The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เยาวภา บุญญาธิการ, 2020-06-14 05:01:36

วิทยาศาสตร์

หลักสูตรสถานศึกษา

ภาคผนวก ก.
ประกาศแตง่ ตัง้ ท่ปี รึกษาและผรู้ ว่ มให้ขอ้ มลู การปรบั ปรงุ พัฒนาหลักสตู ร

189

ประกาศแตง่ ตง้ั ท่ปี รกึ ษา และผรู้ ่วมให้ข้อมูลในการพัฒนาหลกั สูตรและปรับปรุง
หลกั สตู รสถานศกึ ษา หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2561)
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตห้วยขวาง

..............................................................................................
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตห้วยขวาง จะดาเนินการปรับปรุง
หลักสูตรและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม
จริยธรรม มีสติปัญญา และมีศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาต่อ และสามารถดารงชีวิตอยู่
ในครอบครัว ชุมชน สังคม ได้อย่างมีความสุข ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เขตห้วยขวาง จึงประกาศแต่งต้ังท่ีปรึกษาและผู้ร่วมให้ข้อมูลในการพัฒนาหลักสูตรและปรับปรุง
หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2561) ดงั ตอ่ ไปนี้

1. นายปรเมศวร์ ศริ ิรตั น์ ผูอ้ านวยการสานกั งานสง่ เสรมิ
2. นายปกาสติ ตราชืน่ ตอ้ ง การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
3. นางรัชนชุ สละโวหาร อัธยาศัย กรุงเทพมหานคร
4. รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรี ศรสี งั ข์ รองผอู้ านวยการสานกั งานสง่ เสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั กรุงเทพมหานคร
รองผู้อานวยการสานกั งานส่งเสรมิ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั กรุงเทพมหานคร
อาจารย์ประจาภาควิชาสังคมวิทยา
คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี
นครินทรวโิ รฒ (ประสานมิตร)

…/5. นายสังคม

190

5. นายสังคม โทปรุ นิ ทร์ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษาเชีย่ วชาญ
สานักงานเขตพ้ืนท่ีมัธยมศึกษา เขต 36
ขา้ ราชการบานาญ

บทบาทหน้าที่ของที่ปรกึ ษา
1. ให้คาแนะนาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตร หลักสูตรการศึกษานอก

ระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 ให้มคี วามทันยุคทนั สมยั
2. สนับสนุนส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ

การศกึ ษาขนั้ พื้นฐานพุทธศักราช 2551 อย่างมคี ณุ ภาพ

ผ้รู ่วมใหข้ อ้ มูล

1. ฝ่ายการศึกษา สานกั งานเขตหว้ ยขวาง

2. นางสาววราวรรณ โฉมทอง บรษิ ทั ซีเอส ล็อกอินโฟร์

3. นายศุภชาติ ชา้ งมรกต ประธานชุมชนบึงพระรามเก้าพัฒนา

4. นายวิษณุ ชาติทอง ผ้แู ทนศษิ ย์เก่า กศน.เขตห้วยขวาง

5. นางสาวกองทอง มาดี ประธานองคก์ รนักศึกษา

กศน.เขตหว้ ยขวาง

บทบาทหน้าที่

1. ให้ข้อมูลทเี่ กี่ยวกบั การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

2. สนับสนุนใหข้ อ้ มลู การจดั กิจกรรมเพอื่ สง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมให้กับนักศกึ ษา

3. สนับสนนุ ใหข้ อ้ มมูลทีเ่ กี่ยวข้องกบั การพัฒนาอาชีพ หรือหลักสูตรระดับห้องเรียน เพ่ือ

จัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐานที่ตรงกับความต้องการของชมุ ชน และสงั คม

ท้งั นี้ ตง้ั แต่บัดนีเ้ ป็นตน้ ไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี 28 สงิ หาคม พ.ศ. 2561

(นายพิเชษฐ เสอื เฒ่า)
ผ้อู านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตห้วยขวาง

ภาคผนวก ข.
คาสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการการปรับปรงุ พฒั นาหลกั สตู ร

192

คำสง่ั ศนู ย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั เขตหว้ ยขวำง
ที่ 183 / 2561

เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมกำรปรบั ปรุงหลักสูตรและพัฒนำหลักสตู รสถำนศึกษำ
หลักสตู รกำรศกึ ษำนอกระบบระดับกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน พุทธศกั รำช 2551

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2561)
..............................................................................................
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตห้วยขวาง จะดาเนินการปรับปรุง
หลักสูตรและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม

จริยธรรม มีสติปัญญา และมีศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาต่อ และสามารถดารงชีวิตอยู่
ในครอบครัว ชุมชน สังคม ได้อย่างมีความสุข ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เขตห้วยขวาง จึงแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.

