มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพของเดก็ ปฐมวัย
ประเด็นตวั บ่งช้ีท่ี 3.7.๑ ข เดก็ มพี ัฒนาการด้านสังคม คุณธรรม มีวินัย และควา
ประเด็นพจิ ารณายอ่ ยข้อ 3.7.1 เด็กมปี ฏิสมั พนั ธก์ บั ผู้อ่ืนได้อย่างสมวัย และแส
รายละเอยี ดการพจิ ารณาเดก็ มปี ฏสิ มั พันธก์ ับผอู้ นื่ ได้อย่างสมวยั จากการปฏบิ ตั ิต่าง
ถงึ ยอมรับความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
รายละเอียดเกณฑก์ ารพิจารณา เอกสาร/
เด็กมปี ฏสิ ัมพันธก์ ับผู้อน่ื ได้อย่างสมวยั และแสดงออก 1.แบบบันทึกการสงั เกต
ถงึ ยอมรบั ความแตกต่างระหว่างบคุ คล 2.มีการตดิ ตาม และบนั
3.บันทึกการตดิ ตามประ
เรยี นรู้
4. แบบบันทกึ พฒั นากา
5.สมรรถนะของเดก็ ปฐ
6.ค่มู ือเฝา้ ระวงั และส่ง
7.แผนจัดประสบการณ
สรปุ ผลกา
เกณฑ์การประเมินคณุ ภาพประเดน็ การพิจารณา ผา่ นเกณฑข์ นั้ ต้น (1)
ต้องปรับปรุง (0) เดก็ มีพฒั นาการสมวัย
เดก็ มีพฒั นาการสมวัยตำ่ กวา่ ร้อยละ 75-7๙
ร้อยละ 75
ามเป็นพลเมืองดี
สดงออกถงึ ยอมรับความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
งๆ ผ่านการเรียนรูท้ างสงั คม เชน่ การเลน่ การทำงานกับผอู้ ืน่ หรือกลุ่มเพ่ือน และแสดงออก
/หลกั ฐาน/โครงการ/กิจกรรม เกณฑก์ ารพิจารณา หมายเหตุ
ตพฤติกรรม √
นทึกการใชภ้ าษาของเด็กอยา่ งสมำ่ เสมอ √
ะเมนิ ผลหลังการจัดกิจกรรมตามสาระการ √
ารตามวัยรายบคุ คล √
ฐมวยั ในการพฒั นาการตามวัย (๓-๕ ป)ี √
งเสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย (DSPM) √
ณ/์ บนั ทึกหลงั สอน √
ารประเมนิ เกณฑ์การพิจารณา (ข้อ)
ร้อยละ 90
ระดับคณุ ภาพ =
ดมี าก
ดี (2) ดมี าก (3)
เดก็ มีพฒั นาการสมวยั เดก็ มีพฒั นาการสมวัย
รอ้ ยละ ๘0-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขึ้นไป
มาตรฐานที่ 3 คุณภาพของเด็กปฐมวัย
ประเดน็ ตวั บ่งชี้ที่ 3.7.๒ ข เด็กมพี ัฒนาการดา้ นสงั คม คุณธรรม มวี ินยั และควา
ประเด็นพจิ ารณาย่อยข้อ 3.7.2 เด็กมคี วามเมตตา กรุณา มีวนิ ยั ซ่อื สัตย์ รบั ผิด
รายละเอียดการพิจารณาเด็กแสดงความรักเพื่อนและเมตตาต่อสตั วเ์ ลี้ยง และแสด
เลน่ และทำกิจกรรมรว่ มกัน ไมท่ ำร้าย ว่ารา้ ย เอารดั เอาเปรยี บตอ่ คน สตั ว์ และทำล
ของสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั /โรงเรยี นอนบุ าล สามารถบอกไดว้ ่าสงิ่ ของใดเปน็ ของต
ช่วยเหลอื และดูแลตวั เองทำกิจวัตรประจำวนั ทำส่งิ ท่ีได้รบั มอบหมายจนสำเรจ็ เด็ก
การใชท้ างม้าลาย สัญญาณจราจร
รายละเอียดเกณฑ์การพจิ ารณา เอกสาร/
เดก็ มคี วามเมตตา กรณุ า มีวินยั ซ่อื สตั ย์ รับผดิ ชอบต่อ 1.แบบบนั ทึกการสังเกต
ตนเองและส่วนรวม และมีค่านิยมทพี่ ่ึงประสงค์สมวัย ๒.บันทึกการตดิ ตามประ
เรียนรู้
๓. แบบบนั ทึกพัฒนากา
๔.สมรรถนะของเดก็ ปฐ
๕.คูม่ อื เฝา้ ระวงั และส่ง
๖.แผนจดั ประสบการณ
๗. หลกั สูตรการศึกษาป
สรุปผลกา
เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพประเดน็ การพจิ ารณา ผ่านเกณฑ์ข้นั ต้น (1)
ต้องปรบั ปรุง (0) เดก็ มีพฒั นาการสมวัย
เดก็ มีพัฒนาการสมวัยต่ำกวา่ ร้อยละ 75-7๙
รอ้ ยละ 75
ามเป็นพลเมอื งดี
ดชอบต่อตนเองและส่วนรวม และมีคา่ นยิ มที่พง่ึ ประสงค์สมวัย
ดงความเอ้อื อาทรด้วยการปลอบใจช่วยเหลือเพื่อนและสัตวเ์ ลย้ี งทเ่ี จบ็ หรือลำบาก ระหวา่ ง
ลายส่งิ ของ และดแู ลตวั เองทำกจิ วตั รประจำวนั ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง กฎระเบียบของห้อง
ตนหรือของผู้อื่น เล่นของเลน่ แลว้ เกบ็ เข้าท่ี เข้าแถวเม่ือต้องรบั ของหรือซอ้ื ของ รับผดิ ชอบ
กรู้จกั หน้าทปี่ ฏิบัติตามกฎระเบียบ ในบา้ นชุมชน และกฎจราจรเบื้องตน้ ในการเดินทาง เชน่
/หลกั ฐาน/โครงการ/กจิ กรรม เกณฑก์ ารพจิ ารณา หมายเหตุ
ตพฤติกรรม √
ะเมินผลหลังการจดั กิจกรรมตามสาระการ √
ารตามวัยรายบคุ คล √
ฐมวยั ในการพัฒนาการตามวยั (๓-๕ ปี) √
งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั (DSPM) √
ณ์/บนั ทึกหลังสอน √
ปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖0 √
ารประเมนิ เกณฑ์การพจิ ารณา (ข้อ) รอ้ ยละ 85
ระดบั คณุ ภาพ = ดีมาก
ดี (2) ดีมาก (3)
เดก็ มีพฒั นาการสมวยั เด็กมีพฒั นาการสมวยั
ร้อยละ ๘0-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ข้นึ ไป
มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพของเดก็ ปฐมวัย
ประเด็นตัวบง่ ชี้ที่ 3.7.๓ ข เดก็ มีพฒั นาการดา้ นสังคม คุณธรรม มีวนิ ัย และควา
ประเด็นพจิ ารณายอ่ ยข้อ 3.7.3 เด็กสามารถเลน่ และทำงานร่วมกบั ผูอ้ น่ื เปน็ กล
รายละเอยี ดการพจิ ารณา เดก็ เริ่มเล่นและทำงานรว่ มกบั ผู้อ่ืนเปน็ กลมุ่ ไดต้ ามวยั โด
หรอื แข่งกันอย่างยุตธิ รรมและทำอย่างตอ่ เน่ืองจนสำเรจ็ เป็นไดท้ ัง้ ผูน้ ำและผตู้ าม ส
ร่วมกนั ตดั สนิ ใจเลือกทำในทางท่ีดีที่สดุ สำหรบั กลมุ่ แก้ไขข้อขดั แยง้ อย่างสร้างสรรค์
รายละเอยี ดเกณฑ์การพิจารณา เอกสาร/
เด็กสามารถเลน่ และทำงานรว่ มกบั ผ้อู น่ื เปน็ กล่มุ เป็นได้ 1.แบบบนั ทึกการสังเกต
ท้งั ผนู้ ำและผู้ตาม แก้ไขข้อขัดแยง้ อยา่ งสร้างสรรค์ ๒.บนั ทึกการติดตามประ
เรียนรู้
๓. แบบบนั ทกึ พัฒนากา
๔.สมรรถนะของเด็กปฐ
๕.คู่มือเฝ้าระวงั และส่ง
๖.แผนจดั ประสบการณ
๗. หลกั สตู รการศกึ ษาป
สรปุ ผลกา
เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพประเด็นการพจิ ารณา ผา่ นเกณฑข์ ัน้ ตน้ (1)
ต้องปรับปรุง (0) เดก็ มีพัฒนาการสมวัย
เดก็ มีพัฒนาการสมวยั ตำ่ กว่า รอ้ ยละ 75-7๙
รอ้ ยละ 75
ามเป็นพลเมอื งดี
ลุ่มเป็นไดท้ ัง้ ผนู้ ำและผตู้ าม แกไ้ ขข้อขดั แยง้ อย่างสรา้ งสรรค์
ดยท่มี ีครแู นะนำ ต่อมาเดก็ ทำไดเ้ องในการตกลงเปา้ หมาย แบง่ หน้าท่ี มีกติกาในการชว่ ยกัน
สับเปล่ียนกนั ไป แสดงความเปน็ ตวั เอง และรับฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ื่น
เช่น ประนีประนอม ต่อรองโดยไม่ใช้ความกา้ วรา้ ว
/หลักฐาน/โครงการ/กจิ กรรม เกณฑก์ ารพิจารณา หมายเหตุ
ตพฤติกรรม √
ะเมินผลหลังการจัดกจิ กรรมตามสาระการ √
ารตามวัยรายบคุ คล √
ฐมวยั ในการพัฒนาการตามวัย (๓-๕ ป)ี √
งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั (DSPM) √
ณ์/บันทึกหลังสอน √
ปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖0 √
ารประเมินเกณฑ์การพจิ ารณา (ข้อ) ร้อยละ 85
ระดับคุณภาพ = ดมี าก
ดี (2) ดมี าก (3)
เด็กมีพฒั นาการสมวัย เด็กมีพฒั นาการสมวัย
ร้อยละ ๘0-๘๔ รอ้ ยละ ๘๕ ขึ้นไป
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพของเด็กปฐมวัย
ประเดน็ ตวั บ่งช้ที ่ี 3.7.๔ ข เดก็ มพี ัฒนาการด้านสังคม คุณธรรม มวี ินัย และควา
ประเด็นพิจารณายอ่ ยข้อ 3.7.๔ เด็กภาคภมู ิใจทเี่ ป็นสมาชิกทีด่ ใี นครอบครวั ชุม
ภูมภิ าคอาเซยี น
รายละเอยี ดการพิจารณา เด็กภาคภูมิใจท่เี ป็นสมาชกิ ท่ดี ีในครอบครัว รู้สถานภาพ
ปา้ เด็กรูช้ ่ือและบอกลกั ษณะของชุมชน และสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย เล่าถึงสิ่งทชี่ อ
และภูมภิ าคอาเซยี น บอกไดว้ ่าเปน็ คนไทย/อยใู่ นประเทศไทย รอ้ งเพลงชาติ รู้จักเค
รายละเอียดเกณฑก์ ารพิจารณา เอกสาร/
เด็กภาคภูมิใจที่เป็นสมาชกิ ท่ีดใี นครอบครัว ชุมชน 1.แบบบันทกึ การสังเกต
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และตะหนักถึงความเป็น ๒.บนั ทกึ การตดิ ตามประ
พลเมอื งดีของประเทศไทย และภูมิภาคอาเซยี น เรียนรู้
๓. แบบบันทกึ พฒั นากา
๔.สมรรถนะของเดก็ ปฐ
๕.ค่มู ือเฝ้าระวงั และสง่
๖.แผนจัดประสบการณ
๗. หลกั สตู รการศึกษาป
สรุปผลกา
เกณฑ์การประเมินคณุ ภาพประเดน็ การพจิ ารณา ผา่ นเกณฑ์ขั้นต้น (1)
ตอ้ งปรับปรงุ (0) เด็กมีพัฒนาการสมวัย
เด็กมีพัฒนาการสมวยั ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 75-7๙
ร้อยละ 75
ามเป็นพลเมืองดี
มชน สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั และตะหนักถงึ ความเปน็ พลเมืองดีของประเทศไทย และ
พของตน เช่น บอกว่าเป็นลูกของพอ่ แม่ เปน็ หลานตาชูท่ีขายอาหาร โตขน้ึ จะเปน็ หมอเหมอื น
อบ และมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมของส่วนร่วม ตระหนักถึงความเปน็ พลเมอื งดีของประเทศไทย
คารพธงชาติ รู้ช่ือประเทศเพ่ือนบ้านทอ่ี ยู่ในภมู ิภาคอาเซียน
/หลกั ฐาน/โครงการ/กจิ กรรม เกณฑ์การพจิ ารณา หมายเหตุ
ตพฤติกรรม √
ะเมินผลหลังการจัดกจิ กรรมตามสาระการ √
ารตามวยั รายบุคคล √
ฐมวัยในการพฒั นาการตามวยั (๓-๕ ป)ี √
งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) √
ณ์/บนั ทึกหลังสอน √
ปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖0 √
ารประเมินเกณฑ์การพจิ ารณา (ข้อ) รอ้ ยละ 95
ระดับคณุ ภาพ = ดมี าก
ดี (2) ดีมาก (3)
