The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลากหลายแนวคิด เล่ม 5
โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พีระยา นาวิน, 2021-12-23 22:30:23

หลากหลายแนวคิด เล่ม 5

หลากหลายแนวคิด เล่ม 5
โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

สําหรับผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกในเขตเลือกตั้งเขตละ
หนึ่งคน ถ้าไปทําหน้าท่ีฝ่ายบริหาร ให้พ้นจากการทําหน้าท่ีฝ่าย
นิติบัญญัติเช่นเดียวกัน สําหรับตําแหน่งที่ว่างลงอาจดําเนินการ
ได้ ๒ แบบ คอื ให้มกี ารเลอื กตั้งซอ่ ม หรืออาจเล่ือนผู้ท่ีได้คะแนน
เสยี งถดั ไปขน้ึ มาแทนท่ี ซงึ่ ในทางปฏบิ ตั นิ า่ จะมโี อกาสนอ้ ย เพราะ
ผู้แทนราษฎรท่ีได้รับเลือกตามบัญชีรายชื่อของพรรค น่าจะมี
โอกาสได้รับเลือกเข้าทําหน้าท่ีเป็นฝ่ายบริหาร เพราะจะมีผู้ทรง
คุณวุฒิและเพียบพร้อมด้วยความรู้ความสามารถมากกว่า และ
ถือว่าเป็นผู้แทนของปวงชนชาวไทยที่แท้จริง ไม่ใช่ผู้แทนราษฎร
เฉพาะในเขตเลือกตงั้

๗.๗ การซอื้ สทิ ธขิ ายเสยี งในเขตเลอื กตงั้ ตา่ ง ๆ จะนอ้ ย
ลงหรือหมดไป เพราะ เมื่อได้รับเลือกตั้งแล้วโอกาสท่ีจะไปเป็น
รัฐมนตรมี ีน้อย ทาํ ให้ไม่มกี ารลงทนุ ซือ้ เสยี งเชน่ ปจั จุบนั

๗.๘ ระบบโควต้าในการแต่งต้ังรัฐมนตรีจะหมดไป
เพราะการรวบรวมเสยี งของผแู้ ทนราษฎรจาํ นวนหนง่ึ ใหส้ นบั สนนุ
ผูแ้ ทนราษฎรบางคนเปน็ รัฐมนตรชี ่วยว่าการ หรือรัฐมนตรวี ่าการ
เชน่ ทปี่ ฏบิ ตั ิอยใู่ นปจั จบุ นั จะกระทาํ มิได้

๗.๙ ระบบเลือกตั้งแบบจังหวัดนิยม หรือภาคนิยม
หรือการสบื ทอดทายาททางการเมืองจะหมดไป โดยผ้ทู จ่ี ะลงเล่น
การเมืองต้องพิสูจน์ตนเองแก่ประชาชน และสังคมตามลําดับว่า
มีความเหมาะสมในการเปน็ ผู้แทนราษฎร ไมม่ ีการเรยี นลัด

101การปฏิรูปการเมอื ง

โดยการจัดระบบและวธิ กี ารเลอื กตั้งใหม่

หอลุกากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวนิ

๗.๑๐ จะมีระบบควบคมุ ฝา่ ยบรหิ าร และในดา้ นความ
ซ่อื สตั ย์ ด้านจรยิ ธรรมและด้านความมรี ะเบยี บวินัยอยา่ งเขม้ งวด
กวดขัน ฝา่ ยบริหาร หรือฝ่ายนติ ิบญั ญตั ิทถ่ี ูกพรรคขบั ให้ออกจาก
พรรค ไมส่ ามารถกลบั เขา้ สวู่ งการเมอื งตลอดสมยั การเลอื กตงั้ นน้ั

๗.๑๑ จะมีระบบควบคุมผู้บริหารพรรค โดยองค์กร
ของพรรค และองคก์ รของประชาชน ซงึ่ ผบู้ รหิ ารพรรคทขี่ าดความ
ซ่อื สตั ย์ ขาดจริยธรรม และขาดระเบยี บวินยั ก็อาจถูกขบั ออกจาก
พรรคเชน่ เดยี วกนั ซงึ่ จะทาํ ใหพ้ น้ จากตาํ แหนง่ ในฝา่ ยบรหิ าร หรอื
ฝ่ายนติ บิ ญั ญตั ดิ ว้ ย

๗.๑๒ ระบบการจ่ายเงินสนับสนุนผู้แทนราษฎร
ประจําปี ซ่ึงเรียกว่า “งบผู้แทน” จะหมดไป เพราะเป็นเร่ืองท่ี
ผิดหน้าที่ และผู้แทนราษฎรท่ีได้รับเลือกตั้งตามระบบอัตราส่วน
คงจะไมใ่ ห้ความเหน็ ชอบ

๗.๑๓ ระบบที่นักการเมืองเข้าก้าวก่ายแทรกแซง
ข้าราชการประจําในการปฏิบัติหน้าที่ และการแต่งตั้งโยกย้าย
ท่ีไม่เป็นธรรมจะหมดไป เพราะผู้แทนราษฎรไม่ต้องเอาใจ
“บรรดาหัวคะแนน” ซึ่งบุคคลเหล่านี้คือผู้ท่ีมีบทบาทสําคัญใน
การบบี บงั คับหรือชักนําให้นกั การเมอื งกระทาํ ผดิ ในเร่ืองต่าง ๆ

๗.๑๔เมอื่ บทบาทของนกั การเมอื งลดลงโดยไมส่ ามารถ
ใช้อํานาจหน้าท่ีในทาง มิชอบ ไม่สามารถทุจริตและประพฤติ
มชิ อบเชน่ ทส่ี ามารถกระทาํ ไดใ้ นระบบเลอื กตง้ั ปจั จบุ นั “คนทไี่ มด่ ”ี

102 การปฏริ ูปการเมือง
โดยการจัดระบบและวิธกี ารเลอื กตัง้ ใหม่

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววินคิด

จะไมส่ ามารถเขา้ มามบี ทบาทในวงการเมอื ง เฉพาะ “คนด”ี เทา่ นนั้
จงึ จะมโี อกาสเขา้ มาเป็นนักการเมอื งทีด่ ี

๘. ขอ้ เสนอแนะในการคัดเลอื กผู้นาํ และผู้สมคั รเข้า
รับเลือกตัง้ เป็นผู้แทนราษฎร

๘.๑ ใหแ้ ตล่ ะพรรคจดั ตง้ั คณะกรรมการพรรคซงึ่ สมาชกิ
ยอมรบั

๘.๒ ให้คณะกรรมการแต่งต้ังคณะกรรมการสรรหา
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขน้ึ

๘.๓ ใหผ้ ตู้ อ้ งการสมคั รเปน็ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรทง้ั
สองประเภท ยน่ื ใบสมคั รตามแบบของพรรค โดยระบรุ ายละเอยี ด
พร้อมหลกั ฐานตา่ ง ๆ ตามท่ีพรรคกาํ หนด

๘.๔ ให้คณะกรรมการสรรหาจัดทําแบบฟอร์มการให้
คะแนนผู้สมัครเช่นเดียวกับการสรรหาคณบดี หรืออธิการบดีใน
มหาวิทยาลัยของรัฐ โดยกําหนดการให้คะแนนในด้านวัยวุฒิ
คุณวุฒิ ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ผลงาน ในอดีตทั้ง
ในประเทศ และต่างประเทศ ท่ีเป็นผลดีแก่ภาคราชการ ภาค
เอกชน ในดา้ นบรกิ ารประชาชน ดา้ นการเมอื ง ดา้ นการศกึ ษา ดา้ น
เศรษฐกจิ ด้านสงั คม ด้านอุดมการณ์ ด้านความซอื่ สตั ย์ ดา้ นวิสยั
ทัศน์ ดา้ นความสําเรจ็ ในชวี ิตสว่ นตวั ชีวติ ครอบครัว ด้านวิชาชพี
ประวตั สิ ว่ นตวั โดยเฉพาะอาชญากรรม ฯลฯ หลงั จากนนั้ ใหค้ ณะ

103การปฏิรูปการเมือง

โดยการจดั ระบบและวธิ ีการเลือกต้ังใหม่

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวนิ

กรรมการสรรหารวบรวมผลการสรรหาเสนอคณะกรรมการของ
พรรคพิจารณาต่อไป และควรให้มกี ารสัมภาษณป์ ระกอบดว้ ย

๘.๕ ให้คณะกรรมการของพรรค คณะกรรมการคณะ
ตา่ ง ๆ ของพรรคผูส้ มคั ร เขา้ รับเลอื กต้งั เปน็ ผแู้ ทนราษฎรทั้งสอง
ประเภท แสดงบัญชีทรัพย์สินและ หนี้สินของตนตามแบบของ
ป.ป.ป. และพรอ้ มทีจ่ ะใหเ้ ปดิ เผยตอ่ สาธารณชน

๙. ขอ้ เสนอแนะในการควบคมุ ความซอ่ื สตั ยข์ องพรรค
การเมอื ง

เพอ่ื ขจดั ผูท้ ท่ี าํ ตวั เปน็ “นายทนุ ” ของพรรค หรอื “เจา้ ของ”
พรรค ควรใหร้ ฐั จดั สรรงบประมาณแผน่ ดนิ อดุ หนนุ พรรคการเมอื ง
ตามอตั ราส่วนที่พรรคการเมอื งได้รบั คะแนนเสียงจากท่วั ประเทศ
เพอื่ ใหพ้ รรคการเมอื งมคี วามเปน็ อสิ ระไมต่ กอยภู่ ายใตอ้ ทิ ธพิ ลของ
บคุ คลใดบคุ คลหนงึ่ นอกจากนน้ั ใหม้ รี ะเบยี บการกาํ หนดประเภท
และ จํานวนเงินท่ีจะมีผู้บริจาคให้กับพรรคการเมืองซึ่งอาจได้รับ
การลดหยอ่ นภาษีอากร ตามกฎหมาย

อย่างไรก็ตาม เมื่อพรรคการเมืองใดได้รับการสนับสนุน
ตามทีก่ ลา่ วข้างตน้ จะต้องจดั ทาํ บญั ชที รัพยส์ นิ และรายรับ-ราย
จ่ายของพรรคการเมืองโดยละเอียด มีผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
รบั รองความถกู ตอ้ งเชน่ เดียวกับบรษิ ัทจาํ กดั หรอื มูลนธิ ิ หลงั จาก
น้ัน ให้สํานักงานตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบความถูกต้องทุกปี
และใหบ้ ัญชี งบดุลน้ีเปน็ เอกสารสาธารณชนท่เี ปดิ เผยได้

