The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Environment Engineering Association of Thailand, 2020-05-29 22:47:01

full papers proceeding NEC19

full papers proceeding NEC19

Keywords: NEC19

คณะกรรมการสมาคมวิศวกรรมสงิ่ แวดลอ้ มแห่งประเทศไทย

ผ้ทู รงคณุ วุฒิกิตติมศกั ด์ิ ศ.กติ ติคุณ ดร. ธงชัย พรรณสวสั ดิ์
ทปี่ รกึ ษากติ ติมศกั ดิ์
ผศ.พเิ ศษ ปราณี พันธมุ สนิ ชยั
นายก ดร. เกษมสันต์ิ สวุ รรณรตั
อปุ นายก ดร. ประเสรฐิ ตปนียางกรู
กรรมการกลาง
ศ.กติ ติคุณ ดร. ธเรศ ศรีสถิตย์
ประธานฝา่ ยกจิ กรรม
ประธานฝ่ายวชิ าการ รศ.ดร. วันเพญ็ วโิ รจนกูฏ
ประธานฝา่ ยการเงิน รศ.ดร. วราวุธ เสือดี
เลขาธิการ
รศ.ดร. ชาติ เจยี มไชยศรี
ผศ.ดร. ศรณั ย์ เตชะเสน
รศ.ดร. ตอํ พงศ์ กรีธาชาติ
ผศ.ดร. ดลเดช ตง้ั ตระการพงษ์

รศ.ดร. เพช็ รพร เชาวกิจเจริญ

รศ.ดร. สชุ าติ เหลืองประเสรฐิ

รศ.ดร. วษิ ณุ มีอยูํ

ผศ.ดร. อจั ฉรยิ า สุริยะวงค์

กองบรรณาธิการ

ศ.กติ ตคิ ุณ ดร. ธเรศ ศรีสถิตย์ สมาคมวิศวกรรมสงิ่ แวดลอ๎ มแหงํ ประเทศไทย
รศ.ดร. วนั เพญ็ วิโรจนกฏู สมาคมวิศวกรรมส่งิ แวดล๎อมแหงํ ประเทศไทย
รศ.ดร. สชุ าติ เหลืองประเสริฐ คณะวิศวกรรมส่ิงแวดลอ๎ ม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รศ.ดร. ตํอพงศ์ กรธี าชาติ คณะพลังงานและส่ิงแวดล๎อม มหาวทิ ยาลยั พะเยา
ผศ.ดร. อนสุ รณ์ บุญปก คณะพลงั งานและสง่ิ แวดล๎อม มหาวทิ ยาลยั เอเชียอาคเนย์

เจา้ ภาพร่วมจดั

คณะพลงั งานและสงิ่ แวดลอ้ ม มหาวิทยาลยั พะเยา

ที่ปรกึ ษา
รศ.ดร. สภุ กร พงศบางโพธิ์
รศ.ดร. เสมอ ถานอ๎ ย

ประธานคณะกรรมการจัดงาน
รศ.ดร. ตอํ พงศ์ กรธี าชาติ

คณะกรรมการฝา่ ยวชิ าการและการจดั ทา Proceedings
ผศ.ดร. อนสุ รณ์ บุญปก
ดร. โสมนัส สมประเสรฐิ
ดร. ศตวรรษ ทนารัตน์

คณะกรรมการฝา่ ยพิธีการและตอ๎ นรับ ผศ.ดร. สุขทัย พงศพ์ ฒั นศริ ิ
ดร. สรุ ตั น์ เศษโพธ์ิ ผศ.ดร. บหุ รัน พนั ธุ์สวรรค์
ผศ.ดร. เนทิยา กรีธาชาติ ผศ.ดร. รัฐภูมิ พรหมณะ
ดร. สุปรดี า หอมกลิน่ ผศ.ดร. กฤตชญา อสิ กุล
ดร .สุขุมา ชติ าภรณ์พนั ธุ์ ผศ.ดร. ธรี ชัย อานวยล๎อเจรญิ
อ. ชยั วฒั น์ โพธิท์ อง

คณะกรรมการฝา่ ยประชาสัมพนั ธ์ ประสานงานและประเมินผล
ผศ.ดร. ศักดสิ์ ทิ ธ์ิ อม่ิ แมน ดร. สุชัญญา ทองเครือ
ผศ.ดร. สทิ ธชิ ัย พมิ ลศรี อ. พิมพ์ศิริ สุวรรณพัฒน์

คณะกรรมการฝ่ายเลขานกุ าร
คณุ ณรงฤทธิ์ อมรนิ ทร์
คณุ นพดล ม่ันท่ีสุด

หน่วยงานร่วมจดั

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม
กระทรวงอตุ สาหกรรม
กระทรวงพลังงาน
กรมควบคุมมลพิษ
สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

สารจากนายกสมาคมวิศวกรรมสง่ิ แวดลอ้ มแห่งประเทศไทย

สมาคมวิศวกรรมส่ิงแวดล๎อมแหํงประเทศไทย (สวสท.) เป็นผ๎ูดาเนินการจัดการประชุมวิชาการ
ส่ิงแวดล๎อมแหํงชาติเป็นประจาทุกปีมาตั้งแตํ พ.ศ. 2545 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเวทีให๎นักวิชาการ นักวิจัย และ
ผม๎ู ีประสบการณ์ ผ๎สู นใจนาเสนอผลงานวิจัย ผลงานประยกุ ต์ และข๎อคิดเห็นเก่ียวกับส่ิงแวดล๎อมด๎านตํางๆ ซ่ึงเป็น
การพัฒนาและเผยแพรํองค์ความร๎ู เพื่อนาไปใช๎ในการป้องกัน และแก๎ไขปัญหาส่ิงแวดล๎อมของสังคมและ
ประเทศชาติ ในปีนี้ สวสท. ได๎รับเกียรติอยํางสูงจากมหาวิทยาลัยพะเยา รํวมจัดการประชุมวิชาการสิ่งแวดล๎อม
แหงํ ชาตคิ รงั้ ที่ 19 ควบคกูํ บั การประชุมวชิ าการส่ิงแวดล๎อมนานาชาติคร้ังท่ี 9

ดังเป็นท่ีทราบกันดีวําต้ังแตํปลายปี พ.ศ. 2562 จนถึงต๎นปี พ.ศ. 2563 เป็นต๎นมา ประเทศไทยได๎เผชิญ
ปัญหาโรคระบาด COVID-19 และได๎มีการประกาศพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน
โดยห๎ามจัดการประชุมวิชาการท่ีมีการรวมบุคลากรจานวนมาก ประกอบกับมาตรการของทางราชการท่ีจัดให๎
ประชาชนมีระยะหํางทางสังคม (Social Distancing) ด๎วยความตระหนักตํอความรับผิดชอบของสุขภาพของ
ผ๎ูเขา๎ รวํ มประชