The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา สาระทักษะการเรียนรู็

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เยาวภา บุญญาธิการ, 2020-07-15 00:44:35

ทักษะการเรียนรู้

หลักสูตรสถานศึกษา สาระทักษะการเรียนรู็

31

ท่ี หัวเรือ่ ง ตวั ชี้วดั เนื้อหำ จำนวน
(ช่ัวโมง)

ประสบความสาเรจ็ ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ

(การเปดิ รบั โอกาสการเรยี นรู้ การคิด

ริเร่มิ และเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง การสรา้ ง

แรงจูงใจ การสรา้ งวินยั ในตนเอง

การคิดเชิงบวก ความคดิ สรา้ งสรรค์

ความรักในการเรยี น การใฝร่ ู้ใฝ่เรยี น

และความรบั ผิดชอบ)

2 กำรใช้ 1. รู้ เข้าใจความหมาย 1. ความหมาย ความสาคัญ 3

แหลง่ ตระหนัก และเห็นความสาคัญ ของแหล่งเรยี นรโู้ ดยท่วั ไป (กลมุ่ บริการ

เรียนรู้ ของแหล่งเรียนรู้โดยทว่ั ไป ขอ้ มลู กลุ่มศิลปวฒั นธรรม

2. อธิบายถงึ ความสาคัญ ประวัตศิ าสตร์ กลุ่มข้อมูลท้องถน่ิ

ของการใช้แหลง่ เรียนรู้ กลุม่ สอื่ กลุ่มสนั ทนาการ)

3. สามารถบอกและ 2. การเขา้ ถงึ และเลอื กใช้แหล่งเรียนรู้ 10

ยกตัวอยา่ งประเภทของแหลง่ (ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอ

เรียนรู้ ของสถานศึกษา และ ศรช.)

4. สามารถเลอื กและบอก 3. บทบาทหนา้ ทแี่ ละการบริการ 6

วิธีการเข้าถึงแหลง่ เรียนรู้ ของแหล่งเรียนรู้ดา้ นตา่ ง ๆ

5. ยกตัวอย่างการใชแ้ หล่ง 4. กฎ กติกา เงอ่ื นไขต่าง ๆ 3

เรียนร้ขู องตนเอง ในการไปขอใชบ้ ริการแหลง่ เรียนรู้

6. สามารถอธบิ าย 5. ทักษะการใช้ข้อมูลสารสนเทศ 12

หรือยกตัวอยา่ งการใชข้ ้อมลู จากห้องสมุดประชาชนที่สอดคลอ้ ง

สารสนเทศจากห้องสมุด กับความต้องการ ความจาเป็น

ประชาชนทส่ี อดคล้องกับความ เพอ่ื นาไปใช้ในการเรยี นรู้ของตนเอง

ตอ้ งการ ความจาเปน็ เพ่ือ

นาไปใช้ในการเรียนรขู้ อง

ตนเอง

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้

32

ท่ี หวั เรอื่ ง ตัวช้ีวดั เนือ้ หำ จำนวน
(ชว่ั โมง)

3 กำรจดั กำร 1. รู้ เข้าใจ ความหมาย 1. ความหมาย ความสาคญั หลกั การ 3

ควำมรู้ ความสาคัญ ประโยชน์หลกั การ ของการจดั การความรู้

ของการจดั การความรู้

2. รู้ เข้าใจกระบวนการ 2. กระบวนการจดั การความรู้ 3
จดั การความรู้ (กาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ / ระบุ 10
ความรู้ / กาหนดความรู้ทีต่ ้องการใช้ / 10
3. สามารถใชก้ ารจดั การ การแสวงหาความรู้ / สรปุ องคค์ วามรู้
ความรู้เป็นเครื่องมือในการ ปรบั ปรงุ ดดั แปลงใหเ้ หมาะสม
เรยี นรู้ ต่อการใช้งาน / ประยกุ ต์ใช้ความรู้
ดว้ ยตนเอง ในกจิ การงานของตน / แลกเปลีย่ น
4. สามารถจดั การความรู้ ความรู้ / รวมกล่มุ ปฏิบตั ิการต่อยอด
โดยกระบวนการกลุ่ม ความรู้ พฒั นาขอบข่ายความรู้
5. สามารถสรา้ ง พัฒนา ของกลมุ่ / สรุปองค์ความรู้ของกลมุ่ /
ความรู้ (นวตั กรรม) จัดทาสารสนเทศ เผยแพร่ความร)ู้
6. สามารถใช้สารสนเทศ 3. กระบวนการจัดการความรู้
เป็นเคร่ืองมอื ในการเผยแพร่ ดว้ ยตนเอง (ระดับปัจเจก)
องค์ความรู้
3.1 กาหนดความรู้หลักทจี่ าเป็น
หรือสาคญั ต่องานหรือกิจกรรม

3.2 เสาะแสวงหาความรู้
3.3 ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้
3.4 แลกเปล่ียนความรู้
3.5 พฒั นาความรู้/ยกระดบั
ความรู้ / ตอ่ ยอดความรู้
3.6 สรุปองค์ความรู้
3.7 จดั ทาสารสนเทศองค์ความรู้
ในการพฒั นาตนเอง
กระบวนกำรจัดกำรควำมรดู้ ้วย

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

33

ท่ี หวั เรือ่ ง ตวั ช้ีวัด เนือ้ หำ จำนวน
(ชัว่ โมง)
กำรปฏิบตั กิ ำรกลมุ่ (ชุมชนนกั ปฏิบัติ
หรือชุมชนแหง่ กำรเรยี นรู้ :COPS) 3
1. รูปแบบของ COPS ท่ีใช้ในการ 5
จัดการความรู้
2. การทา COPS เพ่ือจัดการความรู้

2.1 บนั ทกึ การเลา่ เรื่อง
2.2 บนั ทกึ ขุมความรู้
2.3 บนั ทึกแกน่ ความรู้
3. บันทึก จดั เกบ็ เป็นองค์ความรู้
ของกลุ่ม เพ่ือใชป้ ระโยชนใ์ ห้ผู้อ่นื
ได้เรียนรู้ตอ่ ไป
กำรสรำ้ งองค์ควำมรู้ พฒั นำ ตอ่ ยอด
ยกระดับควำมรู้
1. การใชค้ วามรูแ้ ละประสบการณ์
ในตวั บคุ คลใหเ้ กิดประโยชน์ต่อกลมุ่ /
หน่วยงาน / ชุมชน
2. การทางานแบบต่อยอดความรู้
3. วธิ ีปฏบิ ตั ิทเ่ี ปน็ เลิศ (Best
Practice)
กำรจัดทำสำรสนเทศเผยแพร่
องคค์ วำมรู้
1. การถ่ายทอดความรู้ รูปแบบ
วิธีการ
2. การประสานความรู้
3. การถอดองค์ความรู้
4. การแลกเปลยี่ นเรียนรู้
5. การจดั เกบ็ ความรู้ของกลุ่ม /
องค์กร การสร้างคลังความรู้

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

34

ท่ี หัวเร่อื ง ตัวชี้วัด เนอ้ื หำ จำนวน
(ช่วั โมง)

การประยุกตใ์ ช้ ICT

4 กำรคิดเป็น 1. เขา้ ใจและเชอ่ื ม่ันในความ 1. ความเชอ่ื พืน้ ฐานทางการศกึ ษา

เชอื่ พ้ืนฐานทางการศึกษา ผใู้ หญ/่ การศึกษานอกระบบ

ผู้ใหญ่ /การศกึ ษานอกระบบท่ี 5 ประการ

เป็นพืน้ ฐานเบอื้ งต้นของการ 1.1 คนทกุ คนมีความแตกต่างกัน

เขา้ ถงึ กระบวนการคดิ เปน็ แต่ทกุ คนต้องการความสุข ความสขุ

2. รู้และเขา้ ใจปรัชญา คดิ เป็น ของแต่ละคนจึงแตกต่างกนั

ง่าย ๆ สามารถอธิบาย ได้ถงึ 1.2 ความสขุ ของคนจะเกิดขึ้น

ความหมายและความสาคญั ก็ตอ่ เมอื่ มีการปรับตวั เอง

ของการคิดเปน็ ท่ีเชอ่ื มโยง และส่งิ แวดลอ้ มใหเ้ ข้าหากันอยา่ งผสม

จากความเชือ่ พืน้ ฐาน กลมกลืนจนเกิดความพอดี

ทางการศกึ ษาผใู้ หญ่และ 1.3 สภาวะแวดล้อมในสังคม

การศกึ ษานอกระบบ / เปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา จงึ ทาให้

การศึกษา เกิดปญั หา เกิดความทุกข์

ตามอธั ยาศัย ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจอยตู่ ลอด

3. เขียนผงั กระบวนการคิด 1.4 เมอ่ื เกดิ ปัญหาหรอื เกิดทุกข์

แกป้ ัญหา ตามแนวทาง กต็ อ้ งหาวิธแี ก้ปัญหา ซึ่งการแกป้ ญั หา

ของคนคิดเปน็ ที่เหมาะสมตอ้ งมีข้อมลู ประกอบ

4. อธิบายเสนอแนวทา การคิด การตัดสนิ ใจ อย่างน้อย

การแกป้ ัญหาตามกระบวนการ 3 ประการ คือ ข้อมูลด้านวชิ าการ

คิดเปน็ จากกรณีตวั อย่างที่ ขอ้ มลู ด้านตนเอง ขอ้ มลู ดา้ นสงั คม

กาหนดได้อยา่ งมีข้อมลู สง่ิ แวดล้อม

เพียงพอ 1.5 เมื่อได้ใชว้ ิธแี ก้ปญั หาด้วยการ

5. ทาแบบฝึกหัดการแกป้ ัญหา วเิ คราะหข์ ้อมูลและไตร่ตรองข้อมูล

ดา้ นกระบวนการคดิ เป็นที่ อยา่ งรอบคอบ ทั้ง 3 ดา้ น จนมีความ

กาหนดให้ไดค้ ลอ่ ง พอใจแล้วก็พร้อมทีจ่ ะรบั ผิดชอบการ

ตดั สนิ ใจทเ่ี กิดความพอดี ความสมดุล

ระหว่างชวี ติ กับธรรมชาตอิ ยา่ งสนั ตสิ ุข

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้

35

ท่ี หวั เรื่อง ตวั ชี้วดั เน้อื หำ จำนวน
(ช่ัวโมง)
2. ปรัชญาคิดเปน็
2.1 ความหมาย
2.2 ความสาคญั
2.3 คาทเี่ กย่ี วข้อง
2.4 การเช่ือมโยงความเชื่อ

พ้นื ฐานทางการศึกษาผ้ใู หญ่ /
การศกึ ษานอกระบบ
กับปรชั ญาคิดเป็น
3. กระบวนการและข้นั ตอน
การแก้ปัญหาอย่างคนคิดเปน็

3.1 ทกุ ข/์ ปัญหาท่ีปรากฏ
3.2 ศกึ ษาสาเหตุของทกุ ข์ ปัญหา
โดยการวิเคราะห์ข้อมูลท่เี กยี่ วข้อง
ทั้งข้อมลู วชิ าการ ข้อมลู ตนเอง
และข้อมลู ทางสังคม ส่ิงแวดล้อม
ใหร้ ลู้ กั ษณะเบ้ืองตน้ ของขอ้ มูลทัง้
3 ประการ และเปรยี บเทียบ
ความแตกต่างของข้อมูล ตา่ ง ๆ
อย่างงา่ ย ๆ ได้
3.3 กาหนดทางเลือกในการ
ดบั ทุกข/์ ปัญหา และเลือกแนวทาง
ทเี่ หมาะสม
3.4 ดาเนนิ การแกป้ ัญหา
เพอื่ การดับทุกข์
3.5 ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน
หากมผี ลเปน็ ท่ีพอใจก็จะเกิดสันตสิ ขุ
ถ้ายงั ไมพ่ อใจก็จะย้อนกลบั ไปพจิ ารณา
สาเหตทุ ุกขห์ รือปัญหาใหม่

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้

36

ที่ หวั เรื่อง ตัวช้วี ดั เนอ้ื หำ จำนวน
(ช่ัวโมง)
และแสวงหาข้อมูลเพมิ่ เตมิ
อยา่ งพอเพยี งจนพอใจกบั การตดั สนิ ใจ
ของตนเอง
4. กรณีตวั อย่างทห่ี ลากหลาย
เพอ่ื ฝึกทกั ษะการคดิ เปน็
ด้วยกระบวนการแกป้ ัญหา
อย่างคนคดิ เป็น

5 กำรวิจยั 1. รเู้ ข้าใจความหมาย 1. วจิ ยั คอื อะไร ทาไมต้องรู้เรื่อง 2
24
อย่ำงง่ำย และตระหนักถงึ ความสาคญั การวจิ ยั (ความหมายและความสาคญั

ของการวจิ ัย ของการวิจัย)

2. วเิ คราะห์และกาหนด 1.1 ความหมายของการวิจัย

ปัญหาหรือส่งิ ที่อยากรู้ / 1.2 ความสาคัญและประโยชน์

ต้องการทราบคาตอบ ของการวจิ ัย

3. รูเ้ ข้าใจกระบวนการ 2. ทาวิจยั อยา่ งไร

และขนั้ ตอนการวิจยั (กระบวนการและข้ันตอนการวจิ ยั )

4. ฝึกปฏิบัตกิ ารสงั เกตปญั หา 2.1 คาถามท่ีตอ้ งการคาตอบ

การระบปุ ญั หา การ คืออะไรปญั หาที่ต้องการทราบ

ต้ังสมมตฐิ านการเก็บรวบรวม จากการวิจยั คืออะไร (การระบุปัญหา

ขอ้ มูล การสรปุ ขอ้ มูลและการ การวจิ ัย)

เขยี นรายงาน 2.2 คาดเดาคาตอบวา่ อยา่ งไร

การวจิ ัยอย่างงา่ ย กาหนดแนวคาตอบเบ้ืองต้น

(สมมตฐิ าน)

2.3 วธิ ีการหาคาตอบที่ตอ้ งการรู้ /

แหล่งคาตอบ/การรวบรวมคาตอบ

(การเก็บรวบรวมข้อมูล/เคร่ืองมือ

การวจิ ัย)

2.4 ตอบคาถามท่ีสงสยั วา่ อย่างไร

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้

37

ท่ี หวั เร่ือง ตัวชีว้ ัด เนือ้ หำ จำนวน
(ช่วั โมง)

(การวเิ คราะหข์ ้อมลู /สรปุ ผลการวิจยั ) 8

3. เขยี นอยา่ งไร ให้คนอ่านเข้าใจ

(การเขยี นรายงานการวจิ ัยอย่างง่าย)

3.1 ความเปน็ มา/ความสาคัญ

ของเรื่องท่ีทาวจิ ัย

3.2 วตั ถุประสงค์การวจิ ยั

3.3 ประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากการวจิ ยั

3.4 เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

3.5 วิธีดาเนินการวิจยั

3.6 การวเิ คราะห์ข้อมลู

3.7 สรุปผลและข้อเสนอแนะ

3.8 เอกสารอา้ งอิง

6 ทกั ษะการ 1. รเู้ ขา้ ใจความหมาย 1. ความหมาย ความสาคญั 5

เรียนรแู้ ละ ตระหนักและเห็นความสาคัญ ของศกั ยภาพหลักในการพัฒนาอาชีพ

ศกั ยภาพ ศักยภาพหลกั ของพน้ื ที่ 5 2. การวิเคราะหศ์ กั ยภาพหลกั 5

หลักของ ศกั ยภาพ ของพนื้ ที่ในการพัฒนาอาชีพ

พ้นื ทีใ่ น 2. อธบิ ายถงึ องค์ประกอบ 2. 1 ศกั ยภาพ

การพัฒนา ของศักยภาพ 5 ศกั ยภาพ ของทรพั ยากรธรรมชาติ

อาชีพ 3 . ยกตัวอยา่ งการใช้ ในแต่ละพนื้ ท่ี

ศกั ยภาพ 2.2 ศกั ยภาพของพน้ื ท่ี

5 ศักยภาพ โดยคานึงถึง ตามลักษณะภูมิอากาศ

ศักยภาพแลพบริบมรอบ ๆ 2.3 ศกั ยภาพของภมู ิประเทศ

ตัวผู้เรียน และทาเลท่ีตง้ั ของแตล่ ะพ้ืนท่ี

2.4 ศกั ยภาพของศลิ ปะ

วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ ของ

แตล่ ะพ้ืนที่

2.5 ศกั ยภาพของทรพั ยากร

มนษุ ย์ในแต่ละพน้ื ที่

3. ตวั อย่างอาชีพทส่ี อดคลอ้ งกบั

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

38

ที่ หวั เร่ือง ตวั ชวี้ ัด เนอ้ื หำ จำนวน
(ชว่ั โมง)
ศักยภาพหลกั ของพื้น คือ
3.1 กล่มุ อาชีพ 20

ดา้ นการเกษตรกรรม
3.2 กล่มุ อาชพี ดา้ นอุตสาหกรรม
3.3 กลุ่มอาชพี ดา้ นพาณิชย

กรรม
3.4 กลมุ่ อาชีพดา้ นความคดิ

สรา้ งสรรค์
3.5 กลุ่มอาชีพด้านบรหิ ารจดั การ

และการบรกิ าร

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

39

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
และ

รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวิชำบงั คบั
ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนตน้

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

40

อธบิ ำยรำยวิชำ ทร21001 ทักษะกำรเรยี นรู้ จำนวน 5 หนว่ ยกิต
ระดบั มธั ยมศึกษำตอนต้น

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ

สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเก่ียวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียน
ในด้านการเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็น และการวิจัย
อย่างง่าย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถกาหนดเป้าหมาย วางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
เข้าถึงและเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ จัดการความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล
ท่ีสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการชี้นาตนเองในการเรียนรู้ และการประกอบอาชีพให้สอดคล้อง
กับหลักการพื้นฐาน และการพัฒนา 5 ศักยภาพของพ้ืนท่ีใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ เกษตรกรรม
อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรร ค์ การบริหารจัดการและการบริการ
ตามยุทธศา สตร์ 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ดังนั้น
สาระทักษะการเรียนร้รู ะดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มีมาตรฐานการเรียนรู้ระดบั ดงั น้ี

1. สามารถวิเคราะห์ เห็นความสาคัญ และปฏิบัติการแสวงหาความรู้จากการอ่าน ฟัง
และสรปุ ไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักวิชาการ

2. สามารถจาแนก จัดลาดบั ความสาคญั และเลอื กใชแ้ หล่งเรียนรไู้ ด้อย่างเหมาะสม
3. สามารถจาแนกผลท่เี กดิ ข้ึนจากขอบเขตความรู้ ตดั สินคุณค่า กาหนดแนวทางพัฒนา
4. ความสามารถในการศึกษา เลือกสรร จัดเก็บ และการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล
ทงั้ 3 ประการ และการใชเ้ ทคนคิ ในการฝึกทักษะ การคดิ เปน็ เพื่อใช้ประกอบการตัดสนิ ใจแกป้ ัญหา
5. สามารถวิเคราะห์ปัญหา ความจาเป็น เห็นความสัมพันธ์ของกระบวนการวิจัย
กบั การนาไปใช้ในชวี ติ และดาเนินการวิจยั ทดลองตามขัน้ ตอน
6. สามารถจาแนก และวิเคราะห์ ทักษะการเรียนรู้ และศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี
ในการเพม่ิ ขีดความสามารถของการประกอบอาชีพใน 5 กลุม่ อาชพี ใหม่

ศึกษำและฝกึ ทักษะเกย่ี วกับเรื่องดังต่อไปน้ี

1. การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
ทบทวน ความหมาย ความสาคญั และกระบวนการของการเรียนรดู้ ้วยตนเอง

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้

41

ทบทวนทักษะพ้ืนฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทักษะการแก้ปัญหาและเทคนิค
ในการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง ดา้ นการอ่าน การฟัง การสงั เกต การจา และการจดบนั ทึก

ฝกึ ทกั ษะการวางแผนการเรียนรู้ และการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทักษะพ้ืนฐาน
และเทคนิคในการเรียนรู้ด้วยตนเองในเร่ืองการวางแผน การประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง
และการวิเคราะหว์ จิ ารณ์

เจตคติ/ปัจจัย ท่ีทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ การเปิดรับโอกาส
การเรียนรู้ การคิดริเร่ิมและเรียนรู้ด้วยตนเอง การสร้างแรงจูงใจ การสร้างวินัยในตนเอง
การคิดเชงิ บวก ความคดิ สรา้ งสรรค์ การใฝร่ ู้ใฝ่เรยี น และความรบั ผดิ ชอบ

2. การใชแ้ หลง่ เรียนรู้
ทบทวนความหมาย ความสาคัญของการใช้แหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ ศึกษ า

แหล่งเรียนรู้ หอสมุดแห่งชาติ หอสมุดวิทยาลัย/มหาวิทยาลัย ห้องสมุดเฉพาะ ห้องสมุดโรงเรียน
พพิ ธิ ภัณฑ์อทุ ยานแห่งชาติ แหล่งเรยี นรูส้ าคัญอ่นื ๆ ในประเทศ

ศกึ ษา เรยี นรู้ การใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ การเขา้ ถงึ ข้อมูลสารสนเทศทีต่ ้องการและสนใจ
3. การจัดการความรู้

ศึกษาความหมาย ความสาคัญ หลักการของการจัดการความรู้ กระบวนการจัดการ
ความรู้ การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม การจัดทาสารสนเทศ
เผยแพร่ความรู้

ฝึกทักษะกระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ
โดยการกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ระบุความรู้ท่ีต้องใช้ การแสวงหาความรู้ สรุปองค์ความรู้
ประยุกต์ใชค้ วามรู้ แลกเปลย่ี นความรู้ การรวมกลุ่มปฏิบัติการเพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่าย
ความรู้ของกลมุ่

สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม จัดทาสารสนเทศองค์ความรู้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว
ชุมชน

4. การคดิ เป็น
ทบทวนทาความเข้าใจกับความเช่ือพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษานอกระบบ

และเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่องความหมายและความสาคัญของการคิดเป็น โดยใช้ข้อมูลอย่างน้อย
3 ประการ คือ ข้อมูลด้านวิชาการ ตนเอง และสังคม ส่ิงแวดล้อม อย่างพอเพียงมาวิเคราะห์
และสังเคราะหเ์ พ่ือกาหนดทางเลือกในการคิด การตดั สนิ ใจแก้ปญั หาท่เี หมาะสมอย่างคนคิดเป็น

ศึกษาทาความเข้าใจและฝึกทักษะในการพิจารณาข้อมูล ท้ังด้านด้านวิชาการ ตนเอง
และสังคม ส่ิงแวดล้อม จนสามารถจาแนกและเปรียบเทียบลักษณะของข้อมูลท้ัง 3 ประการ

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

42

ได้จากกรณีที่หลากหลาย เพื่อนาไปใช้ในการเลือกเก็บข้อมูลดังกล่าวมาใช้ประกอบการคิดตัดสินใจ
อยา่ งคนคดิ เป็น

ฝึกปฏิบัติการคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบในการแก้ปัญหาอย่างคนคิดเป็น
จากกรณีตวั อย่าง

5. การวจิ ัยอย่างง่าย
ทบทวนความหมาย ความสาคัญการวิจัยอย่างง่าย กระบวนการและข้ันตอน

ของการดาเนนิ งาน
ศึกษา ฝึกทักษะ สถิติง่าย ๆ เพื่อการวิจัย เคร่ืองมือการวิจัย และการเขียน

โครงการวจิ ัยอยา่ งง่าย ๆ
6. ทักษะการเรียนรู้ และศักยภาพหลักของพ้ืนท่ีในการพัฒนาอาชีพ ศึกษา วิเคราะห์

และจาแนกใช้ทักษะการเรียนรู้ และศักยภาพหลักของพื้นท่ีในการเพ่ิมขีดความสามารถ
ของการประกอบอาชีพใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม
พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการและการบริการ โดยคานึงถึงศักยภาพหลัก
ของพ้ืนท่ี คือ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ในแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะ
ภมู อิ ากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศ และทาเลทตี่ ้งั ของแต่ละพื้นท่ี ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม
ประเพณี และวถิ ีชีวติ ของแต่ละพ้ืนท่ี และศักยภาพของทรัพยากรมนษุ ยใ์ นแตล่ ะพ้ืนที่

กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้

1. การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง
ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์

ในการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ซับซ้อน อย่างสร้างสรรค์ เพื่อ 1) ฝึกให้ผู้เรียนได้กาหนดเป้าหมาย
และวางแผนการเรียนรู้ 2) เพ่ิมพูนให้มีทักษะพ้ืนฐานในการการวางแผน การประเมินผลการเรียนรู้
ด้วยตนเอง การวิเคราะห์วิจารณ์ 3) มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ทาให้การเรียนรู้
ดว้ ยตนเองประสบผลสาเรจ็ และนาความรไู้ ปใช้ในวถิ ีชีวิตใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง และชมุ ชน / สังคม

2. การใช้แหลง่ เรยี นรู้
ให้ผู้เรียนศึกษาสารสนเทศ จากระดับชุมชนสู่ระดับจังหวัด ประเทศ และโลก

การเรียนรู้การใช้อินเตอร์เน็ต และแหล่งเรียนรู้ได้สอดคล้องกับความต้องการ ความจาเป็น
ในการนาไปใชใ้ นการแสวงหาขอ้ มลู เพอ่ื การเรยี นรู้ของตนเอง