104 การปฏริ ูปการเมือง
โดยการจัดระบบและวิธีการเลือกตัง้ ใหม่

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววินคิด

สรุป
ระบบเลอื กตง้ั ตามอตั ราสว่ นนไ้ี ดน้ าํ เสนอตอ่ สาธารณชน
ต้ังแต่วนั ที่ ๒๔ มิถนุ ายน ๒๕๓๐ (ตงั้ แต่ ๓๔ ปีที่แล้ว) และ
ได้มีการนําเข้าพิจารณาในคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ
ฉบับ พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยกําหนดเขตเลือกต้ังตามเขตเลือกตั้ง
ปัจจบุ นั แต่เปลย่ี นวิธี เลือกตง้ั เปน็ แบบอตั ราสว่ น แต่หลังจากนนั้
ได้ศึกษาและติดตามวิวัฒนาการการเลือกตั้งท้ังในประเทศ
และต่างประเทศตลอดเวลา จึงสรุประบบและวิธีการเลือกตั้ง
ผแู้ ทนราษฎรแบบผสมเสนอมาโดยเอกสารฉบับนี้
สว่ นการปฏิรูปการเมืองในสว่ นอ่นื ๆ เช่น การปฏริ ูประบบ
ราชการ ปฏิรูประบบให้ความคุ้มครอง สิทธิประชาชน เช่น การ
จัดตั้งศาลปกครอง, การให้มีกฎหมาย วิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครอง, การให้มีกฎหมายเก่ียวกับความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหน้าที่, การจัดตั้งองค์กรถาวรท่ีเป็นอิสระในการควบคุม
การเลอื กต้ังใหเ้ ปน็ อสิ ระ และเปน็ ธรรม ฯลฯ จะได้นําเสนอตอ่ ไป
และมีความเชื่อม่ันว่าเม่ือมีการปฏิรูปการเมือง เรื่องระบบและ
วิธีการเลือกตั้งเป็นผลสําเร็จได้ผู้แทนที่ดีแล้ว จะทําให้ได้รัฐบาล
ที่ดี ซ่งึ จะรว่ มกันทําหน้าทีป่ ฏิรูปการเมืองด้านอนื่ ๆ ให้เหมาะสม
ตามความต้องการของประชาชนต่อไป

ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน
อดีตประธานรัฐสภา

๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๙

105การปฏริ ปู การเมือง

โดยการจดั ระบบและวธิ กี ารเลอื กตง้ั ใหม่

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลิดนาวนิ

หมายเหตุ : เอกสารฉบับนี้เป็นเอกสารประกอบการบรรยาย
เรือ่ ง “การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย” ณ วิทยาลัยเสนาธกิ าร
ทหาร วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๙
: เป็นท่ีมาของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ.๒๕๔๐

106 การปฏริ ปู การเมือง
โดยการจัดระบบและวิธกี ารเลอื กตั้งใหม่

ก�ำเนดิ การน�ำก�ำไลขอ้ เทา้
(Electronic Monitoring)
มาใชเ้ ปน็ ครั้งแรกในประเทศไทย

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลิดนาวนิ

รายการปญั หาบา้ นเมอื ง ตอนท่ี ๓๕
ตอน แก้ปญั หาคนล้นคกุ ด้วยเทคโนโลยี

ออกอากาศวันท่ี ๔ ตลุ าคม ๒๕๕๕

รายการปัญหาบ้านเมืองเมื่อวันท่ี ๔ ตุลาคม ๒๕๕๕ ได้
นาํ เสนอ เร่ือง แนวทางการแก้ปัญหาคนล้นคกุ ด้วยเทคโนโลยี ท่ี
คณะกรรมการอสิ ระวา่ ดว้ ยการสง่ เสรมิ หลกั นติ ธิ รรมแหง่ ชาติ (คอ.
นธ.) ใหค้ วามสนใจเปน็ อยา่ งมาก เนอ่ื งจากผลกระทบของปญั หา
คนล้นคุกน้ันกระทบต่อศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ของนักโทษที่อยู่
ในเรือนจาํ โดยทางรายการปญั หาบา้ นเมอื งไดน้ าํ เสนอเรอื่ งนแ้ี ก่
ท่านผชู้ มไปตง้ั แต่ในการออกอากาศครั้งแรก ๆ แล้ว ในคราวนีจ้ ึง

108 กำ�เนดิ การนำ�กำ�ไลข้อเทา้
(Electronic Monitoring)
มาใชเ้ ปน็ ครั้งแรกในประเทศไทย

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

ขอนําเสนอถึงแนวทางการแก้ปัญหาดังกล่าว ซ่ึง คอ.นธ. ได้ทํา
การศกึ ษาและหาแนวทางแกไ้ ข และไดท้ าํ เปน็ ขอ้ เสนอซง่ึ ไดเ้ สนอ
ต่อคณะรฐั มนตรี

ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน ประธานคณะ
กรรมการอสิ ระวา่ ดว้ ยการสง่ เสรมิ หลกั นติ ธิ รรมแหง่ ชาติ (คอ.นธ.)
กล่าวถึงปัญหาดังกล่าวว่า ในปัจจุบันปัญหาเร่ืองคนล้นคุกน้ัน
ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของประเทศไทยในสายตาของ
นานาชาตเิ ปน็ อยา่ งมาก เนอื่ งจากทผี่ า่ นมาการปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งหา
ของประเทศไทยขัดต่อหลักนิติธรรม ท้ังปัญหาความแออัดของ
นักโทษในแต่ละเรือนจํา อัตราส่วนของนักโทษต่อจํานวนผู้คุมซึ่ง
ไม่ได้มาตรฐานตามท่ีสหประชาชาติกําหนด กล่าวคือ ในขณะนี้
ประเทศไทยมีจํานวนนักโทษในเรือนจํา ๑๔๐ แห่งทั่วประเทศ
ประมาณ๒๔๘,๐๐๐คนแตม่ จี าํ นวนผคู้ มุ ประมาณ๑๑,๐๐๐คนเปน็
อตั ราสว่ นผคู้ มุ ตอ่ นกั โทษ ๑ ตอ่ ๒๓ คน ทาํ ใหป้ ระสทิ ธภิ าพการดแู ล
นกั โทษไม่ไดม้ าตรฐาน ทาํ ให้คุกกลายเปน็ สถานที่ส่งต่อพฤตกิ รรม
อาชญากร เป็นแหล่งก่ออาชญากรรม รวมทั้ง มีการใช้โซ่ตรวน
ขนาดใหญ่ ไม่ว่าผ้ตู ้องหาจะได้รบั โทษอะไรตอ้ งเดินลากตรวน

ปัญหาท้ังหลายเหล่านี้สามารถแก้ไขได้โดยใช้เทคโนโลยี
เข้ามาช่วย ซึ่งทางคณะกรรมการอิสระว่าด้วยการส่งเสริมหลัก
นติ ธิ รรมแหง่ ชาติ (คอ.นธ.) ไดท้ าํ การศกึ ษาปญั หานม้ี าระยะเวลา
หนึง่ โดยคณะกรรมการทท่ี าํ การศึกษาและได้ทําเปน็ ขอ้ เสนอตอ่
คณะรฐั มนตรนี นั้ เปน็ ผทู้ ปี่ ฏบิ ตั งิ านใกลช้ ดิ กบั งานราชทณั ฑม์ าโดย

109กำ�เนิดการน�ำ กำ�ไลขอ้ เทา้
(Electronic Monitoring)
มาใช้เป็นครงั้ แรกในประเทศไทย

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลิดนาวนิ

ตลอด คือ นายนทั ธี จิตสวา่ ง และนายชาติชาย สุทธกิ ลม ซึ่งเป็น
กรรมการ คอ.นธ. และทงั้ สองท่านเป็นอดีตอธบิ ดกี รมราชทัณฑ์

ทงั้ นี้ ๑๐ มาตรการในการลดการแออดั ยดั เยยี ดในเรอื นจาํ
ทีไ่ ดม้ ีการเสนอตอ่ คณะรฐั มนตรี แลว้ มีดงั ต่อไปน้ี

๑. การกําหนดให้ความผิดทางอาญาบางประเภทเป็น
ความผิดอันยอมความได้ เช่น ความผิดที่เก่ียวกับการลักทรัพย์
บางประเภท เพอื่ ใหผ้ ทู้ ก่ี ระทาํ ความผดิ เพยี งเลก็ นอ้ ยไมต่ อ้ งเขา้ ไป
อย่ใู นเรอื นจํา

๒. การยกเลกิ การใชโ้ ทษทางอาญา สาํ หรบั ความผดิ อาญา
บางประเภททมี่ ฐี านความผดิ ทางแพง่ โดยกาํ หนดใหใ้ ชโ้ ทษอยา่ ง
อืน่ แทนโทษอาญา เช่น กรณคี วามผิดเก่ียวกบั การใชเ้ ชค็ กอ็ าจใช้
การห้ามใช้เช็คอกี ตอ่ ไป หรือใชม้ าตรการอืน่ ๆ ลงโทษ

110 กำ�เนิดการนำ�กำ�ไลข้อเทา้
(Electronic Monitoring)
มาใช้เปน็ ครั้งแรกในประเทศไทย

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

๓. สนับสนุนให้มีการใช้มาตรการชะลอการฟ้อง สําหรับ
คดีอาญาบางประเภทในชั้นพนักงานสอบสวน และชั้นพนักงาน
อยั การ เพอื่ เบย่ี งเบนคดไี มต่ อ้ งเขา้ สศู่ าล โดยมเี งอื่ นไขการควบคมุ
ความประพฤติ หากผิดเง่อื นไขจะถูกฟอ้ งต่อไป

๔. สนับสนุนให้มีการใช้มาตรการคุมประพฤติสําหรับ
ผู้กระทําผิดทางอาญาให้มากขึ้น โดยการขยายกฎเกณฑ์และ
เงื่อนไข โดยควรนําเคร่ืองมือ Electronic Monitoring มาใช้
และรฐั ควรให้การสนบั สนนุ กรมคุมประพฤตใิ หม้ ากข้ึน

๕. สนับสนุนให้ผู้ต้องหาหรือจําเลยมีสิทธ์ิท่ีจะได้รับการ
ปลอ่ ยชวั่ คราวมากขนึ้ โดยกาํ หนดใหม้ กี ารใชเ้ ครอ่ื งมอื Electronic
Monitoring ประกอบ เพอื่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพในการควบคมุ และ
เพอ่ื สรา้ งความมน่ั ใจในการติดตามหากมีการหลบหนี

111กำ�เนดิ การน�ำ กำ�ไลข้อเท้า
(Electronic Monitoring)
มาใชเ้ ปน็ ครัง้ แรกในประเทศไทย

หอลุกากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวนิ

๖. เร่งรัดให้มีการออกประกาศกระทรวงยุติธรรมในการ
กําหนดสถานท่ีขังตามกฎกระทรวงยุติธรรม ซ่ึงจะต้องมีการ
กําหนดสถานที่อื่นที่ใช้ในการขัง จําคุก หรือควบคุมผู้ต้องหา
หรือจําเลย ในสถานที่อื่นอันควร นอกเหนือจากเรือนจํา หรือ
สถานท่ีอ่ืนที่กําหนดในหมายจําคุกก็ได้ โดยกําหนดให้มีวิธีการ
ควบคมุ และป้องกนั การหลบหนี โดยอาจนําเครอ่ื งมือ Electronic
Monitoringมาประกอบดว้ ยทงั้ นี้หากกระทรวงยตุ ธิ รรมดาํ เนนิ การ
กําหนดสถานท่ีขังตามข้อเสนอนี้แล้ว ศาลอาจมีคําส่ังให้จําเลย
อยใู่ นสถานทอี่ น่ื อนั ควรนอกจากเรอื นจาํ หรอื สถานทอี่ น่ื ทกี่ าํ หนด
ในหมายจาํ คกุ กไ็ ด้ ทง้ั น้ี เปน็ ไปตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณา
ความอาญา มาตรา ๘๙ วรรค ๑ และวรรค ๒ โดยสถานทด่ี งั กลา่ ว
จะต้อง จัดให้มีมาตรการควบคุมและอาจมีการนําเครื่องมือ
Electronic Monitoring มาใชป้ ระกอบดว้ ย

๗. ปรบั ปรงุ หลกั เกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขการพกั การลงโทษ โดย
การขยายระยะเวลาการรบั โทษในเรอื นจาํ มาแลว้ จากทกี่ าํ หนดให้
ตอ้ งรบั โทษมาแลว้ ขนั้ ตำ�่ จาก ๒ ใน ๓ เปน็ ๑ ใน ๓ เพอื่ ใหผ้ ตู้ อ้ งหา
มีสทิ ธขิ อพกั การลงโทษมากข้นึ โดยอาจนําเครอ่ื งมือ Electronic
Monitoring มาใช้ประกอบ

๘. ผ่อนปรนการพักการลงโทษกรณีพิเศษใหม้ ากขนึ้ ท้งั น้ี
ให้นําระบบ Electronic Monitoring มาใช้เพ่ือลดความระแวง
ของสังคม และควรมีการเปิดกวา้ งให้บุคคลภายนอกเข้าร่วมเป็น
กรรมการพจิ ารณาด้วยเพ่ือความโปรง่ ใส

112 ก�ำ เนดิ การนำ�กำ�ไลข้อเท้า
(Electronic Monitoring)
มาใชเ้ ปน็ ครงั้ แรกในประเทศไทย

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

๙. สนบั สนนุ ใหม้ โี ครงการโรงเรยี นววิ ฒั นพ์ ลเมอื งราชทณั ฑ์
ให้มากข้ึน เพ่ือให้ผู้ต้องขังได้เข้ารับการอบรมก่อนปล่อยพักโทษ
กรณีพิเศษ

๑๐. เพม่ิ ศกั ยภาพของเรอื นจาํ ชว่ั คราวและทณั ฑสถานเปดิ
ทจี่ ดั ทาํ เปน็ ศนู ยเ์ ตรยี มการ ปลดปลอ่ ย ใหส้ ามารถรองรบั ผตู้ อ้ งขงั
ที่ใกล้พน้ โทษมากขึ้น นาํ เครื่องมือ Electronic Monitoring มาใช้
แกไ้ ขระเบยี บกรมราชทณั ฑเ์ กย่ี วกบั อตั ราสว่ นควบคมุ ผตู้ อ้ งขงั ใน
เรอื นจาํ ชวั่ คราวใหม้ ากขน้ึ ดว้ ย เพอื่ เปน็ การลดจาํ นวนผตู้ อ้ งหาใน
เรือนจํามาอยู่ที่ศูนยเ์ ตรยี มความพรอ้ มก่อนปล่อยตวั

ในโอกาสน้ี เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ประชาชน
คณะกรรมการอิสระว่าด้วยการส่งเสริมหลักนิติธรรมแห่งชาติ
(คอ.นธ.) จงึ ได้เชญิ ผู้เชี่ยวชาญทางดา้ นเทคโนโลยที ่เี กีย่ วขอ้ งมา
อธิบาย ถึงเทคโนโลยีท่ี คอ.นธ. ได้เสนอให้นํามาใช้กับการแก้
ปัญหาคนล้นคกุ โดย ดร.กฤติวัฒน์ สุทธิวารี นักวชิ าการอสิ ระซง่ึ
เปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญทางดา้ นเครอื่ งมอื การตรวจจบั สารเสพตดิ และสาร
วัตถุระเบิด กล่าวถึง เทคโนโลยีมาใช้เพ่ือแก้ปัญหาคนล้นคุกว่า
เทคโนโลยที ถ่ี กู นาํ มาใชใ้ นการแกป้ ญั หาคนลน้ คกุ ในตา่ งประเทศ
อย่างแพร่หลาย และได้รับการยอมรับว่าเป็นเทคโนโลยีที่เหมาะ
สมกับการนํามาใช้กับประเทศไทยได้อย่างเหมาะสม อีกท้ังยัง
สอดคลอ้ งกับนโยบายของ คอ.นธ. น่ันคอื ชุดเทคโนโลยี MIXCIR
ซ่ึงเปน็ เทคโนโลยีผสมผสานระหวา่ งเทคโนโลยตี า่ ง ๆ ซ่ึงสามารถ
ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการในการแกป้ ญั หาคนลน้ คกุ ไดอ้ ยา่ งเปน็
รปู ธรรม อันประกอบด้วย

113กำ�เนดิ การนำ�กำ�ไลขอ้ เทา้
(Electronic Monitoring)
มาใช้เปน็ ครง้ั แรกในประเทศไทย

หอลุกากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

๑. M ย่อมาจากคําว่า Metal detector เป็นเทคโนโลยี
เพ่ือการตรวจหาส่ิงแปลกปลอมหรือสิ่งปลอมปนประเภทโลหะ
(Metal) ซ่ึงควรนํามาใช้สําหรับการตรวจค้นอุปกรณ์โทรศัพท์
มือถือหรือวัตถุ ส่ิงผิดกฎหมายต่าง ๆ ที่อาจจะมีการลักลอบ
นําเข้ามาในเรือนจํา

๒. I ย่อมาจากคําว่า lon Mobility Spectrometry หรือ
เทคโนโลยีไอออนสแกน เปน็ อุปกรณ์ในการช่วยตรวจจบั ยาเสพ
ติด โดยปจั จบุ นั เทคโนโลยีดังกลา่ วมีแบบพกพา (Hand-held) มี
น�้ำหนักน้อยกวา่ ๓.๒ กโิ ลกรัม เหมาะสําหรับออกปฏบิ ตั กิ ารภาค
สนาม หรือสําหรับนําไปใช้ตรวจค้นยาเสพติดในท่ีพักเรือนนอน
ของผตู้ อ้ งขงั แทนการใชเ้ จา้ หนา้ ทเี่ พยี งอยา่ งเดยี ว อนั จะทาํ ใหก้ าร
ตรวจค้น รวดเรว็ และมีความแมน่ ยาํ

๓. X ยอ่ มาจากคาํ วา่ X-Ray โดยควรนาํ เทคโนโลยดี งั กลา่ ว
มาใช้ตรวจค้นยาเสพติดหรือ สิ่งของผิดกฎหมายแทนการตรวจ
ค้นด้วยเจ้าหน้าที่เพียงอย่างเดียว จะทําให้สามารถตรวจค้นได้

114 กำ�เนดิ การน�ำ กำ�ไลขอ้ เท้า
(Electronic Monitoring)
มาใช้เปน็ ครง้ั แรกในประเทศไทย

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววินคิด

รวดเร็ว แมน่ ยาํ แมจ้ ะซกุ ซอ่ นอยู่ภายในร่างกาย ในอาหาร หรอื
ในบรรจุภณั ฑต์ ่าง ๆ

๔. C ยอ่ มาจากคําว่า CCTV โดยการใชก้ ล้อง CCTV หรอื
กล้องตรวจการณ์แบบใช้รังสีความร้อน สามารถช่วยในการช่วย
ตรวจตราบรเิ วณรอบๆเรอื นจาํ ทเ่ี ปน็ พนื้ ทป่ี า่ เพราะพนื้ ทป่ี า่ ดงั กลา่ ว
เป็นช่องทางให้ผู้ค้ายาเสพติด หรือคนร้ายลักลอบนําสารเสพติด
หรือส่ิงผิดกฎหมาย ส่งเข้ามาภายในเรือนจํา จะช่วยแก้ปัญหา
กรณีการโยน หรือการยิงสารเสพติดเข้ามาในเรือนจําได้ เพราะ
เจา้ หน้าที่จะสามารถมองเห็นผูล้ ักลอบดงั กลา่ วไดท้ ุกกรณี ทั้งใน
เวลากลางวันและกลางคนื

๕. | ยอ่ มาจากคาํ วา่ Interceptor เปน็ เทคโนโลยใี นการดดู
สญั ญาณโทรศพั ท์ซง่ึ ควรนาํ มาใชแ้ ทนระบบตดั สญั ญาณโทรศพั ท์
(Jammer) ในเรอื นจาํ เพอ่ื ปอ้ งกนั การฟอ้ งรอ้ งคดลี ะเมดิ สทิ ธสิ ว่ น
บคุ คลตา่ ง ๆ เทคโนโลยี Interceptor เหมาะกบั การนาํ มาใชใ้ นการ
ดูดสัญญาณโทรศัพท์ หากมีการลักลอบนํามือถือเข้ามาภายใน
เรอื นจาํ ระบบสามารถบรหิ ารจดั การสญั ญาณมอื ถอื ไดเ้ สมอื นเปน็
สถานีบริการ กล่าวคือ สามารถฟังการสนทนา หรือตัดสญั ญาณ
การใช้งาน หรือบันทึกการสนทนาเอาไว้ เป็นหลักฐานในการ
ดาํ เนินคดีตอ่ ไป

๖. R ย่อมาจากคําว่า RFID เป็นเทคโนโลยีติดตามหรือ
ดูความเคลื่อนไหวของผู้ต้องขังที่ควรนํามาใช้แทนระบบโซ่ตรวน
ซึ่งมีปัญหาเก่ียวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือศักด์ิศรีความ

115ก�ำ เนดิ การนำ�กำ�ไลขอ้ เท้า
(Electronic Monitoring)
มาใชเ้ ปน็ ครัง้ แรกในประเทศไทย

หอลุกากฤหษลายมแงนควคลิดนาวนิ

เป็นมนุษย์ของผู้ต้องขัง ระบบติดตามผู้ต้องขังแบบ RFID หรือ
Electronic Monitoring (EM) สามารถนํามาใช้ควบคุมผู้ต้อง
ขังแบบแยกข้อหาความผิดได้ สามารถโซนนิ่งหรือกําหนดพื้นที่
ของผู้ต้องขังแตล่ ะคนได้ นอกจากน้ี หากจะนําเทคโนโลยีน้มี าใช้
ประกอบกับมาตรการปล่อยชั่วคราวหรอื การคมุ ประพฤติ เพ่อื แก้
ปญั หาผตู้ อ้ งขงั ลน้ เรือนจําก็ย่อมทาํ ได้

116 ก�ำ เนิดการน�ำ กำ�ไลข้อเทา้
(Electronic Monitoring)
มาใช้เป็นคร้งั แรกในประเทศไทย

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

วันท่ี ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖ พลต�ำรวจเอก ประชา พรหมนอก
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ลงนามในกฎกระทรวง ก�ำหนดหลัก
เกณฑ์และวิธีการจ�ำคุกโดยวิธีการอ่ืน ท่ีสามารถจ�ำกัดการเดินทางและ
อาณาเขต พ.ศ. ๒๕๕๖

