The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Larpluck Boonyakom, 2022-08-05 04:45:06

บทความเต็ม_4U

บทความเต็ม_4U

A

การประชุมวิชาการด้านความก้าวหน้าทางศิลปะ

วฒั นธรรมและการออกแบบ ระดับชาติ ครัง้ ที่ 4 ประจาำ ปี 2565

“Transforming the Country through Art, Culture and Innovation”

วนั ท่ี 11 กรกฎาคม 2565
ณ คณะศลิ ปวิจติ ร สถาบณั ฑติ พัฒนศลิ ป์

B

โครงการประชมุ วิชาการระดับชาตแิ ละนทิ รรศการแสดงผลงานสรา้ งสรรค์นานาชาติ
ครั้งที่ 4 ประจาปี 2565

ภายใต้หัวขอ้ : ศลิ ปะ วัฒนธรรมและนวตั กรรมพลกิ โฉมประเทศ
(Transforming the Country through Art, Culture and Innovation)
โครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ
คร้ังที่ 4 ประจาปี 2565 จัดขึ้นเพื่อเป็นเวทีแลกเปล่ียนความรู้ด้านผลงานสร้างสรรค์ระหว่างศิลปิน
คณาจารย์ และนักศึกษา ทง้ั งานด้านศลิ ปกรรมทุกแขนง งานสถาปัตยกรรม และงานการออกแบบใน
สาขาศิลปะอนื่ ๆ ภายใตห้ วั ขอ้ ทีก่ าหนดในแต่ละปี
โครงการฯ ดังกล่าวเป็นผลสืบเน่ืองมาจากความร่วมมือของมหาวิทยาลัยทั้งจากภาครัฐ
และภาคเอกชนที่มีการเรียนการสอนด้านศิลปะและการออกแบบประกอบด้วย คณะศิลปกรรม
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และคณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
(ภาคีเครือข่าย 4U PLUS) โดยมีจุดมุ่งหมายของโครงการเพ่ือเป็นเวทีให้คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา
และบุคคลผูส้ นใจ ไดน้ าเสนอผลงานทางวิชาการและผลงานสร้างสรรค์ด้านศลิ ปกรรม ผลงานด้านการ
ออกแบบ ต่อสาธารณชน ในรูปแบบของการจัดประชุมวิชาการและการจัดแสดงนิทรรศการ โดย
ผลงานทนี่ าเสนอและจดั แสดงจะผ่านการพิจารณาจากผ้ทู รงคุณวุฒิระดับชาติ
การจัดทาโครงการครั้งน้ี นอกจากเป็นการสร้างความร่วมมือของ 4 สถาบันแล้ว ยังมี
องค์กร สถาบันศลิ ปะ และศลิ ปินนกั ออกแบบจากต่างประเทศทงั้ ในทวีปเอเชียและยุโรปส่งผลงานเข้า
ร่วมนาเสนอ อาทิ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ จีน สาธารณรัฐเกาหลี ไต้หวัน อินเดีย อิตาลี ฯลฯ
ซึง่ นับเปน็ โอกาสสาคัญท่จี ะกอ่ ให้เกดิ การแลกเปล่ยี นองค์ความรู้ ประสบการณ์ และวฒั นธรรม ในการ
สร้างสรรค์ผลงานการออกแบบในลกั ษณะต่าง ๆ อันจะเปน็ ประโยชนต์ ่อการพัฒนางานวิชาการด้าน
ผลงานสร้างสรรคต์ ่อไปในอนาคต

C

สารจากอธกิ ารบดีสถาบันบณั ฑติ พฒั นศิลป์
ความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาในนามภาคีเครือข่าย 4U PLUS ซึ่งประกอบด้วย

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และคณะศิลปวิจิตร สถาบัน
บัณฑิตพัฒนศิลป์ ร่วมกันจัดโครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์
นานา ชาติ คร้ังที่ 4 ( The 4th National Academic Conference for the Advancement in Art,
Culture and Design & the International Arts & Designs Collaborative Exhibition 2022) ภายใต้
หัวข้อ : “ศิลปะ วฒั นธรรมและนวัตกรรมพลิกโฉมประเทศ (Transforming the Country through Art,
Culture and Innovation)” โดยในปี 2565 น้ี คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้รับเกียรติ
จากภาคเี ครือข่าย 4U PLUS ให้เปน็ เจา้ ภาพหลักในการดาเนินงาน

การจัดการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ ครั้งน้ี
ณ คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ท่ีได้รับความสนใจจากนักวิชาการด้านศิลปะและการ
ออกแบบสาขาต่าง ๆ และศิลปินทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงศิลปินรับเชิญท่ีมีช่ือเสียงทั้งใน
ประเทศและต่างประเทศ ส่งผลงานเข้าร่วมโครงการ นอกจากนี้ยังไดร้ บั ความสนบั สนุนอยา่ งดียิ่งจากสภา
คณ บ ดี ศิ ล ป ะ แ ล ะ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ ไ ด้ รั บ ค ว า ม เอ้ื อ เ ฟ้ื อ ส ถ า น ที่ จ า ก ม ห า วิ ท ย า ลั ย
เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ในการจัดนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ ถือเป็นการขยาย
ขอบเขตความร่วมมอื ออกไปอกี ระดับหนึง่

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์หวังเป็นอย่างย่ิงวา่ โครงการนจ้ี ะประสบผลสาเร็จและได้รับการขยาย
ผลตอ่ ยอดก้าวไกลออกไปโดยลาดับ

นางนภิ า โสภาสัมฤทธ์ิ
อธกิ ารบดีสถาบนั บณั ฑติ พัฒศิลป์

D

สารจากคณบดคี ณะศิลปวจิ ติ ร สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์
ภาคีเครือข่ายความร่วมมือของมหาวิทยาลัยจากภาครัฐและภาคเอกชนที่มกี ารเรียนการสอน

ด้านศิลปะและการออกแบบ (ภาคีเครือข่าย 4U PLUS) ประกอบด้วย คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์,
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และคณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ร่วมกันจัด
โครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ (The National
Academic Conference for the Advancement in Art, Culture and Design & the International
Arts & Designs Collaborative Exhibition) มจี ดุ ม่งุ หมายเพ่อื เปน็ เวทีใหค้ ณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และ
ผสู้ นใจได้นาเสนอผลงานทางวิชาการและผลงานสรา้ งสรรค์ด้านศิลปกรรม และผลงานด้านการออกแบบ
ต่อสาธารณชน ในรูปแบบของการจัดประชมุ วิชาการและการจัดแสดงนทิ รรศการ โดยผลงานเหล่านน้ั ผา่ น
การพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิระดับชาติ ซึ่งจะเป็นเวทีถ่ายทอดองค์ความรู้และต่อยอดงานทางด้าน
ศลิ ปกรรมศาสตร์ และพัฒนาผลงานวิจยั เชิงสร้างสรรค์ให้สามารถรับใชส้ ังคมไดอ้ ยา่ งย่ังยืน ตลอดจนเป็น
การสรา้ งเครือข่ายความสมั พนั ธ์ระหว่างสถาบนั อันจะเป็นรากฐานไปสูค่ วามร่วมมือทางวิชาการหรือด้าน
อ่ืน ๆ แสดงให้เห็นบทบาทของผลงานทางวิชาการ ผลงานสร้างสรรค์และการออกแบบที่มีต่อการพัฒนา
สงั คมและประเทศของมวลมนษุ ยชาติอย่างแทจ้ ริงตอ่ ไป

ในปี 2565 นี้ คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ มีความยินดีท่ีได้รับเกียรติจากภาคี
เครอื ข่าย 4U PLUS ใหเ้ ป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมวิชาการระดบั ชาติและนิทรรศการแสดงผล
งานสรา้ งสรรคน์ านาชาติ ครงั้ ที่ 4 ประจาปี 2565 (The 4th National Academic Conference for the
Advancement in Art, Culture and Design & the International Arts & Designs Collaborative
Exhibition 2022) ภายใต้หัวข้อ : “ศิลปะ วัฒนธรรมและนวัตกรรมพลิกโฉมประเทศ (Transforming
the Country through Art, Culture and Innovation)” ณ คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
โดยได้รับความสนับสนุนอย่างดียิ่งจากสภาคณบดีศิลปะและการออกแบบแห่งประเทศไทย, สถาบัน
บัณฑติ พัฒนศิลป์ และได้รับความเอ้อื เฟ้อื สถานที่อาคารปฏิบตั กิ ารศิลปวฒั นธรรมอาเซียนเฉลมิ พระเกียรติ
จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ในการจัดนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ
คณะศิลปวิจติ รขอขอบพระคณุ เป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสน้ี

การจัดการประชุมวิชาการระดับชาติและนทิ รรศการแสดงผลงานสรา้ งสรรค์นานาชาติคร้งั น้ี มี
ผูส้ นใจส่งบทความวิชาการดา้ นงานวิจัย บทความวิชาการงานสร้างสรรค์ และผลงานสรา้ งสรรค์ศิลปกรรม
และการออกแบบเข้าร่วมโครงการจานวนมากเป็นไปตามเป้าหมาย คณะศิลปวิจิตรในนามของเจ้าภาพ
ขอขอบคณุ และขอแสดงความยนิ ดีกบั ผสู้ ่งผลงานเขา้ ร่วมโครงการทุกท่าน

ผชู้ ่วยศาสตราจารยบ์ ุญพาด ฆงั คะมะโน
คณบดีคณะศลิ ปวิจติ ร สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์

E

สารจากคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธุรกจิ บัณฑิตย์
โครงการประชุมวิชาการระดบั ชาติ ด้านความกา้ วหนา้ ทางศลิ ปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ

และนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ เป็นโครงการความร่วมมือระหว่าง 4 มหาวิทยาลัยใน
เครอื ขา่ ย 4U Plus เพ่อื สรา้ งเวทีเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการและผลงานสรา้ งสรรค์ อันเกดิ จากงานบริการ
วชิ าการ งานวิจัยและความสนใจของคณาจารย์ นสิ ิต นักศกึ ษา ผ้ทู ี่สนใจและศิลปนิ ท้งั ในและต่างประเทศ
ดา้ นศิลปะและการออกแบบ โดยความร่วมมือในครั้งนเ้ี ป็นการจัดงานร่วมกันเป็นคร้ังที่ 4 ซ่ึงในทกุ ๆ ปีก็
จะมีผลงานที่ส่งมาเข้าร่วมเผยแพร่ โดยถูกถ่ายทอดผ่านการสร้างสรรค์งานศิลปะในทุกแขนง คณะ
ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบณั ฑิตย์ ในฐานะเจา้ ภาพร่วม มีความยินดีท่ีจะเห็นความย่ังยืนของ
โครงการ การแลกเปล่ียนแนวคิดทางศิลปะ องค์ความรู้ ประสบการณ์ และวัฒนธรรม ในการสร้างสรรค์
ผลงานการออกแบบในลักษณะต่าง ๆ ในวงที่กว้างขึ้น รวมถึงการต่อยอดองค์ความรู้เพื่อช่วยพัฒนา
คุณภาพทางการศกึ ษาด้านศลิ ปกรรมในระดบั ชาติให้เกิดความก้าวหน้ายิง่ ขนึ้ ต่อไป

ขอขอบคุณผู้ที่เก่ียวขอ้ งทกุ ฝา่ ยที่รว่ มดาเนินการให้เกดิ กิจกรรมในคร้ังน้ี ขอขอบคุณเครือข่าย
มหาวิทยาลัยและศลิ ปินทุกท่านสาหรับการส่งผลงานวิชาการและงานสร้างสรรคเ์ ข้าร่วมเพื่อแสดงให้เห็น
คุณค่าของงานศิลปะในแง่มุมต่าง ๆ หวังเป็นอย่างย่ิงว่างานประชุมวิชาการและงานนิทรรศการคร้ังนี้จะ
เป็นส่วนหน่ึงในการขับเคลื่อนให้เกิดการตระหนักรู้ถึงความสาคัญในด้านศิลปะ วัฒนธรรมและการ
ออกแบบยงิ่ ๆ ขึ้นไป

อาจารยก์ มลศริ ิ วงศ์หมกึ
คณบดีคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บัณฑติ ย์

F

สารจากคณบดีคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี
นโยบายของรัฐบาลได้กาหนดแนวคิดให้เศรษฐกิจสร้างสรรค์(Creative Economy)และ

เศรษฐกจิ ดจิ ิตอล (Digital Economy) เป็นกลไกท่สี าคัญอย่างหนึ่งในการขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ ของประเทศ
โดยมนี โยบาย Thailand 4.0 เปน็ กรอบดาเนินงานทีส่ าคญั ของการขบั เคล่ือนประเทศไทย ซงึ่ ภายใตก้ รอบ
แนวคิดดังกล่าวน้ีการขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้อาศัยพ้ืนฐานของการใช้องค์ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์
จนิ ตนาการ ไอเดยี ใหม่ ๆ หรือทรัพย์สินทางปญั ญาของปัจเจกบุคคลเช่ือมโยงเข้ากับต้นทุนทางสงั คมและ
ศลิ ปะวฒั นธรรม สาหรบั พฒั นาเทคโนโลยดี จิ ิตอล สรา้ งนวัตกรรมสมัยใหม่ รวมถงึ การสรา้ งผปู้ ระกอบการ
ใหม่ ๆ ให้สามารถมีส่วนช่วยขับเคล่อื นเศรษฐกิจตั้งแต่ระดบั ฐานรากข้ึนไปจนถึงระดบั มหภาค เพ่อื มงุ่ เน้น
ความเปล่ียนแปลงและยกระดับกระบวนการผลิตและการสรา้ งมลู ค่าเพ่ิมทางเศรษฐกจิ ท้ังภาคเกษตรและ
อุตสาหกรรมในมิตติ า่ ง ๆ

สาหรับโครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ
ครั้งที่ 4 ประจาปี 2565 นี้ได้จัดข้ึนภายใต้หัวข้อ : ศิลปะ วัฒนธรรมและนวัตกรรมพลิกโฉมประเทศ
(Transforming the Country through Art, Culture and Innovation) ซ่ึงถือเป็นการต่อยอดความ
ร่วมมือของมหาวิทยาลัยท้ังภาครัฐและภาคเอกชนท่ีมีการเรียนการสอนในศาสตร์ทางด้านศิลปกรรม
ประกอบด้วย คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บั ณ ฑิ ต ย์ ค ณ ะ ศิ ล ป ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า แ ล ะ ค ณ ะ ศิ ล ป ก ร ร ม ศ า ส ต ร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปัตตานี (ภาคเี ครือข่าย 4U PLUS) เพ่ือเป็นเวทใี ห้คณาจารย์ นิสิต
นักศึกษา และบุคคลผู้สนใจทั่วไปได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ผลงานวิจัยสร้างสรรค์ในศาสตร์ทางด้านศาสตร์
ศลิ ปกรรมแขนงตา่ ง ๆ ออกสูส่ าธารณะชน และถือเปน็ การพัฒนาผลงานวจิ ัยเชิงสร้างสรรคใ์ ห้สามารถรับ
ใชส้ งั คมไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื สอดคลอ้ งกบั นโยบายของรัฐบาล

ในนามคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ต้อง
ขอขอบพระคุณสมาชิกภาคีเครือข่าย 4U PLUS ทุกท่านท่ีได้ร่วมแรงกายแรงใจในการขับเคลื่อนและ
เล็งเห็นถึงผลสัมฤทธ์ิสาคัญอันจะเกิดข้ึนจากการจัดกิจกรรมโครงการฯในครั้งน้ี ส่งผลให้กิจกรรม
โครงการฯสาเร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี และหวงั เป็นอย่างย่ิงว่าองค์ความรู้ทีเ่ กิดข้ึนจากผลงานวิจัย/สรา้ งสรรค์
ในศาสตร์ทางศิลปกรรมแขนงต่าง ๆ จะกลายเปน็ นวตั กรรมสาคัญสาหรับการพฒั นาประเทศชาตติ ่อไป

ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยศ์ ิรชิ ัย พมุ่ มาก
คณบดคี ณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์

วทิ ยาเขตปตั ตานี

G

สารจากคณบดีคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การประชุมวิชาการด้านความกา้ วหนา้ ทางศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ ระดับชาตแิ ละ

การแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติครั้งท่ี 4 ประจาปี 2565 ภายใต้หัวข้อ "ศิลปะ วัฒนธรรมและ
นวัตกรรมพลิกโฉมประเทศ” เป็นอีกหนึง่ โครงการท่ีจะส่งเสริมความร่วมมือระหว่างคณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั บูรพา กบั สถาบันการศึกษาทางด้านศิลปะและการออกแบบในประเทศไทยและนานาชาติ

ซึ่งการจดั ประชมุ วิชาการและนิทรรศการในคร้ังนี้ ทาใหเ้ กิดการสนบั สนนุ ท้งั ด้านการเรียนการ
สอน และการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านศิลปกรรม จึงนับว่าเป็นความร่วมมือระหว่างสถาบันทาง
การศึกษาที่ก่อให้เกิดประโยชน์หลากหลาย ไม่เฉพาะแต่คณาจารย์ ศิลปิน หรือนักศึกษาท่ีเข้าร่วม แต่ยัง
ชว่ ยส่งต่อองคค์ วามรู้ แนวคิด แรงบันดาลใจให้แก่ ผู้คน ชมุ ชน สังคม ประเทศชาติ

ในฐานะท่เี ป็นสว่ นหน่ึงของเครอื ข่าย 4 Plus พวกเรามหี นา้ ที่ทีส่ าคญั ในการสง่ เสรมิ คณุ คา่ ของ
ศิลปะและวัฒนธรรม กระผมรู้สึกเป็นเกียรติที่ได้มีส่วนร่วมและทางานร่วมกับเครือข่ายทุกท่านเพื่อสร้าง
ชุมชนศลิ ปะใหเ้ ตบิ โตอยา่ งแข็งแกรง่ สาหรับประเทศชาติ

ในนามของคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา กระผมขอขอบคุณเครือข่าย 4 Plus
นกั วิชาการ และศิลปินทกุ ท่านที่ร่วมกันทาให้กิจกรรมคร้ังน้สี าเร็จลุล่วงด้วยดี กระผมหวังเปน็ อย่างย่ิงว่า
การประชุมวิชาการระดับชาติ และนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ คร้ังที่ 4 ในคร้ังน้ีจะเป็น
ส่วนผลักดันให้ความร่วมมือระหว่างคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาและสถาบันการศึกษา
ทางด้านศิลปะและการออกแบบในประเทศไทยและนานาชาติให้พฒั นาย่ิงขึ้นไป และขอให้การจัดงานครงั้ น้ี
บรรลุผลสาเรจ็ ตามความม่งุ หมายทกุ ประการ

