The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Larpluck Boonyakom, 2022-08-05 04:45:06

บทความเต็ม_4U

บทความเต็ม_4U

2. เก็บกด (Repression) บางครั้งการคิดถึงประสบการณอันเลวรา ย ความทรงจำ หรือ ความคิดแย ๆ ก็ทำใหเรา
อารมณเ สียใจได เราจึงเลอื กที่จะซอนมันไว เพื่อจะลมื ความเจบ็ ปวดเหลา นัน้ ไดใ นวนั หนึง่

3. ฉายความรูสึก (Projection) บางครั้งความคิดหรือความรูสึกที่เรามีตอคนอื่นก็ทำใหเรารูสึกไมสบายใจได
เหมอื นกันเราจงึ โยนความรูส กึ นัน้ ไปใหค นอ่ืนแทน

4. ระบายกบั ส่งิ อ่นื (Displacement) เม่อื เราเจอกบั เหตกุ ารณท ่ที ำใหอารมณเ สยี เราอาจใชวธิ รี ะบายอารมณนั้นใส
บุคคลหรือวัตถแุ ทน เพ่ือใหเรารูส กึ ดขี ึ้น วิธีนีย้ ังชว ยลดความเสี่ยงจากการเผชญิ หนากบั ตน ตอของปญหาตรง ๆ ดวย

5. ถอยหนี (Regression) การเจอกับเหตุการณท ่ที ำใหเรารูส ึกกังวลเครยี ด หรอื ไมส บายใจ ทำใหเ ราพยายามหนีจากมัน
6. หาเหตุผลเขาขางตัวเอง (Rationalization) บางคนพยายามอธิบายพฤติกรรมที่ตนเองไมชอบ ดวยเหตุผลท่ี
เขา ขา งตวั เอง เพราะการหลอกตัวเองชว ยใหเกดิ ความสบายใจมากกวาการยอมรบั ความจริง
7. เปลย่ี นความรสู กึ ใหกลายเปนสง่ิ ทดี่ ี (Sublimation) กลไกนีจ้ ะมีความคลา ยกับ Displacement แตต างกันตรงที่
เราจะเอาความรสู ึกไมสบายใจมาใสในกิจกรรมหรือสิง่ ทเี่ หมาะสม และไมเปน อนั ตรายกับคนอืน่
8. ทำในสิ่งที่ตรงขามกับความรูสึก (Reaction formation) คนที่ถูกความทุกขมากโดยไมตั้งตัว ๆ อาจทำในส่ิง
ตรงกันขา ม เพือ่ หกั ลา งความรูสึกแยๆท่ีเกดิ ขึน้
9. แยกสวนชีวิต (Compartmentalization) การแบงชีวิตออกเปน คนละสวน เชน แยกบุคลิกตอนทำงานออกจาก
ตอนอยูกับครอบครวั อาจทำใหบ างคนรูส ึกปลอดภัยมากขน้ึ
10. สนใจเหตุผลมากกวาอารมณ (Intellectualization) บางคนเวลาแกปญหาท่ที ำใหเกิดความรูสึกไมดีอาจหันมา
แกป ญหาดว ยวธิ กี ำจัดอารมณ และทุมเทความสนใจไปทีข่ อมูลและเหตผุ ลอยา งเดียว (Mcleod, S. A. 2019, April 10)
การคิดหรือเขาขางตัวเองอาจจะชวยใหเราปลอดภัย จากความเครียด ความกังวล และความรูสึกแยอื่น ๆ แต
บางครั้งกลไกทางความคดิ ก็มขี อเสยี เพราะมันทำใหเราคิดอยูในภาวะหลอกตัวเอง (Selfdecption) ไมสามารถยอมรับความ
จริงได และไมสามารถแกไ ขปญหาชวี ิตไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นเราจึงตองรูเ ทาทันกลไกทางความคิด โดยการหันมาทำ
ความเขาใจตวั เอง ยอมรับ ความเปนจริงใหม ากขึน้ หรือลองพูดคยุ กบั คนอื่นเพ่ือขอคำปรกึ ษาเกี่ยวกับปญ หาดู สิ่งเหลานีจ้ ะ
เปนกาวแรกที่ทำใหเรารบั มอื กับจิตใจของตนเองไดดแี ละอาจสงผลใหช วี ติ ดีข้นึ

อิทธิพลจากประสบการณต รงที่ไดร บั จากความเชอ่ื และมุมมองทศั นคติของสงั คม
ผูส รางสรรคไ ดเ คยผา นการประสบปญหา ทีก่ ระทบกระเทอื นจิตใจ และสงผลกับการดำเนินชีวิต ซ่ึงปญหาดังกลาว

ไดฝงรากลกึ อยูในจิตใตสำนึก และทุกครั้งท่ีผูสรางสรรคไดพบเห็น สถานที่หรือวัตถุท่ีเคยเปนสวนหนึ่งในความทรงจำที่เปน
ปญ หา ภาพเหตกุ ารณหรอื เรือ่ งราวตา ง ๆ ก็จะผุดขน้ึ มาในความคิด โดยสงิ่ เหลานีเ้ ปน อปุ สรรคในการดำเนินชวี ิตและสงผลเสีย
ตอ ภาพลกั ษณของผูสรางสรรค

อิทธพิ ลจากส่ิงแวดลอมภายในเรอื นจำ
จากสภาพแวดลอมที่สรางสรรคไดใชชีวิตอยูภายในเรือนจำเปนเวลา 5 ป 6 เดือน ตัวผูสรางสรรคเองตองพบกับ

สภาพแวดลอ มท่เี สื่อมโทรม ความเปน อยทู ีโ่ หดรา ย อยูใ นหอ งสี่เหลยี่ ม ๆ ขนาดเลก็ และแออัดไปดว ยจำนวนคน 200 ถงึ 300

141

คน ขนาดหอง 8x10 เมตร ตอ หอง ตองใชส ่งิ ของรวมกัน ใชผ า หม ผา ปูนอนผืนเดิม หอ งน้ำแบบไมมีประตูกั้น ไมมีความเปน
สว นตัว มบี ล็อกสขุ าที่สกปรกมาก และคบั แคบ ถกู จำกัดสทิ ธลิ ดิ รอนทำใหความรูถึงสภาพแวดลอมเหลานี้ มีผลกับความรูสึก
เปน ภาพจำที่ทำใหต ัวผูส รา งสรรคเ อง เกิดสภาวะกลวั ทแี่ คบ จนมผี ลกับการดำเนนิ ชวี ติ ในหลายๆ ดานจนถึงปจจบุ นั

จากการศึกษาอิทธิพลในสภาพแวดลอมตางๆ จากที่กลาวมานั้นการจะสรางสรรคผลงานที่มีลักษณะตรงตาม
แนวความคิด จึงมีความจำเปนตองศึกษาถึงลักษณะของศิลปะจัดวาง เนื่องดวยตัวผูสรางสรรคเองตองการสรางบรรยากาศ
แทนความรูสกึ ความอดึ อัด ความกดดัน จนขาดอสิ รภาพ จงึ ความจำเปน ตองศกึ ษาศิลปะจัดวาง รว มกับการศึกษาลัทธศิ ลิ ปะ
ดาดา อันแสดงออกโดยการใชสญั ลกั ษณเ พอ่ื เสียดสี ประชดประชนั สงั คม ในมมุ มองท่นี าสนใจ

อิทธิพลจากศลิ ปะลัทธดิ าดา (DADAISM)
ลัทธิดาดา (DADAISM) เปนศิลปะ ที่แสดงการตอตาน ถากถาง ประชดประชนั เสียดสีสงครามและสภาพแวดลอม

ทางสังคม ท้งั การเกลียดชังตวั บคุ คล อีกทงั้ ขนบธรรมเนยี มประเพณี และบรบิ ทตน เหตทุ ้งั หมดท่อี าจนำพาไปสกู ารเกิดสงคราม
ซึ่งหยิบยกขออางตางๆและความเหลื่อมล้ำ ตอตานแนวคิดของพวกทุนนิยมที่นำพาไปสูการขัดแยงและการเกิดสงคราม ซ่ึง
แสดงออกดวยการประชดประชัน เยาะเยย ถากถาง และทำใหมนั กลายเปนเร่ืองไรสาระ ดูตลก หรอื จงใจเสียดสีดว ยความดิบ
เถ่อื น เหลวไหล ทำลายความสมบูรณแบบลง ใชเทคนคิ ในการสรา งสรรคด วยวิธีทีผ่ ดิ ปกตซิ ึง่ ทำใหง านออกมามีลักษณะที่แปลก
ใหมไปจากงานศิลปะดั้งเดิม อีกทั้งการแสดงออกทางความคิดเพื่อเสียดสีความดัดจริตและสิ่งเลวรายที่พบเห็นไดจริงใน
ชวี ติ ประจำวัน พรอมทง้ั ทงิ้ คำถามใหกับสังคม ผานทางงานศิลปะทสี่ ราง อีกหนึง่ วิธีสรา งสรรคผ ลงานท่ีนาสนใจของดาดาอิสม
คือการนำเอา “วัตถุประกอบสำเร็จ” (READY MADE) มาปรับแตง หรือเพิ่มเติมรายละเอียด เพื่อใหสามารถสัมผัสกับอีก
มุมมองหนึ่งทางศลิ ปะ ซึ่งมีแนวคดิ ทีว่ า วัตถุแวดลอมที่เราพบเห็นกันอยูเ ปนสามัญธรรมดาทุกสิ่งลวนแลว แตมีคุณคา ในทาง
ความคิดในแงของการผลติ และใชส อย โดยการพบเหน็ ธรรมดาอาจไมส ามารถพบคุณคาทางศิลปะไดอยางเต็มท่ี หากมีการจัด
วางดัดแปลงเติมแตงแนวคิดใหมีลักษณะแปลกแยกออกไปจะสามารถบังเกิดเปนศิลปะที่สุดแสนวิเศษได (ARKAT
VINYAPIROATH)

ผลงานศิลปน ท่ีทำการศกึ ษา
มักดาแลนา อบาคาโนวิช (Magdalena Abakanowicz) เกิดเมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ.2473 Falenty โปแลนด

เสียชีวิตเมื่อ 20 เมษายน พ.ศ. 2560 วอรซอ,โปแลนด มักดาแลเปนประติมากร และศิลปนเสนใยชาวโปแลนดเชื้อสายทาร
ทาร เธอเปนที่รูจักจากการใชสิ่งทอ เปนสื่อประติมากรรม ผากระสอบหยาบเย็บผูกมัดดวยเรซินสังเคราะหและการติดต้ัง
กลางแจง เธอไดร ับการยอมรบั การยกยอ งอยางกวางขวาง วา เปนศลิ ปนทีไ่ ดรบั การยกยอ งในระดับนานาชาติท่สี ุดคนหนึ่งของ
โปแลนด งานของเธอพูดถึงเรื่องวัฒนธรรม และธรรมชาติของมนุษยตลอดจนสถานะ และตำแหนงในสังคมสมัยใหม ความ
หลากหลายของรูปแบบมนุษย แสดงถึงความสับสน และการไมเปดเผยตัวตน การวิเคราะหการปรากฏตวั ของบุคคลในมวล
มนษุ ยชาติ

142

สง่ิ ท่ีผูส รางสรรคไ ดรบั อทิ ธพิ ลจากศิลปน ในเรอ่ื งของตัวเนอ้ื เร่อื งราว แนวคดิ ในการนำเสนอผลงาน ทพ่ี ดู ถงึ เรอ่ื งของ
สังคม ความเปนอยู อดีตที่สงผลตอปจจุบัน การใชชีวิต แนวคิดและการสรา งสรรคงานศิลปะ โดยใชแรงขบั เคลื่อนจากอดีต
แปลผลของความคดิ ถา ยทอดลงเปน งานศลิ ปะ ทต่ี องการสื่อใหผชู มเขาถงึ สาระสำคญั ของผลงานที่นำเสนอ

ช่ือ: Cage,1986,Sculpture,180×140×185 cm.
ที่มา: www.szepmuveszeti.hu/rights_and_reproducti, (2564, ออนไลน, https://th.m.wikipedia.org)

สิง่ ท่ผี สู รา งสรรคไดร บั จากศิลปน
ดว ยการหาขอมูลแนวคิด และรปู แบบในการทำงานของศลิ ปน ที่ตวั ของผสู รางสรรคไ ดค นควา และศกึ ษาหลักปฏิบัติ

ในการทำงานศิลปะของศิลปนในแตละทาน ที่ตัวผูสรางสรรคนำมาเปน แบบอยางในการพัฒนาแนวความคิดสรางสรรค และ
รูปแบบ เทคนิควิธีการนำเสนอ ทสี่ อดคลองกบั แนวคดิ มากท่สี ุด

วธิ ีการสรางสรรคผ ลงาน
การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุด "สภาวะความกดดันจากปมปญหาชีวิต" ตัวผูสรางสรรคเองไดผาน

ประสบการณช ีวติ ทเี่ ลวรา ย และยงั ฝงอยูในความทรงจำท่ีไมอ าจลบเลือนไปจากความคดิ สงิ่ เหลา น้สี งผลกระทบตอความรูสึก
และภาพลักษณของตัวผูสรางสรรค จึงนำไปสูแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงาน ที่แสดงออกโดยการถายทอด
กระบวนการทางความคิด ความรสู ึก ท่จี ะนำเสนอดวยกระบวนการทางเทคนคิ งานประติมากรรมสอ่ื ผสม

แนวคิดในการสรางสรรค
ผสู รา งสรรคเคยผา นประสบการณท่ีเลวรายทีส่ ุดในชีวิต เปน ความทรงจำท่ียงั ติดอยูในจิตใตส ำนึกยากท่ีจะลบเลือน

ไปจากความคิด โดยตวั ผสู รา งสรรคเ องเคยถูกตองขังภายในเรือนจำเปนเวลา 5 ป 6 เดอื น ซึ่งเปน ประสบการณตรงของตัวผู
สรางสรรคเอง จึงอยากถายทอดเรื่องราวของความเปนอยู การกิน การนอน การใชชีวิตประจำวัน สภาวะความอึดอัด ความ
กดดัน จากการถกู คุมขงั โดยถายทอดเรอ่ื งราวผา นชนิ้ งานศิลปะ เพ่อื ปลดปลอยความรสู กึ และตีแผประสบการณความเปนอยู
ภายในเรือนจำ เพื่อเปนสิ่งกระตุน เตือนใจใหผูคนตระหนักถึงคุณคาแหง อิสรภาพ และไมกระทำผิดจนนำไปสูบทลงโทษท่ี
แสนเจบ็ ปวดและเปนบาดแผลรายของชวี ติ

143

ขอ มูลจากประสบการณต รงของผสู รางสรรค
ผูสรางสรรคตองการสื่อถึงประสบการณที่เลวรายในชีวิตและเปนปมท่ียังสงผลกับชวี ิตของตัวผูสรางสรรค เสมือน

ของแหลมมีคมที่ยังคงทิ่มแทง เวลาคิด หรือไดพบเห็นสิ่งของที่เคยอยูในความทรงจำ ซึ่งเปนประสบการณตรงของตัวผู
สรา งสรรคเอง และเกดิ เปน แรงบนั ดาลใจสกู ารสรา งสรรคผลงานทางนี้จงึ ทำการเก็บขอมูลดังตอ ไปน้ี

ภาพการใชชีวติ ท่ีแออัดภายในหองขงั (เรอื นนอน)
ทมี่ า: khaosod.co.th (2564, ออนไลน, https://:khaosod.co.th)
สภาพความเปน อยภู ายในเรือนจำ
การหาขอ มูลสำหรับทำงานสรางสรรคงานวทิ ยานิพนธชุด “สภาวะความกดดันจากปมปญหาชีวิต” ตัวผูสรางสรรค
เองไดเคยใชช ีวิตอยูภายในเรอื นจำ ซ่งึ เนือ้ หาและขอ มูลจากประสบการณต รงของตัวผูส รางสรรคเอง ท่ีจะถายทอดสภาพความ
เปนอยู ความแออดั และส่ิงท่เี กี่ยวขอ ง กับการสรา งสรรคงานวทิ ยานพิ นธ เพอื่ ใชเ ปน ขอ มูลในการสรา งสรรคผลงาน

(ก) (ข)
สภาพการใชช ีวติ และส่ิงแวดลอมภายในเรอื นจำ
(ก) ภาพแผนผงั การนอนทใี่ ชป ระชาสมั พนั ธของเรือนจำ
(ข) ภาพความเปนจรงิ กับการนอนที่แออดั ภายในหอ งขัง
ทม่ี า: Matichon.co.th, khaosod.co.th (2564, ออนไลน, https://Matichon.co.th,khaosod.co.th)

144

จากท่ีกลาวมานั้นประสบการณในชวงเวลาท่ีเคยไดเ ขาไปใชชีวิตอยใู นเรอื นจำ เปน ระยะเวลายาวนานน้ัน ทำใหชวง
ชีวิตหนึ่งที่ควรมีอิสระหายไป ประสบการณที่ไดรับจากครอบครัว เพื่อน พี่ นอง ญาติ สิ่งที่เคยคิดจะทำก็ไมไดทำ ที่เคยมี
รวมกันก็ไมมี เปนการสูญเสียโอกาสท่ีแสนมีคาในชีวิตไป อยางยากที่จะเรียกคืนมาได เพียงแคการเลือกและตัดสนิ ใจเดินผิด
ทางไปเพียงชั่ววูบแตกลับกลายเปนการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญของชีวิต และจะเปนครั้งที่ไมสามารถเปลี่ยนแปลงอดีตได
เพราะอดีตยังคงตามติด จนผูสรางสรรคแมปจจุบันจะไดรับการปลอยตัวใหไดรับอิสรภาพแลว ทางกายถูกปลดปลอย แต
ภายในจติ ใจกลบั ยังคงถูกกกั ขงั ยดึ ตดิ อยกู ับอดตี ท่แี สนเจบ็ ปวด หนทางเดียวท่จี ะหลดุ พนจากปมปญ หาชวี ิตน้ใี หเบาบางลงได
คงมีเพยี งการไดทำศลิ ปะที่ตนรักและเสมือนเปนการพสิ จู นวา ตนเองยงั มคี ณุ คา และยังตอ งการการยอมรบั จากสงั คม

