The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการถ่ายโอนภารกิจ จ.2 290864

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supansa.pakd, 2022-12-06 08:38:33

คู่มือการถ่ายโอนภารกิจ จ.2 290864

คู่มือการถ่ายโอนภารกิจ จ.2 290864

ค่มู อื การปฏิบัตงิ านในภารกจิ ตามพระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพ่มิ เติม
ทถ่ี ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ สำหรับเจ้าหน้าท่อี งคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น

ตัวอยา่ งแนวทางการรา่ งคำสง่ั ตามมาตรา 11 วรรคส่ี

ที่ ....../......
..............................................
..............................................

วันที่...................................
เรื่อง ..................(1).....................
เรียน ........................(2)....................ผปู้ ระกอบกิจการโรงงาน

ตามที่.................(ระบุผู้ประกอบการ)............. ได้แจ้งประกอบกิจการโรงงานเพ่ือประกอบ
กิจการ........................... ต้ังอยู่เลขท่ี.................................................................................... ปรากฏว่าพนักงาน
เจ้าหน้าท่ีได้ไปตรวจสอบโรงงานเม่ือ.............................. และพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ออกใบรับแจง้ ประกอบกิจการ
โรงงานจำพวกที่ 2 ให้ทา่ นตามแบบ ร.ง.2 ทะเบยี นโรงงานเลขที.่ ..........................................

เมื่อวันท่ี..........................พนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ตรวจสอบโรงงานของท่าน พบว่า..................
(3)............... ลักษณะดังกล่าวเป็นการแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 ตามมาตรา 11 วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 ท่ียงั ไมถ่ กู ตอ้ งหรอื ไมค่ รบถ้วน

ฉะน้ัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 11 วรรคสี่ แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
พนกั งานเจ้าหน้าทจ่ี ึงมีคำสัง่ ให้................. (ระบุผู้ประกอบกจิ การตาม(2))..............ดำเนินการดังตอ่ ไปนี้

1.…
2… ......(4).....
3…

ท้ังนี้ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายใน 7 วนั นับแต่วันที่ไดร้ ับคำสง่ั ฉบับนี้
หากท่านไมเ่ หน็ ดว้ ยกับคำส่งั ฉบับน้ี ทา่ นสามารถยื่นอทุ ธรณ์หรอื โต้แย้งคำสั่งนต้ี อ่ พนักงานเจ้าหนา้ ท่ีผู้
ออกคำสั่งได้ ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ทราบคำสั่ง โดยส่งคำอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำส่ังได้ที่.................. (ผู้ออกใบรับแจ้ง)
............... การอุทธรณห์ รือโตแ้ ย้งคำสั่งไม่เป็นการทเุ ลาการปฏบิ ัติตามคำส่งั

จงึ เรียนมาเพ่อื ทราบ และใหค้ วามร่วมมือปฏิบัติตามคำส่งั อย่างเครง่ ครัดดว้ ย มฉิ ะนั้นอาจถูกส่ัง
ใหห้ ยุดและปิดโรงงาน ตามลำดับ รวมท้ังจะต้องรับโทษตามกฎหมาย

ขอแสดงความนบั ถือ

()
..............(6)................
พนกั งานเจ้าหนา้ ทตี่ ามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

......................................................
.......................................................

(โปรดดูคำแนะนำและคำเตอื นด้านหลงั )

4-15

คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ กไ้ ขเพิ่มเติม
ท่ถี า่ ยโอนให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ สำหรับเจ้าหน้าท่อี งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน

การกรอกรายละเอยี ดในคำส่งั มาตรา 11 วรรคส่ี
(1) ใหแ้ กไ้ ขการแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน
(2) - กรณีเปน็ บุคคลธรรมดา ช่อื ของผู้ประกอบกจิ การโรงงาน

- กรณีเป็นนิตบิ ุคคล ผมู้ อี ำนาจทำการแทนนิตบิ ุคคล
(3) ระบุขอ้ เท็จจรงิ ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจพบซ่ึงเมื่อเปรียบเทยี บกับรายละเอียดในการแจ้งการ
ประกอบกจิ การโรงงานจำพวกที่ 2 (ร.ง.1) พรอ้ มเอกสารประกอบแล้ว ไมถ่ กู ต้อง
(4) เนอ้ื หาของคำสงั่ ทจี่ ะใหผ้ ู้ประกอบกิจการโรงงานปฏบิ ตั ิ เช่น ให้แกไ้ ขข้อเทจ็ จริงท่ีตรวจพบใหต้ รงกบั

ขอ้ มลู การแจ้งการประกอบกจิ การโรงงาน เปน็ ตน้
หมายเหตุ
การส่งคำสั่งตามมาตรา 11 วรรคสี่ ต้องปฏิบัตใิ ห้ถูกต้องตามมาตรา 38 ดว้ ย มิฉะนั้นจะไมม่ ีผลตามกฎหมายท่ี
จะดำเนินการกบั ผปู้ ระกอบกิจการโรงงาน และในบางกรณตี ้องจัดทำหลกั ฐานแสดงวันท่ีรบั ทราบคำส่งั ให้ชดั เจน
คำแนะนำหรือคำเตอื นท่ีจะตอ้ งสง่ ไปด้วยกบั คำสง่ั
การไม่ดำเนินการตามมาตรา 11 วรรคสอง จะเป็นเหตุให้สามารถออกคำสั่งให้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามมาตรา
37 หรอื ออกคำส่งั ใหห้ ยุดประกอบกิจการโรงงานหรอื ปดิ โรงงานตามมาตรา 39 ได้ แลว้ แต่กรณี

4-16

คู่มือการปฏบิ ัติงานในภารกิจตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพม่ิ เติม
ทถ่ี า่ ยโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ สำหรับเจา้ หน้าทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

4.4 งานพจิ ารณาการคัดสำเนาใบรบั แจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2
ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน

รบั คาํ ขอท่วั ไป [1]

ตรวจสอบเอกสาร [2]

ลงทะเบียนรับคาํ ขอ [3]

คัดสําเนาใบรับแจง้ ฯ / แจ้งผล [4]

มอบสําเนาใบรับแจง้ ฯ [5]

รายละเอยี ดการปฏบิ ัติงาน
[1] พนักงานเจ้าหน้าที่รับคำขอทั่วไปจากผู้รับใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 เพื่อขอ
คดั สำเนาใบรบั แจง้ ฯ เนอ่ื งจากใบรับแจง้ ฯ ชำรดุ สญู หายหรอื ถกู ทำลาย
[2] พนักงานเจา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบเอกสาร
- กรณี เอกสารครบถว้ นถูกต้อง ใหล้ งรับคำขอทว่ั ไปพรอ้ มแนบแฟ้มเรื่องเดมิ ตอ่ ไป
- กรณี เอกสารไม่ครบถว้ นถกู ตอ้ ง ใหค้ ืนคำขอทว่ั ไปเพือ่ ไปจดั ทำเอกสารเพื่อมายน่ื ใหม่
[3] พนักงานเจ้าหน้าทลี่ งรับคำขอทวั่ ไป
[4] พนักงานเจา้ หน้าท่ีออกสำเนาใบรับแจ้งฯ / แจง้ ผล
- ให้พิมพ์ใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง. 2) ขึ้นใหม่ โดยให้มี
ข้อความเช่นเดียวกันกับใบรับแจ้งการประกอบกจิ การโรงงานจำพวกที่ 2 (แบบ ร.ง. 2) ฉบับเดิม
ทุกประการ (รวมทั้งช่ือและตำแหน่งของผู้รับแจ้งเดิมด้วย) รวมท้ังให้พิมพ์ข้อความในปกในว่า

4-17

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านในภารกจิ ตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม
ทีถ่ ่ายโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ สำหรับเจา้ หนา้ ทีอ่ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน

“ได้คัดสำเนาใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 ข้ึนใหม่ ตามคำขอเลขที่ ...... ลง
วนั ท่ี ..... เดอื น ..... พ.ศ. .....” และให้พนักงานเจา้ หนา้ ท่ีผู้คัดสำเนาลงชือ่ และประทบั ตรา
- ให้ประทับตรา “สำเนา” บริเวณก่ึงกลางด้านบนเหนือครุฑของใบรับแจ้งการประกอบกิจการ
โรงงานจำพวกที่ 2 ที่จดั ทำขนึ้ ใหม่
[5] มอบสำเนาใบรับแจง้ ฯ
- เจ้าหน้าท่ีมอบสำเนาใบรับแจ้งฯ (แบบ ร.ง. 2) แกผ่ ยู้ ื่นคำขอทั่วไป
- เก็บแฟม้ และเก็บเร่ืองเข้าระบบ
เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง

ลำดับ ช่ือเอกสาร จำนวน และรายละเอยี ดเพิ่มเติม (ถ้าม)ี
1) แบบคำขอท่วั ไป ฉบับจรงิ 1 ฉบบั
2) 2.1 กรณี บุคคลธรรมดา

(1) บตั รประจำตัวประชาชน (นำมาแสดงต่อเจา้ หนา้ ท)ี่ ฉบับจริง 1 ฉบบั
(2) ทะเบยี นบ้าน (นำมาแสดงต่อเจา้ หนา้ ที)่ ฉบบั จริง 1 ฉบับ
2.2 กรณี นติ บิ ุคคล
(1) หนังสือรับรองนิติบุคคล (ต้องคัดสำเนาไว้ไม่เกิน 3 เดือน นับตั้งแต่วันคัดสำเนาจนถึงวันท่ีย่ืนใบแจ้งฯ โดยต้องมี
วัตถุประสงค์ของนิติบุคคลตรงกับประเภทของการแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน และมีการลงนามรับรองเอกสารและ
ประทับตรา (ถา้ ม)ี ทกุ หน้า) สำเนา 2 ฉบบั
(2) บัตรประจำตัวประชาชนของผ้มู ีอำนาจลงนามแทนนติ บิ คุ คล (นำมาแสดงต่อเจ้าหน้าท่ี) ฉบับจรงิ 1 ฉบับ
(3) ทะเบียนบา้ นของผู้มีอำนาจลงนามแทนนติ ิบุคคล (นำมาแสดงต่อเจ้าหนา้ ที)่ ฉบบั จรงิ 1 ฉบับ
(4) กรณีบุคคลต่างด้าวเป็นผู้แทนนิติบุคคลให้ใช้สำเนาหนังสือเดินทาง (Passport) และสำเนาใบอนุญาตทำงาน
(Work permit) สำเนา 2 ฉบบั
3) หนังสือมอบอำนาจให้กระทำการแทนผ้ยู ืน่ คำขอฯ (ถ้าม)ี ฉบบั จรงิ 1 ฉบับ (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หน้าท)่ี สำเนา 1 ฉบบั
หมายเหตุ (ตดิ อากรแสตมปต์ ามที่กฎหมายกำหนด พร้อมแนบสำเนาบตั รประจำตัวประชาชนหรือสำเนาหนังสือเดินทางของผู้
มอบอำนาจท่มี ีการลงนามรบั รองโดยเจ้าของบตั รหรือหนงั สอื เดนิ ทาง กรณีมอบอำนาจในนามนติ บิ คุ คคลให้แนบสำเนาหนงั สือ
รับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลคัดสำเนาไม่เกิน 3 เดือน ท่ีมีรายละเอียดของผู้มีอำนาจลงนาม ท่ีอยู่สำนักงาน และ
วัตถปุ ระสงค์ของนิติบุคคล และมีการลงนามรับรองตามขอ้ กำหนดท่ีระบใุ นหนงั สอื รบั รองการจดทะเบียนเปน็ นิติบุคคล)
4) ใบแจง้ เอกสารสญู หาย (กรณี แจ้งกบั พนักงานเจ้าหน้าที่) ฉบบั จริง 1 ฉบับ
หรอื สำเนาบนั ทึกประจำวัน (กรณี แจง้ กบั เจา้ หน้าทีต่ ำรวจ) สำเนา 1 ฉบบั
5) ใบรบั แจ้งการประกอบกจิ การโรงงานจำพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง. 2) ฉบับเดมิ เดิม (กรณี ชำรดุ ) ฉบบั จริง 1 ฉบับ
6) เอกสารอนื่ ๆ ตามท่ีพนกั งานเจ้าหน้าที่กำหนด

4-18

คมู่ อื การปฏิบัติงานในภารกิจตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพิม่ เติม
ที่ถ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น สำหรับเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่

4.5 การแจ้งเลกิ ประกอบกิจการ การโอน การใหเ้ ช่า หรือการใหเ้ ช่าซอ้ื โรงงานจำพวกที่ 2

(มาตรา 11 วรรคห้า พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535)

ขนั้ ตอนการปฏิบัติงาน

รับใบแจ้งทั่วไป [1]

ตรวจสอบเอกสาร [2]

กรณี แจง้ เลิก ลงทะเบียนรับเร่ือง [3] กรณี โอน ใหเ้ ช่า
การประกอบกิจการโรงงาน หรือใหเ้ ชา่ ซือ

ตรวจสอบคา่ ธรรมเนยี มรายปที ีค่ ้าง กรณีมีค่าธรรมเนยี มรายปคี ้างชาํ ระ
ชาํ ระ [4] ใหต้ ิดตาม/ฟ้องคดี

พจิ ารณา [4.1]

จาํ หนา่ ยทะเบียนโรงงาน [5]

ออกหนงั สือรบั ทราบการแจ้ง [6]

หมายเหตุ เกบ็ ค่าธรรมเนียมรายปที ี่ค้างชำระ (เสียเงินเพมิ่ อีกร้อยละหา้ ต่อเดือน ตามมาตรา 43)

รายละเอยี ดการปฏิบตั ิงาน
[1] พนักงานเจ้าหน้าท่ีรับหนังสือหรือใบแจ้งทั่วไปจากผู้ที่ต้องการ แจ้งเลิกประกอบกิจการ โอน ให้เช่า
หรอื ใหเ้ ชา่ ซื้อ โรงงานจำพวกท่ี 2
[2] พนักงานเจ้าหนา้ ทต่ี รวจสอบเอกสาร
- ตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้องของเอกสาร โดยการย่ืนหนังสือหรือใบแจ้งท่ัวไปจะต้องอยู่
ภายในระยะเวลา 30 วันนับแต่วันที่เลิกประกอบกิจการโรงงาน โอน ให้เช่า หรือให้เช่าซื้อ โรงงาน
จำพวกท่ี 2 (กรณี เกนิ 30 วนั ต้องมกี ารดำเนินคดีอาญา ตามมาตรา 49)
- ผยู้ ่ืนหนังสอื หรอื ใบแจง้ ทวั่ ไปตอ้ งเป็นผรู้ บั ใบรับแจง้ ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 หรือผูร้ ับมอบอำนาจ
[3] พนกั งานเจา้ หน้าทลี่ งทะเบยี นรบั เร่ือง
- เม่ือเอกสารครบถว้ นถูกต้องใหล้ งทะเบยี นรับเร่ือง และแนบแฟ้มเร่อื งเดิม
[4] - [5] ตรวจสอบค่าธรรมเนยี มรายปที ี่คา้ งชำระ
- จำหนา่ ยทะเบียนโรงงาน
- กรณี เป็น การแจ้งเลิกประกอบกิจการโรงงาน หากมคี า่ ธรรมเนียมรายปคี า้ งชำระให้ดำเนินการ
เรียกร้องหรือฟ้องคดีเพือ่ ให้ชำระค่าธรรมเนียมรายปีและเงินเพมิ่ ให้ครบถว้ น

4-19

คู่มือการปฏบิ ตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เติม
ที่ถา่ ยโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ สำหรับเจา้ หนา้ ทีอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

[4.1] พจิ ารณา
- พจิ ารณาเรอ่ื งโอน ใหเ้ ช่า หรือให้เช่าซอื้ โรงงานจำพวกที่ 2 ตามแต่กรณี

[6] พนกั งานเจ้าหน้าท่บี ันทกึ การเปล่ียนแปลง/ออกหนงั สอื รับทราบการแจง้
- กรณี 1 การแจ้งเลิกประกอบกิจการโรงงาน จำพวกที่ 2 ดำเนินการออกหนังสือรับทราบการเลิกประกอบ
กิจการโรงงาน
- กรณี 2 การแจง้ โอน การเช่าหรือการเช่าซื้อให้บันทึกการเปลีย่ นแปลงผปู้ ระกอบกิจการโรงงาน
ในใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 (แบบ ร.ง. 2) และออกหนังสอื แจง้ รับทราบ
การเปลยี่ นผ้ปู ระกอบกิจการโรงงาน

เอกสารท่เี กี่ยวข้อง

ลำดับ ชอื่ เอกสาร จำนวน และรายละเอียดเพ่ิมเตมิ (ถ้าม)ี

1) แบบใบแจง้ ทั่วไป ฉบับจริง 1 ฉบับ
หมายเหตุ (มกี ารลงลายมอื ช่ือของผปู้ ระกอบการ หรือผ้รู ับมอบอำนาจทกุ หน้า ห้ามถา่ ยสำเนาลายมือชือ่ )

2) 2.1 กรณี บุคคลธรรมดา
(1) บัตรประจำตัวประชาชน (นำมาแสดงตอ่ เจ้าหนา้ ที่) ฉบบั จริง 1 ฉบบั
(2) ทะเบียนบ้าน (นำมาแสดงต่อเจ้าหนา้ ท่ี) ฉบับจริง 1 ฉบับ

2.2 กรณี นติ ิบุคคล
(1) หนังสือรับรองนิติบุคคล (ต้องคัดสำเนาไว้ไม่เกิน 3 เดือน นับต้ังแต่วันคัดสำเนาจนถึงวันท่ีย่ืนใบแจ้งฯ โดยต้องมี
วัตถุประสงค์ของนิติบุคคลตรงกับประเภทของการแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน และมีการลงนามรับรองเอกสารและ
ประทับตรา (ถา้ มี) ทกุ หนา้ ) สำเนา 2 ฉบบั
(2) บตั รประจำตัวประชาชนของผมู้ ีอำนาจลงนามแทนนิตบิ ุคคล (นำมาแสดงต่อเจา้ หน้าท)่ี ฉบับจรงิ 1 ฉบบั
(3) ทะเบียนบา้ นของผมู้ อี ำนาจลงนามแทนนิตบิ คุ คล (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หน้าท)่ี ฉบบั จริง 1 ฉบับ
(4) กรณีบุคคลต่างด้าวเป็นผู้แทนนิติบุคคลให้ใช้สำเนาหนังสือเดินทาง (Passport) และสำเนาใบอนุญาตทำงาน
(Work permit) สำเนา 2 ฉบบั

3) หนงั สอื มอบอำนาจให้กระทำการแทนผู้ย่ืนใบแจง้ ฯ (ถา้ มี) ฉบับจรงิ 1 ฉบบั (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หนา้ ที่) สำเนา 1 ฉบบั
หมายเหตุ (ติดอากรแสตมป์ตามที่กฎหมายกำหนด พร้อมแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือสำเนาหนังสือเดินทางของผู้
มอบอำนาจทม่ี ีการลงนามรับรองโดยเจ้าของบัตรหรือหนังสือเดินทาง กรณีมอบอำนาจในนามนิติบุคคคลให้แนบสำเนาหนังสือ
รับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลคัดสำเนาไม่เกิน 3 เดือน ท่ีมีรายละเอียดของผู้มีอำนาจลงนาม ที่อยู่สำนักงาน และ
วัตถุประสงคข์ องนิติบุคคล และมกี ารลงนามรับรองตามขอ้ กำหนดท่ีระบุในหนังสอื รับรองการจดทะเบียนเป็นนิตบิ ุคคล)