รองศาสตราจารย์ ดร.เสกสรรค์ ตนั ยาภิรมย์
คณบดีคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา

H

คณะทปี่ รึกษา
 อธิการบดีสถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์

(นางนภิ า โสภาสัมฤทธ์ิ)
 รองอธิการบดสี ถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประวนี า เอ่ยี มยีส่ ุน่ )
 รองอธิการบดีสถาบันบัณฑติ พฒั นศลิ ป์

(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยพ์ หลยุทธ กนษิ ฐบตุ ร)
 รองอธิการบดสี ถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์อานวย นวลอนงค์)
 รองอธิการบดีสถาบนั บณั ฑิตพัฒนศลิ ป์

(รองศาสตราจารย์วรนิ ทรพ์ ร ทบั เกตุ)
 ผู้ช่วยอธิการบดีสถาบนั บัณฑิตพฒั นศิลป์

(นายสุรตั น์ จงดา)
 ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร์

(นายวรพงษ์ อรุณเรือง)
 คณบดีคณะศิลปวิจติ ร สถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป์

(ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์บุญพาด ฆงั คะมะโน)
 คณบดคี ณะศิลปศึกษา สถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์

(นางสาวศิรลิ ักษณ์ ฉลองธรรม)
 คณบดคี ณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป์

(รองศาสตราจารย์จนิ ตนา สายทองคา)
 ผู้อานวยการวิทยาลัยนาฏศลิ ป

(ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์กติ ติ อัตถาผล)
 คณบดคี ณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา

(รองศาสตราจารยเ์ สกสรรค์ ตันยาภริ มย์)
 คณบดคี ณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปัตตานี

(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ศริ ิชยั พุ่มมาก)
 คณบดคี ณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บณั ฑติ ย์

(นางสาวกมลศิริ วงศ์หมกึ )
 ผู้อานวยการสานกั งานอธกิ ารบดสี ถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์

(นายสรุ ินทร์ วิไลนาโชคชยั )
 ผู้อานวยการสถาบันศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์

(ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ธง อดุ มผล)

I

รายนามผทู้ รงคุณวฒุ ิพิจารณาบทความ

 ศ. ดร.สันติ เล็กสุขมุ
 ศาสตรเมธี ดร.ณรงคช์ ัย ปิฎกรชั ต์
 ศ. ดร.ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์
 ศ. ดร.ปานฉตั ท์ อินทรค์ ง
 รศ.สรรณรงค์ สิงหเสนี
 รศ. ดร.ชัยสทิ ธ์ิ ด่านกิตตกิ ุล
 รศ.ศภุ ชัย สกุ ขโี ชติ
 รศ.ประเสริฐ พิชยะสุนทร
 รศ. ดร.พเิ ชษฐ์ เปยี ร์กล่ิน
 ศ. ดร.สมพร ธุรี
 รศ.สนั ตริ กั ษ์ ประเสรฐิ สุข
 ผศ. ดร.ฤทธริ งค์ จุฑาพฤตกิ ร
 ผศ.ชัยณรงค์ อรยิ ะประเสริฐ
 ดร.ปรชี าวุฒิ อภิระตงิ
 ผศ.สริ ิทตั เตชะพะโลกุล
 ดร.ทนงจิต อ่มิ สาอาง
 ดร.ชนากานต์ เรืองณรงค์
 ผศ. ดร.ปรีญานนั ท์ พรอ้ มสขุ กลุ
 ผศ. ดร.นอิ ร เตรัตนชยั
 ดร.อนุโรจน์ จันทรโ์ พธศ์ิ รี
 ดร.วิจติ ร อภิชาตเกรียงไกร
 ผศ. ดร.เพิม่ ศกั ด์ิ สวุ รรณทัต
 ผศ. ดร.ภานุ สรวยสุวรรณ
 ผศ. ดร.ภาสติ ลีนวิ า
 ผศ.บุญพาด ฆงั คะมะโน

J

สารบัญ

Face Mask Brace Prototype Design by Recycled Materials ................................................. 3
Yu-Pei Kuo and Xing Yang

การพัฒนาแบบฝกึ ทักษะการใช้สโี ปสเตอร์ วิชาทัศนศลิ ป์ ของนักเรียน
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรยี นบางพลรี าษฎรบ์ ารงุ ............................................................................ 18

สุภสั สร แซล่ ้ี และอธิพชั ร์ วิจติ สถิตรตั น์

การพฒั นาชดุ กจิ กรรมศลิ ปะตามทฤษฎีการเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณข์ องโคลบ์
เพ่ือการเรยี นรูป้ ระวัติศาสตร์ศลิ ปะล้านนาผา่ นกระบวนการประติมากรรม ......................................... 30

ธนพร เทพรักษา และเลิศศิริร์ บวรกิตติ

การสร้างสรรค์ผลงานเพลงทางเทคโนโลยีดา้ นดนตรี........................................................................... 41
ธนะรชั ต์ อนกุ ลู

การปรบั ใช้แนวคดิ การออกแบบเพื่อทุกคน ตอ่ การเขา้ ถึงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
เพอ่ื รองรบั ผู้ใช้รถเขน็ กรณศี ึกษา วดั สระเกศ ราชวรมหาวหิ าร (วัดภูเขาทอง)................................... 51

อุกฤษ วรรณประภา

การออกแบบแนวคดิ รปู แบบการท่องเที่ยวเชอ่ื มโยงวิถชี ีวิตชุมชนอาเภอเกาะจันทร์
รอบบริเวณ อา่ งเก็บน้า คลองหลวงรชั ชโลทร จังหวดั ชลบรุ ี.............................................................. 62

ชยากร เรอื งจารญู

การออกแบบหนงั สอื การ์ตูนเพ่ือประชาสมั พนั ธ์หลกั สูตรของสาขาคอมพิวเตอร์แอนิเมชนั
และวิชวลเอฟเฟกต์ คณะดิจิทลั มเี ดีย มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม.............................................................. 77

วรากร ใชเ้ ทียมวงศ์

The study of the development and innovation of public art
in Japanese cities........................................................................................................................ 91

JiaWei

Exploring the renovation of old houses in core urban areas
based on environmental art design....................................................................................... 99

Li Xin Yu and Mok Chung Fai

Study on the renovation of old houses in urban core areas
under the 14th Five-Year Plan................................................................................................. 110

Mo Zhonghui and Li Xinyu

On the flow of women’s skating clothing…………………………............................................... 127
ZhaoJing

1

สารบญั (ต่อ)

สภาวะความกดดนั จากปมปัญหาชีวติ ............................................................................................ 138
มนูญ วฒุ ิพงษ์, เมตตา สวุ รรณศร และดวงหทยั พงศป์ ระสทิ ธิ์

รูปลักษณแ์ หง่ สายสัมพนั ธ์รักจากแมว............................................................................................ 148
ภาพตะวัน ค่ยุ กลน่ิ , เมตตา สุวรรณศร และศุภชยั สกุ ขีโชติ

จนิ ตนาการสายใยรักแหง่ ครอบครัว.............................................................................................. 162
กมลรส ชยั ศรี, สรรณรงค์ สงิ หเสนี และเมตตา สวุ รรณศร

การพฒั นาแนวทางการสอนออกแบบผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน โดยใช้อัตลักษณจ์ ิตรกรรมฝาผนัง
“ฮปู แต้มอีสาน”................................................................................................................................ NA

พชร วงชัยวรรณ์ และอนิ ทิรา พรมพนั ธ์ุ
การสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปะ ชุด “วฏั จกั รของชีวิต”......................................................................... NA

เกรยี งไกร กงกะนนั ทน์
จนิ ตภาพแห่งสายใยความผูกพัน........................................................................................................ NA

วริ ายทุ ธ เสียงเพราะ, ศุภชัย สุกขีโชติ และเมตตา สุวรรณศร
รูปทรงแห่งจนิ ตนาการของเทคโนโลยีเขา้ แทนท่ธี รรมชาติ.................................................................. NA

พงศธร รอดจากทุกข์, เมตตา สวุ รรณศร และศุภชัย สกุ ขโี ชติ
แนวทางการใชผ้ ้าขาวมา้ ในการออกแบบเคร่อื งแตง่ กายและผลติ ภัณฑก์ ีฬาฟุตบอล
: กรณีศึกษาโครงการผ้าขาวมา้ ท้องถน่ิ หตั ถศลิ ป์ไทย....................................................................... NA

จักรพันธ์ สุระประเสรฐิ

2

Face Mask Brace Prototype Design by Recycled Materials
Yu-Pei Kuo (Dr.)*1

1 Lecturer, Dhurakij Pundit University, E-mail [email protected]

ABSTRACT

During the pandemic, people wear medical masks to protect themselves, as a common consensus
and regulation in most countries. However, as a universal design, medical masks are challenging to fit with
individual faces to avoid the gap for viruses. Moreover, the disposable mask produced mass waste and
environmental problems. This research aims to develop a sustainable mask brace prototype for improving
the face fitting problem and adapt the material and tools into a flexible one capable of suiting local
conditions and personal limitations by rationalizing recycling materials. This research follows the process
based on design practice methodology to consist of product problem definition, design rationalization,
prototype development, testing, and verification. Research outcomes suggest the designer abandons the
solid product design but shares the prototype into the guideline to promote widely within benefit the
public. The guideline provides a simple way for the public to produce personal mask braces easily with the
reuse of mask ropes. As a feasible, low-cost solution, the flexible prototype of the mask brace enables
adaptation to individual needs and functional requirements or to cope with existing site conditions. The
coronavirus disease pandemic looks to ease but is unlikely to be put to an end yet, and no one knows
when the new infections will arise. The concern motivates the research to seek solutions and coping
mechanisms by design to develop knowledge and know-how relevant to today's situation while also
preparing for unexpected challenges.

KEYWORDS: coronavirus, Mask brace, Reuse, mask rope. Sustainable design, social design

Introduction
The coronavirus disease pandemic looks to ease but is still unlikely to end, and nobody knows

when the new infections will arise. The concern motivates the research to seek solutions and coping
mechanisms by design to develop knowledge and know-how relevant to today's situation while also
preparing for unexpected challenges.

Due to the coronavirus pandemic worldwide, the mask occupies a person's face all the time. With
these years of Propaganda in the World Health Organization and the Centers for Disease Control and
Prevention of each country, the public knows and accepts the importance of masks.

3

The use of masks is part of a comprehensive prevention and control measures package that can
restrict the spread of certain respiratory viral diseases. Medical masks can be used to protect healthy
persons by worn to protect oneself when in contact with an infected individual. Alternatively, source control
by worn by an infected individual to prevent onward transmission. (Preparedness, 2020)

Correct and consistent mask use is a critical step everyone can take to prevent getting and spreading
coronavirus. However, the public is accessible to ignore checking if they are wearing a mask correctly in
case of a gap for the virus, such as completely covering the nose and mouth and fitting snugly against the
sides of the face and do not have gaps (World Health Organization, 2020). However, the mask is not just a
cover; the fundamental problem is fitting to avoid the virus from the gap. Unfortunately, the medical mask
is a universal design, most consumer-available masks are loose-fitting, and users are challenged to fit with
the face to avoid the gap for the virus. In order to solve the problem, the US CDCi recommends fabric plus
a medical mask or using a "mask brace" to prevent getting and spreading pandemic and suggests people
how to improve the fitting of the mask with the face in the guidelines. (CDC, 2022). However, the way of
fabric plus medical mask may not be suitable for some areas, such as the area with hot weather that,
people are difficult to wear two masks. Therefore, the researcher would like to develop a mask brace
prototype design by household materials to help people produce mask braces. Eventually, to reach the
target that improves the universal mask's fitting problem.

literature review
1. The mask fitting effect
With these years of Propaganda by WHO and every country's CDC, the public knows and accepts

masks' importance. Therefore, correct and consistent mask use is a critical step everyone can take to
prevent getting and spreading pandemic. The mask usage is part of a comprehensive prevention and control
measures package that can limit the spread of certain respiratory viral diseases, including coronavirus. Pick
a mask with layers to keep the respiratory droplets and others out. A mask with layers will stop more
respiratory droplets from getting inside the mask or escaping from the mask if being sick. (CDC, 2022) Medical
masks can be used to protect healthy persons (worn to protect oneself when in contact with an infected
individual), source control (worn by an infected individual to prevent onward transmission), or both.
(Preparedness, 2020). Masks work best when everyone wears them, but not all masks provide protection.
When choosing a mask, look at how well it fits, how well it braces the air, and how many layers it has. (CDC,
2022)

Selecting a correct mask is essential; however, correctly wearing the mask is also essential. However,
the public is easy to ignore to check if users are wearing a mask correctly. Therefore, the USA CDC guideline
suggests that make sure the mask fits snugly against the face, covers the nose and mouth completely, fits

4

snugly against the sides of the face, and does not have gaps. Gaps can let air with respiratory droplets leak
in and out around the edges of the mask. Figure 1 shows the gap path of the virus leaking. (CDC, 2022)

Figure 1: The gap of virus leaking path: gaps around the sides of the face or nose.
Source: https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/prevent-getting-sick/types-of-masks.html (CDC, 2022)

Selecting a correct mask is essential; however, correctly wearing the mask is also essential. From
the design view, the mask is a universal design product for the public, which means that it happens a lot
that the mask does not fit the user's face because of size or shape. For the ergonomics causes, the US CDC
guideline also points to suggestions to improve the fitting in three ways; the first way is wearing a mask
brace or brace on the mask. The second way is to wear one disposable mask underneath a cloth mask with
multiple layers of fabric, as shown in figure 2. The second mask should push the edges of the inner mask
against the face and brace, and the third way is to knot the mask rope in figure 3. (CDC, 2022)

People wearing two masks is good to increase protection, one medical mask; however, breathing
might take more effort. In addition, some people would be challenged to stop wearing the mask because
it is uncomfortable and airtight in some situations, such as under hot weather. Therefore, the project aims
to design a sustainable mask brace to improve fit and reuse the waste mask ropes. The outcome provides
a simple manner for the public to produce mask braces with the reused mask ropes in some conditions
that make it difficult to wear two masks.

However, no matter which way people choose to wear, the most critical point is comfortable to
wear for a long time; the user should make sure the user can easily see and breathe consistently for the
best protection (CDC, 2022). Otherwise, it is more dangerous if people need to adjust their masks with their
hands. Therefore, considering the climate and temperature and the breathing problem, the project would

5

focus on the brace design to aim the public group not to be comfortable wearing two masks for a long
time in certain areas or conditions.

Figure 2: The two ways of improving the fitting
Source: https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/prevent-getting-sick/types-of-masks.html (CDC, 2022)

Figure 3: The knot ways of improving the fitting
Source: https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/prevent-getting-sick/types-of-masks.html (CDC, 2022)

6

2. The waste of mask
The Since the pandemic, face masks have been the norm to protect the public, which means
thousands of masks are being thrown away every day. Some experts state their concern that discarded face
masks could become a significant hazard to the environment, particularly wild animals and birds. Dumped
masks have become a new hazard to the environment since the pandemic, so far to animals. Such animals
are susceptible to tangling up in face masks such as Elastic bands, as they can wrap around animals' bodies
or beaks and cause choking and other injuries. One such UK incident includes a gull who was found to have
a face mask tightly around his legs and causing swelling. (BBC News, 2020) In waste mask cases, RSPCAii
encourages people to cut up the disposable gloves and snip the straps on face masks to prevent animals
from getting tangled (RSPCA, 2020). Please dispose of rubbish responsibly, reuse them, or cut them open
before throwing them away.
For the materials, dumped face masks have become a new hazard to the environment and animals;
the agency encourages people to dispose of rubbish responsibly, reuse them where possible, or cut them
open before throwing them away. It inspired the project to involve the mask ropes as materials as part of
the design.
In addition, there is an advantage for textile that the cloth could be cleaned by washing or air-
drying to inactivate the virus (McCallum, 2020). The project gains the idea to collect the mask ropes to
reuse in personal mask bracers for recycle use, and the ropes are easy to wash and disinfect.
3. The mask brace of commercially available
Due to the public demand, there is some mask brace for general purchasing. Most braces produce
ready-to-wear products with rubber or fabric. However, the common problem is how to fitting to an
individual face. For example, the Company "FIX THE MASK" released mask brace by Biocompatible Silicone
into three sizes. Customers need to check the personal sizing guide before placing the order, shown in
figure 4. (Fix The Mask, 2022)

7

Figure 4: The 3D face mask brace by bellus3D company.
Source: https://www.fixthemask.com/ (Fix The Mask, 2022)
It is worth mentioning that 3D printed mask brace. The 3D printed face mask brace is a personalized
3D printed plastic frame contoured to the specific shape of a person's face to improve the seal of surgical
or similar face masks, shown in figure 5. The consumer needs to operate the dedicated face-scanning App
to generate a personal 3D face mask brace model to print in the 3D printer and then use band material to
hold the brace around the head. (Bellus3D, 2021) (Bellus3D, 2021) There is no charge for the App and the
printing cost starts at $1 per Mask brace. It needs to be mentioned that some 3D-printed materials may be
porous and more difficult to sanitize. (Bellus3D, 2021) (Bellus3D, 2021) The 3D mask brace apply advantage
in customized to fit with a personal face by 3D scanning. However, there is a problem to promote widely,
especially for the elder and low-income groups.

8

Figure 5: The 3D face mask brace by bellus3D company.
Source: https://www.bellus3d.com/solutions/facemask (Bellus3D, 2021)

Methodology
The researcher would like to experiment to explore mask brace prototype by understanding the

mask structure and virus leaking path to be involved in a broad range of activities in response to the
pandemic by the design practice, supported by experimenting and sharing conditions in daily use and the
impact on health services.

The research is practice-led research in design to explore the ideas from literature reviews to set
up the prototype design, follows the process based on design practice methodology to consist of product
problem definition, design rationalization, prototype development, testing, and user verification.

