The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลากหลายแนวคิด เล่ม 5
โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พีระยา นาวิน, 2021-12-23 22:30:23

หลากหลายแนวคิด เล่ม 5

หลากหลายแนวคิด เล่ม 5
โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน

หลากหลายแนวคิด

อกุ ฤษ มงคลนาวิน

เล่ม ๕

- กำ�เนดิ คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

- การปฏิรูปการเมือง โดยการจัดระบบ
และวิธกี ารเลอื กตัง้ ใหม่

- ก�ำ เนิดการน�ำ ก�ำ ไลข้อเท้า
มาใช้เป็นครง้ั แรกในประเทศไทย
- กำ�เนิดการช�ำ ระคา่ ปรบั จากการกระทำ�ผดิ

ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก



หลากหลายแนวคิด

อุกฤษ มงคลนาวนิ

เล่ม ๕

- ก�ำ เนดิ คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมชิ อบในวงราชการ

- การปฏริ ูปการเมอื ง โดยการจดั ระบบ
และวธิ ีการเลือกต้ังใหม่

- กำ�เนดิ การนำ�ก�ำ ไลขอ้ เทา้
มาใชเ้ ป็นคร้ังแรกในประเทศไทย
- ก�ำ เนดิ การช�ำ ระคา่ ปรบั จากการกระท�ำ ผดิ

ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก



อารมั ภบท

หนังสือ “หลากหลายแนวคิด” เล่มน้ีเป็นเล่มที่ ๕
เหตุท่ีเว้นระยะไปเพราะใช้เวลาในการจัดพิมพ์หนังสือชุด
“บนั ทกึ ภาพประวตั ศิ าสตรค์ วามทรงจำ� ในการเยอื นประเทศตา่ ง ๆ
ตามค�ำเชิญอย่างเป็นทางการ ระหว่างด�ำรงต�ำแหน่งประธาน
รัฐสภา” ซ่ึงได้จดั พิมพ์เผยแพรแ่ ล้วรวม ๔ เลม่ และจะได้จดั พมิ พ์
ต่อ ๆ ไปตามท่ีโอกาสอ�ำนวย

แตก่ อ่ นปใี หม่ ๒๕๖๕ น้ี ตอ้ งการหาสงิ่ ทเ่ี ปน็ สาระในการให้
ความรแู้ กบ่ คุ คลทว่ั ไปโดยเปน็ เรอ่ื งทไี่ ดก้ ำ� เนดิ มาจากแนวคดิ ใหม่ๆ
ซ่ึงได้คิดและเผยแพร่เป็นคนแรก เหมือนกับที่ได้เผยแพร่มาแล้ว
รวม ๔ เลม่ เพอื่ มอบใหเ้ ปน็ “ของขวญั วนั ปใี หม่ พ.ศ. ๒๕๖๕” แก่
ญาติสนิท มิตรสหาย บรรดาศษิ ยท์ ีเ่ คยมาขอรับพรวันปีใหมท่ กุ ปี

หัวขอ้ ส�ำคัญในหนงั สือเล่มน้ีมี ๔ หวั ขอ้ คือ
- หวั ข้อทีห่ น่ึง กำ� เนิด ป.ป.ป. (คณะกรรมการปอ้ งกัน
และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ)
ซ่ึงกอ่ ก�ำเนดิ ข้ึนในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ในรปู แบบของค�ำสงั่ ของนายก
รัฐมนตรี เมือ่ วนั ท่ี ๒๙ กันยายน ๒๕๑๕ จนกระทงั่ ต่อมา เม่ือวันที่
๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้ตราพระราชบัญญัติป้องกันและ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวนิ

ปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการพ.ศ.๒๕๑๘
ซ่ึงกฎหมายฉบับนี้ คณะกรรมการ ป.ป.ป. ได้มอบหมายให้ผม
และอาจารยส์ รรเสรญิ ไกรจติ ติ รว่ มกันจดั รา่ งขน้ึ โดยไดเ้ ดนิ ทาง
ไปศกึ ษาดูงานท่ีประเทศมาเลเซียหน่งึ ครง้ั

เมอื่ เสนอรา่ งกฎหมายฉบบั สำ� คญั นี้ เขา้ สกู่ ารพจิ ารณาของ
สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ ผมไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ปน็ เจา้ ของเรอ่ื งใน
การช้ีแจง ทั้งในช้ันรับหลักการและเป็นกรรมาธิการเจ้าของเร่ือง
ในการพจิ ารณาในช้ันกรรมาธกิ าร จนกระทง่ั มีการตรากฎหมาย
ฉบับน้ีขึน้

นี่คือความภูมิใจที่ได้ท�ำให้กฎหมายส�ำคัญฉบับน้ีเกิด
ขึ้น และเป็นท่ีมาของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การทุจริตและประพฤติมิชอบแห่งชาติฉบับที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
(กฎหมาย ป.ป.ช.)

หัวข้อท่ีสอง ได้แก่การเสนอให้มีการปฏิรูปการเมือง
โดยการจัดระบบและวิธีการเลือกต้ังใหม่ ซึ่งได้มีการน�ำเสนอ
และเผยแพรใ่ นส่ือโทรทศั น์ การบรรยายในสถาบนั ตา่ ง ๆ การเผย
แพรใ่ นสื่อมวลชนทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

เรมิ่ เสนอและเผยแพรเ่ ปน็ เอกสารเมอ่ื วนั ที่ ๒๔ มถิ นุ ายน
พ.ศ. ๒๕๓๐ เปน็ คนแรก ไดอ้ ธบิ ายขอ้ ด-ี ขอ้ เสยี โดยละเอยี ด รวม
ท้ังผลท่ีประเทศชาติจะได้รับ โดยมีสาระส�ำคัญคือ การเลือกตั้ง
ให้ไดใ้ ชบ้ ตั รสองใบ (พรรคเลอื กคน-ประชาชนเลอื กพรรค)

6

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

ตัวแทนของประชาชนในระบบปาร์ต้ีลิสต์เป็นผู้ท่ีมาจาก
คะแนนเสียงของผู้ออกเสียงทุกคน ไม่มีคะแนนเสียงตกน้�ำ
ตามสัดส่วนมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับความนิยมในนโยบายของ
พรรคการเมือง โดยมีการพิจารณาว่าเป็นนโยบายท่ีดีและปฏิบัติ
ได้ สว่ นผแู้ ทนราษฎรในเขตเลอื กตงั้ เขตละหนง่ึ คน ใชว้ ธิ กี ารเลอื ก
ตามเดมิ คอื “แพค้ ดั ออก” จงึ เปน็ ระบบทยี่ ตุ ธิ รรมเพราะอยา่ งนอ้ ย
คะแนนเสยี งทอ่ี อกไปในการเลอื กตง้ั จะมสี ว่ นทำ� ใหม้ ผี แู้ ทนราษฎร
ในระบบปารต์ ้ลี สิ ต์ตามสดั ส่วนคะแนนนยิ ม

