The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natcha254082, 2022-07-06 05:57:27

รวมหลักสูตร

รวมหลักสูตร

46

ป.๓/๑๑, ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๘ ตัวชว้ี ัด

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

รายวิชาคณติ ศาสตร์ 47 กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง/ปี
คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
รหสั วชิ า ค๑๔๑๐๑

ศึกษา ฝึกทักษะการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับท่ี
มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมทั้งเปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์
ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียนเศษส่วน จานวนคละแสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามเศษส่วน
จานวนคละที่กาหนด เปรียบเทียบ เรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละท่ีตัวส่วนตัวหน่ึงเป็นพหูคูณของอีกตัว
หนึ่ง อ่านและเขียนทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งตา่ ง ๆ ตามทศนิยมท่ีกาหนด เปรียบเทียบ
และเรียงลาดับทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบการคูณ การหาร จาก
สถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบ
ของจานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจานวนหลายหลัก ๒ จานวน ที่มีผลคูณไม่เกิน
๖ หลัก และแสดงการหารที่ตวั ตั้งไม่เกิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกนิ ๒ หลัก หาผลลพั ธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน
ของจานวนนับ และ ๐ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐
และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจานวนนับ และ ๐ พร้อมท้ังหาคาตอบ หาคาตอบและแสดงวิธีหา
คาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบของเศษส่วนและจานวนคละท่ีตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหูคูณของอีกตัว
หน่งึ หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตาแหน่ง และแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ
๒ ขัน้ ตอนของทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตาแหนง่

แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธีห า
คาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกบั ความยาวรอบรูปและพนื้ ที่ของรปู สี่เหลี่ยมมุมฉาก จาแนกชนิดของมุม บอกช่ือ
มุม ส่วนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม สร้างรูปส่ีเหล่ียมมุมฉากเม่ือกาหนดความยาวของด้าน
และใช้ขอ้ มลู จากแผนภูมิแท่ง ตารางสองทางในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา

มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตวั ช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐,
ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑

รวม ๔ มาตรฐาน ๒๒ ตัวชี้วัด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านเพชรมงคล ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

รายวิชาคณิตศาสตร์ 48 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง/ปี
คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน
รหสั วชิ า ค๑๕๑๐๑

เขียนเศษสว่ นทม่ี ีตัวส่วนเปน็ ตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทยป์ ัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคณู ผลหารของเศษส่วนและจานวนคละ
แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ขั้นตอน หาผลคูณของ
ทศนิยม ท่ีผลคูณเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง หาผลหารท่ีตัวต้ังเป็นจานวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน ๓
ตาแหน่ง และตัวหารเปน็ จานวนนบั ผลหารเปน็ ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหนง่ แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หา
การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๒ ข้ันตอน และแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละไม่เกิน ๒
ข้ันตอน

แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว น้าหนัก ท่ีมีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูป
ทศนิยม แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะ
ทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลี่ยมและพ้ืนที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปส่ีเหลี่ยมขนม
เปียกปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงท่ีกาหนดให้ จาแนกรูป
สี่เหล่ียมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปส่ีเหล่ียมชนิดต่าง ๆ เม่ือกาหนดความยาวของด้านและขนาด
ของมมุ หรือเม่อื กาหนดความยาวของเสน้ ทแยงมุม และบอกลักษณะของปรซิ มึ

ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา และเขียนแผนภูมิแท่งจากข้อมูลท่ีเป็น
จานวนนับ

มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตวั ชวี้ ัด
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒

รวม ๔ มาตรฐาน ๑๙ ตัวชว้ี ดั

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

รายวิชาคณติ ศาสตร์ 49 กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง/ปี
คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
รหัสวชิ า ค๑๖๑๐๑

เปรียบเทียบ เรียงลาดับ เศษส่วนและจานวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ
เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจานวนนับ หา
อตั ราส่วนที่เท่ากับอัตราสว่ นที่กาหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับไม่เกิน ๓ จานวน แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้เก่ียวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน
ของเศษส่วนและจานวนคละ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเศษสว่ นและจานวนคละ ๒ – ๓ ขั้นตอน หา
ผลหารของทศนยิ มทต่ี ัวหารและผลหารเป็นทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตาแหน่ง แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการ
บวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ข้ันตอน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาอัตราสว่ น ปญั หาร้อยละ
๒ – ๓ ขน้ั ตอน แสดงวธิ คี ดิ และหาคาตอบของปัญหาเกยี่ วกบั แบบรูป

แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาเก่ียวกับปริมาตรของรูปเรขาคณติ สามมิติท่ีประกอบด้วยทรงส่ีเหล่ยี ม
มมุ ฉาก และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั ความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปหลายเหล่ียม ความ
ยาวรอบรูปและพื้นท่ีของวงกลม จาแนกรูปสามเหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสามเหลีย่ มเม่ือ
กาหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ระบุรูป
เรขาคณติ สามมิติทปี่ ระกอบจากรูปคล่ีและระบุรปู คล่ขี องรูปเรขาคณติ สามมิติ

ใช้ขอ้ มูลจากแผนภมู ิรปู วงกลมในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา

มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตวั ชวี้ ัด
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐,
ป.๖/๑๑,ป.๖/๑๒
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๑ ตวั ชี้วัด

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

50

คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน

รายวชิ าคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค๒๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์
จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง

ศกึ ษา อธบิ าย ฝึกทักษะการคิดคานวณ และฝึกการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้
จานวนตรรกยะ โดยมีความเข้าใจเกี่ยวกับ จานวนเต็ม สมบัติของจานวนเต็ม การบวก ลบ คูณและ
หารจานวนเต็ม ทศนิยมและเศษส่วน การบวก ลบ คูณและหารทศนิยมและเศษส่วน เข้าใจถึงความสัมพันธ์
ของทศนิยมและเศษส่วน จานวนตรรกยะและสมบตั ขิ องจานวนตรรกยะ เลขยกกาลังที่มเี ลขชก้ี าลังเปน็ จานวน
เต็มบวก สมบัติของเลขยกกาลัง และการนาความรู้เก่ียวกับจานวนเต็ม จานวนตรรกยะ และเลขยกกาลังไปใช้
ในการแกป้ ญั หา
การสร้างทางเรขาคณิต โดยมีความเข้าใจเกี่ยวกับ การสร้างพ้ืนฐานทางเรขาคณิต การสร้างพื้นฐาน
ทางเรขาคณิตสองมิติ โดยใช้ความรู้พ้ืนฐานทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมท้ัง
โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่นๆ เพื่อสร้างรูปเราขาคณิต
ตลอดจนนาความรเู้ กยี่ วกับการสร้างนีไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในการแกป้ ัญหาในชวี ติ จรงิ
มติ ิสมั พนั ธ์ของรปู เรขาคณิต โดยการใช้ความรู้ทางเรขาคณติ ในการวิเคราะหห์ าความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ โดยเรียนรู้เกี่ยวกับ หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ ภาพที่ได้
จากการมองดา้ นหน้า ดา้ นข้าง ด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมติ ิท่ปี ระกอบข้ึนจากลูกบาศก์
โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทย์ปัญหาท่ีส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรใ์ นการคิดคานวณ การให้เหตุผล การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การสื่อสาร การสือ่ ความหมาย และ
การนาเสนอ
เพอื่ ให้เกิดความรคู้ วามเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทางานอย่างมี
ระบบ ประหยดั ซื่อสัตย์ มีวจิ ารณญาณ รู้จกั นาความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดารงชีวติ ไดอ้ ย่างพอเพียง รวมทั้งมี
เจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒
ค ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒

รวม ๒ มาตรฐาน ๔ ตัวช้ีวัด

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นเพชรมงคล ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

51

คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน

รายวชิ าคณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค๒๑๑๐๒ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
จานวน ๑.๕ หน่วยกติ
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่วั โมง

ศึกษา อธิบาย และฝกึ ทักษะการคดิ คานวณ ฝึกการแก้ปญั หาในสาระตอ่ ไปน้ี
อัตราส่วน โดยเรียนรู้เก่ียวกับอัตราส่วนของจานวนหลาย ๆ จานวน สัดส่วน และร้อยละ และนา
ความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวติ จริง
สมการเชิงเสน้ ตัวแปรเดียว โดยใชค้ วามร้เู ก่ยี วกับสมบัติของการเทา่ กันและสมบัตขิ องจานวน ในการ
แก้สมการเชงิ เส้นตวั แปรเดียวเพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหา แล้วนาความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการเชงิ เส้นตัวแปร
เดียวไปใช้ในชีวิตจรงิ
สมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยใช้ความรู้เก่ียวกับกราฟ และความสัมพันธ์เชิงเส้น ในการแก้สมการ
เชิงเส้นสองตัวแปรเพือ่ วิเคราะห์และแก้ปัญหา แล้วนาความรู้เกีย่ วกับการแก้สมการเชิงเส้นสองแปรและกราฟ
ไปใช้ในชวี ติ จรงิ
สถิติ โดยเรียนรู้และใช้ความรู้ทางสถิติในการเก็บรวบรวมข้อมูล การนาเสนอข้อมูล แผนภูมิรูปภาพ
แผนภูมิแท่ง กราฟเส้น แผนภูมิรูปวงกลม และการแปลความหมายข้อมูล รวมทัง้ นาสถิติไปใช้ในชีวติ จริงโดย
ใช้เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม
โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทย์ปัญหาท่ีส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรใ์ นการคิดคานวณ การให้เหตุผล การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การส่ือสาร การสื่อความหมาย และ
การนาเสนอ
เพอ่ื ให้เกดิ ความรคู้ วามเข้าใจ ความคดิ รวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวนิ ัยมงุ่ มน่ั ในการทางานอย่างมี
ระบบ ประหยัด ซ่ือสัตย์ มีวจิ ารณญาณ รู้จักนาความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในการดารงชีวติ ไดอ้ ย่างพอเพียง รวมทง้ั มี
เจตคติทีด่ ีต่อคณิตศาสตร์

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั
ค ๑.๑ ม.๑/๓
ค ๑.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓
ค ๓.๑ ม.๑/๑

รวม ๓ มาตรฐาน ๕ ตวั ช้ีวดั

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

52

รายวชิ าคณิตศาสตร์ คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ รหสั วิชา ค๒๒๑๐๑ จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต
เวลา ๖๐ ชวั่ โมง

ศกึ ษา อธิบาย ฝกึ ทกั ษะการคดิ คานวณ และฝกึ การแกป้ ัญหาในสาระตอ่ ไปน้ี
จานวนตรรกยะ โดยมีความเข้าใจเก่ียวกับ เลขยกกาลังท่ีมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มและการนา
ความรู้เก่ยี วกับเลขยกกาลังไปใช้ในการแกป้ ญั หา
จานวนจริง โดยมีความเข้าใจเก่ียวกับ จานวนอตรรกยะ จานวนจริง รากที่สองและรากท่ีสามของ
จานวนตรรกยะและการนาความรเู้ กยี่ วกับจานวนจริงไปใช้
ทฤษฎบี ทพีทาโกรัส ทฤษฎีบทพีทาโกรสั และบทกลับ และการนาความรู้เก่ียวกับทฤษฎีบทพที าโกรัส
และบทกลับไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ
การแปลงทางเรขาคณติ โดยมีความเข้าใจเกยี่ วกับ การเลอ่ื นขนาน การสะท้อน การหมุน และ การ
นาความร้เู กีย่ วกับการแปลงทางเรขาคณติ ไปใช้ในการแก้ปัญหา
พ้ืนท่ีผิว โดยมีความเข้าใจ การหาพ้ืนท่ีผิวของปริซึมและทรงกระบอก และการนาความรู้เก่ียวกับ
พ้นื ทผี่ ิวของปรซิ ึมและทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา
ปริมาตร โดยมีความเข้าใจ การหาปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก และการนาความรู้เกี่ยวกับ
ปรมิ าตรของปริซมึ และทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปญั หา
โดยจัดประสบการณ์ กจิ กรรม หรือ โจทย์ปญั หาท่ีส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นการ
คดิ คานวณ การใหเ้ หตุผล การวิเคราะห์ การแกป้ ญั หา การสอ่ื สาร การส่ือความหมาย และการนาเสนอ
เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งม่ันในการทางานอย่างมีระบบ
ประหยัด ซ่อื สัตย์ มีวจิ ารณญาณ ร้จู ักนาความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในการดารงชีวิตไดอ้ ย่างพอเพียง รวมทง้ั มเี จตคติ
ท่ีดีตอ่ คณิตศาสตร์

มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชว้ี ัด
ค ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒
ค ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒
ค ๒.๒ ม.๒/๓, ม.๒/๕

รวม ๓ มาตรฐาน ๖ ตัวชี้วัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

53

รายวิชาคณติ ศาสตร์ คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ รหัสวชิ า ค๒๒๑๐๒ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
เวลา ๖๐ ชว่ั โมง