The product problem definition was based on typical methods of designer individual exploring and
comparative study review to set up the hypothesis. Design rationalization then used the gathered
information to program the design and prototype development. During the experience prototyping phase,
as the designer, the participants will gain first-hand experience in the situations involved and receive a
substantial sensory experience and a subjective emotional experience. Implementing it aims to discover
potential problems of a product or user experience in practical applications to allow the designer to analyze
the product or service from the user’s direct perspective. The prototype and material testing involve
application trials, defect detection, and evaluation to determine the suitability of a prototype and material
for its designed use. The developed prototype was classified as a flexible functional brace, tested by users,
and eventually upgraded for the guideline for the public to benefit more areas.

9

Design experiment and practice
The inspiration for people wearing two masks, one medical mask and one fabric mask; however,

people cannot stop adjusting the mask because it is uncomfortable and airtight in the hot weather. It is
good that people try to wear masks correctly to avoid viruses with all the methods but fit different
conditions. The project would like to design a brace that people can use household tools and materials to
produce the brace easily and free. Nevertheless, people spent massive amounts of money and materials
during the pandemic.

1. The mask brace structure
The research follows the USA CDC guideline, figure 6-(a), as the beginning sample to analyze the
structure of the mask brace. First, the research explored the mechanic's structure to predigest into line
structure and then drew the 2D pattern as shown in figure 6-(b). The research expands from the CDC sample
prototype into four hypothesis structures, drawn as shown in figure 7(CDC, 2022), and applied with actual
flexible materials to test the condition.

Figure 6: The mask brace prototype structure (b) of CDC sample brace (a).
Source: https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/prevent-getting-sick/types-of-masks.html (CDC, 2022)

The research drew the hypothesis line structures and applied them with actual flexible materials
to test the effect. The research sorted out the result and hypothesis line structures in table 1. There are
some advantages and disadvantages with the supposed line structures with the actual flexible material to
wear. Both prototypes 1 and 3 fit with a face without a gap, but prototype 3 could adjust the fit position
as an advantage. There is a fitting problem in prototype 2; therefore, the research adds side structure for
prototype 2 into prototype 4 to improve the fitting problem. Compare the four structures. Prototype 4 is
the best way to fit with the face, but is it essential to use many structures? or waste more materials?

10

Figure 7: The four mask brace prototype structure.

Table 1: Effect result of each prototype

fixed on face Prototype (1) Prototype (2) Prototype (3) Prototype (4)
fitting to face Yes Yes Yes Yes
Adjustable Yes No No Yes
No No No Yes

2. The material
The research set up the position in social design to benefit the low-income groups or goods and
materials in limitation. Furthermore, considering the condition limitation, the research set up the material
to gain the material efficiently and quickly in daily life, especially reuse materials. Therefore, it is better to
acquire the material from daily or household materials which would be easier for the public.
Moreover, the research suggests that coronavirus does not survive for long on clothing, compared
to hard surfaces, and exposing the virus to heat may shorten its life. For example, a published study found
that coronavirus was detectable on fabric at room temperature for up to two days, compared to seven
days for plastic and metal. However, when exposed to high heat, the virus became inactive within five
minutes (McCallum, 2020). In addition, there is an advantage for textile that the cloth could be clean by
washing; consider using bleach or color-safe bleach, which may inactivate the virus if it is present. Moreover,
placing the cleaned clothing into the dryer, drying a load of laundry thoroughly in the dryer, rather than
air-drying, could be another way to inactivate the virus (Lee, 2020).

11

The research collected cloth band, elastic band, and rubber band applied with the test structure
in practical application and listed the result in table 2. The experiment results that the cloth band with the
advantage of collecting quickly, but without the flexible function, it would because a problem that the
brace could not be fixed stable on the face. The rubber band is also a kind of household material which
easy to collect. Some online resources teach the public how to DIY mask brace with rubber (Linder, 2021),
similar to prototype (1)(Fix The Mask, 2022). The rubber band brace is easy to fix on the face with the
experiment. However, due to the material flexibility being too strong at first, the user is uncomfortable,
especially in the ears. Compared to cloth and rubber bands, the elastic band is more suitable for users:
firstly, with flexible to fix on the face, and the material and width are more comfortable for users. The
elastic band is also a common household material. In addition, the medical rope is also a kind of elastic
band material.

Considering the previous study about mask pollution and waste, the research explores the
possibility of sustainable design to reduce the pollution and waste of medical masks. Therefore, the
research decided to add the mask ropes to the list in table 2. Compare the materials' practical results and
consider reducing the pollution and waste of masks. The researchers decided to set up the mask rope as
the primary material and modify the test structure to fit the mask rope's fixed length to reduce mask waste.

Table 2: Result of Each Material in Prototype

Household Cloth bands Elastic bands Rubber bands Mask ropes
material Yes Yes Yes Yes
Flexible Yes
No Yes No
Result With the fixed No length can Length fixed
problem on the adjust better to fix Uncomfortable for better to fix
Clean ears
face Wash and Dry Wash and Dry
the flexible too
Wash and Dry strong to control

Not enough data
support

3. The result and discussion
Combine the consideration of user experience and materials about easy to gain and clean,
moreover reuse the materials to protect the earth in we can do. The research decided to combine

12

prototype 3 with the reuse mask rope. Since the fixed length of the mask rope, the line structure needs to
be modified. The research collected mask ropes tested the knot, and connected them to complete the
prototype structure, shown in figure 8. The gathered mask rope length is about 16mm to 17mm, and choose
the most straightforward way to tie the ropes. Prototype 3-1 uses three mask ropes to complete the basic
circle and 2 for adjusting the brace. Furthermore, prototype 3-2 uses four ropes to complete the basic circle
and two ropes as an adjusted brace—the different amounts of ropes for users to choose from with personal
face size and materials condition.

Figure 8: The Prototype structures extended from Prototype (3).
As a practical research, the researcher recorded the experiment process from the collecting mask
ropes to tie the ropes in knots, and the user presented the wearing process, shown in figure 9, 10, and 11.

Figure 9: The collecting mask ropes.

13

Figure 10: The steps of wearing the mask brace.

Figure 11: The mask brace presentation by user.
To benefit to public broader, the research would like to expand the aspect from product
design to social design. Therefore, the research outcome is not just a product design, a mask brace
prototype, but a guideline for the public to improve the fitting and making by reusing waste mask ropes.
Therefore, the research draws each step of producing the mask brace, as shown in figure 12 with description.

14

Figure 12: The step of making a brace by reusing mask ropes:
(1) cut off the mask ropes from the waste mask and clean and dry the mask ropes.
(2) collect five or six clean mask ropes.
(3) use 3 or 4 ropes to tie fixed circle by personal condition.
(4) use 1 rope ties an unfixed knot across the circle on one side.
(5) use another rope to tie an unfixed knot across the circle on another side.
(6) Wear the mask correctly follows by the CDC guidelines.
(7) Wear the mask brace.
(8) adjusted the unfixed knot to fit with the personal face.
(9) check the comfort and fitting by the CDC guidelines.

To reach the objectives to benefit more people and areas, the research suggests a different way
to present the guilds in a free physical booklet and film tutorial. The company "FIX THE MASK" sells the
product and also releases a free DIY version with a Video tutorial to teach the public cutting rubber sheet
to gain a simple rubber mask brace. (Fix The Mask, 2022)

Conclusion
During the coronavirus pandemic worldwide, wearing a medical mask is essential to protect

ourselves. However, the mask is a universal design and challenging to fit with an individual face to avoid
the gap for the virus. On the other hand, the disposable mask also produces mass waste and environmental
problems.

The study aims to design a mask brace to improve the fitting with the face and reuse the waste
mask rope. The project outcome provides a simple brace design to produce mask braces easily with the
reuse of mask ropes and sustainable design principles. During the prototype design phase, the study
analyzed the structure to build the prototype and applied it in actual practice to improve. The study also
tested the prototype with different household materials.

15

There are no unique materials or high technology in this project. The objectives of the material
and technology are to gain the needs efficiently and quickly in daily life. Therefore, it is better to acquire
the material from daily or household materials. It would be easier for the public to set up household tools
or handy ways to fit with the possible conditions of the users. In addition, the study's outcome is not just
a product design, a mask brace prototype, but a guideline for the public to improve the fit and making by
reusing waste mask ropes. To reach the objectives to benefit more people and areas, the users of
experience feedback is significantly essential when improving a guideline design for the further phase.

The coronavirus disease pandemic looks to ease but is unlikely to be put to an end yet, and no
one knows when the new infections will arise. The concern motivates the research to seek solutions and
coping mechanisms by design to develop knowledge and know-how relevant to today's situation while also
preparing for unexpected challenges.

References
BBC News. (2020, July 20). Coronavirus: Gull caught in PPE face mask in Chelmsford. BBC.

https://www.bbc.com/news/uk-england-essex-53474772 accessed on December 17, 2021
Bellus3D. (2021). How to Make Bellus3D’s face mask fitter. Bellus3D: High-Quality 3D Face Scanning.

https://www.bellus3d.com/solutions/facemask accessed on March 18, 2022
CDC. (2022, April 9). Masks and respirators. Centers for Disease Control and Prevention.

https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/prevent-getting-sick/types-of-masks.html accessed on
April 21, 2022
FIX THE MASK. (2020, July 23). Essential Mask Brace. Kickstarter.
https://www.kickstarter.com/projects/essentialbrace/essential-brace-designed-to-seal-your-loose-
fitting-mask accessed on April 24, 2022
Fix The Mask. (2022). Fix the mask. Fix The Mask.
https://www.fixthemask.com/ accessed on April 24, 2022
Lee, B. Y. (2020, May 1). How Long Does COVID-19 Coronavirus Live On Clothes? How To Wash Them.
Forbes Magazine. https://www.forbes.com/sites/brucelee/2020/05/01/how-long-does-covid-19-
coronavirus-survive-on-clothes-how-to-wash-them/ accessed May 1, 2022
Linder, C. (2021, February 17). Everything you need to know about mask braces: Do they work? Can you
make your own? Popular Mechanics.
https://www.popularmechanics.com/science/health/a35520817/what-is-a-mask-brace/ accessed
on April 24, 2022
McCallum, K. (2020). How long can Coronavirus survive on clothes?
https://www.houstonmethodist.org/blog/articles/2 0 2 0 / apr/how-long-can-coronavirus-survive-on-
clothes/ accessed on December 17, 2021
Preparedness, E. (2020). Advice on the use of masks in the community, during home care and in healthcare

16

settings in the context of the novel coronavirus (COVID-1 9 ) outbreak. World Health Organization.
https://www.who.int/publications/i/item/advice-on-the-use-of-masks-in-the-community-during-
home-care-and-in-healthcare-settings-in-the-context-of-the-novel-coronavirus-(2 0 1 9 - ncov)-
outbreak
RSPCA. (2020). “Snip the straps” off face masks as Great British September Clean launches.
https://www.rspca.org.uk/-/news-face-masks-spring-clean accessed on December 17, 2021
World Health Organization. (2020). Coronavirus disease (COVID-19) advice for the public: When and how to
use masks. https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2 0 1 9 / advice-for-
public/when-and-how-to-use-masks accessed on December 17, 2021

i CDC, short for “Centers for Disease Control and Prevention”.
Government agency of each country whose primary goal is to protect public health and safety through the control and prevention of disease. During
the pandemic, the CDC of each country took a vital role in controlling and guiding the proper public knowledge of coronavirus.
ii RSPCA, short for "Royal Society for the Prevention of Cruelty to Animals."
The RSPCA is the Largest Animal Welfare Charity in England and Wales and the oldest and largest animal welfare organization globally.

17

การพฒั นาแบบฝกทกั ษะการใชสโี ปสเตอร วชิ าทศั นศลิ ป
ของนกั เรียนชนั มธั ยมศึกษาปที 2 โรงเรียนบางพลรี าษฎรบ ำรงุ
THE DEVELOPMENT OF GOUACHE COLOUR EXERCISES IN VISUAL ART SUBJECT
FOR SECONDARY 2 SYUDENTS’ BANGPLEERATBAMRUNG SCHOOL

สภุ ัสสร แซล ล้ี *ี (กศ.บ.)1, อธิพัชร วจิ ิตสถติ รัตน (ศษ.ด..)2
1นสิ ติ ปรญิ ญ1าคโทรู สโรางขเารวียชิ บาศางลิ พปลศรีกึ าษษาฎครณบ ะำศรลิุงปแกลระรมsศuาpสhตaรs มsoหrาnวท.ิ sยaาeลlยeั eศ@รนีgค.sรwนิ uท.รaวcโิ .รtฒh
2อาจารย ดร. อธพิ ัชร วจิ ิตสถิตรตั น อาจารยสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ

E-mail [email protected]

บทคัดยอ

การพัฒนาแบบฝก ทกั ษะการใชสีโปสเตอร วิชาทศั นศลิ ป ของนักเรียนชนั มัธยมศึกษาปที 2 โรงเรยี นบางพลีราษฎรบ ำรุง
เปนการวิจัยทีมีจุดมุงหมายเพือ 1) ศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที 2
โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง 2) เพือศึกษาทกั ษะการใชสีโปสเตอรของนักเรยี นชนั มธั ยมศึกษาปที 2 กอนและหลงั เรียนดวยแบบ
ฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนกั เรยี นชันมธั ยมศึกษาปที 2 โรงเรยี นบางพลรี าษฎรบำรงุ เครืองมือทีใชในการวจิ ัย ไดแก แบบฝก
ทกั ษะการใชสีโปสเตอร เลม 1 และ 2 มีเกณฑการใหคะแนนแบบรูบรคิ สเ พือใชส ำหรบั วัดทักษะกอนและหลงั ผูวจิ ัยมวี ิธีการศึกษา
ดวยการการทดลองใชแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรกับนักเรียนกลุมตัวอยาง เปนนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที 2 จำนวน 1
หองเรียน 45 คน ซึงไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง เนืองจากเปนหองเรียนทีผูวจิ ัยเคยจดั กิจกรรมการเรียนในปการศึกษากอน
หนาในระดับชัน มธั ยมศึกษาปที 1 ผูวิจยั ดำเนินการศกึ ษาดวยการใชแ บบฝก ทักษะการใชสโี ปสเตอรเ ลม ที 1 และ 2 จดั กิจกรรมการ
เรียนการสอนรวมทังหมด 10 กิจกรรม ในเวลาเรียนคาบละ 55 นาที เปนเวลา 10 สัปดาห สัปดาหละ 1 กิจกรรม ผลการศึกษา
สามารถสรุปผลการวิจัยไดวา 1) แบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง
เลม ที 1 มีประสทิ ธภิ าพเปน 88.55/94.32 ซึงสูงกวา เกณฑทีกำหนดคือ 80/80 2) แบบฝกทกั ษะการใชสโี ปสเตอรข องนักเรยี นชัน
มัธยมศึกษาปที 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง เลมที 2 มีประสิทธิภาพเปน 85.68/93.83 ซึงสูงกวาเกณฑทีกำหนดคือ 80/80
3) นกั เรียนกลุมทดลองทเี รียนโดยใชแบบฝกทักษะการใชส โี ปสเตอรข องนักเรียนชนั มธั ยมศกึ ษาปท ี 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบ ำรุง
มีคา เฉลีย ทักษะการใชส โี ปสเตอรหลงั เรียนมากกวา กอนเรยี นอยางมีนัยสำคัญทางสถติ ิทีร ะดบั .05 กลาวคอื ผลสมั ฤทธทิ างการเรียน
หลงั เรยี นดวยแบบฝก ทกั ษะการใชส ีโปสเตอรของนักเรียนชันมธั ยมศกึ ษาปที 2 โรงเรียนบางพลรี าษฎรบำรุงอยใู นเกณฑดี

คำสำคัญ: แบบฝก ทักษะการใชส ีโปสเตอร, ทกั ษะการใชสีโปสเตอร, วิชาทัศนศิลป

ABSTRACT

The Development of Gouache Colour Exercises in Visual Art Subject for Secondary 2’ Students’
Bangpleeratbamrung School had the Objectives to 1) For Study the efficency of gouache colour in Visual Art
subject for secondary 2’ students’ Bangpleeratbamrung school 2) For study gouache colour skills of t
secondary 2’ students’ Bangpleeratbamrung school. The research instruments included the gouache colour

18

exercises 1-2 and scoring rubric for measure the skills in the excercises. The Purposive Sampling of this
research was a group of 45 students of secondary 2’ students, Bangpleeratbamrung school in the first
semester of 2021 academic year.The finding were that 1) The gouache colour exercises 1 has efficiency rate
88.55/94.32 2) The gouache colour exercises has efficiency rate 85.68/93.83 3) Student’s learning outcome
after using the gouache colour exercises making process was significantly higher than prior to using the
gouache colour exercises at .05

KEYWORD: Gouache Colour Exercises, Gouache Colour Skills, Visual Art Subject

บทนำ (Introduction)
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562 หมวด 4 มาตรา 22 ระบุวา “การศึกษาตองยดึ หลักวาผูเรียน

ทุกคนมีความสามารถเรยี นรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมคี วามสำคัญมากที่สุด กระบวนการจดั การศึกษาตอ งสง เสริมให
ผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ” (คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2562) แสดงถึงความสำคัญของการ
เรียนรูที่ผูเรียนตองการกระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี หมาะสม การศึกษาจึงถือวาเปนสวนสำคัญในวางรากฐานการพัฒนา
สังคมใหเจริญกาวหนารวมถึงการแกไขปญหาตางๆ ในสังคม การศึกษาที่มีคุณภาพเปนสวนสำคัญในกระบวนการเตรียมคนให
สามารถเผชิญกับสถานการณต า งๆ ที่เกิดข้ึนและเปลย่ี นแปลงไปอยางรวดเร็วในยุคปจ จบุ ันโดยผา นการเรียนรูของผูเรียน และการ
ถา ยทอดความรขู องผูสอน สังคมการเรียนรูและปจจัยเก้อื หนุนใหบุคคลเรยี นรอู ยางตอ เน่ืองตลอดชีวติ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ระบุวา “กลุมสาระการเรียนรูศิลปะเปนกลุมสาระท่ีชวยพัฒนาให
ผเู รียนมีความคิดริเริ่มสรางสรรค มจี ินตนาการทางศิลปะ ช่นื ชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณคา ซ่ึงมีผลตอคุณภาพชีวิต
มนุษย กิจกรรมทางศิลปะชวยพัฒนาผูเรียนทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม ตลอดจนการนำไปสูการพัฒนา
สิ่งแวดลอม สง เสริมใหผเู รยี นมีความเช่อื มั่นในตนเอง อนั เปนพื้นฐานในการศึกษาตอหรือประกอบอาชีพได กลุมสาระการเรียนรู
ศลิ ปะมงุ พฒั นาใหผูเรียนเกดิ ความรคู วามเขาใจ มที ักษะวธิ กี ารทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคณุ คาของศิลปะ เปด โอกาสใหผูเรียน
แสดงออกอยางอิสระในศลิ ปะแขนงตางๆ ประกอบดวยสาระสำคัญ คอื ทศั นศลิ ป มีความรูความเขาใจองคป ระกอบศิลป ทัศนธาตุ
สรางและนำเสนอผลงาน ทางทศั นศิลปจากจนิ ตนาการ โดยสามารถใชอ ุปกรณท ่ีเหมาะสม รวมทั้งสามารถใชเ ทคนคิ วิธกี ารของ
ศลิ ปน ในการสรา งงานไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ วิเคราะห วพิ ากษ วิจารณค ุณคา งานทศั นศิลป เขา ใจความสัมพันธระหวา งทศั นศลิ ป
ประวัตศิ าสตร และวฒั นธรรม เห็นคุณคางานศิลปะท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทอ งถิ่น ภมู ิปญ ญาไทยและสากล ชน่ื ชม
ประยุกตใ ชใ นชีวติ ประจำวัน” (กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551)