ขอใหพ้ จิ ารณาขอ้ ด-ี ขอ้ เสยี โดยละเอยี ดในเอกสารทเี่ สนอ
มาเป็นหัวข้อทส่ี อง

สว่ นหวั ขอ้ ทสี่ าม เปน็ การใหก้ ำ� เนดิ การนำ� กำ� ไลขอ้ เทา้
(Electronic Monitoring) มาใชเ้ ปน็ ครงั้ แรกในประเทศไทย (ในตา่ ง
ประเทศได้น�ำมาใชไ้ ดผ้ ลดีมานานแล้ว)

การน�ำเสนอส่ิงแปลกใหม่มาใช้ในวงราชการไม่ใช่ของที่
กระทำ� ไดง้ า่ ย ๆ เพราะตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจกบั วงการราชทณั ฑแ์ ละ
ศาลยตุ ิธรรม จนเปน็ ท่เี ข้าใจและยอมรบั กนั ในปัจจุบนั

หัวข้อที่สี่ เป็นการให้ก�ำเนิดการช�ำระค่าปรับจากการ
กระท�ำผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก ที่ระบบเดิม
ตอ้ งชำ� ระค่าปรับ ณ สถานีต�ำรวจท่อี อกใบสั่ง ซงึ่ ทำ� ความล�ำบาก
และความทกุ ข์ใหก้ ับผูถ้ กู ใบสงั่ ปรบั อย่างมาก

7

หอลุกากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

เช่น ได้รับ “ใบส่ัง” ให้ช�ำระค่าปรับท่ีสถานีต�ำรวจที่
ปรากฏตามใบส่ังในกรุงเทพมหานครภายในก�ำหนด แต่ผู้ได้
รับ “ใบสั่ง” เดินทางกลับภูมิล�ำเนาในต่างจังหวัดแล้ว ต้องเดิน
ทางกลับมาช�ำระ “ค่าปรับ” และโดยทั่วไปไม่ได้รับความสะดวก
จากเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ เช่น เจ้าหน้าที่ต้องออกไปปฏิบัติงาน
นอกสถานี ท�ำให้ผู้ต้องเสีย “ค่าปรับ” เสียเวลา ซึ่งผมเห็นว่า
การปฏิบัติเช่นนี้เป็นมาช้านานตั้งแต่มีกฎหมายให้มีการช�ำระ
ค่าปรับตาม “ใบสั่ง” จึงได้เสนอให้มีการเปล่ียนแปลงการช�ำระ
ค่าปรับ ด้วยวิธีท่ีง่ายและไม่ท�ำให้เจ้าหน้าที่และประชาชนต้อง
มีความเป็นศัตรกู ัน ซง่ึ จ�ำนวนมากต้องยินยอมเสีย “ค่าปรับนอก
ระบบ” โดย “คา่ ปรบั เขา้ กระเปา๋ เจา้ หนา้ ท”ี่ ไมเ่ ขา้ เปน็ เงนิ ไดข้ องรฐั

และนเ่ี ปน็ พฤตกิ ารณ์ “ทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ” ทเี่ กดิ ขนึ้
ประจำ� วนั ทวั่ ประเทศ ผลเสยี รา้ ยแรงคอื ความโกรธและความทกุ ข์
ของประชาชนตลอดมา

ผมพิจารณาเห็นว่าควรมีการแก้ไขวิธีการ “เสียค่าปรับ”
โดยเร็ว เพ่ือประโยชน์สุขของประชาชนและแก้ปัญหาการเผชิญ
หน้าระหว่างเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจกับประชาชน จึงได้เสนอให้มี
ก�ำเนิดการช�ำระค่าปรับจากการกระท�ำความผิดตามกฎหมาย
จราจร โดยไม่ต้องไปช�ำระค่าปรับที่สถานีต�ำรวจอย่างเดียว
ดงั รายละเอียดท่ีปรากฏในหนังสอื เลม่ น้ี ซง่ึ เป็นการเปล่ียนแปลง
ครง้ั ส�ำคัญอย่างหน่งึ ในบ้านเมอื ง

8

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

สารบัญ

อารัมภบท ๓

กำ�เนิดคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ ๙
และประพฤติมชิ อบในวงราชการ

การปฏริ ปู การเมือง โดยการจัดระบบและวิธกี ารเลอื กตัง้ ใหม ่ ๗๙

กำ�เนดิ การนำ�กำ�ไลขอ้ เท้า (Electronic Monitoring) ๑๐๕
มาใชเ้ ปน็ ครง้ั แรกในประเทศไทย

กำ�เนดิ การชำ�ระค่าปรับจากการกระทำ�ผิดตาม ๑๒๒
พ.ร.บ. จราจรทางบก

9กำ�เนิดคณะกรรมการ

ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

10 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ
ป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลิดนาวนิ

กำ� เนดิ ป.ป.ป.

การปราบปรามการทจุ รติ ในวงราชการของประเทศไทย มมี า
แต่อดีตนับตั้งแต่สมัยสุโขทัย สมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยกรุงธนบุรี
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จนถึงยุคปัจจุบัน โดยจุดเริ่มต้นของยุค
ปัจจุบัน ได้เร่ิมจากการมีการตรากฎหมายที่เก่ียวข้องกับการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นกฎหมายลักษณะอาญา
รศ.๑๒๗ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการตลุ าการ พ.ศ.๒๔๗๑
พระราชบัญญัติคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.๒๔๗๖
พระราชกฤษฎีกาวิธีพิจารณาลงโทษข้าราชการและพนักงาน
เทศบาลผู้กระท�ำผิดหน้าที่หรือหย่อนความสามารถ พ.ศ.๒๔๙๐
พระราชบญั ญัตเิ ร่ืองราวร้องทกุ ข์ พ.ศ.๒๔๙๒

ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๙๔ ได้มีการจัดต้ังคณะกรรมการ
ปฏบิ ตั ริ าชการตามมตปิ ระชาชน (ก.ป.ช.) เพอ่ื รบั เรอ่ื งราวรอ้ งทกุ ข์
และพัฒนามาเปน็ กรมตรวจราชการแผน่ ดิน ใน พ.ศ.๒๔๙๖ แต่
ได้ถกู ยกเลกิ ไปในปี พ.ศ.๒๕๐๓ และมกี ารแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ
ตรวจสอบเก่ียวกับภาษีอากร (ก.ต.ภ.)ขึ้นตามพระราชบัญญัติ
ตรวจสอบการปฏิบัติเก่ียวกับภาษีอากรและรายได้อื่นของรัฐ
พ.ศ.๒๕๐๓

