The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ ป.5 เทอม2-2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nittaya Mongkonbut, 2024-01-02 01:29:28

โครงสร้างและแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ ป.5 เทอม2-2566

โครงสร้างและแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ ป.5 เทอม2-2566

โครงสร้าง และแผนการจัดการเรียนรู้ กล ่ ม ุ สาระการเร ี ยนร ้ ค ู ณ ิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่5 แผนกประถมศึกษา โรงเร ี ยนขจรเก ี ยรต ิโคกกลอย ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2566-2568


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 4 บัญญัติ ไตรยางศ์ เตรียม ความ พร้อม การแก้โจทย์ ปัญหาโดยใช้ บัญญัติไตรยางศ์ มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลาย ของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการ ดำเนินการสมบัติของ การดำเนินการและ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/2 แสดงวิธีหาคำตอบของ โจทย์ปัญหาโดยใช้ บัญญัติไตรยางศ์ โจทย์ปัญหาการคูณและการ หารที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง สิ่งละ 2 จำนวน โดยโจทย์ กำหนดปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ให้ 3 จำนวน ซึ่งเป็นปริมาณ ของสิ่งเดียวกัน 2 จำนวน โดย ใช้บัญญัติไตรยางศ์ การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้ บัญญัติไตรยางศ์ เริ่มจากทำ ความเข้าใจปัญหา วางแผน แก้ปัญหา ดำเนินการตามแผน และตรวจสอบ บรรทัดที่ 1 เขียความสัมพันธ์ ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ตามโจทย์กำหนด จำนวนของ สิ่งที่ต้องการหาไว้ทางขวา บรรทัดที่ 2 หาจำนวนของสิ่ง ที่อยู่ทางขวา โดยให้จำนวน ของ สิ่งที่อยู่ทางซ้ายเป็น 1 หน่วย บรรทัดที่ 3 หาจำนวน ของสิ่งที่อยู่ทางขวาตามที่ โจทย์ต้องการ 1 (ส.1) 3 (ส.1)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 4 บัญญัติ ไตรยางศ์ การแก้โจทย์ ปัญหาโดยใช้ บัญญัติไตรยางศ์ มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลาย ของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการ ดำเนินการสมบัติของ การดำเนินการและ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/2 แสดงวิธีหาคำตอบของ โจทย์ปัญหาโดยใช้ บัญญัติไตรยางศ์ การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้ บัญญัติไตรยางศ์ เริ่มจากทำ ความเข้าใจปัญหา วางแผน แก้ปัญหา ดำเนินการตามแผน และตรวจสอบ บรรทัดที่ 1 เขียความสัมพันธ์ ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ตามโจทย์กำหนด จำนวนของ สิ่งที่ต้องการหาไว้ทางขวา บรรทัดที่ 2 หาจำนวนของสิ่ง ที่อยู่ทางขวา โดยให้จำนวน ของ สิ่งที่อยู่ทางซ้ายเป็น 1 หน่วย บรรทัดที่ 3 หาจำนวน ของสิ่งที่อยู่ทางขวาตามที่ โจทย์ต้องการ 4 (ส.2)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 5 ร้อยละ เตรียม ความพร้อม การอ่านและการ เขียนร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ ร้อยละของ จำนวนนับ มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลาย ของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการ ดำเนินการสมบัติของ การดำเนินการและ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/9 แสดงวิธีหาคำตอบ ของโจทย์ปัญหาร้อยละ ไม่เกิน 2 ขั้นตอน เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 100 สามารถเขียนในรูปร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ร้ อ ย ล ะ ห รื อ เป อ ร์ เซ็ น ต์ สามารถเขียนในรูปเศษส่วน ที่ มีตัวส่วนเป็น 100 เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 100 สามารถเขียนในรูปร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ สามารถเขียนในรูปเศษส่วน ที่ มีตัวส่วนเป็น 100 การหาร้อยละของจำนวนนับ อาจทำได้โดยเขียนร้อยละให้ อยู่ในรูปเศษส่วนที่มีตัวส่วน เป็น 100 แล้วนำไปคูณกับ จำนวนนับนั้น 1 (ส.3) 3 (ส.3) 2 (ส. 4)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 5 ร้อยละ โจทย์ปัญหา โจทย์ปัญหา มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลาย ของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการ ดำเนินการสมบัติของ การดำเนินการและ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/9 แสดงวิธีหาคำตอบ ของโจทย์ปัญหาร้อยละ ไม่เกิน 2 ขั้นตอน การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ เริ่มจากทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการ ตามแผน และตรวจสอบ คำตอบของโจทย์ปัญหาร้อย ละ อาจหาได้โดยเขียนร้อยละ ในรูปเศษส่วน หรือใช้ บัญญัติไตรยางศ์ การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ เริ่มจากทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการ ตามแผน และตรวจสอบ คำตอบของโจทย์ปัญหาร้อย ละ อาจหาได้โดยเขียนร้อยละ ในรูปเศษส่วน หรือใช้ บัญญัติไตรยางศ์ 2 (ส. 4) 1 (ส.5)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 5 ร้อยละ โจทย์ปัญหาการ ลดราคา โจทย์ปัญหากำไร ขาดทุน มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลาย ของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการ ดำเนินการสมบัติของ การดำเนินการและ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/9 แสดงวิธีหาคำตอบ ของโจทย์ปัญหาร้อยละ ไม่เกิน 2 ขั้นตอน การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ เริ่มจากทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการ ตามแผน และตรวจสอบ คำตอบของโจทย์ ปัญหาร้อยละ อาจหาได้โดย เขียนร้อยละในรูปเศษส่วน หรือใช้บัญญัติไตรยางศ์ การลดราคาเป็นร้อย ละหรือเปอร์เซ็นต์ เป็นการ บอกส่วนลด เมื่อเทียบกับ ราคาที่ตั้งไว้ 100 บาท ราคาขายมากกว่าทุน การ ขายจะได้กำไร ซึ่ง กำไร หาได้ จาก ราคาขาย – ทุน ราคาขายน้อยกว่าทุน การขายจะขาดทุน ซึ่ง ขาดทุน หาได้จาก ทุน – ราคาขาย ราคาขายเท่ากับทุน เรียกว่า เท่าทุน 3 (ส.5) 4 (ส.6)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 6 เส้นขนาน เส้นตั้งฉาก เส้นขนาน มุมที่เกิดจาก เส้นตัดขวางตัด เส้นตรงคู่หนึ่ง มุมที่เกิดจาก เส้นตัดขวางตัด เส้นตรงคู่หนึ่ง มาตรฐาน ค. 2.2 เข้าใจและ วิเคราะห์รูป เรขาคณิต สมบัติของ รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และ ทฤษฎีบททาง เรขาคณิต และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/1 สร้างเส้นตรงหรือส่วน ของเส้นตรงให้ขนาน กับเส้นตรงหรือส่วน ของเส้นตรงที่ กำหนดให้ เส้นตรงเส้นหนึ่งที่ลากลงมา ตั้งฉากกับเส้นตรงอีกเส้นหนึ่ง โดยทำมุม 90 องศา เส้นตรง 2 เส้นที่อยู่ บนระนาบเดียวกันจะขนาน กันก็ต่อเมื่อ มีระยะห่างเท่ากัน เสมอ เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่ง ตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้ามุมแย้งมี ขนาดเท่ากัน แล้วเส้นตรงคู่นั้น จะขนานกัน เมื่ อ เส้ น ต ร งเส้ น ห นึ่ งตั ด เส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้ามุมแย้งมี ขนาดเท่ากัน แล้วเส้นตรงคู่นั้น จะขนานกัน 2 (ส.7) 1 (ส.7) 1 (ส.7) 1 (ส.8)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 6 เส้นขนาน สมบัติของเส้น ขนาน สมบัติของเส้น ขนาน การสร้างเส้น ขนานให้มี ระยะห่างตามที่ กำหนด มาตรฐาน ค. 2.2 เข้าใจและ วิเคราะห์รูป เรขาคณิต สมบัติของ รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และ ทฤษฎีบททาง เรขาคณิต และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/1 สร้างเส้นตรงหรือส่วน ของเส้นตรงให้ขนาน กับเส้นตรงหรือส่วน ของเส้นตรงที่ กำหนดให้ เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด เส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้าขนาดของมุม ภายในที่อยู่บนข้างเดียวกัน ของเส้นตัดขวางรวมกันได้ 180° แล้วเส้นตรงคู่นั้นจะ ขนานกัน เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด เส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้าขนาดของมุม ภายในที่อยู่บนข้างเดียวกัน ของเส้นตัดขวางรวมกันได้ 180° แล้วเส้นตรงคู่นั้นจะ ขนานกัน การสร้างเส้นขนานให้มี ระยะห่างตามที่กำหนด มี ขั้นตอนดังนี้ 1 เขียนเส้นตรง 1 เส้น 2 กำหนดจุด 2 จุดบน เส้นตรง แล้วสร้างเส้นตั้งฉาก 2 จุดนั้น ให้มีระยะตามที่ กำหนด 3 เขียนเส้นตรงให้ ผ่านจุดปลายของเส้นตั้งฉาก ทั้งสองเส้น จะได้เส้นขนานที่มี ระยะห่างตามที่กำหนด 3 (ส.8) 1 (ส.9) 1 (ส.9)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 6 เส้นขนาน การสร้างเส้น ขนานโดยสร้าง มุมแย้งให้มี ขนาดเท่ากัน การสร้างเส้น ขนานโดยอาศัย มุมภายในที่อยู่บน ข้างเดียวกันของ เส้นตัดขวาง รวมกันได้ 180° มาตรฐาน ค. 2.2 เข้าใจและ วิเคราะห์รูป เรขาคณิต สมบัติของ รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และ ทฤษฎีบททาง เรขาคณิต และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/1 สร้างเส้นตรงหรือส่วน ของเส้นตรงให้ขนาน กับเส้นตรงหรือส่วน ของเส้นตรงที่ กำหนดให้ วิธีการสร้างมุมแย้งให้มีขนาด เท่ากัน 1 เขียนเส้นตรงให้ ผ่านจุดที่กำหนดและตัดกับ เส้นตรงที่กำหนด 2 ให้จุดที่ กำหนดเป็นจุดยอดมุม แล้ว สร้างมุมแย้งให้มีขนาดเท่ากัน 3 เขียนเส้นตรงอีกเส้นหให้ ผ่านจุดที่กำหนด ให้ทับแขน ของมุม ซึ่งเป็นแขนที่ขนาน กับเส้นตรงที่กำหนดจะได้เส้น ขนานตามต้องการ การสร้างเส้นขนานที่อยู่บน ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง รวมกันได้ 180° 1 เขียนเส้นตรงให้ผ่านจุดที่ กำหนดและตัดกัน 2 ให้จุดที่กำหนดเป็นจุดยอด มุม แล้วสร้างมุมภายในให้ รวมกันได้ 180° 3 เขียนเส้นตรงอีกเส้นหนึ่งให้ ผ่านจุดที่กำหนดให้ทับกับแขน ของมุม ซึ่งเป็นแขน2 คู่ เส้น ทแยงมุมแบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน 1 (ส.9) 1 (ส.9) ประเมินวัดผลสัมฤทธิ์ กลางภาคเรียนที่ 2 ส.10


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 7 รูป สี่เหลี่ยม ชนิดและสมบัติ ของรูปสี่เหลี่ยม มาตรฐาน ค. 2.2 เข้าใจและ วิเคราะห์รูป เรขาคณิต สมบัติของ รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และ ทฤษฎีบททาง เรขาคณิต และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/2 จำแนกรูปสี่เหลี่ยม โดยพิจารณาจาก สมบัติของรูป รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เป็นรูป สี่เหลี่ยมที่มีมุมทุกมุมเป็นมุม ฉาก ด้านทุกด้านยาวเท่ากัน ด้านตรงข้ามขนาน กัน 2 คู่ เส้นทแยงมุม ยาว เท่ากัน แบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน และตัดกันเป็นมุมฉาก รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เป็นรูป สี่เหลี่ยมที่มีมุมทุกมุมเป็นมุม ฉาก ด้านตรงข้ามยาวเท่ากัน และขนานกัน 2 คู่ด้านที่อยู่ ติดกันยาวไม่เท่ากัน เส้นทแยง มุมยาวเท่ากัน และแบ่งครึ่งซึ่ง กันและกัน รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน เป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมทุกมุม ไม่เป็นมุมฉาก มุมที่อยู่ตรง ข้ามกันมีขนาดเท่ากัน ด้านทุก ด้านยาวเท่ากัน ด้านตรงข้าม ขนานกัน 2 คู่ เส้นทแยงมุม แบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน และตัด กันเป็นมุมฉาก


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 7 รูป สี่เหลี่ยม การสร้างรูป สี่เหลี่ยมเมื่อ กำหนดความยาว ของด้านและ ขนาดของมุม มาตรฐาน ค. 2.2 เข้าใจและ วิเคราะห์รูป เรขาคณิต สมบัติของ รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และ ทฤษฎีบททาง เรขาคณิต และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/2 จำแนกรูปสี่เหลี่ยม โดยพิจารณาจาก สมบัติของรูป รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน เป็น รูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมที่อยู่ตรง ข้ามกัน มีขนาดเท่ากัน ด้าน ตรงข้ามยาวเท่ากันและขนาน กัน 2 คู่ เส้นทแยงมุมแบ่งครึ่ง ซึ่งกันและกัน รูปสี่เหลี่ยมคางหมูเป็นรูป สี่เหลี่ยมที่มีด้านขนานกัน 1 คู่ รูปสี่เหลี่ยมรูปว่าว เป็นรูป สี่เหลี่ยมที่มีมุมที่อยู่ตรงข้าม กันมีขนาด เท่ากัน 1 คู่และ ด้านที่อยู่ติดกันยาวเท่ากัน 2 คู่ เส้นทแยงมุม ตัดกันเป็นมุม ฉาก และมีเส้นทแยงมุมเพียง เส้นเดียวที่ถูกแบ่งครึ่ง ด้วย เส้นทแยงมุมอีกเส้นหนึ่ง การสร้างรูปสี่เหลี่ยม เป็นการ สร้างตามลักษณะหรือสมบัติ ของรูปสี่เหลี่ยมแต่ละชนิด ซึ่ง ต้องอาศัยทักษะการวัดความ ยาว การใช้โพรแทรกเตอร์ หรือวงเวียน 2 (ส.11) 2 (ส.11)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 7 รูป สี่เหลี่ยม การสร้างรูป สี่เหลี่ยมเมื่อ กำหนดความยาว ของด้านและ ขนาดของมุม การสร้างรูป สี่เหลี่ยมเมื่อ กำหนดความยาว ความยาวของเส้น ทแยงมุม พื้นที่ของรูป สี่เหลี่ยมด้าน ขนาน มาตรฐาน ค. 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ การวัด วัดและ คาดคะเนขนาดของสิ่ง ที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/3 สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิด ต่าง ๆ เมื่อกำหนด ความยาวของด้าน และขนาดของมุม หรือ เมื่อกำหนดความยาว ของเส้นทแยงมุม ตัวชี้วัด ป.5/4 แสดง วิธีหาคำตอบของโจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับความ ยาวรอบรูปของรูป สี่เหลี่ยม และพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน และรูปสี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน การสร้างรูปสี่เหลี่ยม เป็นการสร้างตามลักษณะหรือ สมบัติของรูปสี่เหลี่ยมแต่ละ ชนิด ซึ่งต้องอาศัยทักษะการ วัดความยาว การใช้โพร แทรกเตอร์หรือวงเวียน การสร้างรูปสี่เหลี่ยม เป็นการสร้างตามลักษณะหรือ สมบัติของรูปสี่เหลี่ยมแต่ละ ชนิด ซึ่งต้องอาศัยทักษะการ วัดความยาว การใช้โพร แทรกเตอร์หรือวงเวียน รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน เป็นรูป สี่เหลี่ยมที่มีมุมที่อยู่ตรงข้าม กัน มีขนาดเท่ากัน ด้านตรง ข้ามยาวเท่ากันและขนานกัน 2 คู่ เส้นทแยงมุมแบ่งครึ่งซึ่ง กันและกัน พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ด้านขนาน = ความสูง × ความยาวของฐาน 1 (ส.12) 2 (ส.12) 1 (ส.12)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 7 รูป สี่เหลี่ยม พื้นที่ของรูป สี่เหลี่ยมด้าน ขนาน พื้นที่ของรูป สี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน มาตรฐาน ค. 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ การวัด วัดและ คาดคะเนขนาดของสิ่ง ที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/4 แสดง วิธีหาคำตอบของโจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับความ ยาวรอบรูปของรูป สี่เหลี่ยม และพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน และรูปสี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน เป็นรูป สี่เหลี่ยมที่มีมุมที่อยู่ตรงข้าม กัน มีขนาดเท่ากัน ด้านตรง ข้ามยาวเท่ากันและขนานกัน 2 คู่ เส้นทแยงมุมแบ่งครึ่งซึ่ง กันและกัน พื้นที่ของรูป สี่เหลี่ยมด้านขนาน = ความสูง × ความยาวของฐาน รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน เป็น รูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมทุกมุมไม่ เป็นมุมฉาก มุมที่อยู่ตรงข้าม กันมีขนาดเท่ากัน ด้านทุกด้าน ยาวเท่ากัน ด้านตรงข้ามขนาน กัน 2 คู่ เส้นทแยงมุมแบ่งครึ่ง ซึ่งกันและกัน และตัดกันเป็น มุมฉาก พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ขนมเปียกปูน= ความสูง × ความยาวของฐาน 1 (ส.13) 2 (ส.13)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 7 รูป สี่เหลี่ยม พื้นที่ของรูปหลาย เหลี่ยม มาตรฐาน ค. 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ การวัด วัดและ คาดคะเนขนาดของสิ่ง ที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/4 แสดง วิธีหาคำตอบของโจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับความ ยาวรอบรูปของรูป สี่เหลี่ยม และพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน และรูปสี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน เป็น รูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมที่อยู่ตรง ข้ามกัน มีขนาดเท่ากัน ด้าน ตรงข้ามยาวเท่ากันและขนาน กัน 2 คู่ เส้นทแยงมุมแบ่งครึ่ง ซึ่งกันและกัน รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียก ปูน เป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมทุก มุมไม่เป็นมุมฉาก มุมที่อยู่ตรง ข้ามกันมีขนาดเท่ากัน ด้านทุก ด้านยาวเท่ากัน ด้านตรงข้าม ขนานกัน 2 คู่ เส้นทแยงมุม แบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน และตัด กันเป็นมุมฉาก พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้าน ขนาน = ความสูง × ความยาว ของฐาน พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน = ความสูง × ความ ยาวของฐาน 1 (ส.13)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 7 รูป สี่เหลี่ยม ความยาวรอบรูป ของรูปสี่เหลี่ยม โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยมด้าน ขนาน โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยมด้าน ขนาน มาตรฐาน ค. 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ การวัด วัดและ คาดคะเนขนาดของสิ่ง ที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/4 แสดง วิธีหาคำตอบของโจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับความ ยาวรอบรูปของรูป สี่เหลี่ยม และพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน และรูปสี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ความยาวรอบรูปของรูป สี่เหลี่ยมอาจใช้กระบวนการ แก้ปัญหาตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ทำความเข้าใจปัญหา ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา ขั้นที่ 3 ดำเนินการตามแผน ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ความยาวรอบรูปของรูป สี่เหลี่ยมอาจใช้กระบวนการ แก้ปัญหาตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ทำความเข้าใจปัญหา ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา ขั้นที่ 3 ดำเนินการตามแผน ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ความยาวรอบรูปของรูป สี่เหลี่ยมอาจใช้กระบวนการ แก้ปัญหาตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ทำความเข้าใจปัญหา ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา ขั้นที่ 3 ดำเนินการตามแผน ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ 2 (ส.14) 2 (ส.14) 1 (ส.15)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 7 รูป สี่เหลี่ยม โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน มาตรฐาน ค. 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ การวัด วัดและ คาดคะเนขนาดของสิ่ง ที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/4 แสดง วิธีหาคำตอบของโจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับความ ยาวรอบรูปของรูป สี่เหลี่ยม และพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน และรูปสี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน อาจใช้กระบวนการ แก้ปัญหาตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ทำความเข้าใจปัญหา ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา ขั้นที่ 3 ดำเนินการตามแผน ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน = ความยาวฐาน × ความสูง 3 (ส.15)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 8 ปริมาตร และความ จุของทรง สี่เหลี่ยม มุมฉาก รูปเรขาคณิตสอง มิติ และรูป เรขาคณิตสามมิติ ปริซึม มาตรฐาน ค. 2.2 เข้าใจและ วิเคราะห์รูป เรขาคณิต สมบัติของ รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และ ทฤษฎีบททาง เรขาคณิต และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/4 บอกลักษณะของปริซึม ปริซึมเป็นรูป เรขาคณิตสามมิติ ทรงตัน มี หน้าตัดหรือฐาน 2 หน้า อยู่ บนระนาบที่ขนานกัน และ หน้าตัดหรือฐานเป็นรูปหลาย เหลี่ยม ที่เท่ากันทุกประการ หน้าข้างเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้าน ขนาน ปริซึมเป็นรูปเรขาคณิตสาม มิติ ทรงตัน มีหน้าตัดหรือฐาน 2 หน้า อยู่บนระนาบที่ขนาน กัน และหน้าตัดหรือฐานเป็น รูปหลายเหลี่ยมที่เท่ากันทุก ประการ หน้าข้างเป็นรูป สี่เหลี่ยมด้านขนาน ชนิดของ ปริซึมจำแนกตามรูปหลาย เหลี่ยมที่เป็นหน้าตัดหรือฐาน ปริซึมสี่เหลี่ยมที่มีหน้าทุกหน้า เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เรียกว่า ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ปริซึมสี่เหลี่ยมหรือทรง สี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีหน้าทุก หน้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เรียกว่าลูกบาศก์ 2 (ส.16) 1 (ส.16)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 8 ปริมาตร และความ จุของทรง สี่เหลี่ยม มุมฉาก ทรงสี่เหลี่ยม มุมฉาก หน่วยของ ปริมาตรและการ หาปริมาตร มาตรฐาน ค. 2.2 เข้าใจและ วิเคราะห์รูป เรขาคณิต สมบัติของ รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และ ทฤษฎีบททาง เรขาคณิต และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/4 บอกลักษณะของปริซึม ตัวชี้วัด ป.5/3 แสดงวิธีหาคำตอบของ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ปริมาตรของทรง สี่เหลี่ยม มุมฉากและ ความจุของ ภาชนะ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ปริซึมเป็นรูปเรขาคณิตสาม มิติ ทรงตัน มีหน้าตัดหรือฐาน 2 หน้า อยู่บนระนาบที่ขนาน กัน และหน้าตัดหรือฐานเป็น รูปหลายเหลี่ยมที่เท่ากันทุก ประการ หน้าข้างเป็นรูป สี่เหลี่ยมด้านขนาน ชนิดของปริซึมจำแนกตามรูป หลายเหลี่ยมที่เป็นหน้าตัด หรือฐาน ปริซึมสี่เหลี่ยมที่มีหน้าทุกหน้า เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เรียกว่า ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ปริซึมสี่เหลี่ยมหรือ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีหน้า ทุกหน้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เรียกว่าลูกบาศก์ ลูกบาศก์ที่เป็นทรงตัน ที่ มีความกว้าง ความยาว และ ความสูง ด้านละ 1 หน่วย มี ปริมาตร 1 ลูกบาศก์หน่วย ลูกบาศก์ที่เป็นทรงตัน ที่มี ความกว้าง ความยาว และ ความสูง ด้านละ 1 เซนติเมตร 1 (ส.16) 1 (ส.17)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 8 ปริมาตร และความ จุของทรง สี่เหลี่ยม มุมฉาก หน่วยของ ปริมาตรและการ หาปริมาตร การหาปริมาตร ทรงสี่เหลี่ยมมุม ฉาก การหาความจุทรง สี่เหลี่ยมมุมฉาก มาตรฐาน ค. 2.2 เข้าใจและ วิเคราะห์รูป เรขาคณิต สมบัติของ รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และ ทฤษฎีบททาง เรขาคณิต และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/3 แสดงวิธีหาคำตอบของ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ปริมาตรของทรง สี่เหลี่ยม มุมฉากและ ความจุของ ภาชนะ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์ เซนติเมตร ลูกบาศก์ที่เป็นทรง ตัน ที่มีความกว้าง ความยาว และความสูง ด้านละ 1 เมตร มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุม ฉาก = ความกว้าง × ความ ยาว × ความสูง หรือ ปริมาตร ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = พื้นที่ฐาน × ความสูง การหาความจุของภาชนะทรง สี่เหลี่ยมมุมฉากเป็นการหา ปริมาตรภายในของภาชนะนั้น ความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุม ฉาก = ความกว้าง × ความ ยาว × ความสูง หรือ ความจุ ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = พื้นที่ฐาน × ความสูง 1 (ส.17) 2 (ส.17) 1 (ส.17)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 8 ปริมาตร และความ จุของทรง สี่เหลี่ยม มุมฉาก ความสัมพันธ์ ระหว่างหน่วย ปริมาตร หรือ หน่วยความจุ โจทย์ปัญหา ปริมาตรและ ความจุ มาตรฐาน ค. 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ การวัด วัดและ คาดคะเนขนาดของสิ่ง ที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/3 แสดงวิธีหาคำตอบของ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ปริมาตรของทรง สี่เหลี่ยม มุมฉากและ ความจุของ ภาชนะ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก 1 ลิตร เท่ากับ 1,000 มิลลิลิตร 1 ลิตร เท่ากับ 1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร เท่ากับ 1 มิลลิลิตร 1 ลูกบาศก์เมตร เท่ากับ 1,000 ลิตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุม ฉากและความจุของ ภาชนะ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก เริ่มจาก ทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการ ตามแผน และตรวจสอบ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุม ฉาก = ความกว้าง × ความ ยาว × ความสูง หรือ พื้นที่ ฐาน × ความสูง 1 (ส.18) 3 (ส.18)


