือ
ความสามารถตามวัยที่คาดหวังให้เด็กเกิดขึ้นบนพื้นฐานพัฒนาการตามวัยหรือความสามารถตาม
ธรรมชาติในแต่ละระดับอายุ เรียกว่า สภาพที่พึงประสงค์ ที่ใช้เป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการประเมิน

๘๐

พัฒนาการเด็ก เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพเด็กทั้งนี้ประเภทของการ
ประเมินพฒั นาการ อาจแบ่งไดเ้ ปน็ ๒ ลกั ษณะ คอื

๑) แบง่ ตามวตั ถุประสงคข์ องการประเมนิ
การแบ่งตามวตั ถปุ ระสงค์ของการประเมนิ แบง่ ได้ ๒ ประเภท ดงั น้ี
๑.๑) การประเมินความก้าวหน้าของเด็ก (Formative Evaluation) หรือการประเมิน

เพื่อพัฒนา (Formative Assessment) หรือการประเมินเพื่อเรียน (Assessment for Learning)
เป็นการประเมินระหว่างการจัดประสบการณ์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลพัฒนาการและการ
เรียนรู้ของเด็กในระหว่างทำกิจกรรมประจำวัน/กิจวัตรประจำวันปกติอย่างต่อเนื่อง บันทึก วิเคราะห์
แปลความหมายข้อมูลแล้วนำมาใช้ในการส่งเสริมหรือปรับปรุงแก้ไขการเรียนรู้ของเด็ก และการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้สอน การประเมินพัฒนาการกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของ
ผู้สอนจึงเป็นเรอ่ื งทีส่ มั พันธก์ ันหากขาดสง่ิ หน่ึงส่งิ ใดการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้กข็ าดประสิทธิภาพ
เป็นการประเมินผลเพื่อให้รู้จุดเด่น จุดที่ควรส่งเสริม ผู้สอนต้องใช้วิธีการและเครื่องมือประเมิน
พัฒนาการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถึง
ความก้าวหน้าแต่ละดา้ นของเด็กเป็นรายบุคคล การใชแ้ ฟ้มสะสมงาน เพื่อให้ได้ข้อสรปุ ของประเด็นที่
กำหนด สิ่งที่สำคัญที่สุดในการประเมินความก้าวหน้าคือ การจัดประสบการณ์ให้กับเด็กในลักษณะ
การเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ทำให้การเรียนรู้ของเด็กเพิ่มพูน ปรับเปลี่ยน
ความคดิ ความเข้าใจเดมิ ทไ่ี ม่ถกู ตอ้ ง ตลอดจนการให้เด็กสามารถพัฒนาการเรียนรูข้ องตนเองได้

๑.๒) การประเมินผลสรุป (Summatie Evaluation) หรือ การประเมินเพื่อตัดสินผล
พัฒนาการ (Summatie Assessment) หรือการประเมินสรุปผลของการเรียนรู้ (Assessment of
Learning) เป็นการประเมินสรุปพัฒนาการ เพื่อตัดสินพัฒนาการของเด็กว่ามีความพร้อมตาม
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยหรือไม่ เพื่อเป็นการเชื่อมต่อของ
การศึกษาระดับปฐมวยั กับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑

ดังนั้น ผู้สอนจึงควรให้ความสำคัญกับการประเมินความก้าวหน้าของเด็กในระดับห้องเรียน
มากกวา่ การประเมนิ เพอ่ื ตดั สินผลพฒั นาการของเด็กเม่ือสิน้ ภาคเรียนหรือสนิ้ ปีการศกึ ษา

๒) แบง่ ตามระดับของการประเมนิ
การแบ่งตามระดบั ของการประเมิน แบ่งได้เป็น ๒ ประเภท
๒.๑) การประเมินพัฒนาการระดับชั้นเรียน เป็นการประเมินพัฒนาการที่อยู่ใน

กระบวนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ผสู้ อนดำเนินการเพ่ือพัฒนาเด็กและตัดสินผลการพัฒนาการ
ด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา จากกิจกรรมหลัก/หน่วยการเรียนรู้ (Unit) ที่ผู้สอน
จัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ผู้สอนประเมินผลพัฒนาการตามสภาพที่พึงประสงค์และตัวบ่งชีท้ ี่กำหนด
เป็นเป้าหมายในแต่ละแผนการจัดประสบการณ์ของหน่วยการเรียนรู้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การสังเกต

๘๑

การสนทนา การสัมภาษณ์ การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถึงความก้าวหน้า แต่ละด้านของเด็กเป็น
รายบุคคล การแสดงกริยาอาการต่างๆของเดก็ ตลอดเวลาท่จี ดั ประสบการณเ์ รียนรู้ เพ่ือตรวจสอบและ
ประเมินว่าเด็กบรรลุตามสภาพที่พึงประสงคล์ ะตัวบง่ ช้ี หรือมีแนวโน้มว่าจะบรรลสุ ภาพที่พึงประสงค์
และตัวบ่งชี้เพียงใด แล้วแก้ไขข้อบกพร่องเป็นระยะๆอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ผู้สอนควรสรุปผลการ
ประเมินพัฒนาการว่า เด็กมีผลอันเกิดจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือไม่ และมากน้อย
เพียงใด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมหรือสะสมผลการประเมินพัฒนาการในกิจกรรมประจำวัน
หน่วยการเรียนรู้ หรือผลตามรูปแบบการประเมินพัฒนาการที่สถานศึกษากำหนด เพื่อนำมาเป็น
ข้อมูลใช้ปรังปรุงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และเป็นข้อมูลในการสรุปผลการประเมินพัฒนาใน
ระดบั สถานศกึ ษาต่อไปอกี ดว้ ย

๒.๒) การประเมินพัฒนาการระดับสถานศึกษา เป็นการตรวจสอบผลการประเมิน
พฒั นาการของเด็กเป็นรายบุคคลเปน็ รายภาค/รายปี เพื่อใหไ้ ด้ข้อมลู เก่ยี วกบั การจดั การศึกษาของเด็ก
ในระดับปฐมวัยของสถานศกึ ษาวา่ ส่งผลต่อการเรียนรู้ของเด็กตามเป้าหมายหรือไม่ เด็กมีส่งิ ที่ต้องการ
ไดร้ ับการพัฒนาในด้านใด รวมทงั้ สามารถนำผลการประเมินพัฒนาการของเดก็ ในระดับสถานศึกษาไป
เป็นข้อมูลและสารสนเทศในการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โครงการหรือวิธีการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ ตลอดจนการจัดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาตาม
แผนการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพเด็กต่อผู้ปกครอง นำเสนอ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานรับทราบ ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธรณชน ชุมชน หรือหน่วยงาน
ตน้ สงั กัดหรอื หนว่ ยงานที่เกีย่ วข้องต่อไป

อนึ่ง สำหรบั การประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวัยในระดับเขตพืน้ ที่การศึกษาหรือระดับประเทศ
นั้นหากเขตพื้นที่การศึกษาใดมีความพร้อม อาจมีการดำเนินงานในลักษณะของการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
เด็กปฐมวัยเข้ารับการประเมินก็ได้ ทั้งนี้ การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยขอให้ถือปฏิบัติตาม
หลกั การการประเมินพฒั นาการตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

๘๒

บทบาทหน้าที่ของผเู้ กยี่ วข้องในการดำเนินงานประเมนิ พัฒนาการ

การดำเนนิ งานประเมินพฒั นาการของสถานศึกษานน้ั ตอ้ งเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกี่ยวขอ้ งเขา้ มา

มีส่วนร่วมในการประเมินพัฒนาการและร่วมรับผิดชอบอย่างเหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษา

แต่ละขนาด ดงั นี้

ผ้ปู ฏิบัติ บทบาทหน้าที่ในการประเมินพัฒนาการ

ผ้สู อน ๑. ศกึ ษาหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั และแนวการปฏบิ ตั ิการประเมนิ พัฒนาการตามหลกั สูตรสถานศึกษา

ปฐมวยั

๒. วิเคราะหแ์ ละวางแผนการประเมนิ พฒั นาการทส่ี อดคล้องกบั หน่วยการเรียนร/ู้ กจิ กรรมประจำวนั /กจิ วตั ร

ประจำวัน

๓. จดั ประสบการณ์ตามหน่วยการเรียนรู้ ประเมนิ พัฒนาการ และบันทกึ ผลการประจำวัน/กิจวัตรประจำวนั

๔. รวบรวมผลการประเมินพัฒนาการ แปลผลและสรุปผลการประเมินเม่ือส้ินภาคเรยี นและสิน้ ปีการศึกษา

๕. สรปุ ผลการประเมินพฒั นาการระดบั ช้นั เรยี นลงในสมุดบันทึกผลการประเมินพฒั นาการประจำชนั้

๖. จัดทำสมดุ รายงานประจำตวั นักเรยี น

๗. เสนอผลการประเมนิ พฒั นาการตอ่ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาลงนามอนุมัติ

ผู้บรหิ าร ๑.กำหนดผู้รับผิดชอบงานประเมินพัฒนาการตามหลักสตู ร และวางแนวทางปฏิบัติการประเมนิ พัฒนาการเด็ก

สถานศึกษา ปฐมวัยตามหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั

๒. นิเทศ กำกับ ตดิ ตามใหก้ ารดำเนนิ การประเมนิ พฒั นาการให้บรรลเุ ปา้ หมาย

๓. นำผลการประเมินพัฒนาการไปจัดทำรายงานผลการดำเนินงานกำหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาการจัด

การศกึ ษาปฐมวัย

พ่อ แม่ ผ้ปู กครอง ๑. ใหค้ วามร่วมมือกับผสู้ อนในการประเมินพฤติกรรมของเดก็ ที่สงั เกตได้จากท่บี ้านเพื่อเป็นขอ้ มูลประกอบการ

แปลผลทเ่ี ที่ยงตรงของผสู้ อน

๒. รับทราบผลการประเมนิ ของเด็กและสะท้อนให้ข้อมลู ย้อนกลับทเี่ ปน็ ประโยชนใ์ นการสง่ เสริมและพฒั นา

เด็กในปกครองของตนเอง

๓. รว่ มกบั ผู้สอนในการจัดประสบการณห์ รือเป็นวิทยากรท้องถ่ิน

คณะกรรมการ ๑. ใหค้ วามเห็นชอบและประกาศใชห้ ลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั และแนวปฏบิ ัติในการประเมินพฒั นาการตาม

สถานศึกษาขนั้ หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย

พน้ื ฐาน ๒. รับทราบผลการประเมินพัฒนาการของเด็กเพ่ือการประกนั คุณภาพภายใน

สำนักงานเขต ๑. สง่ เสริมการจดั ทำเอกสารหลักฐานว่าด้วยการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยของสถานศึกษา

พืน้ ทกี่ ารศึกษา ๒. สง่ เสริมให้ผสู้ อนในสถานศึกษามีความรู้ ความเขา้ ใจในแนวปฏิบตั ิการประเมินพัฒนาการตามมาตรฐาน

คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคต์ ามหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย ตลอดจนความเขา้ ใจในเทคนิควธิ ีการประเมิน

พฒั นาการในรูปแบบต่างๆโดยเนน้ การประเมินตามสภาพจริง

๘๓

๓. ส่งเสริม สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นาเครอื่ งมอื พฒั นาการตามมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคต์ าม