เดก็ มีพฒั นาการสมวยั เด็กมีพัฒนาการสมวยั
ร้อยละ ๘0-๘๔ ร้อยละ ๘๕ ขึ้นไป
สว่ นท่ี ๓
สรุปผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการการชว่ ยเหลอื
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสาสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะต้องนำไป
วิเคราะห์สังเคราะห์ เพื่อสรุปนำไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนาคุณภาพการ จัด
การศึกษาของสถานศึกษา และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาดงั นั้น จากผล
การดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละ
มาตรฐานพร้อมทง้ั แนวทางการพฒั นาในอนาคตเพ่ือให้ไดม้ าตรฐานท่ีสูงขึ้นและความต้องการชว่ ยเหลอื ดงั น้ี
ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย
ในปกี ารศกึ ษา 2564 ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กสบแม่ข่า มผี ลการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโดยสรปุ ดงั นี้
1. ผลการดำเนินงานในภาพรวม
1.1 ด้านการบริหารจดั การศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า มีการจัดโครงสร้างการบริหารอย่างเป็นระบบ และสนับสนุน
กจิ กรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ มอบหมายงานให้ครูผู้ดูแลเด็ก รับผิดชอบงาน
ตามความถนัดและความสามารถของแตล่ ะบุคคล ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ขา่ มกี ารจัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษา และกระบวนการเรียนรู้ แผนการจัดประสบการ ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายตาม
ศกั ยภาพ และมีโครงการสนบั สนนุ การเรยี นรู้
ข้อจำกัดคือ อาคารเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า สภาพแวดล้อมและสถานท่ียังไม่
เอ้อื อำนวยในการจัดกิจกรรมกลางแจ้งเท่าที่ควร โดยเฉพาะกิจกรรมหนา้ เสาธง เดก็ ตอ้ งยนื กลางแดด เพราะยัง
ไมม่ ีตน้ ไมใ้ หญ่ เครื่องเล่นสนามเด็กเลน่ กลางแจง้ กย็ งั ไม่เพยี งพอ
1.2 ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนร้เู พื่อสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็
ครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้และประสบการณ์ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ จัดกิจกรรมท่ี
หลากหลาย มกี ารพัฒนาตนเองอยา่ งสมำ่ เสมอ มีการจัดทำและสรา้ งสรรค์สือ่ ใหมๆ่ เพือ่ ใช้ในการสอน
1.3 ด้านคุณภาพผเู้ รยี น
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า มีผลการดำเนินงานในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เด็กทุกคน
ไดร้ ับการอบรมส่ังสอนให้เป็นผู้มีความรู้ มีพัฒนาการตามวัย มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มีคุณลักษณะอัน
พงึ ประสงค์ มีคุณธรรม จริยธรรม และรักความเปน็ ไทย สามารถอยรู่ ว่ มกับผูอ้ ื่นในสงั คมได้อย่างมีความสขุ
2. ผลสำเรจ็ ทเี่ ปน็ จดุ เดน่ และจดุ ท่คี วรพฒั นา
2.1 ด้านการบริหารจัดการศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก
จุดเดน่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่ามีการจัดโครงสร้างการบริหารอย่างเป็นระบบและสนับสนุน
กจิ กรรมการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ มอบหมายงานใหค้ รผู ู้ดแู ลเดก็ รับผิดชอบงานตามความถนัด
และความสามารถของแต่ละบุคคล ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า มีการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
และกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายตามศักยภาพ และมีโครงการสนับสนุนการ
เรียนรู้
จุดท่ีควรพัฒนา อาคารเรยี นของศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ สบแม่ข่า และสภาพแวดล้อมและสถานท่ียังไม่
เอื้ออำนวยในการจัดกิจกรรมกลางแจ้งเทา่ ทคี่ วร โดยเฉพาะกิจกรรมหน้าเสาธง เด็กตอ้ งยืนกลางแดด เพราะยัง
ไม่มีตน้ ไม้ใหญ่ เครื่องเลน่ สนามเด็กเล่นกลางแจ้งก็ยงั ไม่เพียงพอ
2.2 ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พอ่ื สง่ เสรมิ พัฒนาการเด็ก
จุดเด่น ครูผู้ดูแลเด็กทุกคนมีความรู้และประสบการณ์ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ จัด
กจิ กรรมทีห่ ลากหลาย มกี ารพฒั นาตนเองอยา่ งสมำ่ เสมอ มจี รรยาบรรณของความเปน็ ครู
จดุ ที่ควรพัฒนา การใช้แหล่งเรียนรเู้ ก่ยี วกับภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ยังไมค่ รอบคลุมและท่ัวถงึ เท่าที่ควร
2.3 ดา้ นคณุ ภาพผูเ้ รียน
จุดเด่น เด็กนักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีผลการดำเนินงานในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
เด็กทุกคนได้รับการอบรมส่ังสอนให้เป็นผู้มีความรู้ มีพัฒนาการตามวัย มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีคุณธรรม จริยธรรม และรักความเป็นไทย สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้
อย่างมคี วามสขุ
จุดที่ควรพัฒนา เด็กนักเรียนบางคนไม่ได้รับการอบรมเล้ียงดูอย่างต่อเน่ือง เพราะต้องย้ายถ่ินฐาน
ตามผปู้ กครอง ทำใหม้ ีพฒั นาการท่ลี า่ ชา้ กวา่ คนอื่น
3. แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพเพ่ือยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานใหส้ งู ขึน้
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า ได้ประเมินผลการดำเนินงานในรอบปีการศึกษา 2564 ทำให้รู้ว่ามี
จุดเด่นที่ควรดำเนินการต่อไปเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการจัดการศึกษา และมีจุดท่ีควรพัฒนา ซึ่งจะต้อง
กำหนดให้มีแผนในการพัฒนาที่ชดั เจนเน้นการมีส่วนร่วมระหวา่ งศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้มี
สว่ นเก่ียวขอ้ ง โดยมีการดำเนินการร่วมกันในดา้ นตา่ งๆ ดังนี้
1. การปรับปรุงหลักสูตร และการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตรอาเซียน
คา่ นยิ ม 12 ประการ หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. ควรมุ่งเน้นให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตัดสินใจได้
อย่างมีเหตุผล มีความคดิ สรา้ งสรรค์ และมีนสิ ัยรักการอา่ น จัดใหม้ ีกิจกรรมที่ส่งเสรมิ อตั ลักษณ์
3. การพัฒนา/ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ สนามเด็กเล่นกลางแจ้ง มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยตาม
ศักยภาพ ส่งเสรมิ สนับสนุนกิจกรรมตา่ งๆ ที่ชุมชนไดร้ ่วมกนั จัดขน้ึ เพื่อใหเ้ กิดความสมัครสมานสามคั คี รักและ
เกดิ ความภาคภูมใิ จในสถาบันการศกึ ษา และทอ้ งถน่ิ
4. การพฒั นาปรับปรุงอาคารสถานที่ให้ ร่มร่นื นา่ อยู่ ปลอดภยั เหมาะกบั สภาพการจดั การเรียนรู้
4. การตอ้ งการความช่วยเหลือ
เพื่อให้การพัฒนาการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า ดำเนินการได้ตามโครงการท่ีกำหนด
และประสบความสำเร็จ เน่ืองจากในรอบปีการศึกษา ๒๕63 ยังมีบางโครงการที่ดำเนินการไม่ประสบ
ความสำเร็จเท่าที่ควร โดยมีสาเหตุมาจากงบประมาณท่ีได้รับจัดสรรไม่เพียงพอต่อความต้องการ ทำให้การ
ดำเนินโครงการรวมท้ังการบริหารจัดการไม่สนองโครงการ จึงมีความต้องการความช่วยเหลือในด้าน การ
จัดสรรงบประมาณทเี่ พียงพอตอ่ การจดั การศึกษา
ภาคผนวก
ประกาศองคก์ ารบริหารส่วนตำบลสบแม่ขา่
ท่ี 173 /๒๕๖2
เรื่อง แต่งตง้ั คณะกรรมการพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๔๔๖ หมวดท่ี ๖
ว่าด้วยมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา ๔๗ และ ๔๘ บัญญัติให้สถานศึกษาทุกแห่ง
รวมทั้งศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ จดั ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน เพอื่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ให้
มีการประเมินคุณภาพภายใน และให้ถือว่าเป็นกระบวนการบริหารท่ีต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ
โดยใหร้ ายงานตอ่ หน่วยงานตน้ สงั กัด และสาธารณชนเปน็ ประจำทุกปี
เพ่ือให้การดำเนินการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า ประจำปี
การศึกษา 2564 ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลต่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาโดยรวมของศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก จึงแตง่ ตั้งคณะกรรมการ ดังนี้
1) คณะกรรมการอำนวยการ ประกอบด้วย
๑. นายชยั วฒุ ิ อย่วู งค์ ปลดั อบต.สบแม่ข่า ประธานกรรมการ
2. นางสาวสายทอง กนั ทะโว นักวชิ าการศกึ ษา กรรมการ
3. นางสาวแสงเดือน อินต๊ะรกั ษา ครผู ดู้ ูแลเดก็ กรรมการ
4. นางรชั นี คำยามา ผชู้ ว่ ยครูผดู้ แู ลเดก็ กรรมการ