3. การจัดการความรู้

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้

43

ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าหลักการ และกระบวนการของการจัดการความรู้ การฝึกปฏิบัติ
จริงโดยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ/ชุมชนปฏิบัติการ (Community of practice = Cops)
สรุปองค์ความรู้ของกลุ่มแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ยกระดับความรู้ และจัดทาสารสนเทศ
เผยแพรค่ วามรู้

4. การคิดเปน็
ให้ผู้เรียนท่ียังไม่เคยเรียนสาระน้ีมาก่อนได้ศึกษาเล่าเรียน และฝึกทักษะการคิด

การตัดสินใจในรายละเอยี ด เช่นเดียวกับในระดับประถมศึกษา สาหรับผู้เรียนท่ีได้เรียนสาระน้ีมาก่อน
แล้วควรจัดใหผ้ ู้เรยี นไดท้ บทวน ทาความเข้าใจกับการเชื่อมโยง ความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่
/การศกึ ษานอกระบบมาสู่การคิดเปน็ คล้ายกระบวนการอภปิ ราย ถกแถลงอย่างกว้างขวาง

ให้ผู้เรียนได้ศึกษาทาความเข้าใจเก่ียวกับลักษณะของข้อมูลทางด้านวิชาการ ตนเอง
และสังคม สิ่งแวดล้อม จากเอกสาร แหล่งความรู้ ใบความรู้ ฯลฯ และให้มีการฝึกอธิบาย
และยกตัวอย่าง เพ่ือเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างของลักษณะข้อมูลทั้ง 3 ประการ
ควรให้มีการทาใบงานในการฝึกปฏิบัติเพื่อเพิ่มประสบการณ์ในการเรียนรู้ลักษณะของข้อมูลทั้ง 3
ดา้ น

ให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึกปฏิบัติในการทาแบบฝึกหัดในใบงาน และการอภิปรายถกแถลง
ถึงกระบวนการคิด แก้ปัญหาอย่างการคิดเป็นท่ีต้องใช้ข้อมูล และกระบวนการคิด แก้ปัญหา
อย่างคนคิดเปน็ จากกรณตี วั อยา่ งท่หี ลากหลายยิง่ ขนึ้

5. การวจิ ยั อยา่ งง่าย
จัดให้ผู้เรยี นได้ศกึ ษา ค้นคว้า เอกสารทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ฝึกทักษะการสังเกตและคน้ หาปญั หา

ท่ีพบในชีวิตประจาวัน / ในสาระที่เรียน การตั้งคาถาม การแลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพื่อน / ผู้รู้
การคาดเดาคาตอบอย่างมีเหตุผล / การตั้งสมมติฐาน การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัย
ท่มี คี วามซบั ซ้อนขนึ้ การเก็บรวบรวมข้อมูล การสรา้ งเครอ่ื งมอื การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน
การนาเสนอข้อมูล การสรุปข้อมูลและเขยี นรายงานผล การเผยแพร่ข้อคน้ พบ

6. ทกั ษะการเรยี นรู้ และศักยภาพหลกั ของพ้นื ทใ่ี นการพฒั นาอาชีพ
จัดให้ผู้เรียนทั้งรายบุคคล/กลุ่มได้ศึกษา วิเคราะห์ จาแนกทักษะการเรียนรู้

โดยคานึงถึงศักยภาพหลักของแต่ละพื้นที่ ท่ีมีความแตกต่าง และมีความต้องการของท้องถ่ินท่ีไม่
เหมือนกัน เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถของการประกอบอาชีพใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพ
ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการ
และการบริการ เพ่ือสรา้ งอาชพี และรายได้ อย่างมัน่ คง และย่งั ยืนอย่างต่อเน่อื ง

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรียนรู้

44

กำรวัดและประเมนิ ผล

1. การเรียนรดู้ ้วยตนเอง
ใช้การประเมินจากผลงานของผู้เรียนที่แสดงออกเก่ียวกับ การกาหนดเป้าหมาย

และวางแผนการเรียนรู้ รวมทักษะพื้นฐานและเทคนิคในการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนปัจจัยที่ทาให้
การเรยี นรปู้ ระสบความสาเร็จ

2. การใชแ้ หล่งเรียนรู้
จากการสังเกต ความสนใจ การมีส่วนรว่ มและ ผลงานทีไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชน์จากแหลง่ เรยี นรู้

3. การจดั การความรู้
จากการสังเกต ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วม การให้ความร่วมมือ

ในกลุ่มปฏิบัติการ ผลงาน/ชิ้นงานจากการรวมกลุ่มปฏิบัติการ ใช้วิธีการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ระหว่างครู ผู้เรียนและผู้เก่ียวข้องร่วมกันประเมินตีค่าความสามารถ ความสาเร็จกับเป้าหมาย
ทว่ี างไว้ และระบุข้อบกพรอ่ งทีต่ ้องแก้ไข สว่ นทที่ าได้ดีแลว้ กพ็ ัฒนาให้ดีย่งิ ขึน้ ตอ่ ไป

4. การคิดเปน็
ประเมนิ จากการอภิปราย การทาแบบฝึกหดั ทาใบงาน และการสังเกตจากการอภิปราย

ถกแถลง การให้เหตุผล ความรอบคอบและละเอียดย่ิงขึ้น ความพอเพียง และความเหมาะสม
ในการแสวงหาขอ้ มูลทง้ั 3 ประการ ประกอบการคดิ การตัดสินใจ

5. การวจิ ยั อย่างงา่ ย
จากการสังเกต ความสนใจ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือ จากผลงาน / ชิ้นงาน

ทมี่ อบหมายให้ฝึกปฏบิ ตั ิ ในระหว่างเรียน และการสอบปลายภาคเรียน
6. ทกั ษะการเรียนรู้ และศักยภาพหลกั ของพนื้ ทใ่ี นการพัฒนาอาชพี
จากการสังเกต ความสนใจ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือ จากผลงาน / ช้ินงาน

ท่ีมอบหมายให้ฝึกปฏิบัติ และการประเมินแบบมสี ่วนรว่ ม

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้

45

รำยละเอยี ดคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทร21001 ทักษะกำรเรียนรู้
จำนวน 5 หนว่ ยกติ ระดับมธั ยมศึกษำตอนตน้

มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดับ

1. สามารถวิเคราะห์ เห็นความสาคัญ และปฏิบัติการแสวงหาความรู้จากการอ่าน ฟัง

และสรุปไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ

2. สามารถจาแนก จดั ลาดับความสาคญั และเลือกใชแ้ หล่งเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม

3. สามารถจาแนกผลทีเ่ กิดขน้ึ จากขอบเขตความรู้ ตัดสนิ คุณคา่ กาหนดแนวทางพฒั นา

4. ความสามารถในการศึกษา เลือกสรร จัดเก็บ และการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล

ทง้ั สามประการ และการใชเ้ ทคนิคในการฝึกทักษะ การคิดเปน็ เพอ่ื ใชป้ ระกอบการตัดสินใจแก้ปญั หา

5. สามารถวิเคราะห์ปัญหา ความจาเป็น เห็นความสัมพันธ์ของกระบวนการวิจัย

กับการนาไปใชใ้ นชีวิต และดาเนินการวจิ ยั ทดลองตามขัน้ ตอน

6. สามารถจาแนก และวิเคราะห์ทักษะการเรียนรู้ และศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี

ในการเพิ่มขดี ความสามารถของการประกอบอาชีพ 5 กล่มุ อาชีพใหม่

ท่ี หวั เร่ือง ตัวชี้วดั เน้ือหำ จำนวน
(ชั่วโมง)

1 กำรเรยี นรู้ 1. บอกความหมาย ตระหนกั 1. ความหมาย ความสาคัญ 3

ด้วยตนเอง และเหน็ ความสาคญั ของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

ของการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง 2. การกาหนดเปา้ หมาย และ 3

2. มีทกั ษะพื้นฐานทางการศึกษา การวางแผนการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง

หาความรู้ ทกั ษะการแก้ปญั หา 3. ทักษะพ้ืนฐานทางการศึกษาหา 3

และเทคนิคในการเรียนรู้ด้วย ความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา และเทคนิค

ตนเอง ในการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง

3. อธิบายปัจจยั ที่ทาใหก้ ารเรยี นรู้ 4. ปัจจัยทีท่ าให้การเรยี นรู้ด้วยตนเอง 4

ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ ประสบความสาเรจ็

4. สามารถวางแผนการเรียนรู้ 5 . การวางแผนการเรียนรู้ 6

และการประเมินผลการเรียนรู้ และ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ดว้ ยตนเองได้ ด้วยตนเอง

6. การฝกึ ทกั ษะวางแผนการเรยี นรู้ 15

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรียนรู้

46

ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วดั เนื้อหำ จำนวน
(ชัว่ โมง)

และการประเมินผลการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง

การวิจารณ์

2 กำรใช้ 1. อธบิ ายความหมาย 1. ความหมาย ความสาคัญ ของการใช้ 3

แหลง่ เรยี นรู้ ความสาคัญ ของการใช้ ห้องสมุดอาเภอ

หอ้ งสมดุ อาเภอ

2. อธบิ ายการเขา้ ถงึ สารสนเทศ 2. การเขา้ ถึงสารสนเทศ 3

ของห้องสมดุ ประชาชน ของห้องสมุดประชาชน

3. อธบิ ายแหล่งเรยี นรู้ 3. แหลง่ เรยี นรู้ หอสมดุ แห่งชาติ 14

หอสมดุ แห่งชาติ หอสมดุ วทิ ยาลัย หอสมุดวทิ ยาลัย/มหาวทิ ยาลัย ห้องสมุด

/มหาวทิ ยาลัย ห้องสมดุ เฉพาะ เฉพาะ หอ้ งสมุดโรงเรยี น พิพิธภณั ฑ์

หอ้ งสมดุ โรงเรียน พิพิธภณั ฑ์ อทุ ยานแหง่ ชาติ แหล่งเรียนรู้สาคัญ

อุทยานแห่งชาติ แหล่งเรยี นรู้ อืน่ ๆ ในประเทศ

สาคญั อนื่ ๆ ในประเทศ

4. อธิบายและปฏบิ ัติการใช้ 4. การใชอ้ ินเทอร์เนต็ การเข้าถงึ ข้อมลู 14

อินเทอร์เนต็ และการเข้าถึงข้อมลู สารสนเทศทีต่ ้องการและสนใจ

สารสนเทศทตี่ ้องการและสนใจ

3 กำรจัดกำร 1 . อธิบายความหมาย 1. ความหมาย ความสาคัญ หลักการ 6
ควำมรู้ ความสาคญั หลักการ กระบวนการจดั การความรู้ การรวมกล่มุ 18
กระบวนการจดั การความรู้ เพอื่ ต่อยอดความรู้ การพฒั นาขอบข่าย 10
การรวมกลุ่มเพอื่ ต่อยอดความรู้ ความรขู้ องกลุม่ และการจดั ทา
การพัฒนาขอบข่ายความรู้ สารสนเทศเผยแพร่ความรู้
ของกล่มุ และการจดั ทา 2. การฝกึ ทักษะกระบวนการจัดการ
สารสนเทศเผยแพร่ความรู้ ความรู้ดว้ ยตนเอง และ กระบวนการ
2. ปฏิบตั ิการจดั การความรู้ จดั การความร้ดู ว้ ยการรวมกลุ่ม
ในเน้อื หาที่สอดคล้อง ปฏิบตั ิการ
กับความต้องการของชมุ ชน 3. สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม จัดทา
3. จดั ทาสารสนเทศและเผยแพร่ สารสนเทศองคค์ วามร้ใู นการพฒั นา

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรียนรู้

47

ท่ี หวั เรือ่ ง ตัวชี้วัด เน้ือหำ จำนวน
ความรู้ ตนเอง ครอบครัว (ชว่ั โมง)

4 กำรคดิ เป็น 1. อธิบายได้ถึงความเชอ่ื พ้นื ฐาน 1. ความเชือ่ พื้นฐานทางการศกึ ษาผใู้ หญ่ 3
3
ทางการศึกษาผใู้ หญ่ / การศึกษา / การศึกษานอกระบบ 5 ประการ
10
นอกระบบ และเช่ือมโยง โดยสรปุ
9
มาสู่กระบวนการคดิ เป็น 2. ปรชั ญาการคดิ เป็น 9
8
และระบบคิด การแกป้ ญั หา 2.1 ความหมาย/ความสาคญั 8

อยา่ งคนคิดเป็น 2.2 ศัพท์เฉพาะ

2. อธบิ ายลักษณะของข้อมูล 2.3 การเชอื่ มโยงของความเชือ่

วิชาการ ตนเอง และสังคม พน้ื ฐานทางการศึกษาผูใ้ หญ่ / กศน.