กฎกระทรวงซึ่งเพ่ิงประกาศใช้ฉบับน้ีเป็นเรื่องของ วิธีการลงโทษ
คนท่ีกระท�ำความผดิ อาญา โดยไมต่ ้องจำ� คุกในเรือนจ�ำ แตใ่ ห้เปลี่ยนมา
ใช้วิธีการอื่นที่สามารถจ�ำกัดการเดินทางและอาณาเขตของนักโทษได้
คือ ใช้อุปกรณ์รับส่งสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว และให้ผู้ที่อยู่ใน
ระหว่างคุมประพฤติโดยไม่ต้องถูกขังในเรือนจ�ำ อุปกรณ์นี้เรียกว่า EM
หรือ “Electronic Monitoring”

อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Monitoring ; EM) เปน็ อปุ กรณ์
ที่ใช้ในการควบคุมผกู้ ระทำ� ผิดแทนการจำ� คุกในเรือนจ�ำ ประกอบด้วยตัว
อปุ กรณ์สง่ สญั ญาณ มีลกั ษณะคลา้ ยนาฬกิ าหรือสายรดั ข้อมือขอ้ เท้า ตัว
อุปกรณ์รับสัญญาณ และศูนย์ควบคุมกลาง ที่ใช้ติดตามตัว เมื่อสวมใส่
อุปกรณ์ท่ีข้อมือ ข้อเท้า หรืออวัยวะส่วนอื่นก็จะสามารถตรวจสอบการ
เดินทางของผู้สวมใส่ได้

ทงั้ นก้ี ารจำ� กดั การเดนิ ทางและอาณาเขต อาจจำ� กดั ภายใตเ้ งอ่ื นไข
ทแ่ี ตกตา่ งกนั ขนึ้ อยกู่ บั แตล่ ะกรณไี ป โดยอาจใหอ้ ยแู่ ตเ่ ฉพาะบรเิ วณบา้ น
พักอาศัยหรือในสถานท่ีที่จัดไว้เป็นการเฉพาะ หรือก�ำหนดอาณาเขต
ท่ีห้ามเดินทางก็ได้ หรืออาจจะใช้วิธีจ�ำกัดการเดินทางเป็นบางช่วงเวลา
กไ็ ด้

117กำ�เนดิ การนำ�ก�ำ ไลข้อเท้า
(Electronic Monitoring)
มาใช้เปน็ ครง้ั แรกในประเทศไทย

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลิดนาวนิ

ภาพท่ี ๑ : อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ทีส่ ามารถใช้ตรวจสอบหรอื จ�ำกดั การเดินทาง
และอาณาเขตของผู้ถูกจำ� กัดที่สวมใส่ไว้ทข่ี ้อเทา้ ในประเทศบราซิล
(electronic monitoring anklets)

ภาพท่ ี ๒ : อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกสท์ ใี่ ชต้ รวจสอบหรือจ�ำกัดการเดินทาง
และอาณาเขตของผถู้ ูกจำ� กัดทส่ี วมใสไ่ ว้ที่ขอ้ มือในประเทศอิสราเอล

(electronic monitoring bracelets)

118 กำ�เนดิ การน�ำ กำ�ไลข้อเท้า
(Electronic Monitoring)
มาใช้เป็นครัง้ แรกในประเทศไทย

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคิด

การใช้วิธีการลงโทษแบบใหมน่ ี้ ต้องใหศ้ าลเป็นผอู้ อกค�ำส่ัง โดย
เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์เป็นผู้ยื่นค�ำร้อง ซึ่งเหตุในการใช้วิธีการลงโทษแบบ
ใหมต่ ามที่กฎกระทรวงระบไุ ว้ คอื  

(๑) ผซู้ ึ่งต้องจ�ำคุกจะถงึ อันตรายแกช่ ีวติ ถา้ ต้องจ�ำคกุ
(๒) ผูซ้ ึ่งต้องจำ� คุกจ�ำเปน็ ต้องเลย้ี งดูบดิ า มารดา สามี ภรยิ า หรอื
บุตร ซ่งึ พึง่ ตนเองมไิ ด้และขาดผู้อุปการะ
(๓) ผูซ้ ึ่งตอ้ งจำ� คกุ เจ็บป่วยและตอ้ งไดร้ บั การรกั ษาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
(๔) ผู้ซ่ึงต้องจ�ำคุกมีเหตุควรได้รับการทุเลาการบังคับให้จ�ำคุก
ดว้ ยเหตอุ ื่น ๆ
เมื่อวันท่ี ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
แถลงข่าวเกี่ยวกับกฎใหม่น้ีว่า มาตรการควบคุมนักโทษแทนการคุมขัง
ในเรือนจ�ำ ถือเป็นวิวัฒนาการ หลายประเทศ อาทิ อังกฤษ แคนาดา
สงิ คโปร์ บราซลิ อสิ ราเอล และเกาหลใี ตไ้ ดน้ ำ� เครอ่ื งมอื ทเี่ รยี กวา่ EM หรอื
“Electronic Monitoring” มาใชแ้ ทนการคมุ ขงั ในเรอื นจ�ำแล้ว 
รฐั มนตรี กล่าวดว้ ยว่า กระทรวงยุติธรรม จะตอ้ งออกกฎระเบยี บ
และวิธีการปฏิบัติให้เร็วที่สุด และหารือกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง การใช้
มาตรการใหมจ่ ะเน้นไปท่ี ๑) กลุ่มผตู้ อ้ งขงั ชรา หรือปว่ ยระยะสุดท้าย ซ่ึง
ต้องออกไปรักษาเป็นประจ�ำหรือหากจ�ำคุกต่อไปก็ต้องเสียชีวิต ๒) กลุ่ม
ที่ต้องออกไปดูแลลูกและภรรยา หรือพ่อแม่ที่แก่ชราและไม่สามารถช่วย
เหลือตัวเองได้ ๓) กลุ่มนักโทษทีมีเหตุทุเลาการลงโทษ เช่น ต้องคลอด
บุตร หรือวิกลจริต โดยญาติจะต้องร้องขอต่อเจ้าหน้าที่และเจ้าหน้าท่ี
ราชทัณฑ์จะต้องย่ืนค�ำร้องต่อศาลอีกคร้ังส่วนศาลจะมีดุลยพินิจอย่างไร
ถือเปน็ อ�ำนาจของศาล

119กำ�เนิดการน�ำ ก�ำ ไลข้อเท้า
(Electronic Monitoring)
มาใชเ้ ป็นครั้งแรกในประเทศไทย

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลิดนาวิน

ปัจจุบันประเทศไทยมีจ�ำนวนนักโทษท่ีถูกจ�ำคุกประมาณ
๒๖๐,๐๐๐ คน จากเรือนจ�ำทง้ั หมด ๑๔๓ แหง่ ขณะท่ีความสามารถของ
เรือนจ�ำในการรองรับนักโทษน้ันอยู่ที่ ๑๙๐,๐๐๐ คน ดังน้ันแนวคิดการ
ลงโทษแบบใหม่น้ีจึงอาจช่วยระบายนักโทษออกไปคุมขังยังสถานที่อื่น
เพ่อื ลดจ�ำนวนนักโทษและความแออดั ในเรอื นจ�ำ 

การลงโทษแบบใหม่ในแง่หน่ึงก็เปิดโอกาสให้นักโทษกลับคืนสู่
สงั คมไดง้ า่ ยขนึ้ เรว็ ขนึ้ เปน็ ผลดตี อ่ ครอบครวั และคนรอบขา้ งของผกู้ ระทำ�
ความผิด ในอีกแง่หน่ึงก็อาจมองได้ว่าอาจเป็นการปล่อยอาชญากรออก
มาอยู่นอกคกุ เรว็ กวา่ กำ� หนด ซึ่งจะดีหรอื ไมด่ ตี ่อผ้ตู ้องขงั ครอบครวั และ
สงั คมโดยรวม คงต้องรบั ฟังเสียงจากทุกคนในสงั คมประกอบกัน 

หลังจากกฎกระทรวงน้ีประกาศใช้ก็มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ตาม
มาในส่ือออนไลน์ ตัวอย่างความเหน็ ท่อี าจหยบิ ยกมาพดู คุยกนั ตอ่ ได้ เชน่

“นา่ จะใชแ้ คก่ ับคดีเลก็ ๆ นอ้ ยๆ ค่ะ เช่น ตบตี ทะเลาะกนั แต่กับ
คดใี หญๆ่ ควรโหดกวา่ ท่เี ป็นอยู่ ควรลงโทษเหมือนท่สี งิ คโปรค์ ะ ชอบมาก
เลยโบยตอ่ หนา้ ผูค้ น ประเทศเขากฎหมายเลยน่าเกรงกลวั คนไมก่ ลา้ โกง
เมืองไทยอสิ ระเกิน สบายเกนิ เลยไม่คอ่ ยมีระเบยี บ”

“ผมว่าน่าจะใช้กับคดีเล็กๆน้อยๆ เช่น ความผิดลหุโทษ เป็นต้น
จุดประสงค์ของ กฎกระทรวงฉบับนี้ เพราะได้เล็งเห็นถึงความแออัดใน
คุกเพราะตอนน้ีแออัดมาก ผมว่าวิธีมันน่าจะเป็นวิธีทางออกท่ีดีอีกวิธี
หนึ่ง ส่วนว่าคดีร้ายแรงผมว่าน่าจะใช้ในกรณีน้ีไม่น่าจะได้ แต่ท้ังนี้ผู้ที่มี
อำ� นาจสงั่ คอื ศาลครบั ผมเชอื่ วา่ ศาลใช้อำ� นาจในพระปรมาธิไภยฯ ทา่ น
คงใชด้ ลุ พนิ จิ อยา่ งเหมาะสมกบั รปู คดี วา่ คดไี หนควรใชก้ ารวธิ กี ารอยา่ งไร
ในการจำ� คกุ ”

120 ก�ำ เนิดการน�ำ ก�ำ ไลข้อเท้า
(Electronic Monitoring)
มาใชเ้ ป็นครั้งแรกในประเทศไทย

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววินคิด

“คนทต่ี ดิ คกุ คอื คนทำ� ผดิ (ยกเวน้ แพะ) และสว่ นใหญทำ� ผดิ ซำ้� ซาก
ไม่กลัวโทษที่ได้รับและถ้าไม่ต้องติดคุกคนพวกนี้ก็คงย่ิงท�ำความผิดโดย
ไม่ต้องเกรงกลัวใคร”

“พจิ ารณาอกี มมุ สำ� หรบั ผบู้ รสิ ทุ ธทิ ตี่ อ้ งตดิ คกุ หรอื ความผดิ ไมร่ า้ ย
แรง แล้วมเี หตุจ�ำเปน็ ไมม่ ีใครเลยี้ งดูพอ่ แมท่ ี่ช่วยตวั เองไมไ่ ด้ ผมวา่ กเ็ ป็น
ประโยชน์ต่อบางกรณี แต่ทางปฏิบัติต้องออกกฎระเบียบอย่างรอบคอบ
เพราะจะเปน็ ชอ่ งทางใหเ้ จา้ หนา้ ทท่ี เ่ี กย่ี วขอ้ งเรยี กรบั ผลประโยชนแ์ บบผดิ
กฎหมาย กต็ อ้ งฝากนกั การเมอื งทเี่ กย่ี วขอ้ งตรวจสอบ ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ น
ทางปฏิบัตอิ ย่างแทจ้ รงิ ดว้ ยครบั ”

“ไม่ดีเลย คนคงทำ� ผิดมากขนึ้ เพราะยงั ไงแลว้ ก็ไม่ได้ถกู กักขงั ”
นอกจากน้ี ยังมีค�ำถามน่ากังวลว่า อุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์น้ันมี
ประสิทธิภาพ ความเที่ยงตรงเพียงพอหรือไม่ เพราะการควบคุมมนุษย์
ด้วยเทคโนโลยีย่อมเกิดข้อผิดพลาดหรือเกิดการฉ้อฉลขึ้นได้ รวมถึงอาจ
ทำ� ให้คนไมก่ ลัวการกระท�ำความผดิ เพราะวิธีการลงโทษไม่เป็นการจ�ำกดั
สทิ ธเิ สรภี าพจนเกิดความทกุ ขท์ รมานเกินไป
แมว้ า่ ขอ้ สงั เกต ขอ้ กงั วล ทง้ั จากภาคสว่ นตา่ งๆ และสงั คม จะมอี ยู่
ไมน่ อ้ ย แตห่ ากยงั ไมเ่ คยทดลองใชว้ ธิ กี ารลงโทษดว้ ยการจำ� กดั การเดนิ ทาง
และอาณาเขตมากอ่ นเลย ยงั คงยดึ ถอื อยเู่ พยี งวา่ การจำ� คกุ เปน็ การลงโทษ
เพยี งแบบเดยี วทย่ี อมรบั ได้ กค็ งจะเรว็ เกนิ ไปทจ่ี ะตดั สนิ วา่ วธิ กี ารแบบใด
จะเข้ากับ “สังคมไทย” ได้หรอื ไม่

ขอ้ มูลจาก https://board.postjung.com/1097031

121ก�ำ เนดิ การน�ำ ก�ำ ไลข้อเทา้
(Electronic Monitoring)
มาใช้เป็นครง้ั แรกในประเทศไทย

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลิดนาวนิ

‘สมศักดิ์’ ดนั นโยบายหนนุ ใช้กำ�ไล EM ควบคุมผตู้ อ้ งขงั โทษ
นอ้ ย หวังลดแออดั ได้ ๓ หมนื่ คน จาก ๑.๗ แสนคน เกินจำ�นวนรับ
ได้ เล็งให้เชา่ เหมอื น ตปท.

นายสมศักด์ิ เทพสทุ นิ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงยุติธรรม

วันท่ี ๓๑ ม.ค. ๒๕๖๓ กระทรวงยุติธรรม จัดประชุมเชิงปฏิบัติ
การเพื่อขับเคล่ือนนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม ประจำ�
ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ กิจกรรมท่ี ๑ : การสง่ เสรมิ สุขอนามยั ดา้ นอาหาร
และโภชนาการแก่ผู้ต้องขัง ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค
เมอื งทองธานี อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี

นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม 
ปาฐกถาพเิ ศษและมอบนโยบายตอนหนง่ึ ระบถุ งึ กรอบการพกั โทษ ลงโทษ
และการใช้กำ�ไลอิเล็กทรอนิกส์ควบคุมผู้กระทำ�ความผิด (Electronic
Monitoring:  EM) หากกระทรวงยุติธรรมสามารถจัดหากำ�ไล EM ได้
122 ก�ำ เนดิ การน�ำ ก�ำ ไลข้อเท้า

(Electronic Monitoring)
มาใชเ้ ปน็ ครง้ั แรกในประเทศไทย

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคิด

จำ�นวนมาก เพอื่ นำ�มาใชก้ ับผูต้ ้องขัง จะชว่ ยลดความแออดั ในเรอื นจำ�ได้
ประมาณ ๓ หมื่นคน และของบกลางจัดสร้างเรือนนอนเพิ่มเติม ช่วยได้
อีกประมาณ ๖-๗ หมนื่ คน จากจำ�นวนผู้ต้องขัง ๑.๗ แสนคน ตอ้ งมชี ีวติ
อย่างแออดั เกินพื้นท่ี ๑.๒ ตร.ม./คน ขณะทีป่ ัจจุบันมีผู้ต้องขังท่วั ประเทศ
ทงั้ หมด ๓.๘ แสนคน

ทงั้ น้ี ผตู้ อ้ งขงั เขา้ ขา่ ยในการใชก้ ำ�ไล EM แบง่ เปน็ ผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ ง
การพจิ ารณาคดี, ผตู้ ้องขงั ออกไปทำ�งานในสถานประกอบการ, ผตู้ อ้ งขงั
ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภ,์ ผตู้ อ้ งขงั ไมส่ ามารถสคู้ ดไี ด,้ ผตู้ อ้ งขงั เปน็ ผเู้ สพ ครอบครอง
ปริมาณยาเสพติด จำ�นวนน้อย หรือรับหน้าท่ีในการขนถ่ายยาเสพติด,
ผตู้ อ้ งขงั ทม่ี คี ดคี วามมนั่ คงผตู้ อ้ งขงั เขา้ ขา่ ยพกั การลงโทษแตค่ ณะกรรมการ
พิจารณาพักการลงโทษเห็นควรให้มีการควบคุมอย่างเข้มงวด, ผู้ต้องขัง
คดีเก่ียวกบั เพศบางประเภท เชน่ การพรากผเู้ ยาว์ โดยผ้เู ยาว์ บิดา มารดา
ยินยอม, ผูต้ ้องขงั ขบั รถโดยประมาท, ผูต้ ้องขงั คดีทางการเงิน เช่น คดเี ชค็
หรอื ทรพั ยบ์ างประเภท หรอื คดที ไี่ มม่ กี ารกระทำ�ผดิ ลกั ษณะอาชญากรโดย
สันดาน เชน่ การเกบ็ ของปา่ ซ่ึงถือเป็นโทษเลก็ นอ้ ย

“การนำ�กำ�ไล EM มาใช้ควบคมุ ผู้ตอ้ งขงั นน้ั จะช่วยลดค่าใช้จา่ ย
ของรฐั ในการดแู ล ซง่ึ ปจั จบุ นั ผตู้ อ้ งขงั ชายมคี า่ ใชจ้ า่ ย ๒๑,๐๙๐ บาท/คน/
ปี ผู้ตอ้ งขังหญงิ ๒๑,๓๑๐ บาท/คน/ปี อย่างไรก็ตาม ยงั คาดเดาไม่ไดว้ ่า
จะจดั หากำ�ไล EM ไดเ้ มอ่ื ใด แตม่ ผี ตู้ อ้ งขงั เขา้ ขา่ ยประมาณ ๑.๕ หรอื ๑.๗
แสนคน ซ่งึ หากการใช้ พบว่ามปี ระสทิ ธภิ าพ ผูต้ อ้ งขังอาจต้องเช่า เหมอื น
ในตา่ งประเทศใหเ้ ชา่ ในราคาประมาณ ๑๐ เหรยี ญ หรอื ๓๑๐ บาท เพราะ
ไมอ่ ยากใหใ้ ชข้ องราชการมาก” รมว.ยตุ ิธรรม กล่าว

ข้อมลู จาก ข่าวอศิ รา

123ก�ำ เนดิ การน�ำ กำ�ไลขอ้ เทา้
(Electronic Monitoring)
มาใช้เปน็ ครง้ั แรกในประเทศไทย

ก�ำเนิดการช�ำระคา่ ปรบั
จากการกระท�ำผดิ ตาม
พ.ร.บ. จราจรทางบก

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคิด

สภาพปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก
พ.ศ.๒๕๒๒ และแนวทางแกไ้ ขที่ คณะกรรมการอสิ ระว่า
ด้วยการสง่ เสรมิ หลักนติ ธิ รรมแหง่ ชาติ (คอ.นธ.) ไดเ้ คย
เสนอไปยงั สำ� นกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ มีรายละเอียดดงั นี้

๑. ปัญหาเก่ียวกับอ�ำนาจในการเปรียบเทียบปรับของ
เจ้าพนักงาน ท�ำให้เกิดปัญหาการใช้ดุลพินิจของเจ้าพนักงานใน
ทางทมี่ ชิ อบหรอื ไมเ่ ปน็ ธรรมตอ่ ผกู้ ระทำ� ความผดิ ดงั นนั้ ควรกำ� หนด
อัตราในการเปรียบเทยี บปรบั ใหเ้ พยี งพอและเหมาะสม

๒. ปัญหาเก่ียวกับขั้นตอนและวิธีการในการช�ำระค่าปรับ
มคี วามไมส่ ะดวกและทำ� ใหเ้ สยี เวลาแกผ่ กู้ ระทำ� ความผดิ ควรเพมิ่
ช่องทางหรือวิธีการในการช�ำระค่าปรับจราจรให้มีความสะดวก
มากข้ึน

125กำ�เนดิ การชำ�ระค่าปรับ

จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

๓. ปญั หาเกยี่ วกบั เจา้ พนกั งานปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นทางทม่ี ชิ อบ
หรือไม่เป็นธรรมต่อผู้กระท�ำผิด มีการจับกุมในข้อหาท่ีมีผู้ฝ่าฝืน
ไม่ได้กระท�ำผิดชัดแจ้ง หรือเป็นการเรียกให้หยุดรถเพ่ือที่จะ
หาความผดิ จบั กมุ หรอื โดยกลา่ วหาหรอื ตงั้ ขอ้ หาดา้ นการจราจรท่ี
ไมเ่ ปน็ ธรรม มกี ารยดึ ใบอนญุ าตขบั ข่ี ยดึ กญุ แจรถ หรอื ยดึ รถ และ
มกี ารเรยี กเงนิ อกี ดว้ ย ดงั นน้ั ผบู้ งั คบั บญั ชาของเจา้ พนกั งานจราจร
ควรเครง่ ครดั และบงั คบั บญั ชาใหม้ กี ารถอื ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางการ
ปฏิบัติงานด้านจราจร และขั้นตอนการบังคับใช้กฎหมายในการ
จับกุมและการสอบสวนคดีความผิดเกี่ยวกับจราจรอย่างจริงจัง
ซ่ึงได้ก�ำหนดข้นั ตอนการปฏิบัติไว้ เชน่ ผู้จับกมุ ตอ้ งอยูใ่ นจดุ หรือ
ต�ำแหน่งท่ีเปิดเผย เห็นได้ชัดเจน การดักจับโดยอ�ำพรางหรือซุ่ม
ดักจับควรให้ยกเลิกวิธีการดังกล่าวโดยเด็ดขาด ห้ามยึดกุญแจ
รถโดยไม่มีเหตุผลอนั สมควร ทั้งนี้ การจับกมุ ต้องไมเ่ ปน็ ลักษณะ
การจ้องจับผิด หรือหวังผลประโยชน์ตอบแทน ควรจับกุมใน
ข้อหาท่มี ีผฝู้ ่าฝืนไดก้ ระทำ� ผิดชดั แจง้ แลว้ ไมเ่ ป็นการเรียกรถเพื่อ
ที่จะหาความผิดจับกุม และการจับกุมจะต้องท�ำอย่างเสมอภาค
กัน ห้ามน�ำผู้ถูกจับกุมเข้าไปในตู้ยามหรือตู้ควบคุมสัญญาณไฟ
จราจร เพ่อื พดู คยุ หรอื เขียนใบสง่ั โดยเดด็ ขาดควรเขียนใบสง่ั หรอื
แจง้ ขอ้ หาในการจบั กมุ ใหช้ ดั เจนหรอื มอบใหผ้ ขู้ บั ขโี่ ดยเรว็ เปน็ ตน้

เม่ือวันที่ ๒๖ มถิ ุนายน ๒๕๕๕ คอ.นธ. ได้เสนอแนะแนว
ทางในการแก้ปัญหาจราจรแก่ผู้แทนกองบัญชาการต�ำรวจ
นครบาลโดยการออกระเบยี บปฏบิ ตั ภิ ายในและไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งแกไ้ ข
เพมิ่ เตมิ พระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ แต่ประการใด
ในเรื่องดงั ต่อไปนี้

126 กำ�เนิดการชำ�ระค่าปรบั
จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววินคิด

127กำ�เนิดการชำ�ระคา่ ปรบั

จากการกระทำ�ผิดตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

128 กำ�เนดิ การชำ�ระค่าปรับ
จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววินคิด

129กำ�เนิดการชำ�ระคา่ ปรบั

จากการกระทำ�ผิดตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

130 กำ�เนดิ การชำ�ระค่าปรับ
จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววินคิด

131กำ�เนิดการชำ�ระคา่ ปรบั

จากการกระทำ�ผิดตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวนิ

๑) การจับกุมจะต้องท�ำอย่างเสมอภาคกันไม่เลือกปฏิบัติ
ควรจบั กมุ ในขอ้ หาทม่ี ผี ฝู้ า่ ฝนื ไดก้ ระทำ� ผดิ ชดั แจง้ แลว้ ไมเ่ ปน็ การ
เรียกรถเพือ่ ทจี่ ะหาความผดิ จบั กุมหรอื เพอื่ ยดั ขอ้ หา

๒) การออกใบสงั่ ให้ ผขู้ บั ขเ่ี พอื่ ไปชำ� ระคา่ ปรบั จราจรไมต่ อ้ ง
เรียกเก็บใบอนุญาตขับขี่ไว้เป็นการช่ัวคราวเพราะพระราชบัญญัติ
จราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๑๔๐ วรรค ๓ ได้ก�ำหนดเพยี ง
ว่า “เจ้าพนักงานจราจรจะเรียกเก็บใบอนุญาตขับข่ีไว้เป็นการ
ชว่ั คราวกไ็ ด”้ ซงึ่ ไมไ่ ด้ก�ำหนดใหย้ ึดใบอนุญาตขบั ขไ่ี วท้ กุ กรณแี ละ
ไม่มีอ�ำนาจท่ีจะยึดกุญแจรถเพราะกฎหมายไม่ได้ให้อ�ำนาจท่ีจะ
กระท�ำได้

๓) ก�ำหนดอัตราในการเปรียบเทียบปรับในข้อหาความผิด
เลก็ ๆนอ้ ยๆทไ่ี มก่ อ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายแกช่ วี ติ รา่ งกายของผใู้ ชร้ ถใชถ้ นน
อ่ืนๆให้มีจ�ำนวนเพียง ๑๐๐ บาทเท่านั้น เพราะการเพ่ิมอัตราค่า
ปรบั ใหส้ งู ขนึ้ ไมไ่ ดช้ ว่ ยแกไ้ ขปญั หาจราจรใหน้ อ้ ยลงแตป่ ระการใด

๔) ก�ำหนดแบบใบส่ังของเจ้าพนักงานจราจรให้มีความ
ชัดเจนมากยิ่งขึ้นกล่าวคือให้ระบุข้อหาหรือฐานความผิดตาม
กฎหมายจราจรไว้ในใบสั่งท้ังหมดหรืออย่างน้อยให้มากกว่าใน
ปัจจุบันเพราะตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒
ไดก้ ำ� หนดขอ้ หาหรอื ฐานความผดิ ไวป้ ระมาณ ๕๘ ข้อหาแต่แบบ
ใบส่ังในปัจจุบันระบุข้อหาหรือฐานความผิดไว้เพียง ๒๐ ข้อหา
เท่านั้นส่วนข้อหาที่เหลือจะใช้วิธีการให้เจ้าพนักงานจราจรกรอก
ข้อความลงในช่องว่างด้วยลายมือซึ่งในทางปฏิบัติมีปัญหามาก
เพราะเจ้าพนักงานจราจรส่วนใหญ่มักจะกรอกข้อความด้วย

132 กำ�เนิดการชำ�ระคา่ ปรับ
จากการกระทำ�ผิดตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคิด

ลายมือที่อ่านยากและบางคร้ังก็เป็นการกรอกข้อหาท่ีนอกเหนือ
จากที่กฎหมายกำ� หนด

๕ ) ควรเพม่ิ ช่องทางหรือวธิ กี ารในการชำ� ระคา่ ปรับจราจร
ให้มากขึ้นและมีความสะดวกมากย่ิงขึ้นเช่นการก�ำหนดให้ช�ำระ
ค่าปรับจราจรได้ตามร้านสะดวกซื้อต่างๆหรือตามเคาน์เตอร์
เซอรว์ สิ เปน็ ตน้ เพราะพระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก พ. ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๑๔๑ (๑) ได้ก�ำหนดว่า “ผู้ขับขี่หรือเจ้าของรถซึ่งได้รับ
ใบสั่งอาจเลือกช�ำระค่าปรับตามจ�ำนวนที่ระบุไว้ในใบส่ังหรือ
ตามจ�ำนวนที่พนักงานสอบสวนแจ้งให้ทราบ ณ สถานท่ี
ที่ระบุไว้ในใบส่ังหรือสถานที่ที่อธิบดีก�ำหนดโดยประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาภายในวันเวลาท่ีระบุไว้ในใบส่ัง” ซึ่งเปิดช่อง
ใหส้ ามารถกระทำ� ได้อยูแ่ ล้วโดยไม่ตอ้ งแก้ไขกฎหมาย

พัฒนาการของกฎหมายจราจรตามขอ้ เสนอแนะของ
คอ.นธ. มดี ังนี้

๑. เรอื่ งการจบั กมุ อยา่ งเสมอภาค ไมเ่ ลอื กปฏิบัตแิ ละ
ควรจับกุมในข้อหาที่มีความผิดชัดแจ้งแล้ว ไม่เรียกรถเพ่ือ
ท่ีจะหาความผดิ จับกุม หรอื ยัดขอ้ หา

ววิ ัฒนาการ
ต�ำรวจไทยหลายพื้นที่ เริ่มโครงการติดกล้องบนหมวก
เพอ่ื ใชเ้ กบ็ ภาพเปน็ หลกั ฐานขณะออกปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี รวมถงึ ยงั ชว่ ย
ลดข้อพิพาทระหว่างต�ำรวจและประชาชน สร้างความน่าเชื่อถือ
ในกรณีทมี่ เี รอื่ งร้องเรียนเกี่ยวกบั ความประพฤติทีไ่ มเ่ หมาะสม

133กำ�เนดิ การชำ�ระค่าปรับ

จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

ภาพจากทวติ เตอร์ เร่อื งเดน่ เยน็ น้ี

ภาพประกอบและเน้ือขา่ วจากไทยรัฐออนไลน์

134 กำ�เนิดการชำ�ระค่าปรับ
จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคิด

นอกจากน้ี กล้องดังกล่าวยังสามารถเช่ือมต่อกับโทรศัพท์
มือถือและคอมพิวเตอร์ได้ ซึ่งจะมีประโยชน์มากส�ำหรับการน�ำ
ขอ้ มูลตา่ ง ๆ มาใช้ชว่ ยงานสบื สวนสอบสวน

๒. การออกใบสงั่ ให้ ไม่ต้องเรยี กเก็บใบอนญุ าตขับขี่
ไวเ้ ปน็ การชว่ั คราวเพราะพระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.
๒๕๒๒ มาตรา ๑๔๐ วรรค ๓ ไดก้ ำ� หนดเพยี งวา่ “เจา้ พนกั งาน
จราจรจะเรียกเก็บใบอนุญาตขับข่ีไว้เป็นการช่ัวคราวก็ได้”
ซึ่งไม่ได้ก�ำหนดให้ยึดใบอนุญาตขับข่ีไว้ทุกกรณีและไม่มี
อ�ำนาจท่จี ะยดึ กุญแจรถเพราะกฎหมายไมไ่ ด้ใหอ้ ำ� นาจท่จี ะ
กระทำ� ได้

ววิ ฒั นาการ
กฎหมายจราจรได้มีการแก้ไขใหม่ ตามพระราชบัญญัติ
จราจรทางบก (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ.๒๕๖๒ มาตรา ๑๐ โดยใหย้ กเลกิ
มาตรา ๑๔๐ เดมิ แห่งพระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒
ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ.๒๕๕๗ และให้ใชค้ วามต่อไปนแี้ ทน
“มาตรา ๑๔๐ เมื่อปรากฏแก่เจ้าพนักงานจราจร ไม่วา่ พบ
ดว้ ยตนเอง หรอื โดยการใชเ้ คร่ืองอุปกรณห์ รือโดยวธิ ีการอื่นใดว่า
ผขู้ บั ขผี่ ใู้ ดฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามบทบญั ญตั แิ หง่ พระราชบญั ญตั ิ
นห้ี รอื ตามกฎหมายอนื่ อนั เกยี่ วกบั รถหรอื การใชท้ าง ทเี่ ปน็ ความ
ผดิ ทม่ี โี ทษปรบั สถานเดยี ว หรอื มโี ทษจำ� คกุ ไมเ่ กนิ หนง่ึ เดอื น

135กำ�เนดิ การชำ�ระคา่ ปรบั

จากการกระทำ�ผิดตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวนิ

และโทษปรับ เจ้าพนักงานจราจรจะว่ากล่าวตักเตือนหรือ
ออกใบสงั่ ให้ผขู้ ับขผ่ี ู้น้นั ช�ำระค่าปรับตามที่เปรยี บเทียบก็ได้

ในกรณเี จา้ พนักงานผู้ออกใบสงั่ ไม่พบตัวผขู้ ับขี่ ใหต้ ิด ผูก
หรอื แสดงใบสงั่ ไวท้ ร่ี ถทผี่ ขู้ บั ขส่ี ามารถเหน็ ไดง้ า่ ย หากไมส่ ามารถ
ติด ผูก หรือแสดงใบส่ังไว้ท่ีรถได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้ส่งใบส่ัง
พร้อมด้วยพยานหลักฐานโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ
ไปยังภูมิล�ำเนาของเจ้าของรถหรือผู้ครอบครองรถเพื่อให้ช�ำระ
คา่ ปรบั ภายในระยะเวลาทกี่ ำ� หนดในใบสง่ั นนั้ ทงั้ นี้ ตามระเบยี บที่
ผ้บู ัญชาการต�ำรวจแห่งชาติก�ำหนด