ศึกษา อธบิ าย ฝกึ ทักษะการคิดคานวณ และฝึกการแก้ปัญหาในสาระต่อไปน้ี
พหุนาม โดยมีความเข้าใจเกยี่ วกับ พหุนาม การบวก การลบ การคณู ของพหุนาม และการหาร
พหนุ ามด้วยเอกนามที่มีผลหารเปน็ พหนุ าม
การแยกตวั ประกอบของพหุนาม โดยมีความเข้าใจเกี่ยวกับ การแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รสี อง
โดยใช้ สมบตั กิ ารแจกแจง กาลงั สองสมบูรณ์ และผลตา่ งของกาลงั สอง
การสร้างทางเรขาคณติ โดยมีความเขา้ ใจเกยี่ วกับ การนาความร้เู กีย่ วกับการสรา้ งทางเรขาคณติ ไป
ใช้ในชีวิตจริง
เส้นขนาน โดยมคี วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั สมบัติเกี่ยวกบั เสน้ ขนานและรปู สามเหลยี่ ม
ความเทา่ กนั ทกุ ประการ โดยมีความเข้าใจเกีย่ วกับ ความเทา่ กันทุกประการของรูปสามเหล่ียม
และการนาความรเู้ กยี่ วกับความเทา่ กนั ทุกประการไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา
สถติ ิ โดยมคี วามเข้าใจเก่ียวกับ การนาเสนอและวิเคราะหข์ ้อมลู เก่ียวกับ แผนภาพจุด แผนภาพ
ตน้ – ใบ ฮสิ โทแกรม คา่ กลางของขอ้ มลู การแปลความหมายผลลพั ธ์ และการนาสถิติไปใชใ้ นชวี ติ จริง
โดยจดั ประสบการณ์ กจิ กรรม หรอื โจทยป์ ัญหาท่สี ่งเสรมิ การพฒั นาทักษะกระบวนการทาง
คณติ ศาสตร์ในการคิดคานวณ การใหเ้ หตุผล การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การสื่อสาร การสือ่ ความหมาย และ
การนาเสนอ
เพ่ือใหเ้ กิดความรูค้ วามเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี น มีระเบียบวินยั มุ่งมนั่ ในการทางานอยา่ งมี
ระบบ ประหยดั ซื่อสตั ย์ มวี จิ ารณญาณ รจู้ กั นาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดารงชวี ติ ได้อยา่ งพอเพยี ง รวมทัง้ มี
เจตคตทิ ี่ดตี ่อคณิตศาสตร์

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ดั
ค ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒
ค ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๔
ค ๓.๑ ม.๒/๑

รวม ๓ มาตรฐาน ๖ ตัวช้ีวัด

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

54

รายวิชาคณติ ศาสตร์ คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ รหัสวชิ า ค๒๓๑๐๑ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
เวลา ๖๐ ชวั่ โมง

ศกึ ษา อธิบาย ฝกึ ทักษะการคิดคานวณ และฝึกการแก้ปญั หาในสาระต่อไปนี้
การแยกตวั ประกอบของพหุนาม โดยมคี วามเข้าใจเก่ยี วกับ การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รี
สูงกว่าสอง
ฟังกช์ นั กาลังสอง โดยมีความเข้าใจเกี่ยวกับ กราฟของฟงั ก์ชนั กาลังสอง และการนาความรเู้ กีย่ วกับ
ฟงั กช์ ันกาลงั สองไปใช้ในการแกป้ ญั หา
สมการกาลังสองตัวแปรเดียว โดยมคี วามเขา้ ใจเก่ียวกบั สมการกาลังสองตัวแปรเดียว การแกส้ มการ
กาลงั สองตวั แปรเดยี ว และการนาความรเู้ กี่ยวกบั การแก้สมการกาลังสองตวั แปรเดียวไปใชใ้ นการแก้ปัญหา
ระบบสมการ โดยมีความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ระบบสมการเชงิ เส้นสองตัวแปร การแกร้ ะบบสมการเชงิ เสน้
สองตัวแปร และการนาความรู้เกี่ยวกับการแกร้ ะบบสมการเชงิ เสน้ สองตัวแปรไปใชใ้ นการแก้ปญั หา
พ้นื ท่ีผวิ โดยมีความเข้าใจเก่ียวกับ การหาพนื้ ท่ีผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลม และการนาความรู้
เกย่ี วกบั พื้นทีผ่ วิ ของพีระมิด กรวย และทรงกลมไปใช้ในการแก้ปัญหา
ปรมิ าตร โดยมคี วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
การนาความรเู้ ก่ยี วกับปริมาตรของพรี ะมิด กรวย และทรงกลมไปใชใ้ นการแก้ปัญหา
โดยจดั ประสบการณ์ กิจกรรม หรอื โจทยป์ ญั หาท่ีสง่ เสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณติ ศาสตร์ในการคดิ คานวณ การให้เหตุผล การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การส่ือสาร การสอื่ ความหมาย และ
การนาเสนอ
เพอื่ ใหเ้ กิดความรคู้ วามเข้าใจ ความคดิ รวบยอด ใฝ่รใู้ ฝเ่ รียน มีระเบยี บวินัยม่งุ มัน่ ในการทางานอยา่ งมี
ระบบ ประหยดั ซ่ือสัตย์ มีวิจารณญาณ รูจ้ ักนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในการดารงชีวติ ได้อยา่ งพอเพียง รวมทั้งมี
เจตคติทด่ี ตี ่อคณติ ศาสตร์

มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตวั ชีว้ ัด
ค ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒
ค ๑.๓ ม.๓/๒, ม.๓/๓
ค ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒

รวม ๓ มาตรฐาน ๖ ตวั ช้วี ัด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

55

รายวิชาคณิตศาสตร์ คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๒ รหสั วชิ า ค๒๓๑๐๒ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
เวลา ๖๐ ชั่วโมง

ศึกษา อธิบาย ฝกึ ทักษะการคิดคานวณ และฝึกการแก้ปัญหาในสาระต่อไปน้ี
อสมการเชิงเส้นตวั แปรเดียว โดยมีความเข้าใจเกีย่ วกับ อสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดยี ว
การแก้อสมการเชิงเส้นตวั แปรเดยี ว และการนาความรเู้ ก่ียวกับการแก้อสมการเชิงเสน้ ตัวแปรเดยี วไปใชใ้ นการ
แก้ปญั หา
ความคล้าย โดยมีความเขา้ ใจเกย่ี วกับ รปู สามเหลยี่ มท่ีคลา้ ยกัน และการนาความรเู้ กี่ยวกบั ความคล้าย
ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา
อตั ราส่วนตรโี กณมติ ิ โดยมคี วามเขา้ ใจเกี่ยวกับ อัตราสว่ นตรโี กณมติ ิ และการนาคา่ อัตราส่วน
ตรีโกณมติ ขิ องมมุ ๓๐ องศา ๔๕ องศา และ ๖๐ องศา ไปใชใ้ นการแก้ปัญหา
วงกลม โดยมีความเข้าใจเกี่ยวกบั วงกลม คอร์ด และเสน้ สมั ผัส และทฤษฎบี ทเกี่ยวกับวงกลม
สถติ ิ โดยมคี วามเข้าใจเกยี่ วกับ ขอ้ มูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การแปลความหมายผลลัพธ์
และการนาสถิตไิ ปใช้ในชีวิตจรงิ
ความนา่ จะเป็น โดยมีความเขา้ ใจเก่ียวกบั เหตกุ ารณ์จากการทดลองสมุ่ และความน่าจะเป็น
การนาความรเู้ กย่ี วกบั ความน่าจะเปน็ ไปใช้ในชีวิตจริง
โดยจดั ประสบการณ์ กจิ กรรม หรอื โจทย์ปัญหาท่สี ่งเสรมิ การพฒั นาทักษะกระบวนการทาง
คณติ ศาสตร์ในการคดิ คานวณ การใหเ้ หตุผล การวิเคราะห์ การแกป้ ัญหา การสอ่ื สาร การสอ่ื ความหมาย และ
การนาเสนอ
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี น มีระเบยี บวินยั มงุ่ ม่นั ในการทางานอยา่ งมี
ระบบ ประหยัด ซ่ือสัตย์ มวี จิ ารณญาณ รูจ้ ักนาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นการดารงชีวติ ได้อย่างพอเพียง รวมทงั้ มี
เจตคติทีด่ ตี ่อคณติ ศาสตร์

มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวช้ีวัด
ค ๑.๓ ม.๓/๑
ค ๒.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓
ค ๓.๑ ม.๓/๑
ค ๓.๒ ม.๓/๑

รวม ๔ มาตรฐาน ๖ ตัวช้ีวัด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

56

คาอธิบายรายวิชา

ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

...................................................................................................................................................................

ศกึ ษา วเิ คราะห์ พืชและสัตวท์ อี่ าศยั อยบู่ รเิ วณต่างๆ สภาพแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสมกับการดารงชีวิต
ของสตั วใ์ นบริเวณทอ่ี าศยั อยู่ ระบลุ กั ษณะและหน้าทีข่ องสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายมนษุ ย์ สตั วแ์ ละพชื รวมทง้ั
การทาหนา้ ท่ีรว่ มกันของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวสั ดุที่ใช้ทาวัตถซุ ่ึงทาจาก
วัสดุชนิดเดียวหรือหลายชนิดประกอบกัน ชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุตามสมบัติที่สังเกต การเกิดเสียงและ
ทิศทางการเคล่ือนท่ีของเสียง ดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน และสาเหตุที่มองไม่เห็น
ดาวส่วนใหญใ่ นเวลากลางวนั ลักษณะภายนอกของหินจากลักษณะเฉพาะตัวท่ีสังเกต โดยใชก้ ระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจาก
หลักฐานเชงิ ประจักษ์ การอธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจาลอง เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจาวนั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ มทเี่ หมาะสม

แสดงลาดับขั้นตอนการทางานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ
การเขยี นโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสอ่ื การใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดหมวดหมู่ คน้ หา จดั เกบ็
เรียกใช้ข้อมูล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และดูแลรักษาอุปกรณ์เบ้ืองต้น ใช้งานงานอย่าง
เหมาะสม

รหสั ตัวชวี้ ัด ป.๑/๑ , ป.๑/๒
มาตรฐาน ว ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๑/๑
มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๑/๑
มาตรฐาน ว ๓.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
มาตรฐาน ว ๔.๒

รวม ๑๕ ตัวช้ีวดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

57

คาอธบิ ายรายวิชา

ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

...................................................................................................................................................................

ศึกษา วิเคราะห์ ความต้องการแสงและน้าเพ่ือการเจริญเติบโตของพืช วัฏจักรชีวิตของพืชดอก
ลักษณะของสง่ิ มีชีวติ และส่ิงไม่มีชีวิต สมบัติของวัสดุ สมบัตทิ ี่สังเกตไดข้ องวสั ดุท่ีเกิดจากการนาวัสดุมาผสมกัน
และการนาสมบัติของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทาวัตถุในชีวิตประจาวัน ประโยชน์ของการนาวัสดุที่ใช้แล้ ว
กลับมาใช้ใหม่ การเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกาเนิดแสง การมองเห็นวัตถุ อันตรายจากการมองวัตถุท่ีอยู่ใน
บริเวณท่ีมีแสงสว่างไม่เหมาะสม โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตราย ส่วนประกอบของดิน ชนิดของดิน
โดยใช้ลกั ษณะเนือ้ ดินและการจับตวั เปน็ เกณฑ์ การใชป้ ระโยชนจ์ ากดิน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิง
ประจักษ์ การอธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจาลอง เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
สือ่ สารสิง่ ที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เหน็ คณุ คา่ ของการนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจาวัน
มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม

แสดงลาดบั ขัน้ ตอนการทางานหรือการแก้ปัญหาอยา่ งงา่ ยโดยใช้ภาพ สัญลกั ษณ์ หรือข้อความ
การเขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใช้ซอฟตแ์ วรห์ รือส่ือ การใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จดั หมวดหมู่
ค้นหา จัดเก็บ เรียกใชข้ ้อมูล การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั และดูแลรักษาอปุ กรณ์เบอื้ งตน้ ใช้
งานงานอยา่ งเหมาะสม

รหสั ตัวช้ีวดั
มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ , ป.๒/๓
มาตรฐาน ว ๑.๓ ป.๒/๑
มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
มาตรฐาน ว ๓.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔

รวม ๑๖ ตัวช้ีวดั

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

58

คาอธบิ ายรายวชิ า

ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

...................................................................................................................................................................