ภายหลงั การปฏวิ ัติเม่ือวนั ท่ี ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๔
ได้มีการปรับปรุงระเบียบบริหารราชการแผ่นดินใหม่เพ่ือให้
เกิดความคล่องตัวในการบริหารและลดการท�ำงานท่ีซ�้ำซ้อน

12 ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ
ป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววินคดิ

ในการทำ� งานของก.ต.ภ.สำ� นกั งานคณะกรรมการเรอื่ งราวรอ้ งทกุ ข์
และงานของผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี เข้าด้วยกัน
และจัดตั้งเป็นส�ำนักงานคณะกรรมการตรวจและติดตามผลการ
ปฏิบัติราชการ (ก.ต.ป) ตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๓๑๔
ลงวันท่ี ๑๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๕ มีหน้าที่ตรวจและติดตาม
การปฏิบัติงานตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน และนโยบาย
ของรัฐบาล รวมท้ังการสืบสวนสอบสวนเกี่ยวกับการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ จนมาเกิดเหตุการณ์เรียกร้องประชาธิปไตย
ครั้งย่ิงใหญ่ในประวัติศาสตร์ของบรรดานิสิต นักศึกษา
นักเรียน และประชาชนหลากหลายอาชีพ ในวันที่ ๑๔ ตุลาคม
พ.ศ.๒๕๑๖ ซึ่งแม้ภาพเปลือกนอกอาจมองเห็นเป็นเรื่องการ
เรยี กรอ้ งขอทวงคนื รฐั ธรรมนญู การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
แต่ในเบ้ืองลึกเป็นสิ่งที่ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า ปัญหาการทุจริต
ในวงราชการในกลุ่มผู้มีอ�ำนาจทางการเมืองได้เป็นตัวกระตุ้น
อย่างส�ำคัญต่อการท�ำให้เกิดการชุมนุมประท้วงในครั้งนั้น
ลุกลามไปท่ัว เพราะเม่ือมีสัญญาณบ่งบอกว่าอ�ำนาจอธิปไตย
ได้หวนกลับมาเป็นของประชาชนชาวไทยแล้ว เหตุการณ์
เรียกร้องประชาธิปไตยเร่ิมเบาบางลง ประชาชนได้โอกาส
เรียกร้องให้รัฐบาลด�ำเนินการป้องกันและปราบปรามการ
ทุจริตอย่างจริงจัง เป็นผลให้ส�ำนักงาน ก.ต.ป.ซึ่งต้ังอยู่ท่ี
สี่แยกคอกวัว ถนนราชด�ำเนิน ถูกประชาชนเผาจนหมดส้ิน
รวมท้ังเอกสารต่างๆ ก็ถูกเผาไปด้วย ต่อมาเมื่อ นายสัญญา
ธรรมศักดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้พิจารณาด�ำเนินการตาม

13กำ�เนิดคณะกรรมการ

ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ
และประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ

หอลุกากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

ค�ำเรียกร้องดังกล่าว โดยได้ท�ำเป็นค�ำส่ังนายกรัฐมนตรี
ที่ ๑๑๓/๒๕๐๗ ลงวันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๗ ว่า

“เม่ือปรากฎว่ามีผู้ร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการตรง
มาท่ีนายกรัฐมนตรีและส�ำนักนายกรัฐมนตรีมากราย ทั้งการ
กลา่ วอา้ งวา่ มกี ารทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการอยเู่ สมอ
ซึ่งบางกรณีเก่ียวข้องกับข้าราชการหลายกระทรวง ทบวง กรม
หรือรัฐวิสาหกิจ รัฐบาลนี้มีเจตจ�ำนงค์อยู่ว่า จะต้องป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการให้หมด
ส้ินไปหรืออย่างน้อยให้บรรเทาเบาบางลง” จึงได้แต่งตั้งคณะ
กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ในวงราชการขึ้น โดยอาศัยอ�ำนาจตามความในข้อ ๙.(๖) แห่ง
ประกาศของคณะปฏวิ ัติฉบับท่ี ๒๑๘ ลงวนั ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.
๒๕๑๕ มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ และมีรองนายก
รัฐมนตรี ดร.สุกิจ นิมมานเหมินท์ เป็นรองประธานกรรมการ
กรรมการอ่ืนประกอบดว้ ย ดร.ประกอบ หตุ ะสงิ ห์ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงยตุ ธิ รรม นายสรรเสรญิ ไกรจติ ติ ผพู้ พิ ากษาหวั หนา้ คณะ
ในศาลฎีกา มีพลต�ำรวจตรีอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร เป็นกรรมการ
และเลขานุการ,นายอุกฤษ มงคลนาวิน เป็นกรรมการและผู้ช่วย
เลขานุการ

แต่ยังไม่ทันได้เร่ิมด�ำเนินการ นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ได้
ลาออกจากต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีเสียก่อน หลังจากนั้นได้รับ
พระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งต้ังให้เป็น

14 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววินคดิ

รัฐบาลน้ีมีเจตจ�ำนงค์อยู่ว่า จะต้องป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบใน
วงราชการใหห้ มดสนิ้ ไปหรอื อยา่ งนอ้ ยใหบ้ รรเทา
เบาบางลง” จึงได้แต่งต้ังคณะกรรมการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ในวงราชการข้นึ

นายกรัฐมนตรีอีกครั้งหน่ึง ซ่ึงได้ปรับปรุงคณะกรรมการ ป.ป.ป.
ใหม่ ใหเ้ ร่มิ ดำ� เนินงานตั้งแต่วนั ที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๗ โดย
มกี ารเปลีย่ นแปลง คอื ดร.ประกอบ หตุ ะสงิ ห์ รองนายกรฐั มนตรี
เป็นรองประธานกรรมการแทน ดร.สุกิจ นิมมานเหมินท์ มี
นายกติ ติ สหี นนทน์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงยตุ ธิ รรมเปน็ กรรมการ
นอกจากน้ันเป็นคณะกรรมการชุดเดิม โดยมีพลต�ำรวจตรี
อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็น
กรรมการและเลขานุการ นายอุกฤษ มงคลนาวิน เป็นกรรมการ
และผู้ช่วยเลขานุการ จนกระท่ังต่อมาเมื่อวันท่ี ๓ มีนาคม พ.ศ.
๒๕๑๘ ได้ตราพระราชบญั ญัติปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ พ.ศ.๒๕๑๘ และไดต้ ราพระราช
บัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๒๑๖
ลงวนั ท่ี ๒๙ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๑๕ (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ.๒๕๑๘ จดั ตง้ั
ส�ำนกั งาน ป.ป.ป.สงั กัดสำ� นกั นายกรฐั มนตรีขน้ึ

15ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ

ป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

ความเป็นมาของการเสนอให้มีการจัดตั้งคณะ
กรรมการ ป.ป.ป.