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยและการจดั เก็บเอกสารหลกั ฐานการศึกษาอย่างเปน็ ระบบ

๔. ให้คำปรกึ ษา แนะนำเก่ยี วกบั การประเมนิ พัฒนาการและการจดั ทำเอกสารหลกั ฐาน

๕. จดั ใหม้ ีการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ท่ดี ำเนนิ การโดยเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาหรือหน่วยงานต้นสงั กัดและให้ความ

ร่วมมือในการประเมนิ พฒั นาการระดบั ประเทศ

แนวปฏิบัติการประเมนิ พฒั นาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ในการจัดประสบการณ์ทุก

ขั้นตอนโดยเร่ิมตั้งแต่การประเมินพฤติกรรมของเด็กก่อนการจดั ประสบการณ์ การประเมินพฤติกรรม
เด็กขณะปฏิบัติกิจรรมและการประเมินพฤติกรรมเด็กเมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรม ทั้งนี้ พฤติกรรม
การเรียนรู้และพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็กที่ได้รับการประเมินนั้น ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงค์ของหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยที่
ผู้สอนวางแผนและออกแบบไว้ การประเมินพัฒนาการจึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยให้การเรียนรู้
ของเด็กบรรลุตามเป้าหมายเพื่อนำผลการประเมินไปปรบั ปรุง พัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
และใช้เป็นข้อมูลสำหรับการพัฒนาเด็กต่อไป สถานศึกษาควรมีกระบวนการประเมินพัฒนาการและ
การจัดการอย่างเป็นระบบสรุปผลการประเมินพัฒนาการที่ตรงตามความรู้ ความสามารถ ทักษะและ
พฤติกรรมที่แท้จริงของเด็กสอดคล้องตามหลักการประเมินพัฒนาการ รวมทั้งสะท้อนการดำเนินงาน
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง แนวปฏิบัติการประเมิน
พัฒนาการเด็กปฐมวัยของสถานศึกษา มีดังน้ี

๑. หลักการสำคญั ของการดำเนนิ การประเมนิ พัฒนาการตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐

สถานศึกษาที่จัดการศึกษาปฐมวัยควรคำนึงถึงหลักสำคัญของการดำเนินงานการประเมิน
พฒั นาการตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย สำหรับเด็กปฐมวัยอายุ ๔-๖ ปี ดงั นี้

๑.๑ ผสู้ อนเป็นผู้รับผิดชอบการประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวัยโดยเปดิ โอกาสให้ผู้ทเ่ี กีย่ วข้องมีส่วนร่วม
๑.๒ การประเมินพัฒนาการ มีจุดมุ่งหมายของการประเมนิ เพื่อพัฒนาความก้าวหน้าของเด็ก
และสรุปผลการประเมนิ พฒั นาการของเด็ก
๑.๓ การประเมินพัฒนาการต้องมีความสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์แต่ละวัยซง่ึ กำหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั
๑.๔ การประเมินพัฒนาการเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ต้อง
ดำเนินการด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถประเมินพัฒนาการเด็กได้อย่างรอบด้าน
สมดุลทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา รวมทั้งระดับอายุของเด็ก โดยตั้งอยู่บน
พน้ื ฐานของความเที่ยงตรง ยุตธิ รรมและเช่ือถือได้
๑.๕ การประเมนิ พฒั นาการพจิ ารณาจากพฒั นาการตามวยั ของเด็ก การสงั เกตพฤตกิ รรมการ
เรียนรู้และการรว่ มกิจกรรม ควบคู่ไปในกระบวนการจัดประสบการณ์การเรยี นร้ตู ามความเหมาะสมของ
แตล่ ะระดบั อายุ และรูปแบบการจดั การศกึ ษาและตอ้ งดำเนินการประเมินอยา่ งต่อเน่ือง

๘๔

๑.๖ การประเมินพัฒนาการต้องเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้สะท้อนและ
ตรวจสอบผลการประเมินพฒั นาการ

๑.๗ สถานศึกษาควรจัดทำเอกสารบันทึกผลการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยใน
ระดับชั้นเรียนและระดับสถานศึกษา เช่น แบบบันทึกการประเมินพัฒนาการตามหน่วยการจัด
ประสบการณ์ สมุดบันทึกผลการประเมินพัฒนาการประจำชั้น เพื่อเป็นหลักฐานการประเมินและ
รายงานผลพัฒนาการและสมุดรายงานประจำตัวนักเรยี น เพือ่ เปน็ การสอื่ สารข้อมูลการพัฒนาการเด็ก
ระหวา่ งสถานศกึ ษากับบา้ น

๒. ขอบเขตของการประเมินพัฒนาการ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ได้กำหนดเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัย
เป็นมาตรฐานคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ ซึ่งถอื เปน็ คุณภาพลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ทต่ี ้องการใหเ้ กิดข้ึนตัว
เด็กเมื่อจบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย คุณลักษณะที่ระบุไว้ในมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ถือ
เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเด็กทุกคน ดังนั้น สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่และความ
รับผิดชอบในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพมาตรฐานที่พึงประสงค์กำหนด ถือเป็น
เครื่องมือสำคัญในการขับเคลื่อนและพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย แนวคิดดังกล่าวอยู่บนฐาน
ความเชื่อที่ว่าเด็กทุกคนสามารถพัฒนาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมได้ ขอบเขตของการประเมิน
พัฒนาการประกอบดว้ ย
๒.๑ สง่ิ ที่จะประเมนิ
๒.๒ วธิ แี ละเคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการประเมิน
๒.๓ เกณฑก์ ารประเมนิ พัฒนาการ

๒.๑ ส่งิ ทีจ่ ะประเมิน
๒.๑.๑ การประเมนิ พฒั นาการสำหรบั เด็กอายุ ๓-๖ ปี มเี ป้าหมายสำคัญคือ มาตรฐาน

คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์จำนวน ๑๒ ขอ้ ดังน้ี
๑. พัฒนาการดา้ นร่างกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั และมสี ุขนสิ ยั ที่ดี
มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเน้ือเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและ

ประสานสัมพนั ธ์กนั
๒. พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๓ มสี ุขภาพจิตดีและมคี วามสขุ
มาตรฐานที่ ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว
มาตรฐานท่ี ๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจติ ใจท่ีดีงาม
๓. พัฒนาการดา้ นสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชวี ิตและปฏบิ ัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยู่รว่ มกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขและปฏบิ ัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของ

สงั คมในระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ

๘๕

๔. พฒั นาการดา้ นสติปัญญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสือ่ สารได้เหมาะสมกบั วยั
มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดทเี่ ปน็ พ้ืนฐานในการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์
มาตรฐานท่ี ๑๒ มเี จตคติที่ดีต่อการเรียนร้แู ละมีความสามารถในการแสวงหา

ความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
๒.๑.๒ ประเมนิ คุณลักษณะตามรปู แบบการสอนมอนเตสซอรี่ทีส่ ถานศึกษากำหนด
- ทักษะชีวติ
- ทักษะสมอง EF ๙ ด้าน
๒.๑.๓ เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพเดก็ โรงเรียนเทศบาล ๑ (บา้ นเกา่ )
- คุณลักษณะตามวัยที่สถานศึกษากำหนด
- ทกั ษะภาษาอังกฤษที่สถานศกึ ษากำหนด
- ทกั ษะภาษาจีนท่สี ถานศกึ ษากำหนด

สิ่งทจี่ ะประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ปฐมวัยแต่ละดา้ น มดี ังนี้
ด้านร่างกาย ประกอบด้วย การประเมินการมีนำ้ หนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ สุขภาพอนามัย

สุขนิสัยที่ดี การรู้จักรักษาความปลอดภัย การเคลื่อนไหวและการทรงตัว การเล่นและการออกกำลัง
กาย และการใช้มอื อยา่ งคล่องแคลว่ ประสานสมั พันธ์กนั

ด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย การประเมินความสามารถในการแสดงออกทางอารมณ์อย่าง
เหมาะสมกับวัยและสถานการณ์ ความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความรู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ความสนใจ/
ความสามารถ/และมีความสุขในการทำงานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ความรับผิดชอบในการทำงาน ความ
ซอ่ื สัตย์สจุ ริตและรสู้ ึกถูกผิด ความเมตตากรุณา มีนำ้ ใจและช่วยเหลือแบ่งปัน ตลอดจนการประหยัดอดออม และ
พอเพียง

ด้านสังคม ประกอบด้วย การประเมินความมีวินัยในตนเอง การช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวัน การระวงั ภยั จากคนแปลกหน้า และสถานการณท์ ี่เสี่ยงอันตราย การดแู ลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การมีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย รักษาความเป็นไทย การยอมรับความเหมือนและความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล การมีสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น การปฏิบัติตนเบื้องต้นในการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข

ด้านสติปัญญา ประกอบด้วย การประเมินความสามารถในการสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่น
เขา้ ใจ ความสามารถในการอ่าน เขยี นภาพและสัญลักษณ์ ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา คิดเชงิ เหตุผล คิดรวบ
ยอด การเล่น/การทำงานศิลปะ/การแสดงท่าทาง/เคล่ือนไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง การ
มเี จตคตทิ ่ดี ตี ่อการเรียนรู้และความสามารถในการแสวงหาความรู้

ทักษะชวี ติ ประกอบดว้ ย
การประเมินด้านความมีวนิ ัยในตนเอง
- รจู้ กั ลำดบั กอ่ น หลัง เก็บอปุ กรณข์ องเลน่ ของใช้ ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง
การชว่ ยเหลือตนเองและผูอ้ ่ืน

๘๖

- รับผดิ ชอบในกิจวตั รประจำวนั ของตนเอง สื่อสารบอกความรู้สกึ ความตอ้ งการ
ของตนเอง ดูแลช่วยเหลือผอู้ ่ืน

การมีจติ สาธารณะ
- ดูแลรักษาสิง่ ของท่ีใชร้ ว่ มกัน ดแู ลรกั ษาสิ่งแวดล้อม เสียสละ มีน้ำใจ

เอ้อื เฟ้ือเผื่อแผ่
การมีสมาธมิ ุ่งมน่ั ในการทำงาน
- การร่วมกิจกรรมตั้งแต่ตน้ จนจบ การปฏบิ ัติกิจกรรมถกู ต้องตามข้ันตอน

การอดทนรอคอย
ทกั ษะสมอง EF ๙ ด้าน ประกอบดว้ ย
EF ๑ ความจำเพอื่ นำไปใช้
- จดจำวิธีการในการทำกิจกรรมตามข้นั ตอน
- เชอ่ื มโยงประสบการณเ์ ดมิ นำมาต่อยอด
EF ๒ การย้ังคดิ ไตร่ตรอง
- คดิ ไตร่ตรองกอ่ นทำหรือพูด
- มีความสามารถในการคิดเชิงเหตผุ ล
EF ๓ ยดื หยุ่นความคดิ
- ยอมรบั ฟังความคดิ ของผู้อนื่
- แก้ปญั หาได้ดว้ ยวธิ ีการใหม่
EF ๔ ใส่ใจจดจอ่
- มสี มาธิจดจอ่ ในกิจกรรมทท่ี ำ
- มีความกระตือรอื รน้ ต่อกจิ กรรมทที่ ำ
EF ๕ ควบคุมอารมณ์
- ไม่ใชอ้ ารมณ์แก้ปญั หา
- แสดงออกอย่างเหมาะสม
EF ๖ ประเมินตนเอง
- ทบทวนสง่ิ ทลี่ งมือทำ
- แก้ไขปรบั ปรงุ ผลจากการกระทำของตนเองให้ดขี ้นึ
EF ๗ รเิ รมิ่ ลงมอื ทำ
- คดิ ริเรม่ิ ลงมือทำส่ิงใหม่
- ตดั สนิ ใจลงมือทำด้วยตนเอง
EF ๘ วางแผนจดั ระบบดำเนนิ การ
- จัดลำดับความสำคญั ก่อน - หลัง ของกิจกรรมท่ที ำ
- วางแผนการทำงานต้งั แตต่ น้ จนจบตามเวลาที่กำหนด
EF ๙ มงุ่ เปา้ หมาย
- มีความเพียรพยายาม
- มงุ่ ม่นั ทำงานจนสำเร็จ

๘๗

เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพเด็กโรงเรยี นเทศบาล ๑ (บา้ นเกา่ )
คณุ ลกั ษณะตามวัย ๓ ขวบ
- สนทนา สื่อสาร บอกความตอ้ งการของตนเองได้
- เขยี นตามรอยได้
- ท่องแมส่ ูตรคูณแม่ 2-3 ได้
- ไหว้สวย
คุณลกั ษณะตามวยั ๔ ขวบ
- สนทนา สื่อสาร บอกความต้องการของตนเองได้
- เขียนช่ือเลน่ ได้
- ท่องแมส่ ูตรคูณแม่ 2 - 4 ได้
- เขียนเลขอารบิก 1 - 10 ได้
- ท่องพยญั ชนะไทย ก-ฮ ได้
- ไหวส้ วย
คุณลักษณะตามวัย ๕ ขวบ
- สนทนา สอื่ สาร บอกความต้องการของตนเองได้
- รจู้ ักสระเดย่ี ว ไดแ้ ก่ สระอะ สระอา สระอิ สระอี สระอุ สระอู
- ทอ่ งแม่สูตรคณู แม่ 2 - 6 ได้
- เขียนเลขอารบิก และเลขไทย 1 - 10 ได้
- ท่องพยัญชนะไทย ก-ฮ ได้
- เขียนชอ่ื -นามสกลุ ได้
- ไหว้สวย
- ร้องเพลงชาตไิ ด้
- สวดมนต์ได้
ทักษะทางภาษาอังกฤษ 3 ขวบ
- กลา่ วทักทายสวสั ดี-ขอบคุณ
- คำศพั ท์ท่ใี ชใ้ นหอ้ งเรียน ยนื ข้ึน นัง่ ลง
- รอ้ งเพลง ABC (Alphabet A-Z)
ทกั ษะทางภาษาองั กฤษ 4 ขวบ
- กล่าวทกั ทายสวสั ดี-ขอบคณุ
- คำศพั ท์ทใ่ี ช้ในห้องเรยี น ยืนขน้ึ นง่ั ลง
- Alphabet A-Z (Phonic การออกเสียง)
- บอกชอื่ ตัวเอง
- ตัวเลข Number 1-10

๘๘

ทักษะทางภาษาอังกฤษ 5 ขวบ
- กลา่ วทกั ทายสวสั ดี-ขอบคุณ
- คำศพั ท์ท่ใี ชใ้ นห้องเรียน/ปฏบิ ตั ิตามคำสัง่ (ยืนข้ึน นัง่ ลง เดนิ วง่ิ กระโดด ด่ืมน้ำ

หอ้ งนำ้ )
- ออกเสียงPhonic Alphabet A-Z
- บอกชอ่ื ตัวเอง
- ท่อง Number 1-10
ทกั ษะทางภาษาจีน 3 ขวบ
- กล่าวทกั ทาย (你好สวสั ดี,再见ลากอ่ น/พบกันใหม่)

- รู้ความหมายของคำศัพท์และปฏิบัติตามได้ (起立ยืนขึ้น,请坐นั่งลง,

喝牛奶 ดม่ื นม,吃饭กินข้าว )

- รคู้ วามหมายคำศพั ท์ (爸爸พอ่ ,妈妈แม่)
- ร้องเพลง 1-10
ทกั ษะทางภาษาจีน 4 ขวบ
- กล่าวทักทาย 你好สวสั ดี,再见ลาก่อน/พบกนั ใหม่,谢谢ขอบคุณ

- เขา้ ใจความหมายของคำศัพท์และปฏบิ ัตติ ามได้ (起立ยืนข้นึ , 请坐น่งั ลง,

喝牛奶 ดืม่ นม, 喝水ด่ืมน้ำ, 吃饭กนิ ข้าว

- รู้ความหมายคำศัพท์ 爸爸 พอ่ , 妈妈 แม,่ 我 ฉัน
- รอ้ งเพลง 1-10
- รู้จกั ตวั เลข 1-5
ทักษะทางภาษาจนี 5 ขวบ
- กล่าวทกั ทาย (你好สวสั ดี,再见ลาก่อน/พบกนั ใหม่,谢谢ขอบคุณ

- เขา้ ใจความหมายของคำศัพท์และปฏิบตั ติ ามได้ 起立ยนื ขนึ้ ,请坐นง่ั ลง

喝牛奶 ดื่มนม,喝水ดืม่ นำ้ ,吃饭กินขา้ ว,洗手间ห้องน้ำ

- รูค้ วามหมายคำศพั ท์ 爸爸พ่อ,妈妈แม,่ 我 ฉนั ,你 เธอ
- ร้องเพลง 1-10 และรจู้ ักตัวเลข 1-5
- เขยี นตวั เลขภาษาจนี ตามแบบ 1-10
- บอกช่ือตวั เอง

๘๙

๒.๒ วิธกี ารและเคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมินพฒั นาการ
การประเมินพัฒนาการเดก็ แต่ละครง้ั ควรใชว้ ิธกี ารประเมินอย่างหลากหลายเพื่อให้ไดข้ ้อมูลท่ี

สมบรู ณท์ ี่สุด วธิ ีการทีเ่ หมาะสมและนิยมใชใ้ นการประเมนิ เดก็ ปฐมวัยมีด้วยกนั หลายวิธี ดงั ต่อไปน้ี
๑. การสงั เกตและการบันทึก การสงั เกตมีอยู่ ๒ แบบคอื การสังเกตอยา่ งมีระบบ ได้แก่ การ

สังเกตอย่างมจุดมุ่งหมายที่แน่นอนตามแผนที่วางไว้ และอีกแบบหนึ่งคือ การสังเกตแบบไม่เป็น
ทางการ เปน็ การสงั เกตในขณะทเ่ี ด็กทำกจิ กรรมประจำวันและเกิดพฤติกรรมที่ไม่คาดคิดว่าจะเกิดขึ้น
และผู้สอนจดบันทึกไว้การสังเกตเป็นวิธีการที่ผู้สอนใช้ในการศึกษาพัฒนาการของเด็ก เมื่อมีการ
สงั เกตก็ตอ้ งมีการบันทึก ผ้สู อนควรทราบวา่ จะบนั ทึกอะไรการบันทึกพฤติกรรมมคี วามสำคัญอย่างย่ิง
ที่ต้องทำอย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากเด็กเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงต้องนำมาบันทึก
เปน็ หลกั ฐานไว้อย่างชัดเจน การสงั เกตและการบนั ทกึ พฒั นาการเด็กสามารถใชแ้ บบง่ายๆคือ

๑.๑ แบบบันทึกพฤตกิ รรม ใช้บนั ทกึ เหตุการณ์เฉพาะอยา่ งโดยบรรยายพฤติกรรมเด็ก ผู้
บันทึกต้องบันทึกวัน เดือน ปีเกิดของเด็ก และวัน เดือน ปี ทีท่ ำการบนั ทึกแต่ละคร้ัง

๑.๒ การบันทกึ รายวัน เป็นการบนั ทกึ เหตุการณห์ รือประสบการณห์ รือประสบการณท์ ่ี
เกดิ ขนึ้ ในช้ันเรยี นทุกวัน ถ้าหากบันทกึ ในรูปแบบของการบรรยายก็มกั จะเนน้ เฉพาะเดก็ รายทตี่ ้องการ
ศกึ ษา ขอ้ ดีของการบนั ทึกรายวันคือ การช้ีให้เหน็ ความสามารถเฉพาะอย่างของเด็ก จะช่วยกระตนุ้ ให้
ผูส้ อนได้พิจารณาปัญหาของเด็กเป็นรายบุคคลช่วยให้ผเู้ ชยี วชาญมีขอ้ มูลมากข้นึ สำหรบั วนิ จิ ฉัยเดก็ วา่
สมควรจะได้รบั คำปรกึ ษาเพ่อื ลดปัญหาและสง่ เสริมพฒั นาการของเด็กได้อย่างถกู ต้อง นอกจากน้ันยงั
ชว่ ยชี้ให้เหน็ ขอ้ เสียของการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ได้เป็นอย่างดี

๑.๓ แบบสำรวจรายการ ช่วยให้สามารถวิเคราะหเ์ ด็กแต่ละคนได้ค่อนข้างละเอียด

๒. การสนทนา สามารถใช้การสนทนาได้ทั้งเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล เพื่อประเมิน
ความสามารถในการแสดงความคดิ เห็น และพัฒนาการด้านภาษาของเด็กและบันทกึ ผลการสนทนาลง
ในแบบบันทกึ พฤตกิ รรมหรือบันทกึ รายวนั

๓. การสัมภาษณ์ ด้วยวธิ ีพดู คยุ กับเดก็ เปน็ รายบคุ คลและควรจดั ในสภาวะแวดลอ้ มเหมาะสม
เพื่อไม่ให้เกิดความเครียดและวิตกกังวล ผู้สอนควรใช้คำถามที่เหมาะสมเปิดโอกาสให้เด็กได้คิดและ
ตอบอย่างอิสระจะทำให้ผู้สอนสามารถประเมินความสามารถทางสติปัญญาของเด็กแต่ละคนและ
ค้นพบศกั ยภาพในตวั เด็กได้โดยบันทกึ ข้อมูลลงในแบบสมั ภาษณ์

การเตรยี มการก่อนการสัมภาษณ์ ผู้สอนควรปฏิบัติ ดงั น้ี
- กำหนดวัตถปุ ระสงค์ของการสมั ภาษณ์
- กำหนดคำพูด/คำถามทจี่ ะพดู กับเด็ก ควรเป็นคำถามทเ่ี ด็กสามารถตอบโต้หลากหลาย

ไม่ผดิ /ถูก
การปฏิบตั ขิ ณะสัมภาษณ์
- ผู้สอนควรสรา้ งความคุ้นเคยเปน็ กนั เอง
- ผ้สู อนควรสร้างสภาพแวดล้อมที่อบอุ่นไมเ่ คร่งเครียด
- ผู้สอนควรเปดิ โอกาสเวลาใหเ้ ดก็ มีโอกาสคดิ และตอบคำถามอยา่ งอิสระ
- ระยะเวลาสัมภาษณไ์ ม่ควรเกิน ๑๐-๒๐ นาที