5. นางสาวปรวิศา นันตา ตัวแทนกรรมการบริหารศูนย์ กรรมการ
6. นายพงษศ์ กั ด์ิ เดชปันคำ ผอ.กองการศึกษา กรรมการและเลขานุการ
มหี น้าท่ี
1. ดำเนนิ การประชมุ ชแี้ จงครู,ผ้ดู แู ลเด็ก และผู้เก่ยี วข้องให้เขา้ ใจแนวทางของการพัฒนาระบบ
ประกนั คุณภาพภายใน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า
2. อำนวยการปฏบิ ัตงิ านของคณะกรรมการฝา่ ยตา่ งๆ ทั้งด้านการจดั หาคู่มือ เอกสาร วสั ดุและ
งบประมาณ
3. ประสานงาน กำกบั ดแู ลติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ตัดสินใจ และแกป้ ัญหาต่างๆ ในการ
ดำเนินงานให้เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย
4. นิเทศ กำกับ ติดตาม
2) คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการศกึ ษา ประกอบดว้ ย
1. นายพงษศ์ กั ดิ์ เดชปนั คำ ผอ.กองการศึกษา ประธานกรรมการ
2. นางสาวแสงเดอื น อนิ ตะ๊ รกั ษา ครูผู้ดแู ลเดก็ กรรมการ
3. นางรชั นี คำยามา ผชู้ ่วยครผู ดู้ แู ลเดก็ กรรมการ
4. นางสาวจารวุ รรณ บรรโณภาส ตวั แทนผู้ปกครอง กรรมการ
5. นางสาวสายทอง กันทะโว นกั วิชาการศกึ ษา กรรมการและเลขานุการ
/มีหน้าท่ี...
-2-
มหี น้าท่ี
1. พิจารณามาตรฐานการศกึ ษาศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก ของกรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่ิน
2. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก ไม่นอ้ ยกวา่ 23 มาตรฐาน โดยใชแ้ นวทาง
ของกรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ พรอ้ มทัง้ กำหนดตัวบง่ ชี้ และรายละเอียดตา่ งๆ ให้ครอบคลุมภารกิจ
ทกุ มาตรฐาน
3. นำรา่ งมาตรฐานเสนอคณะกรรมการบริหารศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก ใหค้ วามเห็นชอบเพื่อประกาศใช้
4. ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เมื่อได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการบริหารศนู ย์
3) คณะกรรมการจัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ ประกอบด้วย
1. นายพงษศ์ ักดิ์ เดชปันคำ ผอ.กองการศึกษา ประธานกรรมการ
2. นางสาวแสงเดอื น อินตะ๊ รักษา ครูผู้ดูแลเด็ก กรรมการ
3. นางรชั นี คำยามา ผชู้ ่วยครผู ดู้ ูแลเด็ก กรรมการ
4. นางสาวสายทอง กันทะโว นักวิชาการศึกษา กรรมการและเลขานุการ
มหี นา้ ท่ี
1. จดั โครงสรา้ งระบบการบริหารที่เอื้อตอ่ การพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายใน
2. จดั ระบบสารสนเทศใหเ้ ป็นหมวดหมู่ ครอบคลุม เป็นปัจจุบัน สะดวกตอ่ การเขา้ ถงึ และการ
ให้บริการ
3. นำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ให้เปน็ ประโยชน์ในการบริหารจัดการศึกษา และพัฒนาการเรียนการสอน
4) คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย
1. นายพงษ์ศกั ด์ิ เดชปันคำ ผอ.กองการศึกษา ประธานกรรมการ
2. นางสาวแสงเดือน อินต๊ะรกั ษา ครูผดู้ ูแลเด็ก กรรมการ
3. นางรชั นี คำยามา ผชู้ ่วยครผู ู้ดแู ลเดก็ กรรมการ
4. นางสาวสายทอง กนั ทะโว นักวชิ าการศกึ ษา กรรมการและเลขานุการ
มีหน้าท่ี
1. จัดทำ/พัฒนาเครอื่ งมอื ตรวจสอบระบบประกันคุณภาพภายใน ของศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก
2. ตดิ ตามตรวจสอบระบบประกันคณุ ภาพภายในศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ อย่างน้อยภาคเรียนละ
1 ครงั้ และจัดทำรายงานผลการติดตามตรวจสอบ
/5.คณะ...
-3-
5) คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ ประกอบด้วย
1. นายพงษ์ศกั ดิ์ เดชปันคำ ผอ.กองการศึกษา ประธานกรรมการ
2. นางสาวแสงเดอื น อนิ ต๊ะรกั ษา ครูผู้ดูแลเด็ก กรรมการ
3. นางรัชนี คำยามา ผ้ชู ่วยครูผดู้ ูแลเดก็ กรรมการ
4. นางสาวจารวุ รรณ บรรโณภาส ตวั แทนผูป้ กครอง กรรมการ
5. นางสาวปรวศิ า นันตา ตวั แทนกรรมการบรหิ ารศนู ยฯ์ กรรมการ
6. นางสาวสายทอง กนั ทะโว นักวชิ าการศกึ ษา กรรมการและเลขานุการ
มีหนา้ ท่ี
1. จดั ทำ/พฒั นาเครอ่ื งมอื ประเมนิ คุณภาพภายในของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
2. ดำเนนิ การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ โดยใช้เคร่อื งมือ
และวิธีการท่หี ลากหลาย และเหมาะสม
6) คณะกรรมการจัดทำรายงานการประเมินคุณภาพภายใน (SAR) ประกอบดว้ ย
1. นายพงษศ์ ักดิ์ เดชปันคำ ผอ.กองการศึกษา ประธานกรรมการ
2. นางสาวแสงเดือน อนิ ต๊ะรักษา ครผู ู้ดแู ลเด็ก กรรมการ
3. นางรัชนี คำยามา ผชู้ ่วยครูผูด้ แู ลเดก็ กรรมการ
4. นางสาวสายทอง กันทะโว นกั วิชาการศกึ ษา กรรมการและเลขานุการ
มีหน้าที่
1. สรุปและจดั ทำรายงานประจำปที ่เี ป็นรายงานประเมนิ คุณภาพภายใน (SAR) ของศนู ยพ์ ฒั นา
เดก็ เล็กตามรปู แบบทีห่ น่วยงานตน้ สังกดั กำหนด
2. นำเสนอรายงานฯ (SAR) ตอ่ คณะกรรมการบรหิ ารศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก เพื่อให้ความเหน็ ชอบ
3. เผยแพร่รายงานต่อสาธารณชน หนว่ ยงานตน้ สังกัด และหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้อง
ส่ัง ณ วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2564
(นายกำพล ทะนนั ไชย)
นายกองค์การบรหิ ารส่วนตำบลสบแมข่ า่
ประกาศศูนย์พฒั นาเด็กเล็กสบแม่ข่า
เร่ือง ใหใ้ ชม้ าตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาติ เป็นมาตรฐานในการประกันคณุ ภาพการศึกษา
ภายในศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก
.................................................................................................................................................................
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติมถึง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.
2553 มาตรา 9 (3) ได้กำหนดการจัดระบบโครงสรา้ งและกระบวนการจดั การศึกษาใหย้ ึดหลักสำคัญข้อหนึ่ง
คือ มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภท
การศึกษา และมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนิน การ
อย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผย
ต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพ่ือรองรับการประกันคุณภาพ
ภายนอกโดยหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนท่ีสุด ที่ มท 0816.2/ ว 438 ลงวันที่ 31
มกราคม 2564 เรื่อง การขับเคลื่อนการบริหารจัดการศึกษาระดับปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
และสถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน กำหนดให้การบริหารจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของ
สถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จะต้องสอดคล้องและเป็นไปตามระบบ หลักเกณฑ์ และ
วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ตามที่กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติกำหนด ประกอบหนังสือกรม
ส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ด่วนที่สุด ที่ มท 0816.4/ ว 806 ลงวันท่ี 1 มีนาคม 2564 เร่ือง มาตรฐาน
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดทุกแห่ง
นำมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ใช้เป็นมาตรฐานในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แทนมาตรฐานการศึกษา (ข้ันพัฒนา) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ต้ังแต่ปกี ารศึกษา 2564 เป็นต้นไป
เพ่ือให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า มี
คุณภาพและมาตรฐาน นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามท่ีกฎหมายกำหนด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่
ขา่ จึงประกาศให้ใช้มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ เป็นมาตรฐานในการประกนั คุณภาพการศึกษา
ภายในของสถานศกึ ษา ตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ี เพ่ือเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
การประเมนิ คณุ ภาพภายในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กสบแม่ขา่ ตงั้ แตป่ กี ารศึกษา2564เป็นตน้ ไป
ประกาศ ณ วันท่ี 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2564
(นางสาวแสงเดือน อินต๊ะรักษา)
หวั หนา้ สถานศึกษา ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กสบแม่ขา่
บันทึกการพิจารณาให้ความเห็นชอบ
เรือ่ ง ให้ใช้มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ เป็นมาตรฐานในการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
ภายในศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ สบแม่ข่า
.................................................................................
การประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า ครั้งที่ 5/2564 เม่ือวันท่ี 7
พฤษภาคม 2564 ได้พิจารณาให้ใช้มาตรฐานมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เป็นมาตรฐานใน
การประกันคุณภาพการศึกษาภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า มีมติเห็นชอบและรับรองการใช้มาตรฐาน
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เป็นมาตรฐานในการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบ
แม่ขา่ ตั้งแต่ปกี ารศึกษา 2564 เป็นตน้ ไป
( นายจำลอง ปณั ราชา )
ประธานคณะกรรมการบรหิ ารศูนย์พฒั นาเด็กเลก็
ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ สบแม่ข่า
มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ
แนบทา้ ยประกาศศูนย์พฒั นาเด็กเล็กสบแมข่ า่
เรอ่ื ง ใหใ้ ช้มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ เป็นมาตรฐานในการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ สบแมข่ า่
ฉบบั ลงวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2564
.....................................
มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาตปิ ระกอบดว้ ยมาตรฐาน ๓ ดา้ น ไดแ้ ก่
• มาตรฐานด้านที่ ๑ การบริหารจัดการ
จำนวน ๕ ตัวบ่งชี้/ ๒๖ ข้อ
• มาตรฐานด้านที๒่ กระบวนการดแู ลจดั ประสบการณ์เรียนรู้และเลน่
จำนวน ๕ ตวั บง่ ชี้/ ๒๐ขอ้
• มาตรฐานดา้ นท๓่ี คณุ ภาพเด็กปฐมวัย
- ๓ ก แรกเกดิ ถงึ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดอื น ๒๙ วนั ) จำนวน ๒ ตัวบง่ ช้ี/ ๗ข้อ
- ๓ ข ๓ ปี ถงึ ๖ ปี (ก่อนเข้าเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑) จำนวน ๗ ตวั บง่ ชี้/ ๒๒ ขอ้
สาระของมาตรฐานแตล่ ะด้านมีดังนี้
มาตรฐานดา้ นที่ ๑ การบริหารจดั การสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑.๑ การบริหารจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ
ตวั บง่ ช้ีย่อย
๑.๑.๑ บรหิ ารจัดการสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยอย่างเป็นระบบ
๑.๑.๒ บริหารหลักสูตรสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
๑.๑.๓ บริหารจัดการข้อมูลอย่างเปน็ ระบบ
ตวั บ่งชที้ ี๑่ .๒การบริหารจดั การบคุ ลากรทกุ ประเภทตามหนว่ ยงานทีส่ ังกัด
ตัวบ่งชยี้ ่อย
๑.๒.๑ บรหิ ารจดั การบคุ ลากรอย่างเปน็ ระบบ
๑.๒.๒ ผบู้ รหิ ารสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย/หวั หนา้ ระดับปฐมวัย/ผดู้ ำเนนิ กิจการมีคุณวฒุ ิ/
คุณสมบัติเหมาะสมและบรหิ ารงานอย่างมีประสิทธิภาพ
๑.๒.๓ คร/ู ผ้ดู ูแลเด็กท่ีทำหนา้ ท่ีหลกั ในการดูแลและพฒั นาเดก็ ปฐมวยั มวี ฒุ กิ ารศึกษา/
คุณสมบัตเิ หมาะสม
๑.๒.๔ บรหิ ารบุคลากรจัดอตั ราสว่ นของครู/ผดู้ ูแลเด็กอย่างเหมาะสมพอเพียงตอ่ จำนวนเด็ก
ในแตล่ ะกล่มุ อายุ
/ ตัวบ่งช้ที ี่ 1.3 ...
ตัวบ่งชี้ท่ี ๑.๓ การบริหารจดั การสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย
ตวั บ่งช้ีย่อย
๑.๓.๑ บรหิ ารจดั การดา้ นสภาพแวดล้อมเพ่ือความปลอดภัยอย่างเปน็ ระบบ
๑.๓.๒ โครงสรา้ งและตัวอาคารมน่ั คงตงั้ อยใู่ นบริเวณและสภาพแวดลอ้ มที่ปลอดภัย
๑.๓.๓ จัดการความปลอดภัยของพื้นทเ่ี ล่น/สนามเด็กเล่นและสภาพแวดลอ้ มภายนอก
อาคาร
๑.๓.๔ จดั การสภาพแวดล้อมภายในอาคารครภุ ัณฑ์อุปกรณ์เคร่อื งใช้ใหป้ ลอดภัยเหมาะสม
กบั การใชง้ านและเพียงพอ
๑.๓.๕ จดั ใหม้ ีของเลน่ ทปี่ ลอดภยั ไดม้ าตรฐานมจี ำนวนเพยี งพอสะอาดเหมาะสมกับระดับ
พฒั นาการของเด็ก
๑.๓.๖ สง่ เสริมให้เด็กปฐมวัยเดนิ ทางอย่างปลอดภยั
๑.๓.๗ จดั ใหม้ รี ะบบป้องกันภัยจากบุคคลทัง้ ภายในและภายนอกสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั
๑.๓.๘ จัดให้มีระบบรับเหตฉุ ุกเฉนิ ปอ้ งกันอัคคีภยั /ภยั พิบตั ิตามความเสยี่ งของพื้นที่
ตวั บ่งชีท้ ี่ ๑.๔ การจัดการเพื่อส่งเสริมสขุ ภาพและการเรียนรู้
ตวั บ่งช้ีย่อย
๑.๔.๑ มีการจดั การเพ่อื ส่งเสริมสขุ ภาพเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็กและดูแล
การเจ็บป่วยเบื้องต้น
๑.๔.๒ มีแผนและดำเนินการตรวจสขุ อนามยั ประจาวนั ตรวจสุขภาพประจาปีและป้องกัน
ควบคุมโรคตดิ ตอ่
๑.๔.๓ อาคารตอ้ งมีพ้นื ท่ใี ชส้ อยเปน็ สดั สว่ นตามกจิ วัตรประจำวันของเด็กทเี่ หมาะสม
ตามช่วงวัยและการใชป้ ระโยชน์
๑.๔.๔ จัดให้มีพื้นท่ี/มุมประสบการณแ์ ละแหล่งเรยี นร้ใู นห้องเรียนและนอกหอ้ งเรยี น
๑.๔.๕ จัดบรเิ วณหอ้ งน้าหอ้ งส้วมทีแ่ ปรงฟนั /ลา้ งมอื ให้เพยี งพอสะอาดปลอดภัย
และเหมาะสมกบั การใช้งานของเด็ก
๑.๔.๖ จดั การระบบสขุ าภิบาลทม่ี ีประสิทธิภาพครอบคลมุ สถานทีป่ รุงประกอบอาหาร
นำ้ ดม่ื นำ้ ใช้กาจดั ขยะสง่ิ ปฏิกลู และพาหะนำโรค
๑.๔.๗ จดั อปุ กรณ์ภาชนะและเคร่ืองใชส้ ว่ นตวั ให้เพยี งพอกับการใชง้ านของเด็กทุกคน
และดแู ลความสะอาดและปลอดภัยอยา่ งสม่ำเสมอ
ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑.๕ การส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของครอบครัวและชมุ ชน
ตวั บง่ ชีย้ ่อย
๑.๕.๑ มีการส่ือสารเพ่อื สร้างความสมั พันธแ์ ละความเข้าใจอันดรี ะหวา่ งพ่อแม่/ผ้ปู กครอง
กบั สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยเกีย่ วกับตวั เดก็ และการดำเนินงานของสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั
๑.๕.๒ การจัดกิจกรรมท่ีพ่อแม่/ผปู้ กครอง/ครอบครวั และชมุ ชนมีส่วนรว่ ม
๑.๕.๓ ดำเนนิ งานให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั เป็นแหล่งเรยี นรแู้ ก่ชมุ ชนในเรือ่ งการพฒั นาเด็ก
ปฐมวยั
๑.๕.๔ มีคณะกรรมการสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
/ มาตรฐานด้านที่ 2 ...