ผมในฐานะส่วนตัวและในฐานะท่ีปรึกษานายกรัฐมนตรี
(ท่ีปรึกษา ดร.สุกจิ นมิ มานเหมินท์ รองนายกรัฐมนตร)ี ได้รับมอบ
หมายใหจ้ ดั รายการโทรทศั นข์ นึ้ ผมจงึ เสนอใหจ้ ดั รายการโทรทศั น์
ในหัวข้อ “สนทนาประชาธปิ ไตย” ออกอากาศท่ีสถานีโทรทัศน์
ช่อง ๔ บางขนุ พรหม

ในขณะนนั้ (พ.ศ.๒๕๑๗)นอกจากสถานโี ทรทศั นช์ อ่ ง๔แลว้
อกี ช่องหนงึ่ ของสถานโี ทรทัศนช์ อ่ ง ๕ ของกองทพั บก

รายการโทรทัศน์ช่อง ๔ ในหัวข้อ “สนทนาประชา-
ธิปไตย” ออกอากาศสด เวลาหลังข่าวพระราชส�ำนัก
ทกุ คนื โดยไมม่ บี ทโทรทศั นเ์ พราะเปน็ การอภปิ รายสด

คณะผู้อภิปรายต้องไปเตรียมการพร้อมที่สถานีโทรทัศน์
ชอ่ ง ๔ ขา้ งหอ้ งออกอากาศเมื่อการรายงานขา่ วภาคค่ำ� จบลง จะ
ต่อด้วยรายการ “ปญั หาบา้ นเมือง” ทันที

คณะผอู้ ภปิ รายคณะแรกไดแ้ ก่ นายประหยดั ศ.นาคะนาท
(นายรำ� คาญ) อาจารย์ คณุ รญั จวน อนิ ทรกำ� แหง จากมหาวทิ ยาลยั
รามคำ� แหงดร.อกุ ฤษมงคลนาวนิ จากคณะนติ ศิ าสตรจ์ ฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัยในฐานะผู้เร่ิมโครงการและก�ำหนดหัวข้อการ
อภปิ ราย ผทู้ ำ� หนา้ ทพ่ี ธิ กี รคนแรกไดแ้ ก่ นายพฤทธิ์ อปุ ถมั ภานนท์

16 ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ
ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววินคดิ

ผปู้ ระกาศสถานโี ทรทศั นช์ อ่ ง ๔ ผมู้ บี ทบาทการประสานงาน ไดแ้ ก่
นายดุสิต ศิริวรรณ แห่งกรมพลศึกษาและเป็นเลขานุการส่วน
ตัวของ ดร.สกุ จิ นิมมานเหมินท์ รองนายกรัฐมนตรี มีหนา้ ที่และ
บทบาทสำ� คญั ในการประสานงานทั้งหมด

ต่อมานายพฤทธิ์ อุปถัมภานนท์ แจ้งว่าไม่สันทัดกับการ
ท�ำหนา้ ท่พี ิธกี ร เพราะเป็นรายการสดไม่มีสครปิ ท์ จงึ ไดเ้ ปลยี่ นให้
นายดสุ ิต ศริ ิวรรณ เป็นพธิ ีกรแทน

การตอบรับจากประชาชน

เมอื่ รายการประมาณหนงึ่ ชวั่ โมงจบลง มปี ระชาชนจำ� นวน
หนึ่งมาคอยพบแสดงความเห็นด้วยและอีกส่วนหน่ึงโทรศัพท์
ไปทบี่ ้าน (ในปี พ.ศ.๒๕๑๗ ยงั ไม่มีโทรศพั ทม์ อื ถอื )

การออกรายการทางสถานีโทรทัศน์ติดต่อกันประมาณ
๕ ครั้ง ท�ำให้ทราบถึงความคิดเห็นของประชาชนเสมือนการท�ำ
ประชาพิจารณใ์ นปัจจบุ นั

การเสนอให้มีคณะกรรมการป้องกันและปราบ
ปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

โดยกรรมการคณะนเ้ี ปน็ กรรมการทแี่ ตกตา่ งจากกรรมการ
คณะอนื่ ๆ เพราะ มบี คุ คลสำ� คญั ของบา้ นเมอื งเปน็ กรรมการ ไดแ้ ก่
นายกรัฐมนตรนี ายสญั ญา ธรรมศักด์ิ เปน็ ประธานกรรมการ รอง
นายกรฐั มนตรี ดร.ประกอบ หุตะสงิ ห์ เป็นรองประธานกรรมการ

17กำ�เนดิ คณะกรรมการ

ปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต
และประพฤติมชิ อบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลิดนาวิน

แทน ดร.สุกจิ นิมมานเหมินท์ มรี ัฐมนตรวี า่ การกระทรวงยุติธรรม
นายกิตติ สีหนนทน์ เป็นกรรมการ นายสรรเสริญ ไกรจิตติ
ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา เป็นกรรมการ พลต�ำรวจตรี
อรรถสิทธ์ิ สิทธิสุนทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็น
กรรมการและเลขานุการ นายอุกฤษ มงคลนาวิน เป็นกรรมการ
และผู้ช่วยเลขานุการ เห็นได้ว่า ท�ำไมถึงต้องให้มีคณะกรรมการ
ที่มีความส�ำคัญตามที่กล่าวชื่อมาแล้ว เพราะกรรมการคณะนี้
ควรจะตอ้ งมผี ทู้ มี่ บี ารมใี นบา้ นเมอื ง เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ทเี่ ชอื่ ถอื ของบรรดา
ข้าราชการทั้งหลายให้มาท�ำหน้าท่ีคณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ

กรรมการที่ส�ำคัญท่ีสุดท่านหนึ่งได้แก่ พลต�ำรวจตรี
อรรถสทิ ธ์ิสทิ ธสิ นุ ทรเพราะทา่ นผนู้ เี้ คยเปน็ อดตี อธบิ ดกี รมมหาดไทย
และอดตี อธบิ ดกี รมศลุ กากร เปน็ ผทู้ มี่ ชี อื่ เสยี งในดา้ นความซอ่ื สตั ย์
สุจริตเป็นอย่างยิ่ง มีนายอุกฤษ มงคลนาวิน เป็นกรรมการและ
ผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารในการทำ� งานของคณะกรรมการชดุ ท่ี๒นี้ปรากฎวา่
พลตำ� รวจตรีอรรถสทิ ธ์ิ สิทธสิ นุ ทร กรรมการและเลขานุการ ได้รบั
โปรดเกล้าฯแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
อีกต�ำแหน่งหนึ่ง ท่านจึงได้มอบหมายงานในหน้าที่เลขานุการ
ใหแ้ ก่ นายอกุ ฤษ มงคลนาวนิ เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบดำ� เนนิ การทงั้ หมด
และให้ปรึกษาและน�ำเสนอท่านโดยตรงซ่ึงท�ำให้ต้องใช้ความ
รู้ความสามารถและความรอบคอบเป็นอย่างย่ิงในการท�ำงาน
ในหน้าที่นี้กับบรรดาผู้มีต�ำแหน่งสูงของบ้านเมือง โดยขณะน้ัน
ผมมอี ายนุ อ้ ยเพียง ๔๐ ปี แต่ทุกอย่างก็เป็นไปไดด้ ว้ ยดี

18 กำ�เนดิ คณะกรรมการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริต
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคิด

การท�ำงานของกรรมการไม่มีเงินได้พิเศษ ไม่มีรถยนต์
ประจำ� ตำ� แหน่ง

สถานที่ประชุมคณะกรรมการ

การประชุมคณะกรรมการได้จัดข้ึนท่ีห้องประชุมคณะ
รัฐมนตรีตึกไทยคู่ฟ้า ท�ำเนียบรัฐบาล ส่วนสถานที่ท�ำงานของ
ข้าราชการอยู่บนตึกไทยคู่ฟ้า ท�ำเนียบรัฐบาล ซ่ึงในขณะนั้นมี
เจา้ หน้าทเี่ พียง ๒๐ กว่าคน

ท่ีมาของคำ� ว่า “ป.ป.ป.”

ในการประชุมครั้งแรกท่านนายกรัฐมนตรีปรารภว่าชื่อ
คณะกรรมการมคี วามยาวมาก ผมจงึ เสนอใหใ้ ชค้ ำ� ยอ่ วา่ “ป.ป.ป.”
ซ่ึงเป็นหลักการและแนวทางการด�ำรงชีวิตของคุณพ่อของผม
(นาวาโทพระมงคลนาวาวุธ) ว่าในชีวิตให้ยดึ หลัก ๓ ป.คอื

ประพฤติดี ปฏิบตั ิดี ประหยัดดี

ซึ่งถ้าข้าราชการปฏิบัติตามน้ี จะไม่มีการทุจริตในวง
ราชการเกิดข้ึน ซ่ึงนายกรัฐมนตรีและคณะกรรมการเห็นชอบ
ดว้ ย จงึ ได้ใชช้ ือ่ นีม้ าจนถงึ วันท่ี ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๒ จึง
ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๔๒ เป็นผลให้คณะ
กรรมการ ป.ป.ป.ถูกยกเลิกไป ได้มีการจัดต้ังส�ำนักงานคณะ
กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ท่ีเรียก

19กำ�เนิดคณะกรรมการ

ป้องกันและปราบปรามการทุจริต
และประพฤติมชิ อบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลิดนาวนิ

ชื่อยอ่ ว่า ส�ำนกั งาน ป.ป.ช.ขนึ้ แทน (คณะกรรมการ ป.ป.ป.หลัง
จากจัดต้ังขึ้นเม่ือ พ.ศ.๒๕๑๗ มีอายุการท�ำงานได้ ๒๕ ปี) เป็น
กรรมการปราบปรามการทจุ ริตทมี่ ีอายุยาวทส่ี ดุ

ผลงานของคณะกรรมการ ป.ป.ป.

เนื่องจากเวลาท�ำงานมีน้อย มีเจ้าหน้าท่ีช้ันผู้ใหญ่เพียง
๔ คน นอกจากนั้นได้แต่งต้ังผู้มีความรู้ความสามารถท�ำหน้าท่ี
เป็นอนุกรรมการเฉพาะกิจ อีกหลายคณะ ซึ่งท�ำหน้าท่ีสอบสวน
ผู้ถูกกล่าวหาเมือ่ ท�ำงานเสรจ็ ก็ยบุ ไป

โดยสรุป ระยะเวลาการท�ำงานหกเดือนมีเรื่องที่ร้องเรียน
ทงั้ หมด ๔๓๔ เรอื่ ง มบี ตั รสนเทห่ ์ ทไี่ มม่ สี าระเลยและไดร้ ะงบั เรอื่ ง
ไป ๑๘๓ เร่ือง อนุกรรมการพจิ ารณาอยู่ ๔๙๔ เร่ือง ได้ดำ� เนนิ การ
มอบตน้ สงั กดั ดำ� เนนิ ไปแลว้ ๓๑ เรอ่ื ง ตงั้ กรรมการสอบสวนขอ้ เทจ็
จริงทางวนิ ยั ๒๔ เร่อื ง เปน็ เร่ืองท่เี กยี่ วขอ้ งกับขา้ ราชการชนั้ พเิ ศษ
๑๔ ราย ชั้นเอก ๑๘ ราย ชั้นโทลงมา ๘๒ ราย เร่ืองที่อยรู่ ะหวา่ ง
สอบสวนทางวนิ ยั และขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วขอ้ งกบั ขา้ ราชการชน้ั พเิ ศษ
๓๑ ราย ชัน้ เอก ๖๕ ราย ชนั้ โทลงมา ๘๓ ราย คณะกรรมการม่งุ
ดำ� เนินการกับขา้ ราชการชั้นผู้ใหญก่ ่อน เพราะวา่ เวลาน้อยและมี
เวลาด�ำเนินการเพียงแค่หกเดือน หลังจากนั้น ได้มีการเสนอร่าง
พระราชบญั ญตั ิป.ป.ป.เขา้ สสู่ ภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาตเิ พอ่ื พจิ ารณา
ออกเปน็ กฎหมายต่อไป

20 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ป้องกนั และปราบปรามการทุจริต
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคิด

การเสนอร่างพระราชบัญญัติ ป.ป.ป. คณะกรรมการ
ป.ป.ป.ไดม้ อบหมายใหน้ ายอกุ ฤษ มงคลนาวนิ และ นายสรรเสรญิ
ไกรจิตติ เป็นผู้ยกร่างและเสนอร่างพระราชบัญญัติน้ีต่อคณะ
กรรมการฯ เม่ือพิจารณาเสร็จแล้ว ได้น�ำเสนอต่อไปยังสภา
นิติบัญญัติแห่งชาติ ได้มีการพิจารณาอย่างกว้างขวางในช้ันรับ
หลักการโดยเฉพาะอย่างย่ิงในชั้นแปรญัตติมีคณะกรรมาธิการ
วสิ ามญั รวม ๗ คน (ดูประกาศสภานิตบิ ญั ญัติแห่งชาติ ท�ำหน้าท่ี
รัฐสภา ลงวันท่ี ๗ มกราคม ๒๕๑๘ หน้า ๒๐) ซ่ึงมีสมาชิกสภา
นิติบัญญัติแห่งชาติผู้มีช่ือเสียงเป็นท่ีรู้จักกันทั่วไป ได้เข้าร่วม
ในการอภิปรายและสงวนค�ำแปรญัตติไว้จ�ำนวนหลายท่าน
ซงึ่ การอภปิ รายทมี่ สี าระมากทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ การอภปิ รายในมาตรา ๑๗
ซงึ่ จะไดก้ ลา่ วถงึ รายละเอยี ดเพอื่ ประโยชนใ์ นการรบั รแู้ ละการสอื่ สาร
ของบรรดาผู้สนใจตอ่ ไป