การสรางสรรคผลงาน

ผลงานช้ินท่ี 1 เปนผลงานประตมิ ากรรมสื่อผสม การจัดวางแบบพ้นื ระนาบ มลี กั ษณะเปน โครงสราง รูปทรงมนุษย
ที่หอหุมดวยผาโบตั๋น และมีตะปูปกอยูทั่วรูปทรงรางกาย การสรางสรรคผลงานไดแรงบรรดาลใจมาจากเรื่องราวของผู
สรา งสรรคเ อง ทไ่ี ดเ คยถูกคุมขงั อยูภายในเรือนจำ โดยตัวชนิ้ งานมีรปู แบบของทานอนขด ใบหนาทวี่ างเปลา แสดงถงึ ความเปน
คนที่ไรต วั ตนในสงั คม และถูกตอกย้ำดวยตะปูทม่ี ีลกั ษณะแหลมคมบง บอกใหเ ห็นถึงความเจ็บปวด จากสภาพสังคมที่มองขาม
การมตี ัวตนของคนที่เคยจะทำผิด และถูกคมุ ขงั ในเรอื นจำ

ชือ่ ศลิ ปน นายมนูญ วฒุ ิพงษ
ชื่อผลงาน สภาวะความเจ็บปวดจากปมปญหาในอดีต
เทคนคิ ประติมากรรมส่อื ผสม
ขนาด 180x45x60 cm.
ท่ีมา: ผูส รา งสรรค ปท สี่ รา งสรรค พ.ศ. 2565

145

ผลงานชนิ้ ท่ี 2 เปนผลงานประตมิ ากรรมส่ือผสม เปน การจดั วางแบบติดตัง้ กับพ้ืนมีลกั ษณะเปน โครงสรางมนุษย มี
ผาโบต๋นั หอ หมุ รางกายดานนอก ดานในโครงสรางเปนโฟมและเหลก็ ซึง่ ชนิ้ นีม้ ีลกั ษณะเปนทายืนลำตัวลอยจากสวนขา โดยใช
โซเปนตัวรบั น้ำหนกั จากดานบน สวนขามีโซตรวนคลองพันธนาการไว ชิ้นนี้จะสื่อถึงการถูกจองจำทางความคิดจากครั้งอดตี
แมเหตุการณจ ากลวงเลยผาน แตภ าพจำจากอดตี ยังคงไมลบเลือน ทำใหปจจบุ นั คอ ยๆเลือนลางจางหายไปจากความเปนจริง
เหมอื นมชี พี จรแตก ลบั ไรต วั ตน และมีโซตรวนทเ่ี ปนภาพตวั แทนจากอดตี มาเปนวสั ดนุ ำเรือ่ งราวผลงานในชนิ้ น้ี

ชอื่ ศิลปน นายมนูญ วุฒิพงษ
ชอ่ื ผลงาน ลมหายใจท่ีไรตัวตน
เทคนคิ ประตมิ ากรรมส่อื ผสม
ขนาด 50x180x50 cm.
ท่มี า: ผสู รางสรรค ปที่สรา งสรรค พ.ศ. 2565

146

สรุปการสรา งสรรคผ ลงานชดุ “สภาวะความกดดนั จากปมปญ หาชวี ิต”
จากการสรา งสรรคผลงานชดุ “สภาวะความกดดนั จากปมปญ หาชีวิต” ไดค น หาแนวคิดที่ไดรบั มาจากประสบการณ

ตรงที่เคยเกดิ ขน้ึ กับตนเอง คือการถูกตัดสนิ ใหจ ำคุกเปนระยะเวลานาน 5 ป 6 เดือน จากการที่ตองสญู เสยี อิสรภาพในคุกน้ัน
ทำใหต วั ผูสรางสรรคต อ งประสบกับชะตากรรมในหลายรูปแบบท่ีกดดัน โหดรายตอความรูส ึกหลายดาน จากท่ีกลาวมาน้ันผ
ทำใหผ สู รางสรรคตอ งการแสดงออกถึงภาวะกดดัน บีบคน้ั โดยเลือกใชเ ทคนิคทางประตมิ ากรรมลอยตัว รวมกับการวิเคราห
แนวคิดในการสรางสรรคผานกรอบทฤษฎีทางศิลปะ และศิลปนกรณีศึกษา โดยการสรางสรรครูปทรงมนุษยแทนตัวผู
สรางสรรคเอง อันเปนสัญลักษณที่แสดงออกถึงการไรอิสระภาพ จากการถูกจองจำ ดวยโซตรวน การใชตะปูมาแทน
สัญลักษณของปญหาที่ถาโถมเขามาในชีวิต เปรียบไดกับ การถูกคุกคามดวยความคิด แววตา ของผูคนที่เหยียดหยาม ดูถูก
กดดนั ใหผูสรางสรรคตอ งพยายามพฒั นาตนเองใหห ลุดพนจากปมปญหาในชีวิต การสรางสรรคผลงานในคร้ังนจ้ี ึงเปนการสราง
สัญลักษณเพื่อบอกเลาดวยเทคนิคที่มีการพัฒนา แกปญหาในทุกกระบวนการเพื่อใหผลงานมีคุณภาพและตรงตามแนวคิด
สรางสรรคใ หม ากท่ีสดุ

เอกสารอางอิง
ทฤษฎีจติ วเิ คราะห. [ออนไลน] . สบื คนเม่ือ 19 สงิ หาคม 2564

จาก https://www.kroobannok.com/99
ลั ท ธิ ด า ด า ห ยุ ด ดั ด จ ริ ต โ ล ก ส ว ย แ ล ว เ ผ ชิ ญ ค ว า ม จ ริ ง บ น โ ล ก ท่ี ไ ม ส ม บู ร ณ แ บ บ .

[ออนไลน] . สืบคนเม่ือ 27 ตุลาคม 2564. จ า ก https://moontonerecords.weebly.com/articles/dada
Cage,1986, Sculpture. [ออนไลน] . สบื คน เมื่อ 10 กันยายน 2564

จาก https://www.szepmuveszeti.hu/rights_and_reproducti/th.m.wikipedia.org
หองขังนกั โทษไทย. [ออนไลน] . สบื คนเม่ือ 27 ตุลาคม 2564

จาก https://:khaosod.co.th
สภาพการใชช ีวติ และสงิ่ แวดลอ มภายในเรอื นจำ. [ออนไลน] . สืบคนเม่ือ 27 ตุลาคม 2564

จาก https://Matichon.co.th,khaosod.co.th

147

รูปลกั ษณแ์ หง่ สายสัมพันธร์ ักจากแมว
THE APPEARANCE OF RELATIONSHIP FROM CAT

ภาพตะวัน คยุ่ กล่ิน* (ศป.ม.ทัศนศลิ ป)์ 1
2 อาจารย์ทีป่ รึกษาหลัก ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เมตตา สวุ รรณศร

3 อาจารยท์ ป่ี รกึ ษารว่ ม รองศาสตราจารย์ศุภชัย สุกขีโชติ
นักศกึ ษาหลักสตู รศลิ ปมหาบณั ฑติ สาขาวิชาทัศนศิลป์ บัณฑติ ศึกษา สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป์

E-mail [email protected]

บทคดั ย่อ
ความรกั ความอบอนุ่ ในคอบครวั เปน็ ส่งิ สาคัญที่ทาให้มนุษยด์ ารงชวี ิตไดอ้ ย่างมีความสุข หากปราศจากความรกั ความ

อบอุ่น มนุษย์ย่อมแสวงหาส่ิงต่างๆ มาทดแทนความรู้สึกที่ขาดหายไป เช่นเดียวกับผู้สร้างสรรคท์ ี่ไดพ้ บกับสตั วเ์ ล้ียงท่ีน่ารักคือ
แมว ทาให้ได้รู้จักกับความรัก ความอบอุ่น เปรียบเสมือนแมวเป็นสมาชิกในครอบครัวคนหน่ึง และทาให้ผู้สร้างสรรค์ได้มี
ความสขุ อกี ครงั้

ผลการศึกษาพบวา่ ความรัก ความอบอุ่น ความผกู พนั ทีเ่ กิดข้ึนระหว่างคนกับสัตวเ์ ลยี้ ง เช่น แมวทมี่ ขี นนุ่มนวลอบอุ่น นา่ รกั
ขอี้ อ้ น ที่สามารถบาบัดความเครยี ดของมนุษยไ์ ด้อยา่ งมาก การได้เล่นกบั แมวด้วยความรกั ได้สัมผัส กอด ลูบไล้ขนของแมว หรือการ
มองเห็นทา่ ทาง ลักษณะนิสัย ความนา่ รักสดใสของแมวนั้น ช่วยบรรเทาความทุกข์ในจิตใจลงได้ สอดคล้องกบั ทฤษฎีสตั ว์เลี้ยงบาบัด
ทฤษฎีการบาบดั ด้วยการกอด ทชี่ ว่ ยคลายความเครียด คลายเหงา ความเหน่ือยล้า โดยการใชเ้ ทคนิคประติมากรรมนุ่มโดยการใช้วัสดุ
ผา้ ขนสัตว์ ร่วมกับเส้นใยสังเคราะห์พบว่า ทาให้รูปทรงเกิดความรู้สึกอ่อนนุ่ม ฟูตัว คล้ายแมว การสร้างรูปทรงโดยใช้แนวคิดทฤษฎี
สัญลักษณ์นิยมน้ันทาให้พบวา่ เกิดรูปทรงท่หี ลดุ พ้นจากความเป็นจริงเกิดเป็นสญั ลักษณ์แทนความหมายที่ส่ือถึงความรู้สึกของแมวที่
นา่ รัก น่ากอดและเปน็ ท่ีรกั จากที่กล่าวมานั้นแมวจึงเปรียบเสมือนบุคคลในครอบครัวท่จี ะไม่มีวนั ท้ิงกัน และจะอยู่ในใจผู้สร้างสรรค์
ตลอดไป

คาสาคัญ: รูปลักษณ์, ความนุ่มนวล, อบอ่นุ , สายสมั พนั ธร์ ัก, แมว

Abstrac
Love, warmth, and warmth are important for humans to live happily. Some may have been given

a human to replace lost feelings, just like the creator who met a cat. He has come to know the term love
bond of family

The study found that love, warmth, and the bond between people and animals such as cats with
soft fur, warm and cute. It can greatly treat human stress. playing with cats with love, touching, hugging and
petting their fur or seeing beautiful gestures Get to know the cuteness of that cat's bright personality. help
alleviate the suffering in the mind. This is in line with the theory of hug therapy Hugging helps relieve stress,
fatigue, and loneliness. By using soft sculpture techniques using wool material. together with synthetic
fibers. found that it makes the shape feel soft, fluffy, like a cat. constructing shapes using symbolism theory.
It was found that the shape that came out of reality was born. the symbol represents the sentiments of a
cute cat. cuddly and loving with that said, cats are like family members who will never leave each other
and will be in the hearts of creators forever.

148

Keywords: appearance, softness, warmth, love, cat

บทนา
การสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ชุดนี้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงความรัก ความผูกพันท่ีผู้สร้างสรรค์ได้รับจากแมว ซ่ึง

แมวเป็นสัตว์เล้ียงที่มคี วามน่ารัก น่าเอ็นดู ที่ผู้สร้างสรรค์ได้พบเห็นผ่านรูปลักษณ์ ลักษะของแมวที่นุ่มนวล อ่อนโยน นิสัยท่ีข้ี
อ้อนประจบประแจงของแมว สร้างความรู้สึกอยากสัมผัส ลูบไล้ และโอบกอด ดังน้ันเพ่ือถ่ายทอดความรู้สึก ที่ได้รับจากการ
เล้ียงแมว ผู้สร้างสรรค์จึงต้องการสร้างสรรค์ผลงานชุดนี้ข้ึน อีกท้ังยังหวังเพื่อกระตุ้นเตือนให้สังคมเห็นถึงสายสัมพันธ์รักที่
มนุษยม์ ตี ่อสตั ว์เลี้ยงเช่นแมว ซึง่ เปรยี บเสมือนเพอ่ื นทค่ี อยเยียวยาความเหงา ความเดยี วดาย และความร้สู ึกจากการกอดสัมผสั
รักแมวน้ัน สามารถชว่ ยผ่อนคลายปญั หาในชวี ติ ใหเ้ บาบางลงได้บา้ ง ไม่มากกน็ อ้ ย

ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา
สภาพสงั คมในปัจจุบัน มนุษย์ต้องดิ้นรนเอาตัวรอดจากสภาวะวกิ ฤตตา่ ง ไม่ว่าจะเป็นเศษฐกิจ การเมอื ง โรคระบาด

ค่านยิ ม และวัฒนธรรมท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว เป็นสาเหตทุ ี่ทาให้เกิดความเครียด และส่งผลเสียถึงสถาบันครอบครัว ใน
ปัจจุบันปัญหาครอบครัว ท้ังการใช้ความรุนแรง การขาดการรับผิดชอบต่อครอบครัว การการหย่าร้างมีเพ่ิมสูงข้ึน ซ่ึงผู้
สร้างสรรค์เอง ก็เป็นผู้ที่ประสบกับปัญหาการหย่าร้างของบิดามารดาในขณะที่ยังเยาว์วัย ทาให้ชีวิตในวัยเด็กขาดความรัก
ความอบอุ่นท่ีเด็กคนนึงควรจะได้รับ จนมีความเศร้า ความเหงาและการขาดความรักเกิดข้ึนในจิตใจ แต่มีสิ่งหน่ึงที่ช่วยให้ผู้
สรา้ งสรรคผ์ ่านช่วงเวลาทีย่ ากลาบากนั้นมาไดค้ อื การเลี้ยงแมว แมวเปน็ สตั ว์เล้ยี งท่ีมีความน่ารัก น่าเอ็นดู มนี ิสัยขี้เล่น ข้อี อ้ นใน
บางครั้งชอบเข้ามาคลอเคลียกับมนุษย์ แมวเป็นผู้ให้ความรักที่ไม่มีเง่ือนไขแก่เจ้าของ เป็น "เพื่อนส่ีขา" ที่สร้างความอบอุ่น
ความสุข และเสียงหวั เราะได้ตลอดเวลาได้อยูด่ ้วยกัน เป็นเหมอื นกาลังใจเยยี วยาความเหงาเดียวดาย จนเกิดเปน็ สายสัมพันธ์
แห่งรัก

ความรักและความผูกพันที่ผู้สร้างสรรค์มีต่อสัตว์เล้ียงคือแมว ได้ทดแทนความรู้สึกรักและอบอุ่นท่ีขาดหายไปในวัย
เด็กและหล่อหลอมเป็นตัวตนในปัจจุบัน ผู้สร้างสรรค์จึงต้องการถ่ายทอดความรู้สึกรัก ความอบอุ่น ความประทับใจที่ผู้
สรา้ งสรรคไ์ ด้รับจากการเล้ียงแมวสสู่ งั คม

วัตถปุ ระสงคข์ องการสรา้ งสรรค์
1. เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ในหัวข้อ “รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว” เพ่ือแสดงให้เห็นถึงความรัก

ความผูกพันระหวา่ งมนุษย์และแมว
2. เพ่ือสรา้ งสรรคผ์ ลงานในเทคนิคงานประตมิ ากรรมนุ่ม ด้วยวสั ดุ ที่น่มุ นวล
3. เพอื่ แสดงให้เห็นถึงคณุ ค่าของความรัก ความผูกพัน ความอบอนุ่ ทไี่ ดร้ บั จากการเลย้ี งแมว

ข้ันตอนในการสรา้ งสรรค์
การสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ในหัวข้อ “รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว” ประกอบด้วยการศึกษาค้นคว้า

ข้อมูลทางวิชาการ ท้ังจากตาราและศึกษาดูผลงานท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องที่มีเน้ือหาด้านความรัก ความอบอุ่น ความผูกพันใน
ครอบครัว ระหวา่ งมนุษย์กับสัตว์เลี้ยง การกอดสัมผัส การที่มนษุ ย์มองว่าแมวเปรียบเสมือนสมาชกิ บคุ คลหน่งึ ในครอบครวั ท่ี
ทดแทนความรักความอบอุ่นในครอบครัวที่ขาดหายไป รวบรวมและสรุปเป็นภาพรวมของข้อมูลพื้นฐาน การศึกษาหนังสือ

149

ตารา อนิ เตอรเ์ น็ต และการศึกษาดูงานจากสถานทจ่ี ริง รวมถึงการศึกษาจากผลงานและแนวคดิ จากศิลปินท่ีสรา้ งสรรคผ์ ลงาน
ลักษณะดังกล่าว ข้ันตอนของการศึกษาและการสร้างสรรค์จะเร่ิมข้ึนจากการศึกษาเพื่อการนาเสนอผลงานทัศนศิลป์ชุด
“รปู ลกั ษณแ์ หง่ สายสัมพันธ์รักจากแมว”

วิธีการศกึ ษา
ศึกษาเอกสารทางวชิ าการ แนวคดิ กรอบทฤษฎที ี่เกย่ี วขอ้ ง ได้แก่
- จติ วิทยาความรัก
- การบาบัดด้วยการกอด
- ขอ้ มูลทางวิชาการในเร่อื ง สตั วเ์ ล้ียงบาบัด
- ข้อมลู อิทธพิ ลจากรูปลกั ษณ์ และพฤติกรรมของแมว
- แนวคิดประติมากรรมนมุ่
- ทฤษฎสี ญั ลกั ษณ์นยิ ม