การสรางสรรคงานศิลปะเปนวิธีหนึ่งที่ชวยพัฒนาความคิดสรางสรรคแกนักเรียน การสรางสรรคจิตรกรรม เปนวิธีการ
แสดงออกอยางหน่ึงของมนุษยท่มี ีมาชานานคูกับการกำเนิดเกิดมาของมนุษยเลยก็วา ได เปน สอื่ กลางในการแสดงออกถึงเจตนาใน
การสรางสรรค การสรางงาน (บริรักษ ศุภตรยั วรพงศ และคณะ, 2562, น. 158-160) วิชาทัศนศิลปและศิลปะจึงมีสว นสำคัญใน
การพฒั นานักเรยี นใหเ ปน ไปตามคุณสมบัติที่พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง ชาติ (คณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาต,ิ 2562) กำหนด

จากประสบการณก ารจดั การเรียนการสอนวชิ าทัศนศลิ ปของผวู ิจยั ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 1-2 โรงเรียนบางพลรี าษฎร
บำรุง ในปการศึกษา 2559 – 2562 ท่ีผานมา พบวานักเรียนมีทักษะการใชสี ทักษะการใชพูกัน อยูนอย เน่ืองจากขาดการฝก
ทักษะการใชพูกันและสีท่ีเปนพ้ืนฐานเชน สีโปสเตอร เปนสีสังเคราะหจากธรรมชาติและสารเคมี โดยมีสวนผสมของผงแปง
สังเคราะหท างเคมแี ละกาวหรือยางไม เวลาระบายสีจะใชนำ้ เปนตัวทำละลาย มีลักษณะทึบแสง เหมาะทีจ่ ะใชในงานระบายท่ีงายๆ

19

ไมยุงยาก (สมภพ จงจิตตโพธา, 2554) ซึ่งการมีทักษะการใชสีโปสเตอร เปนทักษะที่นักเรียนระดับชวงชัน้ ที่ 2 ควรมี เพราะเปน
พ้นื ฐานท่ีสอดแทรกการเรียนรูตางๆ เชน การใชพูกัน การผสมสี การลงสีในพื้นผิวรูปแบบตางๆ เปนตน กระบวนการเหลาน้ีลวน
สำคญั ตอ การนำไปตอยอดการสรางสรรคผลงานศลิ ปะท่ีหลากหลายในชว งชนั้ ตอ ๆ ไป

การใชส่ือการสอนอยางเปนระบบโดยใชแบบจำลอง (Assure Model) เปนวิธีการสรางสื่ออยางหนึ่ง เหมาะกับการ
จดั การเรยี นรูวิชาศิลปะ เนื่องจากเปนแนวคิดท่ีใหผูสอนมีแผนการใชส่ืออยางรัดกุม เพื่อนำแนวทางท่ีวางแผนไวมาเปนแนวทาง
ปฏิบัติจริง ซ่ึงทำใหเกิดประสิทธิภาพตอผูเรียนไดมากที่สุด โดย Assure Model มีข้ันตอนท้ังหมด 6 ขั้นตอน ดังน้ี 1) Analyze
Learner Characteristics ข้นั วิเคราะหผ ูเรียน 2) State Objectives กำหนดวตั ถุประสงค 3) Select เลือก ดัดแปลง ออกแบบสื่อ
4) Utilize Materials ใชสื่อ 5) Require Learner Response กำหนดการตอบสนองของผูเรียน และ 6) Evaluation การ
ประเมินผล (กนกพรรณ กันทะจันทร, 2554) เปนรปู แบบการออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional Systems Design)
โดยมุงท่ีจะชวยใหครูใชเทคโนโลยีและส่ือในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในช้ันเรียน เปนแนวทางท่ีจะตรวจสอบเพ่ือใหเกิด
ความแนใจวาสภาพแวดลอมการเรียนรูมีความเหมาะสมกับผูเรียน โดยผูพัฒนารูปแบบในยุคแรกคือ Heinich and Others
(1999) และตอมา Smaldio and Others (2014) ไดเ พม่ิ ในเร่ืองของเทคโนโลยีเพื่อใหสอดคลองกับความกาวหนา ของเทคโนโลยี
ในศตวรรษท่ี 21 (วิจารณ พานิช, 2555) The Assure Model แบบจำลองท่ีไมซับซอน เหมาะสมกับเพื่อใหการพัฒนาเปนไป
อยางมีประสิทธิภาพ เม่ือสามารถสรางส่ือไดเหมาะสมกับลักษณะของผูเรียนก็จะทำใหเกิดความลื่นไหลในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรใู หผูเรยี นเปน สำคญั ได

Daigo Nakano กลาววา แบบฝกทักษะการฟงและการออกเสยี งวรรณยุกตภาษาไทยสำหรับผเู รียนชาวญี่ปุน พบวา แบบ
ฝก มปี ระสิทธิภาพและสามารถสรางความพึงพอใจในการใชแบบฝกใหแ กกลุมตัวอยา งได สามารถเห็นพัฒนาการของผูใ ชแบบฝกได
ชดั เจนทง้ั จากคะแนนระหวางฝกและคะแนนเปรียบเทียบกอนฝก และหลังฝก (Daigo Nakano, 2560) แบบฝกทักษะการตีฆอ งวง
ใหญกรณีศึกษา : สำนกั ดนตรไี ทยบานอรรถกฤษณ มีประสิทธภิ าพเปน ไปตามกำหนด 80/80 สามารถนำไปใชกบั การจัดการเรียน
การสอนสำหรบั นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาตอนตนท่ี มกี ระบวนการเรยี นการสอนตามรูปแบบการเรยี นรู (ณฐั พล เลศิ วิรยิ ะปต ิ, 2563)

จากสภาพปญหาที่เกิดข้ึนนั้น ผูวิจัยมองเห็นความสำคัญของการฝกทักษะการใชสีโปสเตอรในนักเรียนระดับช้ัน
มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 จงึ ไดผนวกแนวคิดการสรา งส่ือการสอนอยา งเปนระบบโดยใชแบบจำลอง (Assure Model) และทฤษฎกี ารสรา ง
แบบฝกทักษะเพ่ือคนควาและพัฒนาแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 ผูวิจัยตองการจะศึกษา
คนควา เพือ่ พัฒนาทักษะการใชส ีโปสเตอรของผูเรยี นระดับมัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 เพื่อเปนประโยชนตอการเรยี นการสอนวชิ าทศั นศิลป
และการสรางสรรคผลงานศลิ ปะทห่ี ลากหลายของนกั เรียน อกี ท้ังจะเปน ประโยชนดานทกั ษะกับนกั เรยี นตอไปในภายภาคหนา

ความมงุ หมายของการวจิ ัย
1. เพ่ือศกึ ษาประสทิ ธภิ าพของแบบฝกทักษะการใชสโี ปสเตอรของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง

2. เพ่ือศึกษาทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 กอนและหลังเรียนดวยแบบฝกทักษะการใชสี
โปสเตอรข องนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลรี าษฎรบ ำรุง

20

กรอบแนวคิดการทำวิจัย การสรางแบบฝกทกั ษะ
1. ความหมายของแบบฝกทักษะ
ศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ยี วขอ ง 2. หลกั การสรางแบบฝก ทักษะ
3. ลกั ษณะของแบบฝก ทักษะท่ดี ี
เนอื้ หา 4. ประโยชนข องแบบฝก ทกั ษะ
1. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2551
แบบฝกทักษะการใช เลม 1 และ 2
1.1. วิสยั ทัศน
1.2. หลกั การ การพัฒนาทกั ษะการใชสโี ปสเตอร
1.3. จุดมุงหมาย 1. ลักษณะเฉพาะของสีโปสเตอรแ ละอปุ กรณ
1.4. สมรรถนะ
1.5. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ทใี่ ชใ นการพฒั นาทกั ษะการใชสโี ปสเตอร
1.6 มาตรฐานการเรยี นรู 2. การผสมสีใหถ กู ตองตามคณุ สมบตั ิ
2. ทฤษฎกี ารใชส โี ปสเตอร 3. การผสมสีใหเ กดิ คาน้ำหนกั สี
4. การผสมสีใหเ กิดสขี ้นั ที่ 2 และ 3
2.1 ลกั ษณะสโี ปสเตอร 5. การใชพูกนั สรางพืน้ ผวิ
2.2 การผสมสี 6. การเชอื่ สีท่ีแตกตา งกนั ดว ยการเกลย่ี สี
7. การใชเทคนคิ ตา งๆ สรา งพน้ื หลงั
แนวคดิ การใชส ่อื การสอนอยา งเปน ระบบโดยใชแ บบจำลอง (Assure
Model)

1. Analyze Learner Characteristics ขน้ั วิเคราะหผ ูเรยี น
2. State Objectives กำหนดวตั ถปุ ระสงค
3. Select เลือก ดัดแปลง ออกแบบส่ือ
4. Utilize Materials ใชส่อื
5. Require Learner Response กำหนดการตอบสนองของผเู รียน
6. Evaluation การประเมนิ ผล

ภาพประกอบ กรอบแนวคดิ การทำวิจยั

21

ขอบเขตการวจิ ัย
1. กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาชั้นปท ี่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบ ำรุง ภาคเรยี นที่ 1 ปการศกึ ษา 2564

ใชว ธิ กี ารเลอื กกลมุ ตวั อยางแบบเจาะจง (Purposive sampling ) จำนวน 45 คน
2. ตวั แปรที่ศกึ ษา
2.1 ตัวแปรตน แบบฝกทักษะการใชสโี ปสเตอร ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 2
2.2 ตวั แปรตาม พัฒนาการทักษะการใชสีโปสเตอร
3. ระยะเวลาในการทดลอง
การวิจัยคร้ังนี้ ดำเนินการทดลองในภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2564 จำนวน 10 คาบ คาบละ 55 นาที เปนระยะเวลา

ท้ังหมด 10 คาบ

เคร่ืองมอื ท่ีใชในการวจิ ยั
1. แบบฝกทักษะการใชส โี ปสเตอรเลม 1 และ 2
2. เกณฑก ารใหคะแนนแบบรูบรคิ สเพอ่ื ใชส ำหรับวดั ทักษะกอนและหลังการใชแ บบฝกทักษะการใชสโี ปสเตอร

สมมตฐิ านงานวจิ ยั
1. ประสทิ ธิภาพของแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร มีประสทิ ธิภาพในการพัฒนาทักษะการใชส โี ปสเตอรของนักเรยี นช้ัน

มธั ยมศกึ ษาปที่ 2 ใหสงู ข้ึน
2. ทกั ษะการใชส โี ปสเตอรของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 หลังการทดลองสงู กวา กอนการทดลองอยางมีนัยสำคัญที่ .05

การดำเนินการทดลอง
1. ดำเนนิ การเลือกกลุมตัวอยา งแบบเจาะจง เปน นกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2564 1

หอ งเรยี น จำนวน 45 คน เปนนักเรยี นที่ผวู จิ ัยเคยจดั การเรียนการสอนในช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 1 รายวิชาทศั นศลิ ป ม.1 ในภาคเรยี น
ท่ี 2 ปการศึกษา 2563 ซ่ึงผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นพบวานักเรยี นไมม หี รือมีทักษะการใชส ีโปสเตอรน อ ย

2. เน่ืองจากระหวา งการดำเนินการวิจยั อยูในชวงโรคระบาดไวรัสโคโรนา- 19 ทำใหโรงเรียนบางพลีราษฎรบำรงุ ทผ่ี ูวิจัย
เลือกเปล่ียนวิธกี ารจัดการเรยี นการสอนเปนแบบออนไลน 100% ท้ังนี้ผูวิจัยไดมอบแบบฝกทักษะการใชสโี ปสเตอรเลม 1 และ 2
ใหก ับนักเรียนกลุมตวั อยางตามการรบั หนงั สือของระบบโรงเรียนบางพลีราษฎรบ ำรุง

3. ผูวิจัยชแ้ี จงการจัดการเรียนการสอนโดยใชแบบฝกทักษะการใชส ีโปสเตอรท ้ัง 2 เลม ในแตละเลมจะประกอบไปดวย
กจิ กรรมการเรียนรูทกั ษะการใชสโี ปสเตอร จำนวนเลมละ 5 กิจกรรม (รวมการทดสอบทกั ษะกอนและหลงั เรยี น)

4. ดำเนินการสอนโดยใชแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 2 เลม 1 และ 2 รวม 10 คาบ
คาบละ 55 นาที เปน เวลา 10 สปั ดาห โดยผวู จิ ยั เปนผสู อนเองในวชิ าทัศนศลิ ป (ศลิ ปศึกษา)

5. เมื่อสนิ้ สุดการจัดกจิ กรรมการสอน นำคะแนนจากการแตล ะกิจกรรมทีจ่ ัดการเรียนการสอนโดยใชแบบฝกทกั ษะการใช
สโี ปสเตอร ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 2 มาวเิ คราะหโดยวธิ กี ารทางสถติ เิ พื่อตรวจสอบสมมตฐิ าน

6. นำผลงานจากการจัดกิจกรรมการสอนโดยใชแบบฝกทักษะการใชสโี ปสเตอรม าวเิ คราะหเพื่อศึกษาการพฒั นาทักษะ
การใชส โี ปสเตอรข องนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 2

22

การวเิ คราะหขอ มลู

การวเิ คราะหขอมลู การพัฒนาแบบฝกทักษะการใชสโี ปสเตอร วิชาทัศนศลิ ป ของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 โรงเรยี น
บางพลรี าษฎรบำรุง เพ่ือหาประสิทธภิ าพชุดกจิ กรรมศลิ ปะ และเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ผูวจิ ยั ไดว ิเคราะหขอ มูลดงั น้ี

1. ประเมินเน้ือหาในแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร วิชาทัศนศิลป ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรยี นบางพลี
ราษฎรบำรุง เลม 1 และ 2 วาสอดคลองกับเกณฑการใหคะแนนแบบรูบริคสหรือไมโดยใชแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating
Scale) จากผูเชีย่ วชาญ 5 ทา น

2. หาคาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะการใชส ีโปสเตอร วชิ าทัศนศลิ ป ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรยี นบาง
พลรี าษฎรบ ำรงุ 1 และ 2 โดยการทดลองกบั กลุมตวั อยา ง หาคาเฉลยี่ รอยละ

3. วิเคราะหคะแนนจากการวัดทักษะกอนหลังการใชแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร วิชาทัศนศิลป ของนักเรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาปที่ 2 โรงเรยี นบางพลีราษฎรบ ำรุง เลม 1 และ 2 โดยใช t-test (dependent samples)

ผลการวจิ ยั
การประเมินความสอดคลอ งแบบประเมินความเหมาะสมแบบฝกทกั ษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี

2 โรงเรยี นบางพลรี าษฎรบำรงุ โดยพจิ ารณาจากผเู ชี่ยวชาญจำนวน 5 ทาน พิจารณาความสอดคลอ ง แบบประเมินความเหมาะสม
กับขอ หัวประเมนิ ไดค าดชั นีความสอดคลอ งคุณภาพตามเกณฑ (คา IOC มากกวา 0.5) ทุกขอทงั้ เลม 1 และ 2

แบบฝกทักษะสีโปสเตอรทผ่ี วู ิจัยไดพฒั นาข้ึน เปนแบบฝก ที่เหมาะกับนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 2 โดยผูวิจยั ไดจ ดั ทำชุด
แบบฝกโดยการแนวคิดการใชส่ือการสอนอยางเปนระบบ Assure Model โดยแบงออกเปน 6 ข้ันตอนในการสรางส่ือ 1) ผูวจิ ัย
สรา งแบบฝก ทักษะการใชสีโปสเตอร โดยอิงจากแนวคดิ การใชส่ือการสอนอยางเปนระบบโดยใชแบบจำลอง คือ 1.วิเคราะหผเู รยี น
: เนื่องจากปญหาจากการสอนวิชาศิลปะในภาคเรียนกอน ผูวิจัยพบวา นักเรียนไมมีทักษะการใชสีโปสเตอร เพราะมีราคาสูง
มากกวาสีไมและสีชอลค นอกจากนี้ยังมีการใชอุปกรณที่หลากหลาย ทำใหนักเรียนมีโอกาสในการใชสีโปสเตอรนอย ผูวิจัยจึง
พฒั นาแบบฝก ทักษะการใชส โี ปสเตอร เพอ่ื เพิ่มโอกาสในการใชส ีโปสเตอรแ กนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 2 2) กำหนดวตั ถปุ ระสงค
: ผวู จิ ัยศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 2551 ในสว นของทัศนศลิ ป และเอกสารท่ีเกี่ยวของกบั เนอื้ หาดานสีโปสเตอร
และกำหนดวัตถปุ ระสงคท ี่ตองการใหผเู รยี นไดรับหลังการใชแ บบฝกทกั ษะการใชส โี ปสเตอร เพือ่ เปนแนวทางในการสรางแบบฝก ที่
ครอบคลุมเน้ือหาท่ีผูเรียนควรไดรับอยางเหมาะสม 3) การใชส่ือ : ผูวจิ ัยทบทวนวรรณกรรมและเอกสารท่ีเกี่ยวของกับการสราง
แบบฝกทกั ษะ และเนื้อหาของการใชส ีโปสเตอรท ่ีจำเปน ออกแบบสอื่ ใหเ หมาะสมตามท่ีคนควา มา แบบฝกทักษะมีความเหมาะสม
กบั ระดับของผูเรยี น ภายในแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรจะประกอบไปดวยหนาปก จุดประสงคก ารเรยี นรู คำช้ีแจงการใชแบบ
ฝกทักษะ การวดั ทักษะกอนเรยี น แบบฝก การฝกใชพูกันในการใชสโี ปสเตอรเบื้องตน แบบฝกการผสมสโี ปสเตอร แบบฝกเทคนิค
การระบายสีโปสเตอร การวัดทกั ษะหลงั เรยี น และการวัดประเมินผล