ในทส่ี ดุ รา่ งพระราชบญั ญตั ิ ป.ป.ป. ไดป้ ระกาศใชเ้ มอ่ื วนั ที่
๓ มนี าคม พ.ศ.๒๕๑๘ เปน็ การตราพระราชบญั ญตั แิ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ
ประกาศของคณะปฏวิ ตั ิฉบับท่ี ๒๑๖ ลงวนั ท่ี ๒๙ กันยายน พ.ศ.
๒๕๑๕ (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ.๒๕๑๘ จดั ต้งั ส�ำนกั งาน ป.ป.ป.สงั กัด
นายกรฐั มนตรีขึ้น

21กำ�เนิดคณะกรรมการ

ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

22 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

23ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ

ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

หอลุกากฤหษลายมแงนควคลิดนาวิน

แนวคิดใหม่ในกฎหมาย ป.ป.ป.

ค�ำว่าประพฤติมิชอบในวงราชการ ค�ำนี้มีบัญญัติไว้ใน
พระราชบญั ญตั ิ ป.ป.ป. พ.ศ.๒๕๑๘ มาตรา ๑ ทีเ่ รยี กวา่ พระราช
บัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ในวงราชการ พ.ศ.๒๕๑๘ เหตุที่ให้เพิ่มค�ำว่าประพฤติมิชอบ
ลงไปในกฎหมายฉบับน้ีเพราะเหตุว่า ข้าราชการท่ีกระท�ำการ
ทจุ รติ โดยไมม่ หี ลกั ฐานและไมม่ ใี บเสรจ็ ซงึ่ ไมส่ ามารถทจี่ ะลงโทษ
ทางคดอี าญาหรอื ทางวนิ ยั ไดจ้ ะตอ้ งถกู ลงโทษในฐานะทป่ี ระพฤติ
มชิ อบในวงราชการ

คำ� วา่ เจ้าหนา้ ที่ของรัฐในมาตรา ๓ แหง่ พระราช
บญั ญัตินี้

“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการหรือ
พนักงานส่วนท้องถ่ินซ่ึงมีต�ำแหน่งหรือมีเงินเดือนประจ�ำ
เปน็ พนกั งานของหนว่ ยงานของรฐั หรอื รฐั วสิ าหกจิ และหมายความ
รวมถึงกรรมการ อนุกรรมการ ลูกจ้างของส่วนราชการหรือ
รัฐวสิ าหกิจดว้ ย

ให้มีส�ำนักงาน ป.ป.ป.ข้ึนเป็นครั้งแรกตามมาตรา ๑๐
ของกฎหมาย ป.ป.ป.

24 กำ�เนดิ คณะกรรมการ
ปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต
และประพฤติมชิ อบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคิด

การแสดงสินทรัพยแ์ ละหน้สี ินของตน

ในมาตรา ๑๗ บัญญัติให้ประธานกรรมการ กรรมการ
อนุกรรมการและเจ้าหน้าที่ ต้องแสดงสินทรัพย์และหน้ีสิน
ของตนต่อนายกรัฐมนตรี ตามรายการ วธิ กี ารและกำ� หนดเวลาท่ี
กฎกระทรวงกำ� หนด เหตทุ ใี่ หเ้ ปน็ อำ� นาจหนา้ ทข่ี องนายกรฐั มนตรี
เพราะเมอ่ื มคี วามเหน็ วา่ เปน็ เวลาทเี่ หมาะสมทจี่ ะออกกฎกระทรวง
ก็ให้นายกรัฐมนตรีด�ำเนินการได้ โดยที่ไม่ต้องถูกบังคับไว้โดย
พระราชบัญญตั ิฉบับนี้

การร่�ำรวยผิดปกติ

เป็นเรือ่ งใหม่ที่ไดบ้ ญั ญตั ไิ ว้ในมาตรา ๒๐ ความว่า เมอื่ มี
พฤติการณ์แสดงว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดร่�ำรวยผิดปกติ ให้คณะ
กรรมการสอบสวนมีอ�ำนาจส่ังให้ผู้น้ันแสดงสินทรัพย์และหน้ีสิน
ตามรายการ วิธกี าร และระยะเวลาท่คี ณะกรรมการก�ำหนด

เมอ่ื คณะกรรมการสอบสวนไดค้ วามปรากฎวา่ ผนู้ น้ั รำ่� รวย
ผิดปกติและไม่สามารถแสดงว่าร�่ำรวยขึ้นในทางท่ีชอบ ให้ถือว่า
ผู้นั้นใช้อ�ำนาจหน้าท่ีโดยมิชอบ ให้คณะกรรมการรายงาน
ความเหน็ ตอ่ นายกรฐั มนตรเี พอื่ พิจารณาส่ังลงโทษไล่ออก

มตขิ องคณะกรรมการทวี่ นิ จิ ฉยั วา่ ผนู้ น้ั รำ่� รวยผดิ ปกติ ตอ้ ง
มีคะแนนเสยี งอยา่ งนอ้ ย ๒ ใน ๓ ของคณะกรรมการท้งั หมด

25กำ�เนดิ คณะกรรมการ

ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลิดนาวนิ

บรรดาทรพั ยส์ นิ ทไ่ี ดร้ บั การวนิ จิ ฉยั วา่ เปน็ ทรพั ยส์ นิ ทรี่ ำ่� รวย
ขึ้นโดยผิดปกติ ให้ส�ำนักงานอัยการย่ืนค�ำร้องต่อศาลเพื่อให้ศาล
วินจิ ฉยั ส่งั วา่ ทรพั ยส์ นิ น้ันเปน็ ของแผน่ ดิน

จะเห็นได้ว่ากฎหมายมาตราน้ีเป็นกฎหมายที่บัญญัติ
ข้ึนใหม่ สาระส�ำคัญก็คือ ในความผิดทางอาญาและไม่สามารถ
พสิ จู นไ์ ดว้ า่ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผหู้ นงึ่ ผใู้ ดกระทำ� ความผดิ ทางอาญา
ก็ต้องยกฟ้องให้พ้นโทษไป แต่มีกรณีที่ปรากฏแจ้งชัดว่าถึงแม้
ไม่ได้ประพฤติผิดทางอาญาแต่เป็นการประพฤติปฏิบัติในทาง
ท่ีมิชอบ สาระส�ำคัญของการท่ีจะพิสูจน์ว่าเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
ผหู้ นงึ่ ผใู้ ดประพฤตมิ ชิ อบนน้ั ตอ้ งขนึ้ อยทู่ วี่ า่ เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั
ผนู้ น้ั ไดร้ ำ�่ รวยผดิ ปกตหิ รอื ไม่ถา้ คณะกรรมการพจิ ารณาแลว้ เหน็
ว่าร�่ำรวยผิดปกติก็จะต้องถูกลงโทษทางวินัย ไม่ใช่ถูกลงโทษทาง
อาญา แต่การพิจารณาเร่ืองนี้กฎหมายฉบับน้ีได้ก�ำหนดข้ันตอน
ไว้เพื่อให้ความคุ้มครองผู้ที่ถูกกล่าวหาโดยให้คณะกรรมการ
สอบสวนสง่ั ใหผ้ นู้ นั้ แสดงสนิ ทรพั ยแ์ ละหนส้ี นิ ตามรายการ วธิ กี าร
และระยะเวลาทคี่ ณะกรรมการกำ� หนด