ศกึ ษาข้อมูลศิลปินที่ได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ชุด “รูปลักษณแ์ ห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว”
ท้ังจากศิลปินไทยประ กอบด้วย สุกัญญา เม าราษี , และศิลปินต่า งประเทศ ได้แก่ Ernesto Neto Studio,
Roosmeerman&KunstLAB, Selynn, เคนจิ ยาโนเบะ

ศกึ ษาเทคนิคในการสร้างสรรค์และการติดตั้งผลงาน
- ศึกษาเรื่องการตัดเย็บผ้า การสร้างสรรค์ประติมากรรมนุม่ ดว้ ยวัสดทุ น่ี ุม่ นวล
- ศกึ ษาเทคนิคการปกั (Needle Felting) การปักขนสตั ว์เทียม

ศึกษาและทดลองการตดิ ตงั้ ดว้ ยเทคนคิ วิธกี าร ดงั ต่อไปน้ี
- ติดต้ังแบบห้อยแขวน
- ตดิ ตัง้ กบั พนื้ ระนาบ
- ติดตั้งบนฐาน
- ตดิ ตัง้ กับผนงั
- ศกึ ษารูปแบบและวิธกี ารนาเสนอ

ทฤษฎแี ละกรอบแนวความคดิ ในการสรา้ งสรรค์

ปั ญ ห า ส ภ า พ จิ ต ใ จ ท่ี ต้ อ ง ก า ร - ทฤษฎจี ติ วทิ ยาความรกั ผลงานประติมากรรมนุ่ม ชุด
ความรักความอบอุ่น การหาส่ิง - ทฤษฎสี ตั ว์เลย้ี งบาบดั “รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รัก
ใ ด ๆ ม า ท ด แ ท น เ ติ ม เ ต็ ม - ทฤษฎีการบาบดั ดว้ ยการกอด
ความรสู้ กึ ทว่ี า่ งเปล่า จนไดพ้ บกับ - ข้อมูลอิทธิพลจากรูปลักษณ์ และ จากแมว”
พฤติกรรมของแมว
แมว ทีเ่ ยียวยาจติ ใจผู้สรา้ งสรรค์ - เทคนคิ ประติมากรรมนุม่

- ทฤษฎีสญั ลักษณน์ ิยม

150

แสดงความรกั ความผกู พนั ของ
มนุษยแ์ ละแมวท่สี ามารถเตมิ เตม็
ความรกั ความอบอุ่นท่ีขาดหายไป

ในชวี ติ

ทมี่ า: ผสู้ ร้างสรรค์

จติ วทิ ยาความรกั (psychology of love)
ความรักเป็นสิ่งท่ีมนุษย์ทุกคนต้องการ เริ่มตั้งแต่เกิดมา มีช่วงชีวิต วัยเด็ก ความผูกพันกับพ่อแม่ ผู้ใกล้ชิด ซ่ึงใน

อารมณ์นั้นเองยังคงฝังแน่นติดตรึงใจเราเสมอมา โดยประสบการณ์ และความรู้สึกจากวัยเด็ก (ลัญฉน์ศักดิ์ อรรมยากรม,
2565)” สอดคล้องกับแนวคิดในเรื่องความรัก อันเป็นแรงขับเคล่ือนของทุกรูปแบบความสัมพันธ์ให้เดินหน้าไปในทิศทาง
เดียวกัน (บญุ โสภา, 2565)

จากท่ีกล่าวมานั้นยังมีนักจิตวิทยา (Stemberg, 1986) ซึ่งได้เสนอทฤษฎีสามเหลี่ยมของความรัก ซึ่งอธิบายถึง
ธรรมชาติและรูปแบบของความรักว่าประกอบด้วย 3 องค์ประกอบสาคัญ คือ ความใกล้ชิด (Intimacy) ความเสน่หา
(Passion) และความผกู มัด (Commitment) ซึง่ องค์ประกอบมคี วามเกีย่ วขอ้ งเช่ือมโยงซึ่งกนั และกัน

ภาพท่ี 1 สามเหลยี่ มของความรกั
ที่มา: สามเหลยี่ มของความรัก. [ออนไลน]์ เข้าถึงขอ้ มลู เมอ่ื วันที่ 1 เมษายน 2565

เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/618576

กรอบทฤษฎสี ัตวเ์ ลีย้ งบาบัด (pet therapy)
สถานบันสุขภาพแห่งชาติสหรัฐ ทาการศกึ ษาเร่ือง The Benefit of Pet and Animal-Assisted Therapy to the

Health of Older Individuals โดยการศกึ ษามวี ัตถปุ ระสงค์เพอ่ื วดั ประสิทธภิ าพการรกั ษาโรคซึมเศรา้ และจติ เภท ด้วยการใช้
สตั วเ์ ลี้ยงบาบดั เปน็ ท่ีทราบกันดวี ่า สัตว์เล้ียง นั้นช่วยให้ภาวะสุขภาพจิตดีขึ้น อาทเิ ช่น บาบัดความเหงา ความโดดเดี่ยว การ
แยกตัวจากสังคม (Chemiack, 2557)

ผลการศึกษา pets therapy ได้ทาการศึกษากลุ่มตัวอย่างจานวน 144 ราย ท่ีมีปัญหาทางด้านอารมณ์ในผู้สูงอายุ
โดยแบ่งกลุ่มตวั อย่างเพื่อควบคุม ประเมินผลโดยใช้แบบประเมินทางจิตใจ พบว่า ในกล่มุ ที่ได้รับการบาบัดด้วยสัตวเ์ ลี้ยงมีค่า
คะแนนกลุ่มอาหารทางจติ ใจ (psychological symptoms) ดีกว่ากลมุ่ ท่ีไมไ่ ด้รับการบาบดั อยา่ งชัดเจน มีผูม้ ีป่วยโรคซึมเศร้า

151

กว่า 28 รายทีไ่ ด้รับการประเมนิ จากแบบประเมินภาวะซมึ เศร้า มอี าการของโรคซึมเศรา้ ลดลงอย่างชดั เจน ขณะท่กี ารบาบดั ใน
ผู้ปว่ ยโรคจติ เภท กวา่ 20 ราย ท่ีได้รับการบาบดั ด้วยสัตว์เล้ยี งจากสนุ ัขและแมวในระยะเวลา 3 ชม.ต่อสปั ดาห์

จากการศึกษาพบว่าสัตว์เล้ียงมีส่งผลต่อสภาพอารมณ์และจิตใจของมนุษย์ ดังนั้นการจะพัฒนาผลงานให้ตรงตาม
แนวคิดน้ันจาเป็นต้องศึกษาแนวคิด สัตว์เล้ียงบาบัดเพื่อช่วยให้เข้าใจว่าการเลี้ยงแมวส่งผลต่อสภาพจิตใจของผู้เลี้ยงอย่างไร
และนามาขอ้ มลู มาใชใ้ นการสร้างสรรคผ์ ลงาน
การบาบดั ด้วยการกอด (Hug Therapy)

Dolores Krieger R.N. Ph.D.ศาสตราจารย์ทางการพยาบาลท่ี New York University และเป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขา
การบาบัดดว้ ยการสัมผัส กล่าววา่ บุคคลทไ่ี ดร้ บั การกอด หรอื กอดผอู้ ืน่ จะทาให้เกดิ การกระตุ้นการทางานของ Hemoglobin
ทาให้การลาเลียงของ oxygen ไปเล้ียงเน้ือเย่ือต่างๆ ทางานได้อย่างท่ัวถึง ทาให้บุคคลเกิดความรู้สึกสดชื่น มีชีวิตชีวามี
งานวิจัยเก่ียวกับการใช้วิธีกอดในผู้ป่วยสูงอายุ70 ปีข้ึนไปพบว่า เม่ือใช้การกอดบาบัด ทาให้ผู้สูงอายุ มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น มี
ความกระตอื รือร้น มีความตอ้ งการทอ่ี ยากจะมีชีวิตอยตู่ ่อไป และมีความสามารถในการแกไ้ ขปัญหาตา่ งๆมากขึ้น นอกจากนั้น
การสัมผัสยังชว่ ยบรรเทาความเจ็บปวด ซึมเศรา้ และความวิตกกังวล ที่ทาใหผ้ ู้ป่วยมีความต้ังใจท่ีจะมีชีวิตอยู่ต่อไป การสัมผัส
ยงั ชว่ ยใหเ้ ดก็ คลอดก่อนกาหนด ได้รับการชดเชยเหมอื นอยใู่ นต้อู บ ทาใหเ้ ด็กเติบโต มที กั ษะในการดาเนินชวี ติ

จากการศกึ ษาผลดีของการกอดยังทาใหเ้ กิดความรู้สึกดี ลดความตงึ เครยี ด ตอ่ สู้อาการนอนไมห่ ลับ คลายความรสู้ กึ
เหงา เดียวดาย จากข้อมูลทศี่ ึกษาแสดงให้เห็นความการกอดสมั ผัสมคี วามสาคัญต่อการเยียวยาสภาพจิตใจของมนษุ ย์ได้อย่าง
มาก ดงั น้ันผู้สร้างสรรค์จงึ นาแนวคดิ การกอดสมั ผัส การได้รบั ความอบอุ่น และนุ่มนวลแห่งการกอดแมวมาเป็นแรงบันดาลใจ
ในการสร้างสรรคผ์ ลงาน

ขอ้ มูลอทิ ธิพลจากรปู ลกั ษณ์ และพฤติกรรมของแมว
ข้อมูลจากหนังสือ แมว (cat) เหมพันธ์ เหมวรนันท์ (ม.ป.ป., น. 24) แมวเป็นสัตว์เลี้ยงเก่าแก่ไม่แพ้พวกสุนัข เป็น

สัตว์เลี้ยงโปรดปรานของคนทุกขั้น เช่นประธานาธิบดี Theodore Roosevelt เป็นเจ้าของแมวชื่อ Slippers และมักจะพา
Slippers ตัวโปรดไปยังทาเนยี บขาว เพื่อร่วมรับประทานอาหารเยน็ ด้วยเสมอ ประธานาธบิ ดี Winton Churchill มแี มวตัวผู้
ชอื่ Ginger tomมกั จะพาแมวตวั โปรดนี้ไปประชมุ ทส่ี ภาของประเทศองั กฤษ

ภาพที่ 2 กายวิภาคแมว
ทีม่ า: เหมพันธ์ เหมวรนันท์ (ม.ป.ป., น. 19)

แมวเป็นสัตวท์ ม่ี ีการเคล่อื นไหวตัวโดยน้าหนักทกุ ส่วนอยบู่ รเิ วณอุ้งฝา่ เท้า เพอ่ื ใหก้ ารทรงตัวเกดิ ความสมดลุ ไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ ข้อเท้า ขา นอกจากน้ีบริเวณศีรษะก็สามารถหมุนพลิกไปด้านหลังได้ดีอีกด้วย องค์ประกอบโครงสร้างของ
กระดูกสันหลังจะเชื่อมโยงสู่ส่วนต่างๆ ของกล้ามเน้ือ กลายเป็นแหล่งกาลังสะสมไว้จึงนับว่าแมวมีความสามารถกระโดดได้
อยา่ งวิเศษสุดในบรรดาสตั ว์สเี่ ทา้ ดว้ ยกัน ช่วงคอและไหลข่ องแมวจะมีกล้ามเนื้อชว่ ยใหม้ นั ลา่ จับเหยอ่ื ไดอ้ ยา่ งแม่นยา

152

แมวเป็นสตั ว์เลีย้ งทมี่ ีความเปน็ นกั ล่าสงู มาก จากการศึกษาพบวา่ แมวในบ้านสามารถล่าสัตวข์ นาดเลก็ ภายในบ้านได้
ทั้งแมลง สตั วเ์ ลอ่ื ยคลานที่ขนาดเลก็ กว่าตวั แมว พฤติกรรมการล่าของแมวมกั จะนาเหยื่อจับได้มาอวดมนุษย์ โดยจะคาบมาเลน่
บริเวณใกล้ๆกับเจา้ ของ ซงึ่ เป็นพฤติกรรมการอวดความสามารถของแมว นอกจากการเป็นนักลา่ แลว้ แมวยงั มนี ิสัยข้อี อ้ น ชอบ
มาคลอเคลียกบั มนุษย์ โดยลักษณะของการถูไถกับตวั เจา้ ของเพื่อฝากกล่นิ ประจากล่มุ ไวก้ ับร่างกายของเจ้าของ เสอ้ื ผา้ เคร่อื ง
นอนภายในบ้าน ซึ่งปกตแิ ล้วแมวจะมี สญั ชาตญาณการระวงั ตัวค่อนข้างสูงมาก จึงจะไมเ่ ปิดเผยจุดที่อ่อนแอเชน่ ช่วงล่าง หรือ
ท้องแมว แต่หากแมวและเจ้าของมีความสัมพันธ์ท่ีดี สนิทสนม ไว้ใจ จะพบว่าแมว สามารถนอนหงาย หยอกล้อกับเจ้าของ
หรืออ้อนให้เกาพงุ หรอื หน้าทอ้ งในบางคร้งั

จากการศึกษาข้อมูลอิทธิพลจากรูปลักษณ์ และพฤติกรรมของแมวน้ัน ผู้สร้างสรรค์ได้นาลักษณะทางกายภาพ
พฤติกรรม และความน่ารักของแมว มาวเิ คราะหเ์ พ่ือเชือ่ มโดยไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมนมุ่ ท่แี สดงความรู้สึกถึง
สายสมั พันธร์ กั จากแมวถงึ มนษุ ย์

ภาพที่ 3 ภาพแมวของผสู้ รา้ งสรรค์ขณะนอนในลักษณะกาลงั หยอกล้อกบั เจา้ ของ
ที่มา: ผู้สร้างสรรค์

ประตมิ ากรรมนมุ่ (Soft sculpture)
ประติมากรรมน่มุ หมายถึง ผลงานประตมิ ากรรมนุ่มในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960เปน็ การสารวจของศิลปีน ในเรื่องการใช้วัสดุซ่ึง

ยังไม่เป็นท่ียอมรับในงานประติมากรรมโดยใช้วัสดุจาพวกผ้าขนสัตว์ เชือก ยาง กระดาย หนัง ไวนิล พลาสติก และอื่นๆ เพ่ือสร้างเป็น
รูปทรงตา่ งๆ ซ่ึงแสดงให้เหน็ ถึงวิธีการอันหลากหลาย และความกล้าหาญของศิลปินที่ใช้วสั ดตุ ่างๆ เหลา่ นนั้ ในการสร้างงานประติมากรรม
(กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน, 2541)

จากการศึกษาเทคนิคประตมิ ากรรมน่มุ พบวา่ สามารถถ่ายทอดความนมุ่ นวล ความอบอนุ่ ซง่ึ ตรงตามแนวคิดในการ
สร้างสรรคผ์ ลงานและสามารถใหผ้ ู้ชมเข้ามามีปฏสิ มั พันธก์ บั ผลงานได้

ภาพท่ี 4 Small Mollington Knot Cushion 1973
ทมี่ า: Ann Sutton . [ออนไลน์] เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันท่ี 1 เมษายน 2565

153

เขา้ ถึงได้จาก : https://artuk.org/discover/art-terms/soft-sculpture
ทฤษฎีสญั ลักษณน์ ยิ มหลักนยิ ม (Symbolism)

เปน็ ขบวนการทางศิลปะในช่วงปลายศตวรรษที่ 19ทีม่ ีตน้ กาเนดิ จากฝร่ังเศสรสั เซยี และเบลเยยี มในกวีนิพนธแ์ ละศลิ ปะอื่นๆ
ท่พี ยายามจะนาเสนอความจริงอย่างแท้จริงด้วยสัญลักษณ์ผ่านภาษาและภาพเชิงเปรียบเทียบ โดยส่วนใหญ่เป็นปฏิกิริยาต่อต้านลัทธิ
นยิ มนยิ มและความ สมจริงคาว่า "symbolist" ถูกใชค้ ร้งั แรกโดยนักวจิ ารณ์Jean Moréas ผคู้ ดิ ค้นคาศัพทเ์ พื่อแยกแยะ Symbolists ออก
จาก Decadents ทเี่ กยี่ วข้องของวรรณคดีและศิลปะ (y molsymbolic, 2011)

ภาพที่ 5 April Maurice Denis
ท่มี า: : maurice-denis. [ออนไลน]์ เข้าถงึ ข้อมลู เมือ่ วนั ท่ี 1 เมษายน 2565
เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.wikiart.org/en/maurice-denis/april-1892
ในเดือนเมษายนของ Maurice Denis ภมู ิทศั นแ์ ละรูปรา่ งต่างๆ จะถูกลดทอนให้เหลือรูปทรงที่เรียบงา่ ย สแี ละรูปทรงแสดง
ในระดับระนาบ เน้นย้าพน้ื ผิวของระนาบภาพเพ่ิมเติมด้วยการวาดภาพเนินเขาท่ีอยหู่ ่างไกลออกไปด้วยโทนสแี ดง แทนทจ่ี ะเปน็ สนี า้ เงนิ
ทซี่ ีดจางเพ่ือแสดงถึงผลกระทบของทัศนียภาพในผลงาน (maurice-denis, 1982) จากการศึกษาพบว่าการสร้างสัญลักษณ์อันเกิด
จากการแปรสภาพความจรงิ โดยใช้จินตนาการเปน็ การสร้างและแปรสภาพรปู ทรงใหเ้ กดิ เป็นสง่ิ แทน เพื่อสอ่ื ความหมาย ผู้สรา้ งสรรคจ์ งึ
นาแนวคิดตามทฤษฎีสัญลักษณน์ ยิ มมาสร้างสรรค์ผลงานโดยการตัดทง้ิ ซึง่ ความเปน็ จรงิ คงไวเ้ พยี งอารมณค์ วามรสู้ กึ ทไี่ ดร้ บั แรงบนั ดาล
ใจจากแมวโดยใช้จนิ ตนาการให้เกิดเปน็ รปู ทรงทต่ี รงตามแนวคิดมากที่สดุ
ศึกษาผลงานศลิ ปนิ ท่ีเกย่ี วข้อง
ผลงานจากศิลปินที่ให้แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ ทั้งทางแนวความคิด เนื้อหาสาระทางศิลปะประกอบด้วย
ศิลปิน Selynn (เชรีน) , Ernesto Neto (เออเนสโต้ เนสโต้), Studio Roos Meerman & KunstLAB , สุกัญญา เมาราษี ,
เคนจิ ยาโนเบะ
Selynn (เชรนี )
ผลงานของศลิ ปินท่ีนาความใฝฝ่ นั ของตนเองทต่ี อ้ งการใหแ้ มวสวมผ้าโพกหวั ซงึ่ ปกตแิ ลว้ แมวเปน็ สัตวท์ ีไ่ มช่ อบการใส่
หมวกหรือผา้ โพกหัว จะต้องการแต่งตัวแมวอย่างไรก็ตาม แมวมักจะปฏิเสธการโพกหัวเนื่องจากการที่มีอะไรบางอย่างมาติด
อยู่ท่ีหวั จะทาให้แมวไมพ่ ร้อมท่ีจะโจมตี หรือเอาตัวรอดได้อย่างรวดเร็ว ศิลปินใช้จุดนี้ สร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะ ภาพวาด
แมวท่ีกาลังสวมผ้าโพกหัว babushka (บาบูช'คะ) มีลวดลายดอกไม้ และผลไม้ และพิซซ่าทาให้ผลงานดูน่ารักน่าเอ็นดูตาม
แบบของศิลปินเองผลงานยงั ดสู ร้างเป็นไฟล์ดิจิทัล ขนาดใหญ่อีกดว้ ย ซ่ึงผู้สร้างสรรค์เองน้ันก็รกั แมวและเลือกใช้แมวเป็นแรง
บันดาลใจในการนาความน่ารัก ข้อี ้อน อบอุ่นมานาเสนอสอดคลอ้ งกบั ศลิ ปินกรณีศกึ ษา

154

ภาพที่ 6 Cats Are Wrapped in Colorful Babushkas
ท่มี า: : Cats Are Wrapped in Colorful Babushkas. [ออนไลน์] เข้าถึงขอ้ มูลเม่อื วันท่ี 2 เมษายน 2565

เข้าถงึ ได้จาก : https://www.brwnpaperbag.com/2021/05/10/selynn-cat-paintings/

Ernesto Neto (เออเนสโต้ เนสโต)้
เออเนสโต้ เนสโต้ เป็นศิลปินในแนวความคิดที่งานของเขา สามารถให้ผู้ชมได้เข้าสัมผัส รูป กล่ินและการเข้าสัมผัส

ผลงานศิลปะของเนสโต้ สร้างประสบการณ์เร่ืองของประสาทสัมผัส ผลงานประติมากรรมนุ่มของเขามักสร้างเป็น
ประติมากรรมนุ่มท่ีให้ผู้คนมีปฏิสัมพันธ์ แนวความคิดของเขาคือเพื่อนาพ้ืนท่ีทางธรรมชาติกลับเข้าไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการ
ดาเนินชีวติ ของมนุษย์ นาเสนอดว้ ยรูปทรงทเี่ รยี บง่าย ขนาดของผลงานในบางช้ินงานมีขนาดใหญ่จัดเต็มห้องนทิ รรศการ ผู้เข้า
ชมผลงานสามารถแบ่งเปน็ สองกลุ่ม กลุ่มแรกเปน็ กลุ่มที่ต้องการเดินชมรอบ ๆ แคส่ มั ผสั ทางสายตา ส่วนกล่มุ ท่สี องตอ้ งการเข้า
ไปภายเกิดสมั ผัสทลี่ ึกซ้ึงซึมซับความรู้สกึ ที่ศลิ ปนี ตอ้ งการถา่ ยทอด รูปทรงทเี่ รียบง่าย ประทะความรู้สึก กล่นิ สี และความนุ่ม
ดึงดูดให้ผู้คนเข้าสัมผัสภายในผลงาน วัสดุสีอ่อน เบา เรียบ ยึดหยุ่น มีความละมุนละไมของคู่สีอ่อน วัสดุจากธรรมชาติและ
กลิ่นเครื่องเทศต่าง ๆ เช้อื เชิญให้ผู้คนเข้าสัมผัสผลงานของเขา และเกิดประสบการณ์ของกายสัมผัสผา่ นสู่ทางใจไดอ้ ย่างสีกซ้ึง
ทาให้เกดิ ความเข้าใจในแนวความคิดของศิลปินได้มากยิง่ ข้นึ

Ernesto Neto เป็นหน่ึงในศิลปินชาวบราซิลท่ไี ด้รบั การยอมรับในระดบั นานาชาติมากที่สุดและท่ีทางานของเขาได้
กล่าวถงึ ประเด็นต่าง ๆ ที่เกย่ี วกบั จติ วิญญาณ humanism(มนุษยนยิ ม) และ ecology(นเิ วศวทิ ยา) อิทธิพลของการเคลอ่ื นไหว
ยคุ ใหม่ของยคุ 60 ศลิ ปะแบบเรียบง่ายและแนวความคดิ การผลติ ของเนโตเป็นลักษณะของการใชว้ ัสดุและเทคนิคท่ไี ม่ธรรมดา
สาหรับศิลปะ จากวัตถุอินทรีย์จนถึงความรู้และฝีมือของชนเผ่าพ้ืนเมือง งานของ Neto ได้ชื่อว่า"เหนือกว่าความเรียบง่าย
แบบนามธรรม" การติดต้ังของเขามีขนาดใหญแ่ ละนุ่มนวล ซ่ึงผู้สรา้ งสรรค์สนใจในการสร้างรูปทรงอสิ ระสอดรับกบั รา่ งกายให้
ความอบอุ่นคล้ายการสวมกอด ทาห็ผู้สร้างสรรค์ได้แนวทางท่ีจะพัฒนาผลงานโดยการให้ผิวสัมผัสที่ให้ความรู้สึกอ่อนนุ่ม น่า
กอด เช่นเดยี วกบั แมว

155

ภาพท่ี 7 O tempo lento do corpo que é pele
ทีม่ า: : Cats Are Wrapped in Colorful Babushkas. [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ข้อมูลเมื่อวนั ที่ 3 เมษายน 2565
เข้าถงึ ได้จาก : Ernesto Neto: Rio Superstar
Studio Roos Meerman (สตูดโิ อ รูด เมียแมน)

ผลงานของ Studio Roos Meerman และ KunstLAB ผนงั บุขนสัตว์สีดาความยาว 6 เมตร ทันทีทเ่ี ราเข้าไปจบั ลูบ คลา ขยา
และแนบกอดลงบนผนังนมุ่ ๆ จะไดย้ ินเสยี งเพลงดงั ข้นึ การกอดแตล่ ะจุดก็ใหท้ านองท่ีแตกตา่ งกนั ด้วย เม่อื หลายคนเข้าไปกอดผนงั พร้อม
กันเสียงท่ีออกมาจึงสอดประสานกันไม่ต่างจากเครื่องดนตรีของวงออร์เคสตราท่ีสอดประสานเป็นท่วงทานอง จุดประสงค์ของ Tactile
Orchestra คือผ้ชู มสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับศิลปะดว้ ยการใชร้ ่างกายและผัสสะอื่นๆ นอกเหนือจากการมองเห็น ผู้ชมสามารถสวมกอด
ขนนุ่มๆ จากการศกึ ษาผลงานของศิลปิน กรณศี ึกษาพบวา่ ผวิ สัมผสั มผี ลต่อความร้สู ึกของผู้ชมผลงาน การใชเ้ สยี ง นามาประกอบ ทาให้
ความ ทาใหผ้ ลงานเกดิ ความนา่ สนใจ ผสู้ รา้ งสรรคจ์ งึ ไดแ้ นวคิด สอดคล้องกับศลิ ปินกรณีศึกษา เพราะช่วงเวลาทีผ่ ู้สร้างสรรค์ ได้กอดแมว
น้ันเม่ือเวลาทม่ี ันมคี วามสุขแมวจะส่งเสยี งเพอร์ จากการศกึ ษาศิลปินกรณีศึกษานั้นเป็นการแสดงออกถึงความสุขที่แมวมีต่อผูส้ รา้ งสรรค์
แนวคิดนี้ จึงเป็นส่วนหน่งึ ในการนาไปพัฒนาผลงาน ในอนาคต ลาดับตอ่ ไป

ภาพท่ี 8 Tactile Orchestra,
ท่มี า: : Tactile Orchestra,. [ออนไลน]์ เขา้ ถึงขอ้ มูลเมอ่ื วันที่ 4 เมษายน 2565
เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.fillipstudios.com/project/tactileorchestra/
สกุ ัญญา เมาราศี
ศิลปินสรา้ งสรรคผ์ ลงานปกั ใยขนแกะ (Needle Felting) รูปแบบเหมือนจริง โดยใชส้ ัตว์เลย้ี งเป็นต้นแบบ ท้ังสุนัขและ
แมว ผา่ นรปู ลกั ษณ์แห่งความทรงจาทีม่ ตี อ่ สัตว์ ซึง่ ผลงานบางชน้ิ สรา้ งสรรคเ์ พอื่ ราลึกถึงสตั วเ์ ลย้ี งที่ได้ลาจากโลกน้ไี ปแลว้ บางตัว
ถูกสร้างสรรค์เป็นผลงานขนาดเล็กที่สามารถพกพาติดตัวไปได้ทุกท่ี สร้างสรรค์ด้วยเทคนิคการปักใยขนแกะจากธรรมชาติทา
ใหผ้ ลงานมีความนุน่ นวล สมจรงิ ราวกับได้สัมผสั ขนสัตวจ์ รงิ ๆ จากการศกึ ษา ศิลปนิ กรณศี ึกษา พบว่า การสรา้ งสรรค์ผลงานโดย
การใช้ผิวสัมผัส ด้วยเทคนิคการปักใยขนแกะน้ัน ให้ความรู้สึก ที่อ่อนโยน นุ่มนวล สอดคล้องกับผู้สร้างสรรค์ ที่ใช้เทคนิคนี้ ใน
การสรา้ งผลงานในช่วงแรก ทาให้ผลงานเกิดความรสู้ กึ คล้ายกอดสัมผัสแมวท่ีเปน็ สตั ว์เลีย้ งของผ้สู ร้างสรรค์

156

ภาพท่ี 9 Memwa
ที่มา: : Memwa, needle felting,. [ออนไลน]์ เข้าถึงข้อมลู เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2565

เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.facebook.com/memwa.handmade/
Kenji Yanobe (เคนจิ ยาโนเบะ)

ศิลปินใช้แนวความคดิ เรื่องการเอาชีวิตรอดสภาพแวดล้อม สังคมในปัจจุบัน สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมขนาด
ใหญ่ โดยผลงาน SHIP’S CAT ผสมผสานประเด็นเรื่องยุคสมัยแห่งนิวเคลียร์ ปัญหาความเดือดร้อนท่ีชาวบ้านต้องเผชิญจาก
กัมมันตรงั สโี รงไฟฟา้ ฟุดกชิมะ ไดอิจิ ปญั หาคล่นื สนึ ามิที่ประเทศตอ้ งเผชญิ ซ่ึงเป็นการสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้ความรูส้ กึ ด้าน
ลบมาทาให้เกิดเปน็ ประตมิ ากรรมท่ีแสดงมุมมองท่ีนา่ รักไดอ้ ีกมมุ หนึ่ง

ภาพท่ี 10 SHIP’S CAT
ที่มา: yanobe, SHIP’S CAT. [ออนไลน]์ เขา้ ถึงข้อมลู เมอ่ื วันที่ 1 เมษายน 2565

เข้าถึงได้จาก : https://www.yanobe.com/artworks/shipscat.html

157

ผลงานทศั นศิลป์ประตมิ ากรรมนมุ่ ชดุ รูปลกั ษณ์แหง่ สายสัมพนั ธร์ ักจากแมว

ภาพท่ี 11 ภาพผลงานชดุ รปู ลกั ษณ์แห่งสายสมั พันธร์ กั จากแมว ผลงานชิน้ ท่ี 1
ที่มา : ผู้สรา้ งสรรค์

ชื่อศลิ ปิน นายภาพตะวนั คุ่ยกล่นิ
ชือ่ ผลงาน ความอบอ่นุ ในออ้ มกอด
เทคนิค ตดั เยบ็ ผา้ ขนสตั ว์ ปกั ใยขนแกะ
ขนาด แปรผนั ตามพนื้ ท่ี
ความอบอุ่นในออ้ มกอด เป็นงานประติมากรรมนมุ่ แสดงออกถงึ ความนุม่ นวล ความอบอุ่น ทไ่ี ด้รับแรงบนั ดาลใจจาก
การกอดแมว ซึ่งขณะท่ีกอดแมวนน้ั มกั มีความรู้สึกอบอุ่นและน่มุ นวลรบั รไู้ ด้ถงึ ความรกั ความไวใ้ จ ทีแ่ มวมีใหเ้ จ้าของ
การวเิ คราะห์ผลงาน ชุด รปู ลักษณ์แหง่ สายสัมพนั ธร์ ักจากแมว ชิ้นที่ 1 ช่อื ความอบอุ่นในอ้อมกอด
ผลงานความอบอุ่นในอ้อมกอด ในชุดรูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมวน้ัน ผู้สร้างสรรค์ใช้แรงบันดาลใจจาก
การศึกษาแมว ประกอบกับประสบการณ์ที่ได้เล้ียงแมวและกอดสัมผัสกับแมว ซ่ึงเกิดเป็นความรู้สึกอบอุ่นและนุ่มนวล ผ่อน
คลายจากความเหงา ความกังวลต่างๆในชีวิต ผลงานมีลักษณะเปน็ ก้อนกลม ท่มี ีขนาดพอเหมาะกับอ้อมกอดของมนษุ ย์ทว่ั ไป
และเน่อื งจากผลงานมคี วามยืดหยุ่นทางด้านรูปทรงสูง ทาให้ผู้ชมงานไดร้ บั ความรู้สกึ ท่แี ตกตา่ งกันตามประสบการณ์ทต่ี นได้รับ
หรือได้สมั ผัส การเขา้ ไดไ้ ปกอดรัดผลงานซงึ่ มีลกั ษณะเป็นกอ้ นกลมและนุ่มนวลเช่นน้ีน้นั ทาให้ผู้ท่มี ปี ระสบการณ์การกอดแมว
หวนนกึ ถงึ ความรู้สึกทค่ี ุ้นเคยได้ในทันที แมผ้ ู้ชมที่ไม่เคยเลย้ี งแมว หรือไมเ่ คยเล่นกับแมวมาก่อนก็จะได้รับประสบการณค์ วาม
นุ่มนวลท่ีผูส้ ร้างสรรค์ถ่ายทอดผ่านผลงานได้ ดังนั้นผลงานดังกล่าวเมื่อนามาวิเคราะห์ทางทัศนธาตุ เชน่ เส้น รูปทรง น้าหนัก
พนื้ ผวิ สัมผัสแลว้ สามารถใหค้ วามรูส้ กึ ที่อบอ่นุ นุ่มนวลของแมว ตรงตามแนวความคิดของผูส้ รา้ งสรรค์ตอ้ งการถา่ ยทอด

158

ลักษณะการใช้สีของผลงานน้ัน มีลักษณะเป็นโทนขาวสว่างเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งให้ความรู้สึกท่ีผ่อนคลาย สงบ อบอุ่น
จรงิ ใจและเป็นมิตร สอดคลอ้ งกับแนวความวคิดในการสร้างสรรคผ์ ลงานดังเช่น แมวเปน็ เพ่อื น เปน็ สมาชิกในครอบครัวที่มอบ
ความรักความสขุ ให้แก่กันอย่างไมม่ ีเงอ่ื นไข

รายละเอียดของผลงานน้ัน ผู้สร้างสรรค์ใช้ลักษณะของอุ้งเท้าแมวที่อวบอ่ิม สดใส น่าจับสัมผัส ลูบไล้ โดยมี
ความหมายเชิงสัญลักษณ์ถึงความไว้ใจ ความสนิทสนม สายสัมพันธ์แห่งรักระหว่างมนุษย์และแมว ท่ีท้ิง สัญชาตญาณการ
ปอ้ งกนั จดุ ที่อ่อนแอที่สดุ เผยใหเ้ ห็นอุ้งเทา้ ท่นี ่ารัก สอดคลอ้ งกบั ทฤษฎีสัญลักษณน์ ยิ มทผี่ สู้ ร้างสรรค์ไดท้ าการศกึ ษา

สรุป การวิเคราะห์ผลงานชุด รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธร์ ักจากแมว ชิ้นที่ 1 ช่ือ ความอบอุ่นในอ้อมกอด พบวา่ เป็น
การสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมนุ่มที่ให้ความรู้สึก อบอุ่น นุ่มนวล เชิงสัญลักษณ์ ท่ีมีเนื้อหาเรื่องราวสายสัมพันธ์แห่งรัก
จากแมว ซ่งึ ผ้ชู มสามารถปฏสิ ัมพนั ธ์กบั ผลงานได้ ดังทีต่ งั้ สมมุติฐาน สอดคล้องกบั ทฤษฎีจิตวทิ ยาความรกั สตั ว์เลี้ยงบาบัด การ
บาบดั ด้วยการกอด ทฤษฎีสญั ลกั ษณน์ ยิ ม ผ่านเทคนคิ ประตมิ ากรรมนมุ่

ภาพที่ 12 ภาพผลงานชุดรูปลกั ษณแ์ หง่ สายสัมพนั ธร์ ักจากแมว ผลงานช้ินท่ี 2
ที่มา : ผสู้ ร้างสรรค์

ชอ่ื ศิลปนิ นายภาพตะวนั คยุ่ กล่นิ
ชอ่ื ผลงาน กอดแมว
เทคนคิ ตัดเยบ็ ผา้ ขนสตั ว์
ขนาด แปรผันตามพน้ื ที่
กอดแมว เป็นงานประติมากรรมนุ่มที่ได้แรงบัลดาลใจจากการกอดแมวที่รัก แสดงความนุ่มนวล ความอบอุ่น ความรักท่ีผู้
สรา้ งสรรค์รสู้ ึกต่อแมว ผา่ นขนสัตวเ์ ทียมสดี าทท่ี าใหน้ ึกถึงแมวสาดาของไทย

การวิเคราะห์ผลงาน ชุด รูปลกั ษณ์แห่งสายสมั พนั ธ์รักจากแมว ชิ้นท่ี 2 ชอื่ กอดแมว
ผลงานในชน้ิ ที่ 2 นั้น ผ้สู รา้ งสรรค์ตอ้ งการถา่ ยทอดความรักความอบอุ่นจากแมวดา ซ่ึงเป็นแมวไทยท่ีพบได้โดยทวั่ ไป

ทง้ั ในเมืองและชนบท โดยปกติแลว้ แมวดามกั ไม่เป็นท่ีนิยมในไทยบางกลมุ่ ดว้ ยคงามเช่อื ความโชคร้าย ลางบอกเหตเุ ปน็ ลางร้าย
ด้วยเหตุน้จี ึงทาให้ผู้สร้างสรรค์พบแมวดาที่รอ่ นเร่ ไม่มีเจ้าของเป็นจานวนมาก ผสู้ ร้างสรรค์มองว่าการที่มนุษย์เลือกปฏิบตั ิกับ
แมวดาเป็นสิง่ ท่ีสะเทือนจิตใจอย่างมาก ด้วยทุกส่ิงมีชวี ิตต่างต้องการความรักความอบอุ่นจากครอบครวั แตค่ วามเชื่อ บางส่ิง
กลับมาลดทอนคุณค่าของส่ิงมชี ีวิตลง เช่นเดียวกับตวั ของผู้สร้างสรรค์ ซ่ึงไม่ได้รับความรักความอบอนุ่ จากครอบครวั ตั้งแต่ยัง

159

เยาว์วัย ถูกลดคุณค่าและดูน่าสงสารด้วยคาว่าเด็กขาดความอบอุ่น จึงเป็นความบันดาลใจการสร้างสรรค์ผลงงานชิ้นท่ี 2 ชุด
รปู ลกั ษณ์แห่งสายสมั พันธ์รกั จากแมว กอดแมว

การวิเคราะห์ผลงานช้ินท่ี 2 กอดแมวทางทัศนธาตุพบว่า ผลงานมีการใช้ เส้น รูปร่าง รูปทรง ท่ีลดทอนรูปลักษณ์
ของแมว ให้เหลือเพียงความรู้สกึ ถงึ แมว พ้ืนผิวและการสัมผัส ผู้สร้างสรรคใ์ ช้ผ้าขนสตั วท์ ี่มีขนาดจนสั้นประมาณ 1 เซนติเมตร
ทาให้ความรู้สึกเมื่อสัมผัสคล้ายกับการลูบไล้ไปยังขนแมวดาของไทย ซึ่งมีลักษณะไม่ยาว เรียบเตียน มีความมันแววเล็กน้อย
ซงึ่ เปน็ เอกลกั ษณ์ของแมวไทย เชน่ แมวโกญจา และแมวนลิ รตั น์เปน็ ต้น

รายละเอียดของผลงาน ผสู้ รา้ งสรรค์ใช้ลักษณะขององุ้ เทา้ สีมพูของแมวท่ีดูสดใสกว่าความเป็นจริง ซ่งึ ตอ้ งการขับเนน้
ให้เห็นมุมมองท่ีผู้สร้างสรรค์มองแมว ว่าแมวเป็นสิ่งมีชีวิตท่ีอ่อนหวาน นุ่มนวล เป็นความสุขของผู้สร้างสรรค์ โดยลดทอน
ลักษณะให้มีความน่ารักคล้ายการ์ตูน นอกจากน้ีผลงานช้ินท่ี 2 น้ี ยังสามารถให้ผู้ชมเข้ามามีปฏิสัมพันธ์ได้มากข้นึ ด้วยขนาดที่
ใหญ่ขนึ้ กว่าช้นิ ที่ 1 ความอบอุ่นในออ้ มกอด ซึ่งผลงานสามารถกอดรดั ตัวผ้ชู มไดด้ ว้ ยการใชว้ ัสดุทปี่ ระกบติดผลงานเข้าหากนั ได้
และผ้ชู มสามารถเข้าไปนอนคลุกคลีดึงมากอดปรับเปล่ยี นท่าทาง รูปทรงของผลงานได้ตามทต่ี อ้ งการ

สรุป การวิเคราะห์ผลงาน ชุดรูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว ช้ินท่ี 2 ช่ือกอดแมว พบว่าเป็นการสร้างสรรค์
ผลงานประติมากรรมนุ่มที่ให้ความรู้สึก อบอุ่น นุ่มนวล แสดงออกเชิงสัญลักษณ์ ท้ังความรัก ความไว้ใจ สายสัมพันธ์แห่งรัก
ความเชื่อ และความจริง ท่ีปรากฏข้ึนต่อผู้ชมงาน ซ่ึงอาจทาให้ผู้ชมได้เปล่ียนแปลงความคิด ทัศนคติท่ีมีต่อแมวดาไปอย่าง
ส้ินเชิง สอดคล้องกับทฤษฎีจิตวิทยาความรัก สัตว์เลี้ยงบาบัด การบาบัดด้วยการกอด ทฤษฎีสัญลักษณ์นิยม ผ่านเทคนิค
ประตมิ ากรรมนมุ่

160

บรรณานกุ รม

Helen Colton. (1983). The Gift of Touch .
Paul Chemiack. (2557). สตั ว์เลยี้ งบำบดั (Pets Therapy). เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.nationalgeographic.com:

https://www.nationalgeographic.com.au/animals/therapy
Stemberg. (1986). Psychology CU. เขา้ ถึงได้จาก https://www.facebook.com/Psychology:

https://www.facebook.com/PsychologyChula/posts/2141923499255385:0.
กิตตศิ ัพท์ เลาหพันธ์ อาทติ ยย์ ามเชา้ . (2548). ข้ำวคลกุ ปลำท.ู

กรงุ เทพฯ: พรมี า พับบลชิ ช่ิง.
คาลอส บญุ โสภา. (1 3 2565). เข้าถงึ ได้จาก https://ledliml.wordpress.com:

https://ledliml.wordpress.com/2012/08/17/psychology-of-love/.
คิมจีวอน, ตรองสริ ิ ทองคาใส คิมพยองมก. (2559). Study on Cats เรยี นรคู้ ุณเหมียว.

อัมรนิ พรน้ิ ต้ิง แอนด์พบั ลิชชิง่ .
ชดั ยุงสนั เทียะ. (2553). กำรบำบัดด้วยกำรกอด. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.electron.rmutphysics.com:

http://www.electron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com_content&task=view&id=2102
ทฤษฎสี ำมเหล่ยี มของควำมรกั (Triangular .

(ม.ป.ป.).
สรนิ นา วัฒนา วรรธนี จนั ทรมติ รี. (2558). Cat คำเฟ.่ นนทบรุ :ี

สานกั พิมพบ์ อลลูน.
เหมพันธ์ เหมวรนันท์. (ม.ป.ป.). แมว The Cat. กรุงเทพฯ: เทพพทิ กั ษ์การพมิ พ์.
LedLimL. (2012). "จิตวิทยาความรกั ( Psychology of love ) เข้าถึงได้จาก

|https://ledliml.wordpress.com/2012/08/17/psychology-of-love/.
Sternberg. (2564). สามเหลย่ี มแห่งความรัก สบื ค้นเมอ่ื 13 มนี าคม 2564 , จาก

https://sircr.blogspot.com/2019/11/psychology-of-love.html
Maurice Denis. (1982) April สืบคน้ เมอ่ื 19 มนี าคม 2565

จาก https://www.wikiart.org/en/maurice-denis/april-1892
Selynn (เชรนี ) (2564) Cats Are Wrapped in Colorful Babushkas สบื ค้นเมือ่ 19 มนี าคม 2565 จาก

https://www.brwnpaperbag.com/2021/05/10/selynn-cat-paintings/
Ernesto Neto (2004) O tempo lento do corpo que é pele สืบคน้ เมอ่ื 7 มีนาคม 2565 จาก

https://www.newcitybrazil.com/2015/10/01/fantastic-voyages-of-ernesto-neto-rio-superstar-takes-
vienna-this-fall/
Studio Roos Meerman & KunstLAB adaymagazine (2017) สืบค้นเม่อื 7 มนี าคม 2565 เขา้ ถงึ ได้จาก
https://adaymagazine.com/hugging-art-and-design
สกุ ญั ญา เมาราศี (2565) Memwa, needle felting สบื คน้ เม่อื 19 มีนาคม 2565 เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://artofth.com/memwa-needlefelting/
KENJI YANOBE (1965) SHIP’S CAT สืบค้นเมือ่ 19 มีนาคม 2565 จาก
https://www.yanobe.com/publications/index.html

161

จนิ ตนาการสายใยรกั แหงครอบครวั
The Imagination of Love in the Family

กมลรส ชยั ศรี* (ศป.ม.ทัศนศลิ ป) 1
2 อาจารยท่ีปรึกษาหลัก รองศาสตราจารยส รรณรงค สิงหเสนี
3 อาจารยท่ีปรกึ ษารว ม ผูชว ยศาสตราจารย ดร.เมตตา สุวรรณศร
นักศึกษาหลกั สูตรศิลปมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าทัศนศิลป บัณฑิตศกึ ษา สถาบันบัณฑติ พฒั นศลิ ป

E-mail [email protected]

บทคดั ยอ

บทความวิจัยฉบบั นม้ี ีวตั ถุประสงค ดังนี้ 1) เพ่ือสรา งสรรคผลงานวจิ ัยจติ รกรรม ในหวั ขอ “จนิ ตนาการสายใยรักแหง
ครอบครัว” ที่แสดงออกใหเห็นถึง ความรัก ความผูกพัน ความคิดถึง ความโหยหา ออมกอด อันอบอุน ภายใตกรอบทฤษฎี
ภาวะโหยหาอดีต ทฤษฎีความรักความผูกพัน ทฤษฎีเกี่ยวกับความฝนและจินตนาการ จิตวิทยาสีกับความรูสึก
2) เพือ่ สรางสรรคบ ทความวจิ ัย ในรปู แบบจติ รกรรม โดยใชเทคนคิ องิ คเจท็ สีน้ำ และสอี ะครลิ คิ บนผา ใบ โดยการสรางโลก
จำลอง ภาพเสมือนจากจินตนาการถึงคนในครอบครัวอันเปน ที่รกั โดยการศกึ ษาทฤษฎีความรัก ความผูกพัน 3) เพื่อกระตนุ
เตอื นใหเหน็ ถงึ คุณคาของความรกั ความผกู พนั ของสถาบันครอบครวั อนั เปน พื้นฐานสำคญั ของชีวติ มนุษย

ผลการศกึ ษาพบวาการสรางสรรคบ ทความวจิ ัยดวยเทคนคิ จิตรกรรมนั้น สามารถถา ยทอดความรสู กึ ไดดีเพราะการ
ใชสีนบั เปน สอื่ ทถี่ ายทอดอารมณไดตรงตามแนวคิด การศกึ ษาทฤษฎที ่มี คี วามสำคัญท่ีทำใหผูวิจัยเลือกนำเอาความรูสึกรักมา
ถายทอดดว ยสที ีอ่ อนเบา เปนการใชส ีหลายประเภทผสมผสานกนั จนเกิดเปนบรรยากาศคลา ยภาพฝนสอดคลองกบั จินตนาการ
ในการสื่อสารรูปทรงที่จัดวางแบบลอ งลอยไมคำนึงถึงความถูกตอง บทความวิจัยฉบับนี้ไดเปนการจำลองความรูสึกรักและ
คดิ ถงึ ไดอยางลงตัว พรอมกนั นนั้ ผลงานยงั เตอื นใหผ ูคนเหน็ ถงึ คณุ คา ของครอบครวั อนั เปนสง่ิ ที่มีคา ทสี่ ุดในชีวิตท่คี วรดแู ล

คำสำคัญ: ความรัก, ความผูกพนั , ครอบครวั , สายใยรกั , ความอบอุน

ABSTRACT

The main objectives of this thesis are: 1) to create painting artworks on the theme “The Imagination of
Love in the Family,” which expresses love, relationship, remembrance, yearning, and warmth based on the
theory of nostalgia, the theory of love and relationship, the theory of dream and imagination, and color
psychology; 2) to conduct a research on painting using inkjet, watercolor, and acrylic techniques on canvas and
recreate a picture of her beloved family in a virtual world based on the theories of love and relationship; 3) to
encourage people to realize the value of love and relationship in the family, which is a fundamental aspect
of human life.

Results of the thesis revealed that revealed that using painting techniques allows for a better expression
of feelings because colors can be manipulated to convey a diverse range of emotions. The theories of nostalgia,
love and relationship, led to the choice of soft colors. The theory of dream and imagination led to the idea of
freely – without regard for accuracy – combining colors in various hues and weights to create a dreamlike

162

atmosphere. This study perfectly simulates the feelings of love and nostalgia to remind everyone of the value
of family, the most valuable thing in life that should be preserved.

KEYWORDS: Love, Relationship, Family, Bond of Love, Warmth

บทนำ (Introduction)
1. ความเปนมาและความสำคญั ของปญหา
จากสภาวการณในปจจุบัน สังคมมคี วามเปลีย่ นแปลงไปมาก ตามกระแสการเคลื่อนตัวของเทคโนโลยี ท่ีมีความ

เจรญิ รุดหนาอยางไมห ยดุ นง่ิ เมืองหลวงกลายเปน เมืองแหง การเก็บเก่ยี วเพ่อื หาผลประโยชน และเปนลทู างในการหาเงิน หา
อาชพี ซ่งึ ผวู จิ ยั เองนนั้ กเ็ ปนคนหนง่ึ ทมี่ คี วามจำเปนที่ตองจากบานอันเปนที่รักในจังหวัดจันทบรุ ี เพื่อเขามาทำงานหาเลี้ยงชีพ
ในเมอื งกรุง เมอื งทีเ่ ตม็ ไปดวยผคู นมากหนา หลายตา ตา งคนตา งใชชวี ิต เรงรีบ พบและรูจกั กันแบบฉาบฉวย ไมมีความลึกซึ้ง
และผูกพนั ทางใจกัน จากปญหาดงั กลา วทำใหผ ูว จิ ยั เกิดความรูส กึ เหงา เควง ควาง ทา มกลางผคู นมากมาย แตก ็ยงั รูสกึ เหงาทกุ
ครง้ั ที่กลับมาถงึ หอ งเลก็ ๆ ท่ใี ชช วี ติ อยเู พียงลำพงั ความเหงากป็ รากฏตวั ข้ึน ภาพอดีตตาง ๆ เสยี งหวั เราะ รอยยม้ิ ของพอ แม
พี่ นอง กล็ อ งลอยขน้ึ มาในความทรงจำ หลายครั้งเฝา ถามตัวเองวา ฉนั มาทำอะไรทน่ี ่ี ทีน่ ่ไี มใชบ านของฉัน เมื่อเกิดความทุกข
ในทุก ๆ ครั้ง ทางออกเดียวที่จะปลดปลอยความเหงา เศรา คือการหลับตา และหวนคำนึงถึงชวงเวลาที่ไดอยูกับครอบครัว
สอดคลองกับแนวคิดของซกิ มันด ฟรอยด (ลัญฉนศักดิ์ อรรฆยากร, 2551 : 221) ที่กลาวไววา เมื่อใดมีความทุกขมนุษยจะ
คนหากลไกปองกันทางจิต เพื่อปกปองตนเองจากความเจ็บปวด กลไกนั้นคือ การสรางฝนในอากาศ โดยชองทางผาน
จินตนาการผสานกบั ความทรงจำก็จะเกิดเปน ภาพ ที่สามารถเยียวยาความคิดถึง ความโหยหา และกอเกดิ เปน กำลังใจไดอกี
ทางหนึ่ง บทความวิจยั ฉบับน้ีเปนการกระตุนเตือนใหผูคนเหน็ ถงึ คณุ คา ของความรกั ความอบอนุ ของสถาบันครอบครัว อันเปน
พน้ื ฐานสำคญั ของชีวติ มนุษย

1.1 วัตถปุ ระสงคข องบทความวจิ ัย
1.1.1 เพื่อสรางบทความวิจยั ในหวั ขอ “จนิ ตนาการสายใยรกั แหงครอบครัว” ที่แสดงออกใหเ ห็นถึง ความ

รัก ความผกู พนั ความคดิ ถงึ ความโหยหา ออ มกอดอันอบอุน
1.1.2 เพื่อสรางบทความวิจัย ในเทคนิคจิตรกรรม อิงคเจ็ท สีน้ำ และสีอะคริลิคบนผาใบ โดยการ

สรา งโลกจำลอง ภาพเสมือนจากจินตนาการถึงคนในครอบครวั อันเปนทีร่ กั โดยการศกึ ษาทฤษฎีความรัก ความผูกพัน
1.1.3 เพื่อกระตุนเตือนใหเห็นถึงคุณคาของความรักความผูกพันของสถาบันครอบครัวอันเปนพื้นฐาน

สำคญั ของชีวิตมนษุ ย
1.2 คำถามในการสรางสรรค
การสรางสรรคบ ทความวจิ ยั ทีแ่ สดงใหเห็นถึงจินตนาการสายใยรักแหงครอบครวั ในเทคนคิ จติ รกรรม ใหเ ห็นถึง

คุณคา ของความรกั ความผูกพนั ของสถาบนั ในครอบครวั ไดห รอื ไม
1.3 ขอบเขตการสรางสรรค
เพื่อดำเนินการสรางสรรคผลงานจิตรกรรม หัวขอ “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” เปนเรื่องราวจาก

จินตนาการแหง โลกท่เี ต็มไปดวยความอบอุน โดยเลอื กใชส ัญลักษณของผาหม ทีม่ าหอ หุม รางกาย ภาพถา ยครอบครวั และของ
ใชตา ง ๆ เชน กานำ้ ชา แกวนำ้ ชา ถุงชงกาแฟ ฯลฯ ใหเ กดิ ความรูส ึกอบอุนใจคิดถึงเร่ืองราวประทับใจในอดีต ดังรายละเอียด
ตอ ไปนี้

163

1.3.1 เพื่อสรางสรรคบทความวิจัยหัวขอ “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครวั ” สาเหตุมาจากการทีเ่ รา
ตางสูญเสยี ศรัทธาตอ ความเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในกระแสหลักจนอยากถอยหลงั ยอนเวลากลบั ไปหาอดีตทีส่ ุขสงบ ครอบครัว
พอ แม

1.3.2 เพื่อสรางสรรคเทคนิคในรูปแบบจิตรกรรม เปนการใชเทคนิครวมกันของ อิงคเจ็ท สีน้ำ และสี
อะคริลิค

1.3.3 ตองการสรางบทความวิจัยและผลงานเพื่อแสดงใหถึงมุมมอง ความคิดถึง โหยหาความรักความ
อบอุน จากครอบครัว ทคี่ นในสังคมอาจหลงลืมและมองไมเหน็ ถึงความสำคญั ตอคนในครอบครวั

นอกจากนี้บทความวิจัยชุด จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว จะนำเสนอผลงานออกสูสาธารณะเพื่อ
เปน การสรางสรรคความเคลื่อนไหวใหแกวงการศลิ ปะรวมสมัยโดยมีจุดประสงคเพื่อกระตุนเตือนใหผคู นหันกลับมาสนใจ และ
เอาใจใสครอบครัวใหมากขึ้น กิจกรรมที่คาดวาจะดำเนินการ ไดแก จัดนิทรรศการศิลปะออนไลน และนิทรรศการ 3D
ของสถาบัน การศึกษาทางดานศิลปะ นำเสนอผลงานผา นสื่อสาธารณะตาง ๆ นำเสนอในรูปแบบของวิทยานิพนธ บทความ
วชิ าการในฐาน TCI ในระดับชาติ

1.4 ข้ันตอนการสรางสรรค
การสรางสรรคบทความวิจัยผลงานทัศนศิลปในหัวขอ “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” ประกอบดวย
การศึกษาคนควา ขอมูลทางวิชาการทัง้ จากตำราและศึกษาดูผลงานท่ีเกี่ยวของที่มีเนือ้ หาจินตนาการสายใยรกั แหงครอบครวั
เพอื่ รวบรวมเปนภาพรวมของขอมลู พื้นฐานเรื่องเหตกุ ารณที่ทำใหเกิดความสุข ทง้ั จากอดีตถงึ ปจจบุ ัน จากการศึกษาหนังสือ
ตำรา อินเตอรเนต็ และการศกึ ษาดูงานจากผูเชี่ยวชาญ รวมถึงศึกษาจากผลงานและแนวคิดจากศลิ ปนที่สรางผลงานดังกลาว
ข้ันตอนการศึกษาและการสรางสรรคจะเร่มิ ข้ึนจากการศกึ ษา เพ่ือนำเสนอผลงานหัวขอ “จนิ ตนาการสายใยรักแหง ครอบครัว”
ทีส่ มบรู ณใ นฐานะผลงาน บทความวจิ ัย โดยสามารถจดั แบง ขั้นตอนการศึกษาและสรางสรรคไ ดดังตอไปนี้

1.4.1 ศึกษาเอกสารทางวชิ าการ
1.4.1.1 ทฤษฎีภาวะโหยหาอดีต
1.4.1.2 ทฤษฎีความรกั ความผูกพัน ทฤษฎีความรู
1.4.1.3 ทฤษฎีเกย่ี วกับความฝน และจินตนาการ
1.4.1.4 ขอมูลทางวิชาการเรือ่ ง “ศิลปะแฟนตาซ”ี (Fantasy Art)
1.4.1.5 ขอ มูลทางการสรา งสรรค เรื่อง “จติ วทิ ยาสีกบั ความรสู ึก”

1.4.2 เกบ็ ขอ มูลจากศิลปนทีไ่ ดรับแรงบันดาลใจทัง้ จากศิลปน ไทยประกอบดว ย ดวงหทัย พงศประสทิ ธ์ิ,
สุวรรณี สารคณา และศลิ ปนตา งประเทศ ไดแก มารก ชากาล (Marc Chagall), กุสตาฟ คลิมต (Gustav Klimt), อายานา โอ
ตาเกะ (Ayana Otake) ,โชอจิ ิ โอคมุ รู ะ(Shoichi Okumura)

1.4.3 เรยี นรเู ทคนคิ ในการสรางสรรค
1.4.3.1 ศกึ ษาเทคนคิ ทางจติ รกรรม องิ คเจท็ สนี ำ้ และสอี ะคริลิคบนผา ใบ
1.4.3.2 ศกึ ษาเทคนคิ การจัดองคประกอบศลิ ป
1.4.3.3 ศกึ ษาจติ วทิ ยาของสี

1.4.4 ศึกษาและทดลองการตดิ ตงั้ ดวยเทคนิควิธกี ารดังตอไปน้ี
1.4.4.1 ตดิ ตั้งกบั ฝาผนงั
1.4.4.2 รูปแบบและวธิ กี ารนำเสนอ

164

1.4.5 วเิ คราะหขอมูลอยา งเปนระบบเพ่ือนำมาวิเคราะหเปนภาพรา งของผลงานทต่ี รงตามวตั ถุประสงคใน
การสรางสรรค

1.4.6 สรางสรรคผลงานจรงิ ตามภาพรา งในแบบเทคนิคจิตรกรรม
1.4.7 เสนอเรยี บเรียงผลงานการคนควา ในรูปแบบของงานวจิ ยั สรา งสรรค
1.4.8 นำเสนอบทความวจิ ัย “จินตนาการสายใยรักแหง ครอบครวั ” ในพื้นทีส่ าธารณะ หอศิลป
1.5 วธิ ดี ำเนินการสรา งสรรคบทความวิจัย
1.5.1 ศึกษาขอมลู ที่ไดจ ากประสบการณจ ากสภาพแวดลอมนำมาวเิ คราะหจนเกดิ เปนแนวคิดสุนทรียภาพ
ของ จนิ ตนาการสายใยรักแหงครอบครัว การสรา งภาพรา งผลงาน ในการสรา งสรรคผ ลงานบทความวจิ ัย
1.5.2 ศึกษาขอมูลจากศิลปนที่ทำการศึกษา ประกอบไปดวย ศิลปนไทยประกอบดวย
ดวงหทัย พงศป ระสทิ ธิ์, สวุ รรณี สารคณา และศิลปน ตางประเทศ ไดแ ก มารก ชากาล(Marc Chagall), กุสตาฟ คลิมต

(Gustav Klimt), อายานา โอตาเกะ (Ayana Otake) ,โชอจิ ิ โอคมุ ูระ(Shoichi Okumura)
1.5.3 ศึกษาทฤษฎี กำหนดกรอบทฤษฎี เพื่อใชในการวิเคราะหผลงานใหตรงตามแนวคิดมากที่สุด ตาม

ทฤษฎีดังตอไปนี้ ขอมูลศิลปะ ทฤษฎีภาวะโหยหาอดีต, ทฤษฎีความรักความ ผูกพัน ,ความฝนและจินตนาการ ,ขอมูลทาง
วิชาการเรื่อง “การกอด” ,ขอมูลทางวิชาการเรื่อง “ศิลปะแฟนตาซี” (Fantasy Art) ,ขอมูลทางการสรางสรรค เรื่อง
“จิตวิทยาสีกบั ความรูสึก”และนกั ทฤษฎรี วมถึงนกั ปรัชญาระดับโลกท่ีไดรับการยอมรับ เพือ่ นำมาพัฒนา ตอยอดความคิดให
เกดิ เปนผลงานทม่ี ลี กั ษณะเฉพาะตัว

1.5.4 สรางภาพรา ง (Sketch) ใหตรงตามแนวความคดิ สนุ ทรียภาพ
1.5.5 นำภาพรางมาวิเคราะหวิจารณ โดยคณาจารยผูทรงคุณวุฒิทางดานทัศนศิลปเพือ่ ใหผลงานมีการ
พัฒนาการ ในการสรา งสรรคผ ลงานใหม คี ณุ ภาพ
1.5.6 ทำการสรางสรรคบทความวิจัยผลงานจริงดวย กระบวนการเทคนิคจิตรกรรม เปนเรื่องราวจาก
จินตนาการสายใยรักแหง ครอบครวั
1.5.7 นำผลงานเขารบั การประเมิน จากผูทรงคณุ วุฒิดานทัศนศิลป และผลงานมคี ณุ ภาพในระดบั ทีน่ า พอใจ
1.5.8 ทำการวิเคราะหกระบวนการสรา งสรรคผลงานอยางเปนระบบขั้นตอนในรูปแบบเอกสาร บทความ
วจิ ัย และผลงานสรางสรรค
1.5.9 เพือ่ นำผลงานที่เสร็จสมบูรณ เผยแพรออกสสู าธารณะชนในรูปแบบของนิทรรศการ สจู ิบตั ร ส่ือ
ส่งิ พมิ พ และสื่อออนไลน
1.6 สมมตุ ิฐานบทความวจิ ัย
สามารถสรางสรรคบทความวิจัยผลงานที่แสดงออกถึงจินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว อันแสดงออกถึง
ความอบอุน ความรกั ความผกู พนั ของครอบครัว ผานเทคนิคจติ รกรรม ไดหรือไม
บทความวิจัยในชุด “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” นั้นเปนการสรางสรรคที่จำเปนตองการศึกษา
ทางดานแนวคดิ เทคนคิ วธิ นี ำเสนอ รวมท้งั แนวความคดิ ทฤษฎที างสนุ ทรียศาสตรแ ละนกั ปรัชญาทม่ี ีแนวคิดสอดคลอง กบั การ
สรางสรรคบ ทความวจิ ยั ผลงานในชุดน้ี และจำเปน ตอ งทำการศึกษา ผลงานของผวู ิจัยท่ีสรา งสรรคผลงานในรปู แบบและวธิ กี าร
ตางๆ นำมาวิเคราะห เพ่ือใหเปน ลกั ษณะเฉพาะของศลิ ปน รวมทัง้ เทคนิคท่มี คี วามนาสนใจ และสามารถนำมาตอยอดพัฒนา
ทางความคดิ ใหกบั ผูวิจยั ดงั ตอไปน้ี
“ครอบครวั ” เปนพน้ื ฐานทส่ี ำคญั ท่สี ดุ อนั ดับแรกของชีวติ มนุษย เพราะครอบครัวเปนที่ หลอ หลอม กลอ มเกลา
อบรม ดวยความรกั ความเอาใจใส ใหอยูใ นกรอบแหงศลี ธรรมในบรบิ ทของสงั คม จากสภาวการณในปจจบุ ัน ครอบครัวขยาย

165

กลายเปนครอบครัวเดีย่ ว ที่มีเพียง พอ แม ลูก และไมมีเวลาใหกัน จนทายที่สดุ เกิดชองวางระหวางคนในครอบครวั จากที่
กลาวมานัน้ ตัวผูสรางสรรคเอง ก็เปนบุคคลหน่ึงที่ตองจากบานมาใชชวี ิตอยูเพียงลำพังในเมืองใหญ ทำใหเกิดความคิดถึง
บานคิดถึง พอแม พี่นอง ที่เคยใชชีวิตรวมกันมา แมความจำเปนจะบีบคั้นใหตองจากบานมา แตผูวิจัยก็พยายามปลอบใจ
ตนเองดว ยการหลับตาหวนคิดคำนงึ ถึงชว งเวลาทแ่ี สนสขุ อบอุนในออ มกอดของพอ และแม เพอื่ เตมิ เต็มความคิดถงึ ความโหย
หาออ มกอดของครอบครวั จากสง่ิ ท่ีกลา วมา จึงมคี วามจำเปน ท่ตี องทำการศกึ ษาขอ มลู ท่ีเกย่ี วขอ งดังตอ ไปน้ี

- ทฤษฎภี าวะโหยหาอดตี (Nostalgia)
- ทฤษฎีความรกั ความผูกพัน
- ทฤษฎเี กี่ยวกบั ความฝน และจนิ ตนาการ
- ขอ มูลทางวชิ าการเร่อื ง

“ศิลปะแฟนตาซี” (Fantacy Art)
- ขอมลู ทางการสรางสรรค เรือ่ ง
“จติ วทิ ยาสกี บั ความรสู กึ ”
ศิลปนศึกษา ดวงหทัย พงศประสิทธิ์, สุวรรณี สารคณา ,มารก ชากาล (Marc Chagall) ,กุสตาฟ คลิมต
(Gustav Klimt) ,อายานา โอตาเกะ (Ayana Otake) ,โชอจิ ิ โอคมุ ูระ(Shoichi Okumura)

เนือ้ หา (Content)
วธิ กี ารศกึ ษา
บทความวิจัยชุด “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” ผูวิจัยไดรับความรักความอบอุนในวัยเยาว ที่มีทั้งสุขและ

ทุกขมาจากครอบครัว แตใ นปจจุบันท่ีผูสรา งสรรคต อ งออกมาใชช ีวิตในเมืองใหญทำใหก ารแสวงหาความสุขจากสังคมน้ันเปน
เรอ่ื งยาก ทุกวันตอ งเผชญิ กับความกลัวทจ่ี ะไมม ีคนยอมรับ ความไมม ตี วั ตอ สงั คม ทำใหผูวิจัยตอ งการหลกี หนีสภาวะท่ีตนเอง
ตองแบกรับปญญาหาตางๆ มากมายที่ไมสามารถหลีกหนีได ทำใหผูวิจัยตองการแสวงหาความสุขแบบที่เคยไดรับมาจาก
ครอบครัวที่อยูหางไกล การที่ไมสามารถกลับบานไปหาครอบครัวอันเปนที่รักได ทำใหเกิดการคิดถึง และอยากยอนเวลา
กลบั ไปในชวงเวลาอันแสนอบอุนนนั้ การหลบั ตาและจนิ ตนาการนึกถึงภาพความทรงจำในอดีตอาจเปนหนทางท่ีทำใหจิตใจมี
ความสุขกับการอยใู นความทรงจำแมเพยี งชั่วปจจุบันขณะ กส็ ามารถเยียวยาจิตใจใหห ลุดพนจากความเศราความคิดถึงไดไม
มากก็นอย สอดคลอ งกบั แนวคิดของ ทฤษฎีภาวะโหยหาอดีต (Nostalgia) ท่ีกลาวไวว าความรูส กึ คิดถงึ และโหยหาบรรยากาศ
เดิมหรือความคุนเคยแบบในอดีต รวมถึงความรูสึกเหงา เศรา เซื่องซึม การรำลึกถึงความทรงจำในอดีตนั้นที่เกี่ยวพันกับ
ปจ จุบนั และอดตี และเรม่ิ กลบั มาคดิ ถงึ สังคมอันเรยี บงาย อบอนุ ในชนบทอีกครัง้ ระลกึ ถงึ ความรักความผูกพัน เม่ือคร้ังยังวัย
เยาวท่อี ยกู ับครอบครวั ซ่ึงนำไปสคู วามมุงมน่ั พยายาม การแกป ญหาอยางมีประสิทธิภาพ การประสบความสำเร็จในดา นตา ง ๆ
ความเห็นคณุ คาตนเอง การมสี ขุ ภาพท่ีดี ไปจนถึงการมชี ีวิตท่ียนื ยาวและปราศจากความทุกขท างใจ จากท่ีกลาวมานั้นผูวิจัย
เปนผูที่มีความคิดอยากนำความทรงจำที่ไดรับมาจากประสบการณตาง ๆ ในชีวิตของตัวเอง มุมมองในแงดีมาสรางสรรคใน
บทความวิจัยที่แสดงถึงรูปลกั ษณล ักษณะของความคดิ ถึง หวงคำนงึ หาครอบครัว

1. ความเปนมาแนวคดิ แรงบันดาลใจ
จากสภาวการณในปจจบุ นั สังคมมีความเปลี่ยนแปลงไป จากครอบครัวขยายกลายเปนครอบครัวเดี่ยว พอ แม ลูก
ไมมีเวลาใหกัน อันเกิดจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ภาระหนาที่ สภาพแวดลอม ลวนแตเปนปจจัยสำคัญที่กระตุนใหเกิด
ปญ หาสงั คมขาดรกั ความอยากได อยากมี ที่กอ เกดิ เปน ปญ หาสงั คม ในวงกวาง ปญหาดงั กลาวทำใหผ ูวิจัยตองการสรางสรรค
ผลงานบทความวิจัยทแี่ สดงออกใหเห็นถึงมมุ มองทผี่ ูวจิ ยั มีตอ ครอบครัว ความคิดถึง อนั เปน ผลมาจากการตองพลัดพรากจาก

