The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chitipatsukke, 2021-06-01 04:03:46

แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561 - 2564

ประโยชน์สาธารณะ

Keywords: ปลอดภัยทางถนน

ค�ำนำ�

ในคราวประชุมคณะรัฐมนตรี เมอื่ วันที่ 12 กุมภาพนั ธ์ 2562 ทปี่ ระชุมไดม้ ีมติอนมุ ัตแิ ผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน
พ.ศ. 2561 – 2564 เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการขับเคลื่อนการด�ำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนของหน่วยงาน
ท่ีเก่ียวข้องทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมให้สามารถลดปัจจัยเส่ียงการเกิดอุบัติเหตุทางถนน
ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล

ดงั นน้ั ศนู ยอ์ ำ� นวยการความปลอดภยั ทางถนน หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561 – 2564
จะเป็นกรอบแนวทางการด�ำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ท้ังส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
เพื่อให้การป้องกนั และลดอุบตั เิ หตุทางถนนเกิดผลเปน็ รูปธรรมอยา่ งชดั เจนต่อไป

ศูนยอ์ ำ� นวยการความปลอดภยั ทางถนน
สงิ หาคม 2562

แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 ก



สารบัญ หน้า

บทสรุปผู้บริหาร 1

บทท่ี 1 สถานการณ์และแนวโน้มการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ 15
1.1 สถานการณอ์ บุ ตั ิเหตทุ างถนนของประเทศไทย 15
27
1.2 แนวโน้มสถานการณอ์ บุ ตั ิเหตโุ ดยแบบจำ� ลอง
33
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 33
2.1 ทบทวนนโยบายท่เี กยี่ วขอ้ งกับความปลอดภัยทางถนน 62
2.2 การทบทวนปจั จยั ความสำ� เร็จของตา่ งประเทศ 93
2.3 การพฒั นา Best Practice Measure สำ� หรบั การทำ� งานดา้ นความปลอดภยั ทางถนนในตา่ งประเทศ 99
2.4 การทบทวนการดำ� เนินการตามกรอบแผนปฏิบัตกิ ารทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 106
2.5 บทสรุป
109
บทท่ี 3 แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561 - 2564 109
3.1 การประเมินสภาพแวดลอ้ มเรอ่ื งความปลอดภัยทางถนน 111
3.2 วัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของแผนแมบ่ ทฉบบั ใหม ่ 113
3.3 กรอบแนวคดิ ในการพฒั นาแผนแมบ่ ทฉบบั ใหม่ 113
3.4 แผนแม่บทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561 - 2564 144
3.5 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ความปลอดภยั ทางถนนของประเทศไทย
155
บทที่ 4 แนวทางการแปลงแผนส่กู ารปฏิบตั ิ และการตดิ ตามประเมินผล 155
4.1 แนวทางการแปลงแผนไปสกู่ ารปฏิบตั ิ 156
4.2 แนวทางการติดตามประเมินผล 157
4.3 การติดตามประเมนิ ผลแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี
159
บรรณานุกรรม
161
ภาคผนวก ก สรุปเวทีส่วนกลาง
171
ภาคผนวก ข สรุปเวทีส่วนภูมภิ าค

แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561-2564 ข

สารบญั ภาพ หนา้

ภาพ 1-1 จ�ำนวนอบุ ัตเิ หตทุ างถนนของไทยในช่วง พ.ศ. 2543 – 2556 16
ภาพ 1-2 การเปรียบเทยี บจ�ำนวนอุบัติเหตทุ างถนนบนทางหลวงและจ�ำนวนอบุ ัตเิ หตทุ ง้ั หมด 16
ภาพ 1-3 การเปรยี บเทียบจำ� นวนอบุ ัตเิ หตุทางถนนบนทางหลวงและจำ� นวนอุบตั เิ หตบุ นถนนทางหลวงชนบท 17
ภาพ 1-4 จ�ำนวนผู้บาดเจ็บจากอบุ ตั เิ หตทุ างถนนชว่ ง พ.ศ. 2551-2556 17
ภาพ 1-5 จำ� นวนผ้บู าดเจ็บจากอุบัติเหตทุ างถนนทีเ่ ขา้ รบั การรักษาพยาบาล จำ� แนกตามประเภทผปู้ ่วย 18
พ.ศ. 2545-2558
ภาพ 1-6 จำ� นวนผเู้ สียชีวติ จากอบุ ตั ิเหตุทางถนนของประเทศไทยต้ังแต่ พ.ศ. 2532-2556 18
ภาพ 1-7 จำ� นวนผเู้ สียชวี ติ จากอุบตั ิเหตุทางถนนของประเทศไทยตง้ั แต่ พ.ศ. 2543-2556 19
ภาพ 1-8 เปรียบเทยี บจำ� นวนผ้เู สียชีวติ จากฐานข้อมลู อุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทย 19
ภาพ 1-9 ดชั นแี สดงความรุนแรงของสถานการณ์อุบัติเหตทุ างถนนของไทย ต้งั แต่ พ.ศ. 2540-2556 20
ภาพ 1-10 การเปรยี บเทยี บดัชนกี ารเสียชีวติ จำ� นวนผเู้ สยี ชีวติ และบาดเจ็บจากอบุ ตั เิ หตทุ างถนนของไทย 21
ชว่ ง พ.ศ. 2549-2556
ภาพ 1-11 ความสมั พันธข์ องผลผลติ มวลรวมประชาชาติ จ�ำนวนประชากร และปรมิ าณรถจดทะเบยี นสะสม 23
ช่วง พ.ศ. 2548-2556
ภาพ 1-12 แนวโน้มความเสยี่ งต่อการเสียชีวิตจากอุบตั ิเหตุทางถนน ช่วง พ.ศ. 2547-2555 23
ภาพ 1-13 แนวโน้มสดั ส่วนอุบตั เิ หตทุ างถนนบนทางหลวง ในช่วง พ.ศ. 2549-2556 24
ภาพ 1-14 24
ภาพ 1-15 สาเหตุของการเกิดอบุ ัติเหตุทางถนน ในช่วง พ.ศ. 2549-2557 25
การเปรยี บเทยี บสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตทุ างถนน ระหว่างการใช้ความเร็วเกนิ กำ� หนดและการเมา
ภาพ 1-16 แล้วขับ ในช่วง พ.ศ. 2542-2555 25
ภาพ 1-17 สดั สว่ นการเกิดอบุ ตั เิ หตทุ างถนนจากฐานข้อมลู ทง้ั 3 ฐาน 26
ภาพ 1-18 กลมุ่ อายุของผปู้ ระสบอุบตั เิ หตทุ างถนนเปรียบเทยี บระหว่าง พ.ศ. 2543-2545 และ 2553-2555 26
ภาพ 1-19 กล่มุ อายขุ องผ้ปู ระสบอุบัตเิ หตุทางถนนเปรยี บเทียบระหว่าง พ.ศ. 2543-2545 และ 2553-2555 28
ภาพ 1-20 การแจกแจงความน่าจะเป็นร่วม 29
ภาพ 1-21 ค่าสหสัมพันธต์ ัวแปรด้านเศรษฐกิจ 29
ภาพ 1-22 ค่าสหสัมพนั ธต์ วั แปรดา้ นประชากร 31
ภาพ 2-1 การคาดการณจ์ ำ� นวนผู้เสยี ชวี ิต 34
ภาพ 2-2 กรอบการพฒั นาท่ีย่ังยนื องค์การสหประชาชาติ 36
ภาพ 2-3 กรอบยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) 37
เป้าหมายแผนยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี

ค Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้

ภาพ 2-4 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การเสริมสรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนุษย์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ 42
ฉบับท่ี 12
ภาพ 2-5 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การสรา้ งความเปน็ ธรรมลดความเหลอ่ื มลำ้� ในสังคม แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม 43
แหง่ ชาติฉบับที่ 12
ภาพ 2-6 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การสรา้ งความเขม้ แข็งทางเศรษฐกจิ และแข่งขันไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืน 44
ภาพ 2-7 ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตทเี่ ปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ มเพอื่ การพัฒนาอย่างย่งั ยนื 45
ภาพ 2-8 ยุทธศาสตรท์ ี่ 7 การพฒั นาระบบโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบโลจิสตกิ ส์ 46
ภาพ 2-9 กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาการแพทยฉ์ ุกเฉินไทยใน 5 ปี 48
ภาพ 2-10 ความเชอื่ มโยงการขบั เคลอื่ นแผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตไิ ปสู่การปฏบิ ัติ 51
ภาพ 2-11 สรปุ แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนนฉบับที่ 1-3 55
ภาพ 2-12 กรอบแนวคิดแผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2556 – 2559 57
ภาพ 2-13 สถานการณก์ ารเสยี ชีวติ จากอบุ ตั ิเหตทุ างถนนต่อประชากร 1 แสนคน 68
ภาพ 2-14 ล�ำดับการใช้มาตรการด้านความปลอดภยั 73
ภาพ 2-15 สถานการณ์การเสียชวี ิตจากอบุ ัตเิ หตุทางถนนของฝรั่งเศส ในชว่ ง พ.ศ. 2515 – 2545 76
(ค.ศ. 1972-2002)
ภาพ 2-16 มาตรการใหมท่ ใ่ี ชใ้ นการดำ� เนนิ การเพอื่ ลดปญั หาขบั รถเรว็ และเมาแลว้ ขบั ระหวา่ ง พ.ศ. 2513 – 2555 77
(ค.ศ. 1970-2012)
ภาพ 2-17 ระบบฐานขอ้ มูลอบุ ตั ิเหตุ BAAC 83
ภาพ 2-18 จำ� นวนผเู้ สยี ชวี ิตจากอบุ ตั ิเหตทุ างถนนตอ่ 100,000 ประชากรในประเทศเกาหลีใต้ 87
ภาพ 2-19 มาตรการดา้ นความปลอดภัยทางถนนในประเทศเกาหลใี ต้ 88
ภาพ 2-20 จำ� นวนผเู้ สียชวี ิตจากอุบัติเหตทุ างถนนตอ่ 100,000 ประชากร ในกลุ่มประเทศ OECD 91
ภาพ 2-21 มาตรการที่เป็น Best Practice ของประเทศในสหภาพยุโรป 98
ภาพ 3-1 กรอบการทำ� แผนแม่บทตามแนวทางการทำ� งบประมาณแบบบรู ณาการ 113
ภาพ 3-2 ข้อเสนอการปรับโครงสร้างอนกุ รรมการด้านความปลอดภยั ทางถนน 118
ภาพ 3-3 การจัดการความปลอดภยั ทางถนนแบบย่ังยืน 145
ภาพ 3-4 การส่งเสริมระบบขนส่งมวลชนเพอื่ ลดความต้องการในการเดนิ ทางบนถนน 147
ภาพ 3-5 แนวคดิ ในการแกป้ ัญหาความปลอดภัยทางถนนแบบคูข่ นาน 148

แผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561-2564 ง

สารบญั ตาราง หนา้

ตาราง 1-1 ดัชนีการเสยี ชวี ติ ของบางจงั หวดั ใน พ.ศ. 2556 ท่เี พิม่ ขน้ึ จาก พ.ศ. 2555 21
ตาราง 1-2 มูลคา่ ความเสียหายจากอุบตั เิ หตุทางถนนในช่วง พ.ศ. 2547-2557 22
ตาราง 1-3 ข้อมลู ท่ีใช้ในแบบจ�ำลอง 29
ตาราง 1-4 ผลการจัดทำ� แบบจำ� ลองอุบตั เิ หตุทางถนน 30
ตาราง 1-5 สถานการณ์ท่ีกำ� หนด 31
ตาราง 2-1 การดำ� เนินการด้านความปลอดภัยทางถนนในแตล่ ะช่วงเวลาของเนเธอร์แลนด์ ตามกรอบ 5 เสาหลัก 65
ตาราง 2-2 การด�ำเนินการด้านความปลอดภยั ทางถนนในแตล่ ะชว่ งเวลาของญปี่ ่นุ ตามกรอบ 5 เสาหลัก 70
ตาราง 2-3 สถิตกิ ารเกดิ อุบตั เิ หตุทางถนนในประเทศเกาหลใี นรอบ 50 ปี 86
ตาราง 2-4 เปา้ หมายของการลดจำ� นวนการเกิดอบุ ัติเหตุ 91
ตาราง 2-5 เกณฑก์ ารพจิ ารณาความเปน็ มาตรการที่เหมาะสมท่สี ดุ 94
ตาราง 2-6 ประเภทของมาตรการในการศกึ ษาของสหภาพยโุ รป 95
ตาราง 2-7 ประเภทของมาตรการท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ 96
ตาราง 2-8 นโยบาย Daytime Running Lights (DRL) ตามหลัก BPM 97
ตาราง 2-9 ความสัมพันธ์ระหวา่ งแผนปฏิบัตกิ ารทศวรรษแห่งความปลอดภยั ทางถนน 100
ตาราง 2-10 สรุปผลการด�ำเนินงานตามแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยทางถนนของกรมป้องกันและบรรเทา 101

สาธารณภยั (พ.ศ. 2556 - 2559) 103
ตาราง 2-11 ผลการดำ� เนินงานตามแผนฯ ในภาพรวม (ตามยุทธศาสตร์) 105
ตาราง 2-12 ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแกไ้ ขที่หน่วยงานเสนอ

จ Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

บทสรปุ ผบู้ รหิ าร

แผนแม่บทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561 - 2564

รายงานสถานการณค์ วามปลอดภยั ทางถนนโลกขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO) เมอื่ พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมผี เู้ สยี ชวี ติ
จากอุบัตเิ หตุทางถนน จ�ำนวน 24,237 คน และกอ่ ให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกจิ ของประเทศถึงปลี ะ 4.75 แสนลา้ นบาท1
ซ่งึ การด�ำเนนิ งานท่ผี ่านมา ศูนย์อำ� นวยการความปลอดภยั ทางถนนได้มีการจัดทำ� แผนแม่บทความปลอดภยั ทางถนน เพ่ือเปน็
กรอบแนวทางใหห้ น่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องทกุ ภาคสว่ นทัง้ ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมใชด้ ำ� เนินงาน จำ� นวน 3 ฉบับ
ได้แก่

1. แผนแม่บทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2548-2551
2. แผนแม่บทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2552-2555
3. แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2556-2559
ทัง้ นี้ เนอื่ งจากแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2556 – 2559 ทใี่ ชเ้ ปน็ กรอบแนวทาง
ในการดำ� เนินงานชว่ ง พ.ศ. 2556 – 2559 ได้สนิ้ สดุ ลงแลว้ ใน พ.ศ. 2559 ซ่งึ คณะรฐั มนตรี ไดม้ ีมตเิ มื่อวนั ที่ 4 ตลุ าคม
พ.ศ. 2559 ให้ใช้แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2556 - 2559 ไปพลางก่อนจนกว่าแผนแม่บทฯ ฉบับใหม่
จะแลว้ เสรจ็ ดังนน้ั เพอ่ื ให้ประเทศไทยมีแผนเชิงมหภาคใชใ้ นการบรหิ ารจัดการปัญหาอบุ ตั ิเหตทุ างถนนอยา่ งต่อเนอ่ื ง รวมทัง้
มแี ผนหลกั ในการขบั เคลอ่ื นตามกรอบทศวรรษแหง่ ความปลอดภยั ทางถนน ใหบ้ รรลตุ ามเจตนารมณป์ ฏญิ ญาบราซเิ ลยี เมอ่ื วนั ท่ี
19 พฤศจิกายน 2558 ทีม่ ุง่ เน้นใหม้ กี ารลดอัตราผูเ้ สียชวี ิตและบาดเจบ็ จากอุบัตเิ หตทุ างถนนร้อยละ 50 ภายใน พ.ศ. 2563
และให้มีการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งที่ปลอดภัยไม่แพงและเข้าถึงได้ โดยค�ำนึงถึงความต้องการ ของผู้ท่ีอยู่ในสถานการณ์
ท่ีเปราะบาง ผู้หญิง เด็ก คนพิการ และคนชรา ดังนั้น จึงมีความจ�ำเป็นจะต้องจัดท�ำแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน
พ.ศ. 2561 – 2564 เพ่อื ใช้เปน็ กรอบแนวทางการดำ� เนินงานแบบบรู ณาการจากภาคส่วนต่างๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งตอ่ ไป
การจัดท�ำแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561 – 2564 จึงเป็นการก�ำหนดทิศทางหรือแนวทางปฏิบัติ
ตามพนั ธกิจ (Mission) ให้สมั ฤทธ์ผิ ลตามวิสัยทศั น์ (Vision) และเปา้ ประสงค์ (Goal)
ตามเป้าหมายด้านความปลอดภัยทางถนนขององค์การสหประชาชาติและนานาประเทศท่ีเป็นแบบอย่าง
ในการลดการบาดเจ็บและการตายจากอุบัติเหตุทางถนนท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาระบบความปลอดภัยทางถนน (Safe System)
และวฒั นธรรมความปลอดภยั (Safety Culture) โดยพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การทม่ี คี วามเขม้ แขง็ และสนบั สนนุ การขบั เคลอื่ นงาน
ของหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เน้นการลดอัตราการบาดเจ็บการตายจากอุบัติเหตุทางถนนในกลุ่มเส่ียงหลัก ควบคู่
กับการสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคมไปสู่สังคมปลอดภัยจากอุบัติเหตุทางถนน แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน
พ.ศ. 2561 - 2564 จึงประกอบไปด้วย 4 ยุทธศาสตร์ 18 เปา้ หมาย และ 87 กลยุทธ์

1 ค่าประมาณการความสญู เสียทางเศรษฐกจิ จากอบุ ตั เิ หตุทางถนนในประเทศรายได้ปานกลางถงึ ต�่ำร้อยละ 5 ของ GDP เปรียบเทยี บกับ GDP ประเทศไทย

พ.ศ. 2558 (ข้อมูล GDP จากธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 เทา่ กับ 9.5 แสนลา้ นบาท)

แผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561-2564 1

นอกจากน้ี การขับเคล่ือนงานด้านความปลอดภัยทางถนนจ�ำเป็นต้องมีการวางแผนระยะยาวที่สอดคล้องกับนโยบาย
การพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี ดังนี้ ในแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561 – 2564 จึงได้จัดท�ำยุทธศาสตร์
ในระยะเวลา 20 ปี เพ่ือมุ่งไปสู่ “สร้างวิสัยทัศน์ มุ่งสู่ศูนย์” ตามกรอบปฏิญญามอสโก ซ่ึงกำ� หนดให้ พ.ศ. 2554 – 2563
(เปน็ ทศวรรษแหง่ การปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความปลอดภยั ทางถนน) โดยมเี ปา้ หมายใหส้ ามารถลดอตั ราการเสยี ชวี ติ อนั เนอ่ื งมาจากอบุ ตั เิ หตุ
ทางถนนของทั้งโลก ร้อยละ 50 ภายใน 10 ปี หรอื ใน พ.ศ. 2563

แผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561 - 2564

วสิ ยั ทัศน์
ม่งุ มัน่ สูม่ าตรฐานการสัญจรท่ีปลอดภัยดว้ ยกนั (Committing to Standard of Safe Journey Together)

พนั ธกจิ
1. เสริมสร้างสมรรถนะให้กับระบบบริหารจัดการภาครัฐด้านความปลอดภัยทางถนน เพ่ือให้เกิดการท�ำงานได้อย่าง

ตอ่ เนือ่ งและยั่งยนื
2. ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาคน พัฒนาความรู้ พัฒนามาตรฐาน และนวัตกรรมด้านความปลอดภัยทางถนน

เพอ่ื ลดการสญู เสยี จากอบุ ตั เิ หตทุ างถนน และลดภาระของรฐั จากการสญู เสยี โอกาสทางเศรษฐกจิ ของประเทศดว้ ยการลดจำ� นวน
ผู้พิการและทุพพลภาพจากอบุ ัตเิ หตทุ างถนน

3. สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ รูปแบบการพฒั นาท่ีย่ังยืนด้วยการมีสว่ นรว่ มตามแนวทางประชารัฐ
เป้าประสงค์

• ระบบบรหิ ารจดั การภาครฐั ดา้ นความปลอดภยั ทางถนนมกี ารทำ� งานในลกั ษณะบรู ณาการทง้ั แผนงานและงบประมาณ
ท่ีเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ และมีองค์กรวิชาการความปลอดภัยทางถนน ในการติดตามและเสนอแนะแนวทางในการ
ขับเคล่ือนนโยบายด้านความปลอดภัยทางถนนทส่ี ำ� คัญระดับประเทศ

• ประเทศไทยมรี ะบบขนสง่ สาธารณะทางถนนท่มี ีมาตรฐานและปลอดภยั สำ� หรบั คนทุกกลมุ่ อยา่ งทัว่ ถงึ
• ประเทศไทยมีถนนและสภาพแวดล้อมทปี่ ลอดภัยและลดความรุนแรงอันเกดิ จากการชน
• ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมการผลิตยานพาหนะที่มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากลส�ำหรับ
ผใู้ ช้รถใช้ถนนทกุ กลุ่ม
• ประชาชนมีคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี ทงั้ ด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และมีแนวทางการใช้ชีวิตทีเ่ ป็นมติ รต่อสงิ่ แวดล้อม