ประการท่ีสองเมื่อสอบสวนได้ความว่าผู้น้ันร่�ำรวยผิดปกติ
และไม่สามารถแสดงได้ว่าร�่ำรวยข้ึนในทางที่ชอบ ให้ถือว่าผู้น้ัน
ใชอ้ �ำนาจหนา้ ทโี่ ดยมิชอบ ให้คณะกรรมการรายงานความเห็นต่อ
นายกรฐั มนตรพี จิ ารณาสงั่ ลงโทษไลอ่ อกโดยมติ อ้ งฟอ้ งรอ้ งดำ� เนนิ
คดีต่อศาล มติของคณะกรรมการที่วินิจฉัยว่าผู้น้ันร่�ำรวยผิดปกติ
ต้องมคี ะแนนเสยี งอยา่ งน้อย ๒ ใน ๓ ของคณะกรรมการทงั้ หมด

26 ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจรติ
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคิด

บรรดาทรัพย์สินท่ีคณะกรรมการวินิจฉัยว่าเป็นทรัพย์สิน
ท่รี ำ่� รวยขน้ึ โดยผิดปกตนิ ้นั ให้ส�ำนกั งานอัยการยน่ื คำ� ร้องต่อศาล
เพอื่ ให้ส่ังว่าทรพั ย์สนิ นั้นเป็นของแผ่นดนิ

เวน้ แตผ่ นู้ นั้ จะแสดงใหศ้ าลเหน็ วา่ ตนไดท้ รพั ยส์ นิ มาในทาง
ทชี่ อบ กฎหมายมาตรานเ้ี ปน็ การใหค้ วามคมุ้ ครองผทู้ ถ่ี กู กลา่ วหา
อกี ชนั้ หนง่ึ โดยคณะกรรมการไมม่ อี ำ� นาจทจี่ ะวนิ จิ ฉยั สง่ั ใหท้ รพั ย์
น้ันเป็นของแผ่นดินแต่ต้องให้สำ� นักงานอัยการยื่นค�ำร้องต่อศาล
เพอ่ื ใหศ้ าลเปน็ ผวู้ นิ จิ ฉยั สง่ั วา่ ทรพั ยน์ น้ั ตกเปน็ ของแผน่ ดนิ หรอื ไม่
มปี ระเดน็ ทว่ี า่ มผี เู้ หน็ แยง้ ในกรณนี ว้ี า่ อำ� นาจหนา้ ทนี่ ำ� สบื ในกรณี
น้ีตกเป็นของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ถูกกล่าวหาซึ่งน่าจะขัดกับหลัก
วธิ พี จิ ารณา แตท่ ปี่ ระชมุ ไดเ้ หน็ ชอบดว้ ยวา่ กฎหมายฉบบั นม้ี สี าระ
สำ� คญั ทช่ี อบดว้ ยกฎหมายแลว้ ซง่ึ จะไดก้ ลา่ วถงึ ในสว่ นทพ่ี จิ ารณา
รายละเอียดในสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อไป ซ่ึงปรากฏกรณีท่ี
น่าสนใจในการศึกษามากเพราะเหตุว่าในการพิจารณากฎหมาย
ฉบับนี้ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติซึ่งได้รับเลือกตั้งกันเองจาก
สมาชกิ สมชั ชาแหง่ ชาติซง่ึ โปรดเกลา้ ฯแตง่ ตง้ั จำ� นวน๒,๔๗๖คนให้
เหลอื ๒๙๙คน(เรยี กวา่ สภาสนามมา้ เพราะมกี ารประชมุ ทส่ี นามมา้
ราชตฤณมัยสมาคม เนื่องจากขณะนั้นไม่มีสถานท่ีประชุมที่ใหญ่
และเหมาะสมพอที่จะจัดประชุม) นั้น สมาชกิ สภาชดุ น้เี ป็นผู้ทท่ี รง
คุณวฒุ ิและความสามารถ มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับนับถือโดยท่วั ไป

ซึ่งสาระส�ำคัญในมาตราน้ีซ่ึงเป็นบทบัญญัติท่ีบัญญัติข้ึน
มาใหมแ่ ละเปน็ หวั ใจของกฎหมายฉบบั น้ี ไดม้ กี ารอภปิ รายกนั โดย

27ก�ำ เนิดคณะกรรมการ

ปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวนิ

กว้างขวาง ซ่ึงจะได้กล่าวถึงรายละเอียดในการอภิปรายโดยย่อๆ
ในรายงานการประชมุ ของสภานติ ิบญั ญตั แิ หง่ ชาตใิ นตอนตอ่ ไป

ความภูมิใจที่ท�ำให้ข้อเสนอเร่ืองการป้องกันและปราบ
ปรามการทจุ รติ มผี ลเปน็ คำ� สง่ั นายกรฐั มนตรแี ละตอ่ มาไดร้ บั มอบ
หมายใหร้ า่ งพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และ
ประพฤติมิชอบในวงราชการเพื่อน�ำเสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่ง
ชาติโดยท�ำหน้าท่ีเป็นกรรมาธิการเจ้าของเรื่องท�ำหน้าที่อภิปราย
ชแ้ี จงในคณะกรรมาธิการและในทปี่ ระชุมสภา

พระราชบญั ญตั ฉิ บบั นม้ี กี รรมาธกิ ารทส่ี งวนความเหน็ และ
มีสมาชิกสภาคนส�ำคัญหลายท่านได้แสดงความคิดเห็นอย่าง
น่าสนใจ

ถ้าผู้ท่ีสนใจได้ศึกษาบันทึกรายงานการประชุมสภา
นิติบัญญัติแห่งชาติท�ำหน้าท่ีรัฐสภา ครั้งที่ ๓๒ ลงวันท่ี ๒๔
มกราคม ๒๕๑๘ ซ่ึงมีนายประภาศน์ อวยชัย ประธานสภา
นิติบัญญัติแห่งชาติท�ำหน้าท่ีประธานที่ประชุม ที่ได้อธิบายถึง
พระราชบญั ญตั ฉิ บบั นจ้ี ะไดป้ ระโยชนอ์ ยา่ งมากในดา้ นการศกึ ษา
กฎหมาย นอกจากนมี้ ปี รากฏการณพ์ เิ ศษในระหวา่ งการพจิ ารณา
คือมีการปรบมือเม่ือมีกรรมาธิการบางท่านอภิปรายจบลงโดย
เฉพาะค�ำอภิปรายของกรรมาธิการท่ีสงวนความเห็นไว้และได้มา
อภปิ ราย คือ นายธานนิ ทร์ กรัยวเิ ชียร

