คำนำ
เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) สาระทักษะการเรียนรู้ จัดทาข้ึนเพ่ือให้
ครูผู้สอนหรือผู้รับผิดชอบ จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ศึกษาเพ่ือนาไปวาง
แผนการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ดังกล่าว ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลโดยเฉพาะ
นักศึกษามีทักษะแสวงหาความรู้ เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้เท่ากันการเปลี่ยนแปลงของสังคม
และเศรษฐกิจ
กกกกกก เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาฉบับนี้ ประกอบด้ว ย ( 1) คาช้ีแจง
(2) สาระทักษะการเรียนรู้ (3) ผงั มโนทศั น์ (4) มาตรฐานการเรียนรู้ระดับและผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง
(5) รายวิชาบังคับและรายวิชาเลือก และ (6) คาอธิบายรายวิชาและรายละเอียดคาอธิบายรายวิชา
บงั คับและเลอื ก ตลอดจนบรรณานกุ รมและภาคผนวก
กกกกกกกกเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ฉบับนี้ สาเร็จลงได้ด้วยดีด้วยการสนับสนุน
สง่ เสรมิ ของ นายปรเมศร์ ศิริรัตน์ ผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั กรงุ เทพมหานคร ท่ีได้กาหนดนโยบายการพัฒนาวิชาการให้แก่ครูและบุคลากร ในสังกัด
โดยจัดอบรมปฏิบัติการให้ครูผู้สอน ได้มีความรู้ ความสามารถในการปรับปรุงและพัฒนา เอกสาร
ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา รอง ศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ศรีสังข์ อาจารย์ประจาคณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ นายสังคม โทปุรินทร์ ผู้อานวยการสถานศึกษาเช่ียวชาญ สานักงาน
เขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 36 ข้าราชการบานาญ วิทยากรการอบรมปฏิบัติการ นอกจากน้ียัง
ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากท่ีปรึกษาและผู้ร่วมปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร และคณะกรรมการ
ปรบั ปรุงและพฒั นาหลกั สตู ร ขอขอบพระคุณ และขอบคณุ ไว้ ณ ที่น้ี เป็นอยา่ งสูง
(นายพเิ ชษฐ เสอื เฒ่า)
ผู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตห้วยขวาง
สารบญั
หน้า
คำชแ้ี จง.........……………………………………………………………………………………………………………….. 1
สำระทักษะกำรเรียนรู้..................……………………………………………………………………………………. 2
ผังมโนทัศน…์ ………………………………………………………………………….…………………………………….. 3
มำตรฐำนกำรเรียนรูร้ ะดับและผลกำรเรยี นร้ทู ่ีคำดหวงั ……………..……………………………………….. 7
รำยวชิ ำบงั คบั และเลอื ก……………………………………………………………………….…………………………. 19
คำอธิบำยรำยวชิ ำและรำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวิชำ……………………………..………………………..... 23
ระดับประถมศึกษำ............................................................................................................... 24
ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น…………………………………………………………………………………………. 39
ระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำย................................................................................................. 49
คำอธิบำยรำยวชิ ำและรำยละเอียดคำอธิบำยรำยวชิ ำเลือกระดับประถมศึกษำ
ระดับมัธยมศกึ ษำตอนต้นและระดับมธั ยมศึกษำตอนปลำย.................................................. 60
บรรณำนกุ รม………………………………………………………………………………………………………………… 145
ภำคผนวก…………………………………………………………………………………………………………………….. 147
ก ประกำศแตง่ ตั่งที่ปรึกษำและผรู้ ่วมให้ข้อมลู กำรปรับปรงุ และพฒั นำหลักสตู ร…………….. 148
ข คำส่ังแตง่ ตั้งคณะกรรมกำรปรับปรุงและพัฒนำหลกั สตู ร………………………………………….. 151
ค คำนยิ ำมศพั ท์………………………………………………………………............................................ 153
คำชแ้ี จง
กกกกกกกเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2561) สาระทักษะการเรียนรู้ มีส่วนประกอบของ
เอกสารที่ครูผู้สอนและผู้รับผิดชอบจัดการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาของสถานศึกษา ควรศึกษาทาความ
เข้าใจก่อนที่จะนาไปวางแผนการจัดการเรยี นรู้ ดังน้ี
กกกกกกก1. เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาฉบับน้ี ประกอบด้วย สาระทักษะการเรียนรู้
ผังมโนทัศน์ มาตรฐานการเรียนรู้ระดับและผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาบังคับและเลือก
คาอธิบายรายวชิ าและรายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวชิ าบงั คับและเลอื ก บรรณานุกรมและภาคผนวก
กกกกกกก2. ให้ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้รายวิชาบังคับและเลือกให้เป็นไปตาม ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้
ที่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ หรือมาตรฐานที่ เน้ือหา (ศึกษาและฝึกทักษะ) รวมท้ัง
การจดั การเรยี นรูห้ รอื การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล ในแต่ละระดับการศึกษา
ใหน้ ักศกึ ษาไดค้ ณุ ภาพตามมาตรฐานที่กาหนด
กกกกกกก3. คาอธิบายรายวิชา ประกอบด้วย ช่ือรายวิชา (รหัส จานวนหน่วยกิต และระดับ)
มาตรฐานการเรียนรู้ระดับหรือมาตรฐาน ที่ศึกษาและฝึกทักษะ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
และการวัดและประเมินผล
กกกกกกก4. คาอธิบายรายวิชา ประกอบด้วย ชื่อรายวิชา (รหัส จานวนหน่วยกิตและระดับ)
มาตรฐานการเรียนรู้ระดับหรือมาตรฐานท่ี พร้อมตาราง ประกอบด้วย ที่ หัวเร่ือง ตัวชี้วัด เนื้อหา
และจานวนช่ัวโมง
กกกกกกก5. สาระทักษะการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 มาตรฐาน ที่เน้นเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง
การใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็น และการวจิ ยั อยา่ งง่าย
เอกสารนประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรียนรู้