ใหน้ ำ� ความในวรรคสองมาใชบ้ งั คบั กบั กรณที เี่ จา้ พนกั งาน
จราจรพบการกระท�ำความผิดตามพระราชบัญญัติน้ีหรือตาม
กฎหมายอ่ืนอันเก่ียวกับรถหรือการใช้ทาง แต่ไม่อาจทราบตัว
ผู้ขบั ขด่ี ้วยโดยอนุโลม

เกณฑ์การก�ำหนดจ�ำนวนค่าปรับตามที่เปรียบเทียบและ
แบบของใบสัง่ ตามวรรคหน่ึง ให้เปน็ ไปตามทีผ่ ้บู ญั ชาการต�ำรวจ
แห่งชาติประการก�ำหนด”

จะเห็นได้ว่าไม่มีก�ำหนดในเร่ืองการเรียกเก็บใบอนุญาต
ขับขี่ โดยระบุเรื่องการว่ากล่าวตักเตือนไว้เป็นอันดับแรก ซ่ึง
สอดคลอ้ งกบั ขอ้ เสนอของคอ.นธ.ทกุ ประการ

136 กำ�เนิดการชำ�ระคา่ ปรบั
จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววินคิด

กฎหมายใหม่ ตร.ห้ามยึดใบขับข่ี แสดงแบบ
ดิจติ อลแทนตัวจริงได้

ภาพประกอบและเนื้อข่าวจากไทยรัฐออนไลน์

พ.ร.บ.จราจรทางบก ฉบบั ใหม่ มผี ลบงั คบั ใช้ ๒๐ ก.ย.
๒๕๖๒ ต�ำรวจขอดใู บอนญุ าตขับขแ่ี ตห่ ้ามยึด ยันประชาชน
พกใบขับข่ีดิจิตอลแทนฉบับจริงได้ แต่ใช้ถ่ายภาพจาก
มือถอื ไม่ได้

วนั ท่ี ๒๐ ส.ค.๒๕๖๒ ผสู้ อ่ื ขา่ วรายงานวา่  พล.ต.ต.เอกรกั ษ์
ลิ้มสังกาศ รองผู้บัญชาการศึกษา (รองผบช.ศ.) เปิดเผยถึง
กรณีเว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่พระราชบัญญัติจราจร
ทางบก (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ มีผลบงั คบั ใชใ้ นวันท่ี ๒๐ ก.ย.
๒๕๖๒

137กำ�เนิดการชำ�ระค่าปรบั

จากการกระทำ�ผิดตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวนิ

โดยมีสาระส�ำคัญคือ เจ้าพนักงานจราจร หรือพนักงาน
เจ้าหน้าท่ีสามารถเรียกตรวจใบอนุญาตขับขี่แต่ไม่มีอ�ำนาจใน
การเรียกเก็บใบอนุญาตขับขี่ของผู้ขับอีกต่อไปจะต้องคืนให้กับ
ประชาชน โดยผู้ขับข่ีจะต้องพกใบอนุญาตขับข่ีขณะขับรถและ
จะต้องแสดงใบขับข่ีเม่ือเจ้าหน้าที่ขอตรวจ ซึ่งสามารถแสดงได้
๓ แบบ ไดแ้ ก่ 

๑. ใบอนญุ าตขับขตี่ วั จรงิ แบบเดมิ
๒. ใบอนุญาตขับข่ีด้วยวิธีการทางข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
หรือ ใบขบั ขีด่ ิจติ อล ผ่านแอปพลเิ คชัน DLT QR LICENCE
๓. ส�ำเนาภาพถ่ายใบอนุญาตขับขี่ตามแบบฟอร์มที่กรม
การขนสง่ ทางบกกำ� หนด ซงึ่ ไมส่ ามารถใชภ้ าพทถ่ี า่ ยจากโทรศพั ท์
มอื ถอื ได้
ท้ังนี้หลังจากประกาศใช้แล้ว ประชาชนสามารถพกใบ
อนุญาตขับขี่ได้อย่างใดอย่างหน่ึงใน ๓ แบบ ส่วนตัวยืนยันว่า
สามารถใช้ได้จริง เพราะบังคับเป็นกฎหมาย เพ่ือความสะดวก
สบายของประชาชน

ส�ำหรบั กฎหมายใหมฉ่ บบั น้ี เจ้าพนกั งานจราจรไม่จ�ำเป็น
ต้องยึดใบขับข่ี เนื่องจากมีระบบใบขับขี่อิเล็กทรอนิกส์ของกรม
การขนสง่ ทางบก ซงึ่ สามารถเปรยี บเทยี บปรบั ได ้ โดยเจา้ พนกั งาน
จราจรจะตรวจสอบความถูกต้องของใบขับขี่ จากน้ันจะบันทึก

138 กำ�เนิดการชำ�ระค่าปรับ
จากการกระทำ�ผิดตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววินคิด

ขอ้ มลู ผขู้ บั ขแ่ี ละการกระทำ� ความผดิ ลงในใบสงั่  ใหก้ บั ผขู้ บั ขพ่ี รอ้ ม
ใบขบั ขี ่

ส่วนต้นขั้วใบส่ัง จะน�ำกลับไปท่ีสถานีต�ำรวจ หรือหน่วย
งานจราจร เพอ่ื ลงบนั ทกึ ตดั แตม้  เมอ่ื ผขู้ บั ขม่ี าเสยี คา่ ปรบั จะทราบ
ว่าไดถ้ ูกตดั แตม้ ไปเทา่ ใด และหากแตม้ หมดท้ัง ๑๒ แต้ม จะถูก
พกั ใชใ้ บอนญุ าตขบั ข ่ี ๙๐ วนั และแตม้ จะกลบั คนื มา ๑๒ คะแนน
ตามเดิม โดยต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเข้ารับการอบรมใหม่ และ
ต้องสอบใหผ้ ่าน จะได้รบั แตม้ คืน

หากภายใน ๓ ปี ผขู้ บั ขถี่ กู พกั ใชใ้ บอนญุ าตขบั ขเี่ กนิ กวา่ ๒
ครัง้ ซงึ่ ในครงั้ ที่ ๓ จะถกู พักใชใ้ บอนุญาตขบั ขเ่ี ปน็ เวลา ๑ ปี และ
ช่วงระหวา่ ง ๑ ปี หากกระทำ� ผดิ อีกเปน็ ครง้ั ที่ ๔ จะถูกเพิกถอนใบ
อนญุ าตขับขใ่ี นทนั ที.

139กำ�เนดิ การชำ�ระคา่ ปรับ

จากการกระทำ�ผิดตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวิน

๓. ก�ำหนดอัตราในการเปรียบเทียบปรับในข้อหา
ความผิดเล็กๆน้อยๆที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกาย
ของผู้ใชร้ ถใช้ถนนอนื่ ๆ ใหม้ ีจำ� นวนเพยี ง ๑๐๐ บาท

ววิ ฒั นาการ

ลา้ งใบสัง่ เกา่ ๑๐๐ บาทราคาเดยี ว เริ่มแล้วทุก สน.

ภาพประกอบและเนื้อขา่ วจากกรุงเทพธรุ กิจ

พล.ต.ท.ศานิตย์ มหถาวร รกั ษาราชการแทน ผ้บู ัญชาการ
ตำ� รวจนครบาล(รรท.ผบช.น.)ระบถุ งึ โครงการลา้ งใบสงั่ ๑๐๐บาท
ราคาเดียว ทีไ่ ด้มอบหมายให้ทัง้ ๘๘ สถานีต�ำรวจนครบาล รวม
ถงึ กองบงั คบั การตำ� รวจจราจรไปดำ� เนนิ การวา่ ถอื เปน็ การสง่ มอบ
ของขวัญให้แก่ประชาชนในช่วงใกล้เทศกาลปีใหม่ ๒๕๕๙ โดย

140 กำ�เนดิ การชำ�ระคา่ ปรบั
จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววินคิด

ท่ีผ่านมาเห็นว่ามีประชาชนส่วนใหญ่ไม่มาช�ำระค่าปรับตาม
ระยะเวลาทกี่ ำ� หนด และมใี บสง่ั คา้ งเกา่ จำ� นวนมาก หากประชาชน
ทา่ นใดทย่ี งั ไมไ่ ดม้ าชำ� ระคา่ ปรบั สามารถนำ� ใบสง่ั มาจา่ ยคา่ ปรบั
ไดใ้ นราคา ๑๐๐ บาทราคาเดยี วเทา่ นนั้ รวมถงึ จะมกี ารทำ� หนงั สอื
พนั ธะสัญญาระหวา่ งผทู้ ่ีกระท�ำกฎหมาย (MOU) โดยมขี ้อตกลง
กันว่าจะไมก่ ระท�ำความผิดในครัง้ ตอ่ ไปอกี ด้วย

“ประชาชนจำ� นวนไมน่ อ้ ยไมม่ าเสยี คา่ ปรบั และบางคนใช้
วธิ ีการแจ้งความว่าใบขับขห่ี าย เพอื่ ไปขอใหม่ ซ่ึงจะทำ� ให้ไปเพมิ่
ความผิดกรณีแจง้ ความเท็จตอ่ พนักงานสอบสวน ซึ่งมโี ทษจ�ำคุก
ดังนั้นจึงเป็นข้อห่วงใย เพราะจากความผิดเล็กๆ น้อยๆ จากแค่
ปรบั กลายเปน็ โทษจำ� คกุ ๓ เดอื นถา้ แจง้ ความเทจ็ ” รกั ษาราชการ
แทน ผบช.น.กล่าว

ส�ำหรับโครงการนี้ จะมีระยะเวลาด�ำเนินการต้ังแต่
วันท่ี ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ถงึ วนั ที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๕๙ และ
จะด�ำเนินการได้เฉพาะในความผิดที่ก�ำหนดโทษปรับไว้
ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ บาทเทา่ นน้ั อาทิ ข้อหาไมส่ วมหมวกนริ ภัย,
อุปกรณ์ส่วนควบไม่ครบ, ไม่พกใบอนุญาตขับขี่, ไม่คาด
เข็มขัดนิรภัย ซ่ึงข้อหาเหล่าน้ีเป็นข้อหาท่ีไม่ได้ก่อให้เกิด
ความเดือดร้อนแกส่ ว่ นรวม

“ขอ้ หาทเ่ี กย่ี วกบั ความเดอื ดรอ้ นของประชาชน เชน่ จอดรถ
กดี ขวางทาง ขับรถอนั ตรายนา่ หวาดเสยี ว ขับรถขณะมนึ เมาสุรา

141กำ�เนิดการชำ�ระค่าปรับ

จากการกระทำ�ผิดตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลดิ นาวนิ

ซง่ึ ข้อหาเหล่านีก้ อ่ ให้เกิดอนั ตราย และมอี ตั ราโทษอยู่แล้ว ๔๐๐
บาทขน้ึ ไป อนั นล้ี า้ งไมไ่ ด้ เพราะเปน็ ผลของกฎหมาย แตถ่ า้ ความ
ผิดเล็กๆ น้อยๆ เช่น ไม่มีใบขับขี่ ไม่สวมหมวกนิรภัย ไม่คาด
เขม็ ขดั นริ ภยั ไมพ่ กสมดุ คมู่ อื คนทโ่ี ดนยดึ ใบขบั ขไ่ี วแ้ ลว้ ไมม่ าเสยี
ค่าปรับก็จะเป็นปัญหา เราเลยเห็นว่าจะให้เสียค่าปรับน้อยลง”
พล.ต.ท.ศานิตย์ กล่าว