ศกึ ษา วิเคราะห์ สิง่ ท่ีจาเปน็ ตอ่ การดารงชวี ิต การเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ย์และสตั ว์ ประโยชน์
ของอาหาร น้า และอากาศ การดูแลตนเองและสัตว์อย่างเหมาะสม วัฏจักรชีวิตของสัตว์และคุณค่าของสัตว์
ส่วนประกอบของวตั ถุ การเปล่ียนแปลงของวัสดุเมือ่ ทาให้ร้อนข้ึนหรือทาใหเ้ ยน็ ลง แรงท่ีมีต่อการเปล่ียนแปลง
การเคล่ือนท่ีของวัตถุ แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัส แรงกับการเคล่ือนท่ีของวัตถุ การดึงดูดระหว่างแม่เหล็กกับ
วัตถุ ขั้วแม่เหล็ก การเปลี่ยนพลังงาน การทางานของเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า และแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า
ประโยชน์และโทษของไฟฟ้า วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย เส้นทางการขึ้นและตกของดวง
อาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน การกาหนดทิศ ความสาคัญของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต ส่วนประกอบของ
อากาศ ความสาคัญของอากาศ ผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อสิ่งมีชีวิต การปฏิบัติตนในการลดมลพิษ
ทางอากาศ การเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหา
ความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ การอธิบาย
อภปิ ราย และ
การสร้างแบบจาลอง เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสอื่ สารสิง่ ทเี่ รียนรู้ มคี วามสามารถใน
การตดั สินใจ นาความรู้ไปใช้ ในชีวติ ประจาวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่เี หมาะสม

ใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแก้ปัญหา แสดงอัลกอริทมึ ในการทางาน แกป้ ัญหาอย่างง่าย โดยใชภ้ าพ
สญั ลกั ษณห์ รือข้อความ เขยี นโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์ หรอื สอ่ื ตรวจหาข้อผิดพลาดและแกไ้ ข ใช้
อินเทอรเ์ นต็ คน้ หาความรู้ รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ

รหสั ตัวชี้วัด ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓, ป.๓/๔
มาตรฐาน ว ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓ , ป.๓/๔
มาตรฐาน ว ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓ , ป.๓/๔, ป๓/๕
มาตรฐาน ว ๔.๒

รวม ๒๕ ตัวช้ีวัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

59

คาอธิบายรายวชิ า

ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง

...................................................................................................................................................................

ศกึ ษา วิเคราะห์ หน้าที่ของราก ลาต้น ใบ และดอกของพชื ดอก สว่ นประกอบของพืชดอก

ความแตกต่างชองลักษณะสิ่งมีชีวิตกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ จาแนกพืชออกเป็นพืชดอก

และพืชไมม่ ีดอก จาแนกสัตวอ์ อกเป็นสัตวม์ ีกระดกู สันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลงั ลักษณะเฉพาะของสัตว์

มกี ระดูกสันหลงั ในกลุ่มปลา กลมุ่ สัตว์สะเทินน้าสะเทนิ บก กล่มุ สัตว์เลื้อยคลาน กลมุ่ นก และกลุ่มสัตว์เลีย้ งลูก

ด้วยนม ตัวอย่างของสัตว์ในแต่ละกลุ่ม สมบัติทางกายภาพของวัสดุ การนาสมบัติของวัสดุไปใช้ใน

ชีวิตประจาวันสมบัตทิ างกายภาพของวัสดุ ดา้ นความแข็ง ความยืดหยนุ่ การนาความรอ้ น การนาไฟฟา้ สมบัติ

ของสสาร มวล และปริมาตรของสสาร เครื่องมือท่ีใช้วัดมวลและปริมาตรของสสาร ผลของแรงโนม้ ถ่วงทีม่ ีต่อ

วตั ถุ การใช้เครื่องชั่งสปรงิ มวลของวัตถกุ ับการเคล่อื นทขี่ องวตั ถุ วัตถทุ ่ีเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง

วตั ถทุ ึบแสง และลักษณะการมองเห็นผา่ นวัตถุ แบบรปู เสน้ ทางการข้นึ และตกของดวงจันทร์ การเปล่ยี นแปลง

และการพยากรณ์รปู ร่างปรากฏของดวงจนั ทร์ องค์ประกอบของระบบสรุ ยิ ะ และการโคจรของดาวเคราะห์

ต่าง ๆ โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสบื ค้นข้อมูล

เปรียบเทียบขอ้ มูลจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ การอธิบาย อภปิ ราย และการสรา้ งแบบจาลอง เพื่อใหเ้ กิดความรู้

ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ใน

ชีวติ ประจาวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ มจี ริยธรรม คณุ ธรรมและคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม

ใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแก้ปัญหา การทางาน การคาดการณผ์ ลลพั ธจ์ ากปัญหาอย่างง่าย

การออกแบบ การอธิบาย และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาด

และแก้ไขใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ท่ี

หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของ

ตน เคารพในสทิ ธิของผอู้ นื่

รหัสตวั ชี้วัด ป.๔/๑
มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
มาตรฐาน ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
มาตรฐาน ว ๒.๒ ป.๔/๑
มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๔/๑ , ป.๔/๒, ป.๔/๓
มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
มาตรฐาน ว ๔.๒
รวม ๒๑ ตัวช้ีวดั หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านเพชรมงคล ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

60

คาอธิบายรายวิชา

ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง

...................................................................................................................................................................

ศกึ ษา วิเคราะห์ โครงสร้างและลกั ษณะของส่ิงมีชีวิต การดารงชีวิต ความสมั พันธข์ องสิ่งมีชีวิตกับการ
ดารงชีวิต การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิ ตกับสิ่งมีชีวิต และ
ความสัมพันธ์ระหว่างส่งิ มีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต โซ่อาหาร หน้าท่ีของส่ิงมชี ีวิตที่เป็นผู้ผลติ และผูบ้ ริโภค คุณค่า
ของส่งิ แวดล้อมทม่ี ีต่อการดารงชีวติ การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ลักษณะทางพันธกุ รรมที่มีการถ่ายทอดจากพ่อ
แม่สู่ลูก ลักษณะท่คี ล้ายคลึงกนั ของตนเองกับพ่อแม่ การเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลายของสารในน้า
การเปลี่ยนแปลงของสารเม่ือเกิดการเปล่ยี นแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงที่ผนั กลบั ได้และการเปล่ียนแปลงท่ีผัน
กลับไม่ได้ แรงท่ีกระทาต่อวัตถุ แรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกัน การใช้เครื่องชั่งสปริงวัดแรงที่กระทา
ต่อวัตถุ แรงเสียดทาน แรงเสียดทานและแรงที่กระทาต่อวัตถใุ นแนวเดยี วกัน เสียงและการได้ยินเสียง การเกิด
เสียงสูง เสียงต่า เสียงค่อย การวัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัดระดับเสียง การหลีกเล่ียงและลดมลพิษทางเสียง
ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การใช้แผนท่ีดาว ตาแหน่งและเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ แบบรูป
เส้นทางการข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี ปริมาณน้าในแต่ละแหล่งน้า คุณค่าของน้า การใช้
นา้ อยา่ งประหยดั และการอนรุ ักษน์ า้ วฏั จักรนา้ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าคา้ ง และน้าคา้ งแข็ง
การเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสารวจ
ตรวจสอบ การสืบค้นขอ้ มลู การเปรยี บเทียบขอ้ มูลจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ การอธบิ าย อภิปราย และ
การสร้างแบบจาลอง เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถส่อื สารสง่ิ ทเี่ รียนรู้ มีความสามารถใน
การตดั สนิ ใจ นาความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมทเี่ หมาะสม

ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ญั หา การทางาน การคาดการณ์ผลลัพธจ์ ากปญั หาอย่างง่าย
การออกแบบ อธิบาย และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใชซ้ อฟต์แวร์ หรือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาดและ
แก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสารและทางานร่วมกัน ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล
รวบรวม นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเตอร์เน็ต เพื่อแก้ปัญหาใน
ชีวติ ประจาวนั ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธแิ ละหน้าทขี่ องตน เคารพในสิทธิ
ของผ้อู น่ื แจง้ ผู้เกยี่ วขอ้ งเม่ือพบข้อมูลหรือบุคคลที่ไมเ่ หมาะสม

รหัสตัวช้ีวดั ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
มาตรฐาน ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
มาตรฐาน ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
มาตรฐาน ว ๒.๒
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

มาตรฐาน ว ๒.๓ 61
มาตรฐาน ว ๓.๑
มาตรฐาน ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ป.๕/๔
มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวม ๓๒ ตัวชี้วัด ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

62

คาอธบิ ายรายวชิ า

ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง

...................................................................................................................................................................

ศกึ ษา วิเคราะห์ สารอาหาร ประโยชน์ของสารอาหาร การเลือกรับประทานอาหารท่เี หมาะสมกับ
เพศและวัย และความปลอดภัยต่อสขุ ภาพ ระบบยอ่ ยอาหาร หน้าท่ีของอวยั วะในระบบย่อยอาหาร การย่อย
อาหารและการดูดซึมสารอาหาร ความสาคัญของระบบยอ่ ยอาหาร การดูแลรักษาอวัยวะในระบบยอ่ ยอาหาร
การแยกสารผสม การหยบิ ออก การรอ่ น การใช้แมเ่ หล็กดึงดูด การรนิ ออก การกรอง และการตกตะกอน
การแยกสารในชีวิตประจาวัน การเกิดแรงไฟฟ้าจากการขัดถูของวัตถุ ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
การต่อวงจรไฟฟ้าอนุกรมและแบบขนาน การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและขนาน การเกิดเงามืด เงามัว
สุริยุปราคา และจันทรุปราคา พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศและการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน การเกิด
หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร วัฏจักรหิน ประโยชน์ของหินและแร่ในชีวิตประจาวัน การเกิดซากดึกดา
บรรพ์ สภาพแวดล้อมในอดีต การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม ผลของมรสมุ ต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย
ลักษณะและผลกระทบของน้าท่วม การกัดเซาะชายฝ่ัง ดินถล่ม สึนามิ แผ่นดินไหว ผลกระทบของภัย
ธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ การเกิดแก๊สเรือนกระจก
ปรากฏการณ์เรือนกระจก ผลกระทบจากปรากฏการณ์เรือนกระจก โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใน
การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิง
ประจักษ์ การอธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจาลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจสามารถ
ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยา ศาสตร์มี
จรยิ ธรรม คุณธรรมและค่านยิ มที่เหมาะสม

ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย
ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ หรือสอื่ และตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดและแก้ไข
ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ท่ีหลากหลาย
เพื่อแก้ปัญหาในชวี ิตประจาวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เขา้ ใจสทิ ธิและหน้าที่ของตน เคารพใน
สิทธิของผ้อู ่ืน

รหสั ตัวช้ีวดั ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๖/๑
มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๖/๑
มาตรฐาน ว ๒.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘
มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
มาตรฐาน ว ๓.๑
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

มาตรฐาน ว ๓.๒ 63
ป.๖/๙
มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป’๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘ ,
ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวม ๓๐ ตัวชี้วดั

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

64

คาอธิบายรายวิชา

ว ๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง จานวน ๒.๐ หน่วยกิต

....................................................................................................................................................................

ศึกษา วิเคราะห์ สมบัติทางกายภาพ ของธาตทุ ่ีเปน็ โลหะ อโลหะ กง่ึ โลหะ และธาตกุ ัมมันตรงั สี

จุดเดอื ด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น และใช้เครอื่ งมอื เพ่ือวดั มวลและปรมิ าตรของสารบริสุทธิ์และ

สารผสม อะตอม ธาตุ และสารประกอบ โครงสร้างอะตอมทปี่ ระกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอเิ ลก็ ตรอน

การจัดเรียงอนุภาคแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและการเคล่ือนท่ีของอนุภาค พลังงานความร้อนกับการ

เปลย่ี นสถานะของสสาร เปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะโครงสร้างและหน้าทขี่ องเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ การใช้

กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกับหน้าที่ของเซลล์ การจัดระบบส่ิงมีชีวิต

กระบวนการแพร่และการออสโมซิส ปัจจัยที่จาเป็น และความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

คุณค่าของพืชที่มีต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การลาเลียงสารของไซเล็มและโฟลเอ็ม การสืบพันธุ์แบบอาศัย

เพศและไม่อาศัยเพศ ลักษณะโครงสร้างดอก การถ่ายเรณู การปฏิสนธิ การเกิดผลและเมล็ด การกระจาย

การงอกของเมล็ด การเลือกใช้ธาตุอาหารที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช การขยายพันธ์ุพืช ความสาคัญ

เทคโนโลยีการเพาะเลีย้ งเน้อื เย่อื พืช

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล

บันทึก จดั กลมุ่ ข้อมลู อธบิ าย อภิปรายและสรา้ งแบบจาลอง เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถ

นาเสนอสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีได้จากการสังเกต การ

ทดลองแบบจาลอง และใช้สารสนเทศทีไ่ ด้จากแหล่งข้อมูลตา่ งๆ เห็นคุณคา่ ของการนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ในชีวติ ประจาวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ คณุ ธรรมจริยธรรม และค่านิยมทีเ่ หมาะสม

อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจาวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและ
แนวคิดท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา วิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่
จาเป็น นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจ วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะ
เกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง เหมาะสมและ
ปลอดภยั ทดสอบ ประเมนิ ผล และระบุข้อบกพร่องท่ีเกดิ ขน้ึ กาหนดแนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ขและนาเสนอ
ผลการแก้ปญั หาหรือพฒั นางาน

รหัสตวั ช้ีวดั
มาตรฐาน ว ๑.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๕ , ม.๑/๖ , ม.๑/๗ , ม.๑/๘ , ม.๑/๙ , ม.๑/๑๐ ,

ม.๑/๑๑ , ม.๑/๑๒ , ม.๑/๑๓ , ม.๑/๑๔ , ม.๑/๑๕ , ม.๑/๑๖ , ม.๑/๑๗ , ม.๑/๑๘
มาตรฐาน ว ๒.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๕ , ม.๑/๖ , ม.๑/๗ , ม.๑/๘ , ม.๑/๙ , ม.๑/๑๐

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

65

มาตรฐาน ว ๔.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ ม.๑/๕
รวมทั้งหมด ๓๓ ตัวชว้ี ัด

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

66

คาอธบิ ายรายวิชา

ว ๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง จานวน ๒.๐ หนว่ ยกติ

...................................................................................................................................................................