2
สาระทกั ษะการเรยี นรู้
กกกกกกกสาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเก่ียวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้าน
การเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็น และการวิจัยอย่างง่าย
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถกาหนดเป้าหมาย วางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เข้าถึง
และเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ จัดการความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล
ท่ีสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการชี้นาตนเองในการเรียนรู้ และการประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับ
หลักการพ้ืนฐาน และการพัฒนา 5 ศักยภาพของพ้ืนท่ีใน 5 กลุ่มอาชีพ คือ เกษตรกรรม
อุตสาหกรรมพาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การอานวยการ (การบริหารจัดการและบริการ)
ตามยทุ ธศาสตร์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้อยา่ งต่อเน่อื งตลอดชีวิต
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐานที่ 1.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคตทิ ่ีดีตอ่ การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง
มาตรฐานที่ 1.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติท่ีดตี อ่ การใช้แหลง่ เรียนรู้
มาตรฐานที่ 1.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดตี อ่ การจดั การความรู้
มาตรฐานที่ 1.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคติที่ดตี อ่ การคดิ เป็น
มาตรฐานท่ี 1.5 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติท่ีดีตอ่ การวจิ ัยอย่างง่าย
เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้
ผงั มโนทศั น์
ความหมาย ความสาคัญของการวจิ ยั อยา่ ง มาตรฐานท่ี 1.5
ง่าย กระบวนการ ข้ันตอนการดาเนินงาน การวจิ ัยอย่างงา่ ย
ศกึ ษาทาความเข้าใจกบั ความเช่อื พืน้ ฐานทางการศึกษา
ผูใ้ หญ่ การศึกษานอกระบบการเชอื่ มโยงไปสู่การเรยี นรู้
เรอ่ื งความหมายความสาคญั ของการคดิ เปน็ และศกั ยภาพ มาตรฐานที่ 1.4
การประกอบอาชพี ในดา้ น การคดิ เปน็ ทกั ษ
- ศักยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นแต่ละพ้ืนที่ เพ่อื พฒั นา
- ศักยภาพของพ้ืนท่ตี ามสภาพภมู อิ ากาศ อา
- ศกั ยภาพของภูมิประเทศและทาเลที่ต้งั ของแต่ละพน้ื ท่ี
ความหมาย ความสาคญั หลักการ มาตรฐานท่ี 1.3
กระบวนการจดั การเรียนรู้ การรวมกลมุ่ การจัดการความรู้
การพฒั นาความรู้ และการจดั ทาสารสนเทศ
ฝึกทักษะกระบวนการจดั การความรู้ ระด
การรวมกล่มุ ปฏิบตั ิการ การพฒั นาความรู้
สรุปองค์ความรู้ และจัดทาสารสนเทศองคค์ วามรู้
มาตรฐานที่ 1.1 ความหมาย ความสาคญั ของการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
ฝึกทักษะพ้ืนฐานทางการศึกษาหาความรู้
ทกั ษะการแก้ปัญหาและเทคนิคในการเรยี นรู้
ษะการเรยี นรู้ เจตคต/ิ ปจั จยั ที่ทาให้การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองประสบ
าศักยภาพ 5 กลุ่ม ความสาเร็จ การเปดิ รับโอกาสการเรยี นรู้ การคดิ ริเริ่ม
าชีพใหม่ สรา้ งสรรคก์ ารสรา้ งแรงจงู ใจ การสรา้ งวินัยในตนเอง
การคิดเชงิ บวก การใฝร่ ใู้ ฝ่เรียน ความรับผดิ ชอบ
ความหมาย ความสาคัญของแหลง่ เรยี นรู้
มาตรฐานที่ 1.2 การเข้าถึงและการใช้แหลง่ เรยี นรู้
การใช้แหล่งเรยี นรู้ ห้องสมดุ สถานศึกษา ศนู ย์การเรยี น
กฎ กติกา เงอื่ นไขในการใช้บรกิ ารและศักยภาพ
การประกอบอาชีพโดยเนน้
ผงั มโนทัศน์ - ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาตใิ นแต่ละ
พ้นื ที่
ดับประถมศึกษา - ศกั ยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี
และวิถชี วี ิตของแตล่ ะพื้นที่
4
ความหมาย ความสาคญั การวจิ ัย มาตรฐานที่ 1.5 มาต
อยา่ งง่ายกระบวนการ และข้ันตอน การวิจยั อยา่ งงา่ ย การเร
ของการดาเนนิ งาน
ศึกษา ฝกึ ทกั ษะสถิติอยา่ งง่ายเพอ่ื การ
วจิ ัยเครอื่ งมอื การวจิ ยั และการเขยี น
โครงการวิจัย
ทบทวนความเขา้ ใจความเชือ่ พน้ื ฐานทางการศกึ ษา ทกั ษะการเรียนรู้
ผ้ใู หญ่การศกึ ษานอกระบบ การเชอ่ื มโยงไปส่กู าร เพอื่ พัฒนาศกั ยภาพ
เรยี นรู้ ความหมาย ความสาคญั ของการคดิ เป็น 5 กลมุ่ อาชพี ใหม่
การฝกึ ทักษะในการพจิ าณาขอ้ มลู และการนาไปใช้ มาตรฐานที่ 1.4 ม
การฝกึ ปฏิบัตกิ ารคดิ การตดั สนิ ใจอย่างเปน็ ระบบ การคดิ เปน็ ก
ในการแกป้ ญั หา
ผงั มโนทัศน์
ศกึ ษาทาความเขา้ ใจกบั ความเช่อื พ้ืนฐานทาง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต
การศึกษาผูใ้ หญ่ การศกึ ษานอกระบบการเช่ือมโยง
ไปสกู่ ารเรยี นรเู้ ร่อื งความหมายความสาคญั ของการ
คดิ เปน็ และศกั ยภาพการประกอบอาชพี ในดา้ น
- ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพน้ื ท่ี
- ศักยภาพของพ้นื ทีต่ ามสภาพภมู ิอากาศ
- ศกั ยภาพของภมู ปิ ระเทศทาเลที่ต้ังของแต่ละ
พนื้ ท่ี
ตรฐานท่ี 1.1 ทบทวนความหมาย ความสาคญั กระบวนการเรยี นรู้
รยี นรดู้ ้วยตนเอง
ฝกึ ทักษะพื้นฐานทางการศึกษา แก้ปัญหา
เทคนิคในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ทกั ษะการวางแผน
การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การวเิ คราะหว์ ิจารณ์
เจตคต/ิ ปัจจยั ท่ที าใหก้ ารเรยี นรู้ประสบความสาเรจ็ การ
เปดิ รับโอกาสการเรยี นรู้ การคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรคก์ ารคดิ เชิง
บวก การสร้างวินยั ตนเอง การใฝร่ ใู้ ฝ่เรียนและความ
มาตรฐานที่ 1.2 รบั ผิดชอบ
การใชแ้ หลง่ เรียนรู้ ความหมายความสาคัญของการใชแ้ หล่งเรียนประเภทตา่ ง
ๆ
ศึกษา เรียนรูก้ ารใช้อนิ เทอรเ์ น็ต การเข้าถงึ ขอ้ มูล
สารสนเทศและศักยภาพการประกอบอาชพี โดยเนน้
- ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพ้นื ที่
- ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวิต
ของแตล่ ะพื้นท่ี
มาตรฐานท่ี 1.3 ความหมาย ความสาคญั หลกั การของการจัดการความรู้
การจดั การความรู้ กระบวนการจดั การความรู้ การรวมกลุ่ม การพัฒนาขอบข่าย
ความรู้ การจดั ทาสารสนเทศเผยแพร่ความรู้
ฝกึ ทักษะกระบวนการจัดการความรู้ การแสวงหาการ
ประยุกต์ใช้ความรู้ การแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละการพฒั นา
ขอบขา่ ยความรู้
ต้น สรุปองค์ความรู้ การจดั ทาสารสนเทศองคค์ วามรู้
5
ทบทวนความหมาย ความสาคญั การวิจยั อย่างงา่ ย มา
กระบวนการ ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน สถติ ิอยา่ งง่าย การเร
เพ่อื การวจิ ยั เครอื่ งมอื การวิจยั การเขียนโครงวิจัยอย่าง มาตรฐานที่ 1.5
ศกึ ษา ฝกึ ทกั ษะการวจิ ยั ในบ้าน การเขียนรายงานการ การวิจัยอย่างง่าย
วิจัย การนาเสนอและเผยแพร่งานวจิ ัย
ทบทวนความรู้ ความเข้าใจ ความหมายของความเช่อื
พืน้ ฐานทางการศกึ ษา การเชือ่ มโยงสูก่ ระบวนการคดิ เปน็
ทบทวนความหมาย ความสาคญั ของการคดิ เปน็ ม
กระบวนการคดิ เป็น เพ่อื แกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบ กา
การเปรยี บเทยี บลกั ษณะข้อมูลทางด้านวชิ าการ ตนเอง ทกั ษะการเรยี นรู้
และสังคม สิ่งแวดลอ้ มที่แตกต่างกนั ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารเกบ็ เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพ 5 กลมุ่ อ
ข้อมลู วิเคราะห์ สงั เคราะห์ข้อมลู เพ่อื ประกอบการคดิ
ตัดสินใจ ใหม่
ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารคิดแกป้ ัญหาอยา่ งเปน็ ระบบจากกรณี
มาตรฐานท่ี มา
สรปุ กระบวนการแก้ปญั หาด้วยกระบวนการคิดเป็นจาก 1.4 การ
ขอ้ มูล ทเี่ ก็บ และวิเคราะห์จากชุมชน
ศึกษาทาความเขา้ ใจกบั ความเชือ่ พ้ืนฐานทางการศึกษา การคิดเป็น
ผูใ้ หญ่ การศึกษานอกระบบการเชอื่ มโยงไปส่กู ารเรยี นรู้
เร่ืองความหมายความสาคญั ของการคิดเป็น และ ผังมโนทศั
ศักยภาพการประกอบอาชพี ในดา้ น ระดบั มธั ยมศกึ ษาต
- ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษย์ในแตล่ ะพืน้ ที่
- ศักยภาพของพน้ื ทต่ี ามสภาพภูมอิ ากาศ
- ศักยภาพของภูมปิ ระเทศและทาเลทีต่ ัง้ ของแต่ละพื้นท่ี
ทบทวนความหมาย ความสาคญั กระบวนการเรียนรู้
ด้วยตนเอง
าตรฐานท่ี 1.1 ทบทวนการวางแผน การประเมินผลการเรยี นรู้ ทักษะ
รยี นรูด้ ้วยตนเอง พ้นื ฐาน เทคนคิ ในการเรยี นรู้ด้วยตนเองและการ
เวจิเคตรคาตะ/ิ หปว์จั จิ จายั รทณ่ีท์ าใหก้ ารเรียนรู้ประสบความสาเรจ็ การ
เปดิ รับโอกาสการเรยี นรู้ การคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ การคดิ
เชงิ บวก การสรา้ งแรงจงู ใจ การใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี น การสรา้ งวินยั
ในตนเอง และความรับผดิ ชอบ
ทบทวนความหมาย ความสาคญั ประเภทแหล่ง
มาตรฐานท่ี 1.2 ทบทวนการใชห้ ้องสมุด การเขา้ ถงึ สารสนเทศ
ารใชแ้ หลง่ เรยี นรู้
ศกึ ษา สารวจแหลง่ เรยี นภายในชมุ ชน จดั กลุ่มประเภท
และความสาคญั
อาชพี ศกึ ษาเรียนรกู้ บั ภูมปิ ญั ญา ปราชญ์ ผูร้ ูใ้ นทอ้ งถ่ินและ
ศักยภาพ การประกอบอาชพี โดยเน้น ศักยภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาตใิ นแตล่ ะพื้นท่ี ศักยภาพของศลิ ปะ
วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชวี ิตของแต่ละพื้นที่
ทบทวนความหมาย ความสาคญั หลกั การของการจดั การ
าตรฐานที่ 1.3 เรียนรู้ กระบวนการจดั การความรู้ การรวมกล่มุ การพัฒนา
รจดั การความรู้ ขอบขา่ ยความรู้ การจดั ทาสารสนเทศเผยแพรค่ วามรู้
ศน์ ฝึกทกั ษะกระบวนการจดั การความรู้ การแสวงหาความรู้
ตอนปลาย การประยุกต์ใช้ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้
สรุปองค์ความรู้ จดั ทาสารสนเทศ องค์ความรใู้ หม่ และการ
นาไป
ใชใ้ นการพัฒนาตนเอง ครอบครวั
6
มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ
และ
ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั
มาตรฐานท่ี 1.1 มคี วามรู้ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทด่ี ตี อ่ การเรยี นรู้ด้วยตนเอง
ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอ
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการ
ความสามารถ 1. อธบิ ายความหมาย สามารถวิเคราะห์ 1. สาม
ในการแสวงหา
ความรู้ ของการเรียนรดู้ ว้ ย เหน็ ความสาคญั ความรูจ้
ด้วยตนเอง
ตนเองและวิธกี าร และปฏิบัตกิ ารแสวงหา การฟัง
แสวงหาความรู้ดว้ ย ความรจู้ ากการอ่าน ฟงั และแล
ตนเอง และสรปุ ได้ถกู ต้อง 2. สาม
2. ปฏบิ ตั ติ น ตามหลกั วิชาการ การแสว
ตามขั้นตอนการแสวงหา ใหก้ บั ต
ความรู้ดว้ ยตนเอง 3. ปฏ
3. เห็นคณุ ค่า ในการแ
ของกจิ กรรมการ เกย่ี วกับ
แสวงหาความรู้ ทักษะก
4. สามารถบอก การจดบ
หรอื ยกตัวอย่างอาชพี 4. สาม
ในกลุม่ อาชพี ดา้ น ความเข
5 ศักยภ
ง
อนตน้ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
รเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวัง
มารถวเิ คราะห์ สามารถประมวลความรู้ 1. ประมวลความรู้
จาก การอา่ น ทางานบนฐานข้อมูล และสรปุ เป็นสารสนเทศ
การสงั เกต และมคี วามชานาญ 2. ทางานบนฐานขอ้ มลู
ละสรปุ ได้ถูกต้อง ในการอ่าน ฟงั จด ด้วยการแสวงหาความรู้
มารถจดั ระบบ บันทกึ เปน็ สารสนเทศ จนเปน็ ลักษณะนสิ ัย
วงหาความรู้ อยา่ งคล่องแคล่วรวดเรว็ 3. มีความชานาญ
ตนเอง ในทักษะการอ่าน
ฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอน ทักษะการฟงั
แสวงหาความรู้ และทกั ษะการจดบนั ทกึ
บทักษะการอ่าน อยา่ งคล่องแคลว่
การฟัง และทกั ษะ รวดเรว็
บันทึก 4. สามารถนาความรู้
มารถนาความรู้ ความเข้าใจในเรอ่ื ง
ข้าใจในเรือ่ ง 5 ศักยภาพของพืน้ ท่ี
ภาพของพ้ืนท่ี และหลกั การพน้ื ฐาน
8
ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอ
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการ
การเกษตรกรรม และหล
อตุ สาหกรรม ตามยุท