เนื้อหาในแบบฝกทกั ษะ ถูกเรียบเรียงจากทักษะระดับงายไปสูระดับที่มีความยากและซับซอนขึ้น มีการจัดเรียงงลำดับ
ของเนอ้ื หาภายในแบบฝกตั้งแตการทำความรูจกั กับอุปกรณ การผสมสีพ้ืนฐาน การผสมสีข้ันท่ี 1 สีขัน้ ที่ 2 การใชพูกันแบบตา งๆ
การระบายเกล่ียสี จนไปถึงการสรางผลงานภาพวิวทิวทัศนงา ยๆ ในแบบฝกทักษะมีตัวอยางขน้ั ตอนการฝกอยา งชัดเจน เพ่ือเปน
ตวั อยา งในการฝกทักษะของนักเรียน

23

แบบฝกทักษะสีโปสเตอร ของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 โรงเรยี นบางพลีราษฎรบ ำรุง มีผลการแปลความหมาย ความ
สอดคลองในหัวขอ ตางๆ สามารถสรุปไดวา ในแตละหัวขอมีคาดัชนีความสอดคลอง IOC มากกวา .05. ในทุกขอ จากการคำนวณ
ซึง่ หัวขอ ท่ีมคี า ดชั นีความสอดคลองมากกวา .05 สามารถนำหวั ขอน้ันๆ มาใชใ นการประเมินได

ผูวจิ ยั ไดนำแบบฝก ทักษะสโี ปสเตอร ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลรี าษฎรบ ำรงุ ทไี่ ดร ับการปรบั ปรุง
จากผูเช่ียวชาญแลว ไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง ทไ่ี มเคยเรียน
เน้ือหานม้ี ากอน โดยกลมุ ตวั อยางเปนนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2/9 จำนวน 45 คน โดยมีวธิ ีการเนินการดงั นี้

นำคะแนนท่ีไดมาหาคารอยละของคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการแบบทำแบบฝกทักษะระหวางเรียน (E1) และหาคา รอ ยละ
ของคะแนนเฉล่ียท่ีไดจากการทำแบบทดสอบหลังเรียน (E2) เพ่ือหาคาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะสีโปสเตอรข องนกั เรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง ตามเกณฑ 80/80 โดยมีผลจากการหาคาประสิทธิภาพของกระบวนการและคา
ประสิทธิภาพของผลลัพธพบวา ประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะสีโปสเตอร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนบางพลี
ราษฎรบำรงุ มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑเปน ซง่ึ ไดผ ลการทดลองดงั ตาราง

ตาราง 1 คาประสทิ ธภิ าพของแบบฝก ทกั ษะสีโปสเตอร ชุดท่ี 1 ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 โรงเรยี นบางพลรี าษฎรบำรุง

แบบฝกทักษะระหวางเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ประสิทธิภาพ

คะแนนเต็ม คาเฉล่ีย E1 คะแนนเต็ม คาเฉล่ีย E2 E1/E2

33 29.22 88.55 9 8.5 94.32 88.55/94.32

จากตาราง สามารถสรุปไดว า คา ประสิทธิภาพของกระบวนการจากการทำแบบฝก ทกั ษะสโี ปสเตอรช ุดที่ 1 ระหวา งเรยี น
มีคาเทากับ 88.55 ซึ่งสูงกวาเกณฑท่ีไดต้ังไว ถือวาแบบฝกระหวางเรียนในแบบฝกทักษะสีโปสเตอรมีประสิทธิภาพดี และคา
ประสิทธิภาพของผลลพั ธจากการทำแบบทดสอบหลงั เรียนมคี าเทากับ 94.32 แสดงใหเห็นวา หลงั เรียนจากเรยี นดวยแบบฝก ทกั ษะ
สีโปสเตอร ชุดท่ี 1 แลว นักเรียนมีทักษะสีโปสเตอรสูงกวากอนเรียน จากผลการประสิทธิภาพที่มีผลเทากับ 88.55/94.32
สอดคลอ งกบั ความมุงหมายของการวจิ ยั ขอ 1 และขอ 2 สามารถสรุปไดวา ชดุ พฒั นาทักษะท่ผี วู จิ ยั สรางขึน้ มปี ระสิทธภิ าพ สามารถ
ชว ยพฒั นาทกั ษะสีโปสเตอรข องนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาไดเ ปนอยางดี

ตาราง 2 คาประสทิ ธภิ าพของแบบฝก ทักษะสโี ปสเตอร ชดุ ที่ 2 ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2 โรงเรยี นบางพลีราษฎรบำรงุ

แบบฝกทักษะระหวางเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ประสิทธิภาพ

คะแนนเต็ม คาเฉล่ีย E1 คะแนนเต็ม คาเฉล่ีย E2 E1/E2
27 23.13 85.68 9 8.44 93.83 85.68/93.83

จากตาราง สามารถสรุปไดวา คาประสิทธิภาพของกระบวนการจากการทำแบบฝกทักษะสีโปสเตอรชุดที่ 2
ระหวา งเรียนมีคาเทากับ 85.68ซึ่งสูงกวาเกณฑท่ีไดตั้งไว ถือวาแบบฝก ระหวางเรียนในแบบฝกทักษะสีโปสเตอรม ีประสิทธภิ าพดี
และคา ประสิทธิภาพของผลลพั ธจ ากการทำแบบทดสอบหลงั เรยี นมคี าเทา กับ 93.83 แสดงใหเ ห็นวา หลงั เรยี นจากเรียนดว ยแบบฝก
ทกั ษะสีโปสเตอร ชุดท่ี 2 แลว นักเรียนมีทักษะสีโปสเตอรสงู กวากอนเรียน จากผลการประสิทธิภาพที่มีผลเทากับ 85.68/93.83

24

สอดคลองกับความมุงหมายการวจิ ัยขอ 1 และขอ 2 สามารถสรุปไดวาชุดพัฒนาทกั ษะทผี่ วู จิ ยั สรา งข้ึนมีประสทิ ธิภาพ สามารถชว ย
พฒั นาทักษะสโี ปสเตอรของนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาไดเ ปนอยา งดี

ทกั ษะสีโปสเตอรของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 กอ นและหลงั เรียนดวยแบบฝก ทักษะสีโปสเตอรของนักเรียน
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 โรงเรยี นบางพลีราษฎรบ ำรงุ สามารถสรปุ ไดด ังน้ี

การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุมตัวอยาง จากการเรียนดวยแบบฝกทกั ษะสีโปสเตอรของ
นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรยี นบางพลีราษฎรบำรุง กอนและหลังเรียนโดยใชแบบทดสอบทักษะสีโปสเตอรมาวิเคราะห

ขอ มูลโดยใชคาเฉลี่ย ( ) จากการประเมินทักษะสีโปสเตอรของนักเรยี นพบวา นกั เรียนสามารถทำคะแนนของแบบทดสอบทกั ษะ
ไดคะแนน 6-9 นักเรียนสามารถทำแบบทดสอบหลังเรียนไดม ากกวา กอนเรียนดวยแบบฝกทักษะสีโปสเตอรชุดท่ี 1 โดยมีคาเฉล่ีย
จากการทำแบบทดสอบทักษะกอนเรยี นดวยแบบฝกทักษะสีโปสเตอรชุดที่ 1 เทากับ 5.13 และคาเฉลี่ยจากการทำแบบทดสอบ
ทักษะหลงั เรียนเทากับ 8.49 ไดผ ลดงั ตาราง 3

ตาราง 3 แสดงการเปรียบเทยี บความสามารถทางการเรียนของนกั เรียนจากการเรยี นดวยแบบฝกทกั ษะสโี ปสเตอร ของนักเรียนช้ัน

มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 โรงเรยี นบางพลรี าษฎรบำรุง ชดุ ท่ี 1

ผลการทดลอง N S.D. df P

กอนเรียน 45 5.13 1.25 151 583 44 0.00
หลังเรียน 45 8.49 0.59

จากตาราง 3 ผลการวเิ คราะหข อ มูลพบวา นกั เรยี นทเ่ี รียนโดยใชแบบฝก ทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่
2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสำคญั ทางสถิติท่ีระดับ
.05 ซง่ึ เปน ตามสมมตฐิ าน
สรุปผลการวจิ ยั

จากการดำเนินการสรางและหาคาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2

โรงเรยี นบางพลีราษฎรบ ำรงุ สามารถสรปุ ผลการวิจัยไดดงั นี้
1. แบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง เลมที่ 1 พบวามี

ประสิทธภิ าพเปน 88.55/94.32 ซ่งึ สูงกวาเกณฑที่กำหนดคอื 80/80
1. แบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง เลมที่ 2 พบวามี

ประสทิ ธิภาพเปน 85.68/93.83 ซ่งึ สงู กวาเกณฑท ีก่ ำหนดคอื 80/80
3. นกั เรียนกลุมทดลองท่ีเรียนโดยใชแ บบฝกทักษะสโี ปสเตอรของนกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 2 โรงเรียนบางพลีราษฎร

บำรงุ มีคาเฉลี่ยของทักษะสโี ปสเตอรหลังเรียนมากกวากอ นเรียนอยางมีนัยทางสถติ ิท่ีระดบั .05 กลาวคอื ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หลงั การเรยี นดว ยแบบฝก ทักษะสโี ปสเตอรข องนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 2 โรงเรยี นบางพลรี าษฎรบำรงุ อยใู นเกณฑดี

การอภิปรายผล
ผลจากการทดลองหาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลี

ราษฎรบำรงุ ท่มี ีประสทิ ธิภาพดแี ละนักเรียนท่ีพฒั นาดวยแบบฝก ทักษะสโี ปสเตอรของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 โรงเรียนบาง

พลรี าษฎรบ ำรุง มีความสามารถดานทกั ษะสโี ปสเตอรส ูงขึน้ เน่อื งมาจาก

25

1. ผลการพัฒนาแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุงท้ัง 2 ชุด ท่ี
สรางข้ึนมีประสิทธภิ าพ ชุดท่ี 1 เทา กับ 88.55/94.32 และ แบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียน
บางพลีราษฎรบ ำรุง ชดุ ที่ 2 เทา กบั 85.68/93.83 แสดงวาแบบฝกทักษะสีโปสเตอรท สี่ รา งขน้ึ มีประสิทธภิ าพตามเกณฑท ี่กำหนด
ไวคอื 80/80 ซงึ่ เปนไปตามสมมตฐิ านและผลการทดลองครงั้ นีส้ อดคลองกบั ผลการทดลองของ ชารัญญา ผลจันทร (2558); พลรบ
พรายรักษา (2552) และ อนุรักษ เรงรัด (2557) แสดงใหเห็นวา แบบฝกทักษะที่สรางข้ึนมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กำหนดไว
ทง้ั น้ีเพราะแบบฝก ทักษะท่ีสรา งข้ึนผา นกระบวนการสรางขึ้นมาอยางเปนระบบ มีวิธีการสรางท่ีเหมาะสมตามการใชสื่อการสอน
อยางเปนระบบดวยแบบจำลอง Assure Model (Kim, D. and Downey, S. 2016) คือการสรางส่ืออยางหน่ึงท่ีเหมาะกับการ
จัดการเรียนรวู ชิ าศิลปะ เปนแนวคิดทีใ่ หผูสอนมีการใชสอื่ อยางรดั กมุ เพื่อนำแนวทางทว่ี างแผนไวมาเปนแนวทางปฏบิ ัติจรงิ ซ่ึงทำ
ใหเกิดประสิทธิภาพตอผูเรียนไดมากท่ีสุด โดย Assure Model มีทั้งหมด 6 ข้ันตอนดังนี้ 1. Analyze Learner Characteristics
ขัน้ วิเคราะหผูเรียน 2.State Objectives กำหนดวัตถุประสงค 3.Select เลือก ดัดแปลง ออกแบบสื่อ 4.Utilize Materials ใชสื่อ
5. Require Learner Response กำหนดการตอบสนองของผูเ รยี น และ 6. Evaluation การประเมนิ ผล

ทง้ั นี้ ผลการพฒั นาแบบฝกทักษะสีโปสเตอรข องนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 โรงเรยี นบางพลีราษฎรบ ำรงุ ยงั สอดคลอ ง
กับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ซาเลมี (Saleme, 2001 อางถึงใน ศิริพร มโนพิเชษฐวัฒนา, 2547, น.27) ท่ี
ไดกลา ววา การเรยี นรูแบบกระตอื รอื รนหรือ Active Learning ทำใหผูเรียนไดลงมือกระทำกจิ กรรมท่มี ีความสนุก ทาทาย และเรา
ใจใหติดตามอยูเสมอ มีโอกาสใชเวลาวางสรางความคิดกับงานท่ีลงมือกระทำมากข้ึน สามารถใชมโนทัศนท่ีกำลังเรียนอยางเปน
ระบบ ทำใหเ กดิ ความเขา ใจในมโนทศั นอ ยางชัดเจน

2. จากการศกึ ษาพบวา นักเรยี นทเี่ รียนโดยใชแบบฝกทกั ษะสีโปสเตอรของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลี
ราษฎรบำรุงมีคาเฉล่ียของคะแนนทดสอบทักษะสีโปสเตอรหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี .05 กลาวคือ
นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทีด่ ีขึ้น เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว การท่ีนักเรยี นมีผลสัมฤทธท์ิ ่ีดีขนึ้ เน่ืองจากนักเรียนไดศ ึกษา
ตามกระบวนการโดยใชแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง ท้ัง 2 ชุด รวม
ทั้งหมด 6 กิจกรรมการเรียนรู สอดคลองกับการกลาวถงึ ของ พันทิพา เยน็ ญา (2561) พบวาการจัดการเรียนรูแบบเชิงรุก Actice
Learning พบวาระดับการคิดวิเคราะหของนักเรียนโรงเรียนขนาดเล็กในสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร
เขต 1 มีระดับการคิดวิเคราะหส ูงข้ึนหลังเขารวมโปรแกรมการจัดการเรียนรูเชิงรุกเพื่อพัฒนาความสามารถทางการคิดวิเคราะห
อยางมนี ัยสำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .01 ทัง้ น้ีเพราะแบบฝกทักษะสีโปสเตอรถูกสรางข้ึนอยา งเปน ระบบจากสรา งสอื่ การสอนอยา งเปน
ระบบ Assure Model โดยในกิจกรรมการเรียนการสอนเนนเปนการเรียนรูแบบเชิงรุก Active Learning ทำใหผูเรียนสามารถ
เขา ถึงกิจกรรมและฝก แกป ญหาในกจิ กรรมการเรียนรนู ำมาสูการฝกทักษะอยางมีประสิทธิภาพดวยตนเอง

3. กิจกรรมในแบบฝกทักษะสโี ปสเตอรข องนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลรี าษฎรบำรงุ ประกอบไปดวย
แบบฝกทกั ษะสีโปสเตอร 2 เลม ซึ่งมีผลของกจิ กรรมท่ผี านการทดลองมีรายละเอียดดังน้ี

แบบฝกทกั ษะสโี ปสเตอร เลม 1
1. ลองเลน (Pre-test) เปนการทดลองทำชิน้ งานตามตัวอยางโดยใชสโี ปสเตอรเพอ่ื วัดทกั ษะกอนเรียน โดยภาพตัวอยาง
มีการใชส ีและลายเสนพ้ืนฐาน เกณฑใหการใหคะแนนประกอบไปดวยหวั ขอ ความถูกตองของการผสมสี ความสวยงามเรียบรอย
ของการระบายสี และความสมบูรณข องภาพ
2. เร่ิม! (แบบฝก ทักษะท่ี 1) ประกอบไปดวยคำอธบิ ายการเร่ิมตนใชสีโปสเตอร และตวั อยางสี การฝกทกั ษะคือการใชสี
โปสเตอรด วย สแี ดง สีเหลือง สนี ้ำเงิน สีขาว และ สดี ำ เกณฑก ารใหคะแนนคอื การผสมสี

26

3. สรางสีท่ีแตกตาง (แบบฝกทักษะท่ี 2) ประกอบไปดวยคำอธิบายการผสมสีใหเ กิดคาสที ี่ออนลง และตัวอยา งสีที่ผสม
แลว การฝกทักษะคือใหนักเรียนนำสีโปสเตอรแมสีมาผสมกับสีขาวในอัตราสวน 1:1 เกณฑการคะแนนประกอบไปดวย ความ
สวยงาม ความสะอาด และความถูกตอง

4. ผสมสีสิ (แบบฝกทกั ษะที่ 3) ประกอบไปดวยคำอธบิ ายการผสมสีโปสเตอรแมสีทตี่ างกัน ใหเกิดเปน สีขั้นท่ี 2 การฝก
ทักษะจากการใชแมส ผี สมกันในอตั ราสว น 1:1 เกณฑการใหคะแนนไดแ ก ความสวยงาม ความสะอาด และความถกู ตอง

5. ลองอีกครั้ง (Post-test) การระบายสีโปสเตอรเหมือนกิจกรรมลองเลน (Pre-test) โดยทักษะการผสมสี และทักษะ
การระบายสีถูกฝกทักษะมาในทั้ง 3 แบบฝกกอนหนา เกณฑใหการใหค ะแนนประกอบไปดวยหัวขอ ความถกู ตองของการผสมสี
ความสวยงามเรยี บรอ ยของการระบายสี และความสมบูรณของภาพ

แบบฝกทกั ษะสโี ปสเตอร เลม 2
1. ลองระบาย (Pre-test) เปนการทดลองทำชิ้นงานตามตัวอยางโดยใชสีโปสเตอรเพ่ือวัดทักษะกอนเรียน โดยภาพ
ตวั อยางมีการใชทกั ษะสีโปสเตอรท่ีมีรายละเอยี ดมากกวาแบบฝกทักษะสโี ปสเตอรเลม 1 คอื มีการใชเทคนิคจากพูกันในแบบตา งๆ
การเกลี่ยสี การเช่ือมสี เกณฑใหการใหคะแนนประกอบไปดวยหัวขอ ความประณีตสวยงาม การใหแสงเงาในภาพ และความ
สมบูรณข องภาพ
2. สว นประกอบ (แบบฝกทักษะที่ 1) ประกอบไปดว ยคำอธิบายการใชพ ูก นั ระบายสีโปสเตอรใ หเกิดพ้ืนผิวของพมุ ไมแ บบ
ตา งๆ ดว ยสเี อกรงค พรอ มรูปภาพตวั อยา งประกอบ เกณฑการใหคะแนนคือ การใชพกู ัน การผสมสี และความสวยงาม
3. เชื่อมสี (แบบฝกทักษะท่ี 2) ประกอบไปดวยคำอธิบายการใชการเกล่ียสีคาน้ำหนักออนไปคาน้ำหนักเขม และสีตาม
วงจรสีเขาดวยกนั พรอ มรูปภาพตวั อยางประกอบ เกณฑการใหคะแนนคือ การใชพกู นั การผสมสี และความสวยงาม
4. ฟาจรดดาว (แบบฝกทกั ษะที่ 3) ประกอบไปดว ยคำอธิบายการใชพูก ันระบายสีโปสเตอรใ หเ กิดพ้นื หลงั และระยะหนา
ตามรปู ตัวอยาง จำนวน 4 แบบ พรอมรูปภาพตวั อยา งประกอบ เกณฑการใหคะแนนคือ แสงเงาและระยะของภาพ ความสมบูรณ
ของภาพ และความประณีตสวยงาม
5. ลองอีกครั้ง (Post-test) การระบายสีโปสเตอรเหมือนกิจกรรมลองเลน (Pre-test) โดยทักษะการผสมสี และทักษะ
การระบายสถี ูกฝก ทักษะมาในท้ัง 3 แบบฝกกอนหนา เกณฑใหก ารใหค ะแนนประกอบไปดวยหัวขอ ความประณีตสวยงาม การให
แสงเงาในภาพ และความสมบรู ณข องภาพ

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะในการวิจยั คือการเตรยี มความพรอ มของอปุ กรณในการใชจัดการเรยี นการสอนโดยใชแบบฝกทักษะการใชส ี
โปสเตอร อุปกรณท่จี ำเปนตอ งใชไดแก กระดาษ สโี ปสเตอร พูกนั จานสี ใหเพียงพอสำหรับนักเรยี นทุกคน ตัวเลมแบบฝกทักษะ
ควรพิมพดวยหมึกสแี ละกระดาษคุณภาพดี เพราะภายในมีรปู ภาพประกอบซ่งึ เปนตัวอยางการฝกทักษะ และมีผลตอการฝกทักษะ
การใชส โี ปสเตอรของนักเรยี น นอกจากน้ีเน่อื งจากการดำเนินการวจิ ัยอยูในชวงสถานการณโรคระบาดไวรสั โคโรนา - 19 จงึ ไดปรับ
รปู แบบการจัดการเรียนรูเปนรปู แบบออนไลน ทงั้ น้ีผวู จิ ัยสงเลม แบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรใ หแกกลุมตวั อยางเปนรูปแบบไฟล
ทางออนไลนอีกทาง การวจิ ัยน้ีสามารถนำไปตอยอดการสรา งนวตั กรรมทางการศกึ ษาในรปู แบบอ่ืนได

27

เอกสารอางอิง (References)

กรรณิการพวงเกษม. (2540). เรียนรูเก่ียวกับการสรางแบบฝกหัดภาษาไทยระดับประถมศึกษาในภาควิชาประถม. สัมมนา
ประถมศึกษาสมั พันธ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม, 15.

กุศยา แสงเดช. (2545). แบบฝกคูมือพัฒนาส่ือการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสำคัญ ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ:
บรษิ ัทสำนักพิมพแมค็ จำกดั .

จริยภรณ รุจิโมระ. (2548). การพัฒนาการอานออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใชชุดฝกทักษะการอานออกเสียงของนักศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้ันสงู ชนั้ ปท ่ี 1 เชยี งใหม: วิทยาลยั เทคโนโลยีโปลเิ ทคนิคลานนา

ชัยยงค พรหมวงศ. (2520). ระบบสอื่ การสอน. กรงุ เทพฯ: สำนักพมิ พจ ุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั .
ชาญชัย อาจนสมาจาร. (2540). หลกั การสอนทั่วไป. กรงุ เทพมหานคร: ม.ป.ท.
ชารญั ฎา ผลจันทร. (2558). การพัฒนาความคิดสรา งสรรค ความรับผิดชอบ และทกั ษะการเขียนภาพระบายสี โดยใชช ดุ ฝกทักษะ

การเขียนภาพระบายสีโปสเตอรตามหลักการของเดวีสรวมกับเทคนิค STAD บนพื้นฐานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กลุม สาระการเรียนรูศ ลิ ปะ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3. วารสารบณั ฑติ ศึกษา, 12(59 (ตลุ าคม – ธันวาคม)), 51-60.
ณัฐวงศ สาวงศตุย. (2560). การพัฒนาแบบฝกท่ีมีประสิทธิภาพเร่ืองการสะกดคำยากวิชาภาษาช้ันประถมปท่ี 3 (วิทยานิพนธ
ปริญญาศกึ ษามหาบณั ฑติ ) .มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม
ถวลั ย มาศจรัส. (2548). บทเรียนโปรแกรม กลุม สาระการเรียนรูภาษาไทย. กรงุ เทพฯ: ธารอักษร
เนาวรัตน ชื่นมณี. (2540) การพัฒนาแบบฝกทักษะภาษาไทยการสะกดคำยากเรื่องเปดหาย สำหรับชั้นประถมศึกษาปที่ 2
(วทิ ยานพิ นธศ กึ ษามหาบัณฑิต). มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม
บริรักษ ศุภตรยั วรพงศ, อำพร แสงไชยา, and ประภาพร ศุภตรัยวรพงศ. (2562). การสรางสรรคจิตรกรรมและสัญลักษณในวิถี
ชีวิตชนบท. วารสารศลิ ปกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลัยขอนแกน, 33(2 (กรกฎาคม – ธันวาคม)), 158 - 160.
พลรบ พรายรักษา. (2552). ประสทิ ธิภาพของชุดพัฒนาทักษะการอานภาษาอังกฤษ เพ่ือความเขา ใจ ที่มีตอความสามารถในการ
อานภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี. (สารนิพนธ ศศ.ม. (การสอน
ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตางประเทศ), บัณฑิตวทิ ยาลยั ), มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ, กรงุ เทพฯ.
พนั ทิพา เย็นญา. (2561). ผลการจัดการเรยี นรูเชิงรุก (Active Learning) ที่มีตอการคิดวิเคราะห ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที่ 6.
(ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย แขนงวิชาจิตวิทยาการศึกษา)), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,
กรุงเทพฯ.
ยุพนิ พิพธิ กุล. (2539). การเรยี นการสอนคณติ ศาสตร. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ.
วิจารณ พานชิ . (2555). วิถสี รา งการเรียนรเู พอ่ื ศิษยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตา พบั ลเิ คชน่ั .
วิไลลกั ษณ มที ศิ . (2551). การสรา งและหาประสทิ ธิภาพของแบบฝก ทักษะการคดิ คำนวณดานการคณู ของสถาบันสงเสรมิ การสอน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร ฟสกิ ส เลม 1. กรุงเทพมหานคร: สกสค. ลาดพรา ว.
ศิรพิ ร มโนพิเชษฐวัฒนา. (2547). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร แบบบูรณาการที่เนนผูเรียนมีสวนรวม
ในการเรียนรูท่ีกระตือรือรน เรื่อง รา งกาย มนุษย. (สารนิพนธ กศ.ด. (วิทยาศาสตรศกึ ษา)), มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.
ถายเอกสาร, กรงุ เทพฯ.
สมภพ จงจิตตโพธา. (2554). จติ รกรรมสรางสรรค. พมิ พคร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: สำนกั พิมพว าดศลิ ป.
สุนนั ทา สุนทรประเสริฐ. (2544) การผลิตนวัตกรรมการเรียนการสอน การสรา งแบบฝก . ชัยนาท: ชมรมพฒั นาความรูดา นระเบยี บ
กฎหมาย.

28

สุพรรณี ไชยเทพ. (2544). การผลิตนวัตกรรมการเรียนการสอน การสรางแบบฝก. ชัยนาท: ชมรมพัฒนาความรูดานระเบียบ
กฎหมาย.

เสกศิลป พชิ โญภาสกุล. (2559). การพัฒนาหนังสือภาพฝกภาษาสําหรบั เด็กบกพรองการเรยี นรูปทางดา นภาษา. (ปริญญานพิ นธ
กศ.ม. (ศิลปศกึ ษา), บัณฑิตวิทยาลยั ), มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. (2540). การบริหารโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา
ลาดพราว.

อจั ฉรา ชีวพนั ธุ. (2546). กิจกรรมการเขียนสรางสรรคใ นขัน้ ประถมศึกษา (พิมพค รั้งท่ี 2). กรงุ เทพมหานคร:ไทยวัฒนาพานิช.
อารีย วาศนอ ำนวย. (2545). การพัฒนาแบบฝก เสรมิ ทักษะการอานเพอื่ ความเขา ใจตามแนวการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5. (วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร,
กรุงเทพมหานคร.
Crowe, J. V. (1998). Art about Teaching: a Visual Heuristic study of the content and Process of Teaching Art
Education as Subject of Making Art. The Union Institute.
Dean, R. K. (1981). The Effectiveness of Study Guides Versus Programmed Instruction in Elastically Structured
Teaching at West Virginia University. Dissertation Abstracts International, 42(5), 1085-A.
Hyun, E., and Lee. (2017). Students’ Stisfaction on Their Laerning Process in Active Learning and Traditional
Classrooms. International Journal of Teaching and Learning in Higher Education, 29(1), 108-118.
Kim, D., and Downey, S. (2016). Examining the Use of the ASSURE Model by K-12 Teacher Computer in the
Schools. 33(3), 153-168.
Natasha, M. (2012). Drawing into practice (Abstract). Journal of Visual Art Practice.
Newman, J. S. (1983). A Comparison of Traditional Classroom, Computerand Program med Instruction. Dissertation
Abstracts Online, 44-04A.
Tropic Drawing. (2019). 15 Properties of Gouache Paint. from http://tropical.com/15-properties-of-gouache-paint

29

การพฒั นาชดุ กิจกรรมศลิ ปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชงิ ประสบการณข องโคลบ
เพอื การเรยี นรูป ระวตั ศิ าสตรศลิ ปะลานนาผานกระบวนการประตมิ ากรรม
A SET OF ART ACTIVITIES WITH KOLB'S EXPERIENTAL LEARNING THEORY
FOR LEARNING THAI LANNA ART HISTORY THROUGH SCULPTURE MAKING PROCESS

ธนพร เทพรักษา* (กศ.ม.)1, เลิศศริ ิร บวรกิตติ (D.C.A.)2
1 ครชู ำนา1ญนกสิ ตาิ รปรโญิรงญเรายีโทนเสมาง็ ขราาวยชิ มาศหลิาปราศชกึ วษิทายคาณคะมศแลิ ลปะกรTรhมaศnาสaตpรo มrnหtาhวeทิ pยrาaลkยั sศaร@นี gคmรนิ aทilร.cวโoิ รmฒ
2 ผชู วยศาสตราจารย ดร. เลิศศิรริ  บวรกิตติ อาจารยส าขาวิชาศิลปศกึ ษา คณะศลิ ปกรรมศาสตร

มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ E-mail [email protected]

บทคัดยอ

การวจิ ยั ครงั นมี คี วามมุงหมายเพอื 1) พัฒนาชุดกจิ กรรมศิลปะตามทฤษฎกี ารเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพือ
การเรียนรปู ระวัตศิ าสตรศ ลิ ปะลา นนาผานกระบวนการประตมิ ากรรมใหเปนไปตามเกณฑ 80/80 2) เปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ
ทางการเรียนกอนเรียนละหลังเรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพือการเรียนรู
ประวัติศาสตรศิลปะลานนาผา นกระบวนการประติมากรรม กลุมตัวอยางทใี ชใ นการวิจยั ไดแก นกั เรยี นชนั ปท ี 2 โรงเรียนสนั ติ
คีรีวิทยาคม อำเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2564 จำนวน 28 คน ใชวิธีการกำหนดตัวอยา ง
โดยการเลือกแบบเจาะจง เครืองมือทีใช ในการวิจัย ไดแก 1) ชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของ
โคลบ เพือการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรียน
วิเคราะหขอ มูลโดยใช คาเฉลีย สวนเบียงเบนมาตรฐาน การหาประสทิ ธิภาพ E1/E2 และการทดสอบที ผลการวจิ ัยพบวา 1)
ชุดกจิ กรรมศลิ ปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชงิ ประสบการณข องโคลบ เพอื การเรียนรูประวตั ศิ าสตรศ ิลปะลานนาผานกระบวนการ
ประตมิ ากรรมมีประสิทธิภาพ เทากบั 87.86 /82.74 2) ผลสัมฤทธทิ างการเรียนทีเรียนดวยชุดกจิ กรรมศิลปะตามทฤษฎีการ
เรียนรูเ ชิงประสบการณข องโคลบ เพอื การเรียนรปู ระวตั ศิ าสตรศลิ ปะลานนาผา นกระบวนการประติมากรรม หลังเรียนสูงกวา
กอนเรียนอยางมนี ัยสำคญั ทางสถิติทีระดบั .05

คำสำคญั : การเรยี นรเู ชงิ ประสบการณของโคลบ, กระบวนการประตมิ ากรรม, ชดุ กิจกรรมการเรยี นร,ู ประวัติศาสตรศลิ ปะ
ลา นนา

ABSTRACT
The objective of this research were to 1) develop a set of art activities with Kolb's experiential

learning theory for learning Thai Lanna art history thorough sculpture making process, to a standard
efficiency level of 80/80; 2) compare the students’ learning achievements before and after-learning stages
when using a set of art activities with Kolb's experiential learning theory for learning Thai Lanna art history
thorough sculpture making process for Secondary 2 Students, The purposive sample of this research was a
group of 28 students of Secondary 2 Students, Santikhiri Wittayakom school in their second semester of
2021 academic year. Research tools applied included the develop a set of art activities, a test on students’
learning result. Means, standard deviation, efficiency and t-test were also used to analyze the data. The

30

findings were that 1) a set of art activities with Kolb's experiential learning theory for learning Thai Lanna art
history thorough sculpture making process has an efficiency rate of 87.86 /82.74; 2) Student’s learning
outcome after using a set of art activities with Kolb's experiential learning theory for learning Thai Lanna art
history thorough sculpture making process was significantly higher than prior to using learning a set of art
activities at .05

KEYWORDS: A set of art activities, Kolb's experiential learning theory, Thai Lanna art history, sculpture
making process

บทนำ (Introduction)
พระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ พทุ ธศักราช 2542 มาตรา 23 ขอ ที่ 3 ระบุวา การจัด การศึกษา ท้ังการศึกษาใน

ระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย ตองเนน ใหความรู คณุ ธรรม กระบวนการเรยี นรแู ละบรู ณาการความรู
ทางศิลปะและภูมิปญญาไทย และรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ที่บัญญัติใหคนไทยมีหนาที่รวมมือและ
สนับสนุนการอนรุ กั ษและ คุมครองมรดกทางวัฒนธรรม ศิลปะไทยจึงเปนสิ่งสำคัญที่คนไทยตองรวมกันสืบทอดและอนุรักษ
เพราะเปนสิ่งทบ่ี อกถงึ ความเจริญและประวตั ศิ าสตรของชาตไิ ทย(สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาต,ิ 2542) รวมท้ัง
(สำนกั งานเลขาธกิ ารวุฒสิ ภา, 2560) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 มกี ารบัญญัตใิ นหมวดหนาท่ีของปวงชน
ชาวไทย มาตรา 50 (8) รว มมอื และสนับสนุนการอนรุ ักษและคมุ ครองส่ิงแวดลอ ม ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ รวมท้ังมรดกทางวฒั นธรรม และหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานไดกำหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรูเปนเกณฑใน
การกำหนดคุณภาพของเรียน โดยกำหนดใหกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐานการเรียนรู ศ 1.2 เขาใจ
ความสัมพนั ธระหวา งทศั นศิลป ประวัตศิ าสตร และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คา งานทัศนศลิ ปทเี่ ปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญา
ทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2552) ชี้ใหเห็นถึงความสำคัญในการการ
ปลกู ฝง การเห็นคณุ คาศิลปะไทยใหกบั คนไทย

ประวัตศิ าสตรศิลปะ (Art History) เปน หนึง่ ในแกนสำคญั ในการสอน ศลิ ปศกึ ษาแบบแผน (Discipline-Centered
Movement) ประวัติศาสตรศิลปะลา นนา หรือเชยี งแสน (ววิ ฒั นไ ชย จนั ทนสคุ นธ, 2551) ไดกลาววา เปนศิลปะอยูทางตอน
เหนือของประเทศไทย และมีลักษณะเกา แกม าก คาดวามีการสืบทอดตอ เน่อื งของศิลปะทวาราวดี และลพบุรี ในดินแดนแถบน้ี
มาตั้งแตส มัยหรภิ ุญชัย ศูนยก ลางของศิลปะ ลา นนาเดมิ อยูท่ีเชียงแสน เรียกวาอาณาจกั รโยนก ตอมาเมอ่ื พญามังรายไดยาย
มาสรางเมืองเชียงใหม ศูนยกลางของของอาณาจักรลานนาก็อยูที่เมืองเชียงใหมสืบตอมาอีกเปนเวลานาน (เสนอ นิลเดช,
2540) ศิลปะแบบสมัยเชียงแสนทีร่ ูจักกันดที ่ีสุดก็คือพระพุทธรูปแบบเชียงแสน ซึง่ กาํ หนดเรยี กกนั เปน สามัญวา สิงหหนง่ึ สิงห
สอง และสิงหส าม ตามคตคิ วามเชอื่ แตเดมิ เช่ือกันวา ศิลปะแบบสมัยเชียงแสน