ศึกษา วิเคราะห์ คานวณปริมาณความรอ้ นที่ทาให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะ การใช้
เทอร์โมมิเตอร์ การขยายตัวหรือหดตัว การถ่ายโอนความร้อน ปริมาณความร้อนที่ถ่ายโอนระหว่างสสารจน
เกิดสมดุลความร้อน การนาความร้อน การพาความร้อน การแผร่ ังสีความร้อน ความสัมพันธค์ วามดันอากาศ
กับความสูงจากพ้ืนโลก การแบ่งชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ กระบวนการเกิดพายุ ฝนฟ้า
คะนองและพายุหมุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ และผลกระทบและการปฏิบัติตนของการเปลี่ยนแปลง
ภูมอิ ากาศโลก

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
บนั ทึก จดั กล่มุ ข้อมลู อธิบาย อภปิ รายและสร้างแบบจาลอง เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถ
นาเสนอสื่อสารส่งิ ที่เรยี นรู้ มคี วามสามารถในการตัดสนิ โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
ทีไ่ ด้จากการสังเกต การทดลองแบบจาลอง และใชส้ ารสนเทศทไี่ ดจ้ ากแหล่งขอ้ มลู ต่างๆ เหน็ คุณคา่ ของ
การนาความร้ไู ปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

ใชแ้ นวคิดเชงิ นามธรรมเพอื่ แกป้ ญั หา อธิบายการทางานทีพ่ บในชีวติ จรงิ ออกแบบอัลกอริทมึ
การออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างง่าย เพอ่ื แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์หรือวทิ ยาศาสตร์ รวบรวมข้อมลู
ปฐมภมู ิ ประมวลผล ประเมนิ ผล นาเสนอขอ้ มูล และสารสนเทศ ใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเทอรเ์ น็ต
ท่ีหลากหลาย ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ใช้สอ่ื และแหล่งข้อมลู ตามขอ้ กาหนดและข้อตกลง

รหัสตวั ชี้วัด ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๕ , ม.๑/๖ , ม.๑/๗, ม.๑/๘ , ม.๑/๙ , ม.
มาตรฐาน ว ๒.๑
๑/๑๐ ม.๑/๑
มาตรฐาน ว ๒.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๕ , ม.๑/๖ , ม.๑/๗
มาตรฐาน ว ๓.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔
มาตรฐาน ว ๔.๒

รวมทั้งหมด ๒๒ ตัวชว้ี ัด

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

67

คาอธิบายรายวชิ า

ว ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง จานวน ๒.๐ หน่วยกิต

...................................................................................................................................................................

ศึกษา วิเคราะห์ โครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่างๆ ในรา่ งกายมนษุ ย์ ได้แก่ ระบบหายใจ ระบบ
ขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และความสัมพันธ์ของระบบต่างๆ ของ
มนุษย์ การแยกของผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ
การสกัดด้วยตัวทาละลาย นาวิธีการการแยกสารไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ผลของชนิดตัวละลาย ชนิด
ตัวทาละลาย อุณหภูมิ และความดันท่ีมีต่อสภาพการละลายได้ของสาร ความเข้มข้นของสารและการใช้
สารละลายในชีวิตประจาวันอย่างถูกต้องและปลอดภัย โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหา
ความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบคน้ ขอ้ มลู บันทึก จัดกลมุ่ ขอ้ มลู อธิบาย อภปิ รายและสร้างแบบจาลอง
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสาร สิง่ ที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน โดยใช้หลักฐานเชิง
ประจักษ์ทไ่ี ด้จากการสงั เกต การทดลอง และใชส้ ารสนเทศทไี่ ด้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เห็นคุณค่าของการนา
ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม

พจิ ารณาสาเหตุ ปัจจัยทีส่ ่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี คาดการณแ์ นวโน้มเทคโนโลยีท่ี
จะเกิดข้ึน วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี ผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อชีวิต สังคม และ
ส่ิงแวดล้อม ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชนหรือท้องถิ่น รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่
เกี่ยวข้องกับปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น
ภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหา วางแผนขั้นตอนการทางานและ
ดาเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ใช้ความรู้ และทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนกิ ส์ เพอ่ื แกป้ ญั หาหรือพฒั นางานไดอ้ ย่างถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภัย ทดสอบ ประเมินผล
และอธิบายปญั หาหรือข้อบกพรอ่ งท่ีเกิดข้ึนภายใต้กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอ
ผลการแกป้ ัญหาหรือพฒั นางาน

รหสั ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐ ม.๒/
๑๑,

ม.๒/๑๒, ม.๒/๑๓, ม.๒/๑๔, ม.๒/๑๕, ม.๒/๑๖, ม.๒/๑๗
มาตรฐาน ว ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ ม.๒/๕, ม.๒/๖
มาตรฐาน ว ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒ , ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

68

รวมท้ังหมด ๒๘ ตัวชี้วัด

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

69

อธบิ ายรายวิชา

ว ๒๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๘๐ ชวั่ โมง จานวน ๒.๐ หน่วยกติ

...................................................................................................................................................................

ศึกษา วิเคราะห์ แรงที่กระทาต่อวัตถุ ขนาดและทิศทางของแรง แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์ที่มีต่อ
วตั ถุ แรงกิริยาและแรงปฏกิ ริ ยิ า แรงพยุงของของเหลว แรงเสยี ดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนทข่ี องวัตถุใน
แนวตรงและแนวโค้ง ความสมั พันธ์ระหว่างขนาดของแรงแม่เหล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วงที่กระทาต่อวัตถุ
กบั ระยะหา่ งจากแหลง่ ของสนามถึงวัตถุ อตั ราเรว็ และความเร็ว งานและพลงั งาน หลกั การทางานของเครือ่ งกล
อย่างง่าย พลังงานศักย์และพลังงานจลน์ การเปล่ียนรูปพลังงาน กฎการอนุรักษ์พลังงาน กระบวนการเกิด
ลักษณะ และสมบัติของดิน การใช้และการปรับปรุงคุณภาพของดิน กระบวนการเกิด ลักษณะ และสมบัติ
ของหิน ชนิด แหล่งที่พบ และประโยชน์ของหิน วัฏจักรหิน ลักษณะและสมบัติทางกายภาพของแร่ ชนิด
แหล่งท่ีพบ และประโยชน์ของแร่ กระบวนการเกิดแร่ แหล่งสารวจในประเทศ และการใช้ประโยชน์ของ
ปิโตรเลียม ถ่านหิน ก๊าซรรมชาติ ลักษณะและการเกิดแหล่งน้าผิวดิน น้าใต้ดิน การใช้ประโยชน์และการ
อนุรักษ์แหล่งน้าในท้องถ่ิน ธรณีพิบัติภัย ลักษณะโครงสร้างโลก ความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ
เปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยาบนเปลือกโลก โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สารวจตรวจสอบ การสบื คน้ ขอ้ มูล บันทกึ จัดกลมุ่ ข้อมูล อธิบาย อภิปรายและสร้างแบบจาลอง เพือ่ ให้เกิด
ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ ส่ือสาร ส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตดั สิน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ท่ี
ได้จากการสังเกต การทดลอง และใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไป
ใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจาวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ คุณธรรมจริยธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม

การใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหา หรือการทางานในชีวิตจริง ออกแบบอัลกอริทึม
ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา อภิปรายองค์ประกอบและหลักการ
ทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี การสื่อสาร เพื่อประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบ้ืองต้น ใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มีความรับผดิ ชอบ สรา้ งและแสดงสทิ ธใิ นการเผยแพร่ผลงาน
รหัสตวั ชี้วัด
มาตรฐาน ว ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐ ม.๒/
๑๑,

ม.๒/๑๒, ม.๒/๑๓, ม.๒/๑๔, ม.๒/๑๕
มาตรฐาน ว ๒.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ ม.๒/๕, ม.๒/๖
มาตรฐาน ว ๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐
มาตรฐาน ว ๔.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒ , ม.๒/๓, ม.๒/๔,

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

70

รวมท้ังหมด ๓๕ ตัวชี้วดั

คาอธบิ ายรายวชิ า

ว ๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๘๐ ชั่วโมง จานวน ๒.๐ หน่วยกติ

...................................................................................................................................................................

ศึกษา วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน โวลต์

มิเตอร์ แอมมิเตอร์ วงจรไฟฟ้าเมื่อต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและแบบขนาน ความต่างศักย์ไฟฟ้า

กระแสไฟฟ้า การทางานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจร ค่าไฟฟ้าของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าในบ้าน การ

เลือกใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้า การเกิดและส่วนประกอบของคล่ืน คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมคล่ืน ประโยชน์

และอันตรายจากคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า สมบตั ิของแสง การเคล่ือนที่ของแสง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง การ

เกิดภาพของทัศนอุปกรณ์และเลนส์ตา ความสว่างของแสง การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ แรง

โน้มถ่วง การเกิดฤดู ปรากฏของดวงอาทติ ย์ การเกิดข้างขึ้นขา้ งแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร์ และการ

เกิดนา้ ข้ึนน้าลง โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น

ข้อมูล บันทึก จัดกลมุ่ ขอ้ มลู อธิบาย อภิปรายและสร้างแบบจาลอง เพ่ือให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ

สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีได้จากการสังเกต การทดลอง

และใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เห็นคณุ ค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มี

จิตวทิ ยาศาสตร์ คณุ ธรรมจริยธรรม และคา่ นิยมท่เี หมาะสม

วิเคราะห์สาเหตุ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยี
กับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ ระบุปัญหาหรือความต้องการของท้องถิ่น รวบรวม วิเคราะห์
ข้อมูลและแนวคิดท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหา ความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา ให้เหตุผลของปัญหาหรือ
ข้อบกพร่อง ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ ใช้
ความรู้ และทกั ษะเกย่ี วกับวัสดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื กลไก ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ท่ถี ูกต้องกบั ลักษณะของงาน
นาเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาโดยใช้วิธกี ารที่หลากหลาย วางแผนกาหนดขนั้ ตอนการทางาน และดาเนนิ การ
แก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน ทดสอบ ประเมินผล กาหนดแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการ
แก้ปัญหาหรอื พฒั นางาน
รหัสตวั ชี้วัด
มาตรฐาน ว ๒.๓ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘

ม.๓/๙ ม.๓/๑๐ ม.๓/๑๑ ม.๓/๑๒ ม.๓/๑๓ ม.๓/๑๔ ม.๓/๑๕ ม.๓/๑๖
ม.๓/๑๗ ม.๓/๑๘ ม.๓/๑๙ ม.๓/๒๐ ม.๓/๒๑
มาตรฐาน ว ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔
มาตรฐาน ว ๔.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

71

รวม ๓๐ ตัวช้ีวดั

คาอธิบายรายวชิ า

ว ๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๘๐ ชวั่ โมง จานวน ๒.๐ หน่วยกติ

.................................................................................................................................................. ....................

อธิบาย สารวจ ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ
ส่ิงมีชีวิตรูปแบบต่าง ๆ การถ่ายทอดพลังงานในสายใยอาหาร ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อมใน
ระบบนเิ วศ ความสัมพันธร์ ะหว่างยนี ดเี อ็นเอ และโครโมโซม การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเกดิ จี
โนไทป์และฟีโนไทป์ของลูก ความแตกต่างของการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงของยีนหรื อ
โครโมโซม โรคทางพันธุกรรม การใช้ประโยชน์จากสิง่ มีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ
วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิกส์ และวัสดุผสม การเกิดปฏิกิริยาเคมี กฎทรงมวล ปฏิกิริยาดูดความร้อน
และปฏิกิริยาคายความร้อน การเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนของปฏิกิริยาเคมี การเกิด ฝนกรด การ
สังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การ
สืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล อธิบาย อภิปราย และสร้างแบบจาลอง เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจ ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการสังเกต
การทดลอง และใช้สารสนเทศท่ีได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
ชวี ิตประจาวัน มีจติ วิทยาศาสตร์ คุณธรรมจรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม

รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์ พัฒนา
แอปพลิเคชันที่บูรณาการกับวิชาอ่ืนอย่างสร้างสรรค์ ใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย
และการใช้งานอย่างรู้เท่าทัน การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้
ข่าวสารท่ีผิด ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมาย
เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ และ ใชล้ ิขสทิ ธข์ิ องผู้อื่นโดยชอบธรรม

รหสั ตวั ชี้วดั ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖
มาตรฐาน ว๑.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/
มาตรฐาน ว๑.๓ ๑๐ ม.๓/๑๑
ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘
มาตรฐาน ว๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔
มาตรฐาน ว๔.๒

รวม ๒๙ ตัวชี้วดั

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

72

คาอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม

ว๒๐๒๐๑ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เวลาเรยี น ๒๐ ชัว่ โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต

...................................................................................................................................................................

ศึกษา ทดลอง เกี่ยวกับอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ การใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การสังเกต การจาแนกประเภท การวัด การหาความสัมพันธร์ ะหว่าง
สเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา การสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ์
วิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพ้ืนฐานจากการเล่นเกมส์ หรือการทากิจกรรมใน
ชวี ิตประจาวัน และพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ในการออกแบบดัดแปลง และ/หรือ คิดประดิษฐ์ชิน้ งาน โดยใช้
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพ้ืนฐาน การสืบเสาะหาความรู้ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความ
เข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวนั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
๑. ระบชุ ื่ออุปกรณว์ ิทยาศาสตร์ และสามารถใช้ได้อยา่ งถูกต้อง
๒. ทดลองเกย่ี วกับทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรด์ ้านการสังเกต ไดอ้ ย่างถกู ต้อง
๓. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านความสามารถในการจัดจาแนกได้อย่าง
ถูกตอ้ ง
๔. ทดลองเก่ียวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านความสามารถในการใช้เครื่องมือวัด ได้
อย่างถูกต้อง
๕. ทดลองเก่ียวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการระบุความสัมพันธ์ระหว่างสเปส
กับสเปส และ สเปสกับเวลาไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
๖. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการนาข้อมูลมาจัดกระทาเพ่ือให้ผู้อื่น
เข้าใจได้อย่างถกู ตอ้ ง
๗. ทดลองเกย่ี วกบั ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรด์ ้านการอธบิ ายข้อมลู ได้อยา่ งถูกต้อง
๘. ทดลองเก่ียวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการทานายหรือคาดคะเนส่ิงที่จะเกิดข้ึน
ล่วงหน้าไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
๙. นาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพ้ืนฐานมาใช้ออกแบบและประดิษฐ์ชิ้นงานได้อย่าง
สรา้ งสรรค์
รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรียนรู้

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

73

คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

ว๒๐๒๐๒ ทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์ ๒ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต

...................................................................................................................................................................

ศึกษา ทดลอง เกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม ได้แก่ การช้ีบ่งและบอกชนิด
ของตวั แปร การตงั้ สมมติฐาน การกาหนดนิยามเชงิ ปฏิบัติการ การออกแบบการทดลองและปฏิบัติการ
ทดลอง การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป วิเคราะห์สภาพปัญหา และภูมิปัญญาท้องถิ่น นามา
เขยี นเค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ข้ันพน้ื ฐาน การสืบเสาะหา
ความรู้ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และ
ค่านยิ มที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
๑.ทดลองเกยี่ วกับทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ดา้ นการระบแุ ละควบคมุ ตวั แปรได้อย่างถูกต้อง
๒. ทดลองเกยี่ วกบั ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ด้านการต้งั สมมติฐานได้อย่างถูกต้อง
๓. ทดลองเก่ียวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการกาหนดความหมายและขอบเขตของ
คา หรอื ตัวแปรต่างๆ ใหเ้ ข้าใจตรงกัน
๔. ทดลองเก่ียวกับทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรด์ ้านกระบวนการปฏิบตั ิการเพื่อหาคาตอบหรือ
ทดสอบสมมุตฐิ านทต่ี งั้ ไว้
๕. ทดลองเกยี่ วกบั ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรด์ ้านการจดั กระทาข้อมูล และการลงขอ้ สรปุ
๖. เขยี นโครงการเพอื่ ขอเสนอทาโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้อย่างถูกต้องเหมาะสม
รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

74

คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ

ว ๒๑๒๐๕ คอมพิวเตอร์๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกติ

...................................................................................................................................................................

ศึกษา ความรู้ ความเข้าใจ วิเคราะห์หลักการทางาน บทบาทและประโยชน์ของ
คอมพิวเตอร์ ความหมายของข้อมูล และประเภทของข้อมูล วัสดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้า หรือ
อิเล็กทรอนิกส์ ลักษณะสาคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อการ
เปล่ยี นแปลงเทคโนโลยี หาแนวทางปรบั ปรงุ แก้ไขและแก้ปัญหาได้อย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั

วิธีการประมวลผลข้อมูล ขั้นตอนการจัดการสารสนเทศ ระดับของสารสนเทศ วิธีการดูแล
รักษาข้อมูล กระบวนการประมวลผลข้อมูล การจัดการสารสนเทศอย่างเห็นคุณคา่ และนาไปใช้ในการส่ือสาร
แก้ปญั หา ทางานและประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวนั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และ มีคุณธรรม

รหัสตัวชี้วัด
ว๔.๑ม.๑/๑ ,ม.๑/๒, ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕

รวมทั้งหมด ๕ ตัวชี้วัด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

75

คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม

ว ๒๑๒๐๖ คอมพิวเตอร์๒ (อัลกอริทมึ เบ้ืองตน้ ) กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต

...................................................................................................................................................................

ศึกษาปัจจัยในการวัดประสิทธิภาพของอัลกอริทึม การแทนการเติบโตของฟังก์ชันเวลาในการทางาน
ของอัลกอรทิ มึ ด้วยสัญกรณเ์ ชงิ เส้นกากับ การวิเคราะหอ์ ัลกอรทิ มึ การทางานแบบลาดับ แบบมีเงอื่ นไข แบบวน
ซ้า และแบบเรียกเวียนเกิด แนวทางการวิเคราะห์อัลกอริทึมกรณีเลวร้ายสุดและกรณีเฉล่ีย อัลกอรึทึมการ
แบง่ แยกและเอาชนะ กาหนดการพลวัต อลั กอริทึมเชิงละโมบ เทคนคิ การค้นหาขัน้ สงู

เกิดเจตคติทีด่ ีในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศสืบค้นข้อมูล เรียนรู้ ส่ือสาร แก้ปัญหาและทางานอย่างมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธผิ ล และมีคณุ ธรรม

รหัสตวั ช้ีวัด
ว๔.๒ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒, ม.๑/๓,ม.๑/๔

รวมท้ังหมด ๔ ตัวช้วี ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นเพชรมงคล ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

76

คาอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเตมิ

ว ๒๒๒๐๓ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้น มัธยมศึกษาปี่ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกติ

...................................................................................................................................................................

ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ วเิ คราะห์
ประเด็นปัญหาทางวิทยาศาสตร์ฝึกปฏิบัติการทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ในการศึกษาประเด็นปัญหาโครงงานวิทยาศาสตร์ท่ีสนใจ ประยุกต์ทฤษฎีเพื่อต้ังสมมติฐาน การ
กาหนดและควบคุมตัวแปรการเลือกวัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิควิธีทใี่ ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มลู

ค้นคว้าและทากิจกรรมในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นเกี่ยวกับกระบวนการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ฝึก
ทักษะการต้ังสมมติฐาน การออกแบบการทดลอง การกาหนดและควบคุมตัวแปร ตลอดจนการใช้เครื่องมือ
พื้นฐาน เพื่อใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับโครงงาน และสามารถนาความรู้และทักษะไปใชใ้ นการทาโครงงาน
ทางวิทยาศาสตรใ์ ห้ได้ผล

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ ความสามารถในการคดิ ความสามารถ
ในการใช้ทกั ษะชีวติ ความสามารถในการแกป้ ัญหา และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เพ่ือให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
๑. ตั้งคาถามทกี่ าหนดประเด็นหรือตัวแปรทีส่ าคญั ในการสารวจตรวจสอบ หรอื ศึกษาค้นคว้าเร่อื งท่ี

สนใจไดอ้ ยา่ งครอบคลมุ และเช่อื ถือได้
๒.. คน้ ควา้ และทากจิ กรรมในรปู แบบตา่ งๆโดยเน้นกระบวนการแกป้ ญั หาอย่างมีระบบ
๓. มที ักษะการตง้ั สมมตฐิ าน การออกแบบการทดลอง การกาหนดและควบคมุ ตัวแปร
๔ สามารถนาความร้แู ละทกั ษะไปใช้ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์

รวมทั้งหมด ๔ ผลการเรยี นรู้

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นเพชรมงคล ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

77

คาอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเตมิ

ว๒๒๒๐๔ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

...................................................................................................................................................................

ศึกษาวิเคราะห์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้ ต้ังคาถามท่ีกาหนด
ประเด็น หรือตัวแปรท่ีสาคัญในการตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเช่ือถือได้
สร้างสมติฐานท่ีสามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี เลือกเทคนิคการสารวจ
ตรวจสอบท้ังเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพท่ีได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมเก็บ
ขอ้ มูล

จัดกระทาข้อมูลเชิงวิเคราะห์ การออกแบบและใช้เครื่องมือ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
การประเมินความสอดคล้องของ ข้อสรุปกับสมมติฐาน การอภิปรายผลและเสนอแนะเพ่ือแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ใหม่ การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน การเขียนรายงาน การจัดแสดงผลงาน ตระหนักถึง
ความสาคัญในการร่วมอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ท่ีนาเสนอต่อ
สาธารณชน

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการแก้ปัญหา และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารส่ิงทเี่ รียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ
นาความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจาวัน มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
๑. นกั เรียนสามารถในการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบและเข้าใจในปรากฏการณท์ ี่พบเห็น
๒. นักเรียนสามารถวเิ คราะห์ จัดแสดงผลงาน และนาเสนอได้อย่างถูกต้อง
๓. จัดแสดงผลงาน เขยี นรายงาน และ/หรืออธิบายเกย่ี วกับแนวคดิ กระบวนการ และผลของ

โครงงานหรอื ชิ้นงานใหผ้ ู้อื่นเขา้ ใจ

รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

78

คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

ว ๒๒๒๐๕ คอมพิวเตอร์ ๓ (งานกราฟกิ และนาเสนอข้อมูล๑) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละ

เทคโนโลยี

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต

...................................................................................................................................................................

ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ และอธิบายหลักการงานกราฟิก และสร้างงานนาเสนอข้อมูล การสร้าง
สิ่งของเคร่ืองใช้ ตามกระบวนการกราฟิกการออกแบบภาพร่าง ๓ มิติ หลักการเบื้องต้น การสื่อสารข้อมูล
หลักการและวธิ ีการแกป้ ัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ค้นหาข้อมลู และติดตอ่ สื่อสาร หลกั การใช้
โปรแกรมนาเสนองาน การใชเ้ ทคโนโลยีสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา กาค้นหาข้อมูล และการติต่อสื่อสาร การใช้
ซอร์ฟแวร์ระบบ ซอร์ฟแวร์ประยกุ ตด์ ้านการคานวณ

นากระบวนการเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์สิงของเครื่องใช้ อย่างปลอดภัย และมี
หลักการออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดของวิธีการเป็นภาพร่าง ๓ มิติ หรือภาพฉาย เพ่ือนาไปสู่การสร้าง
ต้นแบบของส่ิงของเคร่ืองใช้ หรือถ่ายทอดความคิดของวิธีการ เป็นแบบจาลองความคิด และการรายงานผล
โดยนาเสนอผ่านโปรแกรมนาเสนอ การใส่ข้อความ การตกแต่งข้อความ กาหนดรูปแบบการนาเสนอผลงาน
โดยใช้กระบวนการคน้ หาขอ้ มูลมาประยกุ ต์ใช้อยา่ งเหมาะสม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์ และแกป้ ัญหา
หรือตอบสนองความต้องการในงานท่ีสร้าง สืบค้นข้อมูลและใช้โปรแกรมเรียกคืนข้อมูลอย่างเหมาะสม นา
ซอร์ฟแวร์ระบบ และซอร์ฟแวร์ประยุกต์ด้านการคานวณมาใช้ให้เหมาะสมกับงาน ด้วยกระบวนการคิด
วิเคราะห์ กระบวนการทางานเปน็ กลุ่ม และกระบวนการแกป้ ญั หา

สร้างช้ินงานอยา่ งสรา้ งสรรค์ มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้อนิ เตอรเ์ น็ต ใชเ้ ทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์
ต่อชวี ติ สังคม สิ่งแวดลอ้ ม ค้นหาข้อมูลและติดต่อส่ือสารผ่านเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์อยา่ งมีคณุ ธรรมและ
จรยิ ธรรม และมกี ารจัดการเทคโนโลยดี ้วยการลดการใชท้ รพั ยากร หรอื เลือกใชเ้ ทคโนโลยีที่ไม่มผี ลกระทบต่อ
สิ่งแวดลอ้ ม

ผลการเรียนรู้
1. นักเรยี นสามารถอธบิ ายหลกั การงานกราฟกิ และสร้างงานนาเสนอข้อมลู การสร้างสง่ิ ของเครอื่ งใชต้ าม
กระบวนการกราฟิกการออกแบบภาพรา่ ง ๓ มติ ิ
2. นกั เรียนสามารถออกแบบภาพร่าง ๓ มิตไิ ดภ้ าพฉายเพ่ือนาไปสู่การสรา้ งตน้ แบบของสงิ่ ของเครอื่ งใช้
หรือถา่ ยทอดความคิด ของวิธีการ เปน็ แบบจาลอง
๓. นักเรียนสามารถนาเสนอผ่านโปรแกรมนาเสนอ การใส่ขอ้ ความ การตกแต่งขอ้ ความ กาหนดรูปแบบ
๔. นักเรยี นสามารถใช้กระบวนการค้นหาข้อมูลมาประยุกต์ใชอ้ ยา่ งเหมาะสม และเลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
สรา้ งสรรค์