2561) ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. นายพเิ ชษฐ เสือเฒา่ ผอ.กศน.เขตหว้ ยขวาง ประธานกรรมการ
2. นางสาวเยาวภา บุญญาธิการ ครู ค.ศ. 1 กรรมการ
3. นายทองพลู ระวาดชัย ครู กศน.ตาบล กรรมการ
4. นางนนั ทน์ ภสั นิฐนิ นั ทก์ ุล ครู กศน.ตาบล กรรมการ
5. นายกฤษดา สดี าพาลี ครู กศน.ตาบล กรรมการ
6. นายกฤษณะ อว่ มเป่ยี ม ครู กศน. ตาบล
กรรมการและเลขานกุ าร

บทบาทหน้าที่
1. ยกรา่ งหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

พุทธศกั ราช 2551
2. ประบปรุงและพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาให้ทันสมยั และทันสถานการณ์

.../3. กากับ

193

3. กากับ นิเทศ ติดตาม และประเมินผล การร่างหลักสูตร การใช้หลักสูตร และการ
ประเมนิ หลกั สูตรของผ้ทู ่ีมสี ว่ นเกีย่ วขอ้ งให้เกดิ ประสทิ ธภาพ และประสิทธผิ ล

4. ส่งเสริมสนับสนุนเอื้ออานวยความสะดวกให้มีการใช้หลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และเกิดประสิทธิผล

ทง้ั น้ี ต้ังแต่บดั นเ้ี ป็นตน้ ไป
ส่งั ณ วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2561

(นายพเิ ชษฐ เสอื เฒ่า)
ผู้อานวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เขตหว้ ยขวาง

ภาคผนวก ค.
นิยามศพั ท์

195

นยิ ามศพั ท์

กกกกกกกผังมโนทัศน์ (Concept Map) หมายถึง แผนภาพแทนความคิดท่ีแสดงให้เห็น
ความสัมพันธ์ท่ีมีความหมายระหว่างความคิดรวบยอดต่างๆ โดยอยู่ในรูปของข้อความ ท้ังนี้ข้อความ
อาจเปน็ ฉลากความคิดรวบยอดสองอัน หรือมากกว่านั้นซึ่งมากเชื่อมโยงกันด้วยถ้อยคาท่ีแสดงให้เห็น
ถึงความสัมพันธ์หรือความเก่ียวข้องหรือความเก่ียวข้องระหว่างความคิดรวบยอดนั้นๆ Concept
Map สามารถอยู่ในรูปแบบของแผนภูมิใยแมงมุม (Spider chart) แผนภูมิองค์กร (Organization
chart) หรือแผนผังสาย (Flow diagram)
กกกกกกกผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง หมายถึง ข้อกาหนดเก่ียวกับคุณภาพและมาตรฐานการเรียนรู้ที่
ตอ้ งการใหเ้ กิดขน้ึ แก่ผูเ้ รยี น หลังผ่านกระบวนการเรียนรู้ในสาระซึ่งข้อกาหนดดังกล่าวบูรณาการด้วย
ความคิดรวบยอด สารสนเทศ ทักษะความชานาญ ความสามารถในการสื่อสารองค์ความรู้
ความสามารถในการนาไปใชใ้ นสถานการณ์ต่างๆ
กกกกกกกคาอธิบายรายวิชา หมายถึง ข้อมูลรายละเอียดของแต่ละวิชา ประกอบด้วยมาตรฐานการ
เรียนรู้ เนื้อหาสาระ เวลาเรยี น รหัสวิชา ชอ่ื วิชา จานวนหน่วยกติ ระดบั ช้ัน เพ่ือใช้เป็นกรอบทิศทางท่ี
ผู้สอนใช้ในการวางแผน และออกแบบการเรียนการสอน
กกกกกกกสาระการเรยี นรู้ หมายถงึ องคค์ วามรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลักษณะสาคัญ รวมไว้ใน
มาตรฐานการเรยี นรู้ ซึง่ ผเู้ รยี นตอ้ งรูแ้ ละปฏิบตั ิได้
กกกกกกกตัวชีว้ ัด หมายถึง ตัวแปรประกอบหรือองค์ประกอบทมี่ คี า่ แสดงถึงลักษณะหรือปริมาณของ
สถานภาพทตี่ อ้ งการศกึ ษา ณ จุดเวลา หรือช่วงเวลาหนึ่ง คา่ ของตวั ชว้ี ัดแสดง/ระบ/ุ บ่งบอกถึงสภาพที่
ต้องการศึกษาเป็นองค์รวมกว้างๆ แต่มีความชัดเจนเพียงพอท่ีจะใช้ในการประเมินสภาพท่ีต้องการ
ศึกษาได้ หรือใช้การเปรียบเทียบ ระหว่างจุดเวลา/ช่วงเวลาที่ต่างกันเพื่อให้ทราบถึงความ
เปลยี่ นแปลง
กกกกกกกการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน หมายถึง การศกึ ษากอ่ นระดับอดุ มศึกษา
กกกก กก หน่วยกิต หมายถึง ค่าน้าหนักท่ีกาหนดให้ในการเรียนแต่ละรายวิชาโดยคิดจากระยะเวลา
ที่ใชใ้ นการเรยี นการสอน เพ่ือบรรลุมาตรฐาน หรือจุดประสงค์ท่ีต้ังไว้ สาหรับรายวิชานั้น โดยใช้เวลา
เรยี นไมน่ ้อยกว่า 40 ชว่ั โมง มีค่าเท่ากบั 1 หน่วยกติ
กกกกกกกเทคโนโลยี หมายถึง การนาเอาแนวคิด หลักการ เทคนิคความรู้ และระเบียบวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงไปในทางที่เพิ่มพูนประสิทธิภาพ
และประสิทธผิ ล