การศกึ ษาประวตั ิศาสตรลา นนา เมืองเชียงแสน จังหวัดเชยี งราย เมอื งประวตั ิศาสตรทเ่ี คยเปนศนู ยกลางอาณาจักร
ลานนาในยุคแรก ๆ ปรากฏรองรอยโบราณวัตถุโบราณสถานหลายแหง กรมศิลปากรไดดำเนินการฟนฟูบรู ณะและอนุรักษ
โบราณสถานท่ีสำคัญในเมืองเชยี งแสน ปจจุบนั รอ งรอยของโบราณสถานในอำเภอเชียงแสนที่หลงเหลือใหเหน็ มักเปนซาก
ปรักหกั พงั ของสงิ่ กอสรา งในพทุ ธศาสนา มีศลิ ปะท่ีมีความงดงาม เชน พระพุทธรูป ทีม่ ีความงดงามและแสดงถงึ เทคโนโลยีการ
หลอโลหะของชางในสมยั โบราณ เชน พระพุทธรูปที่มีขนาดใหญ จะใชวิธีหลอแยกสว น แลวนำมาประกอบเขาดวยกัน และ
ประตมิ ากรรมปนู ปน ประดับศาสนสถาน ลวดลายปนู ปน ทีว่ ัดปา สกั ไดรบั การยอมรบั ในเรอ่ื งความงดงาม ไดรับอทิ ธิพลรูปแบบ
ทางศิลปกรรมจากอาณาจักรพุกาม อาณาจกั รสุโขทัย แควนหริภญุ ไชย หรอื จนี มาปรับปรงุ จนเปน เอกลักษณข องตนเอง (ศูนย

31

เทคโนโลยีสารสนเทศมรดกศิลปวัฒนธรรม รวมกับ สำนักพิพิธภัณฑสถานแหง และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ทั่วประเทศ,
2557-2558)

จากการจัดการเรียนการสอน ประวัติศาสตรศิลปะไทย มีรูปแบบการสอน ที่เนน การฟงบรรยายภาพประกอบ มี
เนื้อหาท่ีคอนขา งมาก เกิดความเบอ่ื หนา ยในการเรียน สง ผลตอผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผูเ รียน (อมรรตั น ฉันทนาวี, 2555,
น. 2) ทมี่ ีการกลา วถงึ การทไ่ี ดส ัมภาษณผ สู อนวิชาประวตั ศิ าสตรศ ลิ ปะไทยการเรยี นการสอนวชิ าประวตั ศิ าสตรศ ิลปะสวนใหญ
เปนเน้อื หาเก่ียวกบั การบรรยาย ผเู รยี นจำเปนตองฟงบรรยายจากอาจารยผ สู อนเพื่อใหม ีความรูพ้ืนฐานทางดานเนือ้ หา ทฤษฎี
ความขา ใจ ความเขา ใจในรูปแบบลักษณะ และความเปนมาของศิลปะยคุ น้ัน ๆ ส่อื ที่ใชในการเรยี นมักเปนภาพประกอบ เชน
ภาพถายภาพสไลด หรอื บางครงั้ เปนภาพประกอบทีม่ าจากหนังแบบเรียน ซ่งึ ผเู รยี นอาจจะไมสามารถเขา ใจหรอื จดจำเนื้อหา
ไดดเี ทา ทีค่ วร (เตอื นฤดี รักใหม, 2559, น. 120) ไดกลา ววา ในทศั นะของนกั ศึกษาโดยสว นใหญ มกั เห็นวาเปนวิชาที่ตอ งทอ งจำ
มวี ธิ กี ารสอนในรปู แบบเดิม ๆ เชน การฟงบรรยายภาพประกอบ บรรยากาศการเรยี นจงึ ซำ้ ซากจำเจ ผูเรยี นขาดแรงจูงใจและ
เกิดความเบื่อหนาย

ผูว จิ ยั ในฐานะผูส อนวชิ าทศั นศิลปไ ดเลง็ เห็นปญหาในการเรียนประวัตศิ าสตรศ ลิ ปะดงั กลาว และมีความพยายามท่ี
จะสรางชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผาน
กระบวนการประติมากรรม เปนการคดิ คนวธิ ีการเรียนรู โดยทวั่ ไปจะอยใู นรปู แบบสิ่งพิมพ และส่ือประติมากรรมจำลองและ
แมพิมพยางซิลิโคนรับเบอรลวดลายปูนปนเชียงแสน ผานกระบวนการประติมากรรมเปนการสรางสรรคงานศิลปะสามมิติ
(Three Dimensional Art creation) ดวยการถา ยทอดแทนสงิ่ ตาง ๆ ออกมาเปน รูปทรง ประกอบดวย ความกวาง ความสูง
และความลึก(สงวน รอดบุญ, 2524, น. 79) ซึ่งกระบวนการประติมากรรมมีความสัมพันธและสอดคลอ งกับประวัติศาสตร
ศิลปะลา นนา การเลอื กใชกระบวนการปนสัมพันธก ับงานปนู ปน เชียงแสน และการหลอ ปนู ปลาสเตอร ซ่งึ เปน วัสดุท่ีเหมาะกับ
กระบวนการเรียนการสอนในชั้นเรียน การหลอปูนปลาสเตอรสัมพันธกับการหลอสำริดพระพุทธรูปลานนา ชุดกิจกรรม
ประกอบดวย คูมือ คำชี้แจงการใชชุดกิจกรรม บทบาทครู บทบาทนักเรียน แผนการจัดการเรียนรู สื่อประกอบการเรียนรู
การวดั ผล/ประเมินผลกิจกรรมสอดคลองกับวตั ถุประสงคก ารเรียนใหผเู รยี นไดปฏบิ ัติ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู โดย
ใชทฤษฎีเชิงประสบการณของโคลบ (Kolb, 1984) ประกอบดวย 4 ขั้นตอนที่เปนวงจรตอเนื่องกัน ดังนี้คือ ขั้นที่ 1
ประสบการณรปู ธรรม (Concrete Experience) เปนข้นั ตอนท่ีผูเรียนเขาไปมสี วนรวมและรบั รูป ระสบการณตางๆ และยึดถือ
สิ่งทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ ตามทตี่ นประสบในขณะนั้น ขน้ั ที่ 2 การไตรตรอง (Reflective Observation) เปน ขัน้ ตอนที่ผูเรียนมุงที่จะทำ
ความเขาใจความหมายของประสบการณที่ไดรับโดยการสังเกตอยางรอบคอบเพื่อการไตรตรองพิจารณา ขั้นที่ 3 การสรุป
ความรู (Abstract conceptualization) เปน ข้ันท่ผี ูเ รียนใชเ หตุผลและใชค วามคดิ ในการสรปุ รวบยอดเปนหลกั การตางๆ และ
ขั้นที่ 4 การทดลองปฏิบัติจรงิ (Active Experiment) เปนขั้นตอนที่ผูเรยี นนำ เอาความเขาใจทีส่ รปุ ได ไปทดลองปฏิบัติจริง
นำไปสูผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนท่ีสงู ข้ึน

ความมุง หมายของการวิจยั
1. เพอ่ื พฒั นาชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรเู ชิงประสบการณของโคลบเพอื่ การเรยี นรูประวตั ศิ าสตรศ ลิ ปะ

ลานนาผา นกระบวนการประติมากรรมใหม ีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิง

ประสบการณข องโคลบ เพอ่ื การเรียนรปู ระวตั ศิ าสตรศ ลิ ปะลา นนาผานกระบวนการประติมากรรม ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษา
ชั้นปท ี่ 2 โรงเรยี นสันตคิ ีรวี ิทยาคม อำเภอแมฟา หลวง จงั หวดั เชียงราย

32

กรอบแนวคิดการทำวิจัย 1) ชุดกิจกรรมศิลปะ 2 ) แ บ บ ท ดส อบ วั ด
ตามทฤษฎีการเรียนรู ผลสัมฤทธิ์ทางการ
ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวของ เชิงประสบการณของ เรยี น
เน้ือหา โคลบ เพื่อการเรียนรู
1.ความรปู ระวตั ิศาสตรศิลปะลานนา หรอื ศลิ ปะเชียง ประวัติศาสตรศิลปะ
แสน ลานนาผาน
กระบวนการ
1.1 ศลิ ปะภาคเหนือลานนา (เชียงแสน) ประตมิ ากรรม
1.2 ลักษณะพระพทุ ธรปู เชียงแสน
2. ลวดลายประดบั ลานนา (เชยี งแสน) 1 ) ก า ร พ ั ฒ น า ชุ ด 2) เปรียบเทียบ
2.1 ลวดลานปนู ปนเชียงแสน กิจกรรมศิลปะตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการ
3. ประติมากรรม ทฤษฎีการเรียนรูเชิง เรียนกอนเรียนและ
3.1 ความหมายของประติมากรรม ประสบการณของ ห ลัง เรีย น ดวย ชุด
3.2 รูปแบบการสรา งประติมากรรม โคลบ เพื่อการเรียนรู กิจกรรมศิลปะตาม
ประวัติศาสตรศิลปะ ทฤษฎีการเรียนรูเชิง
3.2.1 การปน ลานนาผาน ประสบการณของโคลบ
3.2.2 การหลอปูนปลาสเตอร กระบวนการ เ พ ื ่ อ ก า ร เ ร ี ย น รู
ป ร ะ ต ิ ม า ก ร ร ม มี ประวัติศาสตรศิลปะ
ทฤษฎีการเรียนรเู ชงิ ประสบการณของโคลบ (Kolb, ประสิทธิภาพตาม ลานนาผาน
1984) เกณฑ 80/80 กระบวนการ
ประตมิ ากรรม
ขน้ั ท่ี 1 ประสบการณรูปธรรม(Concrete
Experience)

ข้นั ที2่ การไตรต รอง (Reflective Observation)
ขน้ั ที่ 3 การสรปุ ความรู (Abstract
conceptualization
ข้ันท่ี 4 การทดลองปฏบิ ตั ิจริง (Active Experiment)

การสรา งชุดกิจกรรมการเรียนรู (Banathy, 1968; ชยั ยงค
พรหมวงศ, 2545; มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช
สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร, 2552)
1. คำชแ้ี จงการใชช ดุ กิจกรรม
2. บทบาทครู
3. บทบาทนักเรยี น
4. แผนการจดั การเรยี นรู
5. ส่ือประกอบชดุ กิจกรรม
6. การวัดผล/ประเมินผล

ภาพประกอบ กรอบแนวคิดการทำวจิ ยั

33

ขอบเขตการวิจัย
1. ประชากร ไดแก นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาชนั้ ปท ี่ 2 โรงเรียนสันตคิ รี วี ทิ ยาคม อำเภอแมฟาหลวง จงั หวัดเชียงราย

จำนวน 151 คน แบงออกเปน 6 หอ งเรียน
2. กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที่ 2 โรงเรียนสันติคีรีวิทยาคม อำเภอแมฟาหลวง จังหวัด

เชียงราย จำนวน 28 คน ใชวิธีการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive sampling ) 1 หองเรียน ที่มีคะแนนเฉล่ีย
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นลำดบั สุดทา ยในรายวิชาศิลปะ 3 ศ22101 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2564

3. ตัวแปรทศ่ี กึ ษา
3.1 ตัวแปรตน ชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ เพื่อการเรียนรูประวัติศาสตร
ศลิ ปะลา นนาผา นกระบวนการประตมิ ากรรม
3.2 ตัวแปรตาม ประสทิ ธิภาพของชุดกจิ กรรมศิลปะตามเกณฑ 80/80 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นกอนและหลังเรียน
ดว ยชุดกิจกรรมศิลปะ
4. เนือ้ หาในงานวจิ ัย
เนอ้ื หาท่ีใชในวจิ ัยครั้งน้ไี ดจาก กลุมสาระการเรยี นรศู ิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 สาระท1่ี ทัศนศิลป มาตรฐานการ
เรียนรู 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทาง
วฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทองถ่ิน ภูมิปญ ญาไทย โดยกำหนดชุดกจิ กรรมศลิ ปะไว 3 ชุด ไดแก
ชุดท่ี 1 เรื่อง ประวัติศาสตรศลิ ปะลานนา หรอื เชียงแสน
ชุดท่ี 2 เรือ่ ง ลวดลายประดับลานนา
ชุดที่ 3 เร่อื ง ประติมากรรม
5. ระยะเวลาในการวจิ ัย
การวิจัยในคร้ังนี้ ไดดำเนินการวิจัยในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 จำนวน 6 คาบ คาบละ 50 นาที รวมเปน
ระยะเวลา 3 สปั ดาห

เคร่ืองมอื ท่ใี ชในการวิจยั
1. ชดุ กิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรยี นรูเ ชงิ ประสบการณข องโคลบ เพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศ ลิ ปะลานนาผาน

กระบวนการประตมิ ากรรม
2. แบบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระหวางกอ นเรียนและหลงั เรยี นโดยใชช ุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิง

ประสบการณข องโคลบ เพอื่ การเรียนรูประวัติศาสตรศ ลิ ปะลา นนาผา นกระบวนการประตมิ ากรรม

สมมุติฐานงานวจิ ยั
1. การพัฒนาชุดกิจกรรมชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ เพื่อการเรียนรู

ประวัตศิ าสตรศ ิลปะลานนาผานกระบวนการประตมิ ากรรม มีประสทิ ธภิ าพเปนไปตามเกณฑที่กำหนด 80/80
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ เพื่อการ

เรยี นรปู ระวัตศิ าสตรศลิ ปะลานนาผา นกระบวนการประติมากรรม หลงั เรยี นสงู กวากอ นเรียนโดยมีนยั สำคัญทางสถิติท่ีระดบั .05

34

การดำเนินการวจิ ยั
1. ศึกษาเอกสาร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะชั้น

มัธยมศึกษาปที่ 2 และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะ การพัฒนาการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะ และ
กระบวนการเรยี นรูเชงิ ประสบการณ

2. ดำเนินการสรางเครือ่ งมอื ตรวจสอบหาคณุ ภาพเคร่อื งมือท่ใี ชในการวจิ ัยและปรบั ปรงุ แกไ ข
3. ดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูลกับกลุมตัวอยาง ชี้แจงการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรม
ศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการ
ประติมากรรม เพ่อื ใหนักเรยี นปฏบิ ัตตินไดถูกตอง โดยทดสอบกอนเรียนกับนักเรียนโดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี น จำนวน 30 ขอ

4. ดำเนินการสอนโดยใชชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรู
ประวัตศิ าสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประตมิ ากรรม จำนวน 3 ชุด โดยผวู จิ ัยเปน ผสู อนเอง โดยใชเ วลา 6 คาบ คาบละ
50 นาที รวมเปน ระยะเวลา 3 สปั ดาห

5. เมื่อสิ้นสุดการสอน ทำการทดสอบหลังเรียนกับนักเรียนโดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากนั้น
ประเมินนักเรียนระหวางเรียนดวยชุดกจิ กรรมศลิ ปะ ซึ่งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปนชุดเดียวกบั ท่ีใชทดสอบ
กอนเรยี น

6. นำคะแนนจากการตรวจสอบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและคะแนนระหวางเรียนดวยชุดกิจกรรม
ศิลปะ มาวิเคราะหโดยวธิ ีการทางสถติ เิ พอื่ ตรวจสอบสมมตุ ฐิ าน

การวิเคราะหขอ มูล

การวิเคราะหขอมูลการพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรู
ประวตั ศิ าสตรศ ลิ ปะลา นนาผานกระบวนการประตมิ ากรรม เพอื่ หาประสทิ ธิภาพชดุ กิจกรรมศลิ ปะ และเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี น ผูวจิ ัยไดวเิ คราะหขอ มูลดงั น้ี

1. ประเมินความเหมาะสมในองคประกอบตา ง ๆ ของชุดกจิ กรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของ
โคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม โดยแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating
Scale) โดยผูเชยี่ วชาญ 3 ทาน

2. หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรู
ประวตั ิศาสตรศ ิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม โดยการทดลองกับกลมุ ตวั อยาง หาคาเฉลี่ย รอ ยละ

3. การหาคณุ ภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หาความเทยี่ งตรงเชงิ เน้ือหา โดยการหาคาดชั นีความ
สอดคลอ งระหวางขอสอบกับจุดประสงคการเรียนรู (IOC: Index of Consistency) หาความยาก (p) และคาอำนาจจำแนก
(r) คา ความเชอื่ มั่น โดยวธิ ีของคเู ดอร ริชารด สัน (Kuder-Richardson) ไดคาเทา กับ 0.781

35

4. วิเคราะหคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัใทธ์ิทางการเรียน เพื่อทดสอบสมมุติฐาน โดยใช t-test (dependent
samples)

สถติ ทิ ่ใี ชในการวิเคราะหข อ มูล

1. สถติ พิ ืน้ ฐาน
1.1 รอ ยละ (Percentage)
1.2 คา เฉล่ยี (Mean)
1.3 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

2. สถติ ทิ ีใ่ ชในการทดสอบสมมุติฐาน

2.1 หาประสทิ ธภิ าพชดุ กจิ กรรมศิลปะตามเกณฑ 80/80 โดยใชส ูตร E1/E2
2.2 เปรียบเทยี บผลสัมฤทธิท์ างการเรียนกอนเรียนและหลงั เรยี น โดยการทดสอบคา ที (t-test แบบ

dependent samples)

ผลการวิจยั

ในการดำเนนิ การวิจยั ในครัง้ นี้ เปน การศกึ ษาผลการพฒั นาชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเ ชิงประสบการณ
ของโคลบ เพ่ือการเรยี นรปู ระวตั ิศาสตรศ ลิ ปะลานนาผา นกระบวนการประติมากรรม และเปรียบเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
ผูวิจยั นำเสนอผลการวิเคราะหขอมลู ตามลำดบั ดงั ตารางตอ ไปน้ี

ตารางที่ 1 คะแนนประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2) ของชุดกจิ กรรมศิลปะตามทฤษฎี
การเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม ของกลุม

ตวั อยา ง

ชุดกิจกรรมท่ี n E1 E2 (E1/E2)
1 28 82.50 82.50 82.50/82.50
2 28 90.00 80.71 90.00/80.71
3 28 91.07 85.00 91.07/85.00
87.86 82.74 87.86/82.74
รวม

จากตารางท่ี 1 พบวา ประสทิ ธภิ าพชุดกิจกรรมศลิ ปะตามทฤษฎีการเรยี นรเู ชิงประสบการณข องโคลบ เพื่อการเรียนรู
ประวัตศิ าสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประตมิ ากรรมของกลมุ ตวั อยา ง จำนวน 28 คน เมอ่ื พิจารณาคา ประสทิ ธิภาพของ