พาณิชยกรรม ความคิด กระทร
สร้างสรรค์ การบริหาร ไปเพมิ่
จดั การและการบรกิ าร ความส
ทส่ี อดคล้องกับศกั ยภาพ การปร
ของพน้ื ท่ที ต่ี นเองอาศัย โดยเนน้
อยู่ได้ ใหม่ ให
ระดับท
อนต้น ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รเรยี นร้ทู ค่ี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวงั
ลักการพื้นฐาน ตามยทุ ธศาสตร์ตาม
ทธศาสตร์ 2555 กระทรวงศกึ ษาธิการ
รวงศกึ ษาธกิ าร 2555 ไปเพ่มิ ขดี
มขดี ความสามารถ
สามารถ การประกอบอาชีพ
ระกอบอาชพี โดยเน้นทกี่ ลมุ่ อาชีพ
นทกี่ ลุ่มอาชีพ ใหม่ ใหแ้ ข่งขันไดใ้ น
หแ้ ข่งขนั ได้ใน ตลาดสากล
ทอ้ งถิน่
9
มาตรฐานที่ 1.2 มีความรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติท่ดี ตี อ่ การใชแ้ หลง่ เรียนรู้
ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มัธยมศึกษาตอ
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการ
รู้จกั เห็นคณุ ค่า 1. บอกประเภท สามารถจาแนก 1. จาแ
และใช้แหลง่ เรียนรู้ คณุ ลักษณะ จัดลาดบั ความสาคญั แตกตา่
ถกู ต้อง ของแหล่งเรยี นรู้ และเลือกใช้ และตดั
ในชมุ ชน และเลือกใช้ แหลง่ เรยี นรู้ได้ แหลง่ เร
แหลง่ เรยี นรูไ้ ด้ตามความ อยา่ งเหมาะสม 2. เรีย
เหมาะสม ความส
2. ใช้แหลง่ เรยี นรู้ เรียนรู้
อยา่ งเหน็ คุณค่า และจัด
3. ทาตามกฎ กติกา ในการใ
และขนั้ ตอนการใช้ ตนเอง
แหล่งเรียนรู้ 3. สาม
4. สามารถบอก การใช้แ
หรือยกตัวอยา่ ง ข้ันตอน
แหล่งเรยี นรเู้ กี่ยวกับ 4. สาม
เกษตรกรรม แหล่งเร
อตุ สาหกรรม ด้านเกษ
อนต้น ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวงั
แนกความ สามารถวางแผน 1. วางแผนการใช้แหลง่
างของแหลง่ เรยี นรู้ และใช้แหล่งเรยี นรไู้ ด้ เรยี นรู้ตามความต้องการ
ดสนิ ใจเลือกใช้ อย่างคล่องแคล่ว จาเป็น ของแตล่ ะบุคคล
รยี นรู้ จนเปน็ ลกั ษณะนิสัย 2. ใชแ้ หลง่ เรยี นรู้
ยงลาดับ จากเทคโนโลยีและ
สาคญั ของแหล่ง นวัตกรรมตามความ
ต้องการจาเปน็
ดทาระบบ 3. ใช้แหล่งเรยี นรู้
ใช้เรยี นร้ขู อง อยา่ งแคลว่ คล่อง
จนเป็นลกั ษณะนิสยั
มารถปฏบิ ัติ 4. สามารถวางแผน
แหลง่ เรยี นร้ตู าม และเลอื กใชแ้ หล่ง
นได้อย่างถูกต้อง เรยี นรู้
มารถเลอื กใช้ เพื่อพัฒนาอาชีพของ
รียนรู้ ตนเองและท้องถน่ิ ได้
ษตรกรรม อย่างรวดเร็วเหมาะสม
10
ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอ
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนร้ทู คี่ าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการ
พาณชิ ยกรรม อุตสาห
ความคิดสรา้ งสรรค์ พาณชิ
การบรหิ ารจัดการ ความค
และการบริการของ การบร
พื้นที่ และกา
ทต่ี นเองอาศัยอยูไ่ ด้ อาชพี ข
อาศยั อ
ตามคว
อนตน้ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รเรียนรทู้ ่คี าดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั
หกรรม
ชยกรรม กับความสามารถ เชน่
คิดสรา้ งสรรค์ การหาตาแหน่งงานว่าง
รหิ ารจดั การ จากอนิ เทอร์เน็ต ฯลฯ
ารบริการเกี่ยวกับ
ของพ้นื ที่ทตี่ นเอง
อยู่ได้
วามตอ้ งการ
11
มาตรฐานที่ 1.3 มคี วามร้คู วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติท่ีดตี อ่ การจัดการความรู้
ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอ
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการ
เข้าใจความหมาย 1. อธบิ ายความหมาย สามารถจาแนกผล 1. วเิ ค
กระบวนการชมุ ชน กระบวนการชุมชน ทีเ่ กดิ ข้นึ จากขอบเขต ของขอ
ปฏิบตั กิ าร ปฏิบัติการ กาหนด ความรู้ ตดั สินคณุ ค่า ตัดสนิ ค
และทาตามกระบวน ขอบเขตความรู้ กาหนดแนวทางพฒั นา แนวทา
การจดั การความรู้ จากความสามารถหลกั 2. เหน็
ชมุ ชน ของชุมชน และวิธกี าร ของกระ
ยกระดบั ขอบเขตความรู้ ความรู้
ให้สูงข้ึน ในการพ
2. รว่ มกนั แลกเปล่ยี น 3. ปฏ
เรยี นรู้ และสรุปผล กระบว
การเรยี นร้ทู บ่ี ง่ ช้ถี งึ ความรไู้
คณุ ค่าของกระบวนการ ระบบ
จดั การความรู้ 4. สาม
3. สามารถสงั เกต กระบว
และทาตามกระบวนการ ความร
การจดั การความรชู้ มุ ชน จาแนก
อนต้น ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั
คราะห์ผลที่เกดิ ขึ้น สามารถสรุป องค์ความรู้ 1. ออกแบบผลิตภัณฑ์
อบเขตความรู้ ใหม่ นาไปสรา้ งสรรค์ สรา้ งสูตร
คุณคา่ กาหนด สงั คมอดุ มปญั ญา สรปุ องค์ความรใู้ หม่
างพฒั นา ของขอบเขตความรู้
นความสมั พันธ์ 2. ประพฤตติ น
ะบวนการจัดการ เป็นบุคคลแห่งการ
กบั การนาไปใช้ เรยี นรู้
พฒั นาชุมชน 3. สามารถจดั ทาแผน
ฏบิ ัติตาม ท่ีความคิดเกี่ยวกับ
วนการการจดั การ อาชพี ในด้านต่าง ๆ
ได้อยา่ งเปน็ ของชมุ ชน เชน่
เกษตรกรรม
มารถนา อตุ สาหกรรม
วนการจดั การ พาณชิ ยกรรม ความคิด
รูข้ องชุมชน สร้างสรรค์ การบรหิ าร
กอาชีพในดา้ น จดั การ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
12
ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอ
มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการ
4. สามารถนา ตา่ ง ๆ
กระบวนการจัดการ เกษตร
ความรู้ของชุมชน อตุ สาห
ไปเลือกประกอบอาชพี พิณชย
ทเ่ี หมาะสมกบั ตนเองได้ ความค
การบร
ได้อยา่ ง
อนต้น ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รเรยี นรูท้ ค่ี าดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนร้ทู ค่ี าดหวงั
ของชมุ ชน คอื 4. สร้างสรรค์สงั คม
รกรรม อดุ มปัญญา
หกรรม
ยกรรม
คิดสรา้ งสรรค์
รหิ ารจดั การ
งถูกต้อง
13
มาตรฐานที่ 1.4 มคี วามรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ตี อ่ การคดิ เปน็
ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอ
มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการ
ความสามารถ 1. อธิบาย และเชื่อมโยง ความสามารถ 1. อธบิ
ในการอธิบายปรชั ญา ความเช่ือพน้ื ฐาน ในการศึกษา เลือกสรร ปรัชญา
คิดเป็น และทักษะใน ทางการศึกษาผู้ใหญ่ / จัดเก็บ และการ และลกั
การใช้กระบวนการ การศึกษานอกระบบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ด้านวิช