สิง่ แวดลอ้ ม โดยเปรียบเทยี บ สปู่ รัชญาคดิ เปน็

ให้เห็นความแตกตา่ งของขอ้ มูล 3. ลกั ษณะของข้อมลู 3 ด้าน

ทัง้ 3 ประการ ท่ีจะนามาใช้ประกอบการคิด

3. อธบิ ายและฝึกปฏบิ ัติ ในการตัดสินใจ คือ ข้อมูลทางวชิ าการ

การคดิ เปน็ จากกรณีตัวอย่าง ตนเอง และสังคม สงิ่ แวดล้อม

ตา่ ง ๆ ถงึ กระบวนการแก้ปญั หา รวมถึงการเปรยี บเทยี บเพ่ือให้เหน็ ความ

อยา่ งคนคิดเปน็ ไดอ้ ย่างเป็นระบบ แตกต่างของข้อมลู ทัง้ 3 ประการดงั กลา่ ว

4. กระบวนการคดิ การแกป้ ัญหาอยา่ ง

คนคิดเปน็ ในรายละเอียดพร้อมตวั อยา่ ง

การนาไปปฏบิ ัตใิ นวถิ ีการดาเนนิ ชวี ิตจริง

5. กรณีตวั อย่างท่หี ลากหลาย เพอื่ การ

ฝกึ ทกั ษะการปฏิบัติ

5 กำรวิจยั 1. อธิบายความหมาย 1. ความหมาย ความสาคญั การวจิ ัย

อย่ำงงำ่ ย ความสาคญั การวจิ ัยอยา่ งง่าย อย่างงา่ ย กระบวนการและข้ันตอน

กระบวนการและขั้นตอน ของการดาเนนิ งาน

ของการดาเนินงาน

2. มที ักษะในการใชส้ ถติ ิงา่ ย ๆ 2. ฝกึ ทักษะ สถติ งิ า่ ย ๆ เพอื่ การวจิ ัย

เพ่อื การวิจยั และจดั ทาเครื่องมือ เคร่ืองมือการวจิ ยั

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้

48

ที่ หัวเรอื่ ง ตัวชว้ี ัด เนือ้ หำ จำนวน
(ชั่วโมง)
ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
18
3. มที กั ษะในการเขยี น 3. ฝึกทกั ษะในการเขยี นโครงการวจิ ัย 2

โครงการวจิ ัยอยา่ งง่าย ๆ อยา่ งงา่ ย ๆ 3
10
6 ทกั ษะ 1. บอกความหมาย ตระหนกั 1. ความหมาย ความสาคญั ของทักษะ
15
กำรเรยี นรู้ และเหน็ ความสาคัญ ของทักษะ การเรียนรแู้ ละศกั ยภาพหลักของพน้ื ที่

และ การเรียนรู้ และศักยภาพหลัก

ศักยภำพ ของพื้นที่

หลักของ 2. มที กั ษะการเรียนรู้พ้ืนฐาน 2. ทักษะการเรียนรู้พน้ื ฐาน และเทคนิค

พ้ืนทใ่ี นกำร และเทคนิควิธีในการแสวงหา วธิ ีทางศกึ ษาหาความรู้

พัฒนำ ความรู้

อำชพี 3 . สามารถบอกอาชีพในกลุม่ 3. การเข้าถงึ และการเลอื กใช้ศกั ยภาพ

อาชีพใหม่ ได้แก่ กลมุ่ อาชีพ หลกั ของพน้ื ที่

ดา้ นเกษตรกรรม อุตสาหกรรม

พาณชิ ยกรรม ความคดิ สรา้ งสรรค์

การบริหารจดั การและการบริการ

4. สามารถบอกและยกตัวอย่าง 4. ตัวอย่างอาชีพในกลุม่ อาชีพดา้ น

ทกั ษะการเรียนรู้เพื่อพัฒนา 4.1 การเกษตรกรรม

ศกั ยภาพ 5 กลมุ่ อาชพี ใหม่ 4.2 อตุ สาหกรรม พาณิชยกรรม

4.3 ความคิด สร้างสรรค์

4.4 บริหารจดั การ และการบริการ

ทส่ี อดคล้องกับศกั ยภาพหลกั ของพ้ืน

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

49

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
และ

รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวชิ ำบงั คบั
ระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำย

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

50

คำอธบิ ำยรำยวิชำ ทร31001 ทกั ษะกำรเรยี นรู้ จำนวน 5 หนว่ ยกติ
ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดับ

สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียน
ในด้านการเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็น และการวิจัย
อย่างง่าย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนสามารถกาหนดเป้าหมาย วางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
เข้าถึงและเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ จัดการความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล
ที่สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการช้ีนาตนเองในการเรียนรู้ และการประกอบอาชีพให้สอดคล้อง
กับหลักการพ้ืนฐาน และการพัฒนา 5 ศักยภาพหลักของพ้ืนท่ีใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่ม
อาชีพด้าน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการ
และการบริการตามยุทธศาสตร์ 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต
ดังนน้ั สาระทักษะการเรียนรู้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายจึงมีมาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ ดงั นี้

1. สามารถประมวลความรู้ ทางานบนฐานข้อมูล และมีความชานาญในการอ่าน ฟัง
จดบันทกึ เป็นสารสนเทศอย่างคลอ่ งแคลว่ รวดเรว็

2. สามารถวางแผนและใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ได้อยา่ งคล่องแคล่วจนเป็นลกั ษณะนสิ ยั
3. สามารถสรุปองค์ความรู้ใหม่ นาไปสร้างสรรคส์ งั คมอุดมปญั ญา
4. ความสามารถในการฝึกทักษะการคิดเป็นท่ีซับซ้อนเชื่อมโยงกับคุณธรรม จริยธรรม
ที่เก่ียวข้องกับปรัชญาคิดเป็นและสามารถระบุถึงปัญหาอุปสรรคการพัฒนากระบวนการคิดเป็น
และการแก้ไข
5. สามารถวางแผนการวจิ ัย ดาเนนิ การตามแบบแผนอย่างถูกตอ้ ง
6. สามารถวางแผนประยุกต์ใช้ทักษะการเรียนรู้ และศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี
เป็นเครอ่ื งมือในการเพ่ิมศกั ยภาพและขีดความสามารถในการแขง่ ขันใน 5 กลมุ่ อาชีพใหม่

ศกึ ษำและฝึกทกั ษะเกีย่ วกบั เรือ่ งดงั ตอ่ ไปนี้

1. การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง
ทบทวน ความหมาย ความสาคัญ และกระบวนการของการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ฝึกทกั ษะพ้นื ฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทักษะการแกป้ ญั หาและเทคนคิ ในการเรียนรู้

ดว้ ยตนเอง ด้านการอา่ น การฟงั การสงั เกต การจา และการจดบันทึก

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรียนรู้

51

ทบทวนการวางแผนการเรียนรู้ และการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีทักษะ
พนื้ ฐานและเทคนคิ ในการเรยี นร้ดู ้วยตนเองในเรื่องการวางแผน การประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง
การวิเคราะห์วิจารณ์

ฝึกทกั ษะความรทู้ กั ษะการพดู และการทาแผนผงั ความคิด
เจตคติ/ปัจจัย ท่ีทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ การเปิดรับโอกาส
การเรียนรู้ การคิดริเริ่มและเรียนรู้ด้วยตนเอง การสร้างแรงจูงใจ การสร้างวินัยในตนเอง
การคดิ เชงิ บวก ความคิดสรา้ งสรรค์ ความรักในการเรยี น การใฝร่ ูใ้ ฝเ่ รียน และความรบั ผดิ ชอบ
2. การใช้แหลง่ เรียนรู้
ทบทวน ความหมาย ความสาคญั ประเภทแหล่งเรยี นรู้
ทบทวนการใช้ห้องสมุดประชาชน การเข้าถึงสารสนเทศห้องสมุดประชาชน ห้องสมุด
อ่ืน ๆ แหล่งเรยี นรอู้ น่ื ๆ ที่สาคัญเชน่ ผู้ร้ใู นชมุ ชน พพิ ธิ ภณั ฑ์ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ สื่อมวลชน รวมท้ังการใช้
อนิ เตอรเ์ น็ตเพื่อการเรยี นรู้ของตนเอง
ศึกษา สารวจ แหล่งเรยี นรู้ภายในชุมชน จดั กลมุ่ ประเภท และความสาคญั
ศึกษาเรียนรู้กบั ภมู ปิ ญั ญา ปราชญ์ ผรู้ ใู้ นท้องถิน่
3. การจดั การความรู้
ทบทวนความหมาย ความสาคัญ หลักการของการจัดการความรู้ กระบวนการจัดการ
ความรู้การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม การจัดทาสารสนเทศ
เผยแพรค่ วามรู้
ฝึกทักษะกระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ
โดยการกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ระบุความรู้ที่ต้องใช้ การแสวงหาความรู้ สรุปองค์ความรู้
ประยุกต์ใช้ความรู้ แลกเปลย่ี นความรู้ การรวมกลุ่มปฏิบัติการเพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่าย
ความรขู้ องกลมุ่
สรุปองค์ความรูข้ องกล่มุ จดั ทาสารสนเทศองค์ความรู้ใหม่และการนาไปใช้ในการพัฒนา
ตนเอง ครอบครัว
4. การคิดเปน็
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ และความหมายของความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษา
/ การศกึ ษานอกระบบ และเช่อื มโยงมาสูก่ ระบวนการคิดเป็น
ทบทวน ความหมาย ความสาคัญของการคิดเป็น กระบวนการคิดการแก้ปัญหา
อยา่ งเปน็ ระบบ กระบวนการคิดเป็น
ศึกษารายละเอียดที่หลากหลายในเชิงเปรียบเทียบของลักษณะข้อมูลทางด้านวิชาการ
ตนเอง และสังคม ส่ิงแวดล้อมท่ีแตกต่างกันไปของชุมชน วัฒนธรรม จารีตประเพณี สถานภาพ

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรียนรู้

52

ทางสังคม เศรษฐกิจ และ บุคคลเพ่ือนามาขยายในการคิด การตัดสินใจอย่างคนคิดเป็น ศึกษาข้อมูล
ด้านคุณธรรม จริยธรรมท่ีเก่ียวข้องกับบุคคล ครอบครัวและชุมชนมาเสริมความหมายการคิดเป็นให้
เกิดสันติสุขท่ีย่ังยืน ฝึกปฏิบัติการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลในชุมชน เพ่ือนามา
ประกอบการคิดการตัดสนิ ใจ

ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารคิดการแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นระบบ การคดิ เปน็ ทั้งจากกรณีตัวอย่างท่ีซับซ้อน
และหลากหลายโดยนาข้อมลู ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม มาประกอบการคิดการพิจารณาดว้ ย

ฝึกการสรปุ กระบวนการแกป้ ัญหาดว้ ยกระบวนการคดิ เป็นจากข้อมลู ท่ีเก็บและวิเคราะห์
จากชุมชน

5. การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย
ทบทวนความหมาย ความสาคัญการวิจัยอย่างง่าย กระบวนการและข้ันตอน

ของการดาเนินงาน สถิติง่าย ๆ เพ่ือการวิจัย เคร่ืองมือการวิจัย และการเขียนโครงการวิจัย
อยา่ งงา่ ย ๆ

ศึกษา ฝึกทักษะ การวิจัยในบ้าน การเขียนรายงานวิจัย การนาเสนอและเผยแพร่
งานวิจัย

6. ทกั ษะการเรยี นรู้ และศกั ยภาพหลกั ของพื้นท่ใี นการประกอบอาชีพ
ทบทวน ประยุกต์ใช้ทักษะกาเรเรียนรู้ และศักยภาพหลักของพ้ืนที่ คือ ศักยภาพ

ของทรัพยากรธรรมชาติ ในแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพของพื้นท่ีตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพ
ของภูมิประเทศ และทาเลที่ต้ังของแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี
และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ และศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพ้ืนที่ เพื่อเป็นเครื่องมือ
ในการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันในกลุ่มอาชีพใหม่ เช่น กลุ่มอาชีพ
ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และการบริหารจัดการ
และการบริการ

กำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้

1. การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์

ในการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ซับซ้อน อย่างสร้างสรรค์ เพ่ือ 1) ฝึกให้ผู้เรียนได้กาหนดเป้าหมาย
และวางแผนการเรียนรู้ 2) เพ่ิมพูนให้มีทักษะพ้ืนฐานทักษะการพูด และการทาแผนผังความคิด
โดยการปฏิบัติจริง 3) มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองท่ีทาให้การเรียนรู้ด้วยตน เอง
ประสบผลสาเรจ็ และนาความร้ไู ปใชใ้ นวิถชี ีวติ ให้เหมาะสมกับตนเอง และชุมชน/สงั คม

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้

53

2. การใชแ้ หล่งเรยี นรู้
ให้ผู้เรียนทุกคนไปสารวจ ศึกษา รวบรวมแหล่งเรียนรู้ ภายในชุมชน จังหวัด ประเทศ