2 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

เป้าหมายตวั ชวี้ ดั

จากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ได้ก�ำหนดค่าเป้าหมายในการด�ำเนินงานตามทศวรรษ
แหง่ ความปลอดภยั ทางถนนตามขอ้ เสนอแนะขององคก์ ารสหประชาชาติ คา่ เปา้ หมายดงั กลา่ วคอื ลดอตั ราการเสยี ชวี ติ จากอบุ ตั เิ หตุ
ทางถนนต่�ำกว่า 10 คนต่อประชากรหนึ่งแสนคน ใน พ.ศ. 2563 ซ่ึงเป็นปีสุดท้ายของทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน
โดยค่าเป้าหมายดังกล่าวได้ใช้ข้อมูลการเสียชีวิตของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติใน พ.ศ. 2552 ซ่ึงอยู่ท่ีประมาณ 21 คน
ต่อประชากรหนึ่งแสนคน เป็นฐานในการประมาณการเพื่อก�ำหนดค่าเป้าหมายของพ.ศ. 2563 ซ่ึงต้องการลดการสูญเสีย
ลงครึ่งหน่ึงภายในปสี ุดทา้ ยของทศวรรษฯ

อย่างไรก็ตามข้อมูลการเสียชีวิตของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติท่ีน�ำมาใช้ในการก�ำหนดค่าเป้าหมายน้ัน มีนิยามการเก็บ
เฉพาะกรณีที่เป็นคดีท�ำให้มีข้อมูลการเสียชีวิตสูญหายไปบางส่วน แผนแม่บทฯ ในฉบับที่ผ่านมาจึงได้ก�ำหนดให้มีการพัฒนา
ระบบข้อมูลการเสยี ชีวิตที่เปน็ สากลมากขึน้ โดยมอบหมายให้กระทรวงสาธารณสุขท�ำหน้าท่เี ปน็ หนว่ ยงานประสานเพอื่ พฒั นา
ระบบขอ้ มูลการเสียชีวติ ดังกลา่ ว จึงได้มกี ารพฒั นาระบบข้อมลู การเสยี ชวี ิต 3 ฐานท่คี รอบคลมุ ขอ้ มูลของกระทรวงสาธารณสขุ
ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ และบริษัท กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จ�ำกัด ท�ำให้ข้อมูลการเสียชีวิตจากการปรับปรุง
การจัดเกบ็ ขอ้ มลู มีจ�ำนวนเพม่ิ ข้ึน

ในการก�ำหนดค่าเป้าหมายส�ำหรับแผนแม่บทฯ ฉบับน้ีจึงควรปรับปรุงค่าเป้าหมายใหม่โดยใช้ข้อมูลการเสียชีวิต
จาก 3 ฐาน ซึ่งมีความใกล้เคียงกับนิยามที่เป็นสากลมากขึ้น และเสนอคณะรัฐมนตรี เพ่ือแก้ไขมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่
29 มิถนุ ายน พ.ศ. 2553 ให้นำ� ค่าเปา้ หมายใหมม่ าใช้แทน

นอกจากนี้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ได้ก�ำหนดค่าเป้าหมายอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ
ทางถนน เมอื่ สนิ้ สดุ แผน ใน พ.ศ. 2564 ไวท้ ี่ 18.0 คนตอ่ ประชากรหนงึ่ แสนคน จงึ ควรนำ� คา่ เปา้ หมายดงั กลา่ วมาใชใ้ นการกำ� หนด
อตั ราการเสียชวี ิตส�ำหรบั พ.ศ. 2564 การก�ำหนดเปา้ หมายตัวชี้วดั ระหว่าง พ.ศ. 2560 - 2564 มดี งั ต่อไปน้ี

หมายเหตุ: ค่าเป้าหมาย พ.ศ. 2560 เป็นค่าประมาณการ เน่ืองจากยังไม่มีตัวเลขที่เป็นทางการ และใช้ค่าเป้าหมาย
ของแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 เปน็ ค่าเปา้ หมายสุดทา้ ยสำ� หรับ พ.ศ. 2564

แผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561-2564 3

4 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021 แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561 - 2564

วิสยั ทัศน์ มุง่ มน่ั สูม่ าตรฐานการสญั จรท่ปี ลอดภยั ดว้ ยกัน
(Committing to Standard of Safe Journey Together)

พนั ธกิจ เสรมิ สรา้ งสมรรถนะใหก้ บั ระบบบรหิ ารจดั การ ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาคน พัฒนาความรู้ พัฒนามาตรฐาน และนวัตกรรม สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ รปู แบบการพฒั นา
ภาครฐั ดา้ นความปลอดภยั ทางถนน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ดา้ นความปลอดภยั ทางถนน เพอ่ื ลดการสญู เสยี จากอบุ ตั เิ หตทุ างถนนและลดภาระ ที่ ย่ั ง ยื น ดว้ ย ก า ร มี ส่ว น ร่วม
การทำ� งานได้อยา่ งต่อเน่อื งและยงั่ ยนื ของรฐั จากการสญู เสยี โอกาสทางเศรษฐกจิ ของประเทศดว้ ยการลดจำ� นวนผพู้ กิ าร ตามแนวทางประชารัฐ
และทพุ ลภาพจากอบุ ัตเิ หตทุ างถนน
4
ยุทธศาสตร์ 1 2 3 ประชารัฐเพื่อถนนปลอดภยั
การปฏริ ปู ระบบการจดั การ การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมความ ประเทศไทยขนสง่ ทางถนน
ดา้ นความปลอดภยั ทางถนน ปลอดภัยทางถนนอยา่ งย่ังยืน
ปลอดภยั 4.0

เป้าหมาย ระบบการจัดการ ระบบงาน ระบบสนับสนุน สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย ยกระดับมาตรฐานสู่สากล สร้าง ความปลอดภยั ทางถนนเปน็ หนา้ ที่
เชงิ กลยุทธ์ ท่ีเอ้ือต่อการด�ำเนินการแบบบูรณาการ ในทุกช่วงวัย ส่งเสริมระบบท่ีเอ้ือ ความได้เปรียบด้วยองค์ความรู้ และความรบั ผดิ ชอบของทุกคน
ตัวช้ีวดั อย่างต่อเน่ือง และสามารถวัดผลสัมฤทธิ์ ต่อความปลอดภัย ลดปัจจัยเส่ียง สนับสนุนการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ จำ� นวนองคก์ รทเ่ี ขา้ มามสี ว่ นรว่ ม
เชงิ กลยุทธ์ เชงิ ประจกั ษ์ หลักด้วยแนวคิดเชิงบูรณาการ แกป้ ญั หา พฒั นาความเปน็ มอื อาชพี ในการส่งเสริมความปลอดภัย
ระบบการท�ำงานด้านความปลอดภัยทางถนน วางรากฐานสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ และวางรากฐานสกู่ ารพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ทางถนนเพิม่ ขน้ึ ทุกปี
มีการบูรณาการให้เกิดประสิทธิภาพและ อัตราการเสียชีวิตอุบัติเหตุทางถนน ตน้ ทนุ จากภาคขนสง่ อนั เนอ่ื งมาจาก
ประสิทธิผลสามารถวัดผลสัมฤทธ์ิทั้งในด้าน จากปัจจัยเสี่ยงหลกั ลดลงรอ้ ยละ 25 อุบัติเหตุทางถนนลดลง
การดำ� เนนิ การระหวา่ งหนว่ ยงาน ระบบขอ้ มลู ใน 5 ปี
งบประมาณ สมรรถนะการท�ำงาน ของฝ่าย
ปฏิบตั ใิ นภาพรวม

ยทุ ธศาสตร์ของแผนแม่บทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564

ยุทธศาสตรแ์ ผนงานหลักที่ 1 การปฏริ ปู ระบบการจดั การด้านความปลอดภัยทางถนน

ยุทธศาสตร์แผนงานหลักที่ 1 การปฏิรูประบบการจัดการด้านความปลอดภัยทางถนน เป็นยุทธศาสตร์ที่สนับสนุน
แผนงานหลกั ท่ี 1 การพฒั นาระบบข้อมูลการตดิ ตามประเมินผล และแผนงานหลกั ท่ี 2 การพฒั นากฎหมายและการบงั คบั ใช้
กฎหมาย ของแผนท่ีน�ำทางเชิงกลยุทธ์ทศวรรษแห่ง ความปลอดภัยทางถนนเพ่ือตอบสนองต่อเป้าหมายเชิงกลยุทธ์
ในเสาหลักท่ี 1 การบริหารจัดการความปลอดภัยทางถนนของทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนนในการผลักดัน
ให้นโยบายทางถนน ได้รับความส�ำคัญจากทุกภาคส่วน และเกิดกลไกการขับเคล่ือนงานด้านความปลอดภัยทางถนน
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพบนพน้ื ฐานองค์ความรแู้ ละหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์

ยทุ ธศาสตรแ์ ผนงานหลักที่ 2 การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมความปลอดภัยทางถนนอยา่ งย่งั ยนื

ยุทธศาสตร์แผนงานหลักท่ี 2 การเสริมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนนอย่างยั่งยืน ใช้กรอบของแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บับที่ 12 ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การเสริมสรา้ งและ พฒั นาศักยภาพทุนมนุษย์ โดยการให้ความสำ� คญั
กับการลดปัจจัยเส่ียงด้านสุขภาพและให้ทุกภาคส่วนค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพ นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นการส่งเสริมให้เกิด
ความปลอดภยั ในระดับ Primary Prevention ทย่ี ง่ั ยนื มากกว่าการแกไ้ ข หรือ ฟ้ืนฟสู ภาพภายหลังการเกิดอุบัตเิ หตทุ างถนน
ซ่ึงเป็นการแก้ปัญหาอุบัติเหตุที่ปลายทางไม่ก่อให้เกิดความย่ังยืน โดยการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนนส�ำหรับ
ประชาชนและผู้ใช้รถใช้ถนนในทุกกลุ่ม ควบคู่ไปกับการจัดการเพื่อลดความสูญเสียจากปัจจัยเสี่ยงหลัก ในการเกิดอุบัติเหตุ
ทางถนน การพัฒนาระบบทีเ่ ออ้ื ตอ่ ความปลอดภัยสำ� หรับผ้ใู ช้รถใช้ถนนทเี่ ปน็ ไปตามมาตรฐานสากล

ยุทธศาสตรแ์ ผนงานหลกั ที่ 3 ประเทศไทยขนสง่ ทางถนนปลอดภยั 4.0

ยุทธศาสตร์แผนงานหลักท่ี 3 ประเทศไทยขนส่งทางถนนปลอดภัย 4.0 มุ่งเน้นการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย
ในการขนสง่ ทางถนนทงั้ โครงขา่ ยถนน ยานพาหนะและการพฒั นาบคุ ลากร ทม่ี คี วามเชยี่ วชาญและเปน็ มอื อาชพี ดา้ นความปลอดภยั
รวมถึงการเดินทางท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม โดยการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือเสริมสร้างความปลอดภัย
บนทอ้ งถนนในการบรหิ ารจดั การการขนส่งทางบกเพอื่ รองรับการปรับตวั เข้าสยู่ คุ อุตสาหกรรม 4.0 ท่ขี ับเคลอ่ื นโดยเทคโนโลยี
เขม้ ข้น ดจิ ิทัล และนวัตกรรมเพอื่ ยกระดบั การพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ นอกจากน้ี ยทุ ธศาสตรน์ ย้ี ังตอบสนองต่อเปา้ หมาย
เชงิ กลยทุ ธใ์ นเสาหลกั ท่ี 2 ถนนและการสญั จรอยา่ งปลอดภยั เสาหลกั ท่ี 3 ยานพาหนะปลอดภยั และเสาหลกั ท่ี 4 ผใู้ ชร้ ถใชถ้ นน
อย่างปลอดภัย ของทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนนในการลดปัจจยั เสี่ยงหลักท้ังดา้ นถนน และการสญั จรดา้ นยานพาหนะ
และด้านผใู้ ชร้ ถใชถ้ นน

แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561-2564 5

ยทุ ธศาสตร์แผนงานหลกั ท่ี 4 ประชารัฐเพอื่ ถนนปลอดภยั

ยทุ ธศาสตร์แผนงานหลกั ท่ี 4 ประชารัฐเพือ่ ถนนปลอดภยั ใช้กรอบแนวทางของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ
ฉบบั ที่ 12 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศกั ยภาพทนุ มนษุ ยด์ า้ นความปลอดภยั ทางถนน โดยเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็
ของชุมชนในการมีส่วนร่วมจัดกิจกรรมสาธารณประโยชน์จัดระเบียบทางสังคมโดยอาศัยแนวร่วมจากทุกภาคส่วนในการ
สรา้ งวฒั นธรรมความปลอดภยั และเปน็ ยทุ ธศาสตรท์ สี่ นับสนนุ แผนงานหลกั ท่ี 1 การพัฒนาระบบข้อมูลการตดิ ตามประเมินผล
และแผนงานหลกั ท่ี 2 การพฒั นากฎหมายและการบงั คับใช้กฎหมายของแผนทีน่ ำ� ทางเชิงกลยุทธ์ทศวรรษแหง่ ความปลอดภัย
ทางถนน เพ่ือตอบสนองต่อเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ในเสาหลักท่ี 1 การบริหารจัดการความปลอดภัยทางถนนของทศวรรษ
แห่งความปลอดภัยทางถนน ในการผลักดันให้นโยบายทางถนนได้รับความส�ำคัญจากทุกภาคส่วน และเสาหลักท่ี 4
ผใู้ ชร้ ถใชถ้ นนอยา่ งปลอดภยั ของทศวรรษแหง่ ความปลอดภยั ทางถนนในการสรา้ งภาคเี ครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มในการดำ� เนนิ การ
อยา่ งจริงจังในทศวรรษแหง่ ความปลอดภัยทางถนน

6 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561 - 2564 รายยทุ ธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชี้วดั ที่ 1.1 ตวั ชว้ี ดั
1 การปฏริ ปู ระบบการจัดการ 1. สง่ เสริมขีดความสามารถขององคก์ ร 1. การเพ่มิ ขดี วามสามารถ ลดอนั ดับประเทศที่มผี ูเ้ สียชีวิตจากอบุ ัตเิ หตุทางถนน และผ่านเกณฑก์ ารประเมินด้านความ
ด้านความปลอดภยั ทางถนน การบรหิ ารความปลอดภยั ทางถนน องคก์ รการบรหิ าร ปลอดภัยทางถนนจัดทำ� โดยองค์การอนามยั โลกทัง้ สถิตภิ าพรวมและรายปัจจยั เสีย่ ง เมอื่ ส้ินสุด
แผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน ฉบบั ที่ 4
2. ประสิทธภิ าพระบบฐานข้อมลู ตวั ชว้ี ัดท่ี 1.2 กลไกการบรหิ ารจดั การด้านความปลอดภัยทางถนนรว่ มกนั ระหว่างภาครัฐระดบั ประเทศและ
อบุ ตั ิเหตทุ างถนนทไี่ ด้มาตรฐาน ทอ้ งถ่ิน
3. กฎหมายทันสมัยและสามารถบังคับ ตัวชว้ี ัดท่ี 1.3 แผนบูรณาการการปฏบิ ตั ริ าชการดา้ นความปลอดภยั ทางถนนระดบั กระทรวง ประกอบด้วย
ใชไ้ ด้ กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สำ� นักงานตำ� รวจแหง่ ชาติ
4. กลไกจัดสรรงบประมาณและ ตวั ชว้ี ัดท่ี 1.4 กรมประชาสมั พนั ธ์ และกระทรวงสาธารณสขุ
ทรพั ยากรเชิงบรู ณาการ สดั สว่ นงบประมาณดา้ นความปลอดภัยทางถนนในระดบั อ�ำเภอและท้องถ่ินได้รับการสนบั สนุน
2. การปฏริ ปู ระบบข้อมูล ตวั ชว้ี ัดท่ี 2.1 ตามแผนเพม่ิ ข้นึ
5. ขีดความสามารถในการบริหาร อบุ ตั เิ หตทุ างถนน ตัวช้วี ดั ที่ 2.1 มรี ะบบข้อมลู อุบัติเหตุระดับชาตแิ ละขอ้ มูลอบุ ัติเหตุเชงิ ลึก ภายใน 2 ปี
จัดการชว่ งเทศกาลเชงิ รกุ ขอ้ มลู การเสียชีวิตจากอบุ ัตเิ หตเุ ปน็ ไปตามนยิ ามมาตรฐานสากล ภายใน 3 ปี
แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 7 6. หนว่ ยงานดา้ นวิชาการดา้ นความ 3. การปฏิรูปกฎหมายและ ตัวชี้วดั ที่ 3.1 ระดบั คะแนนของดชั นีการประเมินด้านกฎหมายด้านความปลอดภัยทางถนนและการบังคบั ใช้
ปลอดภยั ทางถนนระดบั ประเทศ การบงั คบั ใช้ จดั ทำ� โดยองคก์ ารอนามยั โลกอยู่ในระดับดมี าก
สัดส่วนการประกาศกฎหมายและอนุบัญญัตเิ พ่ือนำ� ไปสู่การบังคบั ใช้กฎหมายที่มปี ระสทิ ธิภาพ
ตวั ชี้วัดที่ 3.2 สดั ส่วนการบังคบั ใช้กฎหมายด้านความปลอดภยั ทางถนนเพ่มิ ข้นึ
เพิ่มสัดสว่ นงบประมาณ และทรัพยากรด้านความปลอดภยั ทางถนนเพิม่ ขึน้
ตัวชว้ี ดั ที่ 3.3 กลไกการจัดสรรงบประมาณและทรพั ยากรดา้ นความปลอดภัยทาถนนในเชงิ บูรณาการ
ที่มปี ระสทิ ธิภาพ
4. การปฏริ ปู ดา้ นงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ 4.1 สดั สว่ นงบประมาณเชิงบรู ณาการของภาครัฐทีเ่ กยี่ วข้องกับความปลอดภัยทางถนนเพิ่มข้ึน
ร้อยละ 50
ตัวชี้วดั ที่ 4.2 ลดอตั ราการเกดิ อบุ ัติเหตุและจ�ำนวนผูเ้ สยี ชวี ติ ลดลงไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 5 เมอื่ เปรียบเทยี บกับ
เทศกาลเดียวกนั ในปกี อ่ นหน้า และมแี นวโน้มลดลงอยา่ งตอ่ เนอ่ื งไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 30
ตวั ชี้วัดท่ี 4.3 เมอ่ื ส้ินสดุ แผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน ฉบบั ท่ี 4
งบประมาณด้านความปลอดภัยทางถนนเพิ่มขนึ้
5. ปฏิรปู การท�ำงานช่วง ตวั ชว้ี ดั ที่ 5.1 เกิดหน่วยงานวิชาการในการขับเคลอ่ื นนโยบายด้านความปลอดภยั ทางถนนระดับประเทศ
เทศกาล 7 วัน ความร่วมมือด้านวชิ าการและงานวจิ ัยกับองคก์ รทางวชิ าการทง้ั ในและต่างประเทศ

ตัวชี้วดั ที่ 5.2
6. ปฏิรูปการวิจัยและพัฒนา ตัวชีว้ ดั ที่ 6.1

ตัวชีว้ ัดท่ี 6.1

8 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021 ยทุ ธศาสตร์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชีว้ ัด
1. สร้างพฤตกิ รรมดา้ นความ อตั ราการเกดิ อุบัตเิ หตุทางถนนในกลมุ่ เยาวชนลดลงอย่างต่อเนือ่ งไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 5 ต่อปี
2 การเสรมิ สร้างวฒั นธรรมความ 1. เสรมิ สรา้ งวัฒนธรรมความปลอดภยั ปลอดภยั ทางถนนในกลุ่ม ตัวชว้ี ัดท่ี 1.1 จ�ำนวนชัว่ โมงการเรยี นร้ตู ามหลักสูตรของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเพมิ่ ขน้ึ
ปลอดภัยทางถนนอย่างยั่งยืน ทางถนนส�ำหรับประชาชนทกุ กลุม่ และ เยาวชน ตัวชว้ี ดั ที่ 1.2 หลกั สตู รด้านความปลอดภัยทางถนนท่เี หมาะสมส�ำหรบั แต่ละช่วงวัย ถูกบรรจเุ ขา้ ในหลักสูตร
ตวั ชี้วดั ท่ี 1.3 ของกระทรวงศกึ ษาธิการ
ทุกชว่ งวัย 2. สง่ เสริมวฒั นธรรมความ กจิ กรรมเรยี นร้เู พ่มิ เตมิ ดา้ นความปลอดภยั ทางถนนในสถานศึกษาเพอื่ เสริมสร้างการรับรู้
ปลอดภยั ทางถนนในสงั คม ตวั ชี้วดั ท่ี 1.4 ดา้ นความปลอดภยั ทางถนนของเยาวชนเพมิ่ ขน้ึ
2. ปรับปรงุ ระบบการจดั การปจั จยั เส่ยี ง พื้นท่ปี ลอดภยั ทางถนนบริเวณสถานศกึ ษาและชมุ ชนท่ีเออื้ ต่อการสร้างการรับรู้การใชถ้ นนและ
หลักที่นำ� ไปสกู่ ารเกิดอบุ ัติเหตุทางถนน 3. ส่งเสริมให้เกดิ ผ้ขู บั ข่ี ตวั ชว้ี ัดท่ี 1.6 ทางเดนิ เท้าเพ่มิ ข้ึน
และน�ำไปสู่การลดอตั ราความสูญเสยี คุณภาพ การรบั ร้ถู งึ สทิ ธแิ ละหน้าทขี่ องการใชถ้ นนและทางเดินเท้าทปี่ ลอดภยั ของเยาวชน
จากพฤตกิ รรมการขบั ขีท่ ไี่ ม่เหมาะสม 4. เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการ ตัวชว้ี ัดท่ี 1.7 ระดับคะแนนของดัชนกี ารรบั รูว้ ฒั นธรรมความปลอดภยั ทางถนนเพมิ่ ข้ึนอย่างตอ่ เนื่อง
3. ปรบั ปรงุ และสง่ เสริมระบบ จัดการปัจจัย เสีย่ งหลกั ตัวชี้วัดท่ี 2.1 สัดสว่ นการแสดงความคดิ เหน็ ใน social media ในเชงิ บวกต่อนโยบาย และการบังคับใช้
การจดั การอุบัติเหตทุ างถนน ตัวชี้วดั ที่ 2.2 กฎหมายด้านความปลอดภัยทางถนนอยใู่ นระดับดี
ในกลุ่มนกั ท่องเทยี่ ว 5. ลดและปอ้ งกนั ความเส่ียง สัดสว่ นการให้ขอ้ มูลข่าวสารทถี่ กู ต้องและมปี ระสทิ ธภิ าพผา่ นชอ่ งทางการสื่อสารหลากหลาย
ตอ่ การเกิดอุบัตเิ หตุทางถนน ตัวชี้วดั ท่ี 2.3 รปู แบบตลอดท้งั ปี
ในกลุ่มนักทอ่ งเทยี่ ว การรายงานขา่ วดา้ นอบุ ตั เิ หตุทางถนนทเี่ น้นคณุ ภาพเชงิ ลึกเพมิ่ ข้นึ
ตวั ชี้วดั ท่ี 2.4 จำ� นวนผ้ขู ับข่ีทผี่ ่านการคดั กรองอยา่ งมคี ุณภาพไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 เมอ่ื สิน้ สดุ แผนแม่บท
ตัวชว้ี ัดที่ 3.1 ความปลอดภัยทางถนน ฉบบั ท่ี 4
จ�ำนวนคดีอบุ ัติเหตทุ างถนนจากความเร็วลดลงไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 25 เมือ่ ส้ินสุดแผนแม่บท
ตัวชว้ี ัดที่ 4.1 ความปลอดภยั ทางถนน ฉบบั ท่ี 4
อตั ราการเกดิ อุบัตเิ หตุทางถนนในกลุ่มเดก็ และเยาวชนลดลงอยา่ งต่อเนือ่ งไมน่ อ้ ยกว่า
ตวั ชี้วดั ที่ 4.2 รอ้ ยละ 5 ต่อปี
อตั ราการเกิดอุบตั เิ หตุเมาแล้วขบั ลดลงอย่างต่อเน่อื งไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 5 ต่อปี
ตวั ชีว้ ัดท่ี 4.3 อัตราการเกิดอุบตั เิ หตใุ นกลมุ่ ผู้ใชร้ ถจักรยานยนต์ลดลงอย่างตอ่ เน่อื งไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 5 ตอ่ ปี
ตัวชว้ี ดั ท่ี 4.4 จำ� นวนอบุ ัติเหตุทางถนนที่เกดิ ข้ึนกับนักท่องเทยี่ วลดลงลดลงไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 5 ต่อปี
ตัวชว้ี ัดที่ 5.1 สดั ส่วนค่าใช้จ่ายในการดแู ลรกั ษานักท่องเท่ยี วจากอบุ ตั ิเหตทุ างถนนลดลง
ตวั ชี้วัดท่ี 5.2

ยทุ ธศาสตร์ วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตัวชี้วดั
3 ประเทศไทยขนสง่ ทางถนน 1. ยกระดับขดี ความสามารถในการ อตั ราการเกดิ อบุ ัตเิ หตุทางถนนในภาคขนส่งลดลงอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 10 ต่อปี
ปลอดภัย 4.0 จัดการการขนส่งทางถนนท่ปี ลอดภัย 1. เพิ่มมลู ค่าการให้บรกิ าร ตัวชว้ี ดั ท่ี 1.1
และเป็นมาตรฐานสากล ภาคขนสง่ อยา่ งเป็นมืออาชีพ ตวั ชว้ี ดั ที่ 1.2 กลไกการก�ำกับและควบคุมการใหบ้ รกิ ารภาคการขนส่งทางถนนท่ปี ลอดภัย
คณุ ภาพความปลอดภยั ในการให้บริการภาคการขนส่งทางถนนอยู่ในระดบั สูง
2. ส่งเสรมิ มลู คา่ การบรกิ ารการขนส่ง ตวั ชีว้ ดั ท่ี 1.3 อัตราการเกิดอุบตั เิ หตุทางถนนในภาคขนสง่ ทม่ี ีสาเหตุจากยานพาหนะลดลง อย่างนอ้ ย
ทางถนนไปสู่บริการท่มี คี ุณภาพสูง รอ้ ยละ 10 ตอ่ ปี
2. ยกระดับมาตรฐาน ตัวชว้ี ัดที่ 2.1 คุณภาพความปลอดภยั ยานพาหนะในการให้บริการภาคการขนสง่ ทางถนน อยูใ่ นระดับสูง
ความปลอดภยั ของยานพาหนะ สัดสว่ นการประกาศกฎหมายและอนบุ ัญญตั ิเก่ยี วกับการให้บริการภาคการขนสง่ ทางถนน
สัดสว่ นคดคี วามบกพร่องจากอุปกรณส์ ว่ นควบเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี
ตัวชี้วัดท่ี 2.2 กลไกการจัดการถนนและโครงข่ายถนนเพ่ือปอ้ งกนั การเกิดอบุ ตั ิเหตุทางถนน
สดั ส่วนถนนและโครงข่ายถนนได้รบั การปรับปรุงและพฒั นาให้เออื้ ตอ่ ความปลอดภัยเพม่ิ ข้นึ
ตัวชี้วดั ท่ี 2.3 กลไกการจดั การการให้บรกิ ารภาคการขนส่งทางถนนที่ปลอดภยั และการบงั คับใชก้ ฎหมาย
ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ
ตวั ชว้ี ดั ท่ี 2.4 สัดสว่ นงบประมาณท่ีน�ำมาในการสนบั สนุนดา้ นเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม เพ่อื การบังคับใช้
กฎหมายเพม่ิ ขนึ้
3. ยกระดับถนนทีป่ ลอดภยั ตวั ชว้ี ัดท่ี 3.1 บคุ ลากรด้านความปลอดภยั ทางถนนได้รบั การพฒั นารอ้ ยละ 100 ใน 5 ปี
ตามมาตรฐานสากล กลไกการตรวจสอบการให้บริการขนสง่ ทางถนนและโครงขา่ ยถนนปลอดภัยทเี่ ปน็ อสิ ระ
ตัวชี้วัดท่ี 3.2 สดั ส่วนของผู้ใชร้ ะบบการเดนิ ทางทีเ่ ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ มเพิม่ ขึน้
โครงสรา้ งถนนทไ่ี ดร้ ับการปรบั ปรุงหรอื จดั สรรใหเ้ อือ้ ต่อการเดินทางด้วยรถจักรยาน หรือ
4. ยกระดับการจัดการ ตัวชว้ี ดั ท่ี 4.1 การเดินเท้าเพ่มิ ขน้ึ
การใหบ้ รกิ าร การขนส่ง ตัวชีว้ ัดที่ 4.2
ทางบกทีป่ ลอดภยั
ดว้ ยนวตั กรรม

แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 9 5. พฒั นาบุคลากร ตวั ชี้วัดที่ 5.1
6. ส่งเสริมการเดินทางทีเ่ ปน็ ตัวชว้ี ัดท่ี 5.2
มติ รต่อสิง่ แวดลอ้ ม ตัวชี้วัดที่ 6.1
ตวั ช้ีวัดที่ 6.2

4 ประชารัฐเพือ่ ถนนปลอดภัย สร้างการมสี ว่ นรว่ มจากภาครฐั ส่งเสริมความมีสว่ นรว่ ม ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1.1 อัตราการเกดิ อบุ ัตเิ หตทุ างถนนในกลุม่ วนั แรงงานลดลงอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 2 ต่อปี
ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และ เพื่อลดอบุ ัตเิ หตทุ างถนน ตวั ช้วี ัดท่ี 1.2 อตั ราการเกิดอุบตั ิเหตทุ างถนนในชมุ ชนลดลงอย่างนอ้ ยร้อยละ 5 ต่อปี
ภาคประชาชนในการปอ้ งกัน และ จากทุกภาคสว่ น ตวั ช้วี ัดที่ 1.3 อัตราการเกดิ อบุ ัตเิ หตุทางถนนในสถานศึกษาลดลงอย่างน้อยรอ้ ยละ 5 ต่อปี
ลดอบุ ตั ิเหตทุ างถนนอย่างเป็นรปู ธรรม ตวั ชี้วดั ที่ 1.4 อตั ราการเกดิ อบุ ัตเิ หตทุ างถนนหนว่ ยงานภาครฐั ลดลงอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 5 ต่อปี
ตัวชว้ี ดั ที่ 1.5 กลไกการมสี ว่ นร่วมเพื่อลดอุบตั ิเหตุทางถนนจากทุกภาคสว่ น

แผนยทุ ธศาสตร์ 20 ปี ความปลอดภัยทางถนนของประเทศไทย

วิสัยทัศน์

“สร้างวิสัยทศั น์ มงุ่ สู่ศนู ย”์
“Visioning toward Zero”

ยุทธศาสตรค์ วามปลอดภยั ทางถนน 20 ปี

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การดา้ นความปลอดภยั ทางถนน
มีเป้าหมายเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยทางถนน สามารถด�ำเนินการได้ในเชิงบทบาทภารกิจ

เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูงมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการกระจายบทบาทภารกิจไปสู่ท้องถ่ินอย่างเหมาะสม
มีการบูรณาการการท�ำงานร่วมกับภาคีในทุกภาคส่วนมีธรรมาภิบาล ระบบการติดตามประเมินผลท่ีเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์
และต้งั อยบู่ นพื้นฐานความรู้
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การสง่ เสรมิ การสญั จรทปี่ ลอดภยั เพอื่ คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี สี ำ� หรบั คนทกุ กลมุ่ และเปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม

เพอื่ เสรมิ สรา้ งมติ คิ วามปลอดภยั ใหเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของระบบโครงขา่ ยถนนและยกระดบั คณุ ภาพ ในการปอ้ งกนั หรอื คมุ้ ครอง
การบาดเจบ็ และสูญเสยี ส�ำหรับผู้ใชร้ ถใชถ้ นนทุกประเภท โดยเฉพาะกล่มุ ท่ีมคี วามอ่อนไหว (Vulnerable) ตอ่ การสูญเสยี สงู

10 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นาการขนส่งที่ปลอดภัยเพ่ือสร้างความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
เพ่ือยกระดับการขนส่งสนิ ค้า และการขนสง่ คน เพื่อสรา้ งความเช่อื มัน่ ให้กับผบู้ รโิ ภคภายในประเทศ และนักทอ่ งเทยี่ ว

จากต่างประเทศ ในการท่ีจะได้รับบริการที่ปลอดภัยในระดับมาตรฐานสากล การเพ่ิมขีดความสามารถด้านการแข่งขันใน
ภาคการขนสง่ ทางถนน จำ� เปน็ จะตอ้ งมี การพฒั นาปจั จยั เชงิ ยทุ ธศาสตรท์ กุ ดา้ น อนั ไดแ้ ก่ โครงสรา้ งพน้ื ฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส์
ทางถนน การพัฒนาและน�ำนวัตกรรม เทคโนโลยีมาใช้เพื่อลดต้นทุนการให้บริการ การพัฒนาทุนมนุษย์ และการบริหาร
จัดการภาครฐั และภาคเอกชน ในระบบสมั ปทาน ระบบเช่าบริการ ระบบการว่าจา้ ง ท่ีโปร่งใส มปี ระสิทธภิ าพ และ คำ� นึงถึง
ความปลอดภัย เพ่ือรกั ษาภาพลกั ษณท์ ด่ี ขี องประเทศในเวทโี ลก
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การพฒั นาและเสริมสร้างวฒั นธรรมความปลอดภยั ในการใชร้ ถใชถ้ นน

เพ่ือสร้างวฒั นธรรมความปลอดภัยใหเ้ ป็นรากฐานของสงั คมไทย โดยเนน้ การสร้างใหเ้ กิดระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย
มที ัศนคติท่ีดใี นการขบั ขอี่ ยา่ งปลอดภัย มเี จตนคตทิ ด่ี ีต่อความรับผดิ ชอบร่วมกนั ในการใช้รถใชถ้ นนบนทางสาธารณะ มที กั ษะ
การใชร้ ถใช้ถนนทเ่ี หมาะสม มรี ะบบคดั กรอง และคดั ออกผู้เข้ามาใชร้ ถใช้ถนนทมี่ คี ณุ ภาพ พัฒนานโยบายด้านความปลอดภัย
ทางถนนใหเ้ ปน็ วาระหลกั ของภาครฐั ทตี่ อ้ งดำ� เนนิ การอยา่ งจรงิ จงั และตอ่ เนอ่ื ง ดว้ ยกระบวนการสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มตามแนวทาง
ประชารฐั เพ่อื ขบั เคลอื่ นไปสูส่ งั คมท่ีมีวัฒนธรรมความปลอดภยั ในการใชร้ ถใช้ถนน
ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 การยกระดบั คุณภาพการใหบ้ ริการท่ีเสมอภาค ทั่วถงึ และเท่าเทียมสำ� หรบั ผ้ปู ระสบเหตุ

เพอ่ื สรา้ งความพรอ้ มตอ่ การตอบสนองในสถานการณฉ์ กุ เฉนิ หลงั เกดิ อบุ ตั เิ หตุ และพฒั นาความสามารถของระบบสขุ ภาพ
และระบบอื่นๆในการดูแลรักษาภาวการณ์บาดเจ็บจากอุบัติเหตุท่ีเหมาะสม รวมถึงการดูแลในระยะยาวเพ่ือฟื้นฟูผู้ประสบ
อุบัติเหตุอย่างท่ัวถึง การสร้างความเข้าถึงในกระบวนการยุติธรรมที่เสมอภาค และการได้รับความช่วยเหลือในกระบวนการ
ยุติธรรมอันควร โดยไม่ขึ้นกับสถานะทางเศรษฐกิจ สังคมของผู้ร้องขอ การส่งเสริมส�ำนึกรับผิดชอบร่วมกันของผู้ขับข่ีทุกคน
ด้วยความเสมอภาคในการจัดท�ำประกันภัยเพื่อคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พัฒนาระบบประกันภัย เพ่ือเป็นเคร่ืองมือ
ในการชดเชย เยียวยา อย่างพอเพียงตามสถานะเศรษฐกิจในแต่ละช่วงเวลา

แผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561-2564 11

12 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021 แนวทางการพัฒนายทุ ธศาสตรใ์ นระยะเวลา 20 ปี และเป้าหมายความสำ� เร็จ

การพฒั นายทุ ธศาสตร์ 20 ปีดา้ นความปลอดภยั ทางถนนสามารถแยกพฒั นาการของการท�ำแผนออกเปน็ 4 ชว่ งเวลา ซงึ่ แต่ละชว่ งเวลาจะมเี ปา้ หมายความส�ำเร็จ
ทแี่ ตกต่างกัน กลา่ วคอื การพัฒนายุทธศาสตรใ์ นชว่ ง 5 ปี 10 ปี 15 ปี และ 20 ปี

เปา้ หมาย พัฒนาอย่างมน่ั คงเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ถนนปลอดภัยไร้ความสูญเสีย ยานพาหนะปลอดภยั สัญจรปลอดภัย
ใสใ่ จคนทุกกลมุ่ รองรบั การใชอ้ ยา่ งเหมาะสม เพื่อการพฒั นาอย่างย่ังยืน

ตัวบ่งช้คี วามสำ� เรจ็ นโยบายความปลอดภยั ทางถนน พฤติกรรมเส่ียงบนทอ้ งถนน ยานพาหนะในประเทศไทย สดั ส่วนการเดนิ ทางด้วย
เป็นวาระสำ� คัญของชาติ ลดลง เปน็ ไปตามมาตรฐานสากล ระบบขนสง่ สาธารณะ
เกดิ การบรหิ ารจดั การในดา้ นบคุ ลากร ความสญู เสยี จาก 100% ในปีที่ 15 มีสดั สว่ นทเ่ี พมิ่ ขึน้
งบประมาณ อุปกรณก์ ารทำ� งาน ความบกพรอ่ งของถนน
ระบบบรหิ ารจัดการทม่ี ุ่งเนน้ เขา้ ใกล้ศนู ย์
การกระจาย บทบาท หน้าที่ เกดิ มาตรการใหม่ๆ
ความรบั ผดิ ชอบไปสู่หนว่ ยปฏบิ ตั ิ ในการจัดการด้านอปุ สงค์
ทีช่ ัดเจน และสามารถด�ำเนนิ การ การเดินทางเพิม่ ขน้ึ
ไดจ้ รงิ อย่างมปี ระสิทธภิ าพตอ่ เนือ่ ง
และย่ังยนื
มกี ารปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรมของ
ผู้ใชร้ ถใชถ้ นนทเ่ี หมาะสม

ค่าเปา้ หมาย 18 ต่อประชากรแสนคน 10 ตอ่ ประชากรแสนคน 8 ตอ่ ประชากรแสนคน 5 ต่อประชากรแสนคน

ช่วงเวลา ระยะ 5 ปี ระยะ 10 ปี ระยะ 15 ปี ระยะ 20 ปี
(ช่วง พ.ศ. 2561 - 2565) (ช่วง พ.ศ. 2561 - 2570) (ช่วง พ.ศ. 2561 - 2575) (ชว่ ง พ.ศ. 2561 - 2580)

แนวทางการแปลงแผนไปสกู่ ารปฏิบัติ

ส�ำหรับการขับเคลอื่ นเพอ่ื ให้แผนแม่บทสามารถดำ� เนินการบรรลุผลจำ� เป็นจะต้องมกี ารด�ำเนินการ ดังตอ่ ไปนี้
1. เสนอใหค้ ณะกรรมการศนู ยอ์ ำ� นวยการความปลอดภยั ทางถนน พจิ ารณาเหน็ ชอบและนำ� เสนอคณะกรรมการนโยบาย
การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนแห่งชาติ พิจารณาเห็นชอบและน�ำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติแผนแม่บทฯ
และเหน็ ชอบในหลกั การดังตอ่ ไปนี้

• อนุมัติในหลักการการปรับโครงสร้างใหม่ตามข้อเสนอของแผน และมอบหมายศูนย์อ�ำนวยการความปลอดภัย
ทางถนนด�ำเนนิ การต่อไป

• อนมุ ตั ใิ นหลกั การการปรบั ปรงุ ระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และลดอบุ ตั เิ หตทุ างถนน พ.ศ. 2554
และจดั ตงั้ คณะท�ำงานเพื่อยกรา่ งปรบั ปรุงระเบียบสำ� นักนายกรัฐมนตรีฯ

• เหน็ ชอบขอ้ เสนอในการเสนอรฐั บาลใหเ้ รอื่ งความปลอดภยั ทางถนนเปน็ แผนงานบรู ณาการ ในการจดั ทำ� งบประมาณ
ประจ�ำปี เพื่อน�ำเสนอคณะรัฐมนตรเี พอ่ื พจิ ารณาต่อไป

• เห็นชอบการทบทวนและปรับค่าเป้าหมายทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนนที่ได้รับการอนุมัติ
โดยมตคิ ณะรฐั มนตรเี ดมิ ท่ี 10 ตอ่ ประชากรแสนคน ใน พ.ศ. 2563 เปน็ 18 ตอ่ ประชากรแสนคนใน พ.ศ. 2564 เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ ง
กับค่าเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 และเนื่องจากมีการปรับข้อมูลการเสียชีวิต
จากขอ้ มลู ของตำ� รวจไปสกู่ ารใชข้ อ้ มลู บรู ณาการ 3 ฐาน ทม่ี คี วามครอบคลมุ มากขนึ้ เพอ่ื นำ� เสนอคณะรฐั มนตรเี พอื่ พจิ ารณาตอ่ ไป

2. คณะกรรมการนโยบายการปอ้ งกนั และลดอบุ ตั เิ หตทุ างถนนแหง่ ชาติ มมี ตมิ อบหมายหนว่ ยงานพจิ ารณาความเหมาะสม
เร่ืองการด�ำเนินการจดั ตัง้ สถาบันวชิ าการด้านความปลอดภยั ทางถนน ท้งั ในด้านรูปแบบ โครงสร้าง แหล่งทม่ี าของงบประมาณ
และบุคลากร ในการด�ำเนินการและน�ำเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาต่อไป ท้ังน้ีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งสถาบันวิชาการ
ดังกล่าวก็เพ่ือเป็นกลไกสนับสนุนการท�ำงานของคณะกรรมการนโยบายการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนแห่งชาติ
ในด้านการติดตามประเมินผลการท�ำงาน การให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเก่ียวกับการด�ำเนินด้านความปลอดภัยทางถนน
ใหก้ บั คณะกรรมการพจิ ารณาประกอบการตดั สนิ ใจ และมกี ารรายงานความกา้ วหนา้ ในการดำ� เนนิ การโครงการจดั ตง้ั สถาบนั วชิ าการ
ให้ประธานกรรมการฯ ทราบทุก 6 เดือน

3. เสนอร่างแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนนเพื่อให้คณะรัฐมนตรีเห็นชอบแผนและการก�ำหนดค่าเปา้ หมาย
ตัวชีว้ ดั ใหม่ รวมทั้งเหน็ ชอบให้มกี ารจัดท�ำแผนบูรณาการงบประมาณดา้ นความปลอดภัยทางถนน

4. มอบหมายหนว่ ยงานทเ่ี ปน็ เจา้ ภาพในยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ของแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561 -
2564 ไปด�ำเนินการจัดท�ำแผนปฏิบัติการและน�ำเสนอคณะกรรมการนโยบายการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนแห่งชาติ
พจิ ารณาเหน็ ชอบเพือ่ ประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ ตามกรอบแผนงานบรู ณาการตอ่ ไป

ทง้ั น้ี แผนงาน/โครงการภายใตแ้ ผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนนในประเดน็ การเขา้ ขา่ ยการจดั ท�ำรายงานการประเมิน
ผลกระทบส่ิงแวดล้อมประกอบการจัดล�ำดับความส�ำคัญในการด�ำเนินการต่าง ๆ ภายใต้แผนแม่บทฯ ตามประกาศกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เร่ือง ก�ำหนดโครงการ กิจการ หรือ การด�ำเนินการ ซึ่งต้องจัดท�ำรายงานการประเมิน
ผลกระทบสงิ่ แวดล้อมและหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเงอ่ื นไข ในการจัดท�ำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม ลงวันท่ี 19
พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2561 ล�ำดับที่ 19 หรอื ลำ� ดบั ที่ 20 หรอื เงือ่ นไขประกอบการเห็นชอบกรณีปรับปรุงโครงการท่ไี ดร้ ับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการผู้ช�ำนาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม หรือคณะกรรมการส่ิงแวดล้อม
แหง่ ชาติ ทงั้ น้ี หนว่ ยงานเจา้ ของโครงการจะตอ้ งดำ� เนนิ การโดยไมใ่ หข้ ดั ตอ่ ขอ้ กฎหมายหรอื เงอ่ื นไขประกอบการเหน็ ชอบดงั กลา่ ว

แผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561-2564 13

5. หากคณะกรรมการนโยบายการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนแห่งชาติเห็นชอบการทบทวนและปรับปรุง
อนุกรรมการ เห็นควรมอบหมายให้ศูนย์อ�ำนวยการความปลอดภัยทางถนน เร่งด�ำเนินการจัดต้ังอนุกรรมการชุดใหม่
ตามข้อเสนอแนะ และจัดท�ำแผนปฏิบัติการของอนุกรรมการในแต่ละชุด โดยพิจารณาจากแผนปฏิบัติการของหน่วยงาน
ท่ีคณะกรรมการนโยบายได้เห็นชอบ และที่จ�ำเป็นจะต้องด�ำเนินการเพ่ิมเติม เพ่ือขอรับการจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม
จากศนู ยอ์ ำ� นวยการความปลอดภัยทางถนนตอ่ ไป

แนวทางการตดิ ตามประเมนิ ผล

การติดตามประเมินผลท่มี ปี ระสิทธิภาพควรพฒั นากลไกการกำ� กับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ดังน้ี
1. พัฒนาระบบการจัดเก็บตัวช้ีวัดในระดับต่างๆ ต้ังแต่ระดับยุทธศาสตร์ จนไปถึงตัวช้ีวัดในระดับแผนงาน/โครงการ
ของหน่วยงาน และอนุกรรมการ
2. ประสานการตดิ ตาม ประเมนิ ผลและตรวจสอบผลงานในแตล่ ะแผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบตั ิการของหน่วยงาน
เพือ่ นำ� มาเปน็ ข้อมลู ในการประสานงาน และปรบั ปรงุ แผนในระดับปฏบิ ตั ิอย่างตอ่ เน่อื งตลอดระยะเวลาของแผน
3. สนับสนุนให้หน่วยงานมีการติดตาม ประเมินผลแผนงาน/โครงการของแต่ละหน่วยงาน และ ให้มีการรายงาน
ความกา้ วหนา้ ใหก้ บั ผบู้ รหิ ารหนว่ ยงานไดร้ บั ทราบอยา่ งสมำ�่ เสมอ และมกี ารรายงานให้ ศนู ยอ์ ำ� นวยการความปลอดภยั ทางถนน
ไดร้ บั ทราบทุก 6 เดือน
4. พฒั นาองค์ความรู้ และเสรมิ สร้างความเข้าใจเรอ่ื งการติดตาม ประเมนิ ผล และการก�ำหนดตวั ชี้วัดทเี่ หมาะสมสำ� หรับ
หน่วยงาน เพ่ือสรา้ งทักษะในการติดตามประเมินผล และสามารถนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ร่วมกนั อย่างเป็นรปู ธรรม
5. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจและการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์เพื่อให้เกิดการพัฒนา
อย่างต่อเน่ือง พัฒนาให้เกิดการเช่ือมโยงเป็นเครือข่ายระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในทุกระดับ มีระบบการรายงาน
ผลการด�ำเนินการในระหว่างหน่วยงาน และในระดับพื้นท่ี โดยเฉพาะระบบติดตามการด�ำเนินการในระดับแผนงาน/โครงการ
ทไี่ ดร้ บั การจดั สรรจากงบประมาณของรฐั ทงั้ ในระบบงบประมาณปกติ และในระดบั กองทนุ ตา่ งๆ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการตดั สนิ ใจ
เชิงบรหิ ารของผู้บริหารในสว่ นกลาง และในระดับจงั หวัด
6. เสริมสร้างศักยภาพของผู้ตรวจของแต่ละหน่วยงานให้สามารถติดตามความก้าวหน้า และประเมินผลการท�ำงาน
เพ่ือใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพสูงสุด จนสามารถน�ำไปส่ผู ลสัมฤทธขิ์ องแผนได้

14 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

บทท่ี 1

สถานการณแ์ ละแนวโน้มการเกิดอุบัตเิ หตุ

1.1 สถานการณอ์ ุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทย

ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ใน พ.ศ.2558 พบว่าอุบัติเหตุทางถนน
เปน็ ปจั จยั หนง่ึ ของการเสยี ชวี ติ ของผคู้ นทงั้ โลก โดยเฉพาะในกลมุ่ วยั รนุ่ และวยั ทำ� งาน (อายรุ ะหวา่ ง 15 – 29 ป)ี ทเี่ ปน็ กำ� ลงั หลกั
ในการพัฒนาประเทศ ดังน้ัน การลดอัตราการเสียชีวิต และการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน จึงเป็นหน่ึงในเป้าหมายหลัก
ของการพัฒนาที่ท่ัวโลกให้ความส�ำคัญ โดยองค์การสหประชาชาติประกาศให้ พ.ศ. 2554 – 2563 เป็นทศวรรษแห่งความ
ปลอดภัยทางถนน และเรียกร้องใหป้ ระเทศสมาชิกลดจ�ำนวนผ้เู สียชีวิตจากอุบัตเิ หตุทางถนนลงร้อยละ 50 เม่อื สนิ้ สุดทศวรรษ
ซ่ึงประเทศไทยในฐานะประเทศสมาชิกได้ก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงานความปลอดภัยทางถนนตามกรอบปฏิญญามอสโก
และก�ำหนดเป้าหมายเพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน โดยใช้ฐานข้อมูลของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ (ตร.)
ให้ไดต้ �่ำกว่า 10 คนตอ่ ประชากรแสนคน ภายใน พ.ศ. 2563

ปัจจุบันประเทศไทยประสบปัญหาอุบัติเหตุทางถนนอย่างรุนแรง แม้ยังไม่สามารถระบุตัวเลขท่ีแน่ชัดได้ แต่แนวโน้ม
ของจ�ำนวนผูเ้ สียชีวติ และบาดเจ็บสูงมาก หากเทยี บกบั ประเทศอ่ืนๆ ในโลก จากรายงานสถานการณค์ วามปลอดภัยทางถนน
ของโลกใน พ.ศ. 2558 (World Health Organization Report, 2015) พบว่า ประเทศไทยมีจ�ำนวนผู้เสียชีวติ สงู เป็นอันดับที่ 2
ของโลก โดยอยูท่ ่ี 24,237 ราย ลดลงจาก พ.ศ. 2556 ซงึ่ อยูท่ ่ี 26,312 ราย ทง้ั นี้ ความสูญเสยี จากปญั หาอบุ ัตเิ หตุทางถนน
ของไทยใน พ.ศ. 2557 มมี ลู คา่ รวมทงั้ สิ้น 135,894 ลา้ นบาท หรอื ประมาณรอ้ ยละ 1.39 ของผลิตภณั ฑม์ วลรวมทงั้ ประเทศ
(สถาบันวิจัยเพอื่ การพัฒนาประเทศไทย, 2558)

การศึกษาส่วนนี้มีวัตถุประสงค์ในการท�ำความเข้าใจสถานการณ์อุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยจากข้อมูล
จ�ำนวนอุบัติเหตุ ผู้บาดเจ็บ และผู้เสียชีวิต เพ่ือวิเคราะห์สถานการณ์ด้านความปลอดภัยทางถนนในปัจจุบันความรุนแรง
มลู ค่าความเสียหาย และความเส่ียงตอ่ การเสยี ชีวิตจากอุบตั เิ หตุทางถนนของประเทศไทย

1.1.1 ขอ้ มลู อุบตั ิเหตทุ างถนนของประเทศไทย
ในสว่ นนี้คณะผวู้ จิ ัยได้พจิ ารณาสถานการณอ์ ุบัติเหตุทางถนน ทง้ั ข้อมลู จ�ำนวนอบุ ตั เิ หตุทางถนนในประเทศไทย

จำ� นวนผบู้ าดเจบ็ และจำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ จากฐานขอ้ มลู ของหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งตา่ งๆ เพอ่ื ทำ� ความเขา้ ใจสถานการณค์ วามรนุ แรง
และวิเคราะห์แนวโน้มของการเกิดอุบัติเหตทุ างถนนในปจั จุบนั

1) จ�ำนวนอุบตั ิเหตทุ างถนนในประเทศไทย
หากพิจารณาจ�ำนวนอุบัติเหตุทางถนนในประเทศไทย จากข้อมูลสถิติของหน่วยงานหลักท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่

ข้อมูลคดีอุบัตเิ หตุจราจรของสำ� นกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ (ตร.) ขอ้ มูลจำ� นวนการเคลมประกนั ภยั รถยนตภ์ าคบงั คบั ของส�ำนักงาน
คณะกรรมการกำ� กบั และสง่ เสรมิ การประกอบธรุ กจิ ประกนั ภยั (คปภ.) และขอ้ มลู จำ� นวนอบุ ตั เิ หตบุ นทางหลวงของกรมทางหลวง
(ทล.) ในช่วง พ.ศ. 2543 - 2556 ซึ่งรวบรวมโดยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2558) จะเห็นได้ว่าตัวเลข
มคี วามแตกต่างกันอยา่ งเห็นไดช้ ัด

แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 15

ขอ้ มูลของ คปภ. มจี �ำนวนอบุ ัติเหตุสูงกว่าข้อมูลของ ตร. กวา่ รอ้ ยละ 50 และมแี นวโน้มที่จ�ำนวนอุบัติเหตุ
จะเพมิ่ ขนึ้ ในอนาคต ในขณะทข่ี อ้ มลู ของ ตร. มแี นวโนม้ ลดลง ซง่ึ อาจเกดิ จากขน้ั ตอนการเกบ็ ขอ้ มลู โดย ตร. จะเกบ็ ขอ้ มลู อบุ ตั เิ หตุ
ในกรณีท่มี ีการฟ้องร้องหรือหาผ้กู ระทำ� ผิดเท่าน้นั เพอื่ ใช้สทิ ธิเรียกร้องประกันภัยรถภาคบงั คับ แต่ในกรณีที่เกดิ อบุ ัตเิ หตโุ ดยท่ี
ไม่มผี ู้กระทำ� ผิด เชน่ อบุ ัตเิ หตจุ ากการขับรถลงขา้ งทาง ข้อมลู ของ ตร. อาจไมค่ รอบคลมุ ในกรณดี งั กลา่ ว เป็นตน้

ดังน้ัน ข้อมูลของ คปภ. จึงสะท้อนจ�ำนวนอุบัติเหตุทางถนนที่เกิดขึ้นจริงของประเทศไทยมากกว่า
เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั ฐานขอ้ มลู กลมุ่ อนื่ ดงั ภาพ 1-1 ซงึ่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ จำ� นวนอบุ ตั เิ หตทุ างถนนของประเทศไทย มแี นวโนม้ เพมิ่ ขน้ึ
แม้ภาครัฐได้ประกาศนโยบายทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ตั้งแต่ พ.ศ. 2554 เพอ่ื ลดจ�ำนวนอบุ ัตเิ หตุและจำ� นวนผเู้ สีย
ชวี ติ ทางถนนแลว้

ภาพ 1-1 จ�ำนวนอบุ ตั ิเหตทุ างถนนของไทยในชว่ ง พ.ศ 2543 – 2556
ทม่ี า: รวบรวมจาก ตร. คปภ. และ ทล. โดยสถาบนั วิจยั เพือ่ การพฒั นาประเทศไทย (2558)
ทั้งน้ี จ�ำนวนอุบัติเหตุทางถนนบนทางหลวงมีสัดส่วนเพียงร้อยละ 20 ของจ�ำนวนอุบัติเหตุที่เกิดข้ึนทั้งหมด
ซ่งึ สะท้อนให้เหน็ วา่ จ�ำนวนอบุ ัติเหตสุ ่วนใหญ่เกิดขน้ึ บนถนนนอกความดูแลของ ทล. ดังในภาพ 1-2

ภาพ 1-2 การเปรียบเทียบจำ� นวนอุบัตเิ หตทุ างถนนบนทางหลวงและจ�ำนวนอบุ ัตเิ หตุทง้ั หมด
ทม่ี า: รวบรวมจาก ตร. และ ทล. โดยสถาบันวจิ ัยเพอ่ื การพฒั นาประเทศไทย (2558)

นอกจากน้ี หากเปรียบเทยี บขอ้ มูลการเกดิ อบุ ัตเิ หตขุ องถนนทางหลวงและถนนทางหลวงชนบท ดงั ภาพ 1-3
จะพบวา่ ตวั เลขมจี ำ� นวนแตกตา่ งกนั มาก โดยขอ้ มลู จำ� นวนอบุ ตั เิ หตขุ องกรมทางหลวงชนบท (ทช.) อาจจะมแี นวโนม้ ของจำ� นวน
อุบัติเหตุท่ีสูงกว่า แต่ด้วยข้อจ�ำกัดในการเก็บรวบรวมที่ไม่ครบถ้วนและสมบูรณ์ ท�ำให้จ�ำนวนอุบัติเหตุทางถนนต่�ำกว่าเกณฑ์
ทคี่ าดว่าจะน่าจะเกิดขึ้นจรงิ
16 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

ภาพ 1-3 การเปรยี บเทียบจำ� นวนอบุ ัติเหตทุ างถนนบนทางหลวงและจำ� นวนอุบตั เิ หตบุ นถนนทางหลวงชนบท
ท่ีมา: รวบรวมจาก ทล. และ ทช. โดยทป่ี รึกษา (2560)

2) จ�ำนวนผ้บู าดเจบ็ จากอุบตั เิ หตทุ างถนนในประเทศไทย
การบาดเจ็บเป็นปัจจัยวัดระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุ และคุณภาพการให้บริการทางสาธารณสุข

กลา่ วคือ หากระบบการแพทย์ฉุกเฉินมปี ระสิทธภิ าพจะสามารถลดอตั ราผูเ้ สยี ชีวติ จากอบุ ัติเหตทุ างถนนได้ ทั้งน้ี หากพิจารณา
ขอ้ มลู จำ� นวนผบู้ าดเจ็บจากอบุ ตั ิเหตุทางถนนจากฐานขอ้ มูล ตร. และ คปภ. ในชว่ ง พ.ศ. 2551 - 2556 ดงั แสดงในภาพ 1-4
ซึ่งวิเคราะห์และรวบรวมโดยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2558) จะเห็นได้ว่าระบบฐานข้อมูลและแนวโน้ม
การบาดเจบ็ มลี ักษณะเดยี วกับจำ� นวนอุบัตเิ หตุ คอื ฐานขอ้ มูลของ คปภ. น้นั มีการรวบรวมขอ้ มลู จำ� นวนผู้บาดเจ็บได้สงู กว่า
ฐานขอ้ มลู คดีจราจรของ ตร. และแนวโนม้ ขอ้ มูล ของ ตร. และ คปภ. ค่อนขา้ งคงท่ีในช่วง พ.ศ. 2554 - 2556 จึงแสดงให้เห็นวา่
จำ� นวนผบู้ าดเจบ็ จากอุบตั เิ หตทุ างถนนของประเทศไทยไม่ไดล้ ดลงภายใต้กรอบทศวรรษแห่งความปลอดภยั ทางถนน

ภาพ 1-4 จ�ำนวนผ้บู าดเจบ็ จากอุบตั เิ หตทุ างถนนช่วง พ.ศ. 2551 - 2556
หมายเหตุ: ข้อมูลของ คปภ. ในพ.ศ. 2556 อยใู่ นระหว่างรอการบันทึกขอ้ มลู ของระบบประกนั ภยั

ที่มา: รวบรวมจาก ตร. และ คปภ. โดยสถาบนั วจิ ัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2558)

นอกจากนี้ หากพจิ ารณาอาการบาดเจบ็ ดว้ ยขอ้ มลู จำ� นวนผปู้ ว่ ยจากอบุ ตั เิ หตทุ างถนนทเี่ ขา้ รบั การรกั ษาทสี่ ถานพยาบาล
จากฐานข้อมูลของส�ำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (สนย.) ในช่วง พ.ศ. 2545 – 2558 รวบรวม
โดยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2558) ดังแสดงในภาพ 1-5 พบว่า สัดส่วนของจ�ำนวนผู้ป่วยในต่อผู้ป่วยนอก
อยู่ท่ีประมาณร้อยละ 14 ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าอาการบาดเจ็บรุนแรงของผู้ประสบภัยจากรถในภาพรวมยังไม่สูงมาก
และมแี นวโนม้ ลดลง

แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561-2564 17

ภาพ 1-5 จ�ำนวนผูบ้ าดเจ็บจากอุบตั เิ หตทุ างถนนท่เี ขา้ รับการรกั ษาพยาบาล จ�ำแนกตามประเภทผปู้ ่วย พ.ศ. 2545-2558
ทม่ี า: รวบรวมจาก สนย. โดยสถาบันวจิ ัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย (2558)

3) จำ� นวนผูเ้ สียชีวติ จากอุบตั ิเหตทุ างถนนในประเทศไทย
ฐานข้อมูลจ�ำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยสามารถแบ่งได้เป็น 2 ฐานหลัก

ไดแ้ ก่ ฐานของ ตร. และ สนย. จะเหน็ วา่ ในชว่ งก่อน พ.ศ. 2543 การเปลีย่ นแปลงของจ�ำนวนผเู้ สียชวี ิตจากอบุ ัตเิ หตทุ างถนน
คอ่ นข้างผันผวน จำ� นวนผู้เสียชวี ิตจากอุบัตเิ หตุทางถนนปรับเพิ่มขน้ึ อย่างต่อเนอื่ งในชว่ ง พ.ศ. 2532 - 2538 โดยอย่ทู ่ปี ระมาณ
17,000 คนใน พ.ศ. 2538 และปรบั ลดลงภายหลงั พ.ศ. 2540 โดยมจี ำ� นวนผู้เสียชีวิต 10,000 คน ใน พ.ศ. 2552 (สถาบันวจิ ัย
เพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2558)

จะเหน็ วา่ ขอ้ มลู ทง้ั 2 ฐานมคี วามใกลเ้ คยี งกนั ในชว่ งกอ่ น พ.ศ. 2553 แตภ่ ายหลงั จากการพฒั นาการเกบ็ ขอ้ มลู
ของ สนย. ต้ังแต่ พ.ศ. 2553 ท�ำให้ฐานขอ้ มลู ท้ัง 2 แห่ง มจี �ำนวนผ้เู สียชวี ิตจากอุบัติเหตทุ างถนนทแี่ ตกตา่ งกัน โดยแนวโนม้
จำ� นวนผูเ้ สยี ชวี ิตของ สนย. เพมิ่ สงู ข้นึ ในขณะทขี่ อ้ มลู ของ ตร. กลับลดลง ดงั ภาพ 1-6 และ 1-7

ภาพ 1-6 จำ� นวนผ้เู สียชวี ิตจากอุบัติเหตทุ างถนนของประเทศไทยต้ังแต่ พ.ศ. 2532 - 2556
ทม่ี า: รวบรวมจาก สนย. และ ตร. โดยสถาบนั วิจยั เพอ่ื การพฒั นาประเทศไทย (2558)

นอกจากน้ี ยังพบว่าตั้งแต่ พ.ศ. 2554 จ�ำนวนผู้เสียชีวิตจากฐานข้อมูลของ สนย. มีทิศทางเพ่ิมข้ึน
สวนทางกบั แนวโนม้ ของฐานขอ้ มลู จาก ตร. ดงั ภาพท่ี 1-7 อยา่ งไรกต็ ามขอ้ มลู จากทง้ั 2 แหลง่ ไดแ้ สดงใหเ้ หน็ วา่ จำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ
จากอุบัตเิ หตุทางถนนของไทยอยู่ในระดบั ท่สี งู
18 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

ภาพ 1-7 จ�ำนวนผู้เสยี ชีวติ จากอุบตั ิเหตุทางถนนของประเทศไทยต้ังแต่ พ.ศ. 2543 - 2556
ที่มา: รวบรวมจาก สนย. และ ตร. โดยสถาบันวิจัยเพอื่ การพัฒนาประเทศไทย (2558)

อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยยังขาดระบบฐานข้อมูลกลางท่ีมีความถูกต้องและมีความครอบคลุมในปัจจุบัน
ทำ� ใหย้ ากตอ่ การวเิ คราะหห์ รอื บง่ ชป้ี ญั หาทช่ี ดั เจนได้ โดยเฉพาะขอ้ มลู จำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ จากอบุ ตั เิ หตทุ างถนน ซงึ่ หากเปรยี บเทยี บ
ระหว่างฐานขอ้ มลู ของไทยและ World Health Organization report (2013) พบวา่ จ�ำนวนผู้เสียชวี ิตจากฐานขอ้ มลู ของ ตร.
และ สนย. ใน พ.ศ. 2554 และแมก้ ระท่ังการเชื่อมโยงข้อมลู 3 ฐาน ใน พ.ศ. 2555 ยังต่�ำกว่าการค�ำนวณด้วยวธิ ี Regression
analysis ของ WHO ใน พ.ศ. 2555 ทงั้ น้ี ในปจั จุบันฐานข้อมลู ของระบบประกนั ภยั ถือว่ามคี วามครอบคลมุ มากท่ีสดุ เนอ่ื งจาก
มีการพัฒนาระบบการรายงานแบบออนไลน์ (Real-time online) เพือ่ เพ่ิมประสิทธภิ าพในการเก็บข้อมูล แตย่ ังมีความจ�ำกัด
เฉพาะข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนท่ีเกิดกับผู้ประสบภัยจากรถท่ีใช้สิทธิประกันภัยรถภาคบังคับเท่านั้นส่วนฐานข้อมูลของ สนย.
มกี ารปรบั ปรงุ ระบบการจดั เกบ็ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขนึ้ โดยเฉพาะขอ้ มลู จำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ ทำ� ใหข้ อ้ มลู ดงั กลา่ วยงั มแี นวโนม้ เพม่ิ ขนึ้
อย่างตอ่ เนอ่ื งตัง้ แต่ พ.ศ. 2554 เปน็ ต้นมา ทัง้ น้ี ฐานขอ้ มลู ของ ตร. มขี อ้ จ�ำกดั ในเรอ่ื งของการรวบรวมเฉพาะข้อมูลคดอี ุบัติเหตุ
จราจร ซงึ่ ในปจั จบุ นั อยู่ในระหวา่ งการปรับปรุงระบบการรายงานขอ้ มูลตำ� รวจแบบออนไลน์ (POLIS) ให้มีประสทิ ธิภาพย่ิงข้นึ
นอกจากน้ี ปัญหาของฐานขอ้ มูล ตร. ยังมีผลต่อระบบการรวบรวมขอ้ มูลของ ทล. อีกด้วย

จากระบบการเช่ือมโยงข้อมูล 3 ฐาน พบว่า ประเทศไทยมีจ�ำนวนผู้เสียชีวิตโดยเฉล่ียในพ.ศ. 2556 สูงถึง
21,814 คนต่อปี ซ่ึงสูงกว่าจ�ำนวนผเู้ สยี ชวี ติ จากฐานขอ้ มูลของ สนย. และ ตร. อีกท้งั ยังใกล้เคียงกบั ผลการประมาณการของ
Global status report on road safety 2015 (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2558) ดังท่ีแสดงในภาพที่ 1-8
ดงั นน้ั ความพยายามในการจดั ทำ� ระบบขอ้ มลู 3 ฐาน ใหม้ คี วามตอ่ เนอื่ ง จะชว่ ยสง่ เสรมิ ใหก้ ารวเิ คราะหป์ ญั หาและการดำ� เนนิ งาน
ดา้ นความปลอดภัยทางถนนของประเทศไทยเป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและนา่ เชอ่ื ถอื มากขึน้ ในอนาคต

ภาพ 1-8 เปรียบเทยี บจ�ำนวนผู้เสียชวี ิตจากฐานข้อมลู อุบตั ิเหตุทางถนนของประเทศไทย
ทมี่ า: รวบรวมจาก WHO สนย. ตร. และ ศนู ยอ์ ำ� นวยความปลอดภยั ทางถนน โดยสถาบนั วจิ ยั เพอื่ การพฒั นาประเทศไทย (2558)

แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 19

โดยสรุปแล้วข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยในช่วงแรกยังไม่สามารถสะท้อนจ�ำนวนอุบัติเหตุ
จ�ำนวนผู้บาดเจ็บและจ�ำนวนผู้เสียชีวิตได้อย่างแท้จริง แม้จะมีการสร้างข้อมูล 3 ฐาน ข้ึนในภายหลังจากการบูรณาการ
และเช่ือมโยงขอ้ มลู ระหวา่ งหนว่ ยงาน เพื่อทำ� ให้ตวั เลขของผเู้ สียชีวิต

มคี วามใกลเ้ คยี งขอ้ เทจ็ จรงิ และมคี วามนา่ เชอ่ื ถอื มากขน้ึ แตเ่ ปน็ เพยี งขอ้ มลู จากการประมาณการ ไมใ่ ชต่ วั เลข
ท่ีแน่นอน ดังนั้น ภาครัฐและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องต้องให้ความส�ำคัญกับข้อมูลด้านสถิติ เพื่อทราบความสูญเสียที่แท้จริง
จากปัญหาอุบตั ิเหตุทางถนน และด�ำเนนิ มาตรการแกไ้ ขไดอ้ ย่างตรงจุด พร้อมท้ังต้ังเป้าหมายที่สอดคล้องและกำ� หนดนโยบาย
ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธผิ ล

1.1.2 การวิเคราะห์สถานการณค์ วามปลอดภยั ทางถนนของประเทศไทย
จากการศึกษาข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยในเบ้ืองต้น คณะผู้วิจัยได้น�ำแนวทางการวิเคราะห์

ของสถาบนั วจิ ยั เพอื่ การพฒั นาประเทศไทย (2558) ทไ่ี ดป้ ระเมนิ ความรนุ แรง มลู คา่ ความเสยี หายทางเศรษฐกจิ ความเสยี่ งตอ่ การ
เสียชีวิตของอุบัติเหตุทางถนน รวมถึงวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยได้เพื่อเป็นแนวทาง
การศึกษา ดงั ตอ่ ไปน้ี

ความรุนแรงของอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน แม้จะมีการลดลงภายหลังจากมาตรการ
ลดอุบัติเหตุตามเป้าหมายทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนนใน พ.ศ. 2554 จากข้อมูลเก่ียวกับคดีอุบัติเหตุจราจรของ ตร.
สามารถน�ำมาวิเคราะห์ความรุนแรงของอุบัติเหตุทางถนน โดยแบ่งออกเป็น (1) การพิจารณาอัตราส่วนของจ�ำนวนผู้เสียชีวิต
จากอบุ ตั เิ หตทุ างถนนตอ่ จำ� นวนครง้ั ของการเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ างถนน หรอื ดชั นคี วามรนุ แรง (Severity Index) และ (2) การพจิ ารณา
อัตราส่วนของจ�ำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อจ�ำนวนรวมผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน หรือดัชนี
การเสียชวี ิต (Fatality Index)

ท้งั น้ี จากภาพ 1-9 จะเห็นได้ว่าความรุนแรงของอบุ ัตเิ หตุทางถนนของประเทศไทยมแี นวโน้มลดลง ในช่วงแรก
ระหว่าง พ.ศ. 2540 – 2548 แตก่ ลับเพิม่ ข้ึนอยา่ งต่อเนอื่ งภายหลังจาก พ.ศ. 2548 จนกระทัง่ เร่ิมมีการปรบั ลดลงภายหลงั จาก
พ.ศ. 2554 ซง่ึ ประเทศไทยไดเ้ รม่ิ ดำ� เนนิ มาตรการตามเปา้ หมายทศวรรษแหง่ ความปลอดภยั ทางถนน อยา่ งไรกต็ าม ขอ้ มลู ของ ตร.
ยงั มีปญั หาดา้ นความเอนเอยี ง (Bias) ในการบันทึกข้อมลู ซง่ึ ส่งผลใหข้ ้อมลู ทีไ่ ด้น้นั มีคา่ นอ้ ยกว่าความเป็นจริง (Under report)

นอกจากน้ี สถานการณ์จ�ำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนมีแนวโน้มลดลงเพียงเล็กน้อย ใน พ.ศ. 2556
แต่จ�ำนวนผู้บาดเจ็บเม่ือเทียบกับจ�ำนวนคดีอุบัติเหตุทางถนนกลับเพ่ิมข้ึน โดยจ�ำนวนคดีอุบัติเหตุทางถนน ใน พ.ศ. 2556
นน้ั เพ่ิมขึน้ รอ้ ยละ 0.08 จาก 61,197 ราย เป็น 61,246 ราย ใน พ.ศ. 2555 และ 2556 ตามลำ� ดับ จึงเหน็ ไดว้ ่าสถานการณ์
อบุ ตั เิ หตทุ างถนนในภาพรวมของประเทศ ยงั ไมไ่ ดล้ ดความรนุ แรงลงเทา่ ใดนกั ดงั แสดงในฐานขอ้ มลู ของ ตร. ในชว่ ง พ.ศ. 2549 –
2556 จากภาพ 1-10

ภาพ 1-9 ดัชนแี สดงความรุนแรงของสถานการณอ์ บุ ตั ิเหตุทางถนนของไทยตัง้ แต่ พ.ศ. 2540 – 2556
ทีม่ า: รวบรวมจาก ตร. และมูลนธิ ิไทยโรดส์ โดยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2558)

20 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

ภาพ 1-10 การเปรยี บเทยี บดชั นกี ารเสยี ชวี ติ จำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ และบาดเจบ็ จากอบุ ตั เิ หตทุ างถนนของไทย ชว่ ง พ.ศ. 2549 – 2556
ที่มา: รวบรวมจาก ตร. โดยสถาบนั วจิ ยั เพือ่ การพฒั นาประเทศไทย (2558)

จากข้อมูลของมูลนิธิไทยโรดส์ (2558) พบว่า ดัชนีความรุนแรงใน พ.ศ. 2556 ของแต่ละจังหวัดปรับลดลง
จาก พ.ศ. 2555 ในขณะที่ดชั นีการเสยี ชีวิตใน พ.ศ. 2556 ของบางจงั หวัดกลับเพม่ิ ข้นึ จาก พ.ศ. 2555 เชน่ สมทุ รสงคราม
ฉะเชงิ เทรา และอดุ รธานี เปน็ ต้น ดงั แสดงในตาราง 1-1

อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์ข้อมูลยังไม่อาจสรุปได้ว่าความรุนแรงทางถนนในบางจังหวัดเกิดจากความไม่มี
ประสิทธิผลของนโยบายหรือมาตรการด้านความปลอดภัยทางถนน เนื่องจากแต่ละจังหวัดมีลักษณะเฉพาะบางประการ
ซ่ึงเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุทางถนน เช่น การขยายตัวของจ�ำนวนประชากรและขนาดเศรษฐกิจ หรือการเป็น
เมอื งทอ่ งเท่ยี ว เป็นตน้

ตาราง 1-1 ดัชนีการเสยี ชวี ติ ของบางจงั หวัดใน พ.ศ. 2556 ทีเ่ พม่ิ ข้นึ จาก พ.ศ. 2555

จังหวัด พ.ศ. 2555 ดชั นีการเสยี ชีวติ การเปล่ยี นแปลง (รอ้ ยละ)
พ.ศ. 2556
สมทุ รสงคราม 0.38 0.61 60.53
ฉะเชิงเทรา 0.38 0.48 26.32
อุดรธานี 0.45 0.56 24.44
นครราชสีมา 0.35 0.42 20.00
จันทบรุ ี 0.38 0.44 15.79
ประจวบคีรีขันธ์ 0.40 0.46 15.00
สระแกว้ 0.38 0.42 10.53

ที่มา: รวบรวมจากมลู นธิ ิไทยโรดส์ โดยสถาบนั วิจัยเพอ่ื การพัฒนาประเทศไทย (2558)

ในสว่ นของมลู คา่ ความเสียหายจากอบุ ัตเิ หตุทางถนน นอกจากความสญู เสยี ทางร่างกาย ชวี ติ และทรัพยส์ นิ แล้ว

อุบัติเหตุทางถนนยังก่อให้เกิดความสูญเสียต่อเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งหากพิจารณามูลค่าความเสียหายของทรัพย์สิน

จากอุบัติเหตุทางถนนในช่วง พ.ศ. 2547-2557 โดยใช้ฐานข้อมูลของ ตร. พบว่า อุบัติเหตุทางถนนก่อให้เกิดความเสียหาย

แผนแม่บทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 21

ตอ่ ทรพั ย์สินเฉล่ยี 3.8 พันล้านบาทต่อปี หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 0.039 ของผลผลติ มวลรวมประชาชาติ นอกจากน้ี ทล. ได้ศกึ ษา
มลู คา่ อบุ ตั เิ หตทุ างถนน โดยไดค้ ำ� นวณตน้ ทนุ จากการเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ างถนน โดยการคำ� นวณคา่ เฉลยี่ ของจำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ พกิ าร
บาดเจบ็ สาหัส และบาดเจบ็ เล็กน้อย ต่อการเกิดอุบตั ิเหตุ 1 ครัง้ และทำ� ให้ไดม้ ูลคา่ ความเสียหาย จากการเกดิ อบุ ัตเิ หตทุ างถนน
ทัง้ หมดใน พ.ศ. 2556 อยู่ที่ 1.9 แสนลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.47 ของผลผลติ มวลรวมประชาชาติ

ทั้งน้ี สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย (2558) ได้ค�ำนวณมูลค่าความสูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนน
ของประเทศไทย โดยแจกแจงมลู คา่ ความสญู เสยี ทงั้ จากการบาดเจบ็ และเสยี ชวี ติ ได้ ดงั ตาราง 1-2 ซงึ่ ผลจากการคำ� นวณพบวา่
มูลค่าความเสียหายจากอุบัติเหตุทางถนนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วง พ.ศ. 2553 - 2557 โดยใน พ.ศ. 2557 มีค่าอยู่ท่ี
135,894 ล้านบาท ซ่ึงคดิ เป็นร้อยละ 1.39 ของ GDP

ตาราง 1-2 มูลค่าความเสียหายจากอุบตั เิ หตุทางถนนในชว่ ง พ.ศ. 2547 – 2557

พ.ศ. มูลคา่ ความเสยี หาย (ล้านบาท) รวม GDP (ล้านบาท) สัดส่วนต่อ GDP
การเสียชวี ติ การบาดเจ็บ (รอ้ ยละ)

2547 85,330 8,520 93,850 6,954,277 1.35
2548 79,076 8,119 87,195 7,614,407 1.20
2549 77,353 8,749 86,102 8,400,654 1.12
2550 74,489 9,169 83,659 9,076,301 1.03
2551 75,884 9,595 85,480 9,706,934 1.04
2552 72,258 10,542 82,800 9,654,013 1.00
2553 107,279 10,382 117,661 10,802,396 1.31
2554 115,738 11,250 126,989 11,300,483 1.41
2555 118,082 11,375 129,457 12,354,655 1.35
2556 128,577 12,299 140,876 12,910,038 1.33
2557 133,276 12,749 146,025 13,203,737 1.39

ทีม่ า: คำ� นวณโดยสถาบนั วจิ ยั เพ่ือการพฒั นาประเทศไทย (2558)
หมายเหตุ: จ�ำนวนผู้เสียชีวิตและจ�ำนวนผู้บาดเจ็บ ท่ีปรึกษาได้อ้างอิงจ�ำนวนผู้เสียชีวิตและจ�ำนวนผู้บาดเจ็บ จากอุบัติเหตุ
ทางถนน จากกระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2558 สำ� หรบั มลู คา่ ความเสยี หายไดม้ กี ารปรบั ตามภาวะเงนิ เฟอ้ ในแตล่ ะปี โดยคา่ เฉลยี่

ของผเู้ สียชวี ิตและผู้บาดเจบ็ อยทู่ ี่ประมาณ 8.6 ล้านบาทตอ่ คน และอย่ทู ป่ี ระมาณ 7 พนั บาทต่อคน

ในส่วนของเรอื่ งความเส่ยี งต่อการเสยี ชีวติ จากอุบตั เิ หตทุ างถนนของประเทศไทยสามารถพจิ ารณาได้ 2 ประเด็น
คอื ปจั จยั ระดบั มหภาคทมี่ ีสว่ นท�ำใหเ้ กดิ ความต้องการในการใชร้ ถใชถ้ นนและกลุม่ เสีย่ งต่อการเกิดอุบตั เิ หตทุ างถนน

ปัจจัยระดับมหภาคที่มีผลต่ออุบัติเหตุทางถนนเกิดจากการเพิ่มข้ึนของความต้องการในการเดินทางมีผลกระทบ
ท่ีส�ำคัญต่อการเพ่ิมขึ้นของจ�ำนวนอุบัติเหตุทางถนน เนื่องจากปริมาณการเดินทาง ที่เพ่ิมข้ึนจะเพ่ิมโอกาสหรือความเส่ียง
ตอ่ การเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ างถนน ทงั้ น้ี สถาบนั วจิ ยั เพอื่ การพฒั นา ประเทศไทย (2559) ไดว้ เิ คราะหค์ วามสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ิ
เกยี่ วกบั การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ จำ� นวนประชากร และปรมิ าณรถในประเทศ ซง่ึ พบวา่ มแี นวโนม้ ทเี่ พม่ิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ งตงั้ แต่
พ.ศ. 2548 - 2556 ดังแสดงในภาพ 1-11

22 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

ภาพ 1-11 ความสมั พนั ธข์ องผลผลติ มวลรวมประชาชาติ จำ� นวนประชากร และปรมิ าณรถจดทะเบยี นสะสมชว่ งพ.ศ. 2548-2556
ที่มา: วเิ คราะห์จากธนาคารแห่งประเทศไทยและกรมการขนสง่ ทางบก (มีนาคม, 2558)
โดยสถาบันวจิ ัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย (2558)

หากวเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงของอตั ราสว่ นจำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ จากอบุ ตั เิ หตทุ างถนน เปรยี บเทยี บกบั ปจั จยั มหภาค
อันประกอบไปด้วย จ�ำนวนรถจดทะเบียน ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติและปริมาณการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง พบว่า แนวโน้ม
ความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนนั้นลดลง ตั้งแต่พ.ศ. 2547 – 2555 ดังแสดงในภาพ 1-12 อย่างไรก็ตาม
แม้ว่าความเสี่ยงจะมีแนวโน้มลดลง แต่อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคนของประเทศไทยยังคงสูงเป็นอันดับ 2 ของโลก
จากขอ้ มูลขององคก์ ารอนามยั โลกใน พ.ศ. 2558

ภาพ 1-12 แนวโนม้ ความเสยี่ งตอ่ การเสียชีวิตจากอบุ ตั เิ หตทุ างถนน ชว่ งพ.ศ. 2547 - 2555
ที่มา: วิเคราะห์จากมูลนิธิไทยโรดส์ โดยสถาบันวิจัยเพื่อการพฒั นาประเทศไทย (2558)

นอกจากน้ี หากพิจารณาข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุทางถนนบนทางหลวงเปรียบเทียบกับการเกิดอุบัติเหตุบน
ประเภทถนนอื่นๆ ในช่วงพ.ศ. 2549 - 2556 ดังแสดงในภาพที่ 1-13 พบว่า สัดส่วนการเกิดอุบัติเหตุและจ�ำนวนผู้เสียชีวิต
บนทางหลวงน้ันมีค่าค่อนข้างน้อย ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอุบัติเหตุทางถนนส่วนใหญ่เกิดข้ึนบนถนนนอกความดูแลของ ทล.
เชน่ ถนนของทอ้ งถนิ่ เปน็ ตน้ ซงึ่ ปจั จยั ดา้ นลกั ษณะภมู ปิ ระเทศในบางทอ้ งถน่ิ ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความเสย่ี งตอ่ การเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ างถนน
เปน็ สาเหตุท่สี ำ� คัญประการหนงึ่ เช่นกัน

แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 23

ภาพ 1-13 แนวโน้มสัดส่วนอบุ ตั ิเหตุทางถนนบนทางหลวง ในช่วงพ.ศ. 2549 - 2556
ท่ีมา: รวบรวมจาก ตร. และ ทล. โดยสถาบันวจิ ัยเพ่ือการพฒั นาประเทศไทย (2558)
สำ� หรบั กลมุ่ เสย่ี งตอ่ การเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ างถนน จากขอ้ มลู อบุ ตั เิ หตทุ างถนนของประเทศไทยในอดตี สามารถนำ� มา
วิเคราะห์ปัจจัยเสยี่ งทม่ี ผี ลตอ่ การเกิดอุบตั ิเหตุทางถนน และกล่มุ ประชากรทมี่ โี อกาสไดร้ ับอบุ ัติเหตุทางถนนโดยเฉพาะในกรณี
ทม่ี ีความรา้ ยแรงจนถึงแกช่ ีวิต
จากข้อมูลจ�ำนวนคดีจราจรของ ตร. ในช่วง พ.ศ. 2549-2557 พบว่า สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุทางถนน
สว่ นใหญม่ าจากพฤตกิ รรมของผขู้ บั ข่ี โดยคดิ เปน็ สดั สว่ นสงู ถงึ รอ้ ยละ 61 ของจำ� นวนคดอี บุ ตั เิ หตุ ทางถนนเฉลยี่ ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว
ดังแสดงในภาพ 1-14 ซึ่งกว่าร้อยละ 25 เป็นความผิดที่เกิดจากการใช้ความเร็วเกินก�ำหนด รองลงมา ได้แก่ การตัดหน้า
ในระยะกระชน้ั ชดิ (รอ้ ยละ 20) การขบั รถครอ่ มเลน (รอ้ ยละ 12) และการเมาสรุ า (รอ้ ยละ 10) ตามลำ� ดบั สอดคลอ้ งกบั รายงาน
อุบัตเิ หตขุ อง ทล. (2556) ทีพ่ บว่า สาเหตุสว่ นใหญ่ของการเกิดอุบัตเิ หตุบนทางหลวงมาจากความบกพร่องของผูข้ บั ขีโ่ ดยตรง
หรือพฤติกรรมการขับข่ี เช่น การขับรถเร็วเกินก�ำหนด โดยคิดเป็นร้อยละ 90 ของจ�ำนวนอุบัติเหตุท้ังหมด รองลงมา ได้แก่
ความบกพรอ่ งของผู้ขับขโี่ ดยอ้อม เช่น การเมาสุรา และการหลบั ใน ซึ่งคิดเป็นรอ้ ยละ 6 ของจำ� นวนอุบตั ิเหตทุ ้ังหมด สว่ นลำ� ดับ
ตอ่ มา ได้แก่ ความบกพร่องของรถ และสาเหตอุ ื่นๆ ซงึ่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 3 และรอ้ ยละ 1 ของจ�ำนวนอบุ ตั ิเหตุทง้ั หมด ตามล�ำดับ

ภาพ 1-14 สาเหตขุ องการเกิดอบุ ัติเหตุทางถนน ในช่วงพ.ศ. 2549 - 2557
ทมี่ า: รวบรวมจาก ตร. โดยสถาบนั วิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (2558)

24 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

อย่างไรก็ตาม แม้การใช้ความเร็วเกินก�ำหนดจะเป็นสาเหตุส�ำคัญท่ีท�ำให้เกิดอุบัติเหตุทางถนน แต่จ�ำนวนคดี
อุบัติเหตุจราจรในกรณีดังกล่าวได้ปรับลดลงจากร้อยละ 22 เป็นร้อยละ 11 ในช่วง พ.ศ. 2542 – 2555 ในขณะที่สาเหตุ
ของการขบั ข่ขี ณะเมาสรุ ากลับเพม่ิ ขนึ้ จากรอ้ ยละ 2 เปน็ รอ้ ยละ 6 ในช่วงเวลาเดียวกัน ดงั แสดงในภาพ 1-15

ภาพ 1-15 การเปรียบเทยี บสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุทางถนน ระหวา่ งการใชค้ วามเร็วเกินกำ� หนดและการเมาแลว้ ขบั
ในช่วงพ.ศ. 2542 - 2555

ท่มี า: รวบรวมจากมูลนธิ ไิ ทยโรดส์ โดยสถาบนั วจิ ยั เพอื่ การพัฒนาประเทศไทย (2558)
หากพจิ ารณาข้อมลู เกย่ี วกับการเกดิ อุบตั เิ หตทุ างถนน ซึ่งรวบรวมโดย ตร. สนย. และ คปภ. พบว่า ประเภทของ
ยานพาหนะทเี่ กดิ อบุ ัติเหตมุ ากท่ีสดุ คือ รถจกั รยานยนต์ โดยภาพ 1-16 แสดงใหเ้ ห็นถึงคดอี บุ ตั เิ หตุที่เกิดกบั รถจักรยานยนต์
จำ� นวนผปู้ ระสบภยั จากการใชร้ ถจกั รยานยนตท์ เ่ี ขา้ รบั การรกั ษาพยาบาล และจำ� นวนครง้ั ในการขอรบั คา่ ชดเชยจากประกนั ภยั
รถของรถจกั รยานยนต์ซง่ึ ลว้ นแลว้ แตม่ ีจำ� นวนมากทส่ี ุด

ภาพ 1-16 สดั ส่วนการเกดิ อบุ ัตเิ หตทุ างถนนจากฐานขอ้ มูลทง้ั 3 ฐาน
ที่มา: รวบรวมจาก คปภ. ตร. และ สนย. โดยสถาบันวิจยั เพอื่ การพัฒนาประเทศไทย (2558)
ในส่วนของกลุ่มอายุของผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนนในช่วง พ.ศ. 2553 - 2555 พบว่า ประชากรในกลุ่มอายุ
ท่ีมักประสบอุบัติเหตุทางถนนน้ันเปล่ียนแปลงไป หากเปรียบเทียบกับเม่ือ 10 ปีก่อนหน้าจากภาพ 1-17 แสดงให้เห็นว่า
ในชว่ ง พ.ศ. 2543 - 2545 ประชากรในกลมุ่ อายุ 19-29 ปี และ 40-49 ปี มีจำ� นวนการเสียชีวติ จากอุบัติเหตุทางถนนสูงทส่ี ุด

แผนแม่บทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 25

แตใ่ นชว่ งพ.ศ. 2553-2555 ประชากรในกลมุ่ อายตุ งั้ แต่ 40 ขนึ้ ไป มจี ำ� นวนการเสยี ชวี ติ จากอบุ ตั เิ หตทุ างถนนสงู ขน้ึ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั
ซึ่งสะท้อนการเปลี่ยนแปลงกลุ่มเส่ียงของผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนนจากกลุ่มวัยรุ่นและวัยท�ำงานไปสู่กลุ่มท่ีมีอายุสูงขึ้น
เชน่ เดียวกับขอ้ มลู อตั ราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนตอ่ ประชากรแสนคน

ภาพ 1-17 กลมุ่ อายุของผ้ปู ระสบอบุ ัติเหตทุ างถนนเปรยี บเทยี บระหวา่ ง พ.ศ. 2543 - 2545 และ 2553 - 2555
ท่มี า: วิเคราะหจ์ าก สนย. โดยสถาบนั วิจัยเพ่อื การพัฒนาประเทศไทย (2558)

ย่ิงไปกว่านั้น หากพิจารณาประเภทของยานพาหนะท่ีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในแต่ละกลุ่มอายุใช้ในช่วง
พ.ศ. 2553-2555 ดังแสดงในภาพ 1-18 พบว่า ผู้เสียชีวิตในทุกกลุ่มอายุประสบอุบัติเหตุทางถนนจากรถจักรยานยนต์
เป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะในกลุ่มอายุ 13-23 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มอายุท่ีอยู่ในวัยเรียนอันประกอบไปด้วยนักเรียนและนักศึกษา
มีสัดส่วนของจ�ำนวนผู้เสียชีวิตสูงกว่าร้อยละ 50 ของจ�ำนวนผู้เสียชีวิตในกลุ่มอายุเดียวกัน ท้ังนี้ การวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว
ของ สนย. ไมไ่ ด้น�ำขอ้ มูลจ�ำนวนผูเ้ สียชวี ติ ท่ไี มท่ ราบสาเหตุมารวมด้วย

ภาพ 1-18 กลุ่มอายุของผู้ประสบอบุ ตั ิเหตทุ างถนนเปรียบเทยี บระหว่างพ.ศ. 2543 - 2545 และ 2553 - 2555
ทม่ี า: วเิ คราะห์จาก สนย. โดยสถาบันวจิ ัยเพอื่ การพฒั นาประเทศไทย (2558)

26 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

1.1.3 สรปุ สถานการณค์ วามปลอดภยั ทางถนนของประเทศไทย
อบุ ตั เิ หตุทางถนนของประเทศไทยยงั ไมม่ ีแนวโน้มท่ีจะลดลงท้งั ในด้านของจ�ำนวนการเกิดเหตุ และความรุนแรง

ทเ่ี กดิ ขน้ึ สงั เกตไดจ้ ากจำ� นวนอบุ ตั เิ หตทุ างถนน จำ� นวนผบู้ าดเจบ็ และจำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ รวมทง้ั มลู คา่ ความเสยี หายจากอบุ ตั เิ หตุ
ทางถนนท่เี พิม่ ขึ้นอย่างต่อเนอ่ื งต้งั แต่ พ.ศ. 2547 และมลู คา่ ความเสยี หาย ดังกล่าวโดยเฉล่ียแล้วคดิ เป็นรอ้ ยละ 1.23 ของ GDP
ในช่วง พ.ศ. 2547-2557 แม้วา่ จะมกี ารด�ำเนนิ นโยบายด้านความปลอดภยั ทางถนนตงั้ แต่ พ.ศ. 2554 เพ่ือลดจำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ
จากอบุ ัติเหตุทางถนนใหล้ ดลงต่�ำกว่าเป้าหมายท่ีกำ� หนดไวภ้ ายใตก้ รอบทศวรรษแหง่ ความปลอดภัยทางถนน

ส�ำหรับการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทย พบว่า แม้ปัจจัยด้านมหภาค
จะมที ิศทางการเปลีย่ นแปลงเป็นบวก เชน่ การขยายตวั ของเศรษฐกิจ จำ� นวนยานพาหนะ และปริมาณการใช้เชอื้ เพลิงในการ
เดินทาง เป็นต้น แต่การวิเคราะห์อัตราส่วนของจ�ำนวนผู้เสียชีวิตต่อข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าความเส่ียงในการมีจ�ำนวน
ผเู้ สียชีวติ จากอบุ ัติเหตุทางถนนของประเทศไทยน้นั ลดลงในช่วง พ.ศ. 2547 - 2555 นอกจากนี้ ข้อมูลทางสถิตจิ ากฐานขอ้ มลู
ของท้ัง ตร. และ ทล. สะท้อนให้เห็นว่าพฤติกรรมผู้ใช้รถเป็นสาเหตุหลักของการเกิดอุบัติเหตุทางถนน และพฤติกรรมเสี่ยง
ท่ีท�ำให้เกิดอุบัติเหตุมากท่ีสุดคือ การใช้ความเร็วเกินก�ำหนด โดยอุบัติเหตุส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นบนถนนนอกเหนือความดูแล
ของ ทล. เชน่ ถนนในความดูแลขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ (อปท.) เป็นตน้

สว่ นประเภทรถทเี่ กดิ อบุ ตั เิ หตมุ ากทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ รถจกั รยานยนต์ ซง่ึ แสดงไดด้ ว้ ยสถติ ทิ สี่ อดคลอ้ งกนั ของฐานขอ้ มลู
ตร. สนย. และ คปภ. โดยกล่มุ อายุ 13 - 18 ปี ซงึ่ เป็นกลุ่มวัยรุ่นมจี �ำนวนการเสียชวี ติ จากการขบั ขีร่ ถจักรยานยนตส์ ูงทีส่ ดุ
นอกจากนี้ ข้อมูลของ สนย. ในช่วง พ.ศ. 2553 - 2555 แสดงให้เห็นถึงการเปล่ียนแปลงกลุ่มเส่ียงของผู้ประสบอุบัติเหตุ
ทางถนน จากกลุ่มวัยรุ่นและวัยท�ำงานไปสู่กลุ่มที่มีอายุสูงข้ึน ซ่ึงควรที่จะต้องมีมาตรการเพ่ือรองรับความเสี่ยงเหล่านี้
ท่จี ะเกิดขนึ้ ในอนาคต อย่างไรกต็ าม การวิเคราะห์สถานการณ์ดา้ นอุบัตเิ หตุทางถนน ควรท�ำควบคไู่ ปกับการวิเคราะหแ์ นวโน้ม
การเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ างถนนดว้ ยแบบจำ� ลองทางเศรษฐมติ ิ เพอื่ ใหส้ ามารถประเมนิ สถานการณอ์ บุ ตั เิ หตทุ างถนนในอนาคตไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ

1.2 แนวโนม้ สถานการณอ์ บุ ัตเิ หตโุ ดยแบบจ�ำลอง

การจัดท�ำแบบจ�ำลองอุบัติเหตุทางถนนมีประโยชน์ต่อการสร้างความเข้าใจถึงปัจจัยที่มีผลต่อจ�ำนวนผู้ประสบภัย
จากอุบัตเิ หตทุ างถนน ตลอดจนช่วยคาดการณ์ทศิ ทางในอนาคตของจ�ำนวนผู้เสยี ชวี ติ ที่จะเกิดข้ึน

การศึกษาในส่วนนี้สามารถแบ่งเป็น 4 ส่วนคือ (1) ลักษณะข้อมูลและวิธีการศึกษาแบบจ�ำลองอุบัติเหตุทางถนน
(2) ผลการจัดท�ำแบบจ�ำลองอุบัติเหตุทางถนน (3) การพยากรณ์แบบจ�ำลองอุบัติเหตุทางถนนและ (4) ข้อจ�ำกัดและสรุปผล
การจดั ท�ำแบบจำ� ลองอุบัตเิ หตุทางถนน

1.2.1 วธิ กี ารศกึ ษาและข้อมูลทีใ่ ช้ในการทำ� แบบจำ� ลองอุบัติเหตทุ างถนน
1) วธิ กี ารศึกษา
การศกึ ษาน้เี ลือกใชแ้ บบจำ� ลองพยากรณ์อบุ ัติเหตุข้อมลู รวม (Predictive Models for Aggregated Data)

ในการคาดการณ์แนวโน้มอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยด้วยข้อมูลจ�ำนวนผู้เสียชีวิต 3 ฐาน จากกรมควบคุมโรค ซ่ึงเป็น
ขอ้ มูลพาแนล (Panel data) ของจังหวดั ในประเทศไทยรวม 76 จงั หวัด ตัง้ แต่ พ.ศ. 2554 – 2556 รวมท้ังสิ้น 2,736 ข้อมลู
และเป็นการศึกษาจ�ำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ซึ่งเป็นข้อมูลจ�ำนวนนับ ท�ำให้วิธีที่เหมาะสมส�ำหรับคาดการณ์
แบบจ�ำลอง คือ วิธีพาแนลพัวซอง (Panel Poisson Estimation) และพาแนลทวินามเชิงลบ (Negative Binomial
Estimation: NGM) อย่างไรก็ตามจากปัญหาค่าความแปรปรวนสูงกว่าค่าเฉลี่ย (Over-dispersion) ของข้อมูลจ�ำนวน

แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 27

ผู้เสียชีวิตท�ำให้แบบจ�ำลองพาแนลทวินามเชิงลบท่ีได้รับการแก้ไขปัญหาแล้วด้วยการผสมระหว่างการแจกแจงแบบปัวซอง
กับการแจกแจงแบบแกมมามีความเหมาะสมกว่าแบบจ�ำลองพาแนลพัวซอง โดยรูปแบบของแบบจ�ำลองและการแจกแจง
ความน่าจะเป็นรว่ ม (Conditional joint density) เป็นไปดงั สมการและภาพ 1-19 โดยที่ คอื จ�ำนวนเหตุการณ์ท่ีสนใจ
คือ ฟังก์ชัน่ แกมม่า คือ จ�ำนวนเหตุการณ์ ที่คาดวา่ จะเกิดขน้ึ

ภาพ 1-19 การแจกแจงความน่าจะเป็นร่วม
ที่มา: Yaacob et.al (2011)

2) ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา
ตัวแปรที่ศึกษา (Dependent Variable) คือ จ�ำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนจากข้อมูล 3 ฐาน

อนั ประกอบดว้ ย ตร. สนย. และ คปภ. สว่ นตวั แปรอธบิ าย (Explanatory Variables) ประกอบดว้ ยขอ้ มลู ทใี่ ชศ้ กึ ษา 3 ดา้ นหลกั
คอื ด้านขนสง่ ดา้ นเศรษฐกิจ และดา้ นประชากร ดงั ตาราง 1-3

ตวั แปรอธบิ ายดา้ นขนสง่ ซงึ่ ใชเ้ ปน็ ตวั แทนความหนาแนน่ ของรถยนตแ์ ละประเภทรถยนตบ์ นถนน คอื จำ� นวน
รถยนต์ต่อประชากร 1,000 คน (TCPOP) สัดสว่ นรถยนตน์ ง่ั นอ้ ยกว่า 7 คนต่อรถยนตท์ ั้งหมด (PCTC) สัดสว่ นรถจกั รยานยนต์
ต่อรถยนต์ทั้งหมด (MCTC) สัดส่วนรถกระบะต่อรถยนต์ท้ังหมด (PUCTC) ตัวแปรด้านเศรษฐกิจท่ีใช้เป็นตัวแทนปริมาณ
การใชร้ ถยนตค์ อื ปรมิ าณการใชน้ ำ้� มนั เบนซนิ (GAS) ปรมิ าณการใชน้ ำ�้ มนั ดเี ซล (DIE) อตั ราการวา่ งงาน (Unemployment rate)
และผลผลิตมวลรวมภายในจังหวัด (GPP)

ส่วนตัวแปรด้านประชากรซ่ึงใช้เป็นตัวแทนผู้ใช้รถใช้ถนน ได้แก่ สัดส่วนประชากรอายุ 10 -14 ปี
(pop1014pop) สดั สว่ นประชากรอายุ 15-19 ปี (pop1519pop) สดั สว่ นประชากรอายุ 20-24 ปี (pop2024pop) และสดั สว่ น
ประชากรอายุ 25-60 ปี (pop2560pop)

ทัง้ น้ี ตัวแปรทุกตวั ได้รับการปรบั ด้วยคา่ ลอการทิ มึ ธรรมชาติ (Natural Logarithm) และใชจ้ ำ� นวนประชากร
เปน็ Offset เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกับแบบจำ� ลอง
28 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

ตารางท่ี 1-3 ข้อมลู ท่ใี ชใ้ นแบบจำ� ลอง

ท่ีมา: คณะผู้วิจัย (2560)

อยา่ งไรก็ตาม ตัวแปรอธบิ ายบางตัวมปี ัญหาสภาวะรว่ ม (Multicollinearity) ท�ำใหต้ อ้ งปรับแก้ไขตวั แปร โดยส�ำหรบั
ตัวแปรด้านเศรษฐกิจ ค่าสหสัมพนั ธ์ (Correlation) ระหว่าง lngas และ lndie มีคา่ สูง และตวั แปรทง้ั ค่ยู ังมคี ่า Correlation
กบั lnrgpp สงู เชน่ เดยี วกันกบั ภาพ 1-20 ดงั นัน้ ต้องสร้างตวั แปรใหมค่ อื lnoil โดยรวม lngas กบั lndie เปน็ lnoil และเลือก
ใช้ lnoil แทนท่ี lnrgpp เพราะ lnoil ใชข้ อ้ มูลรายเดอื นแต่ lnrgpp เป็นขอ้ มลู รายปี ส�ำหรบั ดา้ นประชากรนัน้ ค่า Correlation
ระหว่าง lnpop1519pop กับ lnpop2024pop สูง ท�ำให้ต้องรวมเปน็ lnpop15-24pop ดงั ภาพ 1-21

ภาพ1-20 คา่ สหสัมพนั ธต์ วั แปรดา้ นเศรษฐกิจ
ท่มี า: คณะผ้วู ิจัย (2560)

ภาพ 1-21 คา่ สหสัมพันธ์ตวั แปรดา้ นประชากร
ที่มา: คณะผู้วจิ ัย (2560)

แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 29

1.2.2 ผลเบือ้ งต้นของแบบจำ� ลองอบุ ัติเหตทุ างถนน
ผลการจัดท�ำแบบจ�ำลองอุบัติเหตุทางถนนเป็นไปดังตาราง 2-4 โดยแบบจ�ำลอง nbm1 nbm2 nbm3 และ

nbm4 สามารถสรุปไดว้ า่ การเปลย่ี นแปลงของจำ� นวนผเู้ สียชวี ิตทางถนนจากข้อมูล 3 ฐาน (Death) สง่ ผลในทิศทางเดียวกันกบั
จำ� นวนรถต่อประชากร 1,000 คน ปรมิ าณการใชน้ ำ้� มนั สดั ส่วนรถกระบะตอ่ รถทง้ั หมด สัดสว่ นรถจกั รยานยนต์ต่อรถทง้ั หมด
และผลิตภณั ฑม์ วลรวมภายในจังหวัดอยา่ งมนี ยั สำ� คญั เชิงสถิติ

ในขณะทสี่ ดั สว่ นรถยนตน์ งั่ นอ้ ยกวา่ 7 คนตอ่ รถทงั้ หมด สง่ ผลตรงขา้ มกบั การเปลยี่ นแปลงจำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ อยา่ งมี
นัยส�ำคัญทางสถติ ิ อยา่ งไรก็ตาม อัตราการว่างงานและสดั ส่วนประชากร อายุ 10-24 ปี กับอายุ 25-60 ปี ไม่มีนัยส�ำคัญเชงิ สถติ ิ

นอกจากน้ัน คา่ นัยส�ำคญั เชิงสถติ ขิ อง lnaplha และตวั แปรจังหวัดและเวลา แสดงใหเ้ หน็ ว่าแบบจำ� ลอง panel
negative binomial มคี วามเหมาะสมกับขอ้ มลู นี้ อีกทง้ั เมื่อเปรียบเทียบความเหมาะสมของแตล่ ะแบบจ�ำลอง (Goodness of
fit) พบวา่ แบบจำ� ลอง nbm1 nbm2 และ nbm3 มคี า่ AIC และ PSEUDO R2 ทใี่ กลเ้ คยี ง แสดงวา่ มคี วามเหมาะสมทง้ั 3 โมเดล

ตาราง 1-4 ผลการจดั ท�ำแบบจ�ำลองอุบตั ิเหตทุ างถนน

ตัวแปรอธิบาย ตัวแปรต้น: จำ� นวนผ้เู สียชวี ิตทางถนน (Death)

lntcpop nbm 1 nbm 2 nbm 3 nbm 4
lnoil 0.894*** 0.796***
lnpuctc 0.460*** 0.922*** 0.955***
lnpctc 0.816* 0.582
lnmctc -0.430** 0.455*** 0.459*** -0.0378
lnunemploy 1.911*
lnpop1524pop -0.00242 0.743* 0.917** -0.00432
lnpop2560pop -0.207 0.0798
lnrgpp 0.252 -0.280 -0.0614
Constant 0.282**
lnalpha -3.998*** 1.673** 1.044 -17.87***
Observations -22.76*** -3.902***
Country FE -0.00266 -0.00241 2,736
Month FE 2,736
AIC YES 0.0615 -0.219 YES
PSEUDO R2 YES YES
17166 -0.0243 0.261 17239
0.1392 0.1356
-3.996*** -4.000***
-20.61*** -21.85***

2,736 2,736
YES YES
YES YES
17166 17166
0.1392 0.1393

หมายเหตุ: *,**,*** แสดงถึงระดับนยั ส�ำคัญเชิงสถติ ิ
ที่มา: คณะผ้วู ิจัย (2560)

30 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

1.2.3 การพยากรณ์แบบจำ� ลองอบุ ัติเหตุทางถนน
คณะผ้วู ิจัยใชแ้ บบจ�ำลอง ngm 3 ในการพยากรณจ์ ำ� นวนผ้เู สยี ชวี ติ จากอุบตั ิเหตทุ างถนนภายใตก้ ารคาดการณ์

ดังตาราง 1-5 ซึ่งผลของการพยากรณ์เป็นไปดังภาพ 1-22 กล่าวคือ จ�ำนวนผู้เสียชีวิต ได้ปรับเพ่ิมข้ึนสูงใน พ.ศ. 2557

ซงึ่ เปน็ ปที เ่ี รม่ิ พยากรณ์ จากนน้ั จำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ มที ศิ ทางปรบั เพมิ่ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จนกระทงั่ พ.ศ. 2564 ทงั้ นเี้ กดิ จากการเพมิ่ ขน้ึ

ของจ�ำนวนรถยนต์การใช้รถยนตแ์ ละจ�ำนวนผู้ใช้ถนนในอนาคต

ตาราง 1-5 สถานการณท์ ก่ี �ำหนด

ตัวแปรอธบิ าย การคาดการณ์

จ�ำนวนรถยนต์ ระหวา่ ง พ.ศ. 2557-2559 ใชข้ อ้ มลู จรงิ
ต้ังแต่พ.ศ. 2560 ใช้ค่าเฉล่ียย้อนหลัง 3 ปี ของแต่ละประเภท รถยนต์สะสม 0.2% ต่อเดือน
รถจกั รยานยนต์ 0.05% ตอ่ เดอื น รถกระบะ 0.2% ตอ่ เดอื น รถยนตน์ ง่ั นอ้ ยกวา่ 7 คน 0.5% ตอ่ เดอื น

อตั ราวา่ งงาน ใช้อตั ราว่างงานย้อนหลังเฉล่ยี 3 ปี รายไตรมาส
GPP ใชอ้ ตั ราเติบโต 3 %

จำ� นวนประชากร ใช้การพยากรณข์ องสถาบันวิจัยเพ่อื การพัฒนาประเทศไทย (2555)
ปรมิ าณการใช้น้�ำมนั ใชอ้ ตั ราเฉลย่ี การเปลี่ยนของการบริโภคน�ำ้ มนั ของเดอื นเดยี วกนั ยอ้ นหลัง 3 ปี ของแต่ละจงั หวดั

ท่มี า: คณะผ้วู ิจยั (2560)

ภาพ 1-22 การคาดการณจ์ �ำนวนผเู้ สียชวี ติ
ที่มา: คณะผู้วจิ ัย (2560)

1.2.4 สรปุ ผลเบ้ืองตน้ ของแบบจ�ำลอง
แบบจ�ำลองอุบัติเหตุทางถนนในการศึกษาส่วนนี้ใช้วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อจ�ำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ

ทางถนนท่ีครอบคลุมการวิเคราะห์ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านขนส่ง ด้านเศรษฐกิจ และด้านประชากร โดยได้คาดการณ์จ�ำนวน
ผูเ้ สยี ชีวิตรายเดือนต้ังแตม่ กราคม 2554 ไปจนถึงธันวาคม 2556 ใน 76 จังหวดั ของประเทศไทยด้วยวธิ ี Negative Binomial

ผลของแบบจำ� ลองพบวา่ จำ� นวนรถยนตต์ อ่ ประชากร 1,000 คน สดั สว่ นรถจกั รยานยนตต์ อ่ รถยนตท์ งั้ หมด สดั สว่ น
รถกระบะตอ่ รถยนตท์ ั้งหมดและผลิตภัณฑม์ วลรวมภายในประเทศ สง่ ผลตอ่ การเพ่ิมข้นึ ของจ�ำนวนผูเ้ สยี ชวี ิต ในขณะที่สัดสว่ น
รถยนต์นงั่ นอ้ ยกว่า 7 คน สง่ ผลต่อการลดลงของผู้เสียชวี ติ ทางถนน

แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 31

นอกจากนี้ แบบจ�ำลองยังสามารถคาดการณ์จำ� นวนผู้เสยี ชีวติ จากอบุ ตั เิ หตทุ างถนนในชว่ ง พ.ศ. 2557 - 2564
โดยพบว่าจ�ำนวนผู้เสียชีวิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในปีที่เริ่มพยากรณ์และมีทิศทางปรับเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงอาจกล่าวได้ว่า
หากไมม่ กี ารจดั ทำ� มาตรการดา้ นความปลอดภยั ทางถนนใดๆ เพม่ิ เตมิ หรอื มาตรการไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขนึ้ จะสง่ ผลใหจ้ ำ� นวน
ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนไม่ปรับลดลงและอาจปรับเพ่ิมสูงข้ึนได้ตามการเปล่ียนแปลงของสภาพเศรษฐกิจและสังคม
ในอนาคต ซึง่ ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถบรรลุเปา้ หมายทศวรรษแห่งความปลอดภยั ทางถนนได้

ทั้งน้ี ผลของแบบจ�ำลองสามารถเสนอแนะแนวทางในการด�ำเนินมาตรการความปลอดภัยทางถนนท่ีเน้นแก้ไข
ความเสี่ยงท่ีเกิดกับรถจักรยานยนต์และรถกระบะ รวมถึงการให้ความส�ำคัญเป็นพิเศษกับพื้นท่ีท่ีมีการใช้รถยนต์ต่อจ�ำนวน
ประชากรทอ่ี าศยั อยู่ในบรเิ วณนั้นคอ่ นขา้ งสูง อยา่ งไรก็ตาม การขาดการเกบ็ ขอ้ มลู ที่เกย่ี วข้องกบั มาตรการดา้ นความปลอดภยั
ทางถนนในระดับจังหวัดท่ีเป็นผลลัพธ์ข้ันกลาง เช่น สัดส่วนการสวมหมวกนิรภัย สัดส่วนการเมาแล้วขับ เป็นต้น หรือข้อมูล
ท่ีเกี่ยวข้องกับมาตรการท่ีเป็นผลลัพธ์ข้ันต้น เช่น จ�ำนวนชั่วโมงการตั้งด่านปริมาณการขายเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น
ลว้ นเปน็ ข้อจำ� กัดในการพัฒนาแบบจ�ำลองเพ่อื ใชใ้ นการตัดสนิ ใจดา้ นนโยบายได้

32 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

บทท่ี 2

ทบทวนวรรณกรรม

2.1 ทบทวนนโยบายท่ีเกีย่ วขอ้ งกับความปลอดภยั ทางถนน

การทบทวนนโยบายท่ีเก่ียวข้องกับความปลอดภัยทางถนนเพื่อสังเคราะห์ประเด็นส�ำคัญส�ำหรับการก�ำหนดทิศทาง
เปา้ หมาย แผนการด�ำเนนิ งานใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลงของสังคมโลกและประเทศไปพรอ้ มๆ กัน ทัง้ นี้ คณะที่ปรึกษา
ไดท้ �ำการทบทวนนโยบายทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การจดั ทำ� แผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน ดังนี้

1. หลักการพัฒนาท่ีย่งั ยนื (Sustainable Development Goals)
2. ยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)
3. นโยบายการบริหารราชการแผน่ ดนิ
4. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12
5. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานกระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2558 - 2565
6. แผนหลกั การแพทยฉ์ กุ เฉินแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2560-2564
7. แผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2558
8. มติคณะรัฐมนตรวี ่าด้วยความปลอดภัยทางถนน
9. ทศวรรษแหง่ ความปลอดภัยทางถนนขององคก์ ารสหประชาชาติ
10. กรอบแนวทาง 5 เสาหลกั
11. แผนท่นี ำ� ทางเชงิ กลยทุ ธ์ทศวรรษแหง่ ความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2554 - 2563
12. แผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน ฉบับที่ 1-3

2.1.1 หลกั การพัฒนาทย่ี งั่ ยืน (Sustainable Development Goals)
หลักการพฒั นาทย่ี ั่งยนื หรอื Sustainable Development Goals (SDGs) เปน็ กรอบทศิ ทางการพฒั นาของโลก

ภายหลัง พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ทอี่ งคก์ ารสหประชาชาติ (United Nations: UN) กำ� หนดขึ้นเม่ือวนั ท่ี 25 กันยายน 2558
และท่ปี ระชุมสมชั ชาสหประชาชาตสิ มัยสามัญ ครั้งท่ี 70 (The 70th session of the United Nations General Assembly)
เมื่อวันท่ี 25 กันยายน 2558 ณ ส�ำนักงานใหญ่สหประชาชาตินครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกาได้รับรองวาระการพัฒนา
ที่ยัง่ ยืน ค.ศ. 2030 (The 2030 Agenda for Sustainable Development)

เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (SDGs) เพื่อให้นานาประเทศน�ำกรอบทิศทางดังกล่าวไปปฏิบัติให้บรรลุผลส�ำเร็จ
เกิดการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม ในช่วงระยะเวลา 15 ปี (เดือนกนั ยายน 2558 – สงิ หาคม
2573) ประกอบไปด้วย 17 เปา้ หมายสำ� คญั คือ

เป้าหมายท่ี 1 ขจดั ความยากจน
เป้าหมายที่ 2 ขจดั ความหิวโหย เกษตรย่งั ยืน
เป้าหมายท่ี 3 สขุ ภาพและความเป็นอยู่ทด่ี ี
เปา้ หมายที่ 4 การศึกษาเทา่ เทยี มและทัว่ ถึง

แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 33

เปา้ หมายที่ 5 ความเท่าเทยี มทางเพศ
เป้าหมายที่ 6 การจดั การนำ้� และสุขาภิบาล
เป้าหมายที่ 7 การเขา้ ถงึ พลังงานท่ีทันสมัย
เปา้ หมายที่ 8 การเติบโตเศรษฐกิจทย่ี ัง่ ยืน
เป้าหมายท่ี 9 พัฒนาอุตสาหกรรม นวัตกรรม และโครงสรา้ งพ้นื ฐาน
เปา้ หมายท่ี 10 ลดความเหลอ่ื มลำ้�
เป้าหมายที่ 11 เมืองปลอดภยั
เป้าหมายที่ 12 การผลติ และบรโิ ภคทีย่ ่งั ยืน
เป้าหมายท่ี 13 ต่อสู่กบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
เป้าหมายที่ 14 อนุรกั ษท์ รพั ยากรทางทะเล
เปา้ หมายที่ 15 การจดั การระบบนเิ วศทางบก
เปา้ หมายที่ 16 สังคมเป็นสุข
เป้าหมายที่ 17 สร้างความเขม้ แขง็ ในระดบั สากล

ภาพ 2-1 กรอบการพฒั นาที่ยั่งยนื องค์การสหประชาชาติ
ทงั้ น้ี องค์การสหประชาชาติไดก้ ำ� หนดองค์ประกอบแหง่ ปัจจัยความส�ำเรจ็ ไว้ 5 ดา้ น คือ
1. ประชาชน : ขจัดปัญหาความยากจนและความหวิ โหย ลดความเหลื่อมลำ้� ในสงั คม
2. ความมงั่ คัง่ : ส่งเสรมิ ให้ประชาชนมีความเปน็ อยู่ท่ีดีสอดคลอ้ งกับธรรมชาติ
3. โลก : ปกป้องดูแลโลก ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพภมู อิ ากาศเพอื่ คนรุน่ หลงั
4. สันตภิ าพ : การอยูร่ ่วมกนั อย่างสันติ
5. หุน้ ส่วนความรว่ มมือ : ร่วมมือและดำ� เนนิ การตามวาระการพัฒนาท่ียัง่ ยืนในระดับโลก

1 ทม่ี า http://osthailand.nic.go.th/component/content/article/118-sdgs/260-%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%
B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8
%99%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B8%B
7%E0%B8%99-sustainable-development-goals-sdgs.html

34 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

ประเทศไทยมกี ารดำ� เนนิ งานทส่ี อดรบั กบั กรอบการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื มาโดยตลอด และไดน้ ำ� มา เปน็ ประเดน็ สำ� คญั
ในการวางทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) เพื่อให้ทุกภาคส่วนร่วมสร้างสังคม
ท่ีเป็นสุข ลดความเหลื่อมล้�ำทางสังคม ขจัดปัญหาความยากจน ส่งเสริมการเป็นเศรษฐกิจสีเขียว มีการผลิตและบริโภค
ท่ีเป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม

ความเชอ่ื มโยงความปลอดภัยทางถนนกับหลกั การพัฒนาที่ยัง่ ยนื (Sustainable Development Goals; SDGs)
เมื่อพิจารณาประเด็นความปลอดภัยทางถนนเช่ือมโยงกับหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ

พบว่า ความปลอดภยั ทางถนนถกู จัดอยู่ใน 2 เป้าหมายส�ำคญั คือ เปา้ หมายที่ 3 และเป้าหมายที่ 11
เปา้ หมายที่ 3 สรา้ งหลกั ประกนั วา่ คนมชี วี ติ ทมี่ สี ขุ ภาพดแี ละสง่ เสรมิ สวสั ดภิ าพสำ� หรบั ทกุ คน ในทกุ วยั โดยมกี าร

ก�ำหนดค่าเป้าหมายไว้ในเป้าประสงค์ที่ 3.6 คือ การลดจ�ำนวนการตายและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนท่ัวโลกลงคร่ึงหนึ่ง
ภายใน พ.ศ. 2563 และกำ� หนดตัวช้วี ดั คือ อัตราผเู้ สยี ชวี ิตจากการบาดเจ็บจากอบุ ตั เิ หตทุ างถนน

เป้าหมายท่ี 11 ท�ำให้เมืองและการต้ังถิ่นฐานของมนุษย์มีความปลอดภัยท่ัวถึง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
และยง่ั ยนื โดยมกี ารกำ� หนดคา่ เปา้ หมายไวใ้ นเปา้ ประสงคท์ ี่ 11.2 คอื การจดั ใหม้ กี ารเขา้ ถงึ ระบบคมนาคมขนสง่ ทย่ี ง่ั ยนื เขา้ ถงึ ได้
ปลอดภัย ในราคาทส่ี ามารถจ่ายได้สำ� หรับทกุ คน พฒั นาความปลอดภัยทางถนน โดยการขยายการขนสง่ สาธารณะ และค�ำนงึ
เป็นพิเศษถึงกลุม่ คนท่อี ยู่ในสถานการณ์ทเ่ี ปราะบาง ผู้หญงิ เด็ก ผู้มีความบกพรอ่ งทางร่างกาย และผสู้ งู อายุ ภายใน พ.ศ. 2573
แตย่ ังไม่มกี ารก�ำหนดตวั ชีว้ ัด

2.1.2 ยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)
ส�ำหรับแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า “ประเทศมี ความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน

เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข
และตอบสนองตอ่ การบรรลซุ ง่ึ ผลประโยชนแ์ หง่ ชาตใิ นการทจี่ ะพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ สรา้ งรายไดร้ ะดบั สงู เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้
และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาค และเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ
โดยประกอบด้วยยทุ ธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน คอื

1. ดา้ นความมน่ั คง ประกอบไปดว้ ย การเสรมิ สรา้ งความมนั่ คงของสถาบนั หลกั ของชาติ และการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศ การป้องกันและแก้ไขการก่อความไม่สงบ
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การบริหารจัดการความมั่นคงชายแดน และชายฝั่งทะเล การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการ
และความร่วมมือระหว่างประเทศทุกระดับ การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกก�ำลังป้องกันประเทศและกองทัพ
การพฒั นาระบบการเตรยี มความพรอ้ มแหง่ ชาติ การรกั ษาความมนั่ คงของฐานทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม และการปกปอ้ ง
ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล รวมทั้งเสริมสร้างความม่ันคงทางอาหาร พลังงาน และน�้ำ และการปรับกระบวนการท�ำงาน
ของกลไกท่ีเก่ยี วข้องจากแนวดิง่ สูแ่ นวระนาบมากขึน้

2. ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ประกอบดว้ ยการพฒั นาใน 6 ดา้ นสำ� คญั คอื สมรรถนะทางเศรษฐกจิ
การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ การพัฒนาผู้ประกอบการ/เศรษฐกิจชุมชน การพัฒนาพื้นท่ีเศรษฐกิจพิเศษและเมือง
การลงทนุ พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน และการเชอื่ มโยงกบั ภมู ิภาคและเศรษฐกจิ โลก

3. ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน ประกอบดว้ ย 4 ดา้ นสำ� คญั คอื การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ
ให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ โดยพัฒนาเริ่มต้ังแต่ในครรภ์และต่อเนื่องไปตลอดช่วงชีวิต การยกระดับคุณภาพ
การศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพเท่าเทียมและท่ัวถึงการสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี และการสร้างความอยู่ดีมีสุข
ของครอบครัวไทย

แผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561-2564 35

4. ด้านการสรา้ งโอกาส ความเสมอภาพและเทา่ เทียมกนั ทางสังคม ประกอบดว้ ย 5 ดา้ นสำ� คญั คือ การสรา้ ง
ความม่ันคงและการลดความเหล่ือมล้�ำทางด้านเศรษฐกิจและสังคม การพัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการสุขภาพ
การสร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมท่ีเอ้ือต่อการด�ำรงชีวิตในสังคมสูงวัย การสร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม
และทุนทางวัฒนธรรมและความเข้มแข็งของชุมชนและการพฒั นาการสือ่ สารมวลชนให้เปน็ กลไกการสนับสนุนการพฒั นา

5. ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ประกอบด้วย 6 ด้านส�ำคัญ คือ
การจัดระบบอนุรักษ์ ฟื้นฟูและป้องกันการท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติ การวางระบบบริหารจัดการน�้ำ ให้มีประสิทธิภาพ
การพัฒนาและใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเมืองท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
การร่วมลดปัญหาโลกร้อนและปรับตัวให้พร้อมรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
และนโยบาย การคลงั เพอ่ื สงิ่ แวดลอ้ ม

6. ด้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วย 7 ด้านส�ำคญั คือ การปรบั ปรุง
การบริหารจัดการรายได้และรายจ่ายของภาครัฐ การปรับปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างของหน่วยงานภาครัฐ
การวางระบบบริหารงานราชการแบบบูรณาการ การพัฒนาระบบบริหารจัดการก�ำลังคนและพัฒนาบุคคลากรภาครัฐ
การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ การพฒั นาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชนของหนว่ ยงานภาครฐั และ การปรบั ปรงุ แกไ้ ข
กฎหมาย และระเบียบ ขอ้ บังคับท่ลี า้ สมัย




ภาพ 2-2 กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)

36 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

ภาพ 2-3 เปา้ หมายแผนยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี

ความเชื่อมโยงความปลอดภัยทางถนนกับยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)
เมื่อพจิ ารณาความเชอ่ื มโยงความปลอดภัยทางถนนกบั ยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) พบวา่

ความปลอดภยั ทางถนนมคี วามเก่ยี วข้องกับยทุ ธศาสตรท์ ง้ั หมด 4 ยุทธศาสตร์ โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความม่ันคง โดยเก่ียวข้องหลักในเร่ืองการพัฒนาระบบการเตรียมความพร้อมแห่งชาติ
และระบบบริหารจัดการภยั พิบตั ิ เพื่อเสริมสรา้ งรปู แบบการทำ� งานด้านการช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบเหตุท่มี ีประสิทธภิ าพ นอกจากนี้
ยังเช่ือมโยงกบั การปฏิรปู กลไกการบริหารประเทศในการกระจายอ�ำนาจในการบรหิ ารจัดการความปลอดภยั ทางถนนสู่ท้องถ่นิ
และการปรบั ปรงุ กระบวนการทำ� งานของกลไกทเ่ี กย่ี วขอ้ งจากแนวดง่ิ สแู่ นวราบมากขน้ึ โดยตอ้ งการการออกแบบระบบการบรหิ าร
จัดการด้านความปลอดภัยอย่างย่ังยืน และการปรับปรุงกฎหมายให้เอ้ือต่อการด�ำเนินงานด้านการบังคับใช้กฎหมาย
และการกระจายอำ� นาจสรู่ ะดบั ทอ้ งถน่ิ และควรมกี ารพฒั นาระบบตดิ ตามประเมนิ ผลสำ� หรบั ความปลอดภยั ทางถนนโดยเฉพาะ

ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน โดยเกย่ี วข้องประเดน็ ท่ีส�ำคัญ ดงั น้ี
(1) ด้านสมรรถนะทางเศรษฐกิจในประเด็นการพัฒนาประเทศสู่ความเป็นชาติการค้า โดยในการส่งเสริม

การอ�ำนวยความสะดวกทางด้านโครงสร้างและระบบ คงจะหนีไม่พ้นโครงสร้างถนน ซ่ึงเป็นโครงสร้างพ้ืนฐานหลัก
ของประเทศไทยท่ีเชื่อมโยงการค้าประเทศเพื่อนบ้านและภายในประเทศท่ีต้องมีการประเมินผลกระทบและความเส่ียง
ตอ่ การเกดิ อบุ ัติเหตทุ างถนนทจ่ี ะเกดิ กบั สงั คมบรเิ วณทจี่ ะมกี ารสรา้ งถนน

(2) การพฒั นาพ้นื ทเ่ี ศรษฐกิจพิเศษและเมอื ง โดยในการพฒั นาพนื้ ที่เมืองศูนยก์ ลางความเจรญิ ที่มปี ระสทิ ธิภาพ
ปลอดภัย และน่าอยู่ เน่ืองจากความเจริญและการขยายตัวทางเศรษฐกิจของเมืองมักมาพร้อมกับการจราจรท่ีสะดวกสบาย
มากขึ้น จึงควรมีการวิเคราะห์และจัดท�ำแผนบริหารจัดการด้านความปลอดภัยทางถนนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของพื้นท่ี
เศรษฐกจิ พเิ ศษและเมอื ง

แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 37

(3) การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนสง่ โดยควรมกี ารประเมินผลกระทบอุบัติเหตุทางถนนสำ� หรบั
โครงการกอ่ สรา้ งถนนทกุ เสน้ รวมทงั้ ควรมกี ารสง่ เสรมิ การพฒั นางานวจิ ยั เพอื่ การพฒั นาเทคโนโลยสี ำ� หรบั การบงั คบั ใชก้ ฎหมาย
ที่มีประสิทธิภาพและต้นทุนต�่ำ เช่น เคร่ืองตรวจจับความเร็ว เครื่องตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ เป็นต้น รวมถึงการพัฒนา
ด้านความปลอดภยั ทางถนนด้วยการลงทุน ในดา้ นการขนส่ง ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ การวิจยั และพัฒนาในอตุ สาหกรรม
ยานยนต์ให้มีมาตรฐาน จะเปน็ กลไกสำ� คญั ในการลดความสญู เสียจากอุบัติเหตุ

(4) การเชอื่ มโยงกับภมู ภิ าคและเศรษฐกจิ โลก โดยการสรา้ งองคค์ วามรู้ด้านการต่างประเทศ และ การให้ความรู้
ความเข้าใจด้านการต่างประเทศและผลประโยชน์ท่ีมีต่อการพัฒนาประเทศต่อภาคส่วนต่าง ๆ และสาธารณชนไทย รวมท้ัง
การด�ำเนินการเชิงรุกในการสร้างความเข้าใจ ความเช่ือมั่น และภาพลักษณ์ท่ีดีและศักยภาพทางด้านการบริหารจัดการ
ความปลอดภยั ทางถนนของประเทศไทย

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน เก่ียวข้องกับประเด็นการยกระดับคุณภาพการศึกษา
และการเรยี นรใู้ หม้ คี ณุ ภาพเทา่ เทยี มและทวั่ ถงึ โดยการสรา้ งการเรยี นรเู้ กยี่ วกบั การใชร้ ถใชถ้ นนทป่ี ลอดภยั ผา่ นการศกึ ษาในสถาบนั
การศกึ ษาและการเรยี นรนู้ อกสถานศกึ ษา การพฒั นาสมรรถนะของผปู้ ระกอบอาชพี ในภาคขนสง่ เปน็ การพฒั นาและเสรมิ สรา้ ง
ศกั ยภาพของคนใหส้ ูงขน้ึ ตามแนวทางดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน

ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 การสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ทเี่ ปน็ มิตรตอ่ ส่ิงแวดล้อม เก่ยี วข้องกับ การรว่ มลดปญั หา
โลกร้อนและการปรับตัวให้พร้อมรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการส่งเสริม การเดินทางท่ีไม่ใช้เครื่องยนต์ ระบบ
ขนส่งสาธารณะ เปน็ การพัฒนาด้วยการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตที่เป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม

2.1.3 นโยบายการบริหารราชการแผน่ ดิน
จากเอกสารค�ำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงต่อสภา

นิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันศุกร์ท่ี 12 กันยายน 2557 โดยอ้างอิงตามมาตรา 19 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2559 ไดก้ ำ� หนดหนา้ ทขี่ องรฐั บาลไว้ 3 ประการ คอื การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ การดำ� เนนิ การใหม้ กี ารปฏริ ปู ในดา้ นตา่ งๆ
และการส่งเสรมิ ความสามคั คี และความสมานฉันทข์ องประชาชนในชาติ โดยรฐั บาลได้กำ� หนดนโยบายให้สอดคลอ้ งกบั หนา้ ท่ี
ท่ีก�ำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2559 ซึ่งรัฐบาลได้นำ� ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติฉบับท่ี 11 เปน็ แนวทางในการก�ำหนดยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ แบ่งเป็น 11 ด้าน ไดแ้ ก่

1. การปกป้องและเชดิ ชูสถาบันพระมหากษตั ริย์
2. การรกั ษาความม่ันคงของรฐั และการตา่ งประเทศ
3. การลดความเหล่ือมล้�ำของสังคม และการสร้างโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารของรัฐ
4. การศกึ ษาและเรยี นรู้ การทะนบุ ำ� รงุ ศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม
5. การยกระดบั คณุ ภาพบรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ และสุขภาพของประชาชน
6. การเพ่ิมศักยภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ
7. การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซยี น
8. การพฒั นาและส่งเสริมการใชป้ ระโยชนจ์ ากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวจิ ยั และพฒั นา และนวตั กรรม
9. การรกั ษาความมนั่ คงของฐานทรพั ยากร และการสรา้ งสมดลุ ระหวา่ งการอนรุ กั ษก์ บั การใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยงั่ ยนื
10. การส่งเสรมิ การบริหารราชการแผ่นดินท่ีมธี รรมาภบิ าลและการปอ้ งกัน ปราบปรามการทุจรติ และประพฤติ
มชิ อบในภาครฐั
11. การปรบั ปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

38 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

นโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ทุกด้านให้ความส�ำคัญอย่างมากต่อการสร้าง
ความเข้มแข็งแก่องค์กรทุกระดับ ต้ังแต่ระดับท้องถ่ินจนถึงระดับประเทศต้องการเสนอยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ย่ังยืน
ครอบคลมุ ปญั หาทง้ั ระยะเฉพาะหน้าที่ตอ้ งท�ำทนั ที ระยะกลางทจ่ี ะทำ� ตอ่ ไปหรอื ต้องรอการใชบ้ งั คบั กฎหมาย และระยะยาว

ความเชอื่ มโยงความปลอดภยั ทางถนนกบั นโยบายการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ
เมอ่ื พจิ ารณาความเชอ่ื มโยงความปลอดภยั ทางถนนกบั นโยบายการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พบวา่ ความปลอดภยั

ทางถนนมีความเก่ยี วข้องกับยุทธศาสตร์ทั้งหมด 5 ด้าน ส�ำหรบั งานดา้ นความปลอดภัยทางถนนมคี วามเกีย่ วข้องในด้านตา่ ง ๆ
ดังนี้

ด้านท่ี 5 การยกระดบั คณุ ภาพบริการด้านสาธารณสขุ และสุขภาพของประชาชน ประกอบด้วย 2 ข้อ คอื
ข้อ 5.4 การปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาการเกดิ อุบัติเหตุในการจราจรอันน�ำไปสกู่ ารบาดเจ็บและเสียชีวิต โดยการ

รว่ มมอื ระหวา่ งฝ่ายต่าง ๆ ในการตรวจจบั เพอ่ื ป้องกนั การรายงานและการดแู ลผ้บู าดเจ็บ
ขอ้ 5.7 การพัฒนาขีดความสามารถในการวจิ ัยดา้ นวิทยาศาสตร์การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ โดยจดั ใหม้ บี คุ ลากร

และเคร่ืองมือท่ีทันสมัย และให้มีความร่วมมือทั้งระหว่างหน่วยงานภายในประเทศและหน่วยงานต่างประเทศ โดยเฉพาะ
ในการป้องกันและรักษาโรคที่มีความส�ำคัญ ในประเด็นนี้ มีความเช่ือมโยงกับแนวทาง เครื่องมือ และวิธีการในการตรวจ
ปรมิ าณแอลกอฮอลส์ ำ� หรบั ใชเ้ ปน็ หลกั ฐาน ในการดำ� เนนิ คดกี บั ผกู้ ระทำ� ผดิ กรณเี มาแลว้ ขบั ทจี่ ำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารพฒั นาและตอ้ งมี
การจัดสรรเครอ่ื งมอื และงบประมาณในการซอ่ มบ�ำรงุ อย่างเพียงพอ

ด้านท่ี 6 การเพิ่มศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ ประกอบดว้ ย 3 ขอ้ คอื
ข้อ 6.3 กระตุ้นการลงทนุ ดว้ ยการเร่งพิจารณาโครงการลงทุนทมี่ ปี ระสิทธิภาพ ซึง่ นกั ลงทนุ ย่ืนขออนุมัตสิ ง่ เสรมิ

การลงทุนไว้แล้วให้เสร็จส้ินโดยเร็ว และน�ำโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานประเภทท่ีมีผลตอบแทนดี เช่น โครงการขนส่ง
มวลชนในกรุงเทพมหานคร มาจัดท�ำเป็นโครงการลงทุนร่วมกับเอกชน ซึ่งจะช่วยสร้างบรรยากาศการลงทุนท่ีดี ทั้งในวงการ
ก่อสรา้ ง วงการอสงั หารมิ ทรพั ย์ และตลาดการเงิน

ข้อ 6.12 ในระยะยาว พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการขนส่งและคมนาคม ด้านการคมนาคมทางบก
โดยเรมิ่ โครงการรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนในกรงุ เทพมหานครและรถไฟฟา้ เชอื่ มกรงุ เทพมหานครกบั เมอื งบรวิ ารเพม่ิ เตมิ เพอื่ ลดเวลา
ในการเดนิ ทางของประชาชนและเพ่ือให้มีคณุ ภาพชีวิตทดี่ ขี ้นึ

ข้อ 6.13 ปรับโครงสร้างการบริหารจัดการในสาขาขนส่งท่ีมีการแยกบทบาทและภารกิจของหน่วยงาน
ระดบั นโยบาย หน่วยงานกำ� กบั ดูแล และหน่วยปฏิบัตทิ ช่ี ดั เจน และจดั ตงั้ หนว่ ยงานก�ำกับดูแลระบบราง เพอื่ ท�ำหนา้ ทกี่ ำ� หนด
มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารและความปลอดภยั โครงสรา้ งอตั ราคา่ บรกิ ารทเ่ี ปน็ ธรรม การลงทนุ การบำ� รงุ รกั ษา และการบรหิ ารจดั การ
ซึ่งจะช่วยสนับสนุนการพัฒนาระบบรางให้เป็นโครงข่ายหลักของประเทศ รวมท้ังพิจารณาปรับปรุงกฎหมาย และระเบียบ
ที่เก่ียวข้องกับการขนส่งและการประกอบกิจการโลจิสติกส์ให้ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน และมีความชัดเจน
ในทางปฏบิ ตั ิ รวมทัง้ สนบั สนุนใหภ้ าคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในภาคขนส่งเพ่มิ ขึน้

ด้านท่ี 8 การพฒั นาและสง่ เสริมการใช้ประโยชนจ์ ากวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจยั และพัฒนา และนวัตกรรม
ประกอบด้วย 2 ข้อ คือ

ข้อ 8.3 ปฏิรูประบบการให้สิ่งจูงใจ ระเบียบ และกฎหมายท่ีเป็นอุปสรรคต่อการน�ำงานวิจัยและพัฒนาไป
ต่อยอดหรือใช้ประโยชน์ รวมท้ังส่งเสริมการจัดท�ำแผนพัฒนาการวิจัยและพัฒนาในระดับภาคหรือกลุ่มจังหวัด เพ่ือให้ตรงกับ
ความต้องการของท้องถ่ิน ผลักดันงานวิจัยและพัฒนาไปสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ โดยส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง
มหาวิทยาลัย หน่วยงานวจิ ยั ของรัฐ และภาคเอกชน

แผนแมบ่ ทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561-2564 39

ขอ้ 8.4 ส่งเสริมให้โครงการลงทุนขนาดใหญข่ องประเทศ เช่น ด้านพลงั งานสะอาด ระบบราง ยานยนตไ์ ฟฟ้า
การจัดการน�้ำและขยะ ใช้ประโยชน์จากผลการศึกษาวิจัย และพัฒนานวัตกรรมของไทยตามความเหมาะสม ไม่เพียงแต่จะ
ใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศส่งเสริมการใช้เคร่ืองมือ วัสดุ และสินค้าอ่ืน ๆ ท่ีเป็นผลจากการวิจัยและพัฒนาภายในประเทศ
ในวงกว้าง โดยจัดให้มีนโยบายจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐท่ีเอ้ืออ�ำนวย เพ่ือสร้างโอกาสการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศ
ในกรณที จ่ี ำ� เปน็ จะตอ้ งจดั ซอ้ื วสั ดอุ ปุ กรณห์ รอื เทคโนโลยจี ากตา่ งประเทศจะใหม้ เี งอ่ื นไขการถา่ ยทอดเทคโนโลยี เพอ่ื ใหส้ ามารถ
พงึ่ ตนเองได้ในอนาคตดว้ ย

ดา้ นท่ี 10 การสง่ เสรมิ การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ทม่ี ธี รรมาภบิ าลและการปอ้ งกนั ปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติ
มิชอบในภาครัฐ คอื

ข้อ 10.1 ปรับปรุงระบบราชการในดา้ นองคก์ รหรือหน่วยงานภาครัฐ ทงั้ ในระดบั ประเทศ ภูมภิ าค และท้องถนิ่
ทบทวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่มีอ�ำนาจหน้าท่ีซ�้ำซ้อนหรือมีเส้นทางการปฏิบัติงานท่ียืดยาว ปรับปรุง
วิธีปฏิบัติราชการให้ทันสมัยโดยน�ำเทคโนโลยีมาใช้ แก้ไขกฎระเบียบให้โปร่งใส ชัดเจน สามารถบริการประชาชนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ตลอดจนจัดระบบอัตราก�ำลังและปรับปรุงค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐให้เหมาะสมและเป็นธรรม ยึดหลักการ
บรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทด่ี ี การบรหิ ารจดั การภาครฐั แบบใหมก่ ารตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน ในฐานะทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลาง
และการอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการเพื่อสร้างความเช่ือม่ัน วางใจ ในระบบราชการ ลดต้นทุนด�ำเนินการของภาคธุรกิจ
เพมิ่ ศกั ยภาพในการแขง่ ขนั กบั นานาประเทศ และการรกั ษาบคุ ลากรภาครฐั ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพไวใ้ นระบบราชการ โดยจะดำ� เนนิ การ
ตั้งแต่ระยะเฉพาะหน้าไปตามล�ำดบั ความจำ� เปน็ และตามท่ีกฎหมายเออ้ื ให้สามารถดำ� เนนิ การได้

ด้านท่ี 11 การปรับปรงุ กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม ประกอบด้วย 2 ข้อ คือ
ข้อ 11.1 ในระยะเฉพาะหน้า จะเร่งปรับปรุงประมวลกฎหมายหลักของประเทศและกฎหมายอ่ืน ๆ ท่ีล้าสมัย

ไม่เป็นธรรม ไม่สอดคล้องกับความตกลงระหว่างประเทศ เป็นอุปสรรคต่อการบริหารราชการแผ่นดิน การประกอบธุรกิจ
หรือไม่เอ้ือต่อศักยภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศ โดยจะใช้กลไกของหน่วยงานเดิมท่ีมีอยู่และระดมผู้ทรงคุณวุฒิมาเป็น
คณะกรรมการทจ่ี ะจัดตั้งขน้ึ เฉพาะกจิ เป็นผ้เู รง่ ดำ� เนินการ

ข้อ 11.4 น�ำเทคโนโลยีที่ทันสมัยและความรู้ทางนิติวิทยาศาสตร์มาใช้เพ่ือเร่งรัดการด�ำเนินคดีทุกขั้นตอน
ใหร้ วดเรว็ เกดิ ความเปน็ ธรรม และมรี ะบบฐานขอ้ มลู ทเ่ี ชอ่ื มโยงกนั สามารถใชต้ ดิ ตามผลและนำ� ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพ
ของหนว่ ยงานและเจา้ หนา้ ทใ่ี นกระบวนการยตุ ิธรรมได้

2.1.4 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ก�ำหนดกรอบวิสัยทัศน์ ดงั นี้
“ให้ความส�ำคญั กบั การกำ� หนดทศิ ทางการพฒั นาที่มุ่งสู่การเปลีย่ นผา่ นประเทศทมี่ ีรายไดป้ านกลางไปสปู่ ระเทศ

ทีม่ รี ายได้สงู มคี วามมนั่ คง และยง่ั ยืน สังคมอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสขุ ”
นอกจากนี้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ยังก�ำหนดต�ำแหน่ง

ทางยทุ ธศาสตรข์ องประเทศ ดังนี้
“ประเทศไทยเป็นประเทศรายได้สูงท่ีมีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรมเป็นศูนย์กลางด้านการขนส่ง

และโลจสิ ตกิ สข์ องภมู ภิ าคสคู่ วามเปน็ ชาตกิ ารคา้ และบรกิ าร (Trading and Service Nation) เปน็ แหลง่ ผลติ สนิ คา้ เกษตรกรรม
ยง่ั ยนื แหล่งอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และมีนวตั กรรมสูงทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม”

40 Thailand Road Safety Master Plan 2018-2021

เมอื่ พิจารณาจากวสิ ยั ทศั น์และต�ำแหนง่ ทางยุทธศาสตร์ของประเทศในแผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสงั คมแหง่ ชาติ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แสดงให้เหน็ วา่ ทิศทางการขับเคลอ่ื นประเทศให้ความส�ำคญั กับการขนส่งและการคมนาคม
ในการสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ เพม่ิ มากขน้ึ ในอกี ดา้ นหนง่ึ การขนสง่ และการคมนาคมทเี่ จรญิ มากขนึ้ จะสง่ ผลกระทบ
ท้ังทางบวก และทางลบต่อสังคม โดยเฉพาะประเด็นอุบัติเหตุทางถนน หากไม่มีการน�ำประเด็นด้านความปลอดภัยทางถนน
ผนวกเข้ากับการวางแผนและการด�ำเนินโครงการที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งและการคมนาคม จะเป็นช่องว่างให้เกิด
ภาระทางด้านสุขภาพ ท้ังอัตราการเสียชีวิต อัตราการบาดเจ็บ และความพิการ ซ่ึงก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ
กวา่ ปลี ะ 122,400 - 189,040 ลา้ นบาท หรือ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.25 ถึง 3.48 ของผลติ ภัณฑม์ วลรวมในประเทศ (GDP)

เปา้ หมายแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) สอดคลอ้ งกับหลกั การพัฒนา
ท่ยี ัง่ ยนื ขององคก์ ารสหประชาชาติ แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี และนโยบายการบรหิ ารราชการมีทง้ั หมด 8 ด้าน ไดแ้ ก่

1. การพฒั นาเศรษฐกจิ ในภาพรวม
2. การพฒั นาเศรษฐกจิ รายสาขา
3. การพฒั นาการเกษตรส่คู วามเปน็ เลศิ ดา้ นอาหาร
4. การเสริมสร้างและพัฒนาศกั ยภาพคน
5. การลดความเหลื่อมลำ้� ในสังคม
6. การเติบโตที่เป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อมเพอื่ การพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื
7. การพัฒนาพืน้ ทภี่ าคและการเช่อื มโยงภมู ภิ าค
8. การบริหารงานภาครฐั ของประชาชนเพ่อื ประชาชน
ยทุ ธศาสตรแ์ ผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) มที ง้ั หมด 10 ยทุ ธศาสตร์ คอื
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเสรมิ สร้างและพฒั นาศักยภาพทนุ มนษุ ย์
ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดการเหลื่อมล�้ำในสงั คม
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสรา้ งความเขม้ แข็งทางเศรษฐกจิ และแขง่ ขันไดอ้ ยา่ งย่ังยืน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การเตบิ โตทีเ่ ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดล้อมและพัฒนาอยา่ งยงั่ ยืน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การเสริมสรา้ งความม่ันคงแห่งชาตเิ พอื่ การพฒั นาประเทศสคู่ วามม่งั คงั่ และยัง่ ยืน
ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจดั การในภาครฐั การป้องกนั ทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ และธรรมาภบิ าล

ในสงั คมไทย
ยุทธศาสตรท์ ี่ 7 การพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและระบบโลจสิ ติกส์
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ยุทธศาสตรท์ ี่ 9 การพฒั นา ภาค เมือง และพืน้ ที่เศรษฐกจิ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 10 ความรว่ มมือระหว่างประเทศเพอื่ การพัฒนา
เม่อื พจิ ารณากรอบยุทธศาสตรท์ ง้ั 10 ยุทธศาสตร์ พบว่า ความปลอดภัยทางถนนมคี วามเกย่ี วข้องกับแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ จ�ำนวน 5 ยทุ ธศาสตร์ โดยมรี ายละเอียดดงั นี้
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การเสรมิ สร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ก�ำหนดวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ไว้ 4 วัตถุประสงค์ ได้แก่ (1) การปรับเปล่ียน
ให้คนในสังคมไทยมีค่านิยมตามบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม (2) การเตรียมคนในสังคมไทยให้มีทักษะในการด�ำรงชีวิตส�ำหรับ
โลกศตวรรษท่ี 21 (3) การส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาวะท่ีดีตลอดช่วงชีวิต และ (4) การเสริมสร้างสถาบันทางสังคม
ให้มีความเข้มแข็งเออ้ื ต่อการพฒั นาคนและประเทศ

แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2561-2564 41


Click to View FlipBook Version