166

บา นเกดิ เพอื่ มาใชช ีวิตทำงานเลีย้ งชพี ในกรุงเทพ ทเ่ี ต็มไปดวยสภาวะกดดัน เรง รีบ ซงึ่ ผดิ ไปจากวิถชี ีวติ เดิมที่ผูวิจัยเติบโตมา
ดงั นนั้ จากภาวะคดิ ถงึ บาน ความโหยหาออ มกอดของครอบครัว ตามทฤษฎขี องซกิ มนั ด ฟรอยด วา ดว ยเร่ืองการสรา งวมิ านใน
อากาศ จงึ มีสวนชว ยเตมิ เตม็ ชองวางทางความรูสกึ ใหผ ูส รา งสรรคเ ต็มอิม่ ข้นึ ทกุ ครัง้ ทีห่ ลบั ตาคดิ ถงึ บา นทีม่ ีแม มีครอบครัวที่รัก
และอบอุน จึงชวยเตมิ เต็มความรสู ึกใหก บั ตนเอง ในการใชผา หม รางกายเพอื่ ใหผ ูวิจัยเกิดความรสู ึกอบอุน ท้งั ทางรางกายทาง
จติ ใจ และนอนหลบั ฝนถึงความสขุ ความคิดถงึ จากครอบครัวดังน้ันจากแนวคดิ ดงั กลาวของผูวิจยั จงึ เลอื กทจ่ี ะบันทึกเรื่องราว
ท่ีประสบพบเจอที่มีท้ังสขุ และทุกขจ ากประสบการณชวี ิต ผวู จิ ยั จงึ เลือกหยิบประสบการณตาง ๆ นั้น มาสรา งสรรคบทความ
วิจัยใหเปนการจินตนาการที่มีทั้งความสุขใจ และสบายใจภายในประสบการณของผูวิจัยที่ไดรับผานกระบวนการเทคนิค
จิตรกรรม

1.2 ขอมลู ในการสรา งสรรคผ ลงานบทความวิจยั
1.2.1 ขอมลู จากประสบการณต รงของผวู ิจัย
1.2.1.1 แรงบันดาลใจจากครอบครัว
ครอบครัวคือสถาบัน เปนสถาบันแรกของพื้นฐานชีวิตมนุษย การสรางความสุขแรกเริ่มที่ไดรับจาก

ครอบครวั จึงมีความสำคัญมาก เพราะเปนรากฐานใหกบั การดำเนินชีวิต วธิ ีคิด ท่หี ลอ หลอมใหคนเปนคนดี จากการอบรมส่ัง
สอน เพื่อใหลูกเปนคนดีมคี ุณภาพออกสูสังคม ซึ่งในวัยเด็กของผูวิจัยนั้นก็มีความทรงจำที่ดี ที่ไดรับความสุขจากครอบครวั
ผวู ิจัยจึงแสดงออกถึงความรกั ความอบอุน ทเี่ ก็บบันทกึ ในความทรงจำ ดังจะเห็นไดจากภาพขอ มลู ตอไปนี้

1.2.2 การหาขอมลู จากเอกสาร
1.2.2.1 หอสมุดกลาง มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
การหาขอมูลสำหรับทำงานสรางสรรคผลงานบทความวิจัยชุด “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว”

ผูวิจยั ตองมีการคน ควาขอ มลู ทางทฤษฎตี าง ๆ จากตำราวชิ าการ ทง้ั หนังสอื ส่ิงพิมพ รวมท้งั ผลงานวทิ ยานิพนธงานวิจัยทาง
การแพทยเ ร่อื งตาง ๆ เพ่ือใชเปนตนแบบในการนำทฤษฎี มาพัฒนาเปน แนวความคิด และดังแปลงเปนบทความวจิ ยั

1.2.2.2 ขอมลู จากแหลงหนังสอื และเอกสารทางวิชาการ
ผวู จิ ยั ทำการศึกษาคน ควา ขอ มูลจากหนังสอื และเอกสารทางวิชาการตาง ๆ เพื่อนำขอมูลดังกลาวมาสรุป
องคความรู Sigmund Freud จิตวิทยาในความฝน ,ปรัชญาทั่วไป ,การรับรูและจินตภาพ ,องคประกอบของศิลปะ ,
สนุ ทรยี ศาสตร หลกั ปรัชญาศิลปะ ทฤษฎที ศั นศลิ ป ศิลปะวจิ ารณ
1.2.2.3 ขอ มูลจากอนิ เตอรเนต็
ผวู จิ ัยทำการศกึ ษาขอมลู ทางดา นทฤษฎี จากบทความทางวชิ าการ เอกสารออนไลนตาง ๆ ตลอดจนภาพ
ผลงานศิลปะ ศิลปน ไทย และศลิ ปน ตางประเทศ
จากการศึกษาและวเิ คราะหข อมลู ทีท่ ำการศึกษาเบื้องตน อนั ประกอบไปดว ยขอมลู ทางภาคทฤษฎี ขอมูล
ทางภาคปฏบิ ตั ิ และขอ มูลของศลิ ปน ท่ที ำการศึกษา ดงั คำกลา วขา งตน ผสู รางสรรคส ามารถพฒั นาแนวคดิ ท่มี ลี ักษณะเฉพาะตน
1.2.2.4 ขอมูลจากการศึกษาและดูงานที่หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร และหางสรรพสินคา
พารากอน
ผูวจิ ยั ทำการศกึ ษาขอ มลู ทางดานทฤษฎเี กี่ยวกบั ศิลปะ จากการแสดงผลงานศิลปะ ณ หอศิลปวัฒนธรรม
แหง กรุงเทพมหานคร และหางสรรพสินคา พารากอน
1.2.3 การสรา งสรรคผ ลงานบทความวจิ ัย
ชือ่ งาน “My Dream”
การสรา งสรรคผลงานบทความวจิ ยั เรื่อง My Dream แนวคิดมาจากการที่ผูวิจัย เหนด็ เหนือ่ ยจากการทำงานใน
หนาที่ ทำใหเมื่อกลับมาถึงบานที่อยูคนเดียว ภาวะหนึ่ง ก็เกิดขึ้นคือ ภาวะคิดถึงบาน (Homesick) โหยหาความรัก ความ

167

อบอุนจากครอบครัว ทปี่ ระกอบไปดว ยพอ แม ลูก พ่ี นอง ผูวิจยั ไดจ นิ ตนาการถึงชว งเวลาแหง ความสขุ จากอดีต โดยใชผาหม
เปน ส่อื สญั ลักษณหม คลุมรา งกายเพื่อความอบอนุ แทนออ มกอดของพอ แม

เทคนิคในการสรางสรรคบทความวิจัย ผลงานจิตรกรรม อิงคเจ็ท, สีน้ำ, สีอะคริลิค บนผาใบซึ่งผูวิจัย มีความ
คิดเห็นวาผลงาน ยังลงสีบางเกินไปทำใหขาดความลงตัวในเรื่องการใชสี ผูวิจัยจึงจำเปนตองคนควา หากระบวนการทาง
เทคนิคในการระบายสีเพอื่ ใหสมี คี วามแนนและไดค วามรูสกึ ตรงตามแนวคิดมากที่สดุ รวมถงึ การออกแบบลวดลายของผาท่ียัง
ไมส อ่ื ความหมายได

ขั้นตอนการสรา งสรรคบทความวิจัย
1. ขั้นตอนการสรางสรรคผลงานบทความวิจัย ชื่อผลงาน “My Dream” การถายภาพผูวิจัยเปนแบบในลักษณะ
ทา นอน ทา ทางในอิรยิ าบถตา งๆ สำหรบั ทดลองการวางองคป ระกอบกอนการสรา งภาพรางชิ้นงานจรงิ เพือ่ แสดงถึงความเหงา
ความคดิ ถงึ บา น
2. การใชโ ปรแกรม AdobePhotoshopCC ในการแตง ภาพเพ่ือเปล่ยี นสีภาพดานหลงั ผลงาน และพมิ พอ งิ คเ จท็ บนผา ใบ
3. ขัน้ ตอนการรางภาพ(Sketch)เพือ่ หาลวดลายดองไมผ ลงานบทความวิจัย ช่อื ผลงาน “My Dream”
4. ขน้ั ตอนการสรางสรรค ผลงานบทความวิจัย ช่อื ผลงาน“My Dream”

- การรา งภาพ และการลงสบี นผาใบ

ผลการศกึ ษา/ทดลอง (Results)
บทความวิจัยชุด “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” ที่แสดงออกใหเห็นถึง ความรัก ความผูกพัน ความคิดถึง

ความโหยหา ออมกอดอันอบอุนนี้ ผูสรางสรรคไดสรางสรรคผลงานดวยเทคนิคจิตรกรรม สีน้ำ สีไม สีอะคริลิคบนผาใบ
โดยการสรางโลกจำลอง ภาพเสมอื นจากจนิ ตนาการถงึ คนในครอบครวั อันเปนท่ีรัก โดยการศึกษาทฤษฎีความรกั ความผูกพัน
เพื่อกระตุนเตือนใหเห็นถึงคุณคา ของความรักความผูกพันของสถาบนั ครอบครัวอันเปนพืน้ ฐานสำคญั ของชวี ติ มนษุ ย

จากที่กลาวมานัน้ ผูวิจัยไดทดลองคนควากระบวนการคิด กระบวนการสรางสรรคอยา งเปนระบบ เพื่อสรางสรรค
ผลงานบทความวจิ ัยข้ึนมาจากประสบการณ สงผลใหเกดิ บทความวจิ ัยทีม่ คี วามเฉพาะตัวตรงตามแนวคิดมากที่สุด รวมถึงการ
นำเสนอผลงานวิจัยที่แสดงออกถึงคุณคาความงามของ “ครอบครัว” เปนพื้นฐานที่สำคัญที่สุดอันดับแรกของชีวิตมนุษย
เพราะครอบครวั เปน ที่หลอหลอม กลอ มเลา อบรม ดว ยความรกั ความเอาใจใส ใหอยใู นกรอบแหงศีลธรรมในบริบทของสังคม

1. สรปุ แนวความคดิ ในการสรา งสรรคบ ทความวิจยั
ครอบครัวเปนที่หลอหลอม กลอมเลา อบรม ดวยความรักความเอาใจใส ใหอยูในกรอบแหงศีลธรรมในบริบทของ
สงั คม จากสภาวการณใ นปจจุบันผวู ิจัยเคยมวี ิถีชวี ิตท่ีเกดิ และเตบิ โตอยูใ นจงั หวดั จันทบุรีจำเปนตองเขา มาศกึ ษาตอในกรุงเทพ
ซึง่ เปนเมืองใหญ มผี ูค นมากมาย แออัดยดั เยยี ด แกงแยงแขงขนั จงึ นำมาซงึ่ ความเหงา โดดเดีย่ ว อา งวางเวลาเกดิ ปญหาในชีวิต
ไมสามารถหันหนาไปปรึกษาใครไดจึงเปนแรงบันดาลใจใหสรางสรรคผลงานที่แสดงออกถึงความคิดถึง โหยหาอดีต
อยากยอนกลับไปหาความอบอุนทีเ่ คยไดรับในวัยเด็ก โดยการสรางสรรคบทความวิจัยผลงานที่มีบรรยากาศสีออนบาง เบา
สบาย ดวยภาพความทรงจำที่เลอื นราง มีเพียงภาพคนในครอบครัวที่เปนทร่ี ักพรอมหนา เพียงรูสึกเทานี้ก็อ่ิมเอมใจและผาน
พนปญหาไปไดด ว ยใจทมี่ ีความหวัง หวังวา สักวนั จะไดก ลบั ไปสู ออมกอดครอบครัวอีกครง้ั
1.1 สรุปการสรา งสรรคตามกรอบทฤษฎี
การทำบทความวิจัยฉบับน้ีไดรับแรงบันดาลใจมาจากการที่ผูสรางสรรคมีวิถีชีวิตอาศัยอยูในเมืองใหญ ทำใหเกิด
ความเหงา คิดถงึ บาน ภาวะโหยหาอดีตนีส้ อดคลองกบั แนวคดิ ตามทฤษฎีภาวะโหยหาอดีต(Nostalgia) อันแสดงถึงความโหย
หาสิ่งท่ีผานเลยไปตามการเวลาทั้งยังเปนสิ่งที่ยงั คงอยูห รือส่ิงท่ีสูญหายไปแลว ก็ยังสามารถหวนคิดคำนึงถึงได ชองทางทีจ่ ะ

168

สอ่ื สารระหวางอดตี กับปจ จุบันคือจินตนาการเพราะมนุษยอ าศัยชอ งทางจนิ ตนาการในการปลดปลอยอารมณท่ีขางคางภายใน
จติ ใจอนั เกิดจากความคดิ ถงึ เกดิ จากความรกั สอดคลอ งจากทฤษฎีความรกั และความผกู พัน สัมผสั อยใู นหวงของความรูสึกเล็ก
ๆ นับเปนสายใยแรกที่หลอเลี้ยงจิตใจอันเปนพื้นฐานที่จะบมเพาะใหตัวผูสรางสรรคเกิดและเติบโตมาเปนบุคคลเชนใด
โดยพบวา การกอด การสัมผัสใหความอบอุน เปน สงิ่ จำเปน สำหรับรา งกาย และจติ ใจ การสัมผสั เปน ภาษากายพ้นื ฐานและเปน
สิ่งท่ีมนษุ ยส ามารถทำไดทกุ คนต้งั แตเกดิ หน่งึ ในน้นั คือการกอด จากการศกึ ษาพบวา ทฤษฎคี วามฝน เปนสวนหนึ่งของมนุษย
เราทุกคนมีความสามารถท่ีจะสรา งจนิ ตนาการ อาจจะตางกนั ที่สามารถท่ีจะสรางภาพในจินตนาการขึ้นมาไดช ดั เจนแคไหน
เทานั้น โดยจะสอดคลองกับ ศิลปะแฟนตาซี (Fantasy Art) เปนศิลปะที่มีองคประกอบเกี่ยวกับการสรางศิลปะ
ท่ีมแี นวความคิดในทางเพอ ฝน เปนการสรา งรูปทรงขึ้นมาใหเ หนอื ความเปนจรงิ ทำใหผวู จิ ัยเกิดความรูสึกชื่นชอบและเกิดมี
จินตนาการความคิดสรางสรรคจากความทรงจำในอดีต นำสูการศึกษาแนวคิดเทคนิคในการสรางสรรคผ ลงานบทความวิจยั
ดวยผลงานจิตรกรรมที่ผูวิจัยนำ“จิตวิทยาสีกับความรูสึก”สรางสรรคผลงานบทความวิจัยจึงเกิดเปนการศึกษาทฤษฎีสี
สอดคลอ งกบั ความรสู กึ และอารมณตา ง ๆ ของความรัก ความอบอุน จากความทรงจำในครอบครัวอนั เปนทีร่ ัก

อภปิ รายผลการสรา งสรรคบ ทความวิจยั
การเลือกศิลปนที่ทำการศึกษานั้น ผูวิจัยไดทำการศึกษาถึงแนวคิด เทคนิค และวิธีการสรางสรรคบทความวิจัย
ของศิลปนทีม่ กี ระบวนคดิ ท่สี อดคลองรวมถงึ มีรปู แบบและกระบวนการทีผ่ ูวิจัยใหความสนใจและทำการศึกษาศิลปน ดวงหทัย
พงศประสทิ ธิ์ เปนศิลปนประเภทสอื่ ผสม (Mixed Media) ซ่งึ ศลิ ปน ไดท ำการสรา งสรรคผลงานศิลปะทไี่ ดร ับแรงบนั ดาลใจจาก
ภาวะ ความคดิ ถงึ มารดา จากการสูญเสียบคุ คลอันเปนทร่ี กั ศิลปนเช่ือวา ผลงานดงั กลาวนั้น เปน ผลงานอนั เกดิ จากการสงตรง
ผา นจติ ใจ ทท่ี ำหนา ทแี่ สดงออกความรสู กึ นึกคดิ ภายในจิตใจออกมาผานภาพเชงิ สัญลักษณ โดยศลิ ปน ไดสรา งสรรคค ออกมาใน
ลักษณะเทคนิค (Mixed Media) ดิจิตอลปริ้นและการปก การรอยใหเกิดรูปทรง บาน ตนไม ดอกไม แบบไมเหมือนจริง ซ่ึง
เปนการแสดงออกถงึ ความรักความคดิ ถึง ของลูกทีม่ ตี อแมดว ยการใชสัญลักษณทีม่ ีความทรงจำรวมกัน การใชเวลา และมิติ
ทางอารมณเพื่อการรับรูทางความรสู ึกใหมท างความรสู ึกโดยการใชพ้ืนที่วาง,ระยะของรูปทรง ,จงั หวะในการวางรูปทรง และ
การซำ้ จากท่กี ลาวมาศลิ ปน ไดมีการสรา งสรรคผลงาน ทีแ่ สดงถงึ ความรักของลูกท่ีมีตอ แม ความคิดถงึ ผานภาพความทรงจำ
และสัญลักษณที่ทำใหนึกถึงบุคคลอันเปนที่รักที่จากไป ซึ่งสอดคลองกับผลงานของสุวรรณี สารคณา ไดทำการสรางสรรค
ผลงานศิลปะที่ไดรับแรงบันดาลใจจากผลงานจิตรกรรมของศลิ ปน ท่มี คี วามโดดเดนในการถายทอดเร่ืองราววิถีชีวิตคนชนบท
อสี านบานเกดิ ของผูวจิ ัยเอง การไดรับแรงบนั ดาลใจจากเรื่องใกลตัวแลว ถา ยทอดอยางตรงไปตรงมา ทำใหเกิดความรสู กึ อ่มิ ใจ
สะเทือนใจในคราวเดียวกัน ดวยรูปทรงของสมาชิกคนในครอบครัวหรือพอแมล กู นอนโอบกอดกันบนเสื่อ ประกอบกับผา หม
ลายทอมือที่หมอยางกระจัดกระจายหากแตมีชีวิตชีวา เชนเดียว ศิลปนฝรั่งเศส มารก ชากาล (Marc Chagall) เปนศิลปนที่
สรางสรรคผ ลงานทเี่ ต็มไปดวยการใชส ัญลกั ษณไ ดร ับแรงบนั ดาลใจจากเร่ืองราวอันชวนฝน ความรักทีม่ ตี อภรรยาและครอบครัว
ของเขา ทกี่ ำลงั ลอยละลอง โบยบนิ เหนอื เมืองวเี ต็บสค (Vitebsk) ไดเ ติบโตข้ึนมา ธรรมชาตริ อบตัวในการใชว ถิ ชี ีวิตคนชนบท
ในบานเกดิ ของศิลปน เอง และรวมถงึ สงครามทีเ่ กิดขนึ้ ไปพรอ มกับความรักของศลิ ปน ทำใหเ กิดความรูสึกสุขใจสะเทือนใจใน
คราวเดียวกัน เสมือนภาพแหงความทรงจำอนั งดงามของพวกเขา ผูวิจัยไดศึกษาผลงานของกุสตาฟ คลิมต (Gustav Klimt)
เปนศลิ ปน ชาวออสเตรยี ไดท ำการสรางสรรคผลงานศิลปะทไี่ ดรบั แรงบนั ดาลใจจากเรือ่ งราวความรักความสมั พันธท่ีมีตอหญิง
ทต่ี นเองรกั ในภาพ The Kiss มีการจัดองคประกอบศิลปที่แฝงไปดว ยความผกู พันของทั้งชายและหญงิ โดยการใชผ า คลุมทำให
เกดิ ความอบอุน โดยใชล ายเส้อื คลมุ ท่ีสวมใส มีสญั ลกั ษณบ นลวดลายตา งๆ ฝา ยชาย เปนสญั ลักษณทางเรขาคณิต ฝา ยหญิงใช
ลายดอกไมซึ่งเปนตนแบบของศิลปะแนวอารต นูโวที่มชี ือ่ เสียงของออสเตรีย และยงั ใชส ีนำ้ มันผสมทองคำเปลวในงานชิ้นน้ีอีก
ดวย ซึ่งทำใหผลงานมีความหนาหลงใหล ประทับใจพรอมทั้งตื่นตาตื่นใจกับสีทองอรามในเวลาเดียวกันอีกดวย สงผลให
ผูสรา งสรรคไ ดจัดองคประกอบในผลงานเชื่อมโยงรูปทรงตาง ๆ อาชีพของครอบครัวใหใ กลเคียงกับความรูสกึ โหยหาอดีตให

169

ไดม ากทส่ี ุด และศลิ ปนชาวญี่ปุน อายานา โอตาเกะ (Ayana Otake) โดยศลิ ปน วาดภาพท่ีแสดงถงึ รูปลักษณที่เปนความงาม
ภายในของผหู ญิง ในฐานะศิลปนทสี่ รางสรรคเ นน เรอื นรางของอสิ ตรที ่ีบอบบาง บริสุทธิ์ ดวยการใชส โี ทนออนมกี ารผสมผสาน
ของสีท่ีดูแลว ออ นหวาน เปน ศลิ ปนท่ีใชใจในการตีความความงามของสตรีทนี่ า หลงใหลสวยงามและมีเสนห  ศิลปน จงใจเลือกใช
ชุดกิโมโนที่ผูหญิงสวมใสในภาพวาดเปนการแสดงออกถึงความงามและจิตวิญญาณของญี่ปุน จากที่กลาวมาศิลปน ไดมีการ
สรา งสรรคผลงาน แสดงถึงความงามของหญิงสาว ตามสรีระ รา งกาย อิรยิ าบถ ทา ทางในการนอนหลบั ในการจดั องคประกอบ
ทีย่ ังคงความงามของหญงิ สาวเอาไวอยา งนา สนใจ เทคนิครายละเอียดในการเขยี นภาพอยางสมบูรณแบบ และยังใชโทนสที แ่ี ฝง
ไปดว ยความนา หลงใหล ซึง่ ทำใหต รงกับผูวจิ ัยผลงานทต่ี อ งการแสดงออกทาทางการนอนหลบั ในการจติ นาการถึงครอบครัวอัน
เปนทีร่ กั และในขณะทโี่ ชอิจิ โอคมุ ูระ (Shoichi Okumura) ศลิ ปนชาวญี่ปุน เปนศลิ ปน ท่ีถนดั ใชเทคนิคสีหมึกจนี ลงบนผาไหม
ซงึ่ การจดั องคป ระกอบทีง่ ดงามของ Shoichi Okumura ไดผสมผสานองคประกอบที่เปน รูปทรงของดอกไม พืชพรรณ ผลไม
ตนไม ธรรมชาติรอบ ๆ ตัว มาใชในองคประกอบสำคญั ทำใหภ าพดูมมี ิตนิ าสนใจมากขึ้น โดยใชโทนสีออน ท่ีแฝงไปดวยความ
อบอุนและนาสนใจ จากที่กลาวมาทั้งหมดนั้นผูวิจัยเกิดความลงตัวทั้งความคิดและกระบวนการสรางสรรค และสามารถเปน
แนวทางที่จะใชพฒั นาผลงานในลำดบั ตอไป
ภาพประกอบ (Image)

ภาพที่ 1: “Memorie of Happiness 1”
ทมี่ า: ผูว ิจยั และป พ.ศ. 2564

170

ภาพท่ี 2 : “Memorie of Happiness 2”
ท่มี า: ผูวจิ ยั และป พ.ศ. 2564

วจิ ารณแ ละสรปุ ผล (Discussion and Conclusions)
ขอเสนอแนะในการนำไปใชป ระโยชน
ผลที่ไดจากการวิจัยชุด “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” สามารถนำไปพัฒนาการสรางสรรคผลงาน

บทความวิจัยเปนผลงานศิลปะรวมสมัย และนำไปใชเปนฐานขอมูลใหกับผูสนใจตอไป ผลงานสรางสรรคในบทความวิจัยนี้
สามารถนำไปชว ยเปนแนวทางในการพฒั นาผลงานศลิ ปะทใี่ ชสัญลกั ษณข องวัตถุ นำมาสรางสรรคใ หเกิดเปนผลงานจิตรกรรม
โดยแสดงออกถงึ ความเปนศิลปะ รวมทง้ั การพัฒนาผลงานที่สามารถเลือกใชเทคนคิ ท่ีหลากหลายแสดงออกเพือ่ ใหผูคนเห็นถึง
คุณคาความงาม และเทคนิคการใชสัญลักษณ ผสมผสานกับการควบคุมสี ใหแสดงถึงความรูสึกเพื่อสรางความนาสนใจใน
รูปแบบการสรา งสรรคใหต รงตามแนวคิดมากยิ่งขึ้น จัดแสดงเผยแพร ผลงานศิลปกรรม เพื่อเปนหนึ่งในการเคลือ่ นไหวของ
ศิลปกรรมรวมสมยั ไทย ขอ เสนอแนะสำหรับการทำบทความวจิ ัยคร้ังตอ ไป ผลงานบทความวจิ ยั ชดุ “จนิ ตนาการสายใยรักแหง
ครอบครัว” ผูวิจัยสามารถนำผลงานมาพัฒนาไดดังตอไปน้ี ควรศึกษาขอมูลจากผลงานของศิลปนทั้งในประเทศและ

171

ตา งประเทศในสาขาอ่ืนๆ ท่ไี มใชเ ฉพาะผลงานศลิ ปะจติ รกรรม เพอื่ ใหเกดิ ประสบการณท ่ีแปลกแตกตา งในการรับรู จนเกดิ เปน
แนวคดิ ที่มีความรวมสมัย ทันยคุ เชนการทดลองใชวสั ดใุ นประเภทอ่นื ๆ รวมถึงแนวทางศลิ ปะจัดวางเพอื่ นำมาสรา งสรรค
บทความวจิ ยั ใหเ กิดการพัฒนาในรูปแบบศิลปะรวมสมัยมากย่งิ ข้ึนตอ งการแสดงออกใหเห็นถึงคณุ คากระตุนเตือนใหผูคนเห็น
ถึงคุณคาของความรัก ความอบอุนของสถาบันครอบครัว อันเปนพื้นฐานสำคัญของชีวิตมนุษย เพื่อสืบคนกระบวนการทาง
เทคนิคใหม ีลักษณะเฉพาะรูปแบบจิตรกรรม และสามารถคน พบแนวทางการสรางสรรคบทความวิจัยใหมท่ีไมเ คยปรากฏมา
กอนในรูปแบบสื่อผสมในแนวทางศิลปะจัดวางในรูปแบบศิลปะรวมสมัย ผูวิจัยหวังวาจะเปนประโยชนและเปนแนวทางใน
การศึกษาตอผูที่มีความสนใจในลำดบั ตอไป

เอกสารอา งองิ (References)

- ผูวิจัยใชทฤษฎีของ ซิกมันด ฟรอยด ที่กลาวไววาเมื่อใดมีความทุกขมนุษยจะคนหากลไกปองกันทางจิต เพ่ือ
ปกปองตนเองจากความเจ็บปวด กลไกนั้นคือ การสรางฝน ในอากาศ โดยชองทางผานจินตนาการผสานกับความทรงจำก็จะ
เกิดเปนภาพ ทีส่ ามารถเยยี วยาความคดิ ถึง ความโหยหา และกอ เกดิ เปน กำลงั ใจไดอีกทางหน่ึง (ลญั ฉนศักดิ์ อรรฆยากร, 2551
: 221)

การเขยี นเอกสารอา งองิ ทา ยเรอ่ื ง
พฒั นา กิตอิ าษา. (2546). มนุษยวทิ ยากับการศกึ ษาปรากฏการณโ หยหาอดตี ในสังคมรว มสมยั .

กรงุ เทพฯ: แปลน พรน้ิ ตง้ิ .
Fredric Jemeson. (1991). Postmodernism or the Cultural Logic of Late Capitalism. North Carolina:

Duke University Press.
William Kelly. (1986). Rationalization And Nostalgia: Cultural Dynamics of New Middle-Class Japan.

American Ethnologist.

การเขยี นอางอิงจากปรญิ ญานิพนธ
กฤษฎา แสงสืบชาต.ิ (2544). การศึกษาผลงานออปอารต ของ วกิ เตอร วาซารลี และทฤษฎสี ีแสงของอลั เบริ ตเอช.มนั เซลล

เพอ่ื สรางงานศลิ ปะสรางสรรค. วิทยานพิ นธป รญิ ญามหาบณั ฑิต. มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ,กรุงเทพมหานคร.
เนธิมา สวุ รรณวงศ. (2557). จินตนาการสว นตนกับความสขุ ทป่ี รงุ แตง . วทิ ยานิพนธห ลักสตู รปรญิ ญาศิลปมหาบัณฑติ

สาขาทศั นศลิ ปศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลยั . มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร.
รวติ า ระยานิล. (2553). อิทธพิ ลของรูปแบบความผูกพนั ตอ ลักษณะนสิ ยั การใหอ ภยั : ทวโิ มเดลแขงขนั โดยมตี ัวแปลการรูซ่งึ

ของถึงความรูสึกของผูอื่นและการหมกมุนครุนคิดเปนตัวแปรสงผาน. วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจติ วิทยาสงั คม คณะจติ วทิ ยา. จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั .
สัตกร วงศส งคราม. (2552). การศกึ ษาความรกั ของวัยรนุ . สารนิพนธห ลกั สูตรปรญิ ญาการศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวิชา
จิตวทิ ยาการแนะแนว. มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ.
สุวรรณมาศ เหลก็ งาม. (2552). การประกอบสรา งภาพเพ่อื การโหยหาอดตี ในรายการ “วนั วานยงั หวานอยู” . วิทยานพิ นธ
หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน ภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร.
จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั .

172

Chun Ting Yan.(2555).ความสมั พนั ธระหวา งความเปน จรงิ จิตนาการ และการสรางสรรค : จิตรกรรมลายเสน. วทิ ยานพิ นธ
ปรญิ ญามหาบณั ฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา,ชลบุร.ี

การเขยี นอางอิงบทความในวารสาร
ดวงเนตร ธรรมคณุ และเทยี มใจ ศิริวฒั นกลุ .“กอด : สมั ผสั รักพัฒนาการดูแลผูสูงอาย”ุ วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณะสุข

, 26 (3),S : น. 3-6.
รุงนภา ยรรยงเกษมสขุ . (2555). “การโหยหาอดีต : ความเปน อดีตในสงั คมสมัยใหม” วารสารการเมือง การบรหิ าร

และกฎหมาย, ปท ี่ 4 ฉบบั ท่ี 2 : น. 69.
ลัญฉนศ ักด์ิ อรรฆยากร. (2551). “จิตวทิ ยาความรกั (Psychology of Love)” วารสารสมาคมจติ แพทยแ หง ประเทศไทย,

ปท่ี 53 ฉบับท่ี 2 : น. 221 - 227.
อรอนงค ฤทธิ์ชยั , สญั ชยั สันติเวช และ นิธิวดี ทองปอ ง. (2560). “จิตวทิ ยาสกี บั หอ งเรยี น BBL” วารสารศึกษาศาสตร,

ปท่ี 40 ฉบบั ท่ี 1 : น. 8.
การเขยี นอา งอิงเอกสารการประชมุ วชิ าการหรือการสมั มนาทางวชิ าการ
สุภวรรณ พันธจุ นั ทร. สกี ับอารมณค วามรูสกึ . [ออนไลน] สืบคน เมือ่ 25 พฤษภาคม 2565 จาก

http://www.rmutphysics.com/news/index.php?option=com_content&task=view&id=1878&Itemid=
3&limit=1&limitstart=0

173

การพฒั นาแนวทางการสอนออกแบบผลติ ภณั ฑช ุมชน
โดยใชอตั ลักษณจิตรกรรมฝาผนัง “ฮปู แตม อสี าน”
Guideline of Community Product Design Teaching
Using Identity of Mural Paintings “Hoop Taem Isan"

พชร วงชัยวรรณ* (ค.บ.)1, อนิ ทิรา พรมพันธุ (ค.ด.)2
1 นิสติ มหาบัณฑติ สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย
เขตปทมุ วัน กรงุ เทพมหานคร 10330 E-mail [email protected]
2 ผูช ว ยศาสตราจารย สาขาวิชาศิลปศกึ ษา คณะครศุ าสตร จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย

เขตปทุมวัน กรงุ เทพมหานคร 10330 E-mail [email protected]

บทคัดยอ
การวจิ ัยนี้มีวตั ถุประสงค 1) เพื่อศึกษารูปแบบและวเิ คราะหหาอัตลักษณฮูปแตมอสี าน 2) เพ่ือพัฒนาแนวทางการ

สอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอตั ลักษณจ ติ รกรรมฝาผนงั ฮูปแตม อีสาน วิธีการวิจยั แบงเปน 2 ระยะ คอื 1) ระยะศกึ ษา
สังเคราะหแนวคิดทฤษฎีประกอบกับการลงพื้นท่ีศึกษาภาคสนามและการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ 2)ระยะการพัฒนาแนว
ทางการสอนออกแบบผลติ ภัณฑชุมชน ขอบเขตของการวจิ ัย คอื ฮูปแตมอีสานกลุมพืน้ บานในจังหวดั ขอนแกน 4 แหง ดังน้ี 1)
วดั ไชยศรี 2) วัดสนวนวารีพัฒนาราม 3) วัดมชั ฌิมวิทยาราม และ4) วัดสระบวั แกว ผลการวิจัย พบวา ฮปู แตม ท้ัง 4 แหง ถูก
สรางข้ึนกอนพุทธศักราช 2500 ดานเน้ือหาปรากฏเร่อื งราวเก่ียวกับวรรณกรรมทางพุทธศาสนา วรรณกรรมพื้นบานยอดฮิต
เรื่องสินไซ (สังขศิลปชัย) และสอดแทรกดวยภาพวิถีชีวิตของคนอีสาน ในดานลักษณะทางทัศนธาตุจัดอยูในกลุมฮูปแตม
พน้ื บานซ่ึงฮูปแตมในแตล ะชุมชนจะมอี ัตลักษณท่ีแตกตางกันไปท้ังรูปราง สี ลายเสนที่มกี ารถายทอดอยางตรงไปตรงมาเนน
ความเรียบงาย และไมเครงครัดในการจัดวางองคประกอบ สวนแนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชมุ ชนโดยใชอัตลักษณ
จิตรกรรมฝาผนังฮูปแตม สามารถแบงกิจกรรมเปน 4 ระยะ ดังน้ี ระยะท่ี 1 ศึกษาสภาพปญหาและปรากฏการณปจจุบัน
ระยะที่ 2 ลงพื้นท่ีศึกษาและสกดั อัตลักษณชุมชน ระยะท่ี 3 การพัฒนาแบบรว มกัน และระยะท่ี 4 นำเสนอและประเมินผล
โดยแนวทางการสอนทั้ง 4 ระยะดังกลาวน้มี ีกระบวนการจดั การเรียนรูที่ใหค วามสำคญั กบั สภาพปญ หาเปนจุดเริ่มตน นำไปสู
การวเิ คราะห สบื คน และประยกุ ตใ ชข อ มลู ในการออกแบบตอ ไป

คำสำคญั : การออกแบบผลิตภณั ฑช มุ ชน, ฮูปแตมอสี าน, การสอนออกแบบ

ABSTRACT
The objectives of this research are 1) to study the pattern and analyze the identity of isan mural

paintings 2) to develop guideline of community product design teaching model using identity of isan
mural paintings. The research was divided into two phases: 1) Studying and synthesizing concepts,
theories, field trips and expert interviews. 2) develop guideline of community product design teaching.
The scope of research is traditional isan mural paintings in Khon kaen province 4 places as follows: Wat

174


Click to View FlipBook Version