4) หนงั สอื แสดงการโอน การให้เชา่ หรือการใหเ้ ชา่ ซื้อ โรงงานจำพวกท่ี 2 (แลว้ แต่กรณ)ี ฉบับจรงิ 1 ฉบบั
หมายเหตุ หนังสือฯ เช่น หนังสือสัญญาการเช่าโรงงาน หรือเช่าซ้ือโรงงาน หรือบันทึกการโอนการประกอบกิจการ
โรงงาน (ทง้ั น้ีตอ้ งมขี อ้ ความระบุทะเบียนโรงงานด้วย)

5) ใบรบั แจง้ การประกอบกจิ การโรงงานจำพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง.2) ฉบบั จรงิ 1 ฉบับ
6) เอกสารอืน่ ๆ ตามทพ่ี นักงานเจ้าหนา้ ที่กำหนด

หมายเหตุ
- เอกสารการโอนท่ใี ช้ประกอบขึ้นอยู่กับลักษณะการโอน คอื

1. การโอนการประกอบกิจการ เอกสารข้อ 4 ให้ทำเป็น บันทึกการโอน
2. การให้เชา่ หรือเช่าซ้อื โรงงาน เอกสารข้อ 4 ให้ทำเปน็ สญั ญาการเชา่ หรือเช่าซื้อโรงงาน
- การย่ืนใบแจ้งการโอนต้องยน่ื ภายใน 30 วนั นบั จากทำบันทึกการโอน ทำสญั ญาเชา่ หรือเชา่ ซ้อื หรอื ทำสญั ญาซ้อื ขายโรงงาน
(โดยนบั วนั ที่ทำบนั ทกึ หรอื ทำสญั ญาเปน็ วนั แรก)

4-20

คมู่ ือการปฏิบัตงิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพม่ิ เติม
ท่ถี ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ สำหรับเจา้ หนา้ ท่ีองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

4.6 งานรับแจ้งกรณีโรงงานจำพวกที่ 2 หยุดดำเนินงานตดิ ต่อกนั เกนิ กว่าหน่ึงปี (มาตรา 33)

(มาตรา 33 พระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535)

1. การแจ้งหยุดดำเนนิ งานติดต่อกนั เกินกว่าหนงึ่ ปี (มาตรา 33 วรรคหน่ึง)
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน

รับใบแจง้ ท่ัวไป [1]

ตรวจสอบเอกสาร [2]

ลงรับเรอื่ ง [3]

บันทกึ ในปกในของ
ใบรับแจ้งฯ [4]

ออกหนงั สอื รับทราบ [5]

รายละเอยี ดการปฏบิ ตั งิ าน
[1] พนักงานเจ้าหน้าท่ีรับใบแจ้งท่ัวไปพร้อมเอกสารประกอบ โดยกรณีนี้จะต้องเป็นกรณีที่ผู้ประกอบกิจการ
โรงงานจำพวกท่ี 2 ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แจ้งว่าได้หยุดประกอบกิจการโรงงานติดต่อกันมาแล้ว
เกินกว่า 1 ปีประกอบกับจะต้องมาแจ้งภายในเจ็ดวันนับแต่วันพ้นกำหนดหน่ึงปี (กรณี แจ้งเกินกว่า 7 วัน ต้องมี
การดำเนนิ คดดี ว้ ย)
[2] ตรวจสอบความครบถ้วนของเอกสารตามรายการเอกสารหลกั ฐานประกอบ กรณใี บแจ้งหรือรายการ
เอกสารประกอบการพจิ ารณาไม่ถูกตอ้ งหรือไมค่ รบถว้ นใหแ้ จ้งผยู้ ืน่ คำขอแก้ไขใหถ้ กู ตอ้ ง
[3] ลงรับเรอ่ื งพรอ้ มแนบแฟม้ เรอ่ื งเดิม
[4] เมื่อตรวจสอบข้อเทจ็ จริงที่ปรากฏตามใบแจ้งท่วั ไป และเอกสารประกอบแลว้ เหน็ ว่าระยะเวลาทห่ี ยุดประกอบ
กิจการโรงงานเป็นการหยุดประกอบกิจการโรงงานติดต่อกันมาแล้วเกินกว่า 1 ปี ให้บันทึกในปกในของใบรับแจ้ง
การประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 (แบบ ร.ง.2) ว่า “โรงงานรายนี้ได้หยุดประกอบกิจการโรงงานติดต่อกัน
มาแลว้ หน่ึงปี (ต้งั แต่วันที่.........ถึงวันท.่ี ..............) และไดแ้ จ้งใหพ้ นักงานเจา้ หนา้ ทที่ ราบตามมาตรา 33 แลว้ ตามใบ
แจง้ ทัว่ ไปลงวันท่ี...........”
[5] เมื่อได้มีการบันทึกตาม [4] แล้วให้ออกหนังสือถึงผู้ย่ืนใบแจ้งท่ัวไป เพ่ือแจ้งการรับทราบการหยุดประกอบ
กจิ การโรงงานติดตอ่ กนั มาแล้วเกินกว่า 1 ปี

4-21

คมู่ ือการปฏิบัตงิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี ก้ไขเพิ่มเติม
ที่ถา่ ยโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน สำหรับเจ้าหน้าท่อี งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง

ลำดับ ชอ่ื เอกสาร จำนวน และรายละเอยี ดเพิ่มเติม (ถ้ามี)
1) แบบใบแจ้งทวั่ ไป ฉบบั จรงิ 1 ฉบับ
2) ใบรบั แจง้ การประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง.2) ฉบบั ผู้ประกอบกิจการโรงงาน 1 ฉบบั
3) 3.1 กรณี บคุ คลธรรมดา

(1) บตั รประจำตัวประชาชน (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หนา้ ที่) ฉบับจริง 1 ฉบับ
(2) ทะเบียนบ้าน (นำมาแสดงต่อเจ้าหนา้ ที่) ฉบับจรงิ 1 ฉบบั
3.2 กรณี นติ บิ ุคคล
(1) หนังสือรับรองนิติบุคคล (ต้องคัดสำเนาไว้ไม่เกิน 3 เดือน นับต้ังแต่วันคัดสำเนาจนถึงวันท่ีย่ืนใบแจ้งฯ โดยต้องมี
วัตถุประสงค์ของนิติบุคคลตรงกับประเภทของการแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน และมีการลงนามรับรองเอกสารและ
ประทับตรา (ถา้ ม)ี ทกุ หน้า) สำเนา 2 ฉบบั
(2) บตั รประจำตัวประชาชนของผู้มอี ำนาจลงนามแทนนิติบคุ คล (นำมาแสดงต่อเจ้าหนา้ ที่) ฉบับจริง 1 ฉบบั
(3) ทะเบยี นบ้านของผมู้ ีอำนาจลงนามแทนนิตบิ คุ คล (นำมาแสดงต่อเจ้าหนา้ ท)่ี ฉบบั จริง 1 ฉบับ
(4) กรณีบุคคลต่างด้าวเป็นผู้แทนนิติบุคคลให้ใช้สำเนาหนังสือเดินทาง (Passport) และสำเนาใบอนุญาตทำงาน
(Work permit) สำเนา 2 ฉบบั
4) หนังสือมอบอำนาจใหก้ ระทำการแทนผยู้ ืน่ ใบแจง้ ฯ (ถา้ ม)ี ฉบับจริง 1 ฉบบั (นำมาแสดงตอ่ เจ้าหน้าท)ี่ สำเนา 1 ฉบบั
หมายเหตุ (ติดอากรแสตมป์ตามทีก่ ฎหมายกำหนด พรอ้ มแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือสำเนาหนังสือเดนิ ทางของ
ผู้มอบอำนาจที่มีการลงนามรับรองโดยเจ้าของบัตรหรือหนังสือเดินทาง กรณีมอบอำนาจในนามนิติบุคคคลให้แนบสำเนา
หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลคัดสำเนาไม่เกิน 3 เดือน ที่มีรายละเอียดของผู้มีอำนาจลงนาม ท่ีอยู่สำนักงาน
และวตั ถปุ ระสงค์ของนติ บิ ุคคล และมกี ารลงนามรับรองตามขอ้ กำหนดที่ระบุในหนังสือรับรองการจดทะเบยี นเป็นนติ บิ ุคคล)

4-22

คมู่ อื การปฏิบตั งิ านในภารกิจตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี กไ้ ขเพิ่มเติม
ทถ่ี า่ ยโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ สำหรับเจ้าหน้าทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่

2. การขอเปิดประกอบกิจการโรงงานกรณที ี่มกี ารหยดุ ดำเนนิ งานตดิ ตอ่ กันมาแล้วเกินกว่าหนึ่งปี (มาตรา 33 วรรคสอง)
ขนั้ ตอนการปฏิบตั งิ าน

รายละเอียดการปฏิบตั งิ าน
[1] รับใบแจ้งท่วั ไป
- ต้องเป็นผู้ประกอบกิจการโรงงานท่ีเคยแจ้งกรณีมีการหยุดประกอบกิจการโรงงานติดต่อกันมาแล้ว
เกนิ กว่า 1 ปี แล้วมาแจ้งขอเปิดประกอบกจิ การโรงงาน
[2] การตรวจสอบเอกสาร
- พนกั งานเจ้าหน้าทีต่ รวจสอบความครบถว้ นของเอกสารตามรายการเอกสาร หลกั ฐานประกอบ
[3] ลงรบั เรอ่ื ง
- กรณีที่ผู้แจ้งขอเปิดประกอบกิจการโรงงานเป็นผู้ประกอบกิจการโรงงานท่ีเคยแจ้งกรณีมีการหยุดประกอบ
กจิ การโรงงานตดิ ต่อกันมาแลว้ เกินกวา่ 1 ปี ให้ลงรับเรือ่ งพรอ้ มแนบเรอ่ื งเดิม
[4] พิจารณา
- เม่ือได้ลงรับใบแจ้งฯ แล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีบันทึกในปกในของใบรับแจ้งการประกอบ
กิจการโรงงานจำพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง.2) ว่า “โรงงานรายนี้ได้ขอเปิดประกอบกิจการโรงงาน
หลังจากทีไ่ ด้มกี ารแจง้ ตามมาตรา 33 มาแลว้ ตามใบแจง้ ทัว่ ไปลงวนั ท.่ี ..........”
[5] ออกหนังสือรบั ทราบ
- ออกหนังสอื ถึงผูย้ ื่นใบแจง้ ฯ เพ่ือแจง้ ผลการพิจารณาใหเ้ ปดิ ประกอบกิจการโรงงานได้

4-23

คูม่ อื การปฏบิ ตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ กไ้ ขเพิม่ เติม
ทถ่ี ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ สำหรับเจ้าหนา้ ท่ีองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่

เอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ ง

ลำดบั ชือ่ เอกสาร จำนวน และรายละเอียดเพ่ิมเตมิ (ถ้ามี)
1) แบบใบแจ้งท่ัวไป ฉบับจรงิ 1 ฉบับ
2) ใบรบั แจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2 (แบบ ร.ง.2) ฉบบั ผปู้ ระกอบกิจการโรงงาน 1 ฉบบั
3) 3.1 กรณี บคุ คลธรรมดา

(1) บัตรประจำตัวประชาชน (นำมาแสดงตอ่ เจ้าหน้าที่) ฉบบั จริง 1 ฉบับ
(2) ทะเบยี นบ้าน (นำมาแสดงต่อเจา้ หนา้ ที่) ฉบบั จริง 1 ฉบบั
3.2 กรณี นิตบิ ุคคล
(1) หนังสือรับรองนิติบุคคล (ต้องคัดสำเนาไว้ไม่เกิน 3 เดือน นับตั้งแต่วันคัดสำเนาจนถึงวันที่ย่ืนใบแจ้งฯ โดยต้องมี
วัตถุประสงค์ของนติ บิ ุคคลตรงกบั ประเภทของการแจง้ การประกอบกิจการโรงงาน และมีการลงนามรับรองเอกสารและ
ประทับตรา (ถา้ ม)ี ทุกหน้า) สำเนา 2 ฉบับ
(2) บตั รประจำตวั ประชาชนของผ้มู ีอำนาจลงนามแทนนติ ิบคุ คล (นำมาแสดงตอ่ เจ้าหน้าท)ี่ ฉบบั จรงิ 1 ฉบบั
(3) ทะเบียนบา้ นของผมู้ อี ำนาจลงนามแทนนิติบคุ คล (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หนา้ ท)ี่ ฉบับจรงิ 1 ฉบบั
(4) กรณีบุคคลต่างด้าวเป็นผู้แทนนิติบุคคลให้ใช้สำเนาหนังสือเดินทาง (Passport) และสำเนาใบอนุญาตทำงาน
(Work permit) สำเนา 2 ฉบับ
4) หนังสอื มอบอำนาจใหก้ ระทำการแทนผยู้ นื่ ใบแจง้ ฯ (ถา้ มี) ฉบับจรงิ 1 ฉบบั (นำมาแสดงตอ่ เจ้าหน้าท่)ี สำเนา 1 ฉบบั
หมายเหตุ (ติดอากรแสตมป์ตามทกี่ ฎหมายกำหนด พรอ้ มแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือสำเนาหนังสือเดินทางของผู้
มอบอำนาจท่ีมีการลงนามรับรองโดยเจ้าของบัตรหรือหนังสือเดินทาง กรณีมอบอำนาจในนามนิติบุคคคลให้แนบสำเนา
หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลคัดสำเนาไม่เกิน 3 เดือน ท่ีมีรายละเอียดของผู้มีอำนาจลงนาม ท่ีอยู่สำนักงาน
และวตั ถปุ ระสงคข์ องนิตบิ คุ คล และมกี ารลงนามรับรองตามขอ้ กำหนดท่รี ะบใุ นหนงั สือรบั รองการจดทะเบียนเปน็ นติ ิบุคคล)

4-24

คู่มือการปฏบิ ตั ิงานในภารกิจตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ทีถ่ า่ ยโอนให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ สำหรับเจา้ หน้าที่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

. 4.7 งานรับแจ้งกรณมี อี ุบัติเหตใุ นโรงงาน (มาตรา 34)

ขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน

รับเรื่อง [1]

ตรวจสอบเอกสาร/แนบแฟม้ เรือ่ งเดมิ
[2]

ลงรับเรอ่ื ง [3]

ตรวจสอบและพิจารณาสง่ั การตาม
มาตรา 37 วรรคหน่งึ หรือ

มาตรา 39 วรรคหนงึ่ แลว้ แตก่ รณี
[4]

รายละเอียดการปฏิบตั งิ าน
[1] พนกั งานเจา้ หน้าท่ีรับหนงั สอื
[2] การตรวจสอบเอกสาร/แนบแฟม้ เรอื่ งเดมิ
- พนักงานเจา้ หน้าที่ตรวจสอบรายละเอยี ดวา่ เป็นไปตามมาตรา 34 หรอื ไม่
- กรณีขาดเอกสารหรือเอกสารไม่ถูกต้องไม่ครบถ้วน และไม่อาจแก้ไข/เพ่ิมเติมได้ในขณะน้ัน
ผู้แจ้งและผู้รับแจ้งจะต้องลงนามบันทึกความบกพร่องและรายการเอกสาร/หลักฐานร่วมกัน
พรอ้ มกำหนดระยะเวลาท่ผี แู้ จง้ ดำเนินการแกไ้ ข/เพ่มิ เติมเอกสารภายในระยะเวลาทกี่ ำหนด
[3] ลงทะเบยี นรบั เร่อื ง
- เจา้ หน้าทร่ี ับเรื่องและลงทะเบียนรบั เรอ่ื ง
[4] ตรวจสอบและพจิ ารณาสง่ั การ
- พนักงานเจา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบโรงงานและเคร่ืองจกั รโดยเรว็ และพิจารณาสัง่ การตามมาตรา 37
หรอื มาตรา 39 แลว้ แต่กรณี
- กรณที พี่ บว่าการแจ้งการเกิดอบุ ตั ิเหตใุ นโรงงานเป็นการแจ้งเกินระยะเวลาท่ีกำหนดไวใ้ นมาตรา 34
จะมโี ทษตามมาตรา 54 ตอ้ งมกี ารดำเนินคดีอาญา ด้วย

4-25

คูม่ อื การปฏบิ ัติงานในภารกิจตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ ก้ไขเพ่ิมเติม
ทถี่ ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น สำหรับเจ้าหนา้ ทอี่ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน

หมายเหตุ
โรงงานจำพวกที่ 1 และจำพวก 2 แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ที่มีอบุ ัติเหตใุ นโรงงานเนื่องจากโรงงานหรือ

เคร่อื งจกั รของโรงงาน ถ้าอบุ ตั ิเหตุน้ัน
1. เป็นเหตุให้บุคคลถึงแก่ความตาย เจ็บป่วยหรือบาดเจ็บ ซึ่งภายหลัง 72 ชั่วโมงแล้วยังไม่สามารถทำงานในหน้าที่
เดิมได้ได้ ให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบภาย 3 วันนับแต่วันตาย หรือวัน
ครบกำหนด 72 ช่ัวโมง
2. เป็นเหตุให้โรงงานต้องหยุดดำเนินงานเกินกว่า 7 วัน ให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงาน
เจ้าหนา้ ทที่ ราบภายใน 10 วนั นบั แตว่ ันเกิดอุบตั ิเหตุ

เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง

ลำดบั ช่ือเอกสาร จำนวน และรายละเอียดเพิ่มเตมิ (ถ้ามี)
1) หนงั สือแจ้งกรณีมีอุบตั เิ หตุในโรงงาน ฉบบั จริง 1 ฉบบั

หมายเหตุ หนังสือผู้ประกอบการโรงงาน หรือแบบฟอร์มตามท่ีหน่วยงานกำหนด ท่ีมีการลงลายมือชื่อของผู้ขอ
อนญุ าตหรอื ผรู้ ับมอบอำนาจ ห้ามถา่ ยสำเนาลายมือชือ่
2) 2.1 กรณี บคุ คลธรรมดา

(1) บัตรประจำตวั ประชาชน (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หนา้ ท)่ี ฉบบั จรงิ 1 ฉบับ
(2) ทะเบียนบา้ น (นำมาแสดงตอ่ เจา้ หนา้ ท่)ี ฉบบั จริง 1 ฉบับ
2.2 กรณี นิติบคุ คล
(1) หนังสือรับรองนิติบุคคล (ต้องคัดสำเนาไว้ไม่เกิน 3 เดือน นับตั้งแต่วันคัดสำเนาจนถึงวันท่ียื่นใบแจ้งฯ โดยต้องมี
วัตถุประสงค์ของนิติบุคคลตรงกับประเภทของการแจ้งการประกอบกิจการโรงงาน และมีการลงนามรับรองเอกสารและ
ประทบั ตรา (ถ้าม)ี ทกุ หนา้ ) สำเนา 2 ฉบบั
(2) บตั รประจำตวั ประชาชนของผมู้ อี ำนาจลงนามแทนนิตบิ คุ คล (นำมาแสดงตอ่ เจ้าหนา้ ท่)ี ฉบบั จริง 1 ฉบบั
(3) ทะเบยี นบ้านของผู้มีอำนาจลงนามแทนนิติบุคคล (นำมาแสดงต่อเจ้าหนา้ ท่ี) ฉบับจริง 1 ฉบบั
(4) กรณีบุคคลต่างด้าวเป็นผู้แทนนิติบุคคลให้ใช้สำเนาหนังสือเดินทาง (Passport) และสำเนาใบอนุญาตทำงาน
(Work permit) สำเนา 2 ฉบบั
3) หนังสอื มอบอำนาจให้กระทำการแทนผู้ยื่นใบแจง้ ฯ (ถ้ามี) ฉบบั จรงิ 1 ฉบับ (นำมาแสดงต่อเจา้ หน้าท)ี่ สำเนา 1 ฉบบั
หมายเหตุ (ติดอากรแสตมป์ตามท่ีกฎหมายกำหนด พร้อมแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือสำเนาหนังสือเดินทางของผู้
มอบอำนาจทมี่ ีการลงนามรับรองโดยเจ้าของบัตรหรอื หนังสือเดินทาง กรณีมอบอำนาจในนามนิตบิ ุคคคลให้แนบสำเนาหนังสือ
รับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลคัดสำเนาไม่เกิน 3 เดือน ที่มีรายละเอียดของผู้มีอำนาจลงนาม ท่ีอยู่สำนักงาน และ
วตั ถุประสงคข์ องนิติบุคคล และมกี ารลงนามรับรองตามข้อกำหนดท่รี ะบใุ นหนังสอื รับรองการจดทะเบยี นเปน็ นติ บิ ุคคล)

4-26

คู่มอื การปฏบิ ตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเติม
ทถ่ี ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ สำหรับเจา้ หนา้ ท่ีองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ

4.8 การตรวจสอบเรือ่ งรอ้ งเรียน/ตรวจการโรงงานทั่วไป

ขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ าน

รับเรอ่ื งรอ้ งเรยี น [1] แผนการตรวจการโรงงาน [1]

ก่อเหตุเดอื ดร้อน และ ตรวจสอบโรงงาน [2] ไมไ่ ด้ก่อเหตุเดือดร้อน
กระทําผิดกฎหมาย ผลการตรวจสอบ และไม่ผิดกฎหมาย

สงั่ การตามมาตรา 37 รายงานผลและแจ้งผู้ร้อง
หรอื มาตรา 39 *ตามกระบวนงานท่ี 4.10 (ต่อ)

หรอื ดาํ เนนิ คดอี าญา [3]

เหตุร้องเรียนยงั คงอยู่

ตรวจติดตามผล [5] เหตุรอ้ งเรียนหมดไป ยุตเิ รือ่ ง

รายงานผลและแจ้งผูร้ ้อง [6]

หมายเหตุ การตรวจการโรงงานท่ัวไป เป็นการตรวจสอบและกำกับดูแลการประกอบกิจการโรงงานให้เป็นไปตาม
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 หากตรวจสอบพบว่ามีการกระทำท่ีฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี ให้พนักงาน
เจ้าหน้าท่ีที่มีอำนาจสั่งให้ระงับการกระทำท่ีฝ่าฝืนหรือแก้ไขหรือปรับปรุงให้ถูกต้องภายในระยะเวลาท่ีกำหนดหรือส่ังให้หยุด
ประกอบกจิ การโรงงานทงั้ หมดหรอื บางส่วนเพ่อื แก้ไขปรับปรุงหรือปฏบิ ตั ิให้ถูกตอ้ งภายในระยะเวลาทกี่ ำหนด

รายละเอยี ดการปฏบิ ตั งิ าน
[1] รับเรือ่ งรอ้ งเรียน/พบเห็น หรอื ดำเนนิ การตรวจโรงงานตามแผน
- พนักงานเจ้าหน้าที่สอบถามข้อมูล สาเหตุ ผลกระทบ ช่วงเวลาท่ีก่อให้เกิดเหตุร้องเรียนและ
ความต้องการให้แก้ไขปญั หาพร้อมบนั ทึกในแบบฟอร์มรับเรอ่ื ง
- ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นจากแฟ้มเรือ่ งเดมิ
[2] ตรวจสอบโรงงาน
- กรณเี กี่ยวข้องกับหนว่ ยงานราชการอ่นื ดว้ ย อาจเชิญหนว่ ยงานนน้ั ๆ ตรวจสอบร่วมพร้อมกนั
- ตรวจสอบข้อเท็จจรงิ ตามสาเหตกุ ารแจง้ ร้องเรยี น และตรวจตามพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ.2535
- เก็บตวั อย่าง ตรวจวเิ คราะห์ผลดา้ นส่ิงแวดล้อมเพือ่ ใช้เปน็ ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณา (ถา้ มี)
- ทำบันทึกผลการตรวจสอบโรงงานโดยละเอียดในบันทึกข้อเท็จจริงและแบบตรวจ 02 เพื่อใช้
เปน็ แนวทางในการส่งั การปรบั ปรุงแก้ไขปัญหาหรอื ดำเนนิ คดอี าญา

4-27

คมู่ ือการปฏิบตั ิงานในภารกิจตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ กไ้ ขเพิ่มเติม
ท่ถี า่ ยโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น สำหรับเจา้ หนา้ ท่อี งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ

[3] สง่ั การ / แจ้งผล
- กรณีไมไ่ ดก้ อ่ เหตเุ ดือดร้อน และไม่ผิดกฎหมายให้ยตุ เิ รื่อง
- กรณีก่อเหตุเดือดร้อน หรือกระทำผิดกฎหมาย ส่ังตามมาตรา 37 วรรคหน่ึง หรือมาตรา 39 วรรคหน่ึง
และดำเนินคดีอาญากรณีปฏบิ ัตไิ มเ่ ป็นไปตามกฎหมาย

[4] แจ้งผล
- แจ้งผลการดำเนนิ การใหผ้ รู้ อ้ งเรียน หน่วยงานราชการทีเ่ ก่ียวข้องทราบ

[5] ตรวจตดิ ตาม
- ตรวจตดิ ตามเมือ่ ครบกำหนดการสัง่ การ

[6] รายงานผล
- เหตรุ อ้ งเรียนหมดไปใหย้ ตุ เิ รือ่ ง
- เหตรุ ้องเรียนยังคงอยพู่ จิ ารณาสงั่ การตามข้อกฎหมายทเี่ หมาะสม

หมายเหตุ
1. การร้องเรียนเก่ียวกับโรงงานจะเกิดข้ึนเนื่องจากการประกอบกิจการของโรงงานก่อให้เกิดเหตุ
เดือดร้อนรำคาญ หรืออันตรายต่อบุคคลหรือทรัพย์สินที่อยู่ใกล้บริเวณโรงงาน หรือสถานประกอบการ
น้นั ถกู สงสยั วา่ มีใบรบั แจ้งถกู ต้องหรอื ไม่ ซงึ่ มชี อ่ งทางการร้องเรียน เช่น
- ร้องเรียนด้วยตนเอง
- ทางจดหมายหรือโทรศัพท์
- ทางสอ่ื มวลชน เชน่ วิทยุ โทรทศั น์ หนงั สอื พิมพ์
- สายด่วน หรือ อนิ เทอร์เน็ต
- หนว่ ยงานหรอื ส่วนราชการอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
2. กรณีผู้ร้องเรียนมาด้วยตนเองหรือร้องเรียนทางโทรศัพท์ ให้สอบถามรายละเอียดให้ครบถ้วนมาก
ที่สุด เช่น ข้อมูลโรงงานท่ีถูกร้องเรียน บ้านผู้ร้องเรียนและผู้ได้รับความเดือดร้อนรายอ่ืน ๆ ท่ีอยู่
ใกลเ้ คียงสาเหตุท่ีก่อให้เกดิ เหตเุ ดือดร้อน ช่วงเวลาที่ได้รบั ความเดือดร้อน ฯลฯ
3. ต้องตรวจสอบสถานที่ท่ีเกิดการร้องเรียนว่ามีใบรับแจ้งหรือไม่ หากมีใบรับแจ้งการประกอบ
กิจการโรงงานจำพวกที่ 2 (ร.ง. 2) ให้ตรวจสอบประวัติ ข้อมูลโรงงาน จากแฟ้มเรื่องเดิมว่าเคยถูก
ร้องเรียนหรือไม่ มีคำสง่ั แกไ้ ขหรอื ไดแ้ ก้ไขปญั หาไปแล้วหรือไม่ ปฏิบตั ถิ กู ต้องตามกฎหมายหรอื ไม่
4. ตรวจสอบข้อเท็จจริงให้ครบถ้วน หากมีโรงงานหลายโรงงานอยู่ในบริเวณท่ีถูกร้องเรียนต้อง
ตรวจสอบทุกโรงงานและสอบถามข้อมูลเหตุเดือดร้อนรำคาญจากผู้อยู่อาศัยใกล้เคียงให้ได้ข้อมูล
ท่ีชัดเจนท่สี ดุ เพือ่ วิเคราะหป์ ระมวลผล เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาต่อไป
5. กรณีมีการร้องเรียนถงึ หน่วยงานหรือส่วนราชการอื่น ๆ ด้วย อาจนัดหมายตรวจสอบพร้อมกัน จะ
ไดข้ ้อมลู ที่ชดั เจนครบถว้ น ถกู ตอ้ งตรงกัน มคี วามชอบธรรมซ่ึงจะได้รบั การยอมรับจากผู้รอ้ งเรียนสูง

เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง

ลำดบั ช่อื เอกสาร จำนวน และรายละเอียดเพิ่มเติม (ถ้าม)ี
1) แบบฟอรม์ รับเรื่องรอ้ งเรยี น
2) บันทึกข้อเท็จจริง สค.24/1
3) แบบตรวจ 02

4-28

คู่มือการปฏบิ ัติงานในภารกิจตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพมิ่ เติม
ทีถ่ ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น สำหรับเจา้ หนา้ ทีอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่

4.9 การติดตามคา่ ธรรมเนียมรายปี (มาตรา 43)

ข้ันตอนการปฏิบตั ิงาน

เจ้าหนา้ ท่ตี รวจสอบข้อมลู
การคา้ งชําระคา่ ธรรมเนยี มรายปี [1]

ชําระแลว้

การชาํ ระคา่ ธรรมเนยี มรายปี [2] ยุตเิ รือ่ ง

คา้ งชาํ ระ ชาํ ระแล้ว

แจง้ เป็นหนงั สอื เตือนใหช้ ําระคา่ ธรรมเนยี มรายปี
และเงนิ เพิ่มร้อยละ 5 ต่อเดือน [3]

คา้ งชําระ ชําระแลว้

ส่ังหยุดการประกอบกิจการโรงงาน เพอ่ื ให้ชาํ ระ
คา่ ธรรมเนยี มรายปแี ละเงนิ เพ่มิ ร้อยละ 5 ต่อเดอื น

ตามมาตรา 43 โดยนาํ มาตรา 39, 40, 41
มาใชโ้ ดยอนุโลม [4]

คา้ งชาํ ระ

สั่งปดิ โรงงานตามมาตรา 39 วรรคสาม
/ฟอ้ งคดีแพ่ง [5]

รายละเอียดการปฏิบตั งิ าน
[1] พนักงานเจา้ หนา้ ท่ีตรวจสอบข้อมลู การคา้ งชำระคา่ ธรรมเนยี มรายปี
[2] การชำระค่าธรรมเนยี มรายปี
- กรณี ชำระแลว้ ให้ยุติเร่อื ง
- กรณี ค้างชำระ ใหด้ ำเนินการตาม [3] ตอ่ ไป
[3] พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งเป็นหนังสือเตือนให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานชำระค่าธรรมเนียมรายปี และ

เงินเพ่ิมร้อยละ 5 ต่อเดือน หากผู้ประกอบกิจการโรงงานได้ชำระค่าธรรมเนียมรายปีพร้อมเงินเพ่ิมเรียบร้อยแล้ว
ให้ยุตเิ ร่อื ง แต่หากผู้ประกอบกิจการโรงงานยังไม่ดำเนินการชำระคา่ ธรรมเนียมรายปใี ห้ดำเนินการตาม [4] ตอ่ ไป

[4] กรณีผู้ประกอบกิจการโรงงานยังไม่ดำเนินการชำระค่าธรรมเนียมรายปี ให้ส่ังหยุดการประกอบ
กิจการโรงงาน เพื่อใหช้ ำระคา่ ธรรมเนยี มรายปแี ละเงินเพม่ิ ร้อยละ 5 ต่อเดือนตามมาตรา 43 โดยนำมาตรา 39,
40, 41 มาใชโ้ ดยอนโุ ลม

4-29

คู่มอื การปฏิบตั ิงานในภารกจิ ตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ทถี่ า่ ยโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ สำหรับเจ้าหนา้ ที่องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน

[5] สุดท้ายแล้วหากผู้ประกอบกิจการโรงงานไม่ดำเนินการชำระค่าธรรมเนียมรายปี ให้พนักงาน
เจ้าหนา้ ทีส่ ่งั ปิดโรงงาน ตามมาตรา 39 วรรคสาม/ฟ้องคดแี พ่ง

หมายเหตุ
มาตรา 43 ผ้ปู ระกอบกิจการโรงงานจำพวกท่ี 2 และโรงงานจำพวกท่ี 3 ตอ้ งชำระค่าธรรมเนียมรายปี

ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและอัตราท่ีกำหนดในกฎกระทรวงตลอดเวลาท่ียังประกอบกิจการ ถ้ามิได้เสีย
ค่าธรรมเนียมในเวลาท่ีกำหนดให้เสียเพิ่มอีกร้อยละห้าต่อเดือน และถ้ายังไม่ยินยอมเสียค่าธรรมเนียม
โดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจส่ังให้ผู้นั้นหยุดการประกอบกิจการไว้จนกว่าจะ
ได้เสียค่าธรรมเนียมและเงินเพ่ิมครบจำนวน และให้นำมาตรา 39 มาตรา 40 และมาตรา 41 มาใช้
บงั คับโดยอนุโลม

คา่ ธรรมเนียมรายปีสำหรบั โรงงานจำพวกที่ 2 ตามวรรคหน่ึง ท่ีอยู่ในเขตองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ที่
รัฐมนตรีแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามมาตรา 11/1 แล้ว รัฐมนตรีจะออกกฎกระทรวงลดหรือยกเว้น
ค่าธรรมเนียมดังกล่าวมิได้ เว้นแต่มีเหตุอันสมควรอันเกิดจากภัยธรรมชาติหรือภาวะทางเศรษฐกิจ หรือ
เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมกิจการให้เกิดข้ึนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะออกกฎกระทรวงลดหรือ
ยกเว้นค่าธรรมเนียมสำหรับองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ท่มี เี หตดุ ังกลา่ วได้

มาตรา 43/1 ค่าธรรมเนียมรายปีและเงินเพิ่มตามมาตรา 43 สำหรับโรงงานจำพวกท่ี 2 ที่ตั้งอยู่ใน
เขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใด ให้ตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้ันเฉพาะที่ได้มีการ
แต่งตง้ั พนกั งานเจ้าหนา้ ทตี่ ามมาตรา 11/1 แลว้
เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง
ลำดบั ช่อื เอกสาร จำนวน และรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ (ถ้ามี)
1) หนงั สือเตือนใหช้ ำระคา่ ธรรมเนยี มรายปี

4-30

คู่มือการปฏิบัติงานในภารกิจตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม
ท่ถี า่ ยโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ สำหรับเจา้ หน้าท่ีองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

4.10 การดำเนินการตามมาตรา 37 และมาตรา 39

ขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน

เจ้าหนา้ ทต่ี รวจสอบโรงงาน เร่ืองร้องเรียนหรอื ตรวจการท่ัวไป

ก่อให้เกดิ อันตราย/ความ ไม่ปฏิบัตติ าม พ.ร.บ. โรงงาน
เสียหาย/ความเดือดรอ้ น (กฎกระทรวง/ประกาศ/ระเบยี บ)

ออกคําสง่ั ดําเนินคดีอาญาตามฐานความผิด
รา้ ยแรง
ไมร่ า้ ยแรง

สัง่ การ ม.37 วรรคหนงึ่ กรณีท่ีเห็นสมควร สงั่ การ ม.39 วรรคหน่งึ (หยดุ )
สง่ คาํ สัง่ ตาม ม.38 อาจจะผูกมัด
ประทับตราเคร่ืองจักร สง่ คาํ สง่ั ตาม ม.38
ตาม ม.37 วรรคสอง /ปิดประกาศตาม ม.40

ตรวจสอบผลการปฏิบัติตามคําสัง่ ตรวจสอบผลการปฏิบตั ิตามคาํ ส่ัง

ผลการปฏิบัติ ไมป่ ฏบิ ัติ/ไมถ่ กู ตอ้ ง ผลการปฏบิ ัติ
ตามคาํ สัง ตามคาํ สัง

ถกู ตอ้ ง ถกู ต้อง ไมป่ ฏบิ ัติ/ไม่ถกู ต้อง

ส่งั การ ม.39 วรรคสาม (ปดิ )

ส่งคําสงั่ ตาม ม.38 สง่ คาํ สง่ั ตาม ม.38
สง่ั การ ม.39 วรรคสอง /ปิดประกาศตาม ม.40
(ใหป้ ระกอบกิจการได)้

ตรวจสอบผลการปฏบิ ัติตามคาํ สง่ั

ยตุ เิ รือ่ ง ถกู ต้อง ผลการปฏิบตั ิ ไม่ปฏิบตั /ิ ไม่ถูกต้อง
ตามคาํ สงั

4-31

คมู่ อื การปฏบิ ัติงานในภารกิจตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เติม
ที่ถ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ สำหรับเจ้าหน้าท่อี งค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ

รายละเอียดการปฏิบัติงาน
1. การดำเนนิ การตามมาตรา 37

1.1 การออกคำสงั่ ตามมาตรา 37 วรรคหนึง่
หลกั การ
- เหตแุ หง่ การทจ่ี ะออกคำสั่งตามมาตรา 37 วรรคหน่ึง มีดงั น้ี
กรณีท่ี 1 ผู้ประกอบกิจการโรงงานฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ซึ่ง
หมายความรวมถึงการไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบ ที่ออกตามความใน
พระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 ด้วย
กรณีท่ี 2 การประกอบกิจการโรงงานมีสภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตราย ความเสียหาย หรือความเดือดร้อน
แก่บคุ คลหรือทรพั ย์สินท่ีอยู่ในโรงงานหรือทีอ่ ย่ใู กลเ้ คียงกับโรงงาน
- ผู้มีอำนาจออกคำสัง่ ตามมาตรา 37 วรรคหน่ึง คือ พนักงานเจ้าหน้าท่ีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
แต่งตัง้ ตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535
- คำสั่งตามมาตรา 37 วรรคหนงึ่ สามารถออกคำสั่งให้ดำเนนิ การอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง หรือหลายอย่าง ดังน้ี
1. สง่ั ใหร้ ะงบั การกระทำท่ีฝ่าฝนื
2. สั่งใหแ้ ก้ไข
3. ส่งั ใหป้ รับปรงุ
4. สงั่ ให้ปฏบิ ตั ใิ หถ้ กู ตอ้ ง
5. สง่ั ใหป้ ฏบิ ัตใิ หเ้ หมาะสม
- คำส่ังตามมาตรา 37 วรรคหน่ึง จะต้องประกอบไปด้วย ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย คำส่ัง กำหนดระยะเวลา
เรมิ่ ต้นให้ปฏิบัติตามคำสงั่ กำหนดระยะเวลาสิ้นสดุ การปฏบิ ตั ิตามคำสัง่ สิทธิอุทธรณค์ ำสงั่
ข้อสังเกต
1. การกำหนดระยะเวลาให้ปฏิบัตินี้ถือว่าเป็นสาระสำคัญของคำสั่ง หากไม่กำหนดระยะเวลาไว้อาจเป็นคำส่ังที่ไม่
สมบรู ณ์ ซงึ่ แก้ไขได้โดยการออกคำสัง่ แก้ไขเพม่ิ เตมิ คำสั่งเดิมได้ (ในกรณที ี่จะตอ้ งใชร้ ะยะเวลา ปรบั ปรงุ แกไ้ ข)
2. สทิ ธิท่ีจะอุทธรณค์ ำสง่ั เป็นสาระสำคัญของคำส่ัง หากไม่กำหนดไวใ้ นคำสั่งจะเปน็ คำสงั่ ทไี่ ม่สมบรู ณ์ ซึ่งแก้ไขได้
โดยการออกคำส่ังแก้ไขเพ่ิมเตมิ คำสง่ั เดมิ ได้
3. ในระหว่างท่ปี ฏบิ ัติตามคำสัง่ หากตรวจพบวา่ มีการกระทำความผิดขึ้นใหมถ่ ือว่าเปน็ การกระทำกรรมใหมข่ น้ึ มา
4. เมื่อครบกำหนดระยะเวลาท่ีกำหนดไว้ในคำส่ังแล้ว หากมีการปฏิบัติตามคำสั่งแล้วแต่ยังไม่อาจแก้ไขได้และ
ผู้รับคำส่ังได้ยื่นคำขอขยายระยะเวลาการปฏิบัติตามคำสั่งก่อนส้ินระยะเวลาในคำส่ัง กรณีนี้อาจเป็นเหตุให้
พนักงานเจา้ หน้าทใ่ี ช้ดลุ พินจิ ขยายระยะเวลาปฏิบัติตามคำส่งั ได้
แนวทางการรา่ งคำส่งั ตามมาตรา 37 วรรคหนึ่ง
- มาตรา 37 วรรคหน่ึง กำหนดมูลเหตุแห่งการที่จะออกคำสั่งหลายประการพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้สั่งจะต้องทำ
ความเข้าใจให้ถูกต้องก่อนส่ังการทำความเข้าใจคือจะต้องรู้องค์ประกอบหรือส่วนประกอบตามที่กฎหมาย
กำหนดดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้นจะต้องสั่งการให้ครบถ้วน ยกตัวอย่างที่พบบ่อย ๆ คือ พนักงานเจ้าหน้าท่ีสั่ง
การแบบเล่ือยลอย ให้ปฏิบัติอย่างไม่มีขอบเขตและไม่ได้กำหนดระยะเวลาไว้ เช่นน้ีถือว่าเป็นคำสั่งท่ีไม่ครบ
องค์ประกอบตามกฎหมายจะมีผลกระทบต่อการดำเนินการขั้นต่อไปคือ การดำเนินคดีผู้ฝ่าฝืนคำส่ังหรือการ
สั่งการตามมาตรา 39 ต่อไปอาจดำเนินการข้ันต่อไปไม่ได้ และจะเป็นผลเสียต่อทางราชการหรือหน่วยงานที่
รบั ผิดชอบมาก

4-32

คู่มอื การปฏบิ ัติงานในภารกจิ ตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม
ที่ถ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ สำหรับเจา้ หน้าท่อี งคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่

- คำส่ังตามมาตรา 37 วรรคหน่ึง จะต้องแจ้งคำเตือนหรือคำแนะนำในเร่ืองท่ีผู้รับคำส่ังจะต้องทราบ
ดว้ ย เช่น การไม่ปฏบิ ัติตามคำส่ังจะมีโทษอย่างไร หรอื จะถูกดำเนินการต่อไปอย่างไร
- เพอ่ื เป็นแนวทางในการร่างคำสง่ั ตามมาตรา 37 วรรคหน่งึ จงึ ขอยกตัวอย่างแนวทางการร่าง ดังตอ่ ไปนี้

4-33

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และที่แกไ้ ขเพิ่มเติม
ทถ่ี ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ สำหรับเจา้ หนา้ ทีอ่ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่

ตัวอยา่ งแนวทางการรา่ งคำสงั่ ตามมาตรา 37 วรรคหนง่ึ

ท่ี ....../......
..............................................
..............................................
วันที.่ ..................................

เรอื่ ง ..................(1).....................
เรยี น ........................(2)....................ผู้ประกอบกจิ การโรงงาน

ตามท่ี.................(ระบุผู้ประกอบการ)............. ได้ประกอบกิจการโรงงาน.................................
ทะเบียนโรงงานเลขที่.............................................ต้ังอยู่เลขท่ี....................................................................................
ปรากฏว่าพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ไปตรวจสอบโรงงานเม่ือ.............................. และพบว่า.................. (3)...............
ลกั ษณะดงั กล่าว..............................................(4)......................................................

ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 37 วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
พนักงานเจา้ หน้าทจ่ี ึงมคี ำส่ังให้................. (ระบผุ ู้ประกอบกจิ การตาม(2))..............ดำเนินการดังต่อไปน้ี

1.…
2… ......(๕).....
3…

ท้งั น้ีให้แลว้ เสรจ็ ภายในวนั ท.ี่ .................................................................
ท้ังน้ี หากท่านไม่เห็นด้วยกับคำสั่งฉบับนี้ ท่านสามารถย่ืนอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำส่ังนี้ต่อ
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงอุตสาหกรรมได้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ทราบคำสั่ง โดยส่งคำอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำส่ังได้
ท่ีกระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามท่ี 6 เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 การอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำสั่งไม่
เป็นการทเุ ลาการปฏิบัตติ ามคำสั่ง

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และโปรดให้ความร่วมมือปฏิบัติตามคำส่ัง อย่างเคร่งครัดด้วย
มฉิ ะนนั้ อาจจะตอ้ งรับโทษตามกฎหมาย

ขอแสดงความนบั ถอื

()
...............................
พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี
ตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

......................................................
.......................................................

(โปรดดคู ำแนะนำและคำเตอื นด้านหลงั )

4-34

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี กไ้ ขเพิ่มเติม
ท่ีถ่ายโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ สำหรับเจ้าหน้าทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น

การกรอกรายละเอยี ดในคำส่ังมาตรา 37 วรรคหนงึ่
(1) ระงับการกระทำท่ีฝ่าฝืน หรือแก้ไข หรือปรับปรุงหรือปฏิบัติให้ถูกต้อง หรือเหมาะสม (ให้ระบุเฉพาะความ
ประสงคท์ ่ตี อ้ งการส่งั )
(2) - กรณเี ปน็ บุคคลธรรมดา ช่ือของผ้ปู ระกอบกิจการโรงงาน

- กรณีเปน็ นิตบิ ุคคล ผมู้ ีอำนาจทำการแทนนติ ิบุคคล
(3) ระบขุ อ้ เทจ็ จริงท่พี นักงานเจา้ หน้าท่ตี รวจพบซง่ึ จะเปน็ มลู เหตุในการพจิ ารณาข้อกฎหมายเพือ่ ออกคำส่งั
(4) - กรณเี ปน็ การฝ่าฝนื หรอื ไมป่ ฏิบตั ิตามพระราชบญั ญตั ิฯให้ระบุว่า ฝ่าฝืนกฎหมายฉบับใด เชน่ ฝา่ ฝนื

ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เรือ่ ง การกำจัดส่งิ ปฏิกลู หรือวสั ดุที่ไมใ่ ชแ้ ล้ว พ.ศ. 2548 ในขอ้ ใด
- กรณี เปน็ การประกอบกิจการทม่ี สี ภาพท่อี าจกอ่ ให้เกดิ อันตราย ความเสยี หาย หรือความเดอื ดร้อนแก่
บคุ คลหรือทรพั ย์สินทอี่ ยใู่ นโรงงานหรอื ทอ่ี ยูใ่ กลเ้ คยี งกบั โรงงานใหร้ ะบถุ ้อยคำตามขอ้ น้ี (ทขี่ ดี เสน้ ใต)้
(เหตผุ ลทอ่ี า้ งตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ข้อเทจ็ จริงทตี่ รวจพบ)
(5) เนอ้ื หาของคำส่ังท่ีจะให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานปฏิบตั ิ เชน่
- ใหร้ ะงบั การกระทำทฝ่ี า่ ฝนื กฎหมาย
- แกไ้ ข หรือปรับปรุง ระบบบำบัดนำ้ ท้งิ ใหส้ ามารบำบัดน้ำทิ้งให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เร่ือง กำหนดคา่ มาตรฐานควบคมุ การระบายน้ำทงิ้ ทีร่ ะบายจากโรงงาน พ.ศ. 2560
หมายเหตุ
- ระยะเวลาในคำส่ังควรกำหนดให้ชัดเจน เช่น ให้ปรับปรุงแก้ไขโรงงานให้แล้วเสร็จภายในวันท่ี 30
มกราคม 2564 เป็นต้น
- การส่งคำส่ังตามมาตรา 37 วรรคหนึ่ง ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามมาตรา 38 ด้วย มิฉะน้ันจะไม่มีผลตามกฎหมาย
ทจี่ ะดำเนินการกับผูป้ ระกอบกจิ การโรงงาน และในบางกรณีตอ้ งจัดทำหลักฐานแสดงวนั ที่รบั ทราบคำสงั่ ให้ชดั เจน
คำแนะนำหรอื คำเตอื นที่จะตอ้ งสง่ ไปด้วยกบั คำสั่ง
1. ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าท่ีซ่ึงส่ังตามมาตรา 37 วรรคหนึ่งต้องระวางโทษจำคุกไม่
เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับและให้ปรับอีกวันละไม่เกินห้าพันบาทตลอดเวลาท่ียังฝ่า
ฝืนหรอื ยงั ไมป่ ฏิบัติให้ถกู ตอ้ ง
2. การจงใจไม่ปฏิบัติตามมาตรา 37 วรรคหนึ่งอาจเป็นมูลเหตุให้ถูกส่ังให้หยุดประกอบกิจการโรงงานหรือ
ถกู สง่ั ให้ปดิ โรงงานแล้วแตก่ รณีได้

คำวินิจฉยั ของสำนกั งานอยั การสูงสุด
กรอ. ได้มีหนังสือหารือสำนักงานอัยการสูงสุดเก่ียวกับการส่ังการตามมาตรา 37 หรือ 39 พ.ร.บ.โรงงาน 2535 ว่า
จะสามารถส่ังการแก่โรงงานจำพวกที่ 2 ซ่ึงยังไม่ได้แจ้งการประกอบกิจการหรือโรงงานจำพวกที่ 3 ซ่ึงยังไม่ได้รับใบอนุญาตจะ
ส่ังการได้หรือไม่ สำนักงานอัยการสูงสุดมีหนังสือตอบข้อหารือตามหนังสือที่ อส.0017/10611 ลงวันท่ี 8 กรกฎาคม
2540 สรปุ ความวา่
“พ.ร.บ.โรงงาน 2535 มเี จตนารมณ์เพือ่ ควบคมุ ดแู ลป้องกนั เหตเุ ดือดรอ้ น รำคาญ ปอ้ งกนั ความเสยี หาย
และอันตรายของผลกระทบทม่ี ีตอ่ ประชาชนอันเกิดจากการต้งั โรงงานหรอื ประกอบกิจการโรงงาน โดยคำนงึ วา่
โรงงานน้ัน ๆ ได้จดั ต้งั ขึ้นถูกตอ้ งตาม กฎหมายหรอื ไม่ ท้ังนี้ เจา้ หน้าทท่ี เ่ี กีย่ วขอ้ งจึงใช้อำนาจสัง่ การทางปกครอง
ตามมาตรา 37 มาตรา 39 แกบ่ รรดาผู้ประกอบกจิ การโรงงานทง้ั ปวงได”้

4-35

คมู่ ือการปฏบิ ัติงานในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แกไ้ ขเพ่ิมเติม
ที่ถ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน สำหรับเจา้ หน้าที่องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ

1.2 การผกู มัดประทบั ตราเครอ่ื งจักรตามมาตรา 37 วรรคสอง
หลักการ
1. การผกู มัดประทับตราเครอื่ งจักรตามมาตรา 37 วรรคสอง จะตอ้ งกระทำในระหว่างการปฏิบัตติ าม
มาตรา 37 วรรคหน่ึง เสมอ
2. การผกู มัดประทับตราเคร่อื งจกั รต้องดำเนนิ การตามระเบยี บกรมโรงงานอตุ สาหกรรมวา่ ดว้ ยการ
ผกู มดั ประทับตราเครื่องจักรตามความในมาตรา 37 วรรคสอง แหง่ พระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ.
2535
3. ผ้ดู ำเนนิ การผูกมดั ประทบั ตราเครอ่ื งจักรตอ้ งเปน็ พนักงานเจ้าหนา้ ทีท่ ไี่ ด้รบั อนมุ ัติจากปลดั กระทรวง
อุตสาหกรรมหรอื ผูซ้ ่ึงปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรมมอบหมาย
4. กรณที ี่ไม่มกี ารดำเนินการตามมาตรา 37 วรรคหน่งึ แลว้ จะตอ้ งมีการแก้มดั ประทับตราเครอื่ งจักรตาม
ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมวา่ ดว้ ยการผูกมัดประทบั ตราเคร่ืองจักรตามความในมาตรา 37
วรรคสอง แหง่ พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535

4-36

คูม่ อื การปฏิบตั ิงานในภารกจิ ตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี ก้ไขเพิม่ เติม
ท่ีถา่ ยโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ สำหรับเจ้าหนา้ ท่ีองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น

แบบบนั ทึกตามระเบยี บฯ
(กรณีท่ีไม่สามารถผกู มดั ด้วยลวดหรอื ลวดสลงิ และผนกึ จุดผูกมัดด้วยแผน่ ผนึกดีบกุ ได)้

ส่วนราชการ .........................................................................
ท่ี (รหสั หน่วยงาน)/..........วนั ที่.........................................................................
เรอ่ื ง การผูกมดั ประทับตราเครื่องจักรเพอ่ื มใิ ห้เครือ่ งจักรทำงาน

ด้วยพนักงานเจา้ หนา้ ท่ีตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ไดใ้ ชอ้ ำนาจสง่ั การ ตามมาตรา
37 วรรคหนึ่ง แหง่ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ให้ (ชื่อผู้รับใบอนุญาต) ผู้ประกอบ กิจการโรงงาน (ระบุ
ลักษณะการสง่ั ) และในระหวา่ งที่มีคำสง่ั น้ี (ผู้มีอำนาจอนุมัติให้ผูกมัด ประทับตรา) ได้สงั่ การให้ผูกมัดประทบั ตรา
เครอ่ื งจักร เพือ่ มิใหเ้ คร่ืองจกั รทำงานไดใ้ นระหวา่ งการ ปฏิบัตติ ามคำสงั่ ของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี

ดังน้ัน (ระบชุ ่ือเครื่องจกั ร) จึงถูกห้ามใช้งานระหว่างท่ีมีคำส่ังตามมาตรา 37
วรรคหนึง่ ดงั กลา่ ว (ระหว่างวันท่ี วนั ท่ี เดอื น พ.ศ. ...)

(ประทบั ตราของทางราชการ)
ลงชอ่ื ............................................

()
พนักงานเจ้าหนา้ ที่
วัน เดือน ปี

4-37

ค่มู อื การปฏิบตั ิงานในภารกิจตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี ก้ไขเพิม่ เติม
ที่ถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ สำหรับเจา้ หน้าทอี่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

แบบบันทกึ ตามระเบยี บฯ
(คำสง่ั พนกั งานเจ้าหนา้ ท)่ี

ที่ (รหัสหน่วยงาน)/........... ส่วนราชการ
ทอี่ ยู่

วัน เดอื น ปี

เรอ่ื ง การผูกมัดประทับตราเครอ่ื งจักรเพ่ือมใิ ห้เครอ่ื งจักรทำงาน

เรยี น (ชือ่ ผรู้ ับใบอนญุ าต) ผูป้ ระกอบกจิ การโรงงาน

อา้ งถงึ คำสง่ั ของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ที ี่ อก .../..... ลงวนั ท่ี (คำสง่ั มาตรา 37)

ตามคำสง่ั ของพนักงานเจา้ หนา้ ทที่ อ่ี า้ งถงึ สัง่ ใหท้ า่ น (ระบุลักษณะท่ีส่งั ) ตั้ ง แ ต่ ไ ด้ รั บ
ทราบคำสั่งจนถึงวันที่............ เดือน ..........................พ.ศ. .... ในระหว่างการปฏิบัติตามคำส่ังดังกล่าว (ระบุ
ตำแหน่งของผู้อนุมัติให้ผูกมัดประทับตรา) เห็นสมควรให้มีการผูกมัดประทับตราเครื่องจักร เพ่ือมิให้เครื่องจักร
ทำงานโดยการ (ระบลุ กั ษณะการดำเนนิ การตามระเบยี บฯ ข้อ 3-5 แลว้ แตก่ รณ)ี

ดงั นั้น เครอื่ งจกั รท่ถี กู ดำเนินการผูกมัดประทับตราจำนวน เครอ่ื ง
ไดแ้ ก่ (ระบชุ ่อื เครื่องจกั ร) จงึ หา้ มทำงานระหวา่ ง (ระบวุ ัน เดือน พ.ศ. ..)

ขอแสดงความนับถือ

ลงช่อื
(พนกั งานเจ้าหนา้ ที่)

หมายเหตุ ผู้ใดกระทำเพื่อให้เคร่ืองจักรที่ได้ผูกมัดประทับตราไว้กลับทำงานได้อีก ต้องระวางโทษจำคุก
ไม่เกินหน่งึ ปี หรือปรบั ไม่เกนิ หนึ่งแสนบาท หรอื ทัง้ จำท้งั ปรับ

(หนว่ ยงานเจ้าของเรอ่ื ง)
โทร.
โทรสาร.

4-38

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแ่ี ก้ไขเพิ่มเติม
ที่ถ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น สำหรับเจ้าหน้าท่อี งคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น

แบบหนังสือแจ้งการยกเลิกการผูกมัดประทับตราเครื่องจกั ร

ที่ (รหสั หนว่ ยงาน)/........... ส่วนราชการ
ทอี่ ยู่

วัน เดือน ปี

เรือ่ ง การยกเลกิ การผกู มัดประทับตราเคร่ืองจกั ร

เรยี น (ผปู้ ระกอบกิจการโรงงาน)

อ้างถึง (หนงั สือแจ้งการผกู มัดประทับตราเคร่ืองจักรเพอ่ื มใิ ห้เครอ่ื งจักรทำงาน)

ตามหนังสือที่อ้างถึง (ระบุตำแหน่งของผู้อนุมัติให้ผูกมัดประทับตรา) ผู้ซึ่งปลัดกระทรวง
อตุ สาหกรรมมอบหมายใหม้ ีการผกู มดั ประทบั ตราเคร่ืองจักร โดยส่ังให้ (ผปู้ ระกอบกจิ การโรงงาน)

(ระบลุ กั ษณะที่ส่ัง) ห้ามทำงานระหว่าง (ระบุวัน เดอื น พ.ศ. ..) และภายหลังพนักงานเจ้าหน้าที่
ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้ดำเนินการตรวจสอบแล้วในวันท่ี (วัน เดือน ปี) พบว่าท่านได้
ดำเนนิ การปรับปรุงแกไ้ ขตามคำส่ังของพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ที่ อก .../..... ลงวันท.ี่ ...... (คำส่ังมาตรา 37) แล้ว นัน้

ดังนั้น (ระบุตำแหน่งของผู้อนุมัติให้ผูกมัดประทับตรา) ผู้ซ่ึงปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
มอบหมายให้มีการผูกมัดประทับตราเคร่ืองจักร จึงจะดำเนินการแก้มัดประทับตราเครื่องจักรของท่าน ท้ังนี้ขอให้
ท่านระมัดระวังการดำเนินการใดๆ ท่ีเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งพนักงานเจ้าหน้าท่ี จนกว่าจะได้มีการ
ดำเนินการใหถ้ ูกต้องตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕

จงึ เรียนมาเพ่ือทราบ

ขอแสดงความนับถือ

ลงชอ่ื
(พนกั งานเจา้ หนา้ ท)ี่

(หนว่ ยงานเจา้ ของเรอ่ื ง)
โทร.
โทรสาร.