และโลก รวมทง้ั การใช้อนิ เทอรเ์ น็ต การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สารสนเทศทสี่ นใจ ทาความเขา้ ใจ บทบาท หน้าท่ี
ข้อดขี อ้ เสยี ของแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ

3. การจดั การความรู้
ศึกษาค้นคว้าหลักการ และกระบวนการของการจัดการความรู้ การฝึกปฏิบัติจริง

โดยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ/ชุมชนปฏิบัติการ (Community of practice = Cops) สรุปองค์ความรู้
ของกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ยกระดับความรู้/สร้างองค์ความรู้ใหม่และจัดทาสารสนเทศ
เผยแพรค่ วามรู้ ดว้ ยวิธีการท่หี ลากหลาย

4. การคิดเป็น
ให้ผู้เรียนได้มีการทบทวนท้ังความเช่ือพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ / กศน. ท่ีเช่ือมโยง

ไปสู่ปรัชญาคิดเป็น และกระบวนการคิดการแก้ปัญหาที่เป็นระบบกระบวนการคิดเป็นที่ใช้ข้อมูล
ของการคิดอย่างน้อย 3 ประการ คอื ข้อมูลวธิ ีการตนเอง และสงั คม ส่ิงแวดล้อม

ให้ผู้เรียนได้มีการอภิปรายถกแถลงถึงประสบการณ์ในการคิดของตนเองท่ีผ่านมาว่ามี
การใช้กระบวนการคิดเป็นมากน้อยเพียงใด มีผลกระทบจากการคิดการตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างใด
รวมถึงการใช้หลักคุณธรรมจริยธรรมบูรณาการเข้ากับกระบวนการคิดเป็นเพื่อปรับกระบวนการ
คดิ เป็นท่ียัง่ ยืน

ใหผ้ เู้ รยี นได้ฝกึ การเก็บขอ้ งมูล การเลือกใช้ข้อข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสังเคราะห์
ขอ้ มลู ในชมุ ชน และนามาฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารแกป้ ัญหา ในลกั ษณะการคดิ เป็นที่มขี อ้ มูลคุณธรรม จริยธรรม
บรู ณาการดว้ ยเหมอื นการคิดท่ยี ั่งยืน

ใหม้ กี ารสรุปรายงานการคิดแก้ปัญหาด้วยกรนะบวนการคิดเป็น เพ่ือจัดทาเป็นร่องรอย
ในแฟ้มผลงาน

5. การวิจยั อย่างง่าย
จัดให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง การใช้เทคโนโลยีเพื่อสืบค้นข้อมูล

ฝึกทักษะ การสังเกตและค้นหาปัญหาท่ีพบในชีวิตประจาวัน / ในการประกอบอาชีพ / ในสาระ
ที่เรียน การต้ังคาถาม การแลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพื่อน / ผู้รู้ การคาดเดาคาตอบอย่างมีเหตุผล
การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัยตามหลักการ การเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างเคร่ืองมือ
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติอย่างง่าย ๆ ท่ีเหมาะสมกับข้อมูล การนาเสนอข้อมูล การสรุปข้อมูล
และเขียนรายงานผลตามหลกั การ การเผยแพร่ ข้อค้นพบด้วยวิธกี ารหลากหลาย

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้

54

6. ทกั ษะการเรยี นรู้ และศักยภาพหลักของพ้ืนท่ใี นการพฒั นาอาชพี
จัดให้ผูเ้ รียนทั้งรายบคุ คล/กล่มุ ไดศ้ กึ ษา สารวจ วเิ คราะห์ ประยุกต์ทักษะการเรียนรู้

และพน้ื ฐานศักยภาพหลกั แตล่ ะพน้ื ท่ี ทม่ี ีความแตกต่าง และมคี วามตอ้ งการท้องถ่ินท่ีไม่เหมือนกัน
ในการเพ่ิมขีดความสามารถที่เกี่ยวกับการพัฒนาการประกอบอาชีพในกลุ่มอาชีพใหม่
คือ ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการ
และการบรกิ าร เพอ่ื สรา้ งอาชพี และรายได้ อย่างมนั่ คง และยั่งยืนอยา่ งต่อเน่ือง

กำรวดั และประเมนิ ผล

1. การเรยี นรู้ด้วยตนเอง
ใช้การประเมินจากสภาพจริงของผู้เรียนที่แสดงออกเก่ียวกับ การกาหนดเป้าหมาย

และวางแผนการเรียนรู้ รวมทักษะพ้ืนฐานและเทคนิคในการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนปัจจัยท่ีทาให้
การเรียนรู้ประสบความสาเร็จ

2. การใชแ้ หล่งเรียนรู้
ผลงานจากการศึกษาสารวจ และการนาไปใช้ประโยชน์

3. การจดั การความรู้
ประเมินจากสภาพจริงโดย การสังเกต ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีส่วน

ร่วม การให้ความร่วมมือในกลุ่มปฏิบัติการ ผลงาน/ช้ินงานจากการรวมกลุ่มปฏิบัติการ ใช้วิธีการ
ประเมินแบบมีส่วนร่วมระหว่างครู ผู้เรียนและผู้เก่ียวข้องร่วมกันประเมินตีค่าความสามารถ
ความสาเร็จกับเป้าหมายที่กาหนดไว้ และระบุข้อบกพร่องท่ีต้องแก้ไข ส่วนที่ทาได้ดีแล้วก็พัฒนาให้ดี
ยงิ่ ขน้ึ ตอ่ ไป

4. การคิดเปน็
ประเมินจากการเก็บรวบรวมข้อมูล การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจแก้ปัญหาจากข้อมูล

ตามข้อเท็จจริง ประเมินจากการใช้ข้อมูลท่ีเหมาะสม สอดคล้อง เพียงพอ น่าเช่ือถือ ประเมิน
จากการมีส่วนร่วมในกิจกรรม และการอภิปรายถกแถลง และความพอใจในการแก้ปัญหาด้วยวิธีคิด
เปน็ อยา่ งย่งั ยืน

5. การวิจยั อยา่ งงา่ ย
ประเมินจากสภาพจริงโดย การสังเกต ความสนใจ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือ

จากผลงาน / ชน้ิ งานทม่ี อบหมายให้ฝึกปฏบิ ตั ิ ในระหวา่ งเรยี น และการสอบปลายภาคเรยี น

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้

55

6. ทกั ษะการเรียนรู้ และศกั ยภาพหลักของพนื้ ทใ่ี นการพัฒนาอาชีพ
ประเมินจากสภาพจริงโดย ความสนใจ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือ จากผลงาน /

ชนิ้ งานทม่ี อบหมายใหฝ้ ึกปฏิบัติ ในระหว่างเรียนและการสอบปลายภาคเรียน

ที่ หัวเร่อื ง ตวั ชว้ี ดั เนื้อหำ จำนวน
(ชั่วโมง)

1 กำร 1. อธบิ ายความหมาย 1. ความหมาย ความสาคญั 4

เรยี นรู้ ความสาคญั และกระบวนการ และกระบวนการของการเรียนรู้

ด้วย ของการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ดว้ ยตนเอง

ตนเอง 2. ปฏบิ ตั ิการฝกึ ทกั ษะ 2. ทักษะพ้ืนฐานทางการศกึ ษาหา 12

พน้ื ฐาน ความรู้ ทกั ษะการแก้ปัญหาและ

ทางการศกึ ษาหาความรู้ เทคนิคในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง รวมท้งั

ทกั ษะการแกป้ ัญหา และ การวางแผนการเรียนรู้

เทคนคิ ในการเรียนรู้ดว้ ย และการประเมินผลการเรียนรู้

ตนเองได้ และการวาง ด้วยตนเอง

แผนการเรยี นรู้ และการ

ประเมินผลการเรยี นรู้

ด้วยตนเอง

3. ฝึกปฏิบัติทักษะการพูด 3. ทกั ษะการพูดและการทาแผนผงั 8

และการทาแผนผังความคิด ความคดิ

4. อธบิ ายปัจจยั ทที่ าให้ 4. ปัจจัย ท่ที าให้การเรียนรดู้ ้วย 10

การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ตนเองประสบความสาเรจ็

ประสบความสาเรจ็

2 กำรใช้ 1. อธิบายความหมาย 1. ความหมาย ความสาคัญ ประเภท 10

แหลง่ ความสาคญั ประเภทแหล่ง แหลง่ เรยี นรู้ เข้าถึงสารสนเทศ

เรียนรู้ เรียนรู้ การใช้ห้องสมุดและ แหล่งเรยี นรอู้ น่ื ๆ ที่สาคัญ รวมท้งั การ

แหล่งเรยี นรู้อืน่ ๆ ที่สาคัญ ใช้อินเตอรเ์ นต็ เพ่ือการเรียนรู้ของ

รวมทั้งการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อ ตนเอง

การเรียนรู้

ของตนเอง 24

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

56

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชวี้ ดั เน้ือหำ จำนวน
(ชวั่ โมง)
2. ขอ้ ควรคานึงในการศึกษาเรียนรู้
2. บ่งชขี้ ้อดขี ้อเสีย กับแหล่งข้อมูลตา่ ง ๆ รวมท้ัง
ของแหลง่ เรียนรู้ นวตั กรรมและเทคโนโลยี
3. ปฏบิ ตั กิ ารเรียนรู้
3 กำร กบั แหล่งเรียนรตู้ า่ งๆได้ 1. ความหมาย ความสาคญั หลักการ 10
จัดกำร เหมาะสม กระบวนการจัดการความรู้ การ
ควำมรู้ 1. อธบิ ายความหมาย รวมกล่มุ เพ่ือต่อยอดความรู้ การพฒั นา
ความสาคัญ หลกั การ ขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม การจัดทา
4 กำรคดิ กระบวนการจัดการความรู้ สารสนเทศเผยแพร่ความรู้
เป็น การรวมกลุ่มเพ่ือตอ่ ยอด
ความรู้ การพฒั นาขอบข่าย 2. ทักษะกระบวนการจดั การความรู้ 12
ความรู้ ของกลมุ่ การ ดว้ ยตนเองและดว้ ยการรวมกลุม่
จดั ทาสารสนเทศเผยแพร่ ปฏบิ ัตกิ าร 12
ความรู้
2. ปฏิบตั กิ ารดา้ นทักษะ 3. สรุปองค์ความรูข้ องกลุ่ม จัดทา 3
กระบวนการจัดการความรู้ สารสนเทศองคค์ วามรูใ้ นการพฒั นา 3
ดว้ ยตนเองและดว้ ยการ ตนเอง ครอบครัว 8
รวมกลุ่มปฏิบตั ิการ
3. สรปุ องคค์ วามร้ขู องกล่มุ 1. ความเชื่อพนื้ ฐานทางการศกึ ษา
จัดทาสารสนเทศองค์ความรู้ ผ้ใู หญ่ / การศกึ ษานอกระบบ ที่
ในการพฒั นาตนเอง เช่อื มโยงมาสูป่ รชั ญาคิดเปน็
ครอบครัว 2. ความหมาย ความสาคัญ
1. อธบิ ายความหมาย ของการคดิ เปน็
ความสาคัญ ของการคิดเปน็ 3. การรวบรวมและวิเคราะห์สภาพ
2. รวบรวมและวิเคราะห์ ปัญหา ของตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน
สภาพปญั หา ของตนเอง
ครอบครวั ชมุ ชน และ คดิ
วเิ คราะห์
โดยใชข้ ้อมูลดา้ นตนเอง

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

57

ท่ี หวั เรือ่ ง ตัวชีว้ ัด เนือ้ หำ จำนวน
(ช่วั โมง)