กระบวนการ (E1) เทากับ 87.86 และประสิทธิภาพผลลัพธ (E2) เทากับ 82.74 มีคาประสิทธิภาพเทากับ 87.86 /82.74
เปน ไปตามเกณฑ 80/80

36

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิง
ประสบการณของโคลบเพอื่ การเรยี นรปู ระวัตศิ าสตรศ ลิ ปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน n x SD t p

กอนเรียน 28 14.82 2.229 -25.312* .000
หลงั เรียน 28 24.82 2.056

*p < .05

จากตารางที่ 2 พบวา ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นกอ นเรยี นและหลงั เรยี นดวยชุดกจิ กรรมศลิ ปะตามทฤษฎีการเรียนรู
เชงิ ประสบการณข องโคลบ เพอื่ การเรียนรูประวตั ิศาสตรศ ลิ ปะลานนาผา นกระบวนการประตมิ ากรรม หลังเรยี นสูงกวา กอน
เรียนอยา งมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05

สรปุ ผลการวจิ ยั
1. การพัฒนาชุดกิจกรรมชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ เพื่อการเรียนรู

ประวตั ศิ าสตรศลิ ปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม ทผ่ี ูว ิจยั สรางข้ึน มคี า ประสทิ ธภิ าพเทา กับ 87.86/82.74 เปนไป
ตามเกณฑท่ีต้งั ไว 80/80

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นที่เรียนดวยชดุ กิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชงิ ประสบการณของโคลบ เพื่อการ
เรียนรูประวัติศาสตรศ ลิ ปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม หลังเรยี นสูงกวากอ นเรียนโดยมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .05

อภิปรายผล
ชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎกี ารเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพ่ือการเรียนรูประวัตศิ าสตรศิลปะลานนาผา น

กระบวนการประติมากรรม ชุดกิจกรรมท้งั 3 ชุด มคี าประสิทธิภาพรวมเทากบั 87.86 /82.74 และแตล ะชดุ เปนไปตามเกณฑ
ที่กำหนดไว 80/80 ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา ชุดกิจกรรมศิลปมีการพฒั นาชุดกิจกรรมอยางมีระบบขัน้ ตอน การศึกษาเอกสาร
ขอมูล เนื้อหา เกี่ยวกับประวัติศาสตรศิลปะลานนา ในอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย การพัฒนาสื่อประกอบกิจกรรม
ประติมากรรมจำลองและยางซิลิโคนรับเบอรลวดลายปูนปนเชียงแสนอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินคุณภาพของชุด
กจิ กรรมศิลปะโดยผูเชย่ี วชาญจำนวน 3 ทา น ทำใหน ักเรียนสามารถปฏิบัติเพอ่ื เรยี นรูเนื้อหาทางประวัตศิ าสตรศิลปะลานนา
ในอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย สงเสริมการใหความสำคัญงานศิลปะในพื้นท่ีจังหวัด โดยมีกระบวนการประติมากรรม
ตามที่(มัย ตะติยะ, 2549, น.27) กลาววาเปนผลงานศิลปะแขนงหนึ่งในทัศนศิลปที่เกิดจากผลแหงการรับรู ผานประสาท
สัมผัสทางตานับวาเปนการแสดงออกถึงความรูสึก จากการสังเกตสิ่งตางๆ รอบตัว หรือจากการนําความคิดจินตนาการมา
สรางสรรคงานใหมสี ภาพคลา ย ความเปน จริง ดวยการปน การแกะสลกั การหลอ หรือการสรางลกั ษณะอนื่ ๆ อาจเปนการปน
รูปแบบ ดวยดินเหนียวแลวจึงทําแบบแมพิมพสําหรับหลอปูนปลาสเตอรหรือหลอดวยวัสดุอื่นไดทั้งสิ้น รวมไปถึง(กาญจนา
เกยี รติประวตั ิ, 2524) ไดกลาวถงึ ประโยชนของ ชุดการเรยี นการสอนไวว า ชว ยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการเรยี นของผเู รียน เพราะ
สื่อประสม (multi-Media) ที่จัดไวในระบบ เปนการแปรเปลี่ยนกิจกรรมและชวยรักษาระดับความสนใจของผูเรียนอยู
ตลอดเวลา โดยศกึ ษาเกย่ี วกบั รายละเอียด หลกั การและแนวคิดเกยี่ วกบั การสรา งชุดกจิ กรรมการเรียนรู (Banathy, 1968; ชัย

37

ยงค พรหมวงศ, 2545; มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร, 2552) มาสรางเปนชุดกิจกรรม โดยชุด
กิจกรรมทีพ่ ฒั นาทั้งทฤษฎแี ละการปฏบิ ตั ิ ซึ่งสอดคลอ งกบั (ณัฐกาญจน จันทนเนื้อไม, 2562) ที่พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู
เพื่อสงเสริมการเห็นคุณคาศิลปะลานนาและศึกษาผลการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูที่สงเสริมการเห็นคุณคาศิลปะลานนา
ความสำคัญของศิลปะลานนา จากศิลปวัตถุและสถานที่จริง ประกอบกับขอความรูจากคูมือและการทำกิจกรรมการตอบ
คำถาม ถายภาพ วาดภาพ เลน เกม และการสรางสรรคงานศลิ ปะทไี่ ดร บั แรงบันดาลใจจากศิลปะลา นนา โดยเปนกิจกรรม ที่มี
การเตรียมความพรอ มดานอุปกรณและสื่อตางๆ มีการใชบทบาทสมมติและมีรูปแบบกจิ กรรมที่เหมาะสม การใชทฤษฎีการ
เรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ (Kolb, 1984, p.38) ใหคํานิยามเกี่ยวกับการเรียนรูไววา “เปนกระบวนการที่ความรูได
สรางขึ้นมาจากการเปลี่ยนผานของประสบการณ” ไมเปนทางการ โดยการเขาไปเกี่ยวของกับสถานการณตาง ๆ หรือการ
สงั เกตไดจ ากการกระทําของผอู ื่น ซึ่งเกิดขึ้นจากการดําเนนิ ชวี ติ การทาํ งาน และการศึกษา จึงมีความสอดคลอ งกบั (สุธิดา ฮวด
ศรี, 2560) ท่ีไดพัฒนาและหาประสิทธิภาพชุดกจิ กรรมศิลปะตามการจัดการเรียนรูเชิงประสบการณเ พือ่ เสริมสรางความคิด
สรางสรรค ของนักเรียนชัน้ อนบุ าลปท ี่ 1 ชดุ กจิ กรรมศิลปะมปี ระสทิ ธภิ าพเทา กบั 81.74/82.50 ซงึ่ สูงเกณฑท่ตี ้ังไว

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอ นเรียนและหลังเรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของ
โคลบเพ่ือการเรียนรูป ระวตั ิศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประตมิ ากรรม หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยา งมนี ัยสำคญั
ทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 ซงึ่ เปนไปตามสมมตุ ฐิ านที่ต้ังไว อทัง้ น้อี าจะเปนเพราะวานักเรียนมีความสนใจ มีการสังเกตใตรตรอง ใน
การใชชุดกิจกรรมการเรียนรู ศึกษาเนื้อหา รูปภาพตัวอยางจากชุดกิจกรรมศลิ ปะ สรุปความรูจากแบบฝกหัดทายกิจกรรม
รวมถงึ การลงมือปฏิบตั ิในการปนดินนำ้ มัน และการหลอปูนปลาสเตอรล วดลายปูนปนเชียงแสน ชดุ กิจกรรมศิลปะมีข้ันตอน
การเรียนรูโดยใชการเรียนรูเชิงประสบการณ ทั้ง 4 ขั้นตอนดังที่(ทิศนา แขมมณี, 2551) กลาววา โคลบ(Kolb)ไดนําเสนอวฏั
จกั รการเรียนรเู ชงิ ประสบการณ (Experiential Learning Cycle) เพื่ออธบิ ายกระบวนการการเรยี นรขู องบุคคลวา เมื่อบคุ คล
ไดรับประสบการณตรงหรือประสบการณที่เปน รูปธรรม (Concrete Experience) บุคคล จะเรียนรูจากการสังเกตและการ
ไตรตรอง (Reflective Observation) ประสบการณนั้นและสราง ความคิดรวบยอด (Abstract Conceptualization) ซึ่ง
บคุ คลน้ันสามารถนาํ มาปรบั ใชห รือทดลอง (Active Experimentation) สงผลใหคะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นหลังเรียนสูง
กวากอ นเรยี น ซ่งึ สัมพันธกับ (ปริยาภรณ พรมหอม, กนิษฐา เชาวว ัฒนกลุ , และ รตั นา เมฆพันธ, 2562) ที่พัฒนาความสามารถ
ในการแกปญหาทางคณิตศาสตรโดยใชการจัดการเรยี นรูเชงิ ประสบการณ ซงึ่ หลังเรยี นสงู กวากอ นเรียน อยางมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05 รวมไปถึง Kelley (1986: 32–A) อางถึงใน วรนารถ อยูสุข (2555) ศึกษาเปรียบเทียบผลการฝกตามแบบ
แผนเสริมสรา งประสบการณท างศลิ ปะเพือ่ พัฒนาความคิดสรา งสรรคท างศิลปะเปน เวลา10 สัปดาห ในระดบั ชน้ั ประถมศึกษา
ปที่ 1 ผลปรากฏวา ความคิดสรา งสรรคข องเด็กทเ่ี ขารวมตามแผนกับเด็กท่ีไมไดเขารวมตามแผนแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ ผูวิจัยมกี ารศกึ ษาวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวของกับการพฒั นารูปแบบการเรยี นรูและพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรูดานประวัติศาสตร
ศิลปะและการสรางแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น มีความสอดคลองกับมณฑวรรณ เดชประสิทธิ์ (2547) ไดศึกษา
คนควา เพ่อื พฒั นาบทเรียนคอมพวิ เตอรม ลั ตมิ เี ดยี เรื่องประวตั ศิ าสตรศ ลิ ปะตะวันตกยุคใหมสำหรบั นักศึกษาระดบั ปริญญาตรี
สาขาศลิ ปศกึ ษา ผลการศกึ ษาพบวา บทเรยี นคอมพวิ เคอรมลั ตมิ ีเดยี เรื่อง ประวตั ิศาสตรศ ิลปะตะวนั ตกยคุ ใหม มีคณุ ภาพจาก
การประเมนิ ของผูเชีย่ วชาญดา นเนื้อหาและดานส่อื การศึกษา อยใู นระดับดีมาก และมปี ระสิทธภิ าพ 87.57/87.13 เครือ่ งมอื ท่ี
ใชในการศึกษาคนควาคือ บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย เรื่อง ประวัติศาสตรศิลปะตะวันตก ยุคใหม แบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบประเมินคุณภาพของบทเรยี นคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย โดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อและดานสอื่

38

รวมทั้ง(ธนาวุฒิ สุขเกื้อ, 2559) ไดพัฒนาสื่อการเรียนรูภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ สำหรับหนวยการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะ
ตะวันตกเปนการวิจัยกึง่ ทดลอง ซึง่ มปี ระสิทธภิ าพทร่ี ะดับ 83.44/81.63 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนดวยสื่อ
การเรยี นรูภาพเคลอ่ื นไหว 2 มติ ิ มผี ลการเรียนหลังเรยี นสูงกวา กอ นเรียนอยางมนี ยั สำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ.01

ขอ เสนอแนะ

จากการวิจยั มีขอ เสนอแนะเพอ่ื การนำผลการวจิ ัยไปใชค อื การนำชุดกจิ กรรมศลิ ปะไปใชใ นการจัดการเรยี นการสอน
ผูสอนควรพิจารณา ความสอดคลอง และความเหมาะสมดานเนื้อหา และกระบวนการกิจกรรม และบริบทของสถานศึกษา
และตัวผูเรยี นแตล ะท่ีกอน เพ่อื จะสามารถใชไดเกิดประโยชนส งู สุด และควรทำความเขาใจเกยี่ วกับรายละเอียดกจิ กรรม การ
เตรียมความพรอมดานวัสดุอุปกรณ เชน อุปกรณในการปน ดินน้ำมัน และอุปกรณในการหลอปูนปลาสเตอร รวมถึงแมพิมพ
ยางซิลิโคนรับเบอรล วดลายปูนปนเชยี งแสน ท่ีผสู อนควรลองทำกิจกรรมกอนนำชดุ กจิ กรรมไปใชจริง

ผูวิจัยมีขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยตอไป คือ ควรมีการศึกษาวิจัยการสอนโดยใชชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการ
เรียนรเู ชิงประสบการณข องโคลบ เพื่อการเรียนรูประวตั ศิ าสตรศ ลิ ปะสมัยตา ง ๆ ผานกระบวนการประตมิ ากรรมในระดบั ชน้ั อ่ืน
และควรมีการสงเสริมใหผูสอนไดศึกษาพัฒนาและประยุกตตอยอดจากศิลปะลานนาลวดลายในศิลปะลานนา ในรูปแบบ
ดจิ ติ อล บทเรยี นคอมพิวเตอร หรอื แอพพลเิ คชน่ั (Application)

เอกสารอางองิ (References)
กาญจนา เกียรตปิ ระวัต.ิ (2524). วิธีสอนท่ัวไปและทกั ษะการสอน. กรงุ เทพฯ: วัฒนาพานชิ .
ชัยยงค พรหมวงศ. (2545). บทบาทของเทคโนโลยีตอ การเรยี นการสอน. พัฒนาเทคนิคศึกษา, 14(42), 3-8.
ณัฐกาญจน จันทนเนื้อไม. (2562). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูเพือ่ สงเสริมการเห็นคุณคาศลิ ปะลานนา. มหาวิทยาลัย

ศลิ ปากร, 12(5). 322-432
เตอื นฤดี รักใหม. (2559). การออกแบบแอพพลิเคช่ันเพ่อื การเรียนรปู ระวัตศิ าสตรศ ลิ ปสำหรบั นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี งาน

วารสารวิชาการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร สจล คณะสถาปตยกรรม ศิลปะและการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกลา เจา คุณทหารลาดกระบงั , 23(2 ), 119-132.
ทิศนา แขมมณี. (2551). ลีลาการเรยี นรู-ลีลาการสอน = Learning-teaching styles (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ศูนยตำรา
และเอกสารทางวชิ าการ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั .
ธนาวฒุ ิ สุขเกอ้ื . (2559). การพฒั นาส่ือการเรียนรูภ าพเคลือ่ นไหว 2 มิติ สำหรบั หนว ยการเรียนรูป ระวตั ิศาสตรศ ิลปะตะวันตก.
ปรญิ ญานิพนธปริญญามหาบัณฑติ , สาขาศิลปศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ.
ปริยาภรณ พรมหอม, กนิษฐา เชาววัฒนกุล, และ รัตนา เมฆพันธ. (2562). การพัฒนาความสามารถในการแกปญหาทาง
คณิตศาสตรโดยใชการจัดการเรียนรู เชิงประสบการณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเบญจมราชูทศิ
ราชบุรี Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 12(2), 887-869
มณฑว รรณ เดชประสิทธ์.ิ (2547). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมเี ดยี เรื่องประวัตศิ าสตรศิลปะตะวันตก ยุคใหมส ำหรับ
นกั ศึกษาสาขาศิลปศึกษา. สารนพิ นธป ริญญามหาบัณฑิต, เทคโนโลยกี ารศกึ ษา. มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.

39

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร. (2552). ส่ือการสอนระดับปฐมวยั ศกึ ษา : เอกสารการสอนชุดวิชา
21312 = Instructional media for early childhood education (พิมพครั้งที่ 13). นนทบุรี: สำนักพิมพ
มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช.

มัย ตะติยะ. (2549). ประตมิ ากรรมพน้ื ฐาน. กรุงเทพฯ: สิปประภา.
วรนารถ อยูสุข. (2555). การพัฒนาความสามารถในการใหเหตุผลและความคิดสรางสรรคทางคณิตศาสตรของนักเรียน

มัธยมศึกษาปท ่ี 4 โดยใชช ดุ กิจกรรมเสรมิ หลักสูตรคณติ ศาสตรและวงจรการเรียนรูเชงิ ประสบการณ. วิทยานิพนธ
ครศุ าสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย, กรงุ เทพฯ.
วิวัฒนไชย จนั ทนสคุ นธ. (2551). หนังสือเรยี น รายวชิ าพื้นฐาน ทัศนศลิ ป ม.5. กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพสถาบันพัฒนาคุณภาพ
วชิ าการ (พว.) จำกดั .
ศนู ยเ ทคโนโลยีสารสนเทศมรดกศลิ ปวัฒนธรรม รว มกับ สำนกั พิพิธภณั ฑสถานแหง และพิพิธภณั ฑสถานแหง ชาติ ทว่ั ประเทศ.
(2557-2558). พิพิธภัณสถานแหงชาติ เชียงแสน สืบคนขอมูลเมื่อ 25 มีนาคม 2564, เขาถึงไดจาก
http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/chiangsaen/index.php/th/about-us.html
สงวน รอดบุญ. (2524). ศิลปกับมนุษย (พมิ พคร้งั ท่ี 3). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พก ารศาสนา.
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน. (2552). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (พิมพครั้ง
ที่ 1). กรงุ เทพฯ: สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาต.ิ (2542). พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี กไ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั
ท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พค ุรสุ ภาลาดพราว.
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2560). รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ
สำนักงานเลขาธกิ ารวุฒิสภา.
สุธิดา ฮวดศรี. (2560). การพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะตามการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณเพื่อเสริมสรางความคิด
สรางสรรคของนักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 1. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร,
9(25), 31-41.
เสนอ นิลเดช. (2540). ศิลปะสมยั เชียงแสน พทุ ธศตวรรษที่ 17-24. หนาจ่วั สถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม,
14, 57-62.
อมรรัตน ฉันทนาวี. (2555). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียเรื่องประวัติศาสตรศิลปะไทย สมัยทวารวดี สำหรับ
นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี คณะมัณฑนศิลป มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. สารนิพนธป รญิ ญามหาบณั ฑิต, สาขาเทคโนโลยี
การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ.
Banathy, B. H. (1968). Instructional System. Belmont California, 250.
Kolb, D. A. (1 9 8 4 ) . Experiential learning Experience as the source of learning process. Englewood Cliffs.:
Prentice Hall.

40


Click to View FlipBook Version