นอกจากน้ันเมื่อมีการลงมติให้ความเห็นชอบต่อกฎหมาย
ฉบบั นท้ี ป่ี ระชมุ ไดป้ รบมอื ดงั และยาวนานซง่ึ ไมเ่ คยมปี รากฏการณ์
เช่นน้มี าก่อนในการพจิ ารณากฎหมายในสภา

28 กำ�เนดิ คณะกรรมการ
ป้องกนั และปราบปรามการทุจริต
และประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคิด

นี่คือความภูมิใจท่ีได้น�ำเสนอกฎหมายส�ำคัญฉบับน้ี
และเป็นทีม่ าของกฎหมาย ป.ป.ช. ฉบับปจั จบุ นั

รายนามกรรมาธิการและสมาชิกสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติบางท่านที่ร่วมในการอภิปรายกฎหมายฉบับนี้
โดยไม่มีการตั้งธงไว้ล่วงหน้า มีเสรีภาพในการอภิปรายซึ่ง
มคี ณุ คา่ ยงิ่ และแตล่ ะทา่ นไดล้ กุ ขนึ้ อภปิ รายคนละหลายครงั้
ไดแ้ ก่

พลตำ� รวจตรีอรรถสทิ ธิ์ สทิ ธิสนุ ทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
มหาดไทย – กรรมการ
และเลขานกุ ารคณะกรรมการ
ป.ป.ป. ภายหลังได้รับ
โปรดเกล้าฯ เป็นองคมนตรี

นายธานินทร์ กรัยวเิ ชยี ร กรรมาธิการและเลขานุการ
ผสู้ งวนคำ� แปรญตั ตใิ นมาตรา
๑๗ ซึ่งเป็นมาตราส�ำคัญ
(ต่อมาคือ มาตรา ๒๐)
ภายหลงั ไดเ้ ปน็ นายกรฐั มนตรี
และองคมนตรี

ดร.อมร จนั ทรสมบูรณ ์ เลขาธกิ ารกฤษฎกี า-ในฐานะ
กรรมาธิการ

29ก�ำ เนิดคณะกรรมการ

ป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ

หอลุกากฤหษลายมแงนควคลิดนาวิน

นายบญุ มา วงศส์ วรรค ์ อดตี รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง
การคลงั

นายมารตุ บนุ นาค ทนายความทมี่ ชี อ่ื เสยี งตอ่ มา
ได้เป็นประธานสภาผู้แทน
ราษฎร

ดร.อ�ำนวย วรี วรรณ ต่อมาเป็นรองนายกรัฐมนตรี
และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวง
การคลงั

ดร.อดลุ ย์ วเิ ชียรเจรญิ เ ล ข า ธิ ก า ร ม ห า วิ ท ย า ลั ย
ธรรมศาสตร์

นายชมพู อรรถจนิ ดา ท น า ย ค ว า ม ท่ี มี ช่ื อ เ สี ย ง
มากท่ีสุดคนหน่ึงต่อมาเป็น
ประธานทป่ี รกึ ษาของประธาน
รัฐสภา

พลเอกทวิช เสนยี ว์ งศ์ ณ อยธุ ยา สมาชิกสภานิตบิ ัญญัติ

ดร.ไพจิตร เอ้อื ทวกี ุล ตอ่ มาเปน็ รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การ
กระทรวงการคลงั

ดร.สมภพ โหตระกติ ย ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
ยุติธรรม ภายหลังเป็นรอง
นายกรฐั มนตรี

30 ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ
ป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

นายพัทยา สายห ู อ า จ า ร ย ์ ค ณ ะ รั ฐ ศ า ส ต ร ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดร.ปว๋ ย อึ๊งภากรณ ์ อดตี ผวู้ า่ การธนาคารแหง่ ชาติ
อ ธิ ก า ร บ ดี ม ห า วิ ท ย า ลั ย
ธรรมศาสตร์

ดร.อทุ ศิ นาคสวสั ด์ิ อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

นายประธาน ดวงรัตน ์ ทนายที่มีช่ือเสียงมากที่สุด
คนหน่ึง

นายสิงหโ์ ต จา่ งตระกลู อ า จ า ร ย ์ ใ ห ญ ่ โ ร ง เ รี ย น
เซนต์คาเบรยี ล

นายสมัคร สนุ ทรเวช ต่อมาไดเ้ ป็นนายกรัฐมนตรี

ดร.เฉลิมชัย วสีนนท ์ สมาชิกสภานติ บิ ัญญัติ

นายชนะ รงุ่ แสง สมาชิกสภานติ บิ ัญญตั ิ

ดร.ศรภี ูมิ ศขุ เนตร ตอ่ มาเปน็ รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การ
กระทรวงคมนาคม

นายกระจ่าง ธรรมโชต ิ สมาชิกสภานติ บิ ญั ญตั ิ

ภราดา ประทปี มาร์ตนิ โกมลมาศ สมาชกิ สภานิติบญั ญัติ

31กำ�เนดิ คณะกรรมการ

ป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต
และประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ

หอลุกากฤหษลายมแงนควคลิดนาวนิ

เจา้ หนา้ ที่ที่เปน็ ผชู้ แ้ี จงได้แก่ นายอุทัย สินธสุ าร และดร.ไพบูลย์
พูนประสทิ ธ์ิ

แตล่ ะทา่ นไดอ้ ภปิ รายคนละหลายครง้ั เปน็ คำ� อภปิ รายทมี่ ี
สาระและได้รับการพิจารณาจากสภาโดยท่ีการพิจารณาในสภา
นิติบัญญัติแห่งชาติน้ีมีลักษณะพิเศษคือ เป็นการพิจารณาโดย
อสิ ระไมม่ กี ารตั้งธงมากอ่ นเพอื่ ใหล้ งมตติ ามธงท่ตี ง้ั ไว้

32 กำ�เนดิ คณะกรรมการ
ปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจริต
และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ พ.ศ.๒๕๑๘

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

34 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

35ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ

ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

36 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

37ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ

ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

38 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

39ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ

ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

40 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

41ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ

ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

42 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

43ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ

ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

44 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

45ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ

ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

46 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

ภาคผนวก

(พ.ศ. ๒๕๑๘)

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

48 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

49ก�ำ เนดิ คณะกรรมการ

ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

50 กำ�เนิดคณะกรรมการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
และประพฤติมิชอบในวงราชการ


Click to View FlipBook Version