โครงสร้างการสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 80 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน 8 ปริมาตร และความ จุของทรง สี่เหลี่ยม มุมฉาก โจทย์ปัญหา ปริมาตรและ ความจุ มาตรฐาน ค. 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ การวัด วัดและ คาดคะเนขนาดของสิ่ง ที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/3 แสดงวิธีหาคำตอบของ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ปริมาตรของทรง สี่เหลี่ยม มุมฉากและ ความจุของ ภาชนะ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุม ฉากและความจุของ ภาชนะ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก เริ่มจาก ทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการ ตามแผน และตรวจสอบ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุม ฉาก = ความกว้าง × ความ ยาว × ความสูง หรือ พื้นที่ ฐาน × ความสูง 4 (ส.19) ประเมินวัดผลสัมฤทธิ์ ปลายภาคเรียนที่ 2 ส.20


สัปดาห์ที่ 1 โรงเรียนขจรเกียรติพัฒนา แผนจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ ...............2/2566.......................ชื่อผู้สอน........................................................................ กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร์...........ชั้น...........ประถมศึกษาปีที่.......5....... จำนวน...........1……….คาบ หน่วยการเรียนที่.........4................เรื่อง........................บัญญัติไตรยางศ์..(เตรียมความพร้อม)............ 1 . มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้น จากการดำเนินการสมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/2 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 2 .สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด โจทย์ปัญหาการคูณและการหารที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง สิ่งละ 2 จำนวน โดยโจทย์ กำหนดปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ให้ 3 จำนวน ซึ่งเป็นปริมาณของสิ่งเดียวกัน 2 จำนวน และเป็นปริมาณของอีกสิ่งหนึ่ง 1 จำนวน อาจหาปริมาณของอีกสิ่งหนึ่ง อีก 1 จำนวนได้ โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) จำแนกโจทย์ปัญหาที่ใช้การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ได้ (K) 2) วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้ (P) 3) รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ใช้ข้อมูลหน้าเปิดบทซึ่งเป็นสถานการณ์เกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าในตลาดเพื่อสร้างความสนใจเกี่ยวกับการเลือก ซื้อสินค้า ที่มีการขายเป็นชิ้น เป็นห่อ เป็นถุง หรือเป็นแพ็ค โดยอาจใช้คำถามกระตุ้นความสนใจ เช่น ไข่ไก่ 1 แพ็ค มี 10 ฟอง ราคา 45 บาท ไข่ไก่ 1 ฟอง ราคาเท่าใด ไข่ไก่ 1 แผง มี 30 ฟอง ราคา 120 บาท ไข่ไก่ 1 ฟอง ราคาเท่าใด ไข่ไก่ 1 จาน มี 4 ฟอง ราคา 20 บาท ไข่ไก่ 1 ฟอง ราคาเท่าใด การขายไข่ไก่ทั้งสามแบบ แบบใดที่ไข่ไก่ 1 ฟอง ราคาถูกที่สุด


ถ้าต้องการซื้อไข่ไก่ 60 ฟอง จะซื้อไข่ไก่แบบใดได้บ้าง และแบบใดที่จ่ายเงินน้อยที่สุด 2. ครูนำตัวอย่างสถานการณ์ที่เหลืออีก 2 ตัวอย่าง มาตั้งเป็นประเด็นคำถามให้นักเรียนตอบซึ่งคำตอบของนักเรียน อาจแตกต่างกัน ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้ 3. เตรียมความพร้อมเป็นการตรวจสอบความรู้พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนบทนี้ โดยอาจจัดกิจกรรม ดังนี้ ทบทวนความรู้เกี่ยวกับการคูณ การหารจำนวนนับและการคูณเศษส่วนกับจำนวนนับ แล้วให้ นักเรียนทำกิจกรรมในหนังสือเรียนหน้า 4 ทบทวนการวิเคราะห์โจทย์และหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการคูณ การหารจำนวนนับเศษส่วนและ ทศนิยม แล้วให้นักเรียนทำกิจกรรมในหนังสือเรียนหน้า 5 ขั้นที่ 3 สรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้ 4. จากนั้นให้ทำแบบฝึกหัด 4.1 เป็นรายบุคคล 6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ (K) -ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน -ตรวจใบงานที่ -แบบทดสอบก่อนเรียน -ใบงานที่ 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน ทักษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียน รายบุคคล -แบบประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) -สังเกตพฤติกรรมในการ ทำงาน -แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน 7. สื่อ/ แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.5 สสวท. 2. แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ป.5 สสวท.


8. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (...........................................................) (...........................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 1 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ ...............2/2566................ชื่อผู้สอน.............................................................................. กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร์...........ชั้น...........ประถมศึกษาปีที่.......5....... จำนวน...........1……….คาบ หน่วยการเรียนที่.........4.........เรื่อง....การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์............................... 1 . มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้น จากการดำเนินการสมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/2 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 2 .สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด โจทย์ปัญหาการคูณและการหารที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง สิ่งละ 2 จำนวน โดยโจทย์กำหนดปริมาณ ของสิ่ง 2 สิ่ง ให้ 3 จำนวน ซึ่งเป็นปริมาณของสิ่งเดียวกัน 2 จำนวน และเป็นปริมาณของอีกสิ่งหนึ่ง 1 จำนวน อาจหา ปริมาณของอีกสิ่งหนึ่ง อีก 1 จำนวนได้ โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) จำแนกโจทย์ปัญหาที่ใช้การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ได้ (K) 2) วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้ (P) 3) รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการหาจำนวนของสิ่งต่าง ๆ 1 หน่วย 2. ครูนำสถานการณ์ปัญหาในหนังสือเรียน หน้า 6 ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาแล้วใช้การถาม-ตอบประกอบการ อธิบายตามขั้นตอนการแก้ปัญหา 3. ครูยกตัวอย่างสถานการณ์เพิ่มเติม เพื่อฝึกทักษะการหาปริมาณของ สิ่งต่าง ๆ 1 หน่วย เช่น - อั๋นขับรถยนต์ระยะทาง 96 กิโลเมตร ใช้น้ำมัน 8 ลิตร น้ำมัน 1 ลิตร รถยนต์จะแล่นได้ระยะทางเท่าใด


- อาหารสุนัข 4 ถุง ใช้เลี้ยงสุนัขได้ 28 มื้อ อาหารสุนัข 1 ถุง ใช้เลี้ยงสุนัขได้กี่มื้อ 4. ครูกระตุ้นโดยตั้งคำถามให้นักเรียนคิด เกี่ยวกับการหาปริมาณที่มากกว่า 1 หน่วย เช่น - อั๋นขับรถยนต์ระยะทาง 96 กิโลเมตร ใช้น้ำมัน 8 ลิตร ถ้ามีน้ำมันเหลืออยู่ 10 ลิตร รถยนต์จะแล่นได้ ระยะทางเท่าใด - อาหารสุนัข 4 ถุง ใช้เลี้ยงสุนัขได้ 28 มื้อ อาหารสุนัข 7 ถุง ใช้เลี้ยงสุนัขได้กี่มื้อ 5. ครูติดแถบประโยคบนกระดาน ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคำตอบว่าจะมีจำนวนมากขึ้นหรือ ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้ 3. เตรียมความพร้อมเป็นการตรวจสอบความรู้พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนบทนี้ โดยอาจจัดกิจกรรม ดังนี้ ทบทวนความรู้เกี่ยวกับการคูณ การหารจำนวนนับและการคูณเศษส่วนกับจำนวนนับ แล้วให้ นักเรียนทำกิจกรรมในหนังสือเรียนหน้า 4 ทบทวนการวิเคราะห์โจทย์และหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการคูณ การหารจำนวนนับเศษส่วนและ ทศนิยม แล้วให้นักเรียนทำกิจกรรมในหนังสือเรียนหน้า 5 น้อยลงกว่าจำนวนที่กำหนดให้ แล้วให้ผู้แทนนักเรียนออกมาเติมคำตอบลงในช่องว่างว่า “มากขึ้น” หรือ “น้อยลง” ดังตัวอย่าง 6. นักเรียนจับคู่กับเพื่อน ครูแจกแถบประโยคให้นักเรียนคู่ละ 1 แผ่น เพื่อให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ว่า คำตอบจะมากขึ้นหรือน้อยลง จากนั้นแต่ละคู่นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนนักเรียนคู่อื่นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ครู เสนอแนะเพิ่มเติม ขั้นที่ 3 สรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้ 7. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายว่า “การคำนวณโจทย์ปัญหาการคูณและการหารต้องทราบว่าสิ่งที่โจทย์ต้องการมีค่ามากขึ้น หรือน้อยลง ถ้ามากขึ้นหาผลคูณ ถ้าน้อยลงหาผลหาร สมุด 8 เล่ม ราคา 96 บาท สมุด 1 เล่ม ราคา (น้อยลง) นทีกระโดดเชือก 10 ครั้ง ใช้เวลา 6 วินาที นทีกระโดดเชือก 20 ครั้งใช้เวลา (มากขึ้น)


6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ (K) - ตรวจแบบฝึกหัด - สังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วม กิจกรรม - แบบฝึกหัด - แบบสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน ทักษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียน รายบุคคล -แบบประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) -สังเกตพฤติกรรมในการ ทำงาน -แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน 7. สื่อ/ แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 2. แบบฝึกคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 3. แถบประโยค 8. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (...........................................................) (...........................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 1 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ ...............2/2566................ชื่อผู้สอน............................................................................ กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร์...........ชั้น...........ประถมศึกษาปีที่.......5....... จำนวน...........1……….คาบ หน่วยการเรียนที่.........4................เรื่อง....การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์................................... 1 . มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้น จากการดำเนินการสมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/2 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 2 .สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด โจทย์ปัญหาการคูณและการหารที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง สิ่งละ 2 จำนวน โดยโจทย์กำหนดปริมาณ ของสิ่ง 2 สิ่ง ให้ 3 จำนวน ซึ่งเป็นปริมาณของสิ่งเดียวกัน 2 จำนวน และเป็นปริมาณของอีกสิ่งหนึ่ง 1 จำนวน อาจหา ปริมาณของอีกสิ่งหนึ่ง อีก 1 จำนวนได้ โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) จำแนกโจทย์ปัญหาที่ใช้การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ได้ (K) 2) วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้ (P) 3) รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ให้นักเรียนทบทวนความรู้เรื่อง โจทย์ปัญหาการคูณและการหารโดยครูวางดินสอ 3 แท่งไว้บนโต๊ะ และกำหนดว่า ดินสอ 3 แท่ง ราคา 15 บาท ครูถามคำถาม ดังนี้ - ดินสอ 3 แท่ง บนโต๊ะราคาเท่าไร (15 บาท) - ดังนั้นดินสอ 1 แท่ง จะมีราคามากขึ้นหรือน้อยลงจากราคา 15 บาท (น้อยลง) - คำนวณดินสอ 1 แท่ง ได้อย่างไร (หาผลหาร) - นั่นคือดินสอ 1 แท่ง ราคาเท่าไร (15 ÷ 3 = 5 บาท)


- ถ้าครูนำดินสอมาวางบนโต๊ะอีก 7 แท่งจะรวมเป็นดินสอบนโต๊ะกี่แท่ง (10 แท่ง) - ดินสอ 10 แท่ง บนโต๊ะราคาเท่าไร (50 บาท)- คำนวณเพื่อหาคำตอบได้อย่างไร (10 × 5 = 50) ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้ 2. ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายสถานการณ์ปัญหาในหนังสือเรียนหน้า 9 เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเขียนแสดง วิธีหาคำตอบ โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์และการพิจารณาความสมเหตุสมผลของคำตอบในหนังสือเรียน หน้า 10 3. ครูติดแถบโจทย์ปัญหาบนกระดาน 4. ให้นักเรียนอ่านโจทย์พร้อมกัน และครูถามคำถามนักเรียน ดังนี้ - โจทย์ปัญหานี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร (ราคาดินสอ) - โจทย์กำหนดอะไร (ดินสอ 5 แท่ง ราคา 40 บาท ต้องการซื้อ 7 แท่ง) - โจทย์ถามอะไร (ดินสอ 7 แท่ง ราคาเท่าไร) - ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่โจทย์กำหนดคืออะไร (ดินสอ 5 แท่ง ราคา 40 บาท) - ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่โจทย์กำหนดกับสิ่งที่โจทย์ต้องการคืออะไร(ดินสอ 7 แท่ง ราคาเท่าไร) 5. ครูเขียนแสดงวิธีหาคำตอบ โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์บนกระดาน ดินสอ 5 แท่ง ราคา 40 บาท ดินสอ 1 แท่ง ราคา 8 บาท ดินสอ 7 แท่ง ราคา 56 บาท 6. ครูติดแถบโจทย์บนกระดานอีก 1 ข้อ แล้วให้ผู้แทนนักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคำตอบ โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์จาก โจทย์ปัญหา


7. ครูติดแถบโจทย์บนกระดาน แล้วให้ผู้แทนนักเรียนออกมาเขียนตัวเลขแทนจำนวนในช่องว่าง ดังตัวอย่าง ขนมโดนัต 6 ชิ้น ราคา 42 บาท ขนมโดนัต 1 ชิ้น ราคา 7 บาท ขนมโดนัต 2 ชิ้น ราคา 14 บาท ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและอภิปรายถึงวิธีการหาคำตอบ 8. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มละ 3-4 คน แจกแถบโจทย์ปัญหาให้นักเรียนกลุ่มละ 1 แถบ แล้วให้เขียนแสดงวิธี หาคำตอบ โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์จากโจทย์ปัญหาพร้อมหาคำตอบ ขั้นที่ 3 สรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้ 9. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายว่า ลักษณะโจทย์ปัญหาบางประเภทเป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างของสอง สิ่ง คู่แรกเป็นความสัมพันธ์จากสิ่งที่โจทย์กำหนดให้ คู่ที่สองเป็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่โจทย์กำหนดให้กับสิ่งที่โจทย์ ต้องการ 6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ (K) - ตรวจแบบฝึกหัด - สังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วม กิจกรรม - แบบฝึกหัด - แบบสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน ทักษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียน รายบุคคล -แบบประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) -สังเกตพฤติกรรมในการ ทำงาน -แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน


7. สื่อ/ แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 2. แบบฝึกคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 3. แถบประโยค 4. แถบโจทย์ปัญหา 8. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (...........................................................) (...........................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 1 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ ...............2/2566................ชื่อผู้สอน........................................................................ กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร์...........ชั้น...........ประถมศึกษาปีที่.......5....... จำนวน...........1……….คาบ หน่วยการเรียนที่.........4................เรื่อง....การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์......................... 1 . มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้น จากการดำเนินการสมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/2 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 2 .สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด โจทย์ปัญหาการคูณและการหารที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง สิ่งละ 2 จำนวน โดยโจทย์ กำหนดปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ให้ 3 จำนวน ซึ่งเป็นปริมาณของสิ่งเดียวกัน 2 จำนวน และเป็นปริมาณของอีกสิ่งหนึ่ง 1 จำนวน อาจหาปริมาณของอีกสิ่งหนึ่ง อีก 1 จำนวนได้ โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ เริ่มจากทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการตามแผน และตรวจสอบ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) จำแนกโจทย์ปัญหาที่ใช้การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ได้ (K) 2) วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้ (P) 3) รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ให้นักเรียนทบทวนความรู้เรื่องโจทย์ปัญหาการคูณและการหาร โดยครูติดแถบโจทย์ปัญหาบนกระดานแล้วให้ผู้แทน นักเรียน 3 คน ออกมาแข่งขันกันสร้างกล่องแสดงความสัมพันธ์ของจำนวนและคิดหาคำตอบ ดังตัวอย่าง


จำนวนสบู่ (ก้อน) ราคา (บาท) ตอบ ๑๑๗ บาท ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้ 2. จากโจทย์ปัญหาครูแนะนำวิธีการเขียนแสดงวิธีทำ ดังนี้ สบู่ 6 ก้อนราคา 78 บาท สบู่ 1 ก้อนราคา 78 ÷ 6 = 13 บาท สบู่ 9 ก้อนราคา 9 × 13 = 117 บาท ตอบ อยู่ ๙ ก้อน ราคา ๑๑๗ บาท 3. ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง 1-3 ในหนังสือเรียนหน้า 11-12 พร้อมวิธีพิจารณาความ สมเหตุสมผลของคำตอบ 4. ครูติดแถบโจทย์ปัญหาบนกระดาน แล้วให้ผู้แทนนักเรียนช่วยกันออกมาเขียนแสดงวิธีทำบนกระดาน อ่านหนังสือ 78 นาที ได้ 12 หน้า อ่านหนังสือ 1 นาที ได้ 12 ÷ 78 = 12 78 หน้า อ่านหนังสือ 299 นาที ได้ 299 × 12 78 = 46 หน้า ตอบ เขาจะอ่านหนังสือได้ ๔๖ หน้า 5. จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมในหนังสือเรียนหน้า 12 แล้วทำแบบฝึกหัด 4.3 เป็นรายบุคคล ขั้นที่ 3 สรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้ 6. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายว่า ขั้นตอนการคิดหาคำตอบจากโจทย์ปัญหาการคูณและการหารมี ดังนี้ การเขียนแสดงวิธีหาคำตอบโดยใช้ บัญญัติไตรยางศ์ ทำได้ ดังนี้ บรรทัดที่ 1 เขียนความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ตามโจทย์กำหนด โดยให้จำนวนของสิ่งที่ต้องการหาไว้ ทางขวา บรรทัดที่ 2 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวา โดยให้จำนวนของ สิ่งที่อยู่ทางซ้ายเป็น 1 หน่วย บรรทัดที่ 3 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวาตามที่โจทย์ต้องการ 6 7 8 9 ? วุฒิชัยใช้เวลาอ่านหนังสือ 78 นาที ได้ 12 หน้า ถ้าวุฒิชัยใช้เวลา 299 นาที เขาจะอ่านหนังสือได้กี่หน้า


6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ (K) - ตรวจแบบฝึกหัด - สังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วม กิจกรรม - แบบฝึกหัด - แบบสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน ทักษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียน รายบุคคล -แบบประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) -สังเกตพฤติกรรมในการ ทำงาน -แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน 7. สื่อ/ แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 2. แบบฝึกคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 3. แถบประโยค 4. แถบโจทย์ปัญหา 8. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (...........................................................) (...........................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 2 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ ...............2/2566................ชื่อผู้สอน........................................................................ กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร์...........ชั้น...........ประถมศึกษาปีที่.......5....... จำนวน...........1……….คาบ หน่วยการเรียนที่.........4................เรื่อง....การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์........................ 1 . มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้น จากการดำเนินการสมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/2 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 2 .สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ เริ่มจากทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการตาม แผน และตรวจสอบ การเขียนแสดงวิธีหาคำตอบโดยใช้ บัญญัติไตรยางศ์ ทำได้ ดังนี้ บรรทัดที่ 1 เขียนความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ตามโจทย์กำหนด โดยให้จำนวนของสิ่งที่ต้องการหาไว้ ทางขวา บรรทัดที่ 2 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวา โดยให้จำนวนของ สิ่งที่อยู่ทางซ้ายเป็น 1 หน่วย บรรทัดที่ 3 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวาตามที่โจทย์ต้องการ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) จำแนกโจทย์ปัญหาที่ใช้การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ได้ (K) 2) วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้ (P) 3) รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ปัญหาในหนังสือเรียนหน้า 13-14 โดยทำความเข้าใจในสิ่งที่โจทย์ถาม และสิ่งที่โจทย์ บอกให้ชัดเจน


ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้ 2. ครูใช้การถาม-ตอบ ประกอบการอธิบาย โดยร่วมกันวิเคราะห์โจทย์ปัญหา เพื่อนำไปสู่การหาคำตอบอย่างเป็น ขั้นตอน 3. จากนั้นครูอธิบายวิธีหาคำตอบเชื่อมโยงไปสู่การหาคำตอบโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์โดยแนะนำให้นักเรียบเรียบ เรียงโจทย์ใหม่ เพื่อให้โจทย์แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่กำหนดให้ชัดเจน และได้ใจความครบถ้วน 4. ครูใช้การถาม-ตอบ ประกอบการอธิบายการเขียนแสดงการแก้ปัญหา โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์หน้า 14 และ ร่วมกัน พิจารณาความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ ขั้นที่ 3 สรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้ 5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายว่า ขั้นตอนการคิดหาคำตอบจากโจทย์ปัญหาการคูณและการหารมี ดังนี้ การเขียนแสดงวิธีหาคำตอบโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ทำได้ดังนี้ บรรทัดที่1 เขียนความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ตามโจทย์กำหนด โดยให้จำนวนของสิ่งที่ต้องการหาไว้ ทางขวา บรรทัดที่ 2 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวา โดยให้จำนวนของ สิ่งที่อยู่ทางซ้ายเป็น 1 หน่วย บรรทัดที่ 3 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวาตามที่โจทย์ต้องการ 6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ (K) - ตรวจแบบฝึกหัด - สังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วม กิจกรรม - แบบฝึกหัด - แบบสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน ทักษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียน รายบุคคล -แบบประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) -สังเกตพฤติกรรมในการ ทำงาน -แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน 7. สื่อ/ แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 2. แบบฝึกคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท.


8. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (...........................................................) (...........................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 2 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ ...............2/2566................ชื่อผู้สอน................................................................. กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร์...........ชั้น...........ประถมศึกษาปีที่.......5....... จำนวน...........1……….คาบ หน่วยการเรียนที่.........4................เรื่อง....การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์................................... 1 . มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้น จากการดำเนินการสมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/2 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 2 .สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ เริ่มจากทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการตามแผน และตรวจสอบ การเขียนแสดงวิธีหาคำตอบโดยใช้ บัญญัติไตรยางศ์ ทำได้ ดังนี้ บรรทัดที่ 1 เขียนความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ตามโจทย์กำหนด โดยให้จำนวนของสิ่งที่ต้องการหาไว้ ทางขวา บรรทัดที่ 2 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวา โดยให้จำนวนของ สิ่งที่อยู่ทางซ้ายเป็น 1 หน่วย บรรทัดที่ 3 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวาตามที่โจทย์ต้องการ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) จำแนกโจทย์ปัญหาที่ใช้การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ได้ (K) 2) วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้ (P) 3) รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูถามคำถามท้าทาย ดังนี้ - นักเรียนเคยนำความรู้เรื่อง โจทย์ปัญหาการคูณ และการหารไปใช้ในชีวิตประจำวันบ้างหรือไม่ ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้ 2. ครูถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่างในหนังสือเรียนหน้า 15 ควรเน้นย้ำให้นักเรียนพิจารณาความ สมเหตุสมผลของคำตอบของโจทย์ปัญหาทุกครั้ง


3. จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมในหนังสือเรียนหน้า 15 แล้วทำแบบฝึกหัด 4.4 เป็นรายบุคคล 4. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน แจกแถบโจทย์ปัญหาให้กลุ่มละ 1 แถบ เพื่อให้นักเรียนช่วยกันแสดง วิธีทำและสรุปคำตอบ 5. จากนั้นผู้แทนกลุ่มออกมานำเสนอผลงาน หน้าชั้นเรียน นักเรียนกลุ่มอื่น ๆ และครูร่วมกันตรวจสอบความ ถูกต้อง ขั้นที่ 3 สรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้ 6. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายว่า ขั้นตอนการคิดหาคำตอบจากโจทย์ปัญหาการคูณและการหารมี ดังนี้ การเขียนแสดงวิธีหาคำตอบโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ทำได้ดังนี้ บรรทัดที่ 1 เขียนความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ตามโจทย์กำหนด โดยให้จำนวนของสิ่งที่ต้องการหาไว้ ทางขวา บรรทัดที่ 2 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวา โดยให้จำนวนของ สิ่งที่อยู่ทางซ้ายเป็น 1 หน่วย บรรทัดที่ 3 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวาตามที่โจทย์ต้องการ 6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ (K) - ตรวจแบบฝึกหัด - สังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วม กิจกรรม - แบบฝึกหัด - แบบสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน ทักษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียน รายบุคคล -แบบประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) -สังเกตพฤติกรรมในการ ทำงาน -แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน 7. สื่อ/ แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 2. แบบฝึกคณิตศาสตร์ป.5 เล่ม 2 สสวท. 3. แถบโจทย์ปัญหา


8. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (...........................................................) (...........................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 2 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ ...............2/2566................ชื่อผู้สอน........................................................................ กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร์...........ชั้น...........ประถมศึกษาปีที่.......5....... จำนวน...........1……….คาบ หน่วยการเรียนที่.........4................เรื่อง....การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์................................... 1 . มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้น จากการดำเนินการสมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/2 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 2 .สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ เริ่มจากทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการตาม แผน และตรวจสอบ การเขียนแสดงวิธีหาคำตอบโดยใช้ บัญญัติไตรยางศ์ ทำได้ ดังนี้ บรรทัดที่ 1 เขียนความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ตามโจทย์กำหนด โดยให้จำนวนของสิ่งที่ต้องการหาไว้ ทางขวา บรรทัดที่ 2 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวา โดยให้จำนวนของ สิ่งที่อยู่ทางซ้ายเป็น 1 หน่วย บรรทัดที่ 3 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวาตามที่โจทย์ต้องการ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) จำแนกโจทย์ปัญหาที่ใช้การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ได้ (K) 2) วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้ (P) 3) รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ให้นักเรียนทบทวนความรู้เดิม โดยช่วยกันยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ในชีวิตประจำวัน ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้ 2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน 3. จากนั้นแต่ละกลุ่มจะได้รับใบโฆษณาราคาสินค้ากลุ่มละ 1 ใบ และให้สร้างโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ พร้อมทั้งแสดงวิธีทำและหาคำตอบ


4. นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 5. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ให้นักเรียนทำกิจกรรมในหนังสือเรียนหน้า 16 เป็นรายบุคคล ขั้นที่ 3 สรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้ 6. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายว่า ขั้นตอนการคิดหาคำตอบจากโจทย์ปัญหาการคูณและการหารมี ดังนี้ การเขียนแสดงวิธีหาคำตอบโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ทำได้ดังนี้ บรรทัดที่ 1 เขียนความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ตามโจทย์กำหนด โดยให้จำนวนของสิ่งที่ต้องการหาไว้ ทางขวา บรรทัดที่ 2 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวา โดยให้จำนวนของ สิ่งที่อยู่ทางซ้ายเป็น 1 หน่วย บรรทัดที่ 3 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวาตามที่โจทย์ต้องการ 6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ (K) - ตรวจแบบฝึกหัด - สังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วม กิจกรรม - แบบฝึกหัด - แบบสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน ทักษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียน รายบุคคล -แบบประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) -สังเกตพฤติกรรมในการ ทำงาน -แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน 7. สื่อ/ แหล่งการเรียนรู้ 4. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 5. แบบฝึกคณิตศาสตร์ป.5 เล่ม 2 สสวท. 6. ใบโฆษณาราคาสินค้า


8. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (...........................................................) (...........................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 2 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ ...............2/2566................ชื่อผู้สอน........................................................................ กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร์...........ชั้น...........ประถมศึกษาปีที่.......5....... จำนวน...........1……….คาบ หน่วยการเรียนที่.........4................เรื่อง....การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์................................... 1 . มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้น จากการดำเนินการสมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/2 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 2 .สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ เริ่มจากทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการตาม แผน และตรวจสอบ การเขียนแสดงวิธีหาคำตอบโดยใช้ บัญญัติไตรยางศ์ ทำได้ ดังนี้ บรรทัดที่ 1 เขียนความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ตามโจทย์กำหนด โดยให้จำนวนของสิ่งที่ต้องการหาไว้ ทางขวา บรรทัดที่ 2 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวา โดยให้จำนวนของ สิ่งที่อยู่ทางซ้ายเป็น 1 หน่วย บรรทัดที่ 3 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวาตามที่โจทย์ต้องการ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) จำแนกโจทย์ปัญหาที่ใช้การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ได้ (K) 2) วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้ (P) 3) รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ให้นักเรียนทบทวนความรู้เดิม โดยช่วยกันยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ในชีวิตประจำวัน ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้ 2. ให้นักเรียนค้นคว้าโจทย์ปัญหาแบบใช้บัญญัติไตรยางศ์ในอินเตอร์เน็ต กลุ่มละ 3 ข้อ 3. ให้นักเรียนช่วยกันแก้โจทย์ปัญหาใช้บัญญัติไตรยางศ์ภายในกลุ่มตนเองลงในกระดาษบรู๊ฟ 4. จากนั้นนำโจทย์ปัญหาของกลุ่มตนเองไปใช้ในการเล่นเกม ทายสิฉันมีค่าเท่าไร


5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มใช้โจทย์ปัญหาที่ค้นคว้ามาออกมาติดบนกระดานให้เพื่อนกลุ่มอื่นๆช่วยกันหาคำตอบ กลุ่ม ใดตอบได้คะแนนสูงสุดเป็นฝ่ายชนะ 6. จากนั้นนำกระดาษบรู๊ฟที่เป็นเฉลย อธิบายให้เพื่อนฟัง ขั้นที่ 3 สรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้ 7. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายว่า ขั้นตอนการคิดหาคำตอบจากโจทย์ปัญหาการคูณและการหารมี ดังนี้ การเขียนแสดงวิธีหาคำตอบโดยใช้ บัญญัติไตรยางศ์ ทำได้ ดังนี้ บรรทัดที่ 1 เขียนความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสิ่ง 2 สิ่ง ตามโจทย์กำหนด โดยให้จำนวนของสิ่งที่ต้องการหาไว้ ทางขวา บรรทัดที่ 2 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวา โดยให้จำนวนของ สิ่งที่อยู่ทางซ้ายเป็น 1 หน่วย บรรทัดที่ 3 หาจำนวนของสิ่งที่อยู่ทางขวาตามที่โจทย์ต้องการ 6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ (K) - ตรวจแบบฝึกหัด - สังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วม กิจกรรม - แบบฝึกหัด - แบบสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน ทักษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียน รายบุคคล -แบบประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) -สังเกตพฤติกรรมในการ ทำงาน -แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน 7. สื่อ/ แหล่งการเรียนรู้ 7. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 8. แบบฝึกคณิตศาสตร์ป.5 เล่ม 2 สสวท. 9. กระดาษบรู๊ฟ


8. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (...........................................................) (...........................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 3 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ ...............2/2566................ชื่อผู้สอน....................................................................... กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร์...........ชั้น...........ประถมศึกษาปีที่.......5....... จำนวน...........1……….คาบ หน่วยการเรียนที่.........6................เรื่อง........................ร้อยละ.............(เตรียมความพร้อม).................. 1 . มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจาก การดำเนินการสมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/9 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละ ไม่เกิน 2 ขั้นตอน 2 .สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 100 สามารถเขียนในรูปร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์สามารถเขียนในรูปเศษส่วน ที่มีตัวส่วนเป็น 100 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ในรูปร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ได้(K) 2) เขียนเศษส่วนที่ใตวส่วนเป็น 100 ในรูปร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ได้ (P) 3) รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การอ่านและการเขียน ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูใช้สถานการณ์หน้าเปิดบทนำสนทนาเกี่ยวกับการแสดงจำนวนในรูปร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์เช่น ❖ คนไทยอ่านหนังสือ 48.4 ล้านคน หมายถึง คนไทยอ่านหนังสือ 48 ล้านคน กับอีก 0.4 ล้านคน ซึ่ง 0.4 ล้าน = 0.4 × 1,000,000 = 400,000 ดังนั้น คนไทยอ่านหนังสือ 48.4 ล้านคน คิดเป็น 48,400,000 คน ❖ คนไทยอ่านหนังสือ 77.7% หมายถึง ถ้าคนไทย 100 คน อ่านหนังสือ 77.7 คน ถ้าคนไทย 1,000 คน จะอ่านหนังสือ 777 คน ดังนั้น มีคนไทยอ่านหนังสือ 77.7% แสดงว่า คนไทย 1,000 คน จะอ่านหนังสือ 777 คน


ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้ 2. จากนั้นครูตั้งคำถามเพิ่มเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิดจากจำนวนอื่นในหน้าเปิด เช่น ❖ คนไทยไม่อ่านหนังสือ 13.9 ล้านคน คิดเป็นกี่คน ❖ คนไทยไม่อ่านหนังสือ 22.3% หมายความว่าอย่างไร ❖ มีคนไทยที่อ่านหนังสือจากที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้านร้อยละ 3 หมายความว่าอย่างไร ❖ ถ้ามีคนไทยอ่านหนังสือ 48,400,000 คน จะมีคนไทยที่อ่านหนังสือจากที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้านกี่คน ขั้นที่ 3 สรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้ 3. ทำแบบฝึกหัด 5.1 เป็นรายบุคคล 6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ (K) -ตรวจแบบฝึกหัด 5.1 -สังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วม กิจกรรม -แบบฝึกหัด 5.1 -แบบสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน ทักษะ/กระบวนการ (P) -ประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียน รายบุคคล -แบบประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) -สังเกตพฤติกรรมในการ ทำงาน -แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน 80% ขึ้นไปถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน 7. สื่อ/ แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.5 สสวท. 2. แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ป.5 สสวท.


8. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (...........................................................) (...........................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 3 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ ...............2/2566................ชื่อผู้สอน...................................................................... กลุ่มสาระ.........คณิตศาสตร์...........ชั้น...........ประถมศึกษาปีที่.......5....... จำนวน...........1……….คาบ หน่วยการเรียนที่.........6................เรื่อง..............การอ่านและการเขียนร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์......... 1 . มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจาก การดำเนินการสมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป.5/9 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละ ไม่เกิน 2 ขั้นตอน 2 .สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 100 สามารถเขียนในรูปร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์สามารถเขียนในรูปเศษส่วน ที่มีตัวส่วนเป็น 100 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) อธิบายความหมายของร้อยละได้(K) 2) เขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนเป็น 100 ในรูปร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ได้ (P) 3) รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การอ่านและการเขียน ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสนทนาร่วมกับนักเรียนว่านักเรียนเคยเห็นหรือได้ยินคำว่า ร้อยละ จากที่ใดบ้าง ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้ 2. ครูสอนการเขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 100 ในรูป ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ ในหนังสือเรียนหน้า 21 ครูจัด กิจกรรมโดย ใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย พร้อมแนะนำสัญลักษณ์ % 3. ครูยกตัวอย่างเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 100 เพิ่มเติม แล้วให้นักเรียนบอกจำนวนในรูปร้อยละและ เปอร์เซ็นต์ 4. ครูยกตัวอย่างจำนวนในรูปร้อยละและ เปอร์เซ็นต์แล้วให้นักเรียนบอกจำนวนนั้นในรูปเศษส่วน 5. จากนั้นร่วมกันทำกิจกรรมในหนังสือเรียนหน้า 22 และให้ทำแบบฝึกหัด 5.2 เป็นรายบุคคล **ข้อควรระวัง การอ่านหรือการเขียนจำนวนในรูปร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ให้ใช้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น เพราะร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์มีความหมายเหมือนกัน


Click to View FlipBook Version