๙๐

๔. การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถึงความกา้ วหนา้ แตล่ ะดา้ นของเด็กเปน็ รายบุคคล โดย
จัดเก็บรวบรวมไว้ในแฟ้มผลงาน (portfolio)ซึ่งเป็นวิธีรวบรวมและจัดระบบข้อมูลต่างๆท่ีเกี่ยวกับตัว
เด็กโดยใช้เครื่องมือต่างๆรวบรวมเอาไว้อย่างมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน แสดงการเปลี่ยนแปลงของ
พัฒนาการแต่ละด้าน นอกจากนี้ยังรวมเครื่องมืออื่นๆ เช่น แบบสอบถามผู้ปกครอง แบบสังเกต
พฤติกรรม แบบบันทึกสขุ ภาพอนามยั ฯลฯ เอาไวใ้ นแฟม้ ผลงาน เพ่ือผู้สอนจะได้ข้อมลู เกย่ี วกับตัวเด็ก
อย่างชัดเจนและถูกต้อง การเก็บผลงานของเด็กจะไม่ถือว่าเป็นการประเมินผลถ้างานแต่ละชิ้นถูก
รวบรวมไว้โดยไม่ได้รับการประเมินจากผู้สอนและไม่มีการนำผลมาปรับปรุงพัฒนา เด็กหรือปรับปรุง
การสอนของผู้สอน ดังนั้นจึงเป็นแต่การสะสมผลงานเท่านั้น เช่นแฟ้มผลงานขีดเขียน งานศิลปะ จะ
เปน็ เพียงแคแ่ ฟ้มผลงานท่ีไม่มกี ารประเมิน แฟม้ ผลงานน้จี ะเป็นเคร่ืองมือการประเมินต่อเนื่องเม่ืองาน
ที่สะสมแต่ละชิ้นถูกใช้ในการบ่งบอกความก้าวหน้า ความต้องการของเด็ก และเป็นการเก็บสะสม
อย่างตอ่ เนื่องท่ีสร้างสรรคโ์ ดยผสู้ อนและเด็ก

ผู้สอนสามารถใช้แฟ้มผลงานอย่างมีคุณค่าสื่อสารกับผู้ปกครองเพราะการเก็บผลงานเด็ก
อยา่ งต่อเน่อื งและสมำ่ เสมอในแฟม้ ผลงานเป็นขอ้ มลู ใหผ้ ้ปู กครองสามารถเปรยี บเทียบความกา้ วหน้าที่
ลูกของตนมีเพิ่มขึ้น จากผลงานชิ้นแรกกับชิ้นต่อๆมาข้อมูลในแฟ้มผลงานประกอบด้วย ตัวอย่าง
ผลงานการเขียดเขียน การอ่าน และข้อมูลบางประการของเด็กที่ผู้สอนเป็นผู้บันทึก เช่นจำนวนเล่ม
ของหนังสือที่เด็กอ่าน ความถี่ของการเลือกอ่านที่มุมหนังสือในช่วงเวลาเลือกเสรี การเปลี่ยนแปลง
อารมณ์ ทศั นคติ เป็นตน้ ขอ้ มลู เหล่าน้ีจะสะท้อนภาพของความงอกงามในเดก็ แต่ละคนได้ชัดเจนกว่า
การประเมินโดยการใหเ้ กรด ผู้สอนจะต้องชี้แจงให้ผู้ปกครองทราบถึงที่มาของการเลือกชิ้นงานแต่ละ
ชิน้ งานทสี่ ะสมในแฟ้มผลงาน เชน่ เป็นช้นิ งานท่ีดที ี่สุดในชว่ งระยะเวลาท่ีเลือกชนิ้ งานน้ัน เป็นช้ินงาน
ที่แสดงความต่อเนื่องของงานโครงการ ฯลฯ ผู้สอนควรเชิญผู้ปกครองมามีส่วนร่วมในการคัดสรร
ชนิ้ งานทบ่ี รรจลุ งในแฟม้ ผลงานของเด็ก

๕. การประเมินการเจรญิ เติบโตของเดก็ ตัวชีข้ องการเจริญเตบิ โตในเดก็ ท่ีใช้ทัว่ ๆไป ได้แก่
น้ำหนกั ส่วนสูง เสน้ รอบศีรษะ ฟัน และการเจรญิ เติบโตของกระดูก แนวทางประเมนิ การเจรญิ เติบโต
มีดังน้ี

๕.๑ การประเมนิ การเจรญิ เติบโต โดยการชั่งน้ำหนักและวัดสว่ นสูงเดก็ แลว้ นำไปเปรยี บเทียบ
กับเกณฑ์ปกติในกราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑ์อายุกระทรวงสาธารณสุขซึ่งใช้สำหรับติดตามการ
เจรญิ เตบิ โตโดยรวม วิธกี ารใชก้ ราฟมขี ้ันตอน ดังน้ี

เมื่อชั่งน้ำหนักเด็กแล้ว นำน้ำหนักมาจุดเครื่องหมายกากบาทลงบนกราฟ และอ่านการ
เจริญเติบโตของเด็ก โดยดูเครื่องหมายกากบาทว่าอยู่ในแถบสีใด อ่านข้อความบนแถบสีนั้น ซึ่งแบ่ง
ภาวะโภชนาการเป็น ๓ กลุ่มคือ น้ำหนักที่อยู่ในเกณฑ์ปกติ น้ำหนักมากเกนเกณฑ์ น้ำหนักน้อยกว่า
เกณฑ์ ข้อควรระวังสำหรับผู้ปกครองและผู้สอนคือ ควรดูแลน้ำหนักเด็กอย่างให้แบ่งเบนออกจาก
เส้นประเมินมิเช่นนั้นเด็กมีโอกาสน้ำหนักมากเกนิ เกณฑห์ รือน้ำหนกั นอ้ ยกว่าเกณฑ์ได้ข้อควรคำนึงใน
การประเมนิ การเจริญเตบิ โตของเดก็

๙๑

-เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกันในด้านการเจริญเตบิ โต บางคนรูปร่างอ้วน บางคน
ช่วงครึ่งหลังของขวบปีแรก น้ำหนักเด็กจะขึ้นช้า เนื่องจากห่วงเล่นมากขึ้นและความอยากอาหาร
ลดลงร่างใหญ่ บางคนร่างเลก็

-ภาวะโภชนาการเปน็ ตัวสำคญั ท่ีเก่ียวข้องกับขนาดของรูปรา่ ง แตไ่ ม่ใช่สาเหตเุ ดียว
-กรรมพันธ์ุ เดก็ อาจมรี ูปร่างเหมือนพ่อแม่คนใดคนหนง่ึ ถา้ พอ่ หรือแม่เตีย้ ลูกอาจ
เต้ยี และพวกนี้อาจมนี ำ้ หนกั ต่ำกวา่ เกณฑเ์ ฉลย่ี ได้และมกั จะเปน็ เด็กทีท่ านอาหารไดน้ ้อย
๕.๒ การตรวจสขุ ภาพอนามัย เปน็ ตัวช้วี ัดคณุ ภาพของเด็ก โดยพิจารณาความสะอาดส่ิงปกติ
ขอร่างกายที่จะส่งผลต่อการดำเนนิ ชีวิตและการเจริญเติบโตของเด็ก ซึ่งจะประเมินสุขภาพอนามัย ๙
รายการคือ ผมและศีรษะ หูและใบหู มือและเล็บมือ เท้าและเล็บเท้า ปาก ลิ้นและฟัน จมูก ตา
ผวิ หนงั และใบหน้า และเส้อื ผ้า

๒.๓ เกณฑก์ ารประเมินพฒั นาการ
การสร้างเกณฑ์หรือพัฒนาเกณฑ์หรือกำหนดเกณฑ์การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย

ผู้สอนควรใหค้ วามสนใจในส่วนทเ่ี ก่ยี วขอ้ ดงั น้ี
๑. การวางแผนการสังเกตพฤติกรรมของเด็กอย่างเป็นระบบ เช่น จะสังเกตเด็กคนใดบ้างใน

แต่ละวัน กำหนดพฤติกรรมที่สังเกตให้ชัดเจน จัดทำตารางกำหนดการสังเกตเด็กเป็นรายบุคคล ราย
กลุม่ ผ้สู อนตอ้ งเลอื กสรรพฤตกิ รรมทตี่ รงกับระดับพัฒนาการของเด็กคนนน้ั จริงๆ

๒. ในกรณีที่ห้องเรียนมีนักเรียนจำนวนมาก ผู้สอนอาจเลือกสังเกตเฉพาะเด็กที่ทำได้ดีแล้ว
และเด็กทย่ี งั ทำไม่ได้ สว่ นเดก็ ปานกลางให้ถอื ว่าทำได้ไปตามกจิ กรรม

๓. ผูส้ อนตอ้ งสงั เกตจากพฤติกรรม คำพดู การปฏบิ ตั ิตามขน้ั ตอนในระหว่างทำงาน/กิจกรรม
และคุณภาพของผลงาน/ชิ้นงาน ร่องรอยที่นำมาใช้พิจารณาตัดสินผลของการทำงานหรือการปฏิบัติ
ตวั อยา่ งเชน่

๑) เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรม/ทำงาน ถ้าเด็กไม่ชอบ ไม่ชำนาญจะใช้เวลามาก
มที า่ ทางอิดออด ไมก่ ลา้ ไมเ่ ตม็ ใจทำงาน

๒) ความต่อเนือ่ ง ถ้าเด็กยังมกี ารหยดุ ชะงัก ลังเล ทำงานไม่ต่อเนื่อง แสดงว่าเด็กยัง
ไม่ชำนาญหรือยังไมพ่ รอ้ ม

๓) ความสัมพันธ์ ถ้าการทำงาน/ปฏิบัตินั้นๆมีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง ไม่ราบร่ืน
ท่าทางมอื และเท้าไม่สัมพันธก์ ัน แสดงวา่ เด็กยังไมช่ ำนาญหรอื ยังไม่พรอ้ ม ท่าทีแ่ สดงออกจงึ ไม่สง่างาม

๔) ความภูมิใจ ถ้าเด็กยังไม่ชื่นชม ก็จะทำงานเพียงให้แล้วเสร็จอย่างรวดเร็ว ไม่มี
ความภมู ใิ จในการทำงาน ผลงานจงึ ไมป่ ระณีต

๙๒

๒.๓.๑ ระดับคุณภาพผลการประเมินพฒั นาการเด็ก
การให้ระดับคุณภาพผลการประเมินพัฒนาการของเด็กทั้งในระดับชั้นเรียนและระดับ

สถานศึกษาควรกำหนดในทิศทางหรือรูปแบบเดียวกัน สถานศึกษาสามารถให้ระดับคุณภาพผลการ
ประเมินพัฒนาการของเด็กที่สะท้อนมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์
หรอื พฤติกรรมท่จี ะประเมินเป็นระบบตวั เลข เชน่ ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ หรอื เป็นระบบทีใ่ ช้คำสำคัญ เช่น
ดี พอดี หรอื ควรส่งเสริมตามทีส่ ถานศึกษากำหนด ตวั อยา่ งเช่น