ด้านวชิ าการและดา้ นสงั คม และคิดวเิ คราะห์ โดยใชข้ อ้ มูล

สงิ่ แวดลอ้ ม ดา้ นตนเอง ดา้ นวิชาการ และดา้ น

3. กาหนดแนวทางทางเลือก สงั คมส่ิงแวดลอ้ ม

ทีห่ ลากหลายในการแก้ปญั หา 4. กระบวนการและเทคนิคการเก็บ 10

อย่างมเี หตผุ ล มีคณุ ธรรม ข้อมูล การวิเคราะห์ และสงั เคราะห์

จริยธรรม และมคี วามสุข ข้อมูลท้ัง 3 ประการ ของบุคคล

การประยุกตใ์ ชอ้ ยา่ งมีเหตุผล ครอบครัว และชุมชน เพ่ือประกอบ

เหมาะสมกบั ตนเอง การคดิ การตดั สนิ ใจ

ครอบครวั และชุมชน / สงั คม 5. การกาหนดแนวทางทางเลอื ก 10

ทหี่ ลากหลายในการแก้ปัญหาอย่าง

มีเหตผุ ล มคี ุณธรรม จริยธรรม

และมีความสุขอย่างยงั่ ยืน

การประยุกต์ใช้อยา่ งมเี หตผุ ลเหมาะสม

กับตนเอง ครอบครัว และชุมชน /

สังคม

5 กำรวจิ ยั 1 . อธบิ ายความหมาย 1. ความหมาย ความสาคัญการวิจัย 3

อย่ำงงำ่ ย ความสาคัญการวิจยั อยา่ งง่าย อยา่ งง่าย กระบวนการและข้ันตอน

กระบวนการ ของการดาเนินงาน

และขน้ั ตอนของการดาเนินงาน 2. สถิตงิ ่าย ๆ เพื่อการวิจัย 5

2. อธิบาย และฝกึ ปฏิบตั ิ

เกีย่ ว 3. การสร้างเคร่อื งมือการวิจยั 8

กบั สถิติง่าย ๆ เพอื่ การวิจัย 4. การเขยี นโครงการวิจัยอย่างงา่ ย ๆ 8

3. สรา้ งเครอื่ งมือการวิจัย 5. ทกั ษะการวจิ ัยในอาชีพ การเขียน 10

อยา่ ง งา่ ย ๆ รายงานวิจยั การนาเสนอและเผยแพร่

4. ปฏบิ ัตกิ ารเขียน งานวจิ ยั

โครงการวิจัยอย่างง่าย ๆ และ

มีทักษะการวิจยั ในอาชีพ การ

เขยี นรายงานวิจัย การ

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

58

ท่ี หวั เรื่อง ตัวช้ีวัด เน้อื หำ จำนวน
(ชว่ั โมง)

นาเสนอและเผยแพร่งานวิจยั

6 ทกั ษะการ 1 . อธิบายความหมาย 1. ความหมาย ความสาคญั ของ 2
2
เรียนรู้ ความสาคัญของทักษะการ ศกั ยภาพหลกั ของพื้นที่ 10

และ เรียนรู้ และศกั ยภาพหลัก 2. กลุ่มอาชีพใหม่ 5 ด้าน และ 16

ศกั ยภาพ ของพื้นท่ี ศักยภาพหลกั ของพ้นื ที่ 5 ประการ

หลักของ ทแี่ ตกต่างกัน กลมุ่ อาชีพใหม่

พน้ื ทใี่ น 2. ยกตัวอย่างเกย่ี วกับ 1. กลมุ่ อาชีพด้านเกษตรกรรม

การ ศักยภาพหลักของพนื้ ที่หลกั 2. กลมุ่ อาชพี ด้านอุตสาหกรรม

พัฒนา ทแ่ี ตกต่างกนั 3. กลมุ่ อาชีพดา้ นพาณชิ ยกรรม

อาชีพ 3. สามารถบอกหรือ 4. กลุ่มอาชพี ด้านความคดิ

ยกตัวอย่างเกี่ยวกับศกั ยภาพ สรา้ งสรรค์

หลกั ของพ้นื ทข่ี องตนเอง 5. กลุ่มอาชีพดา้ นการบริหาร

4. ยกตัวอย่างอาชพี ทใ่ี ช้ จัดการและการบรกิ าร

หลักการพนื้ ฐานของ ศกั ยภาพหลักของพื้นที่

ศกั ยภาพหลกั ในการ 1. ศักยภาพของ

ประกอบอาชีพในกลุ่มอาชีพ ทรัพยากรธรรมชาติ ในแต่ละพนื้ ท่ี

ใหมเ่ ชน่ กลุ่มอาชีพด้าน 2. ศกั ยภาพของพ้นื ที่ตาม

เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ลกั ษณะภมู ิอากาศ

พาณิชยกรรม ความคดิ 3 ศกั ยภาพของภูมิประเทศ

สร้างสรรค์ การบรหิ าร และทาเลท่ีตงั้ ของแตล่ ะพนื้ ท่ี

จัดการและการบรกิ าร 4. ศกั ยภาพของศลิ ปะ

วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ ของ

แตล่ ะพ้ืนที่

5. ศกั ยภาพของทรพั ยากร

มนุษย์

ในแตล่ ะพ้นื ที่

3. ตัวอยา่ งการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพ

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้

59

ท่ี หวั เรื่อง ตวั ช้ีวัด เนอื้ หำ จำนวน
(ชวั่ โมง)

หลักของพนื้ ท่ี ท้ัง 5 ประการ ในกลุ่ม

อาชพี ใหม่ ดา้ นการเกษตรกรรม

อตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม ความคดิ

สรา้ งสรรค์ บรหิ ารจดั การ

และการบรกิ าร

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้

คำอธิบำยรำยวิชำ
และรำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวิชำเลอื ก
ระดับประถมศกึ ษำ มัธยมศกึ ษำตอนต้น และมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย

61

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทร02001 ขอ้ มลู นนั้ สำคญั ไฉน จำนวน 1 หนว่ ยกิต
ระดับประถมศกึ ษำ มัธยมศึกษำตอนตน้ และมัธยมศึกษำตอนปลำย

มำตรฐำนท่ี 1.1 มคี วามร้คู วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทีด่ ตี ่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ศกึ ษำและฝึกทกั ษะเกยี่ วกับเรอ่ื งต่อไปน้ี

ความสาคัญของข้อมูล การสารวจข้อมูล การได้มาซึ่งข้อมูล การแจกแจงข้อมูล
การตรวจสอบขอ้ มลู การนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการทางานและการดาเนนิ ชีวติ

กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้

ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์
ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้สารวจข้อมูล ค้นคว้า ตรวจสอบข้อมูล
และการนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการทางานและการดาเนินชีวิต และมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้
ดว้ ยตนเองที่ทาใหก้ ารเรียนรู้ดว้ ยตนเองประสบความสาเรจ็ และนาความรู้ไปใช้ในวิถีชีวิตให้เหมาะสม
กับตนเอง และชุมชน สงั คม

กำรวัดและประเมนิ ผล

ใช้การประเมินจากสภาพจรงิ ของผเู้ รยี นท่ีแสดงออกเก่ียวกับข้นั ตอน วิธีการสารวจขอ้ มลู
และความสามารถในการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

62

รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวชิ ำ ทร02001 ข้อมูลน้ันสำคญั ไฉน
จำนวน 1 หน่วยกิต

ระดับประถมศกึ ษำ มธั ยมศกึ ษำตอนต้น และมัธยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนท่ี 1.1 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติที่ดตี ่อการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง

ท่ี หัวเรอ่ื ง ตวั ชีว้ ดั เนอื้ หำ จำนวน
(ชวั่ โมง)
1 ขอ้ มูลน้ัน 1. รู้ เข้าใจ 1. ความสาคัญของข้อมูล
สำคัญไฉน และตระหนักถึง 2. การสารวจขอ้ มูล 40
ความสาคญั ของขอ้ มลู 3. การไดม้ าซึ่งข้อมลู
2. รู้ขนั้ ตอน วธิ ีการ 4. การแจกแจงข้อมูล
สารวจขอ้ มูล 5. การตรวจสอบข้อมูล
3. สามารถนาขอ้ มลู 6. การนาขอ้ มูลมาใช้ในการ
ไปใช้ประโยชน์ได้ วางแผนการทางานและ
การดาเนนิ ชีวติ

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

63

คำอธิบำยรำยวิชำ ทร02002 เทคนิคกำรแก้ปัญหำ จำนวน 1 หน่วยกิต
ระดบั ประถมศกึ ษำ มัธยมศกึ ษำตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนที่ 1.1 มคี วามรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติทด่ี ตี ่อการเรียนร้ดู ้วยตนเอง

ศึกษำและฝึกทักษะเก่ียวกับเร่ืองตอ่ ไปน้ี

ความหมายของปัญหา สาเหตุของปัญหา ข้ันตอนและวิธีการการแก้ปัญหา ทัศนคติท่ีดี
ในการแก้ปัญหา การค้นหาปัญหา การยอมรับปัญหา การกาหนดปัญหา การวางแผนการแก้ปัญหา
การหาข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาต้นตอสาเหตุและกาหนดข้อสมมติฐาน การแก้ปัญหา
อยา่ งเปน็ ระบบ การระดมสมองเพ่ือสร้างทางเลือก การตัดสินใจ การกล้าลงมือแก้ไขและการบริหาร
การเปลย่ี นแปลง ติดตามผล และปรบั ปรุงแก้ไข การปอ้ งกนั ปญั หา

ฝกึ ทกั ษะการแกป้ ัญหา และการปฏิบตั กิ ารแก้ปัญหาจากกรณีศกึ ษาหรอื ประเด็นท่ีกาหนด

กำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้

ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์
ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพ่ือฝึกให้ผู้เรียนได้กาหนดปัญหา การวางแผนการแก้ปัญหา
แ ล ะมี เ จ ต ค ติ ที่ ดี ต่ อก า ร เ รี ย น รู้ ด้ ว ย ต น เ อง ท่ี ท า ใ ห้ ก า ร เ รี ย น รู้ ด้ ว ย ต น เ อ ง ป ร ะส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ
และนาความรู้ไปใช้ในวถิ ีชีวติ ใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง และชมุ ชน สงั คม

กำรวดั และประเมนิ ผล

ใช้การประเมินจากสภาพจริงของผู้เรียนท่ีแสดงออกเกี่ยวกับการใช้เทคนิคในการแก้ไข
ปญั หา และความสามารถในการแกไ้ ขปัญหาจากกรณีศึกษาหรอื ประเดน็ ปัญหาทีก่ าหนด

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้

64

รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทร02002 เทคนคิ กำรแก้ปญั หำ
จำนวน 1 หน่วยกติ

ระดบั ประถมศึกษำ มธั ยมศึกษำตอนตน้ และมธั ยมศึกษำตอนปลำย

มำตรฐำนท่ี 1.1 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติท่ดี ีตอ่ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

ท่ี หวั เรือ่ ง ตวั ชว้ี ัด เน้อื หำ จำนวน
(ชว่ั โมง)
2 เทคนิค 1. รเู้ ข้าใจสาเหตุ 1. ความหมายของปญั หา
กำรแกป้ ญั หำ ของการเกดิ ปัญหา 2. สาเหตุของปญั หา 40
2. บอก 3. ขั้นตอนและวธิ ีการการแก้ปญั หา
หรืออธบิ าย
ข้นั ตอนการแก้ไข 3.1 ทศั นคติทด่ี ีในการแกป้ ญั หา
ปัญหาได้ 3.2 การคน้ หาปญั หา
3. รจู้ ักเลือกใช้ 3.3 การยอมรับปัญหา
เทคนคิ ในการแกไ้ ข 3.4 การกาหนดปญั หา
ปัญหา 3.5 การวางแผนการแกป้ ญั หา
4. ตระหนัก 3.6 การหาขอ้ มูล
หรอื เห็น 3.7 การวเิ คราะห์ข้อมลู เพอ่ื หาต้นตอ
ความสาคญั สาเหตแุ ละกาหนดข้อสมมตฐิ าน
ของเทคนคิ การ 3.8 การแก้ปัญหาอยา่ งระบบ
แก้ไขปัญหา 3.9 การระดมสมองเพ่ือสรา้ ง
5. สามารถแก้ไข ทางเลือก
ปัญหาจาก 3.10 การตดั สินใจ
กรณศี ึกษา 3.11 การกล้า ลงมือแก้ไข
หรือประเด็นปัญหา และการบริหารการเปล่ียนแปลง
ที่กาหนดได้ 3.12 ติดตามผล และปรับปรุงแก้ไข
3.13 การป้องกันปญั หา - ฝกึ ทักษะ
การแกป้ ัญหา
4. การปฏบิ ตั กิ ารแกป้ ัญหาจากกรณี
ศกึ ษาหรือประเด็นท่ีกาหนด

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรียนรู้

65

คำอธิบำยรำยวชิ ำ ทร02003 ทกั ษะกำรตดั สนิ ใจ จำนวน 1 หน่วยกติ
ระดบั ประถมศกึ ษำ มัธยมศกึ ษำตอนตน้ และมัธยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนท่ี 1.1 มีความรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติที่ดตี อ่ การเรียนรู้ด้วยตนเอง

ศึกษำและฝึกทักษะเกยี่ วกบั เร่ืองตอ่ ไปน้ี

ความหมาย ความสาคัญของทักษะการตัดสินใจ องค์ประกอบของการตัดสินใจ
กระบวนการและข้ันตอนการตัดสินใจ ปัญหาอุปสรรคท่ีมีต่อการตัดสินใจ การสร้างความเชื่อมั่น
ในตนเองเพื่อสรา้ งทักษะการตดั สนิ ใจ และการฝึกทกั ษะการตัดสนิ ใจ

กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้

ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์
ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพ่ือฝึกให้ผู้เรียนได้ฝึกกระบวนการและข้ันตอนการตัดสินใจ
และมีเจตคติ ท่ีดีต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองท่ีทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ
และนาความรู้ไปใช้ในวิถีชีวติ ให้เหมาะสมกบั ตนเอง และชุมชน สังคม