-3-
มาตรฐานดา้ นท่ี ๒ ครู/ผู้ดแู ลเดก็ ให้การดูแลและจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้และการเล่นเพื่อพฒั นาเด็ก
ปฐมวัย
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๒.๑ การดูแลและพัฒนาเดก็ อย่างรอบดา้ น
ตัวบง่ ช้ีย่อย
๒.๑.๑ มีแผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรูท้ ่ีสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั
มีการดำเนินงานและประเมินผล
๒.๑.๒ จดั พ้นื ท/ี่ มุมประสบการณก์ ารเรียนรูแ้ ละการเลน่ ที่เหมาะสมอยา่ งหลากหลาย
๒.๑.๓ จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการทกุ ดา้ นอยา่ งบูรณาการตามธรรมชาตขิ องเดก็ ท่ีเรียนรู้
ดว้ ยประสาทสมั ผสั ลงมือทำปฏิสมั พนั ธ์และการเล่น
๒.๑.๔ เลอื กใชส้ ื่อ/อปุ กรณ์เทคโนโลยเี คร่ืองเล่นและจัดสภาพแวดล้อมภายใน-ภายนอก
แหล่งเรยี นรู้ที่เพยี งพอเหมาะสมปลอดภยั
๒.๑.๕ เฝ้าระวงั ติดตามพฒั นาการเด็กรายบุคคลเปน็ ระยะเพือ่ ใช้ผลในการจัดกิจกรรม
พัฒนาเด็กทุกคนให้เต็มตามศักยภาพ
ตวั บ่งช้ีท๒่ี .๒การส่งเสริมพฒั นาการด้านรา่ งกายและดแู ลสุขภาพ
ตัวบ่งชยี้ ่อย
๒.๒.๑ ใหเ้ ด็กอายุ๖เดอื นขน้ึ ไปรับประทานอาหารท่ีครบถว้ นในปรมิ าณท่ีเพยี งพอและ
สง่ เสริมพฤตกิ รรมการกินที่เหมาะสม
๒.๒.๒ จัดกจิ กรรมใหเ้ ด็กไดล้ งมือปฏิบตั ิอย่างถูกต้องเหมาะสมในการดแู ลสุขภาพ
ความปลอดภัยในชีวิตประจาวัน
๒.๒.๓ ตรวจสุขภาพอนามัยของเด็กประจำวันความสะอาดของร่างกายฟันและช่องปาก
เพือ่ คัดกรองโรคและการบาดเจ็บ
๒.๒.๔ เฝ้าระวังติดตามการเจริญเตบิ โตของเดก็ เปน็ รายบุคคลบันทึกผลภาวะโภชนาการ
อย่างตอ่ เนื่อง
๒.๒.๕ จดั ให้มีการตรวจสุขภาพรา่ งกายฟนั และชอ่ งปากสายตาหตู ามกำหนด
ตัวบ่งชที้ ่ี ๒.๓ การสง่ เสริมพัฒนาการด้านสตปิ ัญญาภาษาและการสื่อสาร
ตวั บง่ ชย้ี ่อย
๒.๓.๑ จัดกจิ กรรมสง่ เสริมใหเ้ ด็กไดส้ งั เกตสัมผัสลองทำคิดตงั้ คำถามสบื เสาะหาความรู้
แก้ปัญหาจนิ ตนาการคิดสร้างสรรค์โดยยอมรบั ความคดิ และผลงานทแ่ี ตกต่างของเด็ก
๒.๓.๒ จัดกจิ กรรมและประสบการณ์ทางภาษาที่มีความหมายต่อเด็กเพ่ือการส่ือสาร
อย่างหลากหลายฝึกฟังพดู ถามตอบเลา่ และสนทนาตามลำดบั ขน้ั ตอนพัฒนาการ
๒.๓.๓ จดั กจิ กรรมปลกู ฝงั ให้เดก็ มนี ิสยั รกั การอ่านให้เด็กมีทักษะการดูภาพฟังเร่ืองราว
พูด เล่าอ่านวาด/เขยี นเบ้ืองต้นตามลำดบั พฒั นาการโดยครู/ ผู้ดแู ลเด็ก
เปน็ ตัวอยา่ งของการพูดและการอ่านท่ีถกู ต้อง
๒.๓.๔ จัดใหเ้ ด็กมปี ระสบการณเ์ รยี นรเู้ ก่ียวกบั ตัวเด็กบคุ คลสงิ่ ตา่ งๆสถานที่และ
ธรรมชาติรอบตวั ดว้ ยวธิ ีการทีเ่ หมาะสมกบั วัยและพฒั นาการ
๒.๓.๕ จดั กิจกรรมและประสบการณด์ ้านคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตรเ์ บ้อื งต้นตามวัย
โดยเด็กเรียนรู้ผา่ นประสาทสัมผัสและลงมือปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง
-4-
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ การสง่ เสริมพัฒนาการด้านอารมณ์จติ ใจ-สงั คมปลูกฝงั คุณธรรมและความเป็น
พลเมอื งดี
ตวั บ่งชย้ี ่อย
๒.๔.๑ สรา้ งความสมั พนั ธท์ ่ดี ีและมนั่ คงระหวา่ งผ้ใู หญ่กบั เด็กจัดกจิ กรรมสรา้ งเสรมิ
ความสมั พันธ์ทดี่ รี ะหว่างเดก็ กับเด็กและการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
๒.๔.๒ จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มคี วามสขุ แจม่ ใสรา่ เริงได้แสดงออกดา้ นอารมณ์
ความรู้สึกท่ดี ตี ่อตนเองโดยผา่ นการเคลื่อนไหวร่างกายศิลปะดนตรตี ามความสนใจ
และถนัด
๒.๔.๓ จัดกจิ กรรมและประสบการณ์ปลกู ฝังคุณธรรมให้เด็กใฝ่ดมี วี ินยั ซ่อื สตั ยร์ จู้ ักสทิ ธิ
และหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบของพลเมอื งดีรักครอบครวั โรงเรยี นชุมชนและประเทศชาติ
ด้วยวิธีทเี่ หมาะสมกบั วัยและพัฒนาการ
ตวั บ่งช้ีท่ี ๒.๕ การสง่ เสริมเดก็ ในระยะเปลย่ี นผ่านให้ปรับตวั สกู่ ารเชอื่ มต่อในขนั้ ถดั ไป
ตวั บง่ ชย้ี ่อย
๒.๕.๑ จดั กจิ กรรมกับผู้ปกครองใหเ้ ตรยี มเด็กก่อนจากบ้านเข้าสสู่ ถานพฒั นาเด็กปฐมวัย
และจดั กจิ กรรมชว่ งปฐมนิเทศให้เด็กค่อยปรบั ตวั ในบรรยากาศท่ีเปน็ มติ ร
๒.๕.๒ จดั กจิ กรรมสง่ เสริมการปรับตัวกอ่ นเขา้ รับการศึกษาในระดบั ทส่ี ูงข้ึนแต่ละขน้ั
มาตรฐานด้านท่ี ๓ คณุ ภาพของเดก็ ปฐมวัย
สำหรับเด็กแรกเกิด – อายุ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วนั )
ตัวบ่งชที้ ่ี ๓.๑ ก เดก็ มีการเจรญิ เติบโตสมวัย
ตวั บ่งชีย้ ่อย
๓.๑.๑ ก เดก็ มีนำ้ หนักตวั เหมาะสมกับวัยและสงู ดสี มสว่ นซ่ึงมบี นั ทึกเป็นรายบคุ คล
ตัวบ่งช้ีท๓ี่ .๒กเด็กมีพฒั นาการสมวยั
ตวั บง่ ชี้ย่อย
๓.๒.๑ ก เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั โดยรวม๕ดา้ น
๓.๒.๒ ก รายด้าน : เด็กมีพัฒนาการกลา้ มเน้ือมัดใหญ่ (Gross Motor)
๓.๒.๓ ก รายดา้ น : เด็กมีพฒั นาการดา้ นกล้ามเนือ้ มัดเลก็ และสติปัญญาสมวยั
(Fine Motor Adaptive)
๓.๒.๔ ก รายดา้ น : เด็กมีพัฒนาการดา้ นการรับรู้และเขา้ ใจภาษา (Receptive Language)
๓.๒.๕ ก รายดา้ น : เด็กมีพัฒนาการการใช้ภาษาสมวยั (Expressive Language)
๓.๒.๖ ก รายด้าน : เดก็ มีพฒั นาการการช่วยเหลือตนเองและการเข้าสังคม
(Personal Social)
/ สำหรบั เดก็ ...
-5-
สำหรับเดก็ อายุ ๓ ปี – อายุ ๖ ปี (กอ่ นเข้าประถมศึกษาปีท่ี ๑)
ตัวบง่ ชี้ที่ ๓.๑ ข เด็กมีการเจริญเตบิ โตสมวัยและมีสุขนิสัยทีเ่ หมาะสม
ตัวบ่งชี้ย่อย
๓.๑.๑ ข เด็กมนี ้ำหนกั ตัวเหมาะสมกบั วยั และสูงดสี มสว่ นซึ่งมีบนั ทึกเป็นรายบคุ คล
๓.๑.๒ ข เดก็ มีสุขนสิ ยั ท่ีดใี นการดแู ลสขุ ภาพตนเองตามวัย
๓.๑.๓ ข เด็กมสี ุขภาพชอ่ งปากดีไม่มฟี นั ผุ
ตวั บ่งชท้ี ่ี ๓.๒ ข เด็กมีพัฒนาการสมวยั
ตัวบง่ ชย้ี ่อย
๓.๒.๑ ข เด็กมพี ัฒนาการสมวยั โดยรวม๕ดา้ น
ตวั บ่งชที้ ่ี ๓.๓ ข เด็กมีพัฒนาการดา้ นการเคลือ่ นไหว
ตวั บ่งชี้ย่อย
๓.๓.๑ ข เด็กมพี ัฒนาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเนื้อมดั ใหญ่สามารถเคลอ่ื นไหวและทรงตวั ได้
ตามวัย
๓.๓.๒ ข เดก็ มีพฒั นาการด้านการใช้กลา้ มเน้ือมัดเล็กและการประสานงานระหวา่ งตากับมือ
ตามวยั
ตัวบ่งชี้ท่ี ๓.๔ ข เด็กมีพัฒนาการดา้ นอารมณจ์ ติ ใจ
ตัวบ่งชย้ี ่อย
๓.๔.๑ ข เดก็ แสดงออกร่าเรงิ แจ่มใสรสู้ ึกมัน่ คงปลอดภยั แสดงความรูส้ กึ ท่ีดตี ่อตนเองและ
ผ้อู นื่ ไดส้ มวัย
๓.๔.๒ ข เด็กมีความสนใจและร่วมกิจกรรมตา่ งๆอยา่ งสมวัยซ่งึ รวมการเลน่ การทำงาน
ศิลปะ ดนตรีกีฬา
๓.๔.๓ ข เด็กสามารถอดทนรอคอยควบคมุ ตนเองยับย้ังช่งั ใจทำตามข้อตกลงคำนึงถึง
ความรู้สกึ ของผู้อน่ื มีกาลเทศะปรบั ตวั เขา้ กับสถานการณใ์ หม่ไดส้ มวยั
ตวั บ่งช้ที ่ี ๓.๕ ข เด็กมพี ัฒนาการดา้ นสติปัญญาเรยี นรู้และสรา้ งสรรค์
ตัวบง่ ชี้ย่อย
๓.๕.๑ ข เด็กบอกเก่ยี วกับตวั เดก็ บุคคลสถานทีแ่ วดล้อมธรรมชาตแิ ละสิง่ ต่างๆรอบตวั เด็ก
ไดส้ มวยั
๓.๕.๒ ข เด็กมีพ้นื ฐานด้านคณติ ศาสตร์สามารถสังเกตจำแนกและเปรียบเทียบจำนวนมิติ
สมั พนั ธ์ (พน้ื ท/่ี ระยะ) เวลาไดส้ มวยั
๓.๕.๓ ข เดก็ สามารถคดิ อย่างมีเหตุผลแก้ปญั หาไดส้ มวัย
๓.๕.๔ ข เด็กมจี นิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ที่แสดงออกได้สมวยั
๓.๕.๕ ข เดก็ มคี วามพยายามมุ่งมั่นต้ังใจทำกิจกรรมใหส้ ำเร็จสมวยั
/ตัวบง่ ช้.ี ..
-6-
ตวั บ่งชท้ี ่ี ๓.๖ ข เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นภาษาและการสือ่ สาร
ตวั บง่ ชีย้ อ่ ย
๓.๖.๑ ข เดก็ สามารถฟงั พดู จับใจความเล่าสนทนาและสอ่ื สารไดส้ มวัย
๓.๖.๒ ข เดก็ มที ักษะในการดูรปู ภาพสญั ลักษณก์ ารใช้หนงั สอื รจู้ กั ตัวอักษรการคดิ เขียนคำ
และการอ่านเบ้ืองต้นได้สมวัยและตามลำดบั พัฒนาการ
๓.๖.๓ ข เด็กมีทกั ษะการวาดการขีดเขยี นตามลำดบั ขั้นตอนพัฒนาการสมวัยนำไปสู่
การขดี เขียนคำที่ค้นุ เคยและสนใจ
๓.๖.๔ ข เดก็ มีทักษะในการส่ือสารอยา่ งเหมาะสมตามวัยโดยใชภ้ าษาไทยเปน็ หลัก
และมคี วามคุน้ เคยกบั ภาษาอ่ืนดว้ ย
ตวั บ่งชที้ ่ี ๓.๗ ข เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสงั คมคณุ ธรรมมวี นิ ัยและความเปน็ พลเมืองดี
ตวั บง่ ชย้ี อ่ ย
๓.๗.๑ ข เดก็ มีปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผูอ้ ืน่ ได้อย่างสมวยั และแสดงออกถึงการยอมรับความแตกต่าง
ระหวา่ งบคุ คล
๓.๗.๒ ข เดก็ มีความเมตตากรณุ ามีวนิ ยั ซอ่ื สัตยร์ ับผดิ ชอบต่อตนเองและส่วนรวมและมี
ค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์สมวัย
๓.๗.๓ ข เดก็ สามารถเลน่ และทำงานรว่ มกับผู้อ่นื เป็นกลมุ่ เปน็ ได้ทั้งผู้นำและผตู้ ามแก้ไข
ข้อขัดแยง้ อย่างสรา้ งสรรค์
๓.๗.๔ ข เด็กภาคภมู ใิ จทเ่ี ปน็ สมาชกิ ทีด่ ีในครอบครัวชมุ ชนสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
และตระหนักถึงความเป็นพลเมืองดีของประเทศไทยและภมู ภิ าคอาเซียน
**************************************
ประกาศศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กสบแมข่ า่
เรื่อง กำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
เพ่ือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ สบแม่ข่า
.....................................................................
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ.
2553 มาตรา 9 (3) ไดก้ ำหนดการจัดระบบโครงสรา้ งและกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลกั สำคัญขอ้ หนึ่ง
คือ มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภท
การศึกษา และมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการ
อย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และเปิดเผย
ต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพ
ภายนอกโดยหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ด่วนท่ีสุด ท่ี มท 0816.2/ ว 438 ลงวันที่ 31
มกราคม 2564 เรื่อง การขับเคลื่อนการบริหารจัดการศึกษาระดับปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และสถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดให้การบริหารจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของ
สถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะต้องสอดคล้องและเป็นไปตามระบบ หลักเกณฑ์ และ
วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ตามท่ีกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติกำหนด ประกอบหนังสือกรม
ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ท่ี มท 0816.4/ ว 806 ลงวันที่ 1 มีนาคม 2564 เร่ือง มาตรฐาน
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ กำหนดใหอ้ งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ท่ีมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดทุกแห่ง
นำมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ใช้เป็นมาตรฐานในการประกันคุณ ภาพการศึกษาภายใน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แทนมาตรฐานการศึกษา (ข้ันพัฒนา) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ต้งั แตป่ ีการศึกษา 2564 เปน็ ต้นไป
ดังนั้น เพ่ือให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า
มีคุณภาพและมาตรฐาน นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า จึงประกาศกำหนดค่าเป้าหมายมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เพ่ือ
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาและการประเมินคุณภาพภายใน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ี
ประกาศ ณ วันท่ี 15 พฤษภาคม พ.ศ.2564
(นางสาวแสงเดอื น อนิ ต๊ะรักษา)
หัวหนา้ สถานศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ สบแม่ข่า
การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ
เพ่ือการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กสบแม่ขา่
แนบท้ายประกาศศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ สบแม่ขา่
เร่ือง กำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ เพื่อการประกนั คณุ ภาพ
การศึกษาภายใน ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ สบแม่ข่า
ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/
มาตรฐาน / ตวั บ่งช้/ี ตัวบ่งชีย้ อ่ ย/ รายการพิจารณา ตวั บง่ ช/ี้ รายการ
พิจารณา ท่ีกำหนดไว้
มาตรฐานด้านที๑่ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ระดบั ดีมาก
ตัวบง่ ชีท้ ี๑่ .๑การบรหิ ารจัดการอยา่ งเป็นระบบ ระดับดีมาก
ตวั บง่ ชยี้ ่อย
๑.๑.๑ บริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเปน็ ระบบ ระดบั ดมี าก
๑.๑.๒ บรหิ ารหลักสตู รสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ระดบั ดมี าก
๑.๑.๓ บริหารจัดการขอ้ มูลอยา่ งเป็นระบบ ระดบั ดมี าก
ตวั บง่ ชี้ท่ี๑.๒การบรหิ ารจดั การบคุ ลากรทุกประเภทตามหนว่ ยงานทสี่ ังกดั ระดับดีมาก
ตัวบ่งชี้ย่อย
๑.๒.๑ บริหารจัดการบุคลากรอย่างเป็นระบบ ระดับดมี าก
๑.๒.๒ ผู้บรหิ ารสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย/หวั หน้าระดบั ปฐมวัย/ผู้ดำเนินกิจการมีคุณวุฒิ/ ระดับดมี าก
คณุ สมบัติเหมาะสมและบรหิ ารงานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
๑.๒.๓ คร/ู ผู้ดูแลเดก็ ทที่ ำหน้าท่หี ลักในการดูแลและพฒั นาเด็กปฐมวยั มวี ุฒกิ ารศึกษา/ ระดับดมี าก
คุณสมบัตเิ หมาะสม
๑.๒.๔ บรหิ ารบคุ ลากรจดั อตั ราส่วนของครู/ผูด้ ูแลเด็กอยา่ งเหมาะสมพอเพยี งต่อจำนวน ระดบั ดมี าก
เดก็ ในแต่ละกลุ่มอายุ
ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑.๓ การบรหิ ารจัดการสภาพแวดลอ้ มเพื่อความปลอดภยั ระดบั ดีมาก
ตวั บง่ ชี้ย่อย
ระดบั ดมี าก
๑.๓.๑ บรหิ ารจัดการด้านสภาพแวดลอ้ มเพือ่ ความปลอดภัยอยา่ งเปน็ ระบบ ระดบั ดมี าก
๑.๓.๒ โครงสร้างและตวั อาคารมน่ั คงตงั้ อยู่ในบรเิ วณและสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ระดับดมี าก
๑.๓.๓ จัดการความปลอดภัยของพ้ืนทเี่ ลน่ /สนามเด็กเล่นและสภาพแวดลอ้ มภายนอก
อาคาร ระดับดมี าก
๑.๓.๔ จัดการสภาพแวดลอ้ มภายในอาคารครุภณั ฑ์อุปกรณเ์ คร่ืองใช้ให้ปลอดภยั เหมาะสม
กบั การใชง้ านและเพียงพอ ระดับดมี าก
๑.๓.๕ จดั ใหม้ ขี องเล่นทีป่ ลอดภัยได้มาตรฐานมีจำนวนเพียงพอสะอาดเหมาะสมกับระดบั
คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/
มาตรฐาน / ตวั บ่งช้ี/ ตัวบ่งชย้ี ่อย/ รายการพจิ ารณา ตวั บง่ ชี/้ รายการ
พิจารณา ท่กี ำหนดไว้
พฒั นาการของเด็ก
๑.๓.๖ สง่ เสรมิ ให้เดก็ ปฐมวัยเดินทางอย่างปลอดภัย ระดบั ดมี าก
๑.๓.๗ จัดใหม้ ีระบบปอ้ งกันภยั จากบคุ คลทง้ั ภายในและภายนอกสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ระดับดมี าก
๑.๓.๘ จดั ให้มรี ะบบรบั เหตุฉุกเฉนิ ป้องกนั อัคคีภัย/ภยั พิบัตติ ามความเส่ียงของพ้นื ท่ี ระดบั ดี
ตวั บง่ ช้ที ่ี ๑.๔ การจดั การเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการเรยี นรู้ ระดับดีมาก
ตวั บง่ ชย้ี ่อย
๑.๔.๑ มกี ารจดั การเพื่อสง่ เสริมสขุ ภาพเฝา้ ระวังการเจรญิ เติบโตของเด็กและดูแลการ ระดับดมี าก
เจ็บป่วยเบอ้ื งตน้
๑.๔.๒ มีแผนและดำเนินการตรวจสขุ อนามยั ประจาวันตรวจสขุ ภาพประจำปแี ละป้องกนั ระดบั ดมี าก
ควบคุมโรคติดต่อ
๑.๔.๓ อาคารตอ้ งมีพื้นท่ีใชส้ อยเปน็ สดั ส่วนตามกิจวัตรประจำวันของเด็กทเี่ หมาะสมตาม ระดบั ดมี าก
ช่วงวยั และการใช้ประโยชน์
๑.๔.๔ จดั ให้มีพ้นื ท/ี่ มุมประสบการณ์และแหลง่ เรยี นรู้ในห้องเรียนและนอกหอ้ งเรียน ระดับดมี าก
๑.๔.๕ จดั บรเิ วณห้องนา้ ห้องส้วมที่แปรงฟัน/ลา้ งมอื ให้เพยี งพอสะอาดปลอดภยั และ ระดบั ดมี าก
เหมาะสมกบั การใช้งานของเด็ก
๑.๔.๖ จดั การระบบสุขาภบิ าลท่มี ปี ระสทิ ธิภาพครอบคลุมสถานทปี่ รงุ ประกอบอาหารนำ้ ระดับดมี าก
ดืม่ นำ้ ใชก้ ำจดั ขยะสิ่งปฏิกลู และพาหะนำโรค
๑.๔.๗ จัดอปุ กรณ์ภาชนะและเคร่ืองใช้ส่วนตัวให้เพยี งพอกับการใชง้ านของเด็กทกุ คนและ ระดบั ดีมาก
ดูแลความสะอาดและปลอดภัยอยา่ งสม่ำเสมอ
ตวั บง่ ช้ีท่ี ๑.๕ การส่งเสริมการมีส่วนรว่ มของครอบครัวและชุมชน ระดบั ดีมาก
ตวั บง่ ช้ีย่อย
๑.๕.๑ มีการสอ่ื สารเพื่อสรา้ งความสมั พนั ธ์และความเขา้ ใจอันดีระหว่างพ่อแม่/ผู้ปกครอง ระดับดมี าก
กับสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยเกี่ยวกบั ตวั เดก็ และการดำเนินงานของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
๑.๕.๒ การจัดกิจกรรมทีพ่ ่อแม่/ผปู้ กครอง/ครอบครัวและชมุ ชนมสี ว่ นร่วม ระดบั ดี
๑.๕.๓ ดำเนนิ งานใหส้ ถานพฒั นาเด็กปฐมวยั เปน็ แหล่งเรียนรู้แก่ชมุ ชนในเรือ่ งการพัฒนา ระดับดี
เด็กปฐมวยั
๑.๕.๔ มีคณะกรรมการสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ดมี าก
มาตรฐานดา้ นท่ี ๒ ครู/ผ้ดู แู ลเด็กให้การดแู ลและจัดประสบการณก์ ารเรียนรแู้ ละการเล่นเพ่อื ระดับดีมาก
พัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวบง่ ชี้ท่ี ๒.๑ การดูแลและพัฒนาเด็กอยา่ งรอบดา้ น ระดบั ดีมาก
ตัวบ่งช้ีย่อย
๒.๑.๑ มีแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรูท้ สี่ อดคลอ้ งกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมี ระดบั ดมี าก
การดำเนนิ งานและประเมนิ ผล
๒.๑.๒ จดั พ้ืนท/ี่ มุมประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นทเ่ี หมาะสมอยา่ งหลากหลาย ระดับดมี าก
คา่ เป้าหมายมาตรฐาน/
มาตรฐาน / ตวั บ่งช้/ี ตัวบ่งชี้ยอ่ ย/ รายการพิจารณา ตวั บ่งช้ี/ รายการ
พจิ ารณา ทกี่ ำหนดไว้
๒.๑.๓ จดั กิจกรรมส่งเสรมิ พฒั นาการทุกด้านอย่างบูรณาการตามธรรมชาตขิ องเดก็ ท่ี ระดับดมี าก
เรยี นรู้ด้วยประสาทสัมผสั ลงมือทำปฏิสมั พันธ์และการเล่น
๒.๑.๔ เลือกใชส้ อื่ /อุปกรณ์เทคโนโลยเี ครื่องเล่นและจัดสภาพแวดลอ้ มภายใน-ภายนอก ระดบั ดมี าก
แหล่งเรียนรทู้ เี่ พยี งพอเหมาะสมปลอดภัย
๒.๑.๕ เฝ้าระวงั ตดิ ตามพัฒนาการเด็กรายบคุ คลเปน็ ระยะเพ่อื ใช้ผลในการจัดกิจกรรม ระดับดมี าก
พัฒนาเด็กทกุ คนใหเ้ ตม็ ตามศักยภาพ
ตวั บ่งชท้ี ี่ ๒.๒ การสง่ เสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดแู ลสุขภาพ ระดับดีมาก
ตวั บง่ ชี้ย่อย
๒.๒.๑ ให้เด็กอายุ ๖ เดือนขึ้นไปรบั ประทานอาหารที่ครบถ้วนในปริมาณท่เี พียงพอและ ระดับดมี าก
ส่งเสรมิ พฤติกรรมการกนิ ที่เหมาะสม
๒.๒.๒ จดั กจิ กรรมใหเ้ ด็กไดล้ งมือปฏบิ ัติอย่างถูกต้องเหมาะสมในการดแู ลสขุ ภาพความ ระดับดมี าก
ปลอดภยั ในชีวิตประจาวัน
๒.๒.๓ ตรวจสุขภาพอนามยั ของเดก็ ประจำวนั ความสะอาดของร่างกายฟนั และชอ่ งปาก ระดับดมี าก
เพื่อคดั กรองโรคและการบาดเจบ็
๒.๒.๔ เฝา้ ระวงั ติดตามการเจริญเติบโตของเด็กเปน็ รายบุคคลบันทึกผลภาวะโภชนาการ ระดบั ดมี าก
อยา่ งต่อเนอื่ ง
๒.๒.๕ จดั ใหม้ กี ารตรวจสุขภาพรา่ งกายฟนั และชอ่ งปากสายตาหูตามกำหนด ระดบั ดมี าก
ตวั บ่งช้ีท่ี ๒.๓ การส่งเสริมพัฒนาการดา้ นสติปญั ญาภาษาและการสือ่ สาร ระดบั ดีมาก
ตวั บ่งชีย้ ่อย
๒.๓.๑ จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เดก็ ไดส้ ังเกตสัมผัสลองทำคดิ ตัง้ คำถามสบื เสาะหา ความรู้ ระดับดมี าก
แกป้ ญั หาจนิ ตนาการคดิ สร้างสรรคโ์ ดยยอมรบั ความคิดและผลงานท่ีแตกตา่ งของเด็ก
๒.๓.๒ จดั กิจกรรมและประสบการณ์ทางภาษาทมี่ ีความหมายตอ่ เด็กเพ่อื การสื่อสารอย่าง ระดบั ดมี าก
หลากหลายฝึกฟังพดู ถามตอบเล่าและสนทนาตามลาดบั ข้ันตอน พฒั นาการ
๒.๓.๓ จัดกจิ กรรมปลกู ฝงั ให้เดก็ มนี ิสยั รักการอา่ นใหเ้ ดก็ มีทักษะการดูภาพฟังเร่ืองราวพูด ระดบั ดมี าก
เล่าอา่ นวาด/เขียนเบ้ืองต้นตามลำดับพฒั นาการโดยครู/ ผู้ดูแลเดก็ เปน็ ตวั อย่างของการพูดและ
การอ่านทถ่ี กู ตอ้ ง
๒.๓.๔ จัดใหเ้ ด็กมีประสบการณเ์ รียนรเู้ ก่ยี วกับตวั เด็กบุคคลสิ่งต่างๆสถานท่แี ละธรรมชาติ ระดบั ดมี าก
รอบตวั ด้วยวธิ ีการทเี่ หมาะสมกบั วัยและพฒั นาการ
๒.๓.๕ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ดา้ นคณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์เบ้ืองตน้ ตามวยั โดย ระดบั ดมี าก
เด็กเรียนรผู้ ่านประสาทสัมผัสและลงมือปฏิบตั ิด้วยตนเอง
ตัวบ่งชี้ท่ี ๒.๔ การส่งเสริมพัฒนาการดา้ นอารมณ์จิตใจ-สงั คมปลูกฝงั คณุ ธรรมและความเป็น ระดบั ดีมาก
พลเมอื งดี
ตัวบ่งช้ียอ่ ย
๒.๔.๑ สร้างความสัมพันธ์ทด่ี ีและมัน่ คงระหวา่ งผู้ใหญ่กบั เด็กจดั กิจกรรมสร้างเสริม ระดบั ดมี าก
ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/
มาตรฐาน / ตัวบ่งช้/ี ตัวบ่งชย้ี อ่ ย/ รายการพิจารณา ตวั บง่ ช/้ี รายการ
พจิ ารณา ทก่ี ำหนดไว้
ความสมั พนั ธท์ ีด่ ีระหว่างเด็กกับเด็กและการแก้ไขข้อขดั แย้งอยา่ งสรา้ งสรรค์
๒.๔.๒ จดั กิจกรรมส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมีความสุขแจ่มใสร่าเริงไดแ้ สดงออกดา้ นอารมณ์ ระดับดมี าก
ความรู้สึกที่ดตี ่อตนเองโดยผ่านการเคลอื่ นไหวรา่ งกายศิลปะดนตรีตามความ สนใจและถนดั
๒.๔.๓ จดั กจิ กรรมและประสบการณ์ปลูกฝังคุณธรรมให้เดก็ ใฝ่ดีมีวินัยซ่ือสตั ยร์ ู้จักสิทธิ ระดับดมี าก
และหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบของพลเมืองดีรักครอบครวั โรงเรียนชุมชนและประเทศชาติดว้ ยวิธีท่ี
เหมาะสมกบั วัยและพัฒนาการ
ตัวบง่ ชีท้ ่๒ี .๕การสง่ เสรมิ เดก็ ในระยะเปลย่ี นผ่านให้ปรับตัวสู่การเชื่อมตอ่ ในขั้นถัดไป ระดับดีมาก
ตัวบง่ ช้ยี ่อย
๒.๕.๑ จดั กจิ กรรมกบั ผู้ปกครองใหเ้ ตรียมเดก็ กอ่ นจากบ้านเขา้ ส่สู ถานพฒั นาเด็กปฐมวัย/ ระดับดมี าก
โรงเรยี นและจดั กิจกรรมช่วงปฐมนิเทศใหเ้ ด็กค่อยปรบั ตัวในบรรยากาศทีเ่ ป็นมิตร