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา สาระความรู้พน้ื ฐาน วชิ าวิทยาศาสตร์

196

กกกกกกกวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับส่ิงต่างๆ ในธรรมชาติดโดยได้มาจากการศึกษา
ค้นควา้ อย่างมขี น้ั ตอนและมรี ะเบยี งแบบแผน
กกกกกกกกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง วิธีการและข้ันตอนท่ี ท่ีผู้เรียนใช้ดาเนินการ
คน้ ควา้ หาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คอื
กกกกกกกกกก1. วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Method)
กกกกกกกกกก2. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Process Skill)
กกกกกกกกกก3. จิตวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Attitude)
กกกกกกกวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) หมายถึง ข้ันตอนการทางานอย่างเป็น
ระบบที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยข้ันตอน 5 ขัน้ ตอน คือ
กกกกกกกกกก1. ขน้ั สังเกต
กกกกกกกกกก2. ขัน้ ระบุปัญหา
กกกกกกกกกก3. ขนั้ ตงั้ สมมติฐาน
กกกกกกกกกก4. ข้นั การรวบรวมข้อมลู
กกกกกกกกกก5. ขน้ั สรปุ ผล
กกกกกกกทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Process Skill) หมายถึง ความชานาญ
และความสามารถในการคิดและกระบวนการคิดเพื่อค้นหาความรู้ รวมทั่งการแก้ปัญหาต่างๆ มี 13
ทักษะคือ (1) การสังเกต (2) การวัด (3) การจาแนกหรือจัดประเภทสิ่งของ (4) การใช้ความสัมพันธ์
ระหว่างเห็นสเปสกับเวลา (5) การคานวณและการใช้จานวน (6) การจัดกระทาและสื่อความหมาย
ข้อมูล (7) การลงความเห็นจากข้อมูล (8) การพยากรณ์ (9) การต้ังสมมติฐาน (10) การควบคุมตัว
แปร (11) การตีความและลงข้อมูลสรุป (12) การกาหนดการนิยามเชิงปฏิบัติการ และ (13) การ
ทดลอง
กกกกกกกจิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Attitude) หมายถึง คุณลักษณะหรือลักษณะนิสัยของ
บุคคลที่เกิดขึ้นจากการศึกษาหาความรู้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยลักษณะ
ต่างๆ ได้แก่ ความสนใจ ใฝ่รู้ ความมุ่งมั่น อดทน รอบคอบ ความรับผิดชอบ ความซ่ือสัตย์ ประหยัด
การร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ความมีเหตุผล การทางานรวมกับ
ผอู้ นื่ ได้อย่างสร้างสรรค์
กกกกกกกเจตคติทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง คุณลักษณะนิสัยของบุคคลท่ีจะก่อให้เกิดประโยชน์ใน
การแสวงหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระความรูพ้ ื้นฐาน วชิ าวทิ ยาศาสตร์


Click to View FlipBook Version