คิดเป็น ส่ปู รัชญาคิดเป็น ข้อมูล สังคม ส
ในการแก้ปญั หา 2. เขา้ ใจความหมาย ทัง้ 3 ประการ ทจ่ี ะนา
และความสาคญั และการใช้เทคนิค และสัง
ของปรชั ญาคิดเป็น ในการฝกึ ทักษะ เพอ่ื ปร
สามารถอธบิ าย การคิดเปน็ เพื่อใช้ การตัด
ถึงขั้นตอน ประกอบการตัดสนิ ใจ 2. จาแ
และกระบวนการ แกป้ ัญหา ตรวจส
แก้ปัญหาของคนคิดเป็น ดา้ นวิช
สงั คม
อนต้น ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รเรียนร้ทู ่คี าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นร้ทู ค่ี าดหวัง
บายหรอื ทบทวน ความสามารถ 1. อธิบายหรอื ทบทวน
าคดิ เป็น ในการฝึกทักษะการคิด ปรัชญาคดิ เปน็
กษณะของข้อมูล เป็นทีซ่ บั ซ้อนเชอ่ื มโยง และการใชร้ ะบบข้อมูล
ชาการ ตนเอง กบั คณุ ธรรม จริยธรรม ทางวิชาการ ตนเอง
ส่ิงแวดลอ้ ม ทเี่ กี่ยวข้องกับปรัชญา และสังคม สง่ิ แวดล้อม
ามาวเิ คราะห์ คิดเปน็ และสามารถระบุ มาวเิ คราะห์ สังเคราะห์
งเคราะห์ ถงึ ปญั หาอปุ สรรค เพื่อประกอบ
ะกอบการคิด การพฒั นากระบวนการ กระบวนการคดิ
ดสนิ ใจแกป้ ญั หา คดิ เป็น และการแก้ไข การตดั สนิ ใจ
แนก เปรียบเทียบ ในการแก้ปัญหา
สอบข้อมลู
ชาการ ตนเอง
14
ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอ
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรูท้ ่ีคาดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการ
3. เขา้ ใจลกั ษณะ สงิ่ แวดล
ของขอ้ มูลด้านวชิ าการ และทกั
ตนเอง และสังคม วิเคราะ
ส่งิ แวดลอ้ ม และสามารถ ขอ้ มลู ท
เปรียบเทียบ เพือ่ ปร
ความแตกต่างของขอ้ มูล การตัด
ท้ัง 3 ดา้ น 3. ปฏ
4. เขา้ ใจและบอกไดว้ า่ กระบว
หลักการ”คดิ เป็น” ประกอ
และความเชอ่ื พื้นฐาน ได้อย่าง
ทางการศกึ ษาผูใ้ หญ่ 4. สาม
เป็นเรื่องทส่ี อดคลอ้ ง ความเข
กับ 5 ศักยภาพของ 5 ศักยภ
พนื้ ทตี่ ามยุทธศาสตร์ และหล
ของ ตามยุท
กระทรวงศึกษาธิการ
อนตน้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
รเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรูท้ ่ีคาดหวัง
ลอ้ มที่จดั เก็บ 2. อธิบายและ
กษะในการ ปฏบิ ตั ิการใชเ้ ทคนิค
ะห์ สังเคราะห์ วธิ กี ารฝึกทกั ษะ การคิด
ทั้ง 3 ดา้ น เปน็ ทซ่ี บั ซ้อน
ะกอบ และนาคุณธรรม
ดสินใจแกป้ ัญหา จริยธรรม ท่เี กีย่ วข้อง
ฏบิ ัติตามเทคนคิ มาส่งเสรมิ กระบวนการ
วนการคดิ เปน็ คิดเป็นใหม้ ากข้นึ
อบการตัดสนิ ใจ 3. อภปิ รายถกแถลงถงึ
งเป็นระบบ ปญั หาและอปุ สรรค ใน
มารถนาความรู้ การใช้กระบวน
ขา้ ใจในเรอ่ื ง การคดิ เปน็
ภาพของพนื้ ที่ ประกอบการแกป้ ญั หา
ลกั การพืน้ ฐาน
ทธศาสตร์ตาม
15
ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษาต
มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลกา
2555 ในการนาไปเพ่ิมขีด กระทร
ความสามารถ 2555
การประกอบอาชพี ความ
โดยเน้น 5 กลุม่ อาชพี ใหม่ การปร
ในระดับทอ้ งถิ่น โดยเน
ใหแ้ ขง่
ตอนต้น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ารเรยี นร้ทู ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง
รวงศกึ ษาธิการ 4. เช่อื มโยงปรชั ญา คิดเปน็
ไปเพิ่มขีด กระบวนการ
มสามารถ เรียนรู้ การศกึ ษา
ระกอบอาชีพ นอกระบบ
น้นท่กี ลุ่มอาชพี ใหม่ 5. บอกลกั ษณะ
งขนั ไดใ้ นระดบั ชาติ ของคนคิดเป็น ไดอ้ ย่างนอ้ ย
8 ประการ
6. สามารถนาความรู้
ความเขา้ ใจในเรื่อง
5 ศักยภาพ ของพ้นื ท่ีและ
หลักการพืน้ ฐาน
ตามยุทธศาสตร์ตาม
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2555
ไปเพิม่ ขดี ความสามารถ
การประกอบอาชพี
โดยเนน้ ท่กี ลุม่ อาชีพใหม่
ใหแ้ ข่งขนั ไดใ้ นตลาดสากล
16
มาตรฐานท่ี 1.5 มีความร้คู วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติทด่ี ตี ่อการวจิ ัยอย่างง่าย
ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มัธยมศกึ ษาต
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนร้ทู ค่ี าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลกา
เขา้ ใจความหมาย 1. อธิบายความหมาย สามารถวเิ คราะห์ 1. ระ
เหน็ ความสาคัญ ความสาคัญ และ ปญั หา ความจาเป็น ความจ
และปฏิบตั กิ าร ขน้ั ตอน ในการทา เหน็ ความสัมพนั ธ์ และป
รวบรวมขอ้ มูล วิจยั อย่างงา่ ย คน้ หา ของกระบวนการวจิ ัย จะไดร้
วิเคราะห์ข้อมลู และ ความรูค้ วามจริง กับการนาไปใช้ในชีวิต และสบื
สรุปผลการหาความรู้ 2. เห็นความสาคญั และดาเนนิ การวจิ ยั เพื่อทา
ความจริง ของการคน้ หาความรู้ ทดลองตามขั้นตอน ในปญั
ความจรงิ กาหน
3. ปฏิบัตกิ ารเก็บ ความจ
รวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะห์ 2. เห
ขอ้ มลู และสรุปผล ของกร
การหาความรคู้ วามจริง กับกา
ตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ารเรียนร้ทู ่ีคาดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวัง
ะบุปญั หา สามารถวางแผน 1. ออกแบบการวิจยั
จาเปน็ วตั ถปุ ระสงค์ การวิจัย ดาเนินการ เพื่อค้นหาความรู้
ประโยชน์ ที่คาดว่า ตามแบบแผน ความจริงทตี่ ้องการคาตอบ
รับจากการวิจัย อยา่ งถูกต้อง 2. ดาเนนิ การตามแบบ
บค้นข้อมลู แผนการวจิ ัย
าความกระจา่ ง และวิเคราะห์ขอ้ มูล
ญหาการวิจัย รวมทง้ั สรปุ สารสนเทศความรู้
นดวธิ กี ารหาความรู้ ความจริงที่ต้องการคาตอบ
จรงิ 3. ใชก้ ระบวนการวจิ ัย
หน็ ความสมั พนั ธ์ อยา่ งงา่ ย
ระบวนการวิจัย เพอื่ เพ่มิ ศักยภาพ
ารนาไปใช้ในชวี ิต และขดี ความสามารถ
ในการประกอบอาชพี
สร้างรายไดท้ ี่มั่งคง่ั และ
มัน่ คง
17
ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาต
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลกา
3. ปฏ
ทดลอ
วเิ ครา
และสร
จริง
ตามขน้ั
ไดอ้ ยา่
เช่น ก
อาชีพ
ตอนต้น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ารเรียนรู้ทีค่ าดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวัง
ฏบิ ัตกิ ารศกึ ษา
อง รวบรวม
าะห์ข้อมูล
รปุ ความรูค้ วาม
นตอน
างถกู ต้อง ชัดเจน
การวิเคราะห์
พ
18