4-39

คมู่ ือการปฏบิ ัติงานในภารกิจตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ ก้ไขเพ่มิ เติม
ทถ่ี า่ ยโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน สำหรับเจา้ หน้าท่ีองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

2. การดำเนนิ การตามมาตรา 39
2.1 การออกคำสัง่ ใหห้ ยุดประกอบกจิ การโรงงานตามมาตรา 39 วรรคหน่งึ
หลกั การ
- เหตแุ หง่ การทีจ่ ะออกคำสั่งตามมาตรา 39 วรรคหนึ่ง มีดงั น้ี
กรณีที่ 1 ผูป้ ระกอบกจิ การโรงงาน จงใจไม่ปฏบิ ัติตามคำสงั่ ของพนักงานเจ้าหนา้ ทที่ ่ีสง่ั การตามมาตรา 37
วรรคหนึง่ โดยไมม่ เี หตุอันสมควร
กรณีที่ 2 ผู้ประกอบกิจการโรงงานประกอบกิจการโรงงานที่อาจจะก่อให้เกิดอันตรายความเสียหายหรือความ
เดอื ดรอ้ นอยา่ งร้ายแรงแกบ่ ุคคลหรือทรัพย์สินที่อยู่ในโรงงานหรอื ท่อี ย่ใู กลเ้ คียงกับโรงงาน
- กรณีท่ี 1 และ กรณีที่ 2 ปลัดกระทรวงหรือผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายมีอำนาจออกคำส่งั ให้ผปู้ ระกอบ
กิจการโรงงานหยุดประกอบกิจการโรงงานทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นการชั่วคราว และให้ปรับปรุงแก้ไข
โรงงานเสยี ใหม่หรอื ปฏบิ ตั ิใหถ้ ูกตอ้ งภายในระยะเวลาท่กี ำหนด
ข้อสังเกต
1. กรณีท่ี 1 ผ้อู อกคำสั่งจะตอ้ งพิจารณาวา่ การจงใจไม่ปฏบิ ตั ิตามคำสง่ั ตามมาตรา 37 วรรคหนง่ึ โดยไมม่ ีเหตุ
อนั สมควรนนั้ อย่างไรเปน็ การจงใจหรอื ไมจ่ งใจจะตอ้ งพิจารณาข้อเทจ็ จริงและพฤตกิ ารณ์เปน็ เรื่อง ๆ ไป
2. กรณีท่ี 2 ผอู้ อกคำสงั่ จะต้องพิจารณาว่ากรณีใดเปน็ กรณีที่ “อาจกอ่ ให้เกิด อันตรายความเสยี หายหรือความ
เดอื ดร้อนอย่างร้ายแรง” โดยจะต้องพจิ ารณาข้อเท็จจริงและพฤตกิ ารณ์เปน็ เรอ่ื ง ๆ ไป
3. การกำหนดระยะเวลาให้ปรับปรุงแก้ไขโรงงานเสียใหม่หรือปฏิบัติให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่กำหนดน้ัน
ถอื ว่าเป็นสาระสำคัญของคำสั่ง หากไมก่ ำหนดระยะเวลาไวอ้ าจเป็นคำส่ังที่ไมส่ มบูรณ์ หากออกคำสงั่ ไปแลว้ มไิ ด้
กำหนดระยะเวลาดังกล่าวจะแก้ไขได้โดยการออกคำส่ังแก้ไขเพ่ิมเติมคำส่ังฉบับเดิมโดยไม่จำเป็นต้องยกเลิก
คำสั่งเดิม (ในกรณที ่จี ะตอ้ งใชร้ ะยะเวลา ปรับปรงุ แกไ้ ข)
4. สิทธิที่จะอุทธรณ์คำส่ังเป็นสาระสำคัญของคำสั่งหากไม่กำหนดไว้ในคำสั่งจะเป็นคำส่ังท่ีไม่สมบูรณ์ ออกคำสั่งไปแล้ว
มิได้กำหนดระยะเวลาดงั กล่าวจะแก้ไขไดโ้ ดยการออกคำสง่ั แก้ไขเพมิ่ เตมิ คำสัง่ ฉบบั เดิมโดยไมจ่ ำเปน็ ต้องยกเลิกคำสั่งเดมิ
5. ในระหวา่ งทีป่ ฏบิ ัตติ ามคำสั่ง หากตรวจพบว่ามกี ารกระทำความผิดข้ึนใหมถ่ อื ว่าเปน็ การกระทำกรรมใหมข่ ้ึนมา
6. เม่ือครบกำหนดระยะเวลาท่ีกำหนดไว้ในคำส่ังแล้ว หากมีการปฏิบัติตามคำส่ังแล้วแต่ยังไม่อาจแก้ไขได้และ
ผู้รับคำส่ังได้ยื่นคำขอขยายระยะเวลาการปฏิบัติตามคำสั่งก่อนส้ินระยะเวลาในคำสั่ง กรณีนี้อาจเป็นเหตุให้
ปลัดกระทรวงหรือผู้ซง่ึ ปลัดกระทรวงมอบหมายใช้ดุลพินิจขยายระยะเวลาปฏบิ ตั ติ ามคำสั่งได้
แนวทางการรา่ งคำสง่ั ตามมาตรา 39 วรรคหน่งึ
- มาตรา 39 วรรคหน่ึง กำหนดมูลเหตุแห่งการท่ีจะออกคำสั่งหลายประการ ผู้ที่ออกคำสั่งจะต้องทำความเข้าใจให้
ถูกต้องก่อนส่ังการ โดยจะต้องรู้องค์ประกอบหรือส่วนประกอบตามท่ีกฎหมายกำหนดดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้น
จะต้องส่ังการให้ครบถ้วน และสอดคล้องกับเน้ือหาที่ได้ออกคำสั่งตามมาตรา 37 วรรคหนึ่งไปแล้ว อีกทั้งจะต้อง
กำหนดระยะเวลาให้ปรับปรุงแก้ไขโรงงานหรือให้ปฏิบัติให้ถูกต้องไว้ให้ชัดเจน จึงจะถือว่าเป็นคำสั่งที่ครบ
องค์ประกอบตามกฎหมาย หากคำส่ังไม่ครบองค์ประกอบจะมีผลกระทบต่อการดำเนินการข้ันต่อไปคือ การ
ดำเนินคดีผู้ฝ่าฝืนคำส่ังหรือการออกคำส่ังปิดโรงงานตามมาตรา 39 วรรคสามได้ และจะเป็นผลเสียต่อทางราชการ
หรอื หนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบมาก
- คำสั่งตามมาตรา 39 วรรคหนึ่ง จะต้องแจ้งคำเตือนหรือคำแนะนำในเรื่องที่ผู้รับคำส่ังจะต้องทราบด้วย เช่น
การไมป่ ฏบิ ตั ติ ามคำส่ังจะมีโทษอย่างไร หรือจะถกู ดำเนินการตอ่ ไปอย่างไร
- เพ่อื เป็นแนวทางในการรา่ งคำสั่งตามมาตรา 39 วรรคหน่ึงจงึ ขอยกตวั อย่างแนวทางการรา่ ง ดังต่อไปน้ี

4-40

คู่มือการปฏิบตั งิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ้ ขเพิม่ เติม
ท่ถี ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน สำหรับเจา้ หน้าทอ่ี งค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

ตวั อยา่ งแนวทางร่างคำสงั่ ตามมาตรา 39 วรรคหนงึ่
(กรณปี ระกอบกิจการโรงงาน จงใจไม่ปฏบิ ตั ติ ามคำสง่ั ของพนกั งานเจา้ หนา้ ที)่

ท่ี ....../......

..............................................
..............................................

วนั ท.่ี ..................................

เร่ือง ..................(1).....................
เรียน ........................(2)....................ผู้ประกอบกิจการโรงงาน
อา้ งถงึ หนังสือ.................(3)..........................

ตามหนังสือท่ีอ้างถึง พนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 สังกัด
.....................ได้มีคำสั่งโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 37 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
ให้...................(2).................. ประกอบกิจการโรงงาน………………......(4)................................ทะเบียนโรงงานเลขท่ี
..................................ตั้งอยู่เลขท.ี่ ........................................................................................................................
.........................(5)...........................ให้แลว้ เสร็จภายในวนั ท่ี..................................... ความละเอยี ดแจง้ แลว้ นั้น

พนักงานเจ้าหน้าท่ี สังกัด................................... ได้ทำการตรวจสอบเก่ียวกับการปฏิบัติตามคำส่ังแล้ว เม่ือ
วันที่ ........................................ พบว่า…..................... (6)........................ ลักษณะดังกล่าวเป็นการจงใจไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของ
พนักงานเจ้าหนา้ ที่ตามมาตรา 37 วรรคหน่ึง แห่งพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 โดยไมม่ ีเหตอุ ันสมควร

ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 39 วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
......................(7)..................ผู้ซ่ึงปลัดกระทรวงมอบหมาย จึงมีคำสั่งให้............. (2)............ หยุดประกอบกิจการ
โรงงาน ..................(8)..................ในสว่ น.................(9)..............นับแต่วนั ทไี่ ดร้ บั คำสงั่ ฉบับน้ีเปน็ ตน้ ไป และให้ปรับปรงุ
แก้ไขโรงงาน/หรอื ปฏบิ ัตใิ ห้ถูกตอ้ ง............. (10)................ใหแ้ ลว้ เสร็จ...................(11)......................

ทั้งน้ี หากท่านไม่เห็นด้วยกับคำส่ังฉบับนี้ ท่านสามารถย่ืนอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำสั่งนี้ต่อ
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงอุตสาหกรรมได้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ทราบคำสั่ง โดยส่งคำอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำสั่งได้
ท่ีกระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามท่ี 6 เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 การอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำส่ังไม่
เป็นการทุเลาการปฏิบัตติ ามคำสง่ั

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และโปรดให้ความร่วมมือปฏิบัติตามคำส่ัง อย่างเคร่งครัดด้วย
มฉิ ะน้นั อาจจะต้องรับโทษตามกฎหมาย

ขอแสดงความนบั ถือ

...................................................... ()
....................................................... ..............(6)................
ผซู้ ง่ึ ปลัดกระทรวงอตุ สาหกรรมมอบหมาย

(โปรดดคู ำแนะนำและคำเตอื นดา้ นหลงั )

4-41

คู่มอื การปฏิบตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เติม
ท่ถี ่ายโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน สำหรับเจา้ หน้าที่องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน

การกรอกรายละเอยี ดในคำส่ังมาตรา 39 วรรคหนง่ึ

(กรณปี ระกอบกิจการโรงงาน จงใจไมป่ ฏบิ ตั ติ ามคำสง่ั ของพนกั งานเจา้ หนา้ ท)่ี

(1) - ใหห้ ยุดประกอบกจิ การโรงงานทัง้ หมดเปน็ การช่วั คราว หรอื (เลือกอยา่ งใดอย่างหน่งึ )
- ใหห้ ยุดประกอบกิจการโรงงานบางส่วน เป็นการชัว่ คราว

(2) - กรณีเป็นบุคคลธรรมดา ชื่อของผู้ประกอบกจิ การโรงงาน

- กรณีเป็นนิตบิ ุคคล ผมู้ ีอำนาจทำการแทนนิติบคุ คล

(3) หนงั สอื คำสัง่ ตามมาตรา 37 วรรคหนึ่ง

(4) ประเภทการประกอบกจิ การ

(5) คำสัง่ ให้ (ระงบั การกระทำที่ฝ่าฝืน/แกไ้ ข/ปรับปรุง/ปฏิบตั ิใหถ้ ูกตอ้ ง/ปฏบิ ัตใิ ห้เหมาะสม) ตามมาตรา 37 วรรคหนึ่ง

(6) ข้อเท็จจริงทีต่ รวจพบทจ่ี ะระบไุ ด้วา่ เป็นการไม่ปฏิบัตติ ามมาตรา 37 วรรคหนง่ึ

(7) ช่อื และตำแหนง่ ของผู้ทไี่ ด้รับมอบหมายจากปลดั กระทรวงอุตสาหกรรม

(8) - ให้หยดุ ประกอบกจิ การโรงงานท้งั หมดเปน็ การช่วั คราว หรือ (เลอื กอยา่ งใดอย่างหน่งึ )
- ใหห้ ยุดประกอบกจิ การโรงงานบางส่วน (ระบสุ ว่ นท่จี ะให้หยดุ ) เปน็ การชั่วคราว

(9) ระบุสว่ นทใ่ี หห้ ยุดประกอบกจิ การโรงงาน

(10) ระบุวธิ ีการในการปรบั ปรุงแก้ไข/ปฏบิ ตั ใิ หถ้ กู ต้อง ให้สอดคล้องกับเหตุผลในการออกคำสง่ั

(11) - ภายในวนั ท่ี............ หรือ (เลอื กอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ )
- ภายใน......................วัน นับแต่วนั ทไ่ี ด้รบั คำสั่ง

หมายเหตุ

- ระยะเวลาในคำสงั่ ต้องกำหนดให้ชัดเจน เช่น ใหป้ รบั ปรงุ แก้ไขโรงงานใหแ้ ลว้ เสร็จภายในวนั ท่ี 30 มกราคม 2564 เป็นต้น

- การส่งคำส่ังตามมาตรา 39 วรรคหน่ึง ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามมาตรา 38 ด้วย มิฉะนั้นจะไม่มีผลตามกฎหมายที่

จะดำเนนิ การกับผ้ปู ระกอบกิจการโรงงาน และในบางกรณีตอ้ งจัดทำหลักฐานแสดงวันท่รี บั ทราบคำสั่งใหช้ ดั เจน

- นอกจากน้ีภายหลังจากการออกคำสั่งแล้ว พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะต้องมีการจัดทำประกาศตามมาตรา 40 แล้วนำไป

ปดิ ในบรเิ วณโรงงานจำนวน 3 จดุ

คำแนะนำหรือคำเตอื นทจ่ี ะตอ้ งสง่ ไปดว้ ยกบั คำส่ัง
1. ผู้ใดประกอบกิจการโรงงานในระหว่างที่ได้มีคำสั่งให้หยุดประกอบกิจการโรงงาน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน

สองปี หรอื ปรบั ไม่เกินสองแสนบาทหรือทง้ั จำท้งั ปรับ และให้ปรบั อีกวันละห้าพันบาทจนกวา่ จะหยุดประกอบกจิ การ
2. สถาปนิกหรือวิศวกรผู้ใดยังฝ่าฝืนทำงานในโรงงานเฉพาะส่วนที่มีคำสั่งให้หยุดประกอบกิจการโรงงานเพื่อให้

โรงงานประกอบกิจการโรงงานตอ่ ไป ตอ้ งระวางโทษเช่นเดยี วกบั ผปู้ ระกอบกจิ การโรงงาน
3. ผู้ที่ทำงานในโรงงานหรือคนงานผู้ใดยังฝ่าฝืนทำงานในโรงงานเฉพาะส่วนที่มีคำสั่งให้หยุดประกอบกิจการให้

สนั นิษฐานไวก้ ่อนว่าเป็นผู้ร่วมกระทำหรือสนับสนุนการกระทำความผดิ แลว้ แตก่ รณี
4. การจงใจไมป่ ฏบิ ัตติ ามคำส่ังน้ี อาจเป็นมลู เหตใุ ห้สงั่ ปิดโรงงานได้
5. ถ้าผู้ประกอบกิจการโรงงานได้ปฏิบัติตามคำสั่งแล้ว หากจะเปิดประกอบกิจการโรงงานจะต้องขอ

อนุญาตเปิดประกอบกิจการโรงงานกอ่ น จึงจะประกอบกิจการโรงงานต่อไปได้

4-42

ค่มู ือการปฏิบตั งิ านในภารกิจตามพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี ก้ไขเพมิ่ เติม
ท่ถี า่ ยโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ สำหรับเจา้ หนา้ ทอ่ี งค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

ตวั อย่างแนวทางร่างคำสง่ั ตามมาตรา 39 วรรคหนงึ่
(กรณผี ปู้ ระกอบกิจการโรงงานประกอบกิจการโรงงานท่ีอาจจะก่อใหเ้ กิดอนั ตรายความเสยี หายหรอื ความ

เดอื ดรอ้ นอยา่ งรา้ ยแรงแก่บคุ คลหรอื ทรพั ยส์ นิ ทีอ่ ยใู่ นโรงงานหรอื ทีอ่ ยใู่ กลเ้ คียงกบั โรงงาน)
ที่ ....../......

..............................................
..............................................
วันท่.ี ..................................

เรอ่ื ง ให.้ ......... (1).................
เรียน ................(2).............ผู้ประกอบกิจการโรงงาน

ด้วยเม่ือวันที่ ..............(3)............พนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
สังกัด..........(4)............ได้ตรวจสอบการประกอบกิจการโรงงาน...............ทะเบียนโรงงานเลขท่ี..........................
ต้ังอยู่เลขที่..................................................................พบว่า.....................(5)..................ลักษณะดังกล่าวอาจจะ
ก่อให้เกิดอันตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อนอย่างร้ายแรงแก่บุคคลหรือทรัพย์สินท่ีอยู่ในโรงงานหรือที่อยู่
ใกล้เคยี งกับโรงงาน

ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 39 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
......................(6)..................ผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมาย จึงมีคำสั่งให้............. (2)............ หยุดประกอบกิจการ
โรงงาน ..................(7)..................ในสว่ น.................(8)..............นบั แต่วนั ทไ่ี ด้รับคำส่งั ฉบบั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป และใหป้ รับปรงุ
แก้ไขโรงงาน/หรอื ปฏบิ ัติใหถ้ ูกตอ้ ง............. (9)................ให้แลว้ เสร็จ...................(10)......................

ท้ังนี้ หากท่านไม่เห็นด้วยกับคำสั่งฉบับน้ี ท่านสามารถยื่นอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำส่ังนี้ต่อ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมได้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันท่ีทราบคำสั่ง โดยส่งคำอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำสั่งได้ที่
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 การอุทธรณ์หรือโต้แยง้ คำสั่งไม่เป็นการ
ทุเลาการปฏบิ ตั ิตามคำสง่ั

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และโปรดให้ความร่วมมือปฏิบัติตามคำสั่ง อย่างเคร่งครัดด้วย มิฉะนั้น
อาจจะต้องรบั โทษตามกฎหมาย

ขอแสดงความนับถือ

()
..............(6)................
ผซู้ ง่ึ ปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรมมอบหมาย

......................................................
.......................................................