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

79

๕. นกั เรียนสามารถนาซอร์ฟแวร์ ระบบซอร์ฟแวร์ประยุกต์ดา้ นการคานวณมาใชใ้ ห้เหมาะสมกบั งาน
๖. นักเรียนสามารถแกป้ ญั หา หรอื ตอบสนองความต้องการในงานทีส่ รา้ ง สบื คน้ ข้อมลู และใช้

โปรแกรมเรยี กคนื ข้อมูลอย่างเหมาะสม

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

80

คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ

ว ๒๒๒๐๒ คอมพิวเตอร์๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกติ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ศึกษา ค้นควา้ วิเคราะห์ และอธิบายหลักการการใช้ซอร์ฟแวรร์ ะบบ และซอร์ฟแวร์ประยุกตด์ า้ นการ
คานวณมาใช้ให้เหมาะสมกับงาน นาหลักการใช้งานกราฟิก และสร้างงานนาเสนอข้อมูล การสร้างงานโดย
โปรแกรมกราฟิก การทาหนังสืออิเล็กทรอนิคส์ การใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การค้นหา
ข้อมลู และการติดต่อสอ่ื สาร

นากระบวนการเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในในด้านการคานวณมาใช้ให้เมาะสมกับงาน การ
สร้างสรรค์อิเลกทรอนิคส์อย่างปลอดภัย และมีหลักการออกแบบ โดยถ่ายทอดความคิดหรือภาพฉายเพื่อ
นาไปสู่การสร้างต้นแบบของแบบจาลองความคิดและการรายงานผล โดยใช้กระบวนการค้นหาข้อมูลมา
ประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ และแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการใน
งานที่สร้าง สืบค้นข้อมูลและใช้โปรแกรมเรียกคืนข้อมูลอย่างเหมาะสม ด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์
กระบวนการทางานเป็นกลุม่ และกระบวนการแก้ปญั หา

สร้างชิ้นงานอย่างสร้างสรรค์ มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต ใชเ้ ทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม ค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและ
จริยธรรม และมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากร หรือเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไมม่ ีผลกระทบต่อ
สง่ิ แวดลอ้ ม

ผลการเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถใช้และอธบิ ายหลกั การใช้ซอร์ฟแวร์ระบบและซอร์ฟแวรป์ ระยกุ ตด์ ้านการคานวณมา
ใช้ให้เหมาะสมกบั งาน
2. นักเรียนสามารถใชซ้ อร์ฟแวรด์ ้านการคานวณ Microsoft Office Excel มาใช้ใหเ้ หมาะสมกับงาน
และเกิดประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวันได้
3. นกั เรยี นสามารถใชง้ านกราฟิกและสรา้ งงานนาเสนอขอ้ มลู อย่างปลอดภยั ได้
4. นกั เรยี นสามารถสรา้ งและนาเสนอหนงั สอื อิเลกทรอนคิ ส์ได้ (E-Book)ได้
5. นกั เรยี นสามารถแกป้ ญั หา หรือตอบสนองความต้องการในงานท่ีสรา้ ง สบื ค้นข้อมูล และใช้โปรแกรม
เรยี กค้นข้อมลู ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านเพชรมงคล ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ว๒๓๒๐๗ ชีวติ กับส่ิงแวดล้อม 81
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓
คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๒๐ ชัว่ โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับ ระบบนิเวศ ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ผลของ
การใชเ้ ทคโนโลยีชวี ภาพต่อการดารงชวี ิตของมนษุ ย์และสง่ิ แวดลอ้ ม ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถ่นิ ที่
มีผลต่อมนุษย์และส่ิงมีชีวิต องค์ประกอบภายในระบบนิเวศ วัฏจักรการหมุนเวียนของสาร ปัจจัยท่ีมีผลต่อ
การเปล่ียนแปลงขนาดของประชากรในระบบนิเวศ ปัญหาสิ่งแวดล้อม การดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ้ ม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การสืบค้น
ข้อมูลมานาเสนอและอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจเกี่ยวกับพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ
ระบบนิเวศ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจริยธรรม คุณธรรม รู้จักนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันให้
เกิดประโยชนต์ อ่ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม

ผลการเรยี นรู้
๑. สารวจและอธบิ ายความหลากหลายทางชีวภาพในทอ้ งถิ่นทที่ าให้สง่ิ มชี ีวิตดารงชวี ิตอยู่
ไดอ้ ย่างสมดุล
๒. อธบิ ายผลของความหลากหลายทางชวี ภาพทม่ี ีต่อมนษุ ย์ สตั ว์ พืช และสิง่ แวดลอ้ ม
๓. อภปิ รายผลของเทคโนโลยีชวี ภาพตอ่ การดารงชีวิตของมนุษยแ์ ละส่ิงแวดลอ้ ม
๔. สบื ค้นข้อมลู และอภปิ รายผลของเทคโนโลยี ชีวภาพทม่ี ตี ่อมนุษย์และสง่ิ แวดล้อมและ
นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
๕. สบื ค้นขอ้ มูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชวี ภาพที่มตี อ่ มนุษยแ์ ละสิ่งแวดล้อม
๖. สารวจระบบนเิ วศตา่ งๆในท้องถ่ินและอธิบาย ความสมั พันธ์ขององคป์ ระกอบภายในระบบ
นิเวศ
๗. วเิ คราะห์และอธิบายความสมั พนั ธข์ องการถา่ ยทอดพลังงานของสงิ่ มีชวี ิตในรปู ของโซ่
อาหารและสายใยอาหาร
๘. อธบิ ายวัฎจักรน้า วฏั จักรคาร์บอน และความสาคัญที่มีต่อระบบนเิ วศ
๙. อธบิ ายปัจจยั ท่ีมผี ลต่อการเปล่ียนแปลงขนาดของประชากรในระบบนิเวศ

รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้

คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านเพชรมงคล ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

82

ว๒๓๒๐๘ สารเคมใี นชวี ิตประจาวนั กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต

การสืบค้นข้อมูล การสารวจ การอภิปรายเกี่ยวกับสารท่ีใช้ทาความสะอาดในชีวิตประจาวัน
ความสามารถในการทาความสะอาด องค์ประกอบของสาร การทดลองสมบัตกิ ารเกิดฟอง ความสามารถในกา
ราความสะอาด คา่ ความเปน็ กรด-เบส การอภปิ ราการเลือกใช้สารทาความสะอาด และการจดั การสารทาความ
สะอาดหลังใช้งานอย่าถูกต้องปลอดภัยและไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การสืบค้นข้อมูล การสารวจ
ตรวจสอบ การอภิปรายสมบัติและวัตถุประสงค์ของการใช้สารเติมแต่งอาหาร การใช้สารถนอมอาหาร การ
สารวจตรวจสอบวตั ถุเจือปนในอาหาร การสืบค้นขอ้ มลู การอภิปราย การเลือกใช้สารถนอมอาหารการสารวจ
ตรวจสอบวัตถุเจือปนในอาหาร การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การเลือกใช้สารเติมแต่งอาหารได้อย่างถูกต้อง
ตามวัตถุประสงค์ของการใช้ ปริมาณท่อี นญุ าตใหใ้ ช้ท่ีไมก่ ่อให้เกิดอนั ตรายและผลต่อสิ่งแวดล้อม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะความรู้ การสารวจ ตรวจสอบ ทดลอง อภิปราย
บอก อธิบาย เปรียบเทียบ เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ การสือ่ สารสิ่งท่ีเรียนรู้ มคี วามสามารถใน
การตดั สินใจ นาความร้ไู ปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรมและคา่ นิยมท่เี หมาะสม
ผลการเรยี นรู้

๑. การสังเกต สารวจตรวจสอบ อภปิ รายสมบัติของสารทใี่ ช้ทาความสะอาดในชีวติ ประจาวัน
๒. สบื คน้ ข้อมลู สารวจตรวจสอบ อภปิ รายสมบตั แิ ละวัตถุประสงค์ของการใช้สารเติมแต่งอาหาร
๓. สืบค้นขอ้ มูล สารวจตรวจสอบ อภิปรายสมบัตแิ ละวตั ถุประสงค์ของการใช้สารถนอมอาหาร
๔. สารวจตรวจสอบวัตถุเจอื ปนในอาหาร
๕. การสืบคน้ ข้อมลู การอภิปราย การเลือกใชส้ ารเติมแต่งอาหารได้อย่างถกู ต้องตาม

วัตถปุ ระสงค์ ของการใช้
รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรยี นรู้

คาอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นเพชรมงคล ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

83

ว ๒๓๒๐๕ คอมพิวเตอร์ ๕ (การสรา้ งเวปเพจ๑) กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกติ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย สรุประดับของเทคโนโลยี การสร้างส่ิงของเคร่ืองใช้หรือวิธีการตาม
กระบวนการเทคโนโลยี หลักการทาโครงงาน การนาเสนองาน การใช้โปรแกรมกราฟิก การสร้างช้ืนงานตาม
หลักการทาโครงงาน อธิบายความหมาย บอกประโยชน์ของโปรแกรม Photo Impact เรียกใช้งาน Photo
Impact และสามารถสร้างชน้ิ งานกราฟิก และใสเ่ อฟเฟ็กตใ์ นโปรแกรม Photo Impact การสร้างเวปเพจ โดย
ใช้ Dream Weaver

เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ เจตคติ เห็นความสาคัญ และสามารถสร้างงานกราฟิก พร้อมทั้งใส่
เอฟเฟก็ งานของตนเอง การสร้างเวปเพจ โดยใช้โปรแกรม Dream Weaver นาหลักการทาโครงงานมาพัฒนา
ผลงานตามความสนใจ และความถนดั อย่างเปน็ ระบบ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้เหมาะสมกบั ระดบั ของ
เทคโนโลยี มีหลักการใช้โปรแกรมในการนาเสนอผลงาน และโปรแกรมกราฟิก โปรแกรมสร้างเวปเพจ ด้วย
กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการทางานเปน็ กลมุ่ จนสามารถสร้างชิน้ งานจากจนิ ตนาการ

สร้างชิ้นงานตามหลักการทาโครงงานอย่างสร้างสรรค์ มีจิตสานึกในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ไม่
คดั ลอกงานผ้อู นื่ ใชค้ าสภุ าพ และไม่สรา้ งความเสยี หายแก่ผอู้ ่นื

ผลการเรยี นรู้
๑.นักเรียนสามารถศึกษา วเิ คราะห์ อภิปราย สรุประดบั ของเทคโนโลยี
๒.นักเรยี นสามารถสรา้ งสิง่ ของเครือ่ งใช้ หรอื วิธกี ารตามกระบวนการเทคโนโลยไี ด้
๓.นักเรียนสามารถสรา้ งชิน้ งานตามหลกั การทาโครงงานคอมพวิ เตอร์ได้
๔.สามารถสร้างภาพงานกราฟกิ โดยใชโ้ ปรแกรม Photo Impact ได้
๕.สามารถใช้โปรแกรม Dream Weaver สร้างเวปเพจ ได้
๖.สามารถนาหลกั การทาโครงงาน มาพัฒนาผลงานตามความสนใจและความถนดั ไดอ้ ย่างเป็นระบบ

รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรยี นรู้

คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

84

ว ๒๓๒๐๖ คอมพิวเตอร์๖(การสร้างภาพเคลื่อนไหว) กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต

...................................................................................................................................................................

ศกึ ษาหลักการทางานของแอนิเมชัน ข้นั ตอนการเตรยี มงานสาหรับทาแอนเิ มชนั ข้ันตอนในการ
ผลิตงานสาหรับทาแอนิเมชัน สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์งานแอนิเมชั่นโ ดยการ
ปฏิบัติการสร้างงานแอนิเมชันสองมิติหรือสามมิติอย่างสากล โดยการออกแบบสร้างสรรค์ตามจิตนาการได้
อย่างเหมาะสมในรูปแบบของมลั ตมิ ีเดีย ทเี่ ก่ียวกบั ภาพ เสยี ง ภาพเคลื่อนไหวและการน าโปรแกรมมาประยกุ ต์
ในการสรา้ งช้ินงาน และการน าเสนอผลงาน รู้จักแกป้ ัญหา อธบิ ายวเิ คราะห์ และทางานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

เพอื่ ให้พฒั นาผเู้ รียนให้ใชค้ อมพิวเตอร์สรา้ งสรรคผ์ ลงานได้อย่างถูกวิธีทางานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
และมีประสิทธิผล สามารถนาเสนอผลงานได้อย่างมืออาชีพ สามารถนาความรู้และทักษะการสร้างแอนิเมชัน
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีจิตสานึกที่ดีมีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม รวมถึงใช้ทรัพยากรอย่าง
ประหยัดคมุ้ คา่ และมคี ณุ ธรรม

ผลการเรียนรู้
๑. ผู้เรียนอธบิ ายหลักการสร้างงานแอนเิ มชัน
๒. ผเู้ รยี นอธิบายขน้ั ตอนการเตรียมงานสาหรบั ทาแอนเิ มชั่น
๓. ผู้เรียนปฏิบัติการสรา้ งสรรคง์ านแอนเิ มชันสองมติ ิ อยา่ งมคี ุณธรรมโดยไมล่ อกเลยี นผลงาน
ของคนอ่นื
๔. ผู้เรยี นปฏบิ ัตกิ ารสร้างสรรคง์ านแอนิเมชนั สามมติ ิ อยา่ งมีคุณธรรมโดยไมล่ อกเลยี นผลงาน
ของคนอืน่

รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรียนรู้

รายวิชาสังคมศกึ ษา ฯ คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
รหสั วชิ า ส๑๑๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

85

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่วั โมง/ปี

สังเกต ศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล อภิปราย ความหมาย ความสาคัญ องค์ประกอบเบื้องต้นของ
ศาสนา ประโยชน์ ประวัติ ศาสดาของศาสนา สรุปใจความสาคัญของคัมภีร์ ความคิดหลักของศาสนา สรุป
หลักจริยธรรม การบาเพ็ญประโยชน์ วิธีปฏิบัติ การใช้ภาษาเก่ียวกับศาสนพิธี พิธีกรรมในวันสาคัญ ฝึก
ปฏบิ ัตกิ ารบรหิ ารจิต การเจริญปัญญาเบื้องตน้ เปรียบเทียบ การทาความดี ปฏิบตั ิตนตามคาแนะนา รวบรวม
ข้นั ตอนของศาสนพธิ ี คุณลักษณะของการเปน็ พลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยมคี วามรับผดิ ชอบ ความซื่อสัตย์
ความกล้าหาญ ความเสียสละ การเคารพสิทธิและหน้าที่ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น การแก้ปัญหาความ
ขัดแย้งในครอบครัว กฎ กติกา ความหมาย ความสาคัญของรัฐธรรมนูญ ประโยชน์ของรายรับ-รายจ่าย
ต้นทุนผลประโยชน์ท่ีได้รับทรัพยากรในท้องถิ่น ระบบเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพของครอบครัวและชุมชน การ
ซ้ือขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ในชีวิตประจาวัน ลักษณะทางกายภาพของบ้าน โรงเรียน และชุมชน
องค์ประกอบของ แผนผัง การเขียนแผนที่เบื้องต้นอย่างง่าย ทรัพยากรธรรมชาติ การพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและ
กัน ผลเสียการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทางสังคม การสร้างสรรค์ ส่ิงแวดล้อม การอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ และทางสังคม โดยใช้กระบวนการทางสังคม กระบวนการสืบค้น กระบวนการกลุ่ม
และกระบวนการแกป้ ญั หา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไป ประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวช้ีวัด
ส ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ส ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑
ส ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๕.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓

รวม ๘ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ชี้วัด
คาอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน

รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ รหสั วิชา ส๑๑๑๐๒ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

86

ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง/ปี

ศึกษาและใช้ปฏิทินในการบอกวัน เดือน ปี ท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน ซ่ึงมีท้ังระบบสุริยคติและจันทรคติ
คาที่แสดงช่วงเวลาเพื่อใช้เล่าเหตุการณ์ปัจจุบัน วันนี้ เดือนนี้ ตอนเช้า ตอนกลางวัน ตอนเย็น ตอนค่า และ
เรียงลาดับเหตกุ ารณ์ในชวี ิตประจาวนั ตามวันเวลาท่ีเกิดข้ึน โดยใชท้ ักษะการสังเกต การบอกเล่า การเชอ่ื มโยง
เพ่ือให้สามารถใช้เวลาตามปฏิทินแสดงเหตุการณ์ในปัจจุบันและใช้คาแสดงช่วงเวลาเรียงลาดับเหตุการณ์ที่
เกิดขนึ้ ได้

รู้วิธีสืบค้นประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัวอย่างง่ายๆโดยสอบถามผู้เกี่ยวข้องและการ
บอกเล่าเรอ่ื งราวที่สืบค้นได้ โดยใช้ทักษะการสอบถาม การรวบรวมขอ้ มูล การสรุปความ การเล่าเร่ือง เพ่ือฝึก
ทักษะพ้ืนฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นเรื่องราวจากแหล่งข้อมูล(เช่นบุคคล)และบอกเล่า
ข้อเท็จจรงิ ทคี่ ้นพบไดอ้ ย่างน่าสนใจ

ศึกษาการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมส่ิงของเคร่ืองใช้หรือการดาเนินชีวิตของตนเองในสมัย
ปัจจุบัน กับสมัยของพ่อแม่ ปยู่ ่า ตายายที่เป็นรูปธรรมและใกล้ตัวผู้เรียน เตารีด (การรดี ผ้าด้วยเตาถ่านกับเตา
ไฟฟ้า) หม้อหุงข้าว (การหุงขา้ วท่เี ชด็ น้าดว้ ยฟืนหรอื ถ่านกับหม้อหงุ ข้าวไฟฟา้ ) เกวียนกับรถยนต์ (การเดนิ ทาง)
ถนน บ้านเรือน การใช้ควายไถนากับรถไถนา รวมทั้งเหตุการณ์สาคัญของครอบครัวท่ีเกิดขึ้นในอดีตท่ีมี
ผลกระทบต่อตนเองในปัจจุบัน ( การย้ายบ้าน การย้ายโรงเรียน การเล่ือนช้ันเรียน การได้รับรางวัล การ
สญู เสียบุคคลสาคัญของครอบครัว) โดยใช้ทักษะการสงั เกต การใช้เหตุผล การเปรียบเทียบ การแยกแยะ การ
ยกตัวอย่าง และการบอกเล่า เพ่ือให้เข้าใจการเปล่ียนแปลงตามกาลเวลาและความสาคัญของอดีตท่ีมีต่อ
ปัจจบุ นั และอนาคต สามารถปรับตัวใหเ้ ขา้ กับวถิ ชี ีวติ ปจั จบุ ันไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

ศึกษาความหมายและความสาคญั ของสัญลักษณ์ของชาติไทย ได้แก่ ธงชาติ เพลงชาติ เพลงสรรเสริญ
พระบารมี ภาษาไทย อักษรไทย มารยาทไทย อาหารไทย การแตง่ กายแบบไทย วัฒนธรรมและขนบธรรมเนยี ม
ประเพณีไทย และการปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกาลเทศะ รวมท้ังรู้จักสถานท่ีสาคัญซึ่งเป็นแหล่งวัฒนธรรมใน
ชุมชน ศาสนสถาน ตลาด พิพิธภัณฑ์ และส่ิงท่ีเป็นความภาคภูมิใจในท้องถ่ิน ท่ีใกล้ตัวผู้เรียนและเห็นเป็น
รปู ธรรม โดยใช้ทักษะการสังเกต การแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมีเหตุผล การอธิบาย การปฏิบตั ิตนอย่างถูกต้อง
เพื่อก่อให้เกิดความรักและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ท้องถ่ิน และประเทศชาติ ภูมิใจในสถาบันชาติ
ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ ตระหนักและเหน็ คณุ ค่าทจี่ ะธารงรักษาและสืบทอดต่อไป

มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้วี ัด
ส ๔.๑ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

87

ส ๔.๒ ป ๑/๑ , ป ๑/๒
ส ๔.๓ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓
รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตัวชี้วดั

รายวชิ าสังคมศกึ ษา ฯ คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
รหัสวิชา ส๑๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

88

ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง/ปี

สังเกต ศกึ ษาค้นควา้ การรวบรวมข้อมูล อภปิ ราย ความหมาย ความสาคัญ องค์ประกอบเบื้องต้นของ
ศาสนา ประวัติศาสนา ศาสดาของศาสนา คัมภีร์ และการใช้ภาษาของศาสนา รวบรวมหลักจริยธรรม การ
บาเพ็ญประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน และชุมชน หลักปฏิบัติการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข ศาสนพิธี และ
พิธีกรรมในวันสาคัญของศาสนา การบริหารจิต การเจริญปัญญาเบื้องต้น การทาความดีของบุคคลใน
ครอบครัว และโรงเรียน การปฏิบัติตนตามคาแนะนาเก่ียวกับศีลธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีดีงาม การเป็น
พลเมืองดี ในสังคมประชาธิปไตย การยอมรับ การเคารพสิทธิ และหน้าที่ของตนเอง เป็นสมาชิกท่ีดีของ
ครอบครัว สิทธิของบุคคลท่ีพึงได้รับการคุ้มครอง การขัดเกลาของสังคม ค่านิยม ความเชื่อ ประเพณี
วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของท้องถ่ิน ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว บทบาทหน้าท่ีของตนเอง การ
แก้ปัญหาความขัดแย้ง ข้อตกลง กฎ กติกา ระเบียบในโรงเรียน ความหมาย และความสาคัญของรัฐธรรมนูญ
ประโยชนข์ องรายรับ–รายจ่ายของครอบครวั ตัดสินใจเลือกอย่างเหมาะสม เศรษฐกจิ พอเพียง อาชพี ของชมุ ชน
การซื้อขาย แลกเปลย่ี นสินคา้ และบริการ ประโยชน์ของธนาคาร ภาษที ่ีเก่ียวข้องในชีวิตประจาวันลักษณะทาง
กายภาพ องค์ประกอบของแผนผังแผนที่ ตาแหน่ง ระยะทิศทาง ทรัพยากรธรรมชาติรู้คุณค่าของธรรมชาติ
การสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมทางสังคม การเปรียบเทียบประชากรกับสิ่งแวดล้อม การฝึกสังเกตสิ่งต่างๆ
รอบตวั โดยใชก้ ระบวนการสังคม กระบวนการสบื ค้น กระบวนการกลมุ่ กระบวนการแก้ปัญหา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้อ ย่าง
ถูกตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ัด
ส ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ส ๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔

รวม ๘ มาตรฐาน ๒๘ ตัวช้ีวัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

89

คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน

รายวิชาประวัตศิ าสตร์ รหสั ส ส๑๒๑๐๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

90

ช้ันประถมศึกษาปที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง/ปี

รู้จักวันเวลาตามระบบสุริยคติและจันทรคติที่ปรากฏในปฏิทินที่แสดงเหตุการณ์สาคัญในอดีตและ
ปัจจุบนั รวมทงั้ การใช้คาทแ่ี สดงช่วงเวลาในอดีต ปจั จบุ ัน และอนาคต วันนี้ เมอ่ื วานน้ี พรงุ่ น้ี, เดือนน้ี เดอื น
ก่อน เดือนหน้า, ปีน้ี ปีก่อน ปีหน้า ในการอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน โดยใช้ทักษะการสังเกต การสอบถาม
เช่ือมโยง เรียงลาดับ การเล่าเรื่อง การรวบรวมข้อมูล การอธิบาย เพ่ือให้สามารถใช้วันเวลาเรียงลาดับ
เหตุการณ์สาคญั ไดถ้ กู ต้อง วา่ เหตุการณใ์ ดเกิดกอ่ น เหตกุ ารณ์ใดเกดิ หลงั

รู้วิธีสืบค้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในครอบครัวโดยใช้หลักฐานที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ภาพถ่าย สูติบัตร
ทะเบียนบ้าน เครอ่ื งมือเครื่องใช้ มาอธบิ ายเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ และวิธสี ืบค้นขอ้ มลู ในชุมชนอยา่ งง่าย ๆ ในเรื่อง
เก่ียวกับการเปล่ียนแปลงในวิถีชีวิตของคนในชุมชนในด้านต่างๆ จากอดีตถึงปัจจุบัน ทางด้านการประกอบ
อาชีพ การแต่งกาย การส่ือสาร ขนบธรรมเนียมประเพณีในชุมชน เข้าใจสาเหตุและผลกระทบของการ
เปล่ียนแปลงท่มี ีต่อวถิ ชี ีวิตของคนในชุมชน สามารถเรียงลาดบั เหตุการณ์ท่สี ืบคน้ ได้โดยใช้เสน้ เวลา ฝึกทักษะ
การสอบถาม การสังเกต การวิเคราะห์ การอธิบายอย่างมีเหตุมีผล ทาผังความคิดและการจัดนิทรรศการ
เพ่ือให้เข้าใจวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ใน เรื่องเกีย่ วกับการใชห้ ลักฐานทางประวัติศาสตร์สืบค้นเรอื่ งราวในอดีต
และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นตามกาลเวลา อย่างต่อเน่ือง มีความเข้าใจชุมชนท่ีมีความแตกต่างและ
สามารถปรบั ตัวอยใู่ นชีวิตประจาวันได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

ศึกษา สบื ค้นประวัตแิ ละผลงานของบคุ คลท่ีทาประโยชนต์ อ่ ท้องถิ่นหรือประเทศชาติ ในดา้ นการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม /การสร้างความเจริญรุ่งเรืองและความมั่นคงโดยสังเขป รวมทั้งวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย และภูมิ
ปญั ญาไทยที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ การทาความเคารพแบบไทย ประเพณีไทย ศิลปะไทย ดนตรีไทย โดยใช้
ทกั ษะการสืบค้นการสังเกต การอ่าน การรวบรวมขอ้ มูล การวิเคราะห์ การใช้เหตุผล การอธิบาย และการนาเสนอ
เพ่ือให้เห็นคุณค่าและแบบอย่างการกระทาความดีของบรรพบุรุษท่ีได้สร้างประโยชน์ให้ท้องถิ่นและประเทศ เกิด
ความรกั และความภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย วัฒนธรรมไทย ภมู ิปญั ญาไทย และธารงความเป็นไทย

มาตรฐานการเรียนรู้/ ตวั ชวี้ ัด
ส ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๔.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒

รวม ๓ มาตรฐาน ๖ ตัวชี้วัด

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นเพชรมงคล ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