ระบบตวั เลข ระบบทใี่ ช้คำสำคญั
๓ ดี

๑ พอใช้
ควรส่งเสริม

สถานศกึ ษาอาจกำหนดระดับคุณภาพของการแสดงออกในพฤติกรรม เปน็ ๓ ระดบั ดงั นี้

ระดบั คุณภาพ ระบบท่ีใชค้ ำสำคญั

๑ หรอื ควรสง่ เสริม เด็กมคี วามลงั เลไมแ่ น่ใจไมย่ อมปฏบิ ัตกิ ิจกรรมท้งั น้ี เนื่องจากเดก็ ยงั ไมพ่ ร้อมยงั

มัน่ ใจ และกลวั ไม่ปลอดภัย ผ้สู อนต้องย่ัวยุหรอื แสดงให้เห็นเป็นตัวอย่างหรือต้อง

คอยอยู่ใกลๆ้ คอ่ ยๆใหเ้ ดก็ ทำทลี ะข้นั ตอนพรอ้ มตอ้ งใหก้ ำลงั ใจ

๒ หรอื พอใช้ เด็กแสดงได้เอง แต่ยังไม่คลอ่ ง เดก็ กลา้ ทำมากขึ้นผูส้ อนกระตนุ้ น้อยลง ผู้สอนต้อง

คอยแกไ้ ขในบางครงั้ หรอื คอยให้กำลงั ใจใหเ้ ด็กฝึกปฏิบัติมากขึน้

๓ หรือ ดี เด็กแสดงไดอ้ ยา่ งชำนาญ คลอ่ งแคลว่ และภมู ใิ จ เด็กจะแสดงไดเ้ องโดย

ไมต่ ้องกระตนุ้ มีความสัมพันธ์ที่ดี

ตวั อย่างคำอธบิ ายคุณภาพ

พัฒนาการด้านร่างกาย : สุขภาพอนามยั พัฒนาการดา้ นรา่ งกาย : กระโดดเทา้ เดียว

ระดบั คุณภาพ คำอธบิ ายคุณภาพ ระดบั คุณภาพ คำอธบิ ายคุณภาพ

๑ หรอื ควรส่งเสริม ส่งเสรมิ ความสะอาด ๑ หรอื ควรสง่ เสริม ทำไดแ้ ตไ่ ม่ถูกต้อง

๒ หรือ พอใช้ สะอาดพอใช้ ๒ หรอื พอใช้ ทำได้ถกู ตอ้ งแตไ่ ม่คล่องแคล่ว

๓ หรอื ดี สะอาด ๓ หรอื ดี ทำไดถ้ กู ต้องและคลอ่ งแคล่ว

พฒั นาการด้านอารมณ์ : ประหยัด

ระดับคณุ ภาพ คำอธบิ ายคณุ ภาพ

๑ หรือ ควรสง่ เสริม ใชส้ ่ิงของเครอ่ื งใชเ้ กนิ ความจำเปน็

๒ หรือ พอใช้ ใช้สง่ิ ของเคร่อื งใชอ้ ยา่ งประหยัดเป็นบางคร้งั

๓ หรือ ดี ใช้สิ่งของเครื่องใชอ้ ย่างประหยัดตามความจำเปน็ ทุกคร้งั

๙๓

พัฒนาการด้านสังคม : ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง

ระดบั คณุ ภาพ คำอธบิ ายคณุ ภาพ

๑ หรอื ควรส่งเสรมิ ไมป่ ฏบิ ัติตามข้อตกลง

๒ หรอื พอใช้ ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง โดยมีผชู้ ี้นำหรอื กระตุน้

๓ หรือ ดี ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงได้ดว้ ยตนเอง

พัฒนาการดา้ นสติปัญญา : เขียนชือ่ ตนเองตามแบบ

ระดบั คุณภาพ คำอธบิ ายคณุ ภาพ

๑ หรือ ควรส่งเสรมิ เขยี นชื่อตนเองไมไ่ ด้ หรือเขียนเปน็ สัญลกั ษณ์ที่ไม่เป็นตัวอักษร

๒ หรอื พอใช้ เขยี นชื่อตนเองได้ มีอักษรบางตัวกลับหัว กลบั ดา้ นหรอื สลบั ที่

๓ หรอื ดี เขยี นช่อื เองได้ ตวั อักษรไม่กลับหวั ไมก่ ลบั ดา้ นไมส่ ลับที่

๒.๓.๒ การสรุปผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กำหนดเวลาเรียนสำหรับเด็กปฐมวัยต่อปี
การศึกษาไม่น้อยกว่า ๒๐๐ วัน สถานศึกษาจึงควรบริหารจัดการเวลาท่ีได้รบั นี้ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ
ต่อการพัฒนาเด็กอย่างรอบด้านและสมดุล ผู้สอนควรมีเวลาในการพัฒนาเด็กและเติมเต็มศักยภาพ
ของแด็ก เพ่ือใหก้ ารจัดประสบการณ์การเรียนรู้มปี ระสทิ ธภิ าพ ผู้สอนตอ้ งตรวจสอบพฤติกรรมที่แสดง
พัฒนาการของเด็กต่อเนื่องมีการประเมินซ้ำพฤติกรรมนั้นๆอย่างน้อย ๑ ครั้งต่อภาคเรียน เพื่อยืนยัน
ความเช่อื มนั่ ของผลการประเมนิ พฤติกรรมน้นั ๆ และนำผลไปเป็นข้อมูลในการสรุปการประเมินสภาพ
ที่พึงประสงค์ของเด็กในแต่ละสภาพที่พึงประสงค์ นำไปสรุปการประเมินตัวบ่งชี้และมาตรฐาน
คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ตามลำดบั
อนึ่ง การสรุประดับคุณภาพของการประเมินพัฒนาการเด็ก วิธีการทางสถิติที่เหมาะสมและ
สะดวกไม่ยุง่ ยากสำหรับผู้สอน คือ การใชฐ้ านนิยม (Mode) ในบางครงั้ พฤติกรรม หรอื สภาพท่ี
พึงประสงค์หรือตัวบ่งชี้นิยมมากว่า ๑ ฐานนิยม ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา กล่าวคือ เมื่อมี
ระดับคุณภาพซ้ำมากกว่า ๑ ระดับ สถานศึกษาอาจตัดสินสรุปผลการประเมินพัฒนาการบนพื้นฐาน
หลักพัฒนาการและการเตรียมความพร้อม หากเป็นภาคเรียนที่ ๑ สถานศึกษาควรเลือกตัดสินใจใช้
ฐานนิยมที่มีระดับคุณภาพต่ำกว่าเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาเด็กให้พร้อมมากขึ้น หากเป็นภาค
เรียนที่ ๒ สถานศึกษาควรเลือกตัดสินใจใช้ฐานนิยมที่มีระดับคุณภาพสงู กวา่ เพือ่ ตัดสินและการสง่ ต่อ
เด็กในระดบั ชั้นท่สี งู ข้ึน

๒.๓.๓ การเลือ่ นชั้นอนุบาลและเกณฑ์การจบการศึกษาระดบั ปฐมวยั
เมื่อสิ้นปีการศึกษา เด็กจะได้รับการเลื่อนชั้นโดยเด็กต้องได้รับการประเมินมาตรฐาน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ทั้ง ๑๒ ข้อ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อเป็นข้อมูลในการส่งต่อยอด
การพัฒนาให้กับเด็กในระดับสูงขึ้นต่อไป และเนื่องจากการศึกษาระดับอนุบาลเป็นการจัดการศึกษา
ขั้นพนื้ ฐานท่ไี มน่ ับเปน็ การศึกษาภาคบงั คับ จงึ ไมม่ กี ารกำหนดเกณฑ์การจบช้นั อนุบาล การเทียบโอน
การเรียน และเกณฑ์การเรียนซ้ำชั้น และหากเด็กมีแนวโน้มว่าจะมีปัญหาต่อการเรียนรู้ในระดับท่ี

๙๔

สูงขึ้น สถานศกึ ษาอาจตง้ั คณะกรรมการเพ่ือพิจารณาปัญหา และประสานกับหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องใน
การใหค้ วามช่วยเหลอื เชน่ เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขสง่ เสรมิ ตำบล นักจิตวทิ ยาฯลฯเข้ารว่ มดำเนินงานแกป้ ญั หาได้

อย่างไรก็ตาม ทักษะทนี่ ำไปสู่ความพร้อมในการเรียนรทู้ ่สี ามารถใชเ้ ป็นรอยเช่ือมต่อระหว่าง
ชนั้ อนุบาลกบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ ทค่ี วรพจิ ารณามีทักษะดังนี้

๑. ทักษะการช่วยเหลือตนเอง ได้แก่ ใช้ห้องน้ำ ห้องส้วมได้ด้วยตนเอง แต่งกายได้เอง เก็บ
ของเข้าท่เี มือ่ เล่นเสรจ็ และช่วยทำความสะอาด รจู้ กั ร้องขอให้ชว่ ยเม่อื จำเป็น

๒. ทกั ษะการใช้กล้ามเนือ้ ใหญ่ ได้แก่ วิ่งได้อยา่ งราบรนื่ ว่งิ กา้ วกระโดดได้ กระดว้ ยสองขาพ้น
จากพื้น ถอื จับ ขว้าง กระดอนลกู บอลได้

๓. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อเล็ก ได้แก่ ใช้มือหยิบจับอุปกรณ์วาดภาพและเขียน วาดภาพคนมี
แขน ขา และส่วนต่างๆของร่างกาย ตัดตามรอยเส้นและรูปต่างๆ เขยี นตามแบบอยา่ งได้

๔. ทักษะภาษาการรู้หนังสือได้แก่ พูดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ฟังและปฏิบัติตามคำชี้แจงง่ายๆ ฟัง
เรื่องราวและคำคล้องจองต่างๆอย่างสนใจ เข้าร่วมฟังสนทนาอภิปรายในเรื่องต่างๆ รู้จักผลัดกันพูด
โต้ตอบ เล่าเรื่องและทบทวนเรื่องราวหรือประสบการณ์ต่างๆ ตามลำดับเหตุการณ์เล่าเรื่องจาก
หนังสือภาพอยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผล อา่ นหรือจดจำคำบางคำที่มีความหมายต่อตนเอง เขียนชื่อตนเองได้
เขียนคำท่มี ีความหมายต่อตนเอง

๕. ทักษะการคิด ได้แก่ แลกเปลี่ยนความคิดและให้เหตุผลได้ จดจำภาพและวัสดุที่เหมือน
และต่างกันได้ ใช้คำใหม่ๆในการแสดงความคิด ความรู้สึก ถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
เปรยี บเทยี บจำนวนของวัตถุ ๒ กล่มุ โดยใช้คำ “มากกว่า” “น้อยกวา่ ” “เท่ากนั ” อธบิ ายเหตุการณ์/
เวลา ตามลำดับอยา่ งถกู ต้อง ร้จู กั เชือ่ มโยงเวลากบั กจิ วตั รประจำวัน

๖. ทักษะทางสังคมและอารมณ์ ได้แก่ ปรับตัวตามสภาพการณ์ ใช้คำพูดเพ่ือแกไ้ ขข้อขัดแย้ง
นั่งได้นาน ๕-๑๐ นาที เพื่อฟังเรื่องราวหรือทำกิจกรรม ทำงานจนสำเร็จ ร่วมมือกับคนอื่นและรู้จัก
ผลดั กันเล่น ควบคมุ อารมณต์ นเองได้เมื่อกงั วลหรือต่ืนเตน้ หยดุ เลน่ และทำในสง่ิ ทผ่ี ้ใู หญ่ต้องการให้ทำ
ได้ ภูมใิ จในความสำเรจ็ ของตนเอง

๓. การรายงานผลการประเมินพฒั นาการ
การรายงานผลการประเมินพัฒนาการเป็นการสื่อสารให้พ่อแม่ ผู้ปกครองได้รับทราบ

ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของเด็กซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินพัฒนาการ และจัดทำ
เอกสารรายงานใหผ้ ู้ปกครองทราบเป็นระยะๆ หรอื อย่างนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ ครงั้

การรายงานผลการประเมินพัฒนาการสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพที่แตกต่างไปตาม
พฤตกิ รรมที่แสดงออกถงึ พฒั นาการแตล่ ะด้าน ทสี่ ะท้อนมาตรฐานคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์
ท้งั ๑๒ ขอ้ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั

๓.๑ จดุ มงุ่ หมายการรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
๑) เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้อง พ่อ แม่ และผู้ปกครองใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไข

สง่ เสริม และพฒั นาการเรยี นรูข้ องเด็ก
๒) เพื่อให้ผ้สู อนใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการวางแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้

๙๕

๓) เพ่ือเป็นข้อมลู สำหรับสถานศึกษา เขตพืน้ ท่ีการศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัดใช้
ประกอบในการกำหนดนโยบายวางแผนในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา

๓.๒ ขอ้ มลู ในการรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
๓.๒.๑ ข้อมูลระดับชั้นเรียน ประกอบด้วย เวลาเรียนแบบบันทึกการประเมินพัฒนาการ

ตามหน่วยการจัดประสบการณ์ สมุดบันทึกผลการประเมินพัฒนาการประจำชั้นและสมุดรายงานประจำตัวนักเรียน
และสารนิทศั นท์ ส่ี ะท้อนการเรียนรู้ของเดก็ เป็นขอ้ มูลสำหรบั รายงานให้ผ้มู ีส่วนเก่ียวข้องได้แก่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
ผู้สอน และผู้ปกครอง ได้รับทราบความก้าวหน้า ความสำเร็จในการเรียนรู้ของเด็กเพื่อนำไปในการวางแผนกำหนด
เป้าหมายและวธิ กี ารในการพัฒนาเดก็

๓.๒.๒ ข้อมูลระดับสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย ผลการประเมนิ มาตรฐานคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์ทั้ง ๑๒ ข้อตามหลักสูตร เพื่อใช้เป็นข้อมูลและสารสนเทศในการ พัฒนาการจัด
ประสบการณก์ ารเรยี นการสอนและคุณภาพของเด็ก ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์
และแจ้งให้ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบข้อมูล โดยผู้มีหน้าที่รับผิดชอบแต่ละฝ่ายนำไป
ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาเด็กให้เกิดพัฒนาการอย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมทั้งนำไปจัดทำเอกสาร
หลกั ฐานแสดงพัฒนาการของผู้เรียน

๓.๒.๓ ข้อมูลระดบั เขตพืน้ ท่ีการศึกษา ได้แก่ ผลการประเมนิ มาตรฐานคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์ทัง้ ๑๒ ข้อ ตามหลักสูตรเป็นรายสถานศึกษา เพื่อเป็นข้อมูลที่ศกึ ษานเิ ทศก์/ผู้เกี่ยวข้อง
ใช้วางแผนและดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
เพือ่ ใหเ้ กิดการยกระดับคุณภาพเด็กและมาตรฐานการศึกษา

๓.๓ ลักษณะข้อมลู สำหรับการรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
การรายงานผลการประเมินพัฒนาการ สถานศึกษาสามารถเลือกลักษณะข้อมูลสำหรับการ
รายงานได้หลายรูปแบบให้เหมาะสมกับวธิ ีการรายงานและสอดคลอ้ งกับการให้ระดับผลการประเมนิ
พัฒนาการโดยคำนึงถึงประสทิ ธภิ าพของการรายงานและการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ของผู้รายงานแต่
ละฝา่ ยลกั ษณะขอ้ มูลมรี ปู แบบ ดังนี้

๓.๓.๑ รายงานเป็นตัวเลข หรือคำที่เป็นตัวแทนระดับคุณภาพพัฒนาการของเด็กท่ี
เกดิ จากการประมวลผล สรปุ ตัดสนิ ขอ้ มูลผลการประเมินพัฒนาการของเด็ก ไดแ้ ก่

- ระดบั ผลการประเมนิ พฒั นาการมี ๓ ระดบั คือ ๓ ๒ ๑
- ผลการประเมนิ คุณภาพ “ดี” “พอใช”้ และ “ควรส่งเสรมิ ”
๓.๓.๒ รายงานโดยใชส้ ถิติ เป็นรายงานจากข้อมูลทีเ่ ป็นตัวเลข หรือข้อความให้เปน็
ภาพแผนภูมิหรือเส้นพัฒนาการ ซึ่งจะแสดงให้เห็นพัฒนาการความกา้ วหน้าของเด็กว่าดีขึ้น หรือควร
ได้รับการพฒั นาอย่างไร เมื่อเวลาเปล่ียนแปลงไป
๓.๓.๓ รายงานเป็นขอ้ ความ เป็นการบรรยายพฤติกรรมหรอื คุณภาพที่ผูส้ อนสังเกต
พบ เพ่ือรายงานใหท้ ราบว่าผ้เู กย่ี วขอ้ ง พอ่ แม่ และผปู้ กครองทราบว่าเด็กมคี วามสามารถ มีพฤตกิ รรม
ตามคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ตามหลกั สตู รอย่างไร เช่น
- เด็กรบั ลูกบอลทก่ี ระดอนจากพน้ื ดว้ ยมือท้ัง๒ขา้ งไดโ้ ดยไม่ใชล้ ำตัวชว่ ยและลูกบอลไม่ตกพ้นื
- เดก็ แสดงสหี นา้ ทา่ ทางสนใจ และมคี วามสุขขณะทำงานทกุ ชว่ งกจิ กรรม

๙๖

- เด็กเลน่ และทำงานคนเดียวเปน็ สว่ นใหญ่
- เดก็ จบั หนังสือไม่กลับหัว เปิด และทำท่าทางอา่ นหนังสือและเล่าเรื่องได้

๓.๔ เป้าหมายของการรายงาน

การดำเนินการจัดการศึกษาปฐมวัย ประกอบด้วย บุคลากรหลายฝ่ายร่วมมือ

ประสานงานกันพัฒนาเด็กทางตรงและทางอ้อม ให้มีพัฒนาการ ทักษะ ความสามารถ คุณธรรม

จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์โดยผู้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องควรได้รับการายงานผลการ

ประเมินพัฒนาการของเด็กเพ่ือใช้เป็นขอ้ มลู ในการดำเนินงาน ดงั นี้

กลมุ่ เป้าหมาย การใชข้ อ้ มูล

ผู้สอน -วางแผนและดำเนนิ การปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาเด็ก
-ปรับปรุงแกไ้ ขและพัฒนาการจดั การเรียนรู้

ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา -ส่งเสริมพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรูร้ ะดับปฐมวยั ของสถานศกึ ษา

-รับทราบผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็ก

พอ่ แม่ และผู้ปกครอง -ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพฒั นาการเรียนรขู้ องเด็ก รวมทั้งการดูแลสขุ ภาพอนามยั ร่างกาย

อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และพฤติกรรมต่างๆของเด็ก

คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน -พัฒนาแนวทางการจดั การศึกษาปฐมวยั สถานศกึ ษา

สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา/ -ยกระดับและพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศึกษาในเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
หน่วยงานตน้ สงั กัด นิเทศ กำกับ ตดิ ตาม ประเมินผลและให้ความชว่ ยเหลือการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
ปฐมวยั ของสถานศึกษาในสงั กัด

๓.๕ วธิ กี ารรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการให้ผ้เู กยี่ วข้องรบั ทราบ สามารถดำเนนิ การ ไดด้ ังนี้

๓.๕.๑ การรายงานผลการประเมินพัฒนาการในดอกสารหลักฐานการศกึ ษา
ข้อมลู จากแบบรายงาน สามารถใช้อา้ งองิ ตรวจสอบ และรับรองผลพัฒนาการของเด็ก เช่น

- แบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ พัฒนาการประจำชนั้
- แฟ้มสะสมงานของเด็กรายบุคคล
- สมุดรายงานประจำตวั นกั เรียน
- สมดุ บันทึกสุขภาพเด็ก
ฯลฯ
๓.๕.๒ การรายงานคุณภาพการศกึ ษาปฐมวัยใหผ้ ้เู กี่ยวข้องทราบ
การรายงานคุณภาพการศึกษาปฐมวัยให้ผเู้ ก่ียวขอ้ งทราบสามารถรายงานไดห้ ลายวิธีเช่น
- รายงานคุณภาพการศึกษาปฐมวยั ประจำปี
- วารสาร/จุลสารของสถานศึกษา
- จดหมายสว่ นตัว
- การให้คำปรกึ ษา
- การใหพ้ บครูท่ีปรึกษาหรอื การประชุมเครือข่ายผปู้ กครอง
- การใหข้ อ้ มูลทางอินเตอร์เน็ตผ่านเว็ปไซต์ของสถานศึกษา

๙๗

การบริหารจดั การหลกั สตู ร

การนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพตามจุดหมายของ หลักสูตร
ผู้เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการหลักสูตรในระบบสถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร ผู้สอน พ่อแม่ หรือ
ผปู้ กครอง และชุมชนมบี ทบาทสำคญั ยิ่งต่อการพัฒนาคณุ ภาพของเด็ก

๑. บทบาทผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาปฐมวัย
การจัดการศึกษาแกเ่ ด็กปฐมวัยในระบบสถานศึกษาใหเ้ กิดประสทิ ธผิ ลสงู สดุ

ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาควรมบี ทบาท ดังนี้

๑.๑ ศึกษาทำความเขา้ ใจหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั และมวี สิ ยั ทศั นด์ ้านการจดั การศึกษาปฐมวยั
๑.๒ คัดเลอื กบคุ ลากรที่ทำงานกบั เด็ก เช่น ผู้สอน พ่ีเลยี้ ง อยา่ งเหมาะสม โดย
คำนึงถงึ คณุ สมบัตหิ ลกั ของบุคลากร ดังน้ี

๑.๒.๑ มวี ุฒิทางการศึกษาดา้ นการอนุบาลศกึ ษา การศึกษาปฐมวัย หรือผา่ น
การอบรมเก่ียวกับการจัดการศกึ ษาปฐมวัย

๑.๒.๒ มคี วามรักเด็ก จิตใจดี มีอารมณ์ขันและใจเย็น ให้ความเป็นกันเองกับเด็ก

อยา่ งเสมอภาค

๑.๒.๓ มีบุคลิกของความเปน็ ผู้สอน เขา้ ใจและยอมรับธรรมชาตขิ องเด็กตามวยั
๑.๒.๔ พดู จาสุภาพเรยี บร้อย ชัดเจนเปน็ แบบอย่างได้

๑.๒.๕ มีความเป็นระเบียบ สะอาด และรู้จักประหยดั
๑.๒.๖ มคี วามอดทนขยัน ซอื่ สัตยใ์ นการปฏบิ ตั งิ านในหน้าทีแ่ ละการปฏบิ ตั ิตอ่ เดก็
๑.๒.๗ มีอารมณ์รว่ มกับเด็ก ร้จู ักรบั ฟัง พจิ ารณาเร่ืองราวปัญหาตา่ งๆ ของเด็ก

และตัดสนิ ปญั หาต่างๆอย่างมีเหตผุ ลดว้ ยความเป็นธรรม
๑.๒.๘ มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตสมบรู ณ์

๑.๓ ส่งเสริมการจัดบริการทางการศึกษาให้เด็กไดเ้ ข้าเรยี นอยา่ งท่วั ถึง และเสมอ
ภาค และปฏบิ ัตกิ ารรับเด็กตามเกณฑ์ท่ีกำหนด

๑.๔ สง่ เสรมิ ให้ผูส้ อนและผทู้ ีป่ ฏบิ ัตงิ านกับเด็กพัฒนาตนเองมีความรกู้ ้าวหนา้ อย่เู สมอ

๑.๕ เป็นผู้นำในการจดั ทำหลกั สูตรสถานศึกษาโดยร่วมให้ความเห็นชอบ กำหนด
วสิ ัยทัศน์ และคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องเด็กทุกช่วงอายุ

๑.๖ สรา้ งความร่วมมือและประสานกบั บุคลากรทุกฝ่ายในการจัดทำหลกั สูตรสถานศึกษา

๑.๗ จัดใหม้ ขี ้อมลู สารสนเทศเกีย่ วกับตัวเดก็ งานวิชาการหลักสูตร อยา่ งเป็นระบบ
และมกี ารประชาสมั พนั ธ์หลักสูตรสถานศึกษา

๑.๘ สนบั สนุนการจัดสภาพแวดลอ้ มตลอดจนสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ที่เอ้ืออำนวยต่อการเรียนรู้

๑.๙ นิเทศ กำกบั ติดตามการใช้หลกั สูตร โดยจัดให้มรี ะบบนเิ ทศภายในอยา่ งมรี ะบบ
๑.๑๐ กำกับติดตามให้มีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาและนำผลจากการ
ประเมนิ ไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพเด็ก

๑.๑๑ กำกับ ติดตาม ให้มีการประเมินการนำหลักสูตรไปใช้ เพื่อนำผลจากการ
ประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาสาระของหลักสูตรของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของ
เดก็ บริบทสงั คมและให้มคี วามทนั สมัย

๙๘

๒. บทบาทผู้สอนปฐมวัย
การพัฒนาคุณภาพเด็กโดยถือว่าเด็กมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา

ต้องส่งเสริมให้เด็กสามารถพัฒนาตนตามธรรมชาติ สอดคล้องกับพัฒนาการและเต็มตามศักยภาพ
ดังนั้น ผู้สอนจึงมีบทบาทสำคัญยิ่งที่จะทำให้กระบวนการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวบรรลุผลอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ ผู้สอนจึงควรมีบทบาท / หนา้ ท่ี ดงั น้ี

๒.๑ บทบาทในฐานะผ้เู สริมสร้างการเรยี นรู้
๒.๑.๑ จัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กที่เด็กกำหนดขึ้นด้วยตัวเด็ก

เองและผู้สอนกับเดก็ รว่ มกันกำหนด โดยเสรมิ สรา้ งพฒั นาการเด็กให้ครอบคลมุ ทุกดา้ น
๒.๑.๒ ส่งเสริมให้เด็กใช้ข้อมูลแวดล้อม ศักยภาพของตัวเด็ก และหลักทาง

วชิ าการในการผลติ กระทำ หรอื หาคำตอบในส่งิ ท่เี ด็กเรยี นรู้อยา่ งมีเหตผุ ล
๒.๑.๓ กระตุ้นใหเ้ ด็กร่วมคิด แก้ปญั หา ค้นควา้ หาคำตอบด้วยตนเองด้วย

วธิ กี ารศึกษาท่ีนำไปสกู่ ารใฝ่รู้ และพฒั นาตนเอง
๒.๑.๔ จัดสภาพแวดล้อมและสร้างบรรยากาศการเรียนที่สร้างเสริมใหเ้ ด็ก

ทำกจิ กรรมไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพและความแตกตา่ งของเด็กแตล่ ะบุคคล
๒.๑.๕ สอดแทรกการอบรมด้านจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ในการ

จดั การเรยี นรู้ และกจิ กรรมต่างๆอย่างสม่ำเสมอ
๒.๑.๖ ใช้กิจกรรมการเลน่ เป็นส่ือการเรยี นรสู้ ำหรับเดก็ ให้เป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
๒.๑.๗ ใช้ปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้สอนและเด็กในการดำเนินกิจกรรมการ

เรยี นการสอนอย่างสมำ่ เสมอ
๒.๑.๘ จัดการประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสภาพจริงและนำผล

การประเมนิ มาปรับปรงุ พฒั นาคณุ ภาพเด็กเต็มศักยภาพ

๒.๒ บทบาทในฐานะผดู้ แู ลเด็ก
๒.๒.๑ สังเกตและส่งเสริมพัฒนาการเด็กทุกด้านทั้งทางด้านร่างกาย

อารมณ์ จิตใจ สงั คมและ สติปัญญา
๒.๒.๒ ฝึกใหเ้ ดก็ ชว่ ยเหลือตนเองในชวี ติ ประจำวนั
๒.๒.๓ ฝกึ ใหเ้ ดก็ มีความเชอ่ื มนั่ มีความภูมิใจในตนเองและกล้าแสดงออก
๒.๒.๔ ฝกึ การเรยี นรู้หน้าที่ ความมีวนิ ัย และการมีนิสัยท่ีดี
๒.๒.๕ จำแนกพฤตกิ รรมเดก็ และสรา้ งเสริมลักษณะนสิ ัยและแก้ปญั หาเฉพาะบคุ คล
๒.๒.๖ ประสานความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา บ้าน และชุมชน เพื่อให้

เดก็ ได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพและมีมาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์
๒.๓ บทบาทในฐานะนักพัฒนาเทคโนโลยีการสอน
๒.๓.๑ นำนวัตกรรม เทคโนโลยีทางการสอนมาประยกุ ต์ใช้ใหเ้ หมาะสมกับ

สภาพบรบิ ทสงั คม ชมุ ชน และท้องถิ่น
๒.๓.๒ ใช้เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ในชุมชนในการเสริมสร้างการเรียนรู้ให้แก่เด็ก

๙๙

๒.๓.๓ จัดทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อนำไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร /
กระบวนการเรียนรู้และพฒั นาส่ือการเรียนรู้

๒.๓.๔ พัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีคุณลักษณะของผู้ใฝ่รู้มี
วิสยั ทศั น์และทนั สมัยทันเหตกุ ารณใ์ นยุคของข้อมลู ข่าวสาร

๒.๔ บทบาทในฐานะผู้บรหิ ารหลกั สตู ร
๒.๔.๑ ทำหน้าทว่ี างแผนกำหนดหลักสูตร หน่วยการเรยี นรู้ การจัดกจิ กรรม

การเรยี นรู้ การประเมินผลการเรยี นรู้
๒.๔.๒ จัดทำแผนการจัดประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ ใหเ้ ด็กมีอิสระ

ในการเรียนรูท้ ้ังกายและใจ เปดิ โอกาสให้เดก็ เลน่ /ทำงาน และเรยี นร้ทู ้งั รายบุคคลและเปน็ กลุ่ม
๒.๔.๓ ประเมินผลการใช้หลักสูตร เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุง

พฒั นาหลักสตู รให้ทันสมยั สอดคลอ้ งกับความต้องการของ ผู้เรยี น ชมุ ชน และท้องถ่นิ

๓. บทบาทของพ่อแม่หรือผู้ปกครองเดก็ ปฐมวัย
การศึกษาระดับปฐมวัยเป็นการศึกษาที่จัดให้แก่เด็กที่ผู้สอนและพ่อแม่หรือ

ผู้ปกครองต้องสื่อสารกนั ตลอดเวลา เพื่อความเขา้ ใจตรงกันและพร้อมร่วมมอื กันในการจดั การศึกษา
ให้กบั เด็ก ดงั นน้ั พ่อแม่หรอื ผู้ปกครองควรมีบทบาทหน้าท่ี ดงั นี้

๓.๑ มีส่วนรว่ มในการกำหนดแผนพัฒนาสถานศกึ ษาและใหค้ วามเหน็ ชอบ กำหนด
แผนการเรียนรขู้ องเด็กรว่ มกับผู้สอนและเดก็

๓.๒ ส่งเสริมสนบั สนุนกิจกรรมของสถานศึกษา และกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
เดก็ ตามศักยภาพ

๓.๓ เปน็ เครือข่ายการเรยี นรู้ จัดบรรยากาศภายในบ้านใหเ้ ออ้ื ต่อการเรียนรู้
๓.๔ สนบั สนนุ ทรัพยากรเพื่อการศกึ ษาตามความเหมาะสมและจำเป็น
๓.๕ อบรมเลี้ยงดู เอาใจใส่ให้ความรัก ความอบอุ่น ส่งเสริมการเรียนรู้และ
พฒั นาการด้านตา่ ง ๆ ของเด็ก
๓.๖ ป้องกันและแกไ้ ขปัญหาพฤติกรรมที่ไมพ่ ึงประสงค์ตลอดจนส่งเสริมคุณลักษณะ
ทพี่ งึ ประสงค์ โดยประสานความร่วมมือกบั ผสู้ อน ผเู้ ก่ยี วขอ้ ง
๓.๗ เป็นแบบอย่างที่ดีทั้งในด้านการปฏิบัติตนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และมี
คุณธรรมนำไปส่กู ารพัฒนาใหเ้ ป็นสถาบันแห่งการเรียนรู้
๓.๘ มีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียนรู้ของเด็กและในการประเมินการจัด
การศึกษาของสถานศกึ ษา

๔. บทบาทของชุมชน
การปฏิรูปการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้กำหนดให้
ชุมชนมีบทบาทในการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดยให้มีการประสานความร่วมมือเพื่อ ร่วมกัน
พัฒนาผู้เรยี นตามศกั ยภาพ ดังนนั้ ชุมชนจึงมบี ทบาทในการจัดการศกึ ษาปฐมวัย ดังนี้

๑๐๐

๔.๑ มีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา ในบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา
สมาคม / ชมรมผู้ปกครอง

๔.๒ มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการ
ดำเนนิ การของสถานศึกษา

๔.๓ เป็นศูนย์การเรียนรู้ เครือข่ายการเรียนรู้ ให้เดก็ ไดเ้ รยี นรแู้ ละมีประสบการณ์
จากสถานการณจ์ ริง

๔.๔ ให้การสนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมการเรียนร้ขู องสถานศึกษา
๔.๕ ส่งเสริมให้มีการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอก
และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กทุกด้าน รวมทั้งสืบสานจารีตประเพณี
ศิลปวฒั นธรรมของท้องถิ่นและของชาติ
๔.๖ ประสานงานกับองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้สถานศึกษาเป็นแหล่ง
วทิ ยาการของชุมชน และมสี ่วนในการพัฒนาชมุ ชนและทอ้ งถ่นิ
๔.๗ มีส่วนรว่ มในการตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา
ทำหน้าทเ่ี สนอแนะในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

การเช่อื มต่อของการศกึ ษาระดับปฐมวัยกับระดับประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
การเชื่อมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ มีความสำคัญอย่างยิ่ง

บุคลากรทุกฝ่ายจะต้องให้ความสนใจต่อการช่วยลดช่องว่างของความไม่เข้าใจในการจัดการศึกษาท้ัง
สองระดบั ซึ่งจะสง่ ผลต่อการจดั การเรียนการสอน ตวั เด็ก ครู พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และบุคลากรทางการ
ศึกษาอื่นๆทั้งระบบ การเชื่อมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกบั ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ จะประสบ
ผลสำเรจ็ ได้ตอ้ งดำเนนิ การดังต่อไปนี้

๑. ผบู้ ริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นบุคคลสำคัญที่มีบทบาทเป็นผู้นำในการเชื่อมต่อโดยเฉพาะระหว่าง
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในช่วงอายุ ๔ – ๖ ปี กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานในช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี ๑ โดยต้องศกึ ษาหลักสูตรทั้งสองระดบั เพื่อทำความเข้าใจ จัดระบบการบริหารงาน
ดา้ นวิชาการทีจ่ ะเอ้ือต่อการเชื่อมโยงการศึกษาโดยการจัดกิจกรรมเพ่ือเช่ือมต่อการศึกษา ดังตัวอย่าง
กิจกรรมตอ่ ไปน้ี

๑.๑ จัดประชมครูระดับปฐมวัยและครูระดับประถมศึกษาร่วมกันสร้างรอยเชื่อมต่อของ
หลักสูตรทั้งสองระดับให้เป็นแนวปฏิบัติของสถานศึกษาเพื่อครูทั้งสองระดับจะได้เตรียมการสอนให้
สอดคล้องกับเดก็ วัยนี้

๑.๒ จัดหารเอกสารด้านหลักสูตรและเอกสารทางวิชาการของทั้งสองระดับมาไว้ให้ครู
และบุคลากรอ่นื ๆไดศ้ ึกษาทำความเข้าใจ อยา่ งสะดวกและเพียงพอ

๑.๓ จัดกิจกรรมใหค้ รูท้งั สองระดับมโี อกาสแลกเปล่ยี นเผยแพรค่ วามรู้ใหม่ๆ ที่ได้รับจาก
การอบรม ดงู าน ซ่ึงไม่ควรจดั ให้เฉพาะครใู นระดับเดยี วกนั เทา่ น้นั

๑๐๑

๑.๔ จัดเอกสารเผยแพร่ตลอดจนกิจกรรมสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ ระหว่างสถานศึกษา
พอ่ แม่ ผปู้ กครองและบุคลากรทางการศกึ ษาอย่างสม่ำเสมอ

๑.๕ จัดให้มีการพบปะ หรือการทำกิจกรรมร่วมกับพ่อแม่ ผู้ปกครองอย่างสม่ำเสมอ
ต่อเนื่อง ในระหว่างที่เด็กอยู่ในระดับปฐมวัย เพื่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง จะได้สร้างความเข้าใจและ
สนับสนนุ การเรยี น การสอนของบตุ รหลานตนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

๑.๖ จดั กิจกรรมใหค้ รทู งั้ สองระดบั ได้ทำกจิ กรรมรว่ มกันกับพอ่ แม่ ผ้ปู กครองและเด็กใน
บางโอกาส

๑.๗ จัดกิจกรรมปฐมนิเทศพ่อแม่ ผู้ปกครองอย่างน้อย ๒ ครั้ง คือ ก่อนเด็กเข้าเรียน
ระดับปฐมวัยศึกษาและก่อนเด็กจะเลื่อนขึ้นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครองเข้าใจ
การศึกษาทั้งสองระดับและให้ความร่วมมือในการช่วยเด็กให้สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ใหมไ่ ดด้ ี

๒. ครูระดบั ปฐมวัย
ครูระดับปฐมวัย นอกจากจะต้องศึกษาทำความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และจัด
กิจกรรมพัฒนาเด็กของตนแล้ว ควรศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดการเรียนการสอนใน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และสร้างความเข้าใจให้กับพ่อแม่ ผู้ปกครองและบุคลากรอื่นๆ รวมทั้ง
ช่วยเหลือเด็กในการปรับตัวก่อนเลื่อนขึ้นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โดยครูอาจจัดกิจกรรมดังตัวอย่าง
ตอ่ ไปน้ี

๒.๑ เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตวั เดก็ เป็นรายบุคคลเพื่อสง่ ต่อครูชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
ซึ่งจะทำให้ครูระดับประถมศึกษาสามารถใช้ข้อมูลนั้นช่วยเหลือเด็กในการปรับตัวเข้ากับการเรียนรู้
ใหมต่ อ่ ไป

๒.๒ พูดคุยกับเด็กถึงประสบการณ์ที่ดีๆ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ในระดับชั้น
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เพือ่ ให้เด็กเกิดเจตคตทิ ่ีดตี อ่ การเรียนรู้

๒.๓ จัดให้เด็กได้มีโอกาสทำความรู้จักกับครูตลอดจนสภาพแวดล้อม บรรยากาศของ
หอ้ งเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ทง้ั ทอี่ ยูใ่ นสถานศึกษาเดยี วกนั หรือสถานศกึ ษาอนื่

๓. ครูระดบั ประถมศึกษา
ครูระดับประถมศึกษาต้องมีความรู้ ความเข้าใจในพัฒนาการเด็กปฐมวัยและมีเจตคติที่ดีต่อ
การจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยเพื่อนำมาเป็นข้อมลู ในการพัฒนาจัดการเรียนรู้ใน
ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ของตนให้ต่อเนื่องกบั การพฒั นาเด็กในระดบั ปฐมวยั ดงั ตัวอย่าง ต่อไปน้ี

๓.๑ จดั กจิ กรรมใหเ้ ดก็ พอ่ แม่ และผปู้ กครอง มีโอกาสไดท้ ำความรจู้ ักคุน้ เคยกับครูและ
หอ้ งเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ก่อนเปิดภาคเรยี น

๑๐๒

๓.๒ จัดสภาพห้องเรียนให้ใกล้เคียงกับห้องเรียนระดับปฐมวัย โดยจัดให้มี มุม
ประสบการณ์ภายในห้องเพื่อให้เด็กได้มีโอกาสทำกิจกรรมได้อย่างอิสระเช่น มุมหนังสือ มุมของเล่น
มุมเกมการศึกษา เพื่อชว่ ยให้เด็กชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ได้ปรับตัวและเรยี นร้จู ากการปฏิบัตจิ รงิ

๓.๓ จัดกิจกรรมร่วมกันกับเดก็ ในการสร้างข้อตกลงเกย่ี วกบั การปฏิบัติตน
๓.๔ เผยแพรข่ า่ วสารด้านการเรียนร้แู ละสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกบั เด็ก พอ่ แม่ ผปู้ กครอง
และชุมชน
๔. พ่อแม่ ผู้ปกครองและบุคลากรทางการศกึ ษา
พ่อแม่ ผู้ปกครอง และบุคลากรทางการศึกษาต้องทำความเข้าใจหลักสูตรของการศึกษาท้ัง
สองระดับ และเข้าใจว่าถึงแม้เด็กจะอยู่ในระดับประถมศึกษาแล้วแต่เด็กยงั ต้องการความรักความเอา
ใจใส่ การดูแลและการปฏิสัมพันธท์ ี่ไม่ได้แตกต่างไปจากระดับปฐมวัย และควรให้ความร่วมมือกับครู
และสถานศึกษาในการช่วยเตรียมตวั เด็ก เพือ่ ให้เดก็ สามารถปรับตวั ได้เร็วยิ่งขนึ้

การกำกับ ติดตาม ประเมนิ และรายงาน
การจัดสถานศึกษาปฐมวัยมีลักการสำคัญในการให้สังคม ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัด

การศึกษาและกระจายอำนาจการศึกษาลงไปยังท้องถิ่นโดยตรง โดยเฉพาะสถานศึกษาหรือสถาน
พัฒนาเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นผู้จัดการศึกษาในระดับนี้ ดังนั้น เพื่อให้ผลผลิตทางการศึกษาปฐมวัยมี
คุณภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
จำเป็นต้องมรี ะบบการกำกบั ติดตาม ประเมินและรายงานท่ีมปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ให้ทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่มี
ส่วนร่วมรับผิดชอบในการจัดการศึกษา เห็นความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค ตลอดจนการให้ความ
ร่วมมือช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน การวางแผน และดำเนินงานการจัดการศึกษาปฐมวัยให้มี
คุณภาพอย่างแทจ้ รงิ

การกำกับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลการจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการบริหารการศึกษาและระบบการประกันคุณภาพที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพ่ือ
นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย สร้างความมั่นใจให้ผู้เกี่ยวข้อง โดยต้องมี
การดำเนินการที่เป็นระบบเครือขา่ ยครอบคลมุ ทั้งหนว่ ยงานภายในและภายนอกต้ังแต่ระดบั ชาติ เขต
พื้นที่ทุกระดับละทุกอาชีพ การกำกับดูแลประเมินผลต้องมีการรายงานผลจากทุกระดับให้ทุกฝ่าย
รวมทั้งประชาชนทั่วไปทราบ เพื่อนำข้อมูลจากรายงานผลมาจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยตอ่ ไป

๑๐๓

รายการอ้างอิง
กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่นิ กระทรวงมหาดไทย. แนวการจัดกิจกรรมเตรียมประสบการณต์ ามหลกั สูตร

การศกึ ษาปฐมวัย ของสถานศึกษาสังกัดองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกดั , ๒๕๔๗.
คำแก้ว ไกรสรพงษ.์ การสอนแบบมอนเทสซอรี่. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2551
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน, สำนกั งาน. คมู่ อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560
สำหรบั เดก็ อายุ 3-6 ปี. เอกสารอดั สำเนา, 2561.
จิรพนั ธ์ พูลพัฒน.์ การสอนแบบมอนเตสซอร่ี จากทฤษฎสี ู่แนวทางนำไปปฎิบัติ. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท
เดอะมาสเตอร์กรปุ๊ แมเนจเม้นท์, 2554
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาต.ิ ตัวบง่ ชีส้ ภาพท่ีพงึ ประสงค์และเกณฑ์การประเมนิ ระดับก่อน
ประถมศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษาเพ่ือการประเมนิ คุณภาพภายนอกระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน.
เอกสารอดั สำเนา, ๒๕๔๕
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. คมู่ ือการจดั ประสบการณ์การเรียนรสู้ ำหรับเดก็ ปฐมวัย.
กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว, ๒๕๔๖
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน. คมู่ ือการประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๖
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. การเรยี นรู้ของเดก็ ปฐมวัยไทย : ตามแนวคดิ มอนเตสซอร่ี.
กรงุ เทพมหานคร, ๒๕๔๖
สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน, สำนกั งาน. คู่มอื การจัดการเรียนรู้
คละชั้นระดับปฐมวัย ในโรงเรียนขนาดเลก็ ตามแนวทางมอนเทสซอรี่. กรงุ เทพมหานคร , ๒๕๕๖


Click to View FlipBook Version