(โปรดดคู ำแนะนำและคำเตือนด้านหลงั )

4-43

คมู่ อื การปฏิบตั งิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม
ท่ีถา่ ยโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ สำหรับเจา้ หนา้ ท่ีองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

การกรอกรายละเอยี ดในคำส่งั ตามมาตรา 39 วรรคหนงึ่ (กรณที ี่ 2)

(1) - ให้หยุดประกอบกจิ การโรงงานทั้งหมดเป็นการช่ัวคราว หรือ

- ใหห้ ยดุ ประกอบกจิ การโรงงานบางสว่ น เปน็ การชัว่ คราว

(2) - กรณีเปน็ บุคคลธรรมดา ชื่อของผ้ปู ระกอบกิจการโรงงาน

- กรณีเป็นนิตบิ คุ คล ผู้มอี ำนาจทำการแทนนิติบคุ คล

(3) วันทเี่ ขา้ ตรวจสอบการประกอบกิจการโรงงาน

(4) หนว่ ยงานผู้รับผดิ ชอบ

(5) ข้อเท็จจรงิ หรอื ลักษณะการกระทำที่อาจก่อใหเ้ กิดอนั ตราย ความเสียหายหรือความเดือนร้อนอย่าง

รา้ ยแรงแก่บคุ คลหรือทรพั ยส์ ินที่อยใู่ กล้เคยี งโรงงาน

(6) ชือ่ และตำแหนง่ ของผู้ทไี่ ด้รับมอบหมายจากปลดั กระทรวงอุตสาหกรรม

(7) - ใหห้ ยดุ ประกอบกจิ การโรงงานทงั้ หมดเปน็ การชว่ั คราว หรือ (เลือกอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ )
- ใหห้ ยุดประกอบกจิ การโรงงานบางส่วน (ระบสุ ว่ นที่จะใหห้ ยุด) เปน็ การช่วั คราว

(8) ระบสุ ว่ นที่ใหห้ ยดุ ประกอบกิจการโรงงาน

(9) ระบวุ ิธกี ารในการปรบั ปรุงแกไ้ ข/ปฏิบัติใหถ้ ูกต้อง ใหส้ อดคล้องกบั เหตุผลในการออกคำสงั่

(10) - ภายในวันท่ี............ หรอื (เลอื กอยา่ งใดอย่างหนึ่ง)
- ภายใน......................วัน นับแต่วันทีไ่ ดร้ ับคำสัง่

คำเตอื น
1. การส่งคำส่ังตามมาตรา 39 ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามมาตรา 38 ด้วย มิฉะน้ันจะไม่มีผลตามกฎหมายที่จะ

ดำเนนิ การกบั ผู้ประกอบกจิ การโรงงาน และในบางกรณตี ้องจัดทำหลักฐานแสดงวันทร่ี บั ทราบคำสั่งใหช้ ดั เจน
2. นอกจากนี้จะตอ้ งปิดประกาศคำสั่งใหถ้ ูกต้องตามมาตรา 40 อีกด้วย

4-44

คูม่ ือการปฏบิ ตั ิงานในภารกิจตามพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี กไ้ ขเพิ่มเติม
ทถ่ี ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ สำหรับเจ้าหนา้ ท่อี งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน

2.2 การออกคำส่ังใหเ้ ปดิ ประกอบกิจการโรงงานตามมาตรา 39 วรรคสอง
หลกั การ
เหตแุ ห่งการทจี่ ะออกคำส่ังตามมาตรา 39 วรรคสอง มีดงั น้ี
กรณที ่ี 1 ก่อนครบกำหนดระยะเวลาตามคำสง่ั มาตรา 39 วรรคหนงึ่ ผู้ประกอบกจิ การโรงงานแจง้ ขอ
เปิดประกอบกจิ การโรงงาน
กรณีที่ 2 ครบกำหนดระยะเวลาตามคำสง่ั มาตรา 39 วรรคหน่ึงแล้ว ผปู้ ระกอบกิจการโรงงานแจง้ ขอ
เปดิ ประกอบกจิ การโรงงาน
กรณที ี่ 3 ครบกำหนดระยะเวลาตามคำสัง่ มาตรา 39 วรรคหน่ึงแลว้ พนักงานเจ้าหนา้ ทไ่ี ปตรวจสอบเอง
ท้ัง 3 กรณี ปลัดกระทรวงหรือผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายมีอำนาจออกคำส่ังให้ผู้ประกอบกิจการ
โรงงานเปิดประกอบกิจการโรงงานหลังจากที่หยุดประกอบกิจการโรงงานทั้งหมดหรือบางส่วนและให้
ปรบั ปรงุ แก้ไขโรงงานหรือปฏิบัตใิ หถ้ ูกตอ้ งภายในระยะเวลาที่กำหนดมาแลว้
ข้อสังเกต
1. กรณีที่ 1 และกรณีที่ 2 พนักงานเจ้าหน้าท่ีควรจะต้องไปตรวจสอบโรงงานโดยเร็ว หลังจากที่ได้
รบั คำขอเปิดประกอบกจิ การโรงงาน
2. กรณีที่ 3 พนักงานเจ้าหน้าท่ีควรจะต้องไปตรวจสอบโรงงานโดยเร็ว หลังจากครบกำหนด
ระยะเวลาที่กำหนดไว้ในคำสัง่ ตามมาตรา 39 วรรคหน่งึ แลว้
3. กรณีท่ี 1 หากผู้ประกอบกิจการโรงงานยื่นขอเปิดประกอบกิจการโรงงานมาก่อนครบกำหนด
ระยะเวลาที่กำหนดไว้ในคำสั่งตามมาตรา 39 วรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้ประกอบกิจการโรงงานได้แจ้งว่าได้
ปฏิบัติตามคำส่ังตามมาตรา 39 วรรคหนึ่งเสร็จเรียบร้อยแล้ว ในเวลาก่อนครบกำหนดระยะเวลาที่
กำหนดไว้ในคำส่ังตามมาตรา 39 วรรคหน่ึง กรณีนี้ถือว่าระยะเวลาตามคำส่ังได้ครบกำหนดแล้ว
พนกั งานเจา้ หน้าท่คี วรจะตอ้ งไปตรวจสอบโรงงานโดยเร็ว
4. เม่ือพนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบโรงงานตาม 3 แล้ว พบว่าผู้ประกอบกิจการโรงงานไม่ได้ปรับปรุง
แก้ไขโรงงานหรือปฏิบัติให้ถูกต้อง กรณีนี้ต้องถือว่าผู้ประกอบกิจการโรงงานไม่ได้ปฏิบัติตามคำส่ังมาตรา
39 วรรคหน่ึง ปลัดกระทรวงหรือผู้ซ่ึงปลัดกระทรวงมอบหมายต้องออกคำสั่งไม่ให้เปิดโรงงานพร้อมทั้งต้อง
แจ้งสิทธิในการอุทธรณ์คำสั่งตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และออกคำสั่งปิดโรงงาน
ตามมาตรา 39 วรรคสาม (แม้ในความเป็นจริงระยะเวลาท่ีกำหนดให้ปฏิบัติตามคำส่ังมาตรา 39 วรรคหนึ่ง
จะยังไม่สิ้นสุดเนื่องจากผู้ประกอบกิจการโรงงานมายื่นขอเปิดประกอบกิจการโรงงานก่อนครบกำหนด
ระยะเวลาของคำส่ังตามมาตรา 39 วรรคหน่ึงก็ตาม ผู้ประกอบกิจการโรงงานก็ไม่อาจอ้างได้ว่าระยะเวลา
การปฏิบตั ิตามคำสั่งมาตรา 39 วรรคหนึง่ ยงั คงเหลอื อยู่เพ่อื ที่จะขอปฏิบตั ติ ามคำสง่ั ดังกล่าวอกี ต่อไปได้)
5. เมื่อพนักงานเจา้ หน้าทีต่ รวจสอบโรงงานแล้ว พบวา่ ผู้ประกอบกิจการโรงงานไดป้ รับปรุงแกไ้ ขโรงงาน
หรือปฏิบัติให้ถูกต้องภายในระยะเวลาท่ีกำหนดแล้ว ถือว่าได้ปฏิบัติตามคำสั่งมาตรา 39 วรรคหนึ่งแล้ว
ปลัดกระทรวงหรอื ผซู้ ่งึ ปลัดกระทรวงมอบหมายต้องออกคำสั่งใหเ้ ปิดโรงงานได้
6. สิทธิที่จะอุทธรณ์คำส่ังเป็นสาระสำคัญของคำสั่ง หากไม่กำหนดไว้ในคำสั่งจะเป็นคำส่ังท่ีไม่
สมบูรณ์ ออกคำสั่งไปแล้วมิได้กำหนดระยะเวลาดังกล่าวจะแก้ไขได้โดยการออกคำสั่งแก้ไขเพ่ิมเติมคำสั่ง
ฉบับเดมิ โดยไม่จำเป็นต้องยกเลิกคำสัง่ เดิม
7. ในระหว่างที่ปฏิบัติตามคำส่ัง หากตรวจพบว่ามีการกระทำความผิดขึ้นใหม่ถือว่าเป็นการกระทำกรรมใหม่
ข้นึ มา

4-45

คมู่ อื การปฏิบัติงานในภารกิจตามพระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี กไ้ ขเพม่ิ เติม
ทีถ่ ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ สำหรับเจา้ หน้าท่อี งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

แนวทางการรา่ งคำสง่ั ตามมาตรา 39 วรรคสอง
- มาตรา 39 วรรคสอง เป็นเรื่องการออกคำส่ังให้เปิดประกอบกิจการโรงงานหรือไม่ให้เปิดประกอบกิจการ
โรงงาน หลงั จากทไี่ ด้มกี ารออกคำสง่ั ตามมาตรา 39 วรรคหนง่ึ ใหห้ ยดุ ประกอบกิจการโรงงานท้งั หมดหรอื บางสว่ นมาแล้ว
ซึ่งเป็นการตรวจสอบโรงงานเพ่ือดูว่าผู้ประกอบกิจการโรงงานได้มีการปรับปรุงแก้ไขโรงงานหรือให้ปฏิบัติให้ถูกต้องตาม
คำส่งั หรือไม่ ดังนั้นพนักงานเจา้ หน้าทจี่ ะต้องพิจารณาข้อเท็จจริงท่ีตรวจพบว่าข้อเท็จจริงดังกล่าวสามารถพิจารณาได้ว่า
ผู้ประกอบกิจการโรงงานได้ปฏบิ ัติตามคำส่งั ตามาตรา 39 วรรคหนึง่ แลว้ หรอื ไม่ เช่น ออกคำสัง่ ใหม้ ีมาตรการปอ้ งกนั มิให้
เสียงท่ีเกิดจากการประกอบกิจการโรงงานไปรบกวนผู้อยู่อาศัยใกล้เคียงโรงงาน การจะพิจารณาว่าผู้ประกอบกิจการ
โรงงานได้ปฏิบัติตามคำสั่งดังกล่าวแล้วหรือไม่จะต้องตรวจสอบข้อเท็จจริงในการดำเนินการปรับปรุงแก้ไขโรงงานรวมท้ัง
จะต้องมีการตรวจวัดระดับเสียงรบกวนอันเกิดจากการประกอบกิจการโรงงานว่ามีระดับท่ีเป็นไปตามกฎหมายหรือไม่
หากตรวจวดั แล้วเปน็ ไปตามกฎหมายกรณนี ้ถี ือว่าผู้ประกอบกิจการโรงงานไดป้ ฏบิ ตั ิตามคำสั่งถกู ตอ้ งแล้ว เป็นตน้
- คำสั่งตามมาตรา 39 วรรคสองน้ัน หากเป็นกรณีที่ไม่ให้เปิดประกอบกิจการโรงงานจะต้องแจ้งคำ
เตือนหรือคำแนะนำในเรื่องท่ีผู้รับคำส่ังจะต้องทราบด้วย เช่น ท่านยังไม่สามารถเปิดประกอบกิจการโรงงานได้
การฝา่ ฝืนหรอื ไมป่ ฏิบัตจิ ะมีโทษอยา่ งไร
- เพอ่ื เป็นแนวทางในการร่างคำสงั่ ตามมาตรา 39 วรรคสองจึงขอยกตวั อยา่ งแนวทางการร่าง ดงั ต่อไปน้ี

4-46

คู่มือการปฏบิ ัตงิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพมิ่ เติม
ทีถ่ ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ สำหรับเจ้าหน้าทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

ตัวอย่างแนวทางร่างคำสง่ั ใหเ้ ปดิ ประกอบกิจการโรงงานตามมาตรา 39 วรรคสอง
(กรณพี นกั งานเจา้ หนา้ ทีต่ รวจสอบโรงงานหลงั ครบกำหนดเวลาในคำสัง่ มาตรา 39 วรรคหน่ึง)

ท่ี ....../......

..............................................
..............................................

วนั ท่ี...................................

เรือ่ ง ให้ประกอบกจิ การโรงงานต่อไปได้
เรยี น ........................(1).................... ผู้ประกอบกจิ การโรงงาน
อ้างถึง หนังสือ.................(2)........... (ราชการ)

ตามหนังสือที่อ้างถึง ...........(3)........... ผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายมีคำส่ังให้............ (1)............
ในฐานะผู้ประกอบกิจการโรงงาน ................(4)..................ทะเบยี นโรงงานเลขท่ี ...............................................
ต้ังอยู่เลขท่ี..........................................................................................................................หยุดประกอบกิจการโรงงาน
..................(5)..................ในส่วน.................(6)..............นับแต่วันท่ีได้รับคำสั่งฉบับนี้เป็นต้นไป และให้ปรับปรุงแก้ไข
โรงงาน/หรอื ปฏบิ ตั ิให้ถูกตอ้ ง............. (7).............ใหแ้ ล้วเสรจ็ ................(8)............. ดงั รายละเอียดตามท่ีแจ้งแล้ว นัน้

พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ ไดท้ ำการตรวจสอบเกยี่ วกบั การปฏิบตั ิตามคำส่งั แลว้ เมอ่ื วันท่ี............... พบว่า
........................(รายละเอียดขอ้ เท็จจริง).................... กรณีดงั กล่าวจึงถอื ได้ว่าท่านไดด้ ำเนินการปรบั ปรงุ แกไ้ ข
โรงงาน/ปฏิบตั ใิ ห้ถกู ตอ้ ง ตามคำสั่งแลว้

ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 39 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
..............(3)................ผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายจึงมีคำสั่งให้ท่านประกอบกิจการโรงงาน ...............(5).............
ในส่วน.................(6)..............ตอ่ ไปไดน้ บั แต่วนั ทีไ่ ดร้ บั คำสงั่ น้เี ป็นตน้ ไป

จงึ เรียนมาเพอ่ื โปรดทราบ

...................................................... ขอแสดงความนบั ถือ
....................................................... ()
.............(3).............
ผซู้ ึง่ ปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรมมอบหมาย

(โปรดดูคำแนะนำและคำเตือนดา้ นหลงั )

4-47

คมู่ อื การปฏิบตั ิงานในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี ก้ไขเพมิ่ เติม
ทถี่ า่ ยโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ สำหรับเจ้าหนา้ ท่อี งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ

การกรอกรายละเอยี ดในคำสั่งตามมาตรา 39 วรรคสอง (แบบท่ี 1)

(1) - กรณเี ปน็ บคุ คลธรรมดา ชอื่ ของผปู้ ระกอบกิจการโรงงาน

- กรณีเปน็ นติ ิบคุ คล ผ้มู ีอำนาจทำการแทนนติ ิบุคคล

(2) หนงั สอื คำสงั่ ตามมาตรา 39 วรรคหนงึ่

(3) ชื่อและตำแหนง่ ของผทู้ ่ไี ด้รับมอบหมายจากปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรม

(4) ประเภทการประกอบกจิ การโรงงาน

(5) - ใหห้ ยุดประกอบกิจการโรงงานทั้งหมดเป็นการชั่วคราว หรอื (เลือกอย่างใดอย่างหน่งึ )
- ใหห้ ยุดประกอบกิจการโรงงานบางส่วน (ระบุส่วนทจ่ี ะใหห้ ยุด) เป็นการชว่ั คราว

(6) ระบสุ ว่ นทีใ่ ห้หยดุ ประกอบกิจการโรงงาน

(7) ระบุวธิ กี ารในการปรับปรุงแกไ้ ข/ปฏบิ ัติให้ถกู ตอ้ ง ใหส้ อดคลอ้ งกับเหตุผลในการออกคำส่ัง

(8) - ภายในวนั ท่ี............ หรอื (เลอื กอยา่ งใดอย่างหนง่ึ )
- ภายใน......................วัน นบั แตว่ ันทีไ่ ดร้ ับคำสั่ง

4-48

คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงานในภารกจิ ตามพระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี กไ้ ขเพม่ิ เติม
ทถ่ี า่ ยโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ สำหรับเจ้าหน้าทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

ตวั อย่างแนวทางรา่ งคำสง่ั ใหเ้ ปดิ ประกอบกจิ การโรงงานตามมาตรา 39 วรรคสอง
(กรณขี อเปดิ ประกอบกจิ การโรงงานก่อนสน้ิ กำหนดเวลาในคำสง่ั มาตรา 39 วรรคหนงึ่ )

ที่ ....../......
..............................................

..............................................
วันท.่ี ..................................

เรอ่ื ง ให้ประกอบกิจการโรงงานตอ่ ไปได้
เรยี น ........................(1)....................
อ้างถงึ 1. หนงั สอื .................(2)........... (ราชการ)

2. หนงั สอื .................(3)........... (โรงงาน)
ตามหนงั สอื ท่อี า้ งถงึ 1 ..........(4).......... ผซู้ ึง่ ปลดั กระทรวงมอบหมายมคี ำสง่ั ให.้ ......... (1).......... ใน

ฐานะผู้ประกอบกจิ การโรงงาน ................(5)..................ทะเบยี นโรงงานเลขที่ ...............................................
ตง้ั อยเู่ ลขที.่ .........................................................................................................................หยดุ ประกอบกจิ การโรงงาน
..................(6)..................ในสว่ น.................(7)..............นับแตว่ นั ที่ไดร้ บั คำสงั่ ฉบบั น้เี ปน็ ตน้ ไป และให้ปรับปรงุ แก้ไข
โรงงาน/หรือปฏบิ ตั ิให้ถูกตอ้ ง...................(8).....................ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในวนั ท่ี.....................(9)..................... ตอ่ มา
..................(1)....................ได้มหี นงั สือตามที่อา้ งถงึ 2 แจง้ ว่าท่านไดด้ ำเนนิ การปรับปรงุ แกไ้ ขโรงงาน/ปฏบิ ตั ใิ ห้
ถกู ตอ้ ง ตามคำสัง่ แลว้ จงึ ขอเปดิ ประกอบกจิ การโรงงานต่อไป ดังรายละเอยี ดตามทแ่ี จ้งแล้ว น้นั

พนักงานเจา้ หนา้ ท่ี ไดท้ ำการตรวจสอบเกย่ี วกบั การปฏบิ ัตติ ามคำสง่ั แลว้ เมื่อวนั ที่ ...................
พบว่า ........................(1).................... ไดด้ ำเนนิ การปรับปรุงแก้ไขโรงงาน/ปฏิบัติใหถ้ ูกตอ้ ง ตามคำสัง่ แล้ว จึงขอเปดิ
ประกอบกิจการโรงงานต่อไป

ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 39 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
.........(4).......ผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายจึงมีคำส่ังให้ท่าน/นิติบุคคล ประกอบกิจการโรงงาน..........(6).......ในส่วน
.................(7)..............นบั แต่วนั ทไ่ี ดร้ ับคำสง่ั ฉบบั นเ้ี ป็นต้นไป

จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ

...................................................... ขอแสดงความนบั ถอื
.......................................................
()
................(4)..............
ผซู้ ่ึงปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมมอบหมาย

(โปรดดคู ำแนะนำและคำเตอื นด้านหลัง)

4-49

คู่มอื การปฏิบตั ิงานในภารกิจตามพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และที่แกไ้ ขเพิ่มเติม
ที่ถ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ สำหรับเจ้าหนา้ ท่อี งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

การกรอกรายละเอยี ดในคำส่งั ตามมาตรา 39 วรรคสอง (แบบท่ี 2)

(1) - กรณเี ป็นบคุ คลธรรมดา ช่อื ของผ้ปู ระกอบกจิ การโรงงานท่ีถกู ส่ัง

- กรณเี ป็นนติ ิบคุ คล ผู้มอี ำนาจทำการแทนนติ บิ คุ คลทถี่ ูกสัง่

(2) หนงั สอื คำส่งั ตามมาตรา 39 วรรคหนง่ึ แห่งพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535

(3) หนังสอื ขอเปดิ การประกอบกจิ การโรงงาน

(4) ช่อื และตำแหนง่ ของผทู้ ไี่ ด้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงอตุ สาหกรรม

(5) ประเภทการประกอบกิจการโรงงาน

(6) - ใหห้ ยดุ ประกอบกิจการโรงงานทง้ั หมดเปน็ การช่วั คราว หรือ (เลือกอย่างใดอยา่ งหนง่ึ )
- ใหห้ ยุดประกอบกิจการโรงงานบางส่วน (ระบุส่วนทีจ่ ะใหห้ ยุด) เป็นการช่วั คราว

(7) ระบสุ ่วนท่ีให้หยดุ ประกอบกจิ การโรงงาน

(8) ระบุวธิ ีการในการปรบั ปรงุ แก้ไข/ปฏิบัตใิ หถ้ กู ต้อง ใหส้ อดคลอ้ งกบั เหตผุ ลในการออกคำสงั่

(9) - ภายในวนั ท.ี่ ........... หรอื (เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง)
- ภายใน......................วัน นับแตว่ ันทไ่ี ดร้ บั คำสั่ง

4-50

ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพมิ่ เติม
ทถี่ า่ ยโอนให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ สำหรับเจา้ หนา้ ที่องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ

ตวั อย่างแนวทางร่างคำสงั่ ตามมาตรา 39 วรรคสอง (แบบ 3)

ที่ ....../......

..............................................
..............................................

วันท่ี...................................

เร่อื ง คำส่ังไมอ่ นญุ าตใหเ้ ปิดประกอบกิจการโรงงาน
เรียน ........................(1)....................
อา้ งถึง 1. หนงั สอื .................(2)........... (ราชการ)

2. หนังสอื .................(3)........... (โรงงาน (ถ้าม)ี )

ตามหนังสือที่อ้างถึง 1 .............(4)............ผู้ซ่ึงปลัดกระทรวงมอบหมายมีคำส่ังให้ท่าน/นิติบุคคล
ในฐานะผู้ประกอบกิจการโรงงาน ................(5)..................ทะเบยี นโรงงานเลขท่ี ................................................
ต้งั อยเู่ ลขที.่ ..............................................................................................................................................................
หยุดประกอบกิจการโรงงานท้ังหมด/บางส่วน ในส่วนของ..........(6)................ต้ังแต่วันท่ีได้รับคำส่งั เป็นตน้ ไป และให้
ท่าน/นิติบุคคลปรับปรุงแก้ไขโรงงาน.....................(7).....................ให้แล้วเสร็จภายในวันที่.............................ต่อมา
...........(8)..........ได้มีหนังสือตามที่อ้างถึง 2 แจ้งว่าท่านได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขโรงงาน/ปฏิบัติให้ถูกต้อง ตาม
คำส่งั แล้วจึงขอเปิดประกอบกิจการโรงงานต่อไป ดังรายละเอยี ดตามท่แี จง้ แล้ว นัน้

พนักงานเจ้าหน้าที่ ได้ทำการตรวจสอบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคำสั่งแล้ว เม่ือวันที่
..........................ปรากฏวา่ ...................(ขอ้ เทจ็ จรงิ )................................กรณีจึงถือไดว้ า่ ทา่ นไมไ่ ดป้ รับปรงุ แก้ไข/ปฏิบตั ิ
ไมถ่ ูกต้องครบถ้วน ภายในเวลาทีก่ ำหนดตามคำส่ัง

ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 39 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
................(11)............ผ้ซู ึง่ ปลดั กระทรวงมอบหมาย จึงมคี ำส่งั ไมอ่ นญุ าตให้เปดิ ประกอบกิจการโรงงานตามคำขอ

ท้ังน้ี หากท่านไม่เห็นด้วยกับคำสั่งฉบับนี้ ท่านสามารถย่ืนอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำส่ังน้ีต่อ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมได้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ทราบคำสั่ง โดยส่งคำอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำสั่งได้ที่
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 การอุทธรณ์หรอื โต้แย้งคำสง่ั ไม่เป็นการ
ทุเลาการปฏบิ ตั ิตามคำสงั่

จงึ เรียนมาเพอ่ื ทราบและปฏบิ ตั ติ ามคำส่ังอยา่ งเคร่งครัด

....................................................... ขอแสดงความนบั ถือ
....................................................... ()
..............(4)................
ผซู้ ง่ึ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมมอบหมาย

(โปรดดูคำแนะนำและคำเตอื นดา้ นหลงั )

4-51

คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแ่ี กไ้ ขเพ่มิ เติม
ที่ถ่ายโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ สำหรับเจา้ หนา้ ท่อี งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

การกรอกรายละเอยี ดในคำส่ังตามมาตรา 39 วรรคสอง (แบบท่ี 3)
(1) - กรณเี ปน็ บุคคลธรรมดา ช่ือของผ้ปู ระกอบกจิ การโรงงาน

- กรณีเปน็ นติ ิบคุ คล ผู้มีอำนาจทำการแทนนติ บิ ุคคล
(2) หนังสือคำส่งั ตามมาตรา 39 วรรคหน่ึง แห่งพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535
(3) หนังสือขอเปดิ การประกอบกจิ การโรงงาน
(4) หัวหน้าหน่วยงานผ้รู บั ผิดชอบ
(5) ประเภทการประกอบกิจการ
(6) ระบสุ ่วนที่ให้หยุดประกอบกจิ การโรงงาน
(7) ระบุวธิ ีการในการปรบั ปรงุ แกไ้ ข/ปฏบิ ัติให้ถกู ตอ้ ง ให้สอดคลอ้ งกับเหตุผลในการออกคำส่งั
(8) ผู้รบั คำสัง่
(9) เหตแุ หง่ การออกคำสง่ั
(10) ข้อเท็จจรงิ ทต่ี รวจพบ
(11) หัวหนา้ หนว่ ยงานผู้รับผดิ ชอบ

คำแนะนำ
คำแนะนำทจี่ ะตอ้ งสง่ ไปพร้อมกับคำสง่ั
1. ผู้ใดประกอบกิจการโรงงานในระหว่างท่ีได้มีคำส่ังให้หยุดประกอบกิจการโรงงาน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน

สองปี หรอื ปรบั ไม่เกินสองแสนบาทหรอื ทั้งจำทง้ั ปรบั และใหป้ รับอกี วันละหา้ พนั บาทจนกว่าจะหยุดประกอบกิจการ
สถาปนิกหรือวิศวกรผู้ใดยังฝ่าฝืนทำงานในโรงงานเฉพาะส่วนที่มีคำสั่งให้หยุดประกอบกิจการโรงงาน

เพือ่ ให้โรงงานประกอบกจิ การโรงงานตอ่ ไป ต้องระวางโทษเชน่ เดียวกบั ผู้ประกอบกจิ การโรงงาน
ผู้ที่ทำงานในโรงงานหรือคนงานผู้ใดยังฝ่าฝืนทำงานในโรงงานเฉพาะส่วนท่ีมีคำส่ังให้หยุดประกอบ

กจิ การใหส้ นั นิษฐานไวก้ อ่ นวา่ เปน็ ผูร้ ว่ มกระทำหรอื สนับสนนุ การกระทำความผิด แลว้ แตก่ รณี
2. การจงใจไม่ปฏิบัติตามคำส่ังฉบับน้ี หรือไม่ปรับปรุง แก้ไขโรงงาน หรือปฏิบัติไม่ถูกต้องภายใน

ระยะเวลาท่กี ำหนด อาจเปน็ มลู เหตุให้ส่ังปิดโรงงานได้

4-52

คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงานในภารกจิ ตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม
ท่ีถ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ สำหรับเจ้าหน้าทอี่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่

2.3 การออกคำส่ังให้ปิดโรงงานตามมาตรา 39 วรรคสาม
หลักการ
เหตแุ หง่ การทจ่ี ะออกคำสั่งตามมาตรา 39 วรรคสาม เน่ืองจากผู้ประกอบกจิ การโรงงานไมไ่ ดป้ รบั ปรงุ แกไ้ ข
หรือปฏิบัตใิ ห้ถกู ตอ้ งตามคำสง่ั มาตรา 39 วรรคหนึง่
ขอ้ สังเกต
1. การออกคำส่ังปิดโรงงานตามมาตรา 39 วรรคสาม จะต้องกระทำหลังจากท่ีได้มีการออกคำสั่งให้
หยุดประกอบกิจการโรงงานและให้ปรับปรุงแก้ไขหรือปฏิบัติให้ถูกต้องตามมาตรา 39 วรรคหน่ึง แล้วผู้
ประกอบกจิ การโรงงานไมไ่ ดป้ ฏบิ ัติ
2. สิทธิท่ีจะอุทธรณ์คำส่ังเป็นสาระสำคัญของคำส่ัง หากไม่กำหนดไว้ในคำส่ังจะเป็นคำส่ังท่ีไม่สมบูรณ์
ซึง่ แก้ไขได้โดยการออกคำส่ังแกไ้ ขเพ่ิมเติมคำสั่งเดิมได้
3. ในระหว่างที่ปฏิบตั ิตามคำสง่ั หากตรวจพบว่ามีการกระทำความผิดขน้ึ ใหม่ถือวา่ เปน็ การกระทำกรรม
ใหมข่ นึ้ มา
4. การส่งคำสั่งตามมาตรา 39 วรรคสาม ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามมาตรา 38 ด้วย มิฉะนั้นจะไม่มีผลตามกฎหมาย
ที่จะดำเนินการกับผู้ประกอบกิจการโรงงาน และในบางกรณีต้องจัดทำหลักฐานแสดงวันท่ีรับทราบคำสั่งให้
ชัดเจน (การเสนอคำสั่งปิดโรงงานตามมาตรา 39 วรรคสาม ผู้เสนอคำส่ังจะต้องบันทึกช้ีแจงด้วยว่าได้ส่งคำสั่ง
ให้หยุดประกอบกิจการโรงงาน (ตามมาตรา 39 วรรคหนึ่ง) ถูกตอ้ งตามมาตรา 38 แล้ว โดยวิธีส่ง ทางไปรษณีย์
ลงทะเบียนตอบรบั หรือโดยพนักงานเจ้าหนา้ ทน่ี ำส่งดว้ ยตนเองแลว้ แต่กรณี พร้อมกบั แนบเอกสารหลกั ฐานการ
นำส่งด้วย กล่าวคือ ถ้าส่งคำสั่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ ก็ให้แนบใบตอบรับในประเทศ (ใบเหลือง)
หรอื กรณีพนกั งานเจ้าหนา้ ทีน่ ำสง่ ดว้ ยตนเองกใ็ หแ้ นบเอกสารการส่งและการรบั ของผรู้ ับ)
5. เมื่อมีการออกคำส่ังปิดโรงงานพนักงานเจ้าหน้าท่จี ะต้องมกี ารจัดทำประกาศตามมาตรา 40 แล้วนำไปปิดใน
บริเวณโรงงานจำนวน 3 จุด
6. คำสั่งปิดโรงงานทำให้โรงงานไม่อาจประกอบกิจการโรงงานอีกต่อไป การที่ผู้ประกอบกิจการโรงงาน
จะประกอบกจิ การโรงงานต่อไปตอ้ งดำเนนิ การใหมท่ ง้ั หมด
แนวทางการรา่ งคำสง่ั ตามมาตรา 39 วรรคสาม
เพือ่ เป็นแนวทางในการรา่ งคำสงั่ ตามมาตรา 39 วรรคสามจึงขอยกตวั อยา่ งแนวทางการรา่ ง ดงั ตอ่ ไปนี้

4-53

คู่มือการปฏิบัตงิ านในภารกจิ ตามพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเติม
ทถ่ี ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ สำหรับเจา้ หน้าทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

ตัวอย่างแนวทางร่างคำสง่ั ปดิ โรงงานตามมาตรา 39 วรรคสาม

ที่ / .........................................................
.........................................................

วันที.่ ....................................
เรอ่ื ง ใหป้ ดิ โรงงาน
เรียน ............ (1)............ผูป้ ระกอบกิจการโรงงาน
อา้ งถึง หนงั สือ..................(2)................

ตามหนังสือที่อ้างถึง ...........(3)........... ผู้ซ่ึงปลัดกระทรวงมอบหมายมีคำสั่งให้............ (1)............
ในฐานะผ้ปู ระกอบกิจการโรงงาน ................(4)..................ทะเบียนโรงงานเลขท่ี ...............................................
ต้ังอยู่เลขที่..........................................................................................................................หยุดประกอบกิจการโรงงาน
..................(5)..................ในส่วน.................(6)..............นับแต่วันที่ได้รับคำส่ังฉบับน้ีเป็นต้นไป และให้ปรับปรุงแก้ไข
โรงงาน/หรอื ปฏิบัตใิ หถ้ กู ตอ้ ง............. (7).............ให้แล้วเสร็จ................(8)............. ดงั รายละเอียดตามที่แจง้ แลว้ น้นั

พนักงานเจ้าหน้าที่ ได้ทำการตรวจสอบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคำส่ังแล้ว เมื่อวันท่ี ...................
ปรากฏว่า...................(ข้อเท็จจริง)................................กรณีจึงถือได้ว่าท่านไม่ได้ปรับปรุงแก้ไข/ปฏิบัติไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ภายในเวลาทกี่ ำหนดตามคำสงั่

ฉะน้ัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 39 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
.............(3).............ผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายจึงมีคำส่ังปิดโรงงาน ..............(1)............... ประกอบกิจการโรงงาน
.............(4).......ทะเบยี นโรงงานเลขท่ี.................ต้งั อย่เู ลขท.ี่ .......................... นบั แตว่ ันทไี่ ดร้ ับคำสงั่ ฉบบั นเี้ ป็นต้นไป

ทั้งนี้ หากท่านไม่เห็นด้วยกับคำสั่งฉบับนี้ ท่านสามารถยื่นอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำสั่งนี้ต่อ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมได้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันท่ีทราบคำส่ัง โดยส่งคำอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำส่ังได้ท่ี
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามท่ี 6 เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 การอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำส่งั ไม่เป็นการ
ทเุ ลาการปฏิบัตติ ามคำสั่ง

จงึ แจ้งมาเพ่อื ทราบ

....................................................... ขอแสดงความนบั ถอื
....................................................... ()
.................(3)...............
ผู้ซงึ่ ปลดั กระทรวงอุตสาหกรรมมอบหมาย

(โปรดดคู ำแนะนำและคำเตอื นดา้ นหลงั )

4-54

คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านในภารกิจตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ้ ขเพิม่ เติม
ทถ่ี า่ ยโอนให้แก่องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ สำหรับเจา้ หน้าทอี่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่

การกรอกรายละเอยี ดในคำสัง่ มาตรา 39 วรรคสาม

(1) - กรณเี ป็นบุคคลธรรมดา ชอ่ื ของผู้ประกอบกจิ การโรงงาน

- กรณีเป็นนิตบิ คุ คล ผมู้ อี ำนาจทำการแทนนติ ิบุคคล

(2) หนงั สอื คำส่งั ตามมาตรา 39 วรรคหนง่ึ

(3) ชอ่ื และตำแหน่งของผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจากปลัดกระทรวงอตุ สาหกรรม

(4) ประเภทการประกอบกจิ การโรงงาน

(5) - ใหห้ ยดุ ประกอบกจิ การโรงงานทงั้ หมดเป็นการชัว่ คราว หรือ (เลอื กอย่างใดอย่างหนึ่ง)
- ใหห้ ยุดประกอบกิจการโรงงานบางสว่ น (ระบุสว่ นที่จะใหห้ ยดุ ) เปน็ การช่ัวคราว

(6) ระบุส่วนท่ีใหห้ ยดุ ประกอบกิจการโรงงาน

(7) ระบวุ ธิ ีการในการปรบั ปรุงแกไ้ ข/ปฏิบตั ิใหถ้ ูกต้อง ใหส้ อดคล้องกบั เหตุผลในการออกคำส่งั

(8) - ภายในวันท.่ี ........... หรือ (เลอื กอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ )
- ภายใน......................วัน นบั แต่วันทีไ่ ดร้ ับคำสัง่

คำแนะนําหรอื คำเตอื นทจ่ี ะตอ้ งสง่ ไปด้วยกบั คำสัง่

1. ผใู้ ดประกอบกจิ การโรงงานภายหลังท่มี คี ำสัง่ ใหป้ ดิ โรงงาน ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไม่เกนิ สองปี หรอื ปรับ
ไมเ่ กินสองแสนบาทหรอื ทง้ั จำทัง้ ปรับ และใหป้ รบั อกี วนั ละหา้ พันบาทจนกวา่ จะหยุดประกอบกจิ การ

สถาปนิกหรือวิศวกรผู้ใดยังฝ่าฝืนทำงานในโรงงานที่มีคำสั่งปิดโรงงานแล้ว เพ่ือให้โรงงานประกอบ
กจิ การโรงงานตอ่ ไป ต้องระวางโทษเช่นเดียวกบั ผูป้ ระกอบกิจการโรงงาน

ผูท้ ที่ ำงานในโรงงานหรอื คนงานผใู้ ดยังฝ่าฝืนทำงานในโรงงานท่ีมคี ำส่ังปดิ โรงงานให้สนั นิษฐานไว้ก่อนว่า
เป็นผรู้ ่วมกระทำหรอื สนับสนนุ การกระทำความผดิ แล้วแตก่ รณี

2. คำสั่งปิดโรงงานทำให้โรงงานไม่อาจประกอบกิจการโรงงานอีกต่อไป การท่ีผู้ประกอบกิจการโรงงานจะ
ประกอบกจิ การโรงงานตอ่ ไปตอ้ งดำเนนิ การใหม่ท้งั หมด

4-55

คมู่ อื การปฏิบตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี ก้ไขเพิม่ เติม
ที่ถา่ ยโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ สำหรับเจ้าหน้าที่องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ

4.11 การดำเนินการตามมาตรา 38 และมาตรา 40
1. การส่งคำสั่งตามมาตรา 38
ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ าน

การส่งคาํ สงั่ ตามมาตรา 38

1. ส่ง ณ ท่อี ยู่ของผรู้ บั คําสั่ง หรอื
2. ส่ง ณ ทอี่ ยขู่ องโรงงาน

สง่ ทางไปรษณยี ์ พนักงานเจ้าหนา้ ที่
นาํ ไปสง่ เอง

ส่งให้ผรู้ ับคําส่ัง ส่งให้ผูบ้ รรลนุ ติ ิภาวะ วางคาํ ส่ัง ปดิ คําสงั่

รายละเอียดการปฏบิ ตั งิ าน
1. การส่งคำส่ังต่าง ๆ ท่ีส่ังการตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เช่น คำส่ังตามมาตรา 37 และ
มาตรา 39 แห่งพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 จะเปน็ ไปตามมาตรา 38
2. สถานทีใ่ นการสง่ คำสงั่ ตามมาตรา 38 ส่งได้ 2 แห่ง ดังน้ี ภูมลิ ำเนา หรอื โรงงาน ของบคุ คลซ่งึ ระบไุ ว้ในคำส่งั
3. การนำสง่ แบง่ เปน็ 2 กรณี
กรณที ่ี 1 พนักงานเจ้าหน้าที่นำส่งดว้ ยตนเอง
พนักงานเจ้าหน้าที่จะต้องถอื คำส่ังไปส่งให้แกบ่ ุคคลผมู้ ีช่ือระบุไว้ในคำส่ังอาจเปน็ ห้างหุ้นส่วนจำกัด
บริษัทจำกัด หรือบุคคลธรรมดา จะต้องนำส่งในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก
หรือในเวลาทำการของบุคคลน้ัน สถานท่ีนำส่งมี 2 แห่ง คือ ภูมิลำเนาหรือที่โรงงาน กรณีนำส่ง
ภูมิลำเนา ถ้าเป็นห้างหุ้นส่วนจำกัดหรือบริษัทก็คือที่ต้ังสำนักงานที่ระบุไว้ในหนังสือรับรองห้าง
หุ้นส่วน/บริษัท ถ้าเป็นบุคคลธรรมดาก็จะระบุไว้ในทะเบียนบ้านของบุคคลน้ัน (ในทางปฏิบัติ
น่าจะนำส่งทโี่ รงงาน)
กรณีเม่ือไปถึงสถานท่ีดังกล่าวแล้ว ถ้าเป็นโรงงาน หากเจ้าหน้าท่ีของโรงงานไม่ยอมให้เข้าไป
ภายในโรงงานจะทำการส่งคำสัง่ ไม่ไดจ้ นกว่าจะสามารถเข้าไปได้
กรณีสามารถเข้าไปในโรงงานได้โดยไม่มีบุคคลใดขัดขวาง ให้เร่ิมต้นปฏิบัติการส่งคำสั่ง
ตามลำดับขั้นตอนดังจะกล่าวต่อไปนี้ ห้ามปฏิบัติลัดขั้นตอน หรือข้ามขั้นตอน หรือเลือกปฏิบัติ

4-56

คู่มอื การปฏิบตั งิ านในภารกจิ ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพม่ิ เติม
ท่ถี ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น สำหรับเจ้าหนา้ ทอ่ี งคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น

ตามข้ันตอนใดขั้นตอนหน่ึงตามสะดวกไม่ได้ เพราะจะทำให้เป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมายจะทำให้คำส่ังไม่
เกดิ ผล

ข้นั ตอนการสง่ คำส่งั 3 ขน้ั ตอน
ข้ันตอนท่ี 1 ขอพบบุคคลผู้มีช่ือระบุไว้ในคำส่ังก่อน กรณีเป็นห้างหุ้นส่วน/บริษัท ก็ขอพบ
หนุ้ สว่ นผู้จัดการหรือกรรมการผู้จัดการ แลว้ แตก่ รณี

1.1 กรณีเม่ือไดพ้ บบุคคลดังกล่าวแล้ว บุคคลนัน้ ปฏิเสธไม่ยอมรบั คำสั่งกใ็ ห้ทำการวางคำส่ัง
ไว้ ณ ท่ีนั้น ต่อหน้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจท่ีขอให้เป็นพยานและทำหลักฐานการ
วางคำส่ังไว้โดยขอให้พยาน ดังกล่าวลงชื่อไว้เป็นหลักฐาน หลักฐานการวางคำสั่งจะทำตาม
แบบ ตัวอย่าง คส.01 ก็ได้ กรณีที่เป็นการส่งคำสั่งตามมาตรา 39 เมื่อวางคำส่ังเสร็จแล้วก็
ให้ดำเนินการปดิ ประกาศของพนักงานเจา้ หน้าที่ 3 แหง่ ตามมาตรา 40 ในวนั นัน้ ได้
1.2 กรณีเมื่อพบบุคคลดังกล่าวแล้ว บุคคลน้ันยอมรับคำสั่งไว้ ก็ให้จัดทำหลักฐานการรับไว้
หลักฐานการรับคำส่ังจะทำตามแบบ คส.02 ก็ได้ กรณีท่ีเป็นการส่งคำสั่งตามมาตรา 39 ให้
ดำเนินการปิดประกาศของพนักงานเจา้ หน้าท่ี 3 แหง่ ตามมาตรา 40 ในวันนั้นได้
ขั้นตอนที่ 2 กรณีไม่พบบุคคลผู้มีช่ือระบุไว้ในคำส่ัง หรือกรณีที่บุคคลนั้นไม่อยู่ในสถานที่
แห่งน้ัน ให้เจรจากับบุคคใดก็ได้ซ่ึงอยู่หรือทำงาน ณ สถานที่แห่งนั้น เพื่อให้เข้ารับ
คำส่ังไว้แทน แต่บุคคลนั้นจะต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะแล้วคืออายุ 20 ปีบริบูรณ์ เม่ือ
บุคคลน้ันยอมรับคำส่ังไว้แทนก็ให้ทำหลักฐานการรับไว้ หลักฐานการรับคำส่ังจะทำ
ตามแบบ คส.03 ก็ได้ กรณีที่เป็นการส่งคำส่ังตามมาตรา 39 ให้ดำเนินการปิด
ประกาศของพนกั งานเจา้ หน้าที่ 3 แห่ง ตามมาตรา 40 ในวันนั้นได้
ข้ันตอนที่ 3 กรณีไม่พบบุคคลใดหรือพบแต่ไม่มีบุคคลใดยอมรับคำส่ังไว้แทน ให้ปิด
คำสั่งไว้ในที่ท่ีเห็นได้ง่าย ณ ที่น่ันต่อหน้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจท่ีขอให้ไป
เป็นพยาน แล้วทำหลักฐานการปิดคำส่ังไว้หลักฐานการปิดคำส่ังจะหาตามแบบ คส.
04 ก็ได้ โดยขอให้พยานลงลายมือชื่อไว้ กรณีท่ีเป็นคำส่ังตามมาตรา 39 พนักงาน
เจ้าหน้าท่ีจะทำการปิดประกาศ 3 แห่ง ตามมาตรา 40 ในวันน้ันยังไม่ได้จะต้องรอให้
ครบ 5 วันทำการนับแต่วันท่ีทำการปิดคำสั่งข้างต้น จึงจะทำการปิดประกาศของ
พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี 3 แหง่ ตามมาตรา 40 ได้
หมายเหตุ รายงานการส่งคำสั่งตามแบบ คส.01, 02, 03 และ 04 น้ัน เป็นเพียงยกตัวอย่างให้
เหน็ วิธกี ารปฏิบตั งิ านเท่านัน้ ไมจ่ ำเป็นตอ้ งนำไปถอื ปฏิบัตหิ ากเห็นว่ามวี ธิ กี ารอ่ืนทเ่ี หมาะสมกวา่ นี้

กรณีที่ 2 การสง่ คำสงั่ โดยทางไปรษณยี ล์ งทะเบยี นตอบรบั
กรณีพนกั งานเจ้าหน้าที่เลอื กส่งคำส่ังโดยทางไปรษณีย์ จะต้องส่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบยี นตอบรับ

เท่าน้ัน จะส่งโดยทางไปรษณีย์ธรรมดาไม่ได้ เพราะจะทำให้ขัดกับบทบัญญัติของกฎหมาย และจะต้อง
เก็บเอกสาร (ใบตอบรับ) ไว้เพือ่ เปน็ หลกั ฐานว่าผู้รับได้รับคำสัง่ วนั ท่เี ท่าใด

4-57

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ ก้ไขเพิ่มเติม
ท่ถี ่ายโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น สำหรับเจา้ หนา้ ท่อี งคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น

4. คำส่งั จะเกิดผลเมอ่ื ใด
4.1 กรณีพนักงานเจ้าหน้าท่ีนำคำสั่งไปส่งด้วยตนเอง หรือกรณีการวางคำส่ังถือว่าบุคคลซ่ึงระบุไว้ใน

คำสง่ั ได้รับคำสง่ั โดยชอบแลว้ ในขณะนนั้
4.2 กรณีส่งคำสั่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ หรือโดยการปิดคำส่ังจะถือว่าบุคคลซ่ึง

ระบุไว้ในคำส่ังได้รับคำสั่งเม่ือครบ 5 วันทำการ นับแต่วันที่พนักงานไปรษณีย์ได้ส่งหรือวันที่ได้ปิดคำส่ัง
นัน้ แลว้ แต่กรณี

4-58

คู่มอื การปฏบิ ัติงานในภารกิจตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และทแ่ี ก้ไขเพิ่มเติม
ทถ่ี ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ สำหรับเจ้าหนา้ ท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

แบบ คส.๐1
รายงานการสง่ คำสั่ง
ตามพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ.๒๕๓๕

กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
วนั ท่ี ........................พ.ศ...............
บุคคลซง่ึ ระบุไว้ในคำส่ัง
...............................................................................................................................................
เรยี น ผอก..................................
เมอื่ วนั ท่ี ..............พ.ศ.๒๕....................ขา้ พเจา้ ไดน้ าํ คำสง่ั ของ
[ ] พนกั งานเจา้ หน้าที่ท่สี ั่งการตามมาตรา ๓๙
[ ] ปลัดกระทรวงหรือผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมาย ที่ส่ังการตามมาตรา ๓๔
ไปสง่ ให้บุคคลซงึ่ ระบไุ ว้ในคำสง่ั ณ [ ] ภูมลิ ำเนา [ ] โรงงาน ต้ังอยูเ่ ลขท่.ี ................................................................
ถนน......................................................... ซอย ................................. แขวง/ตำบล ............................................
เข ต /อำเภ อ ...........................................................จังห วัด ...................................................
ครันถงึ สถานทดี่ งั กล่าวไดพ้ บ [ ] นาย/นาง/นางสาว ...................................................................
[ ] หุ้นส่วนผู้จดั การ/กรรมการผู้จัดการ ของ ห้างฯ/บริษัท .....................................
ผู้ประกอบกิจการโรงงาน ซ่ึงระบุไว้ในคำสั่ง แต่บุคคลดังกล่าวปฏิเสธไม่ยอมรับคำส่ัง ข้าพเจ้าจึงได้วางคำส่ังไว้ ณ ที่
นน้ั โดยได้ร้องขอให้ ..................................ซึง่ เป็นหนักงานฝ่ายปกครอง/ หรอื ตำรวจ ตำแหนง่ /ยศ.......................
มาเปน็ พยานในการวางคำสัง่ ตามคำรบั รอง ขา้ งลา่ งนี้

ลงช่ือ .......................................... พนกั งาน
เจา้ หนา้ ที่

()
ข้าพเจ้าซึ่งเป็นพนักงานฝ่ายปกครอง/ตำรวจ ขอรับรองว่าหนักงานเจ้าหน้าท่ีตาม
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.๒๕๓๕ ได้มาส่งคำส่ังเกี่ยวกับโรงงานแต่บุคคลซึ่งระบุไว้ในคำสั่งปฏิเสธไม่ยอมรับ
คำส่ังพนักงานเจ้าหนา้ ที่จึงได้ทำการวางคำสง่ั ไว้ ณ ทีน่ ้นั

ลงชื่อ.......................................... พยาน
()

หมายเหตุ แบบการส่งคำสงั่ กรณีบุคคลซึง่ ระบุไวใ้ นคำส่ังปฏเิ สธไมย่ อมรับคำสัง่ จงึ ทำการวางคำสงั่

4-59

คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านในภารกิจตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเติม
ทถ่ี า่ ยโอนใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำหรับเจ้าหน้าทีอ่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

แบบ คส.๐๒

บันทึกการรับคำส่ังเก่ียวกบั โรงงาน

วันท.ี่ .........เดือน..............พ.ศ. ..............

ขา้ พเจา้ นาย/นาง .............................................................

ข้าพเจา้ นาย/นาง .............................................................

หุ้นสว่ นผ้จู ดั การ กรรมการผู้จดั การบริษัท

หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั บริษัท .....................................................................................................

ตั้งอยู่เลขท่ี...................ซอย........................................ถนน................................... ตำบล/แขวง.........................

อำเภอ/เขต...........................จงั หวดั ...................... ได้รบั คำสัง่ ซงึ่ พนกั งานเจา้ หน้าท่ีนำมาส่ง ณ โรงงาน

สำนกั งานห้าง/บรษิ ัท แลว้ เพ่ือเปน็ หลักฐานจงึ ได้ลงลายมอื ชอ่ื ไว้เปน็ สำคัญ

ลงชื่อ.........................................................ผู้รับ
คำสง่ั

()
ลงชื่อ.........................................................ผู้รับ
คำส่ัง

()
หมายเหตุ กรณีหนุ้ สว่ นผจู้ ัดการ / กรรมการผูจ้ ดั การเป็นผรู้ ับ
........................................................................... ฉีก.............................................................................................

แบบ คส.๐๓
บันทึกการรบั คำสงั่ เกยี่ วกับโรงงาน

วันท่ี ...........เดอื น...............๒๕............
ข้าพเจ้า นาย/นาง ...............................................อายุ..........................ปี ซ่ึงอยู่หรือทำงาน ณ สถานท่ีแห่งนี้ คือ

โรงงาน สำนักงาน ช่ือ..................................................................................
ต้ังอยู่เลขที่ ..................ซอย..................................... ถนน.....................ตำบล/แขวง..........................................
อำเภอ/เขต......................... จังหวัด.................................. ได้รับคำสั่งซ่ึงพนักงานเจ้าหน้าท่ีนํามาส่งไว้แทนผู้ซึ่งมี
ชอ่ื ระบุไว้ในคำสั่ง เพื่อเปน็ หลกั ฐานจึงได้ลงลายมอื ชื่อไวเ้ ปน็ สำคญั

ลงช่ือ...................................................ผู้รับ
คำสั่ง

()

หมายเหตุ กรณบี คุ คลผซู้ ึง่ บรรลนุ ิติภาวะแล้ว รบั ไวแ้ ทน
เมอื่ พนักงานเจ้าหนา้ ทไ่ี ม่พบบคุ คลซึ่งระบไุ วใ้ นคำส่งั
หรอื บคุ คลซ่งึ ระบไุ วใ้ นคำสั่งไมอ่ ยู่ ณ ท่ีแหง่ นนั้

4-60

คู่มือการปฏบิ ัติงานในภารกจิ ตามพระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 และทแี่ ก้ไขเพม่ิ เติม
ท่ีถ่ายโอนให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ สำหรับเจา้ หน้าทอ่ี งคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่

แบบ คส. ๐๔
รายงานการสง่ คำส่ัง
ตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ.๒๕๓๕

กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
วันท.่ี .......เดอื น ..............พ.ศ.๒๕ ...........
บุคคลซ่ึงระบไุ วใ้ นคำส่งั ช่ือ....................................................................................................................................
เรียน ผอก......................................
เม่อื วนั ท่ี ..............................พ.ศ.๒๕......... ขา้ พเจา้ ไดน้ ำคำส่ังของ
[ ] พนกั งานเจ้าหนา้ ทท่ี ี่สัง่ การตามมาตรา ๓๗
[ ] ปลัดกระทรวงหรอื ผูซ้ ่ึงปลดั กระทรวงมอบหมาย สัง่ การตามมาตรา ๓๔
ไปส่งให้บุคคลซ่ึงระบุไว้ในคำส่ัง ณ [ ] ภูมิลำเนา [ ] โรงงาน ตั้งอยู่เลขที่...........................................................
ถนน ....................................................ซอย.......................................แขวง/ตำบล...............................................
เขต/ตำบล........................................จังหวัด.........................................................................................................
คร้ันถึงสถานที่ดังกล่าว [ ] ไม่พบบุคคลซ่ึงระบุไว้ในคำส่ังและไม่นบบุคคลใด [ ] ไม่พบบุคคลซ่ึงระบุไว้ในคำสั่ง
พบบุคคลอ่ืนแต่ไม่มีบุคคลใดเต็มใจรับคำส่ังไว้แทน ข้าพเจ้าจึงได้ทำการปิดคำส่ังน้ันไว้ในท่ีท่ีเห็น ได้ง่าย ณ ท่ีนั้น
โดยได้ร้องขอให้...............................ซึ่งเป็นหนักงานฝ่ายปกครอง / หรือตำรวจ ตำแหน่ง/ยศ.......................มา
เป็นพยานในการปดิ คำสั่งดังกล่าว ตามคำรบั รองขา้ งลา่ งน้ี

ลงชือ่ ......................................... พนักงาน
เจ้าหน้าท่ี

()
ข้าพเจ้าซึ่งเป็นพนักงานฝ่ายปกครอง/ตำรวจ ขอรับรองว่าหนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.
โรงงาน พ.ศ.๒๕๓๕ ไดม้ าสง่ คำส่ังเก่ยี วกบั โรงงานและได้ทำการปดิ คำสั่งดังกล่าวข้างต้นไวจ้ ริงต่อหนา้ ข้าพเจ้า

ลงชอื่ ...................................................... พยาน
()

หมายเหตุ แบบการส่งคำสั่งตามมาตรา ๓7 หรือ มาตรา 39 แห่ง พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.๒๕๓๕ กรณี
พนักงานเจ้าหน้าท่ีนำส่งไม่พบบุคคลใดหรือพบแต่ไม่มีบุคคลใดยอมรับคำส่ังไว้แทนผู้มีชื่อระบุไว้ในคำส่ัง
พนักงานเจา้ หน้าที่จงึ ได้ทำการปิดคำส่ัง

4-61

คู่มือการปฏิบัตงิ านในภารกิจตามพระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพิม่ เติม
ทถ่ี า่ ยโอนให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ สำหรับเจ้าหนา้ ท่อี งคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่

2. การปิดประกาศคำสง่ั ใหห้ ยดุ ประกอบกิจการโรงงานหรอื คำสัง่ ปดิ โรงงานตามมาตรา 40
ขนั้ ตอนการปฏิบัติงาน

รายละเอยี ดการปฏิบัติงาน
1. เม่ือพนักงานเจ้าหน้าที่ไดม้ กี ารออกคำส่งั ใหห้ ยุดประกอบกจิ การโรงงาน หรอื คำส่ังปิดโรงงาน
2. พนกั งานเจ้าหนา้ ท่จี ัดทำประกาศข้ึนใหม่ 1 ฉบับ เพอ่ื ให้ทราบถึงการออกคำสง่ั ให้หยุดประกอบ
กจิ การโรงงานหรอื ใหป้ ดิ โรงงานแล้วสำเนาประกาศ จำนวน 2 ชดุ และถ่ายสำเนาคำส่ังจากต้นฉบบั
จำนวน 3 ชดุ แล้วรบั รองสำเนา
3. นำประกาศทจ่ี ัดทำข้ึนใหมไ่ ปปิดไวใ้ นโรงงาน (ณ ที่ทแ่ี ลเห็นโดยง่าย 3 จุด)
หมายเหตุ
ให้ปิดประกาศดังกล่าวข้างต้นภายหลังจากท่ีผู้ประกอบกิจการโรงงานได้รับคำสั่งหยุดประกอบ
กิจการโรงงานหรือปิดโรงงานแล้วเท่าน้ัน (จะปิดก่อนไม่ได้) กรณีการส่งคำสั่งหยุดประกอบกิจการ
โรงงานหรือปิดโรงงานโดยวิธีการปิดคำส่ังหรือโดยวิธีการส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับตามมาตรา
38 จะต้องรอให้ครบกำหนด 5 วันทำการ นับแต่วันที่ทำการปิดคำสั่งหรือวันท่ีพนักงานไปรษณีย์ได้ส่ง
คำส่งั แล้วจึงทำการปิดประกาศดงั กล่าวข้างต้น

4-62

คมู่ ือการปฏิบตั งิ านในภารกิจตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 และท่แี ก้ไขเพ่มิ เติม
ที่ถ่ายโอนใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ สำหรับเจา้ หนา้ ทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ

ตัวอยา่ งประกาศของพนักงานเจา้ หนา้ ที่
ผ้ซู งึ่ ไปปิดประกาศตามมาตรา 40
ประกาศของพนักงานเจา้ หน้าท่ี

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 พนักงาน
เจา้ หน้าที่ขอปิดประกาศให้ทราบโดยท่วั กันว่า

1. โรงงานแห่งนี้ได้มีคำสั่งให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานหยุดประกอบกิจการโรงงานทั้งหมด/บางส่วน
มีกำหนดวัน..............หรือปิดโรงงานนับแต่วันที่.........เดือน.........ปี เป็นต้นไป ความละเอียดปรากฏตามสำเนา
หนังสือที่ / ลงวันท.่ี .....................ตามทแ่ี นบ

2. ห้ามมิให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในโรงงาน คนงาน หรอื ผู้เกี่ยวขอ้ งทกุ คนทำงานในโรงงาน เพื่อให้โรงงานน้ี
ประกอบกิจการโรงงานต่อไปอีก ภายหลังมีคำส่ังดังกล่าวในข้อ 1 หากผู้ใดฝ่าฝืนอาจต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน
2 ปี หรอื ปรับไม่เกนิ สองแสนบาทหรอื ทง้ั จำทัง้ ปรับ

3. ผู้ใดกระทำการใด ๆ ให้คำสั่งหยุดประกอบกิจการโรงงานหรือคำส่ังปิดโรงงาน ชำรุดหรือเสียหาย
ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไม่เกนิ หกเดือนหรอื ปรับไมเ่ กนิ หา้ หมนื่ บาท หรอื ทงั้ จำทั้งปรบั

ประกาศ ณ วนั ที่
()
พนกั งานเจา้ หนา้ ที่
(ผู้ปดิ ประกาศ)

4-63


Click to View FlipBook Version