รายวิชาบงั คบั และเลอื ก
20
รายวิชาบังคับ
สาระทักษะการเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี ระดับการศึกษา รหสั วิชา รายวิชา หนว่ ยกติ
1.1 ประถมศกึ ษา
1.2 มธั ยมศึกษาตอนตน้ ทร11001 ทกั ษะการเรยี นรู้ 5
1.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย
1.4 ทร21001 ทักษะการเรียนรู้ 5
1.5
ทร31001 ทกั ษะการเรียนรู้ 5
รายวิชาเลอื ก
สาระทักษะการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี ระดับการศึกษา รหัสวิชา รายวชิ า หน่วยกิต
1.1
1.1 ประถมศึกษา ทร02001 ข้อมูลน้นั สาคัญไฉน 1
1.1 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
1.1 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ทร02001 เทคนคิ การแก้ปญั หา 1
1.1
1.1 ทร02003 ทกั ษะการตัดสนิ ใจ 1
1.1 ทร02004 ทกั ษะการคิด 1
1.1 ทร02005 การร้จู ักตนเอง 1
ทร02006 โรงงานเพ่อื พัฒนา 1
ทร02007 ทกั ษะการเรยี นรู้ 1
เทคนคิ การวิเคราะห์
งาน
ทร02008 เทคนิคการจดบนั ทึก 1
เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้
21
มาตรฐานท่ี ระดบั การศึกษา รหัสวชิ า รายวชิ า หนว่ ยกิต
1.1 ทร02009 การอา่ นเพื่อ 1
ความเข้าใจ
1.1 ทร02010 1
1.1 ทร02011 แผนพฒั นาความคดิ 1
1.1 ทร02012 (Mind Map) 1
1.1 ทร02013 ทักษะการพูด 1
1.1 ทกั ษะการคิด
1.1 ทร02014 หลายดา้ น 1
1.1 การเรยี นร้วู ิธกี าร
1.2 กระบวนการกลุ่ม
ทักษะการจา
1.2
1.2 ทร02015 แฟม้ สะสมงาน 1
1.2 ทร02016 การสร้างวินัยตนเอง 1
ทร02017 Internet กับการ 1
1.2 ทร02018 เรยี นรไู้ ร้พรมแดน 1
1.2 ทร02019 มาเรยี นร้กู ับภมู ิ 1
ทร02020 ปญั ญากันเถอะ 1
1.2 เทคนิคการใช้
ทร02021 ห้องสมุดประชาชน 1
ทร02022 เรยี นร้กู ับปราชญ์ / 1
ทร02023 ผู้รู้ / ภูมิปัญญา 1
ท้องถิ่น
แหล่งเรียนรูใ้ นชมุ ชน
การทาหนงั สือ
ด้วยสองมอื เรา
เทคนิคการจัด
เวทชี าวบ้าน
เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้
22
มาตรฐานท่ี ระดบั การศกึ ษา รหสั วชิ า รายวิชา หนว่ ยกิต
1.3
ทร02024 ชมุ ชนนกั ปฏบิ ัติ 1
1.3 ทร02025 การจดั การความร้ใู น 1
1.3 การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
1.3 ทร02026 1
1.3 ทร02027 ไดอารี่ออนไลน์ 1
ทร02028 ตลาดความรู้ 1
1.4 ทร02029 การบรหิ ารเวลา 1
คิดเป็นกบั ปรัชญา
1.4 ทร02030 ของเศรษฐกจิ 1
1.4 ทร02031 พอเพยี ง 1
1.4 ทร03032 ตอ่ ยอดงานอาชีพ 1
1.4 ทร02033 เป็นคนคิดเปน็ 1
คิดอย่างไรใหเ้ ป็นสุข
1.4 ศาสนาพาให้คิดเป็น
1.5 ทร02034 ปญั หา 1
1.5 กอ่ ให้เกิดปญั ญา
ทร02035 สถติ ิงา่ ยๆ 1
1.5 เพื่อการวิจัย
1.5 ทร02036 1
1.5 ทร02037 เครอ่ื งมือการวจิ ยั 1
1.5 การเขียโครงการวิจัย
1.5 ทร02038 อยา่ งง่าย ๆ 1
1.5 ทร02039 1
ทร02040 วิจัยในอาชพี 1
ทร02041 วิจัยในบ้าน 1
ทร02042 วจิ ัยในชุมชน 1
วจิ ัยกับ IT
การนาเสนอและ
เผยแพรง่ านวิจยั
เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้
คำอธิบำยรำยวิชำ
และ
รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวิชำบงั คบั
เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้
24
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
และ
รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวชิ ำบังคบั
ระดบั ประถมศกึ ษำ
เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้
25
คำอธบิ ำยรำยวิชำ ทร11001 ทกั ษะกำรเรียนรู้ จำนวน 5 หนว่ ยกติ
ระดบั ประถมศึกษำ
มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ
สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้าน
การเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็น และการวิจัยอย่างง่าย
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถกาหนดเป้าหมาย วางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เข้าถึง
และเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ จัดการความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล
ท่ีสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการช้ีนาตนเองในการเรียนรู้ และการประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับ
หลักการพื้นฐาน และการพัฒนา 5 ศักยภาพหลักของพ้ืนท่ีใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพ
ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการ
เป็นการบริการ ตามยุทธศาสตร์ 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ดงั นน้ั สาระทักษะการเรยี นรู้ระดับประถมศกึ ษาจงึ มีมาตรฐานการเรยี นร้รู ะดบั ดังนี้
1. ความสามารถในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง
2. รูจ้ ัก เห็นคุณคา่ และใชแ้ หลง่ เรียนรู้ถกู ต้อง
3. เข้าใจ ความหมาย กระบวนการชุมชน และศักยภาพของชุมชน ในการปฏิบัติการ
และทาตามกระบวนการจัดการความรู้ชุมชน ด้านอาชีพ เพ่ือเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ
ในการแข่งขนั ทส่ี ามารถสร้างรายไดท้ ่มี ง่ั คัง่ และมนั่ คง
4. ความสามารถในการอธิบายกระบวนการคิดเป็น และทักษะในการใช้กระบวนการคิด
เปน็ ในการแกป้ ญั หา การเรยี นรแู้ ละการประกอบอาชพี ได้อย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวิต
5. เข้าใจความหมาย เห็นความสาคัญ และปฏิบัติการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล
และสรปุ ผลการหาความรู้ ความจรงิ ในการเรียนร้แู ละการประกอบอาชีพ
6. เข้าใจความหมาย และเห็นความสาคัญของศักยภาพของพ้ืนท่ีใน การเพิ่มขีด
ความสามารถของการประกอบอาชพี 5 กลุ่มอาชีพใหม่
ศึกษำและฝกึ ทกั ษะเกย่ี วกบั เรอื่ งดงั ตอ่ ไปนี้
1. การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
ความหมาย ความสาคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ฝึกทักษะพ้ืนฐานทางการศึกษาหา
ความรู้ ทักษะการแก้ปัญหาและเทคนิคในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้านการอ่าน การฟัง การสังเกต