พรอ้ มระบวุ า่ โครงการดงั กลา่ วไดเ้ รม่ิ ทดลองใชเ้ ปน็ ครงั้ แรก
ที่ สน.ล�ำผักชี ซึ่งได้รับการตอบรับที่ดีมาก โดยจากยอดที่ผู้ขับข่ี
ไม่มาช�ำระค่าปรับประมาณ ๒ พันคนนั้น ขณะนี้เริ่มทยอยมา
ชำ� ระคา่ ปรบั ๒๐๐-๓๐๐ คนแลว้ อยา่ งไรกด็ ี หากโครงการนไ้ี ดร้ บั
การตอบรับท่ีดี หรือมีเสียงเรียกร้องจากประชาชนให้ขยายเวลา
ออกไปอีก ทาง บช.น.ก็จะมีการพิจารณาความเหมาะสมอกี ครง้ั



142 กำ�เนดิ การชำ�ระคา่ ปรบั
จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววินคิด

๔. ก�ำหนดแบบใบส่ังของเจ้าพนักงานจราจรให้มี
ความชัดเจนมากยิ่งข้ึนกล่าวคือให้ระบุข้อหาหรือฐานความ
ผดิ ตามกฎหมายจราจรไวใ้ นใบสั่งท้งั หมดหรอื อย่างน้อยให้
มากกว่าในปจั จุบนั

วิวัฒนาการ
ใบส่งั จราจรแบบใหม่ “เพิม่ ชอ่ งปฏิเสธขอ้ กล่าวหา” ผู้ขบั ข่ี
มีสทิ ธปิ ฏิเสธรบั ใบสง่ั

ภาพประกอบและเนอื้ ข่าวโดย MGR Online

143กำ�เนดิ การชำ�ระคา่ ปรบั

จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลุกากฤหษลายมแงนควคลิดนาวิน

ใบสั่งจราจรแบบใหม่ “เพมิ่ ช่องปฏเิ สธขอ้ กลา่ วหา” ผู้ขบั ข่ี
มสี ทิ ธปิ ฏเิ สธใบสง่ั หากไมไ่ ดก้ ระทำ� ผดิ แตก่ ลบั ไดร้ บั ใบสง่ั เปดิ ชอ่ ง
สามารถยน่ื โตแ้ ยง้ ไดภ้ ายใน ๑๕ วนั เผยมี ๒ แบบ “เขยี นดว้ ยมอื ”
และ “ทางไปรษณีย์” แต่ให้เปลี่ยนระบบส่ง ให้ท้ัง ๒ แบบมี
“บาร์โคด้ ” เพอื่ ใชใ้ นการตรวจสอบและช�ำระคา่ ปรบั

ภายหลังเว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ข้อก�ำหนด
เจ้าพนักงานจราจรท่ัวราชอาณาจักร เร่ืองก�ำหนดแบบใบสั่ง
ของเจ้าพนักงานจราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ และใบรับแทน
ใบอนุญาตขับข่ี (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๐ ลงนามโดย พล.ต.อ.
จกั รทพิ ย์ ชยั จนิ ดา ผบู้ ญั ชาการตำ� รวจแหง่ ชาติ เจา้ พนกั งานจราจร
ทวั่ ราชอาณาจกั ร ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ โดย
ก�ำหนดแบบใบสั่งของเจ้าพนักงานจราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าที่
และใบรบั แทนใบอนญุ าตขับขไ่ี วน้ น้ั

ล่าสุด มีรายงานว่า ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติได้ท�ำการ
พิมพ์ออกมาแล้วเพื่อเตรียมส่งให้สถานีต�ำรวจท่ัวประเทศ โดย
ใบส่งั ท่มี ีการเปล่ียนแปลง ๒ รปู แบบ คือ

๑. ใบสั่งแบบที่เขียนด้วยมือ “มีการใส่บาร์โค้ด” เพ่ิมเพ่ือ
ใช้ในการตรวจสอบ รวมถึงใช้ในการช�ำระค่าปรับผ่านเคาน์เตอร์
ธนาคารกรุงไทย มีการใส่ช่องบันทึกข้อมูลเจ้าหน้าที่ผู้จับกุม
ให้มีความละเอยี ดมากขน้ึ มกี ารใส่ค�ำเตอื น รวมถงึ ระเบยี บ
ปฏิบัติท่ีด้านหลัง เพ่ือให้ประชาชนที่ได้รับใบส่ังอ่านเพ่ือ

144 กำ�เนิดการชำ�ระคา่ ปรับ
จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคดิ

ทำ� ความเขา้ ใจ และยงั มี การเพม่ิ ชอ่ งการปฏเิ สธการรบั ทราบ
ขอ้ กลา่ วหา หรอื ปฏเิ สธ ใบสง่ั กรณที ไี่ มไ่ ดก้ ระทำ� ผดิ แตไ่ ดร้ บั
ใบสงั่ สามารถยนื่ โตแ้ ย้งไดภ้ ายใน ๑๕ วัน เพ่อื ใหพ้ นกั งาน
สอบสวนเจา้ หนา้ ทพ่ี ืน้ ท่ีพจิ ารณา และตัดสินในขอ้ เทจ็ จริง

๒. ใบสั่งท่ีส่งทางไปรษณีย์ มีการปรับเปล่ียนรูปแบบ
ใหม่เพื่อให้มีช่องในการกรอกข้อมูลที่ง่ายต่อการด�ำเนินการ
รวมถึงมีบาร์โค้ดเพื่อใช้ในการตรวจสอบและช�ำระค่าปรับ
และเพม่ิ ขนาดชอ่ งใสร่ ปู ภาพใหม้ ขี นาดใหญ่ มคี วามชดั เจน
เพิ่มมากขึ้น และในแบบใบส่ังที่ส่งทางไปรษณีย์ มีการเพิ่มช่อง
สรปุ คะแนนการขับขข่ี องผู้ขบั ขี่ ที่จะมีการจัดเกบ็ ในฐานขอ้ มูลใน
ระบบอีกครงั้ โดยใบส่งั สองรูปแบบใหมน่ ี้จะมกี ารเชือ่ มโยงขอ้ มลู
ลงในฐานข้อมูลเพ่ือใช้ในการตรวจสอบสถิติของการกระท�ำผิด
และตรวจสอบการท�ำงานของเจ้าหน้าท่ีจราจร และยังเป็นการ
ป้องกันการเรียกรับผลประโยชน์ของเจ้าหน้าที่จราจรในแต่ละ
พน้ื ทไ่ี ดอ้ ีกดว้ ย

ท้ังนี้ ตามประกาศข้อก�ำหนดเจ้าพนักงานจราจรท่ัวราช
อาณาจักร ใบสั่งของเจ้าพนักงานจราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ี
และใบรบั แทนใบอนญุ าตขบั ขี่ ให้มขี นาดกวา้ ง ๑๔.๕ เซนตเิ มตร
ยาว ๒๗ เซนติเมตร มชี ดุ ละ ๔ แผ่น มสี ี และวัตถุประสงค์ส�ำหรับ
การใช้งานแตกตา่ งกันไป ดงั น้ี

145กำ�เนดิ การชำ�ระค่าปรับ

จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลกุากฤหษลายมแงนควคลิดนาวนิ

(ก) แผน่ ที่ ๑ เปน็ สขี าว ใชส้ ำ� หรบั ใหก้ บั ผขู้ บั ขหี่ รอื ตดิ ไวท้ ร่ี ถ
(ข) แผ่นที่ ๒ เป็นสีเหลือง ใช้ส�ำหรบั สง่ ใหห้ น่วยทม่ี ีอ�ำนาจ
หนา้ ทเี่ ปรยี บเทยี บปรบั คดจี ราจรเพอื่ ทำ� การบนั ทกึ ขอ้ มลู ใบสง่ั ใน
เคร่ืองคอมพิวเตอร์ของระบบสารสนเทศกลางที่เช่ือมโยงข้อมูล
ของส�ำนักงานตำ� รวจแหง่ ชาติ
(ค) แผ่นที่ ๓ เป็นสีชมพู ใช้ส�ำหรับมอบให้พนักงาน
สอบสวน
(ง) แผ่นที่ ๔ เป็นสีฟ้า ใช้ส�ำหรับเป็นสำ� เนาคู่ฉบับเก็บไว้
เป็นหลักฐานส�ำหรบั ผูอ้ อกใบส่งั ”

146 กำ�เนดิ การชำ�ระคา่ ปรบั
จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

อุกฤษหลมากงหคลลายนแานววินคิด

147กำ�เนิดการชำ�ระคา่ ปรบั

จากการกระทำ�ผิดตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลุกากฤหษลายมแงนควคลิดนาวิน

๕. ควรเพ่ิมช่องทางหรือวิธีการในการช�ำระค่าปรับ
จราจรให้มากข้ึนและมีความสะดวกมากยิ่งขึ้นเช่นการ
ก�ำหนดให้ช�ำระค่าปรับจราจรได้ตามร้านสะดวกซื้อต่าง ๆ
หรือตามเคานเ์ ตอร์เซอร์วิสเปน็ ตน้

ววิ ัฒนาการ
ปัจจุบัน มีช่องทางมากมายให้คุณเลือกช�ำระค่าปรับ
จราจรได้งา่ ย ๆ ตามความสะดวก
ทัง้ ตามมินิมาร์ท ห้างสรรพสนิ ค้าใกลบ้ ้าน และชำ� ระ
ค่าปรับแบบออนไลน์ ดังนี้ (ภาพประกอบและเนื้อข่าวโดย
www.khaorot.com)
๑. เคาน์เตอร์เซอร์วิส (Counter Service) ทุกสาขาที่
เซเวน่ -อเี ลฟเว่น

เคานเ์ ตอร์เซอร์วิส (Counter Service)

148 กำ�เนดิ การชำ�ระค่าปรับ
จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

อกุ ฤษหลมากงหคลลายนแานววนิคิด

๒. CenPay ท่ีมีอยู่ในเซ็นทรัล, Tops, แฟมิลี่ มาร์ท,
โรบนิ สนั , B2S, ไทวสั ด,ุ HomeWork, Power Buy และ Super
Sports

CenPay

๓. ธนาคารกรงุ ไทย ผา่ นชอ่ งทางออนไลนใ์ นแอปพลเิ คชนั
KTB NETBANK, ตู้ ATM และ เคาเตอร์ทกุ สาขา

ธนาคารกรงุ ไทย

149กำ�เนิดการชำ�ระค่าปรบั

จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก

หอลุกากฤหษลายมแงนควคลิดนาวิน

๔. ท่ีท�ำการไปรษณีย์ หรือจุดที่มีสัญลักษณ์ PTM ท่ัว
ประเทศ

ทท่ี �ำการไปรษณีย์

ถ้าไม่จา่ ยคา่ ปรบั จะเปน็ อย่างไร?
ชำ� ระภาษีประจ�ำปีไม่ได้

150 กำ�เนดิ การชำ�ระค่าปรบั
จากการกระทำ�ผดิ ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก


Click to View FlipBook Version