กำรวดั และประเมนิ ผล

ใช้การประเมินจากสภาพจริงของผู้เรียนที่แสดงออกเก่ียวกับกระบวนการและขั้นตอน
การตดั สินใจทักษะการคิด ตดั สนิ ใจในการแกไ้ ขปญั หาของตนเอง

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้

66

รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวชิ ำ ทร02003 ทกั ษะกำรตัดสินใจ
จำนวน 1 หน่วยกติ

ระดบั ประถมศกึ ษำ มธั ยมศึกษำตอนต้น และมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนท่ี 1.1 มีความร้คู วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติทีด่ ตี ่อการเรียนรูด้ ้วยตนเอง

ที่ หวั เรื่อง ตวั ชว้ี ดั เนื้อหำ จำนวน
(ชั่วโมง)

3 ทักษะกำรตัดสินใจ 1. ตระหนกั และเห็น 1. ความหมาย ความสาคัญ 40

ความสาคญั ของการมี ของทกั ษะการตัดสินใจ

ทักษะการตัดสนิ ใจ 2. องค์ประกอบ

2. รู้เขา้ ใจและบอก ของการตดั สนิ ใจ

ขั้นตอนเกย่ี ว 3. กระบวนการและขั้นตอน

กบั องคป์ ระกอบ การตัดสินใจ

และกระบวนการ 4. ปญั หาอปุ สรรคทีม่ ีต่อ

ตัดสินใจ การตัดสนิ ใจ

3. บอกหรอื อธบิ าย 5. การสรา้ งความเช่ือมัน่

ปญั หาและอุปสรรค ในตนเอง เพอ่ื สร้างทักษะ

ท่มี ีต่อการตดั สินใจ การตัดสนิ ใจ

4. สามารถใชท้ ักษะ 6. การฝึกทกั ษะการตดั สนิ ใจ

การคดิ ตดั สนิ ใจในการ

แก้ไขปัญหาของตนเอง

ได้

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

67

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทร02004 ทกั ษะกำรคิด จำนวน 1 หน่วยกิต
ระดับประถมศกึ ษำ มธั ยมศึกษำตอนต้น และมธั ยมศึกษำตอนปลำย

มำตรฐำนท่ี 1.1 มคี วามร้คู วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทีด่ ีตอ่ การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง

ศกึ ษำและฝึกทักษะเก่ียวกบั เร่อื งต่อไปน้ี

ความหมาย ความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ วิธีการคิด (คิดสร้างสรรค์ คิดมุ่งอนาคต
คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดเชิงบวก คิด 6 ด้าน ปัญหาอุปสรรคต่อการคิด การสร้างและการฝึกพัฒนาทักษะ
การคดิ สรา้ งสรรค์ ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาทักษะการคดิ แบบตา่ ง ๆ ให้กับตนเอง (การฝึกสมาธิ การสร้างจิตใจ
ให้มีความสุข การขจัดความเครียด) การคิด มิติของ “การคิด” 6 ด้าน (มิติด้านข้อมูลหรือเนื้อหา
ท่ีใช้ในการคิด มิติด้านคุณสมบัติท่ีเอ้ืออานวยต่อการคิด มิติด้านทักษะการคิด มิติด้านลักษณะการคิด
มติ ิด้านกระบวนการคดิ และมิติดา้ นการควบคมุ และประเมินการคิดของตน)

กำรจดั ประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้

ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์
ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้ฝึกกระบวนการคิด และมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้
ด้วยตนเองท่ีทาใหก้ ารเรียนรู้ดว้ ยตนเองประสบความสาเรจ็ และนาความรู้ไปใช้ในวิถีชีวิตให้เหมาะสม
กับตนเอง และชมุ ชน สังคม

กำรวัดและประเมนิ ผล

ใช้การประเมินจากสภาพจริงของผู้เรียนที่แสดงออกเก่ียวกับกระบวนการคิดสร้างสรรค์
ในการแก้ปัญหา ความสามารถในการแสดงผลงาน และการคิดสร้างสรรคใ์ นการพฒั นาตนเอง

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้

68

รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทร02004 ทกั ษะกำรคิด จำนวน 1 หนว่ ยกติ
ระดับประถมศกึ ษำ มัธยมศกึ ษำตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนที่ 1.1 มคี วามรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรดู้ ้วยตนเอง

ที่ หวั เรอื่ ง ตัวชว้ี ดั เน้อื หำ จำนวน
4 ทกั ษะกำรคิด (ช่วั โมง)
1. ตระหนักและ 1. ความหมาย ความสาคัญ
40

เห็นความสาคญั ความคดิ สร้างสรรค์

ของการคดิ 2. วิธกี ารคิด (คิดสรา้ งสรรค์ คดิ ม่งุ

2. รู้และเข้าใจ อนาคต คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดเชิง

วิธกี ารคดิ แบบ บวก คดิ 6 ด้าน)

ตา่ ง ๆ 3. ปญั หาอุปสรรคตอ่ การคิด

3. บอกหรอื อธบิ าย 4. การสรา้ งและการฝึกพัฒนาทักษะ

ความคดิ สรา้ งสรรค์ การคิดสร้างสรรค์

ในการแกป้ ัญหา 5. ฝกึ ปฏิบตั ิการพัฒนาทกั ษะ

4. สามารถแสดง การคดิ แบบต่าง ๆ ให้กบั ตนเอง

ผลงานการคดิ (การฝึกสมาธิ การสรา้ งจิตใจ

สรา้ งสรรค์ ให้มีความสขุ การขจัดความเครยี ด)

ในการพฒั นาตนเอง การคิด

6. มิติของ “การคิด” 6 ดา้ น

6.1 มิติด้านข้อมลู

หรอื เนอื้ หา ที่ใช้ในการคดิ

6.2 มติ ดิ า้ นคุณสมบัติ

ทเี่ อื้ออานวยตอ่ การคดิ

6.3 มติ ิด้านทักษะการคดิ

6.4 มิติด้านลักษณะ

การคิด

6.5 มิตดิ า้ นกระบวนการคดิ

6.6 มิติดา้ นการควบคมุ และ

ประเมินการคิดของตน

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

69

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทร02005 กำรรูจ้ ักตนเอง จำนวน 1 หนว่ ยกติ
ระดบั ประถมศกึ ษำ มัธยมศึกษำตอนต้น และมัธยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนท่ี 1.1 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติท่ดี ตี ่อการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง

ศึกษำและฝึกทักษะเกย่ี วกบั เร่ืองตอ่ ไปน้ี

ความสาคัญของการรู้จักตนเองเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิธีการค้นหาตนเอง แบบทดสอบ
ความถนัด การแนะแนว การพูดคุย การประเมินตนเอง ฯลฯ รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
แบบต่าง ๆ ความหมาย ความสาคัญของการวางแผนการเรียนรู้และประโยชน์ของการวางแผน
การเรียนรู้องค์ประกอบของการวางแผนการเรียนรู้ วิธีการและกระบวนการวางแผนการเรียนรู้
ปฏบิ ตั กิ ารวางแผนการเรียนรู้รายบุคคลและรายกลุ่ม

กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้

ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์
ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้ฝึกวิธีการค้นหาตนเอง ออกแบบและวางแผน
การเรียนร้ทู เี่ หมาะสมกบั ตนเอง และมีเจตคตทิ ด่ี ตี ่อการเรียนรู้ดว้ ยตนเองทีท่ าให้การเรียนรู้ด้วยตนเอง
ประสบความสาเร็จ และนาความรไู้ ปใชใ้ นวถิ ชี ีวิตให้เหมาะสมกบั ตนเอง และชุมชน สังคม

กำรวดั และประเมินผล

ใช้การประเมินจากสภาพจริงของผู้เรียนที่แสดงออกเกี่ยวกับความสามารถในการออกแบบ
และวางแผนการเรียนรู้ท่เี หมาะสมกับตนเอง

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้

70

รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทร02005 กำรรจู้ กั ตนเอง จำนวน 1 หนว่ ยกติ
ระดับประถมศึกษำ มัธยมศึกษำตอนตน้ และมัธยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนท่ี 1.1 มีความรูค้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทด่ี ตี ่อการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง

ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ชี้วัด เน้ือหำ จำนวน
(ชั่วโมง)

5 กำรรจู้ กั ตนเอง 1. เข้าใจความสาคัญของ 1. ความสาคญั ของการรู้จักตนเอง 40

การรจู้ ักตนเอง เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้

2. สามารถค้นหารูปแบบ 2. วธิ กี ารค้นหาตนเอง

การเรยี นรู้ที่เหมาะสมกับ (แบบทดสอบความถนดั

ตนเอง การแนะแนว การพดู คุย

3. สามารถออกแบบและ การประเมินตนเอง ฯลฯ)

วางแผนการเรียนรู้ 3. รปู แบบการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง

ทเ่ี หมาะสมกับตนเอง แบบตา่ ง ๆ

4. ตระหนกั และเห็น 4. ความหมายความสาคัญ

ความสาคญั ของการ ของการวางแผนการเรยี นรู้

วางแผนการเรียนรู้ และประโยชนข์ องการวางแผนการ

5. ร้แู ละเข้าใจเก่ียว เรยี นรู้

กบั องค์ประกอบ 5. องค์ประกอบของ

ของการวางแผน การวางแผนการเรียนรู้

การเรียนรู้ 6. วิธกี ารและกระบวนการ

6. อธิบาย วางแผนการเรยี นรู้

และบอกกระบวนการ 7. ปฏบิ ตั ิการวางแผนการเรียนรู้

วางแผนการเรยี นรู้ 7.1 รายบคุ คล

7. สามารถวางแผน 7.2 รายกลุ่ม

การเรียนของตนเองได้

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

71

คำอธบิ ำยรำยวิชำ ทร02006 โครงงำนเพอ่ื พฒั นำทกั ษะกำรเรียนรู้
จำนวน 3 หนว่ ยกติ

ระดับประถมศึกษำ มธั ยมศึกษำตอนต้น และมธั ยมศึกษำตอนปลำย

มำตรฐำนท่ี 1.1 มคี วามร้คู วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดตี อ่ การเรียนรดู้ ้วยตนเอง

ศกึ ษำและฝกึ ทกั ษะเกีย่ วกบั เรอื่ งตอ่ ไปนี้

หลักการและแนวคิดของโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ความหมายของโครงงาน
เพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ การเตรียมการทาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทักษะ
และกระบวนการที่จาเป็นในการทาโครงงานเพ่ือพัฒน าทักษะการเรียนรู้ (การหาข้อมูล
การเลือกใช้ข้อมูล การจัดทาข้อมูล การนาเสนอข้อมูล การพัฒนาต่อยอดความรู้) การดาเนิน
การในการทาโครงงาน เช่น การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ การทาไดอาร่ีออนไลน์) การสะท้อนความคิดเห็น
ตอ่ โครงงาน

กำรจดั ประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้

ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์
ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้ฝึกดาเนินการในการทาโครงงาน และมีเจตคติที่ดี
ต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองท่ีทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ และนาความรู้ไปใช้ในวิถี
ชวี ติ ใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง และชุมชน สังคม

กำรวัดและประเมนิ ผล

ใช้การประเมินจากสภาพจริงของผเู้ รยี นที่แสดงออกเกย่ี วกับดาเนินการในการทาโครงงาน

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้

72

รำยละเอยี ดคำอธิบำยรำยวชิ ำ ทร02006
โครงงำนเพอ่ื พฒั นำทกั ษะกำรเรยี นรู้ จำนวน 3 หนว่ ยกติ
ระดับประถมศึกษำ มธั ยมศึกษำตอนต้น และมธั ยมศึกษำตอนปลำย

มำตรฐำนที่ 1.1 มีความร้คู วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติท่ดี ตี ่อการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง

ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชว้ี ดั เน้อื หำ จำนวน
(ชวั่ โมง)

6 โครงงานเพ่ือ 1. มคี วามรู้ 1. หลกั การและแนวคดิ 120

พัฒนาทักษะการ ความเข้าใจ หลักการและ ของโครงงานเพื่อพฒั นาทกั ษะ

เรยี นรู้ แนวคิดโครงงาน การเรยี นรู้

ความหมายของโครงงาน 2. ความหมายของโครงงาน

เพือ่ พฒั นาทักษะการเรยี นรู้ เพือ่ พัฒนาทักษะการเรียนรู้

ประเภทของโครงงาน 3. การเตรียมการทาโครงงาน

การเตรยี มการทาโครงงาน เพื่อพฒั นาทักษะการเรยี นรู้

ทักษะและกระบวนการ 4. ทักษะและกระบวนการที่

ในการทาโครงงาน จาเป็นในการทาโครงงาน

การดาเนินการในการทา เพอ่ื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้

โครงงาน (การหาข้อมลู การเลือกใช้

2. มีความสามารถ ขอ้ มลู การจดั ทาข้อมูล

ในการดาเนนิ การทา การนาเสนอข้อมูล

โครงงาน และสะท้อน การพฒั นาต่อยอดความรู้)

ความคดิ เหน็ ต่อโครงงาน 5. การดาเนนิ การในการทา

3. มเี จตคตทิ ่ดี ี โครงงาน เชน่ การพฒั นา

ต่อการทาโครงงาน แหล่งเรยี นรู้ การทาไดอาร่ี

และเห็นคุณคา่ ออนไลน์

ของโครงงาน 6. การสะทอ้ นความคดิ เห็น

ต่อโครงงาน

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

73

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทร02007 เทคนิคกำรวเิ ครำะห์งำน จำนวน 1 หน่วยกิต
ระดบั ประถมศึกษำ มธั ยมศึกษำตอนต้น และมัธยมศึกษำตอนปลำย

มำตรฐำนที่ 1.1 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติท่ีดตี อ่ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง

ศึกษำและฝึกทกั ษะเก่ียวกบั เร่ืองต่อไปนี้

ความหมายและความสาคัญของ เทคนิคการวิเคราะห์งาน ประโยชน์ของเทคนิค
การวิเคราะห์งาน กระบวนการวิเคราะห์ เทคนิคการวิเคราะห์งาน กรอบการวิเคราะห์เทคนิค
การวิเคราะห์งาน เงื่อนไขในการทากระบวนการวิเคราะห์ เทคนิคการวิเคราะห์งาน ตัวอย่าง
ที่วิเคราะห์ด้ว ย SWOT, IPO, PDCA ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ เทคนิคการวิเคราะห์งาน
เชน่ การวิเคราะห์องคก์ ร/ชุมชน

กำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้

ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์
ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้ฝึกเทคนิคการวิเคราะห์งาน และมีเจตคติที่ดี
ต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ และนาความรู้ไปใช้
ในวิถชี ีวิตใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง และชุมชน สังคม

กำรวดั และประเมินผล

ใช้การประเมินจากสภาพจริงของผเู้ รียนท่ีแสดงออกเก่ียวกับการวิเคราะห์งาน

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรียนรู้

74

รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวิชำ ทร02007 เทคนิคกำรวเิ ครำะหง์ ำน
จำนวน 1 หนว่ ยกติ

ระดับประถมศกึ ษำ มธั ยมศึกษำตอนต้น และมธั ยมศึกษำตอนปลำย

มำตรฐำนท่ี 1.1 มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติท่ดี ตี ่อการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

ท่ี หัวเรือ่ ง ตวั ชว้ี ัด เนอื้ หำ จำนวน
(ชวั่ โมง)
7 เทคนคิ 1. รูเ้ ข้าใจความหมาย 1. ความหมาย
กำรวิเครำะหง์ ำน และความสาคญั และความสาคญั ของเทคนิค 40
ของ เทคนคิ การวิเคราะหง์ าน
การวเิ คราะหง์ าน 2. ประโยชน์ของ เทคนิค
2. อธิบายหรอื บอก การวเิ คราะหง์ าน
กระบวนการวิเคราะห์ 3. กระบวนการวเิ คราะห์
ด้วย SWOT เทคนคิ การวิเคราะห์งาน
3. มีทักษะและใช้ 4. กรอบการวเิ คราะห์เทคนิค
กระบวนการ SWOT การวเิ คราะหง์ าน
ในการแก้ไขปัญหา 5. เงอื่ นไขในการทา
ของตนเองได้ กระบวนการวิเคราะห์
เทคนคิ การวเิ คราะหง์ าน
6. ตวั อย่างทว่ี ิเคราะห์
ด้วย SWOT , IPO , PDCA
7. ฝึกปฏบิ ตั กิ ารวิเคราะห์
เทคนิคการวิเคราะหง์ าน
เช่น การวเิ คราะหอ์ งค์กร /
ชมุ ชน

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้

75

คำอธิบำยรำยวิชำ ทร02008 เทคนิคกำรจดบันทึก จำนวน 1 หนว่ ยกิต
ระดบั ประถมศกึ ษำ มธั ยมศกึ ษำตอนตน้ และมัธยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนท่ี 1.1 มคี วามรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอ่ การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง

ศึกษำและฝกึ ทกั ษะเกี่ยวกบั เรอื่ งต่อไปนี้

ความหมายของการจดบันทึก วัตถุประสงค์ของการจดบันทึก การเตรียมการ
ก่อนการจดบันทึก ระหว่างการจดบันทึก หลักการจดบันทึก วิธีการจดบันทึก และเทคนิคการจด
บนั ทึก

กำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้

ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์
ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้ฝึกเทคนิคการจดบันทึก และมีเจตคติท่ีดี
ต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ และนาความรู้ไปใช้
ในวถิ ีชวี ิตใหเ้ หมาะสมกับตนเอง และชุมชน สงั คม

กำรวดั และประเมนิ ผล

ใชก้ ารประเมนิ จากสภาพจริงของผเู้ รียนท่ีแสดงออกเก่ยี วกับการจดบนั ทึก

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้

76

รำยละเอยี ดคำอธิบำยรำยวชิ ำ ทร02008 เทคนิคกำรจดบันทึก
จำนวน 1 หน่วยกติ

ระดับประถมศกึ ษำ มธั ยมศกึ ษำตอนต้น และมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนที่ 1.1 มคี วามรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติทีด่ ตี ่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ท่ี หวั เรอ่ื ง ตวั ชี้วัด เนอ้ื หำ จำนวน
(ช่ัวโมง)
8 เทคนคิ 1. ตระหนักและเหน็ 1. ความหมาย
กำรจดบนั ทึก ความสาคญั ของการจดบนั ทึก 40
ของการจดบนั ทึก 2. วตั ถุประสงค์
2. รูเ้ ข้าใจหลักการ ของการจดบันทึก
การจดบันทึก 3. การเตรยี มการ
3. อธิบายหรอื บอก ก่อนการจดบนั ทึก
ขั้นตอนการจดบันทึก 4. ระหวา่ งการจดบนั ทึก
4. มีทกั ษะและใช้เทคนคิ 5. หลกั การจดบนั ทึก
ในการจดบันทึก 6. วธิ ีการจดบนั ทึก
ของตนเองได้ 7. เทคนิคการจดบันทกึ

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

77

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทร02009 กำรอำ่ นเพอ่ื ควำมเข้ำใจ จำนวน 1 หนว่ ยกติ
ระดบั ประถมศกึ ษำ มธั ยมศกึ ษำตอนตน้ และมธั ยมศึกษำตอนปลำย

มำตรฐำนท่ี 1.1 มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติทีด่ ีตอ่ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง

ศึกษำและฝกึ ทกั ษะเกีย่ วกับเรือ่ งตอ่ ไปน้ี

ความหมายและความสาคัญของการอ่าน ระดับของความเข้าใจในการอ่าน ความสามารถ
ในการอ่านเพ่ือความเข้าใจ องค์ประกอบท่ีส่งผลต่อการอ่านเพื่อความเข้าใจ กระบวนการอ่าน
เพอ่ื ความเขา้ ใจ การประเมนิ ระดบั ความยากของการอา่ น และเทคนคิ การอ่านเร็ว

กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้

ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์
ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้ฝึกเทคนิคการอ่านเพ่ือความเข้าใจ และมีเจตคติที่ดี
ต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองท่ีทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ และนาความรู้ไปใช้
ในวิถชี วี ิตใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง และชุมชน สงั คม

กำรวดั และประเมินผล

ใชก้ ารประเมนิ จากสภาพจริงของผเู้ รยี นที่แสดงออกเก่ียวกับการอา่ นเพื่อความเข้าใจ

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้

78

รำยละเอยี ดคำอธบิ ำยรำยวิชำ ทร02009 กำรอำ่ นเพื่อควำมเขำ้ ใจ
จำนวน 1 หนว่ ยกติ

ระดับประถมศึกษำ มธั ยมศกึ ษำตอนต้น และมัธยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนที่ 1.1 มีความรู้ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีต่อการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

ที่ หวั เร่อื ง ตวั ชี้วดั เนื้อหำ จำนวน
(ชว่ั โมง)
9 กำรอ่ำนเพือ่
ควำมเขำ้ ใจ 1. ตระหนกั และเหน็ 1. ความหมาย / ความสาคัญ 40

ความสาคัญของการอ่าน ของการอ่าน

2. รเู้ ข้าใจเกี่ยวกบั วธิ ี 2. ระดบั ของความเข้าใจ

การอ่าน ในการอ่าน

3. บอกหรืออธบิ าย 3. ความสามารถในการอ่าน

เกี่ยวกับองค์ประกอบ เพื่อความเข้าใจ

ต่าง ๆ ทสี่ ง่ ผลต่อการอา่ น 4. องคป์ ระกอบท่ีส่งผลตอ่

เพอ่ื ความเข้าใจได้ การอ่านเพ่ือความเข้าใจ

4. อธิบายหรือประเมนิ 5. กระบวนการอ่าน

ระดบั การอา่ นของตนเอง เพ่อื ความเขา้ ใจ

ได้ 6. การประเมินระดบั

5. มีทกั ษะและการใช้การ ความยากของการอ่าน

อ่านเพื่อพฒั นาตนเองได้ 7. เทคนิคการอ่านเรว็

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทักษะการเรยี นรู้

79

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ทร02010 แผนพัฒนำควำมคิด (Mind Map)
จำนวน 1 หนว่ ยกิต

ระดบั ประถมศึกษำ มธั ยมศึกษำตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนที่ 1.1 มีความรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอ่ การเรยี นรู้ด้วยตนเอง

ศกึ ษำและฝึกทักษะเกี่ยวกบั เรื่องตอ่ ไปน้ี

ความหมาย ความสาคัญและประโยชน์ของการทาแผนพัฒนาความคิด (Mind Map)
กระบวนการสร้างแผนพัฒนาความคิด (Mind Map) ลักษณะการเขียนแผนพัฒนาความคิด
(Mind Map) ตัวอย่าง ฝึกปฏิบัติ การเขียนแผนพัฒนาความคิด (Mind Map) ข้ันตอนการสร้าง
แผนพฒั นาความคดิ (Mind Map) ฝึกปฏบิ ัตกิ ารสร้างแผนพัฒนาความคดิ (Mind Map)

กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้

ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์
ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เพ่ือฝึกให้ผู้เรียนได้ฝึกจัดทาแผนพัฒนาความคิด (Mind Map)
และมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสาเร็จ
และนาความรไู้ ปใช้ในวิถีชวี ติ ใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง และชมุ ชน สังคม

กำรวัดและประเมินผล

ใช้การป ระเมิน จากสภ าพจริงของผู้เ รีย นท่ีแสด งออกเ กี่ยว กับ การ แผ นพัฒ นาความคิด
(Mind Map)

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรียนรู้

80

รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวิชำ ทร02010 แผนพฒั นำควำมคดิ (Mind Map)
จำนวน 1 หน่วยกติ

ระดบั ประถมศกึ ษำ มัธยมศกึ ษำตอนต้น และมัธยมศกึ ษำตอนปลำย

มำตรฐำนที่ 1.1 มคี วามรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติท่ีดตี อ่ การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง

ที่ หัวเร่ือง ตวั ชีว้ ดั เนื้อหำ จำนวน
(ชว่ั โมง)
10 แผนพฒั นำ 1. ตระหนักและเห็น 1. ความหมาย
ควำมคิด 40
(Mind Map)
ความสาคัญของการทา ความสาคญั

แผนพฒั นาความคิด (Mind และประโยชนข์ องการทา

Map) แผนพัฒนาความคิด

2. รเู้ ขา้ ใจเก่ียว (Mind Map)

กบั กระบวนการสรา้ ง 2. กระบวนการสร้าง

แผนพัฒนาความคดิ แผนพัฒนาความคิด

(Mind Map) (Mind Map)

3. บอกลักษณะ 3. ลกั ษณะการเขียน

ของแผนพฒั นาความคิด แผนพัฒนาความคิด

(Mind Map) (Mind Map)

4. สามารถสรา้ ง 4. ตัวอย่างแผนพฒั นา

แผนพัฒนาความคิด ความคดิ (Mind Map)

(Mind Map) จากประเดน็ 5. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ

ทก่ี าหนดได้ การเขียนแผนพัฒนา

5. รจู้ กั ใชแ้ ผนพัฒนา ความคดิ (Mind Map)

ความคิด (Mind Map) 6. ข้นั ตอนการสรา้ ง

ในการพัฒนาการเรยี นรู้ของ แผนพัฒนาความคดิ

ตนเอง (Mind Map)

7. ฝึกปฏิบตั กิ ารสรา้ ง

แผนพฒั นาความคิด

(Mind Map)

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระทกั ษะการเรยี นรู้


Click to View FlipBook Version