การจา และการจดบนั ทกึ
เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้
26
เจตคติ/ปัจจัย ที่ทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ การเปิดรับโอกาส
การเรยี นรู้
การคิดริเริ่มและเรียนรู้ด้วยตนเอง การสร้างแรงจูงใจ การสร้างวินัยในตนเอง
การคิดเชงิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความรกั ในการเรียน การใฝร่ ูใ้ ฝ่เรียน และความรบั ผิดชอบ
กกกกกกก2. การใชแ้ หลง่ เรียนรู้
ศึกษาความหมาย ความสาคัญ ของแหล่งเรียนรู้ โดยท่ัวไป เช่น กลุ่มบริการข้อมูล
กลุ่มศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ กลุ่มข้อมูลท้องถ่ิน กลุ่มส่ือ กลุ่มสันทนาการศึกษา สารวจแหล่ง
เรียนรู้ภายในชุมชน จัดกลุ่ม ประเภท และความสาคัญ ศึกษาเรียนรู้กับภูมิปัญญา ปราชญ์
ผรู้ ู้ในท้องถ่นิ
การเข้าถงึ และเลือกใชแ้ หล่งเรยี นรู้ ห้องสมุดประชาชน สถานศึกษา และศูนย์การเรียน
ชุมชน (ศรช.) ศึกษาบทบาทหน้าที่และการบริการของแหล่งเรียนรู้ด้านต่าง ๆ กฎ กติกา เง่ือนไข
ต่าง ๆ ในการไปขอใช้บริการ ฝึกทักษะการใช้ข้อมูลสารสนเทศ จากห้องสมุดประชาชนให้สอดคล้อง
กบั ความตอ้ งการ ความจาเปน็ เพื่อนาไปใช้ในการเรยี นรู้ของตนเอง
กกกกกกก3. การจัดการความรู้
ศึกษาความหมาย ความสาคัญ หลักการของการจัดการความรู้ กระบวนการจัดการ
ความรู้ การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม การจัดทาสารสนเทศ
เผยแพรค่ วามรู้
ฝึกทักษะกระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ
โดยการกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ระบุความรู้ที่ต้องใช้ การแสวงหาความรู้ สรุปองค์ความรู้
ประยุกต์ใชค้ วามรู้ แลกเปลย่ี นความรู้ การรวมกลุ่มปฏิบัติการเพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่าย
ความรู้ของกลมุ่ สรุปองคค์ วามรู้ของกล่มุ จดั ทาสารสนเทศ องค์ความร้ใู นการพฒั นาตนเอง ครอบครวั
กกกกกกก4. การคดิ เป็น
ศึกษาทาความเข้าใจกับความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษานอกระบบ
และเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรเู้ รอ่ื งความหมายและความสาคญั ของการคิดเปน็ โดยใชข้ อ้ มูลด้านวิชาการ
ตนเอง สังคม ส่ิงแวดล้อมอย่างพอเพียง มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ เพ่ือกาหนดทางเลือกในการคิด
การตัดสินใจ แก้ปัญหาท่ีเหมาะสมอย่างคนคิดเป็น ฝึกทักษะในการทาความเข้าใจในลักษณะ
ของข้อมูลด้านวิชาการ ตนเอง และสังคม สิ่งแวดล้อม และฝึกการใช้ข้อมูลท้ัง 3 ด้าน
ในการประกอบการคิดและการตัดสินใจ แก้ปัญหาท่ีหลากหลาย ตามกระบวนการแก้ปัญหา
อย่างคนคิดเปน็
เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้
27
5. การวิจัยอย่างงา่ ย
ศึกษา / ฝึกทักษะ ความหมาย ความสาคัญของ การวิจัยอย่างง่าย กระบวนการ
และข้ันตอนของการดาเนินงาน ได้แก่ การระบุ / กาหนดปัญหา ท่ีต้องการหาความรู้ ความจริง
หรือสิ่งต้องการพัฒนา การแสวงหาความรู้จากการศึกษาเอกสาร ผู้ทรงคุณวุฒิ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
แหล่งความรู้ต่าง ๆ เพื่อกาหนดแนวคาตอบเบื้องต้น การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการ สอบถาม
สารวจ / สัมภาษณ์ / ทดลอง การนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาคาตอบท่ีต้องการ การเขียนรายงาน
สรุปผล และการนาความรู้ไปปฏบิ ตั จิ ริง
6. ทักษะการเรียนรู้ และศกั ยภาพหลกั ของพื้นทใ่ี นการพฒั นาอาชีพ
ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ทักษะการเรียนรู้ เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือในการเพิ่ม
ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพ
ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการ
และการบริการ โดยคานึงถึงศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี คือ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ในแต่
ละพนื้ ท่ี ศักยภาพของพ้นื ท่ีตามลกั ษณะภูมิอากาศ ศกั ยภาพของภูมปิ ระเทศ และทาเลท่ีต้ังของแต่
ละพื้นท่ี ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ และศักยภาพ
ของทรัพยากรมนุษย์ในแตล่ ะพื้นที่
กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้
1. การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง
ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์
ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อ 1) ฝึกให้ผู้เรียนได้กาหนดเป้าหมาย และวางแผนการเรียนรู้
2) เพ่ิมพูนให้มีทักษะพื้นฐานในการอ่าน ฟัง สังเกต จา จดบันทึก 3) มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้
ด้วยตนเองท่ีทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบผลสาเร็จ และนาความรู้ไปใช้ในวิถีชีวิตให้เหมาะสม
กับตนเอง และชุมชน/สังคม
2. การใช้แหล่งเรียนรู้
ต้องให้ผู้เรียนทุกคนไปศึกษาห้องสมุดประชาชนอาเภอ ทาความเข้าใจบทบาท หน้าท่ี
กฎ กติกา เงือ่ นไขการใหบ้ รกิ าร เพ่ือใชห้ อ้ งสมุดประชาชนให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการ ความจาเป็น
ในการนาไปใช้ในการเรียนรู้ของตนเอง รวมทั้งมอบหมายให้ผู้เรียนไปศึกษาจากแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ
เชน่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรยี นรูช้ ุมชน
เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้
28
3. การจัดการความรู้
ศึกษาค้นคว้าหลักการ และกระบวนการของการจัดการความรู้ การฝึกปฏิบัติจริง
โดยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ / ชุมชนปฏิบัติการ (Community of practice = Cops) สรุปองค์
ความรู้ของกลมุ่ และจดั ทาสารสนเทศเผยแพร่ความรู้
4. การคิดเปน็
ให้ผู้เรียนได้ศึกษาทาความเข้าใจกับความเช่ือพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ / การศึกษา