๒.๕.๒ จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การปรับตวั ก่อนเขา้ รับการศกึ ษาในระดับทส่ี งู ข้ึนแต่ละข้ันจนถงึ ระดบั ดมี าก
การเปน็ นกั เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑
มาตรฐานด้านที๓่ คุณภาพของเดก็ ปฐมวยั ระดับดีมาก
สำหรบั เด็กแรกเกิด – อายุ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วนั )
ตวั บ่งชีท้ ี่ ๓.๑ ก เดก็ มกี ารเจริญเตบิ โตสมวัย ระดบั ดีมาก
ตวั บง่ ชยี้ ่อย
๓.๑.๑ ก เดก็ มีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับวัยและสูงดีสมสว่ นซึ่งมีบนั ทกึ เป็นรายบุคคล ระดับดมี าก
ตวั บง่ ช้ีท่ี๓.๒กเด็กมีพัฒนาการสมวยั ระดบั ดีมาก
ตวั บ่งช้ีย่อย
๓.๒.๑ ก เด็กมีพัฒนาการสมวัยโดยรวม๕ด้าน ระดบั ดมี าก
๓.๒.๒ ก รายดา้ น : เดก็ มีพัฒนาการกลา้ มเนอื้ มัดใหญ่ (Gross Motor) ระดับดมี าก
๓.๒.๓กรายด้าน : เด็กมีพัฒนาการดา้ นกลา้ มเน้ือมดั เลก็ และสตปิ ญั ญาสมวยั (Fine ระดับดมี าก
Motor Adaptive)
๓.๒.๔ ก รายดา้ น : เดก็ มีพัฒนาการดา้ นการรบั รู้และเขา้ ใจภาษา (Receptive ระดับดมี าก
Language)
๓.๒.๕ ก รายดา้ น : เดก็ มพี ฒั นาการการใชภ้ าษาสมวยั (Expressive Language) ระดบั ดมี าก
๓.๒.๖ ก รายดา้ น : เดก็ มีพัฒนาการการช่วยเหลือตนเองและการเขา้ สังคม (Personal ระดบั ดมี าก
Social)
สำหรับเดก็ อายุ ๓ ปี – อายุ ๖ ปี (กอ่ นเขา้ ประถมศึกษาปีที่ ๑)
ตัวบ่งช้ีที๓่ .๑ขเด็กมีการเจรญิ เตบิ โตสมวัยและมีสุขนิสัยทเ่ี หมาะสม ระดับดีมาก
ตวั บง่ ช้ยี ่อย
๓.๑.๑ ข เดก็ มนี ำ้ หนักตัวเหมาะสมกับวัยและสงู ดีสมส่วนซงึ่ มีบันทกึ เป็นรายบุคคล ระดบั ดมี าก
๓.๑.๒ ข เด็กมีสุขนิสยั ทด่ี ใี นการดูแลสขุ ภาพตนเองตามวัย ระดบั ดมี าก
๓.๑.๓ ข เด็กมสี ขุ ภาพชอ่ งปากดีไมม่ ีฟนั ผุ ระดับดมี าก
คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/
มาตรฐาน / ตวั บ่งช/้ี ตัวบง่ ชีย้ อ่ ย/ รายการพจิ ารณา ตัวบง่ ชี/้ รายการ
พิจารณา ที่กำหนดไว้
ตัวบง่ ช้ีท่ี ๓.๒ ข เดก็ มพี ัฒนาการสมวยั ระดับดีมาก
ตวั บง่ ชี้ยอ่ ย
๓.๒.๑ ข เดก็ มีพัฒนาการสมวัยโดยรวม๕ดา้ น ระดับดมี าก
ตัวบง่ ชท้ี ี๓่ .๓ขเดก็ มีพัฒนาการด้านการเคลอ่ื นไหว ระดับดีมาก
ตวั บง่ ชย้ี ่อย
๓.๓.๑ ข เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเน้ือมัดใหญส่ ามารถเคลื่อนไหวและทรงตวั ได้ ระดบั ดมี าก
ตามวัย
๓.๓.๒ ข เด็กมีพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเน้ือมดั เล็กและการประสานงานระหว่างตากับ ระดบั ดมี าก
มอื ตามวยั
ตวั บ่งชท้ี ๓ี่ .๔ขเด็กมีพัฒนาการดา้ นอารมณจ์ ติ ใจ ระดบั ดีมาก
ตัวบ่งชย้ี อ่ ย
๓.๔.๑ ข เด็กแสดงออกร่าเรงิ แจ่มใสร้สู กึ มน่ั คงปลอดภยั แสดงความร้สู ึกที่ดีต่อตนเองและ ระดบั ดมี าก
ผอู้ ่ืนได้สมวยั
๓.๔.๒ ข เด็กมคี วามสนใจและรว่ มกิจกรรมตา่ งๆอย่างสมวัยซงึ่ รวมการเล่นการทำงาน ระดับดมี าก
ศลิ ปะ ดนตรีกีฬา
๓.๔.๓ ข เดก็ สามารถอดทนรอคอยควบคุมตนเองยับย้ังชงั่ ใจทำตามขอ้ ตกลงคำนึงถึง ระดบั ดมี าก
ความรูส้ ึกของผอู้ ืน่ มีกาลเทศะปรับตัวเขา้ กับสถานการณ์ใหม่ได้สมวยั
ตวั บง่ ชี้ที่ ๓.๕ ข เด็กมพี ัฒนาการดา้ นสติปัญญาเรยี นรู้และสร้างสรรค์ ระดบั ดีมาก
ตวั บง่ ชีย้ ่อย
๓.๕.๑ขเด็กบอกเกย่ี วกับตวั เด็กบุคคลสถานทีแ่ วดลอ้ มธรรมชาตแิ ละส่งิ ตา่ งๆรอบตัวเด็กได้ ระดบั ดมี าก
สมวัย
๓.๕.๒ขเด็กมีพื้นฐานด้านคณติ ศาสตร์สามารถสังเกตจำแนกและเปรียบเทียบจำนวนมิติ ระดบั ดมี าก
สมั พนั ธ์ (พื้นท/ี่ ระยะ) เวลาได้สมวัย
๓.๕.๓ ข เดก็ สามารถคิดอย่างมเี หตุผลแกป้ ัญหาได้สมวัย ระดบั ดมี าก
๓.๕.๔ ข เดก็ มีจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ที่แสดงออกไดส้ มวยั ระดบั ดมี าก
๓.๕.๕ ข เดก็ มีความพยายามมุง่ มัน่ ต้ังใจทำกิจกรรมให้สำเร็จสมวยั ระดบั ดมี าก
ตวั บง่ ช้ที ่ี ๓.๖ ข เด็กมีพัฒนาการด้านภาษาและการสื่อสาร ระดบั ดีมาก
ตัวบ่งชี้ยอ่ ย
๓.๖.๑ ข เดก็ สามารถฟังพดู จับใจความเล่าสนทนาและส่ือสารได้สมวยั ระดบั ดมี าก
๓.๖.๒ ข เดก็ มีทักษะในการดรู ปู ภาพสญั ลกั ษณ์การใช้หนงั สอื รู้จกั ตวั อักษรการคดิ เขียนคำ ระดบั ดมี าก
และการอา่ นเบื้องตน้ ได้สมวัยและตามลำดับพฒั นาการ
๓.๖.๓ ข เดก็ มที กั ษะการวาดการขีดเขียนตามลาดับข้นั ตอนพฒั นาการสมวยั นำไปสู่การ ระดบั ดมี าก
ขดี เขียนคำที่คุน้ เคยและสนใจ
๓.๖.๔ ข เดก็ มที กั ษะในการสือ่ สารอย่างเหมาะสมตามวยั โดยใช้ภาษาไทยเป็นหลักและมี ระดับดมี าก
มาตรฐาน / ตวั บ่งช้ี/ ตัวบ่งชีย้ อ่ ย/ รายการพจิ ารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/
ตัวบง่ ชี้/ รายการ
ความคุ้นเคยกบั ภาษาอ่นื ด้วย
ตวั บ่งชีท้ ่ี ๓.๗ ข เดก็ มีพัฒนาการด้านสงั คมคุณธรรมมีวินัยและความเปน็ พลเมอื งดี พิจารณา ทก่ี ำหนดไว้
ตัวบ่งช้ียอ่ ย
ระดบั ดีมาก
๓.๗.๑ขเด็กมปี ฏิสัมพนั ธก์ ับผู้อืน่ ได้อยา่ งสมวัยและแสดงออกถงึ การยอมรบั ความแตกต่าง
ระหว่างบคุ คล ระดบั ดมี าก
๓.๗.๒ขเด็กมคี วามเมตตากรณุ ามีวนิ ยั ซ่อื สัตยร์ บั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและส่วนรวมและมี ระดบั ดมี าก
คา่ นิยมที่พึงประสงค์สมวยั
๓.๗.๓ขเด็กสามารถเลน่ และทำงานร่วมกับผ้อู ่นื เปน็ กลมุ่ เป็นไดท้ ัง้ ผูน้ ำและผู้ตามแก้ไขข้อ ระดับดมี าก
ขดั แยง้ อย่างสร้างสรรค์ ระดับดมี าก
๓.๗.๔ขเดก็ ภาคภูมิใจที่เป็นสมาชกิ ที่ดใี นครอบครวั ชุมชนสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยและ
ตระหนักถึงความเปน็ พลเมืองดขี องประเทศไทยและภมู ิภาคอาเซียน
การกำหนดคา่ เปา้ หมาย
1. ศกึ ษาข้อมลู เดิม ผลการประเมนิ ต่างๆที่ผา่ นมา เพ่ือเป็นข้อมูลฐานในการกำหนดคา่ เป้าหมาย
2. มาตรฐานการตัดสนิ แต่ละระดบั กำหนดการตดั สนิ คุณภาพของมาตรฐาน มี 4 ระดับ เพ่อื ให้
สอดคล้องกับการประเมนิ ดังนี้
ระดบั 3 ดีมาก
ระดับ 2 ดี
ระดบั 1 ผา่ นเกณฑ์ขนั้ ตน้
ระดับ 0 ตอ้ งปรบั ปรงุ
3. การกำหนดค่าเปา้ หมาย ในแตล่ ะประเด็นพิจารณา จะกำหนดเปน็ ระดับคณุ ภาพ หรอื
เป็น รอ้ ยละ ตามความเหมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศึกษา
บนั ทึกการพจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ
เรื่อง กำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เพ่ือการประกันคุณภาพ
การศกึ ษาภายใน ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กสบแม่ขา่
.................................................................................
การประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์พฒั นาเด็กเล็กสบแม่ขา่ ครง้ั ที่ 5/2564 เมื่อวนั ท่ี 7
พฤษภาคม 2564 ได้พจิ ารณากำหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เพือ่ การ
ประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ สบแม่ขา่ มีมติเห็นชอบและรับรองค่าเป้าหมายตาม
มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ เพือ่ การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก
สบแม่ข่า โดยให้นำไปใช้เปน็ แนวทางในการบรหิ ารการจดั การของสถานศึกษาต่อไป
(นายจำลอง ปณั ราชา)
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก
ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กสบแม่ข่า