รายวชิ าสังคมศกึ ษา ฯ 91
ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๓
คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
รหัสวชิ า ส๑๓๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

เวลา ๔๐ ชว่ั โมง/ปี

สังเกต ศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล อภิปราย แสดงความคิดเห็น สรุปใจความสาคัญความหมาย
ความสาคัญ องค์ประกอบของศาสนา ประโยชน์ ประวัติศาสดาของศาสนา ภาษา ท่ีใช้ในคัมภีร์ของศาสนาที่
ตนนับถือ หลักจริยธรรมในการพัฒนาตน การบาเพ็ญประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน วิธีปฏิบัติ
เกี่ยวกับ ศาสนพิธี พิธีกรรมในวันสาคัญของศาสนา การบริหารจิต การเจริญปัญญา สติ สัมปชัญญะ ความ
ราลึกได้ ความร้ตู ัว ชื่นชมการทาความดขี องบคุ คลในครอบครัว และโรงเรียน ศีลธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีดี
งาม การเป็นพลเมืองดีในสังคม ประชาธิปไตย การเคารพสิทธิและหน้าที่ของ ตนเอง บทบาทสิทธิ เสรีภาพ
หน้าท่ี สถานภาพ สิทธิของบุคคลที่พึงได้รับการคุ้มครอง การขัดเกลาของสังคม ค่านิยม ความเชื่อ ประเพณี
การอนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญา ของท้องถ่ิน การสร้างความดี การแก้ปัญหาความขัดแย้ง กฎ กติกา
ระเบียบในชุมชน ความสาคัญของกฎหมายรัฐธรรมนูญ รายรับ–รายจ่าย ผลประโยชน์ที่ผู้บริโภคได้รับการ
ตัดสินใจเลือกอย่างเหมาะสม ระบบเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพในชุมชนการแลกเปล่ียน สินค้าและบริการ
ความสาคัญของธนาคาร ภาษีทเี่ ก่ยี วข้องในชีวิตประจาวัน องค์ประกอบทางกายภาพ ลกั ษณะ ความเก่ียวข้อง
แผนผัง แผนที่ ตาแหน่ง ระยะทิศทาง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ การพึ่งพาอาศัยกัน
สิ่งแวดล้อมทางสังคม การอนุรักษ์ การใช้พลังงาน การดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม การรู้จักสังเกตสิ่งต่างๆรอบตัว
โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ
แกป้ ัญหา

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้อย่าง
ถูกตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั
ส ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗
ส ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ส ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเพชรมงคล ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

92

ส ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๕.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
รวม ๘ มาตรฐาน ๓๐ ตวั ชวี้ ัด

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

รายวิชาประวัตศิ าสตร์ 93
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๓
คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
รหัส ส ๑๓๑๐๒ กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ปี

ศึกษาความหมายและท่ีมาของศกั ราชท่ีปรากฏในปฏิทนิ ได้แก่ พุทธศักราช คริสตศ์ ักราช (ถา้ เป็น

ชาวมุสลิม ให้ศึกษาฮิจเราะห์ศักราชด้วย) วิธีการเทียบคริสต์ศักราชกับพุทธศักราช และใช้ศักราชในการบันทึกเหตุการณ์

สาคัญท่ีเก่ียวข้องกับตนเองและครอบครัว ปีเกิดของผู้เรียน เหตุการณ์สาคัญของตนเอง และครอบครัว โดยใช้ทักษะการ

เปรียบเทียบ การคานวณ การเชื่อมโยง การอธิบาย เพื่อให้มีพ้ืนฐานในการศึกษาเอกสารท่ีแสดงเหตุการณ์ตามกาลเวลา

สามารถเรียง ลาดับเหตุการณ์ได้ถูกต้อง ว่าเหตุการณ์ใดเกิดก่อน เหตุการณ์ใดเกิดหลังอันเป็นทักษะท่ีจาเป็นในการศึกษา

ประวตั ศิ าสตร์

รู้วิธีสืบค้นเหตุการณ์สาคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง รูปภาพ แผนผัง

โรงเรียน แผนที่ชุมชน ห้องสมุดโรงเรียน แหล่งโบราณคดี – ประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น สามารถใช้เส้นเวลา (Timeline)

ลาดบั เหตุการณ์ท่เี กิดขึน้ ในโรงเรยี นและชมุ ชน โดยใช้ทกั ษะการสารวจ การสงั เกต การสอบถาม การอ่าน การฟัง การเล่า

เรื่อง การสรุปความ เพื่อฝึกทักษะพน้ื ฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นเร่อื งราวรอบตัวอย่างง่าย ๆ โดยการใช้

หลักฐานและแหล่งข้อมูลทีเ่ กยี่ วขอ้ ง สามารถนาเสนอเรอื่ งราวทค่ี น้ พบไดต้ ามลาดับเวลา

ศกึ ษาปจั จยั ท่ีมอี ทิ ธิพลต่อการต้ังถิ่นฐานและพฒั นาการของชมุ ชน ปจั จยั ที่ทาให้เกิดวัฒนธรรมและประเพณีในชุมชน

ซงึ่ ประกอบด้วย ปัจจยั ทางภูมิศาสตร(์ ภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ ทรัพยากร) และปจั จัยทางสงั คม (ความเจรญิ ทางเทคโนโลยี เชอื้

ชาติ ศาสนา ความเช่ือ การคมนาคม ความปลอดภัย ) ศึกษาและเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง ของ

ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนตนเอง และชุมชนใกล้เคียง ในเรื่องความเชื่อและการนับถือศาสนา

อาหาร ภาษาถิ่น การแต่งกาย โดยใช้ทักษะการอ่าน การสอบถาม การสังเกต การสารวจ การฟัง การสรุปความ เพ่ือให้เกิด

ความเข้าใจและภูมิใจในชมุ ชนของตนเอง ยอมรบั ความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม เขา้ ใจพัฒนาการของชมุ ชน สามารถดาเนินชวี ิต

อย่รู ่วมกันในสงั คมไดอ้ ย่างสันติสุข รว่ มอนุรักษส์ ืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมไทย

ศึกษาพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ โดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ผู้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัย อยุธยา

ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ ตามลาดับ ได้แก่ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) สมเด็จพระเจ้า

ตากสินมหาราช และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ศึกษาพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของ

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าหวั อยู่ภูมพิ ลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถโดยสงั เขป และศึกษาวรี กรรม

ของบรรพบรุ ุษไทยทม่ี สี ่วนปกปอ้ งประเทศชาติ ไดแ้ ก่ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ท้าวเทพกระษัตรี – ทา้ วศรีสนุ ทร ชาวบ้าน

บางระจัน พระยาพิชัยดาบหัก ทา้ วสุรนารี เปน็ ต้น โดยใช้ทกั ษะการอ่าน และสอบถาม การฟัง การสรุปความ การเขียน การ

เล่าเรื่อง เพ่ือให้เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย เกิดความรัก ความภูมิใจและเห็นแบบอย่างการเสียสละเพ่ือชาติ และธารง

ความเปน็ ไทย

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วัด
ส ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ส ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๔.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓

รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตัวชว้ี ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

94

รายวชิ าสังคมศึกษา ฯ คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๔ รหสั วชิ า ส๑๔๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

เวลา ๘๐ ชั่วโมง/ปี

สงั เกต ศกึ ษาคน้ คว้า อภปิ ราย ซักถาม แสดงความคิดเหน็ รวบรวมข้อมลู สืบค้น ข้อมูลสรปุ ใจความสาคญั เก่ยี วกบั
ความสาคัญทางศาสนา และศาสดาของศาสนาพุทธ คัมภีร์ทางศาสนาท่ีตนนับถือ หลักธรรมของศาสนา การบริหารจิตและ
เจริญปญั ญา ชื่นชมการทาความดขี องบคุ ลากรในสงั คม แปลความหมายในคมั ภีร์ ศาสนาท่ีตนนับถือ เสนอแนวทางการกระทา
ของตนเองและผู้อ่ืนในฐานะพลเมืองดีของสังคม สิทธิเด็ก เพ่ือป้องกันตัวเองและสังคม เปรียบเทียบความแตกต่างของ
วัฒนธรรมในท้องถ่ินการยอมรับคุณค่าของกันและกัน การรวมกลุ่มทั้งภาครัฐและเอกชน ช่ืนชมการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์เปน็ ประมขุ การรวมกลุ่มภาครฐั และเอกชนเพื่อพฒั นาท้องถ่ิน อานาจอธิปไตย ปฏิบตั ิตาม
กฎหมายในชีวิตประจาวัน วเิ คราะห์ ผ้ผู ลติ ผูบ้ รโิ ภค วธิ ีการของเศรษฐกจิ การหารายได้ การออม การลงทุน ผลผลิตทางดา้ น
เศรษฐกิจ การตลาด การธนาคาร สถาบันการเงินอื่น ๆ ภาษีท่ีเก่ียวข้องในชีวิตประจาวัน การพึ่งพา การแข่งขันทางด้าน
เศรษฐกิจ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความแตกต่างของส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติ โดยใช้
กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการกล่มุ กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแก้ปัญหา

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึง
ประสงคใ์ นดา้ นรกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสตั ย์ มวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ รกั ความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ สามารถดาเนินชีวิตอยา่ งสันติ
สุขในสงั คมไทย และสงั คมโลก สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถ
นาไปประยกุ ต์ใชก้ ับชีวติ ประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ดั
ส ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ส ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
ส ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๓.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ส ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ส ๕.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓

รวม ๘ มาตรฐาน ๒๙ ตวั ช้ีวดั

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นเพชรมงคล ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

รายวชิ าประวตั ิศาสตร์ 95
ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๔
คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
รหสั วิชา ส๑๔๑๐๒ กลุม่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

เวลา ๘๐ ชว่ั โมง/ปี

ศึกษาความหมาย วิธีการนบั และการใช้ช่วงเวลาเปน็ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เกณฑ์การแบ่งยุคสมัย
ในทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติท่ีแบ่งเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ รวมท้ังช่วงสมัยในการศึกษา
ประวัติศาสตร์ไทย สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์ ตัวอย่างการใช้ช่วงเวลาใน
เอกสารตา่ ง ๆ โดยใช้ทักษะการอ่าน การสารวจ การวเิ คราะห์ การคานวณ เพือ่ ให้ใช้ช่วงเวลาในการบอกเล่าเรื่องราวได้
ถูกตอ้ ง และเข้าใจเหตุการณ์ท่ีเกิดขึน้ ตามชว่ งเวลาทีป่ รากฏในเอกสารทางประวัตศิ าสตร์

ศึกษาลักษณะสาคัญ และเกณฑ์การจาแนกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถ่ิน
อย่างง่าย ๆ ตวั อย่างของหลักฐานทีพ่ บในทอ้ งถ่ินทง้ั หลักฐานชั้นตน้ กบั ช้ันรอง หลักฐานทเ่ี ปน็ ลายลักษณ์อกั ษร กับไม่เป็น ลาย
ลักษณอ์ ักษร โดยใช้ทกั ษะการสารวจ การวิเคราะห์ การตรวจสอบข้อมูล การจาแนก การตีความ เพ่ือฝึกทักษะการสืบค้น
ข้อมูลดว้ ยวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์

ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปัจจัย การต้ังถ่ินฐานและพัฒนาการของมนุษยชาติในสมัยก่อน
ประวัตศิ าสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ในดนิ แดนไทยโดยสังเขป การก่อตั้งอาณาจักรโบราณในดินแดนไทย ไดแ้ ก่ ทวารวดี
ศรีวิชัย ตามพรลิงค์ เป็นต้น โดยใช้ทักษะการสารวจ การวิเคราะห์ การตีความ การสรุปความ เพื่อให้เข้าใจพัฒนาการของ
มนุษยชาติที่มกี ารเปล่ียนแปลงอย่างต่อเนือ่ งจากอดตี จนถงึ ปัจจุบัน

ศึกษาประวัติศาสตร์เป็นมาของชาติไทยในสมัยสุโขทัยโดยสังเขป ในเร่ืองเก่ียวกับการสถาปนาอาณาจักร
พัฒนาการทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ประวัติและผลงานของบุคคลสาคัญ ได้แก่ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุน
รามคาแหงมหาราช พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (พระยาลิไทย) และภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัยที่น่าภาคภูมิใจ ซึ่งเป็นผลให้
อทุ ยานประวัติศาสตร์ในสโุ ขทยั และศรสี ชั นาลยั ไดร้ ับการยกย่องเป็นมรดกโลก โดยใช้ทกั ษะการอา่ น การสารวจ การสบื ค้น
การวิเคราะห์การตีความ เพ่ือเข้าใจความเป็นมาของชาติไทยในสมัยสุโขทัย รวมท้ังวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย และ
บคุ คลสาคญั ในสมยั สุโขทยั เกิดความรักและความภูมใิ จในความเป็นไทย ตระหนักถงึ ความพากเพยี รพยายามของบรรพบรุ ุษ
ไทยที่ได้ปกปอ้ ง และสร้างสรรค์ความเจรญิ ใหบ้ า้ นเมือง ตกทอดเปน็ มรดกทางวัฒนธรรมสืบตอ่ ถงึ ปัจจบุ ัน

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั
ส ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒

ส ๔.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตัวช้ีวัด

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านเพชรมงคล ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑


Click to View FlipBook Version