นอกระบบ ด้วยกระบวนการอภิปรายกลุ่มและร่วมสรุปสาระสาคัญท่ีเชื่อมโยงไปสู่การคิดเป็น
ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลท้ังด้านวิชาการ ตนเอง สังคม และส่ิงแวดล้อม และนาไปสู่การคิด
และการแก้ปัญหาตามกระบวนการคิดเป็นที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุข จากใบงาน
และใบความรู้ต่าง ๆ ท่ีมีการจัดเตรียมไว้ให้ผู้เรียน มีโอกาสฝึกทักษะในการคิด การให้เหตุผล
ในการแก้ปัญหาหลากหลายชนิดที่เสนอขึ้นมาเป็นกรณีตัวอย่าง และสรุปให้เห็นว่าการแก้ปัญหา
ตามกระบวนการคิดเป็นนัน้ ต้องใช้ขอ้ มูลประกอบอย่างน้อย 3 ประการดงั กล่าว
5. การวิจัยอยา่ งงา่ ย
จัดให้ผ้เู รยี นได้ศกึ ษา คน้ ควา้ เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง ฝกึ ทกั ษะการสงั เกตและคน้ หาปญั หา
ที่พบในชีวิตประจาวัน / ในสาระท่ีเรียน การตั้งคาถาม การแลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพ่ือน / ผู้รู้
การคาดเดาคาตอบอย่างมีเหตผุ ล การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัยง่าย ๆ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การสรปุ ข้อมูลและเขียนรายงานผลอยา่ งง่าย ๆ
6. ทกั ษะการเรยี นร้แู ละศักยภาพหลักของพื้นที่ในการพฒั นาอาชีพ
จัดให้ผู้เรียนท้ังรายบุคคล/กลุ่มได้ศึกษา ประยุกต์ทักษะการเรียนรู้ โดยคานึงถึง
พ้ืนฐานศักยภาพแต่ละพื้นท่ี ท่ีมีความแตกต่าง และมีความต้องการของท้องถิ่นไม่เหมือนกัน
ในการเพิ่มขีดความสามารถของการประกอบอาชีพ 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพ
ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการ
และการบรกิ าร เพอื่ สรา้ งอาชพี และรายได้ อยา่ งมัน่ คง และยั่งยนื อยา่ งตอ่ เน่อื ง
กำรวัดและประเมนิ ผล
1. การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง
ใช้การประเมินจากสภาพจริงของผู้เรียนที่แสดงออกเก่ียวกับ การกาหนดเป้าหมาย
และวางแผนการเรียนรู้ รวมทักษะพื้นฐานและเทคนิคในการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนปัจจัยที่ทาให้
การเรียนรู้ประสบความสาเร็จ
เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรียนรู้
29
2. การใชแ้ หลง่ เรียนรู้
ข้อมูลจากการนาเสนอ ซ่ึงเป็นผลจากการศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ ในรูปแบบต่าง ๆ
เช่น การเขยี นรายงาน การรว่ มกนั อภิปราย การนาในการพบกลุ่ม เป็นตน้
3. การจัดการความรู้
จากการสังเกต ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วม การให้ความร่วมมือ
ในกลุ่มปฏิบัติการ ผลงาน/ช้ินงาน จากการรวมกลุ่มปฏิบัติการ ใช้วิธีการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ระหว่างครู ผู้เรียนและผู้เก่ียวข้องร่วมกันประเมิน ตีค่าความสามารถ ความสาเร็จกับเป้าหมาย
ทีว่ างไว้ และระบุข้อบกพรอ่ งท่ีต้องแก้ไข ส่วนที่ทาไดด้ ีแล้วกพ็ ฒั นาใหด้ ีย่งิ ข้ึนตอ่ ไป
4. การคดิ เป็น
ประเมินจากการร่วมอภิปรายของผู้เรียน และจากการใช้ข้อมูลทางวิชาการ ตนเอง
และสังคม สิ่งแวดล้อม มาประมวลใช้ประกอบการคิด การตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
และพอเพยี งของผเู้ รยี น
5. การวิจยั อยา่ งงา่ ย
จากการสังเกต ความสนใจ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือ จากผลงาน / ชิ้นงาน
ท่มี อบหมายให้ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ในระหวา่ งเรียนและการสอบปลายภาคเรยี น
6. ทักษะการเรียนรู้และศกั ยภาพหลกั ของพ้นื ทใ่ี นการพัฒนาอาชพี
จากการสังเกต ความสนใจ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือ จากผลงาน / ช้ินงาน
ทีม่ อบหมายให้ ฝกึ ปฏิบตั ิ ในระหว่างการเรยี นและการสอบปลายภาคเรียน
เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้
30
รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
ทร11001 วชิ ำทักษะกำรเรียนรู้ สำระทักษะกำรเรยี นรู้ จำนวน 5 หน่วยกติ
ระดบั ประถมศึกษำ
มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ
1. ความสามารถในการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง
2. รจู้ กั เห็นคณุ คา่ และใช้แหลง่ เรียนรู้ถูกต้อง
3. เข้าใจ ความหมาย กระบวนการชุมชน และศักยภาพของชุมชนในการปฏิบัติการ
และทาตามกระบวนการจดั การความรู้ชมุ ชน เพื่อเพมิ่ ขีดความสามารถในการประกอบอาชพี
4. ความสามารถในการอธิบายกระบวนการคิดเป็น และทักษะในการใช้กระบวนการ
คดิ เป็นในการแกป้ ัญหา การเรยี นรู้และการประกอบอาชีพไดอ้ ย่างต่อเน่อื งตลอดชีวิต
5. เข้าใจความหมาย เห็นความสาคัญ และปฏิบัติการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล
และสรปุ ผลการหาความรู้ ความจริง ในการเรยี นรแู้ ละการประกอบอาชีพ
6. เข้าใจความหมาย และเห็นความสาคัญของศักยภาพหลักของพื้นท่ี ในการเพิ่มขีด
ความสามารถของการประกอบอาชีพ 5 กลุม่ อาชีพใหม่
ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวชวี้ ดั เนือ้ หำ จำนวน
(ช่วั โมง)
1 กำรเรียนรู้ 1. รู้ เข้าใจความหมาย 1. ความหมาย ความสาคัญ
3
ดว้ ยตนเอง ตระหนัก และเหน็ ความสาคัญ ของการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
8
ของการเรียนรดู้ ้วยตนเอง
15
2. สามารถกาหนดเปา้ หมาย 2. การกาหนดเปา้ หมาย
8
และวางแผนการเรยี นรู้ และวางแผนการเรียนรูด้ ้วยตนเอง
ดว้ ยตนเอง
3. มีทกั ษะพ้ืนฐานทาง 3. ทกั ษะพน้ื ฐานทางการศึกษา
การศึกษาหาความรู้ ทักษะการ หาความรู้ ทักษะการแก้ปญั หา
แกป้ ัญหา และเทคนิคในการ และเทคนิคในการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง
เรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง (การอ่าน การฟงั การสังเกต การจา
4. สามารถอธิบายปจั จัย ที่ทา และการจดบนั ทกึ )
ให้การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 4. เจตคต/ิ ปัจจัย ท่ที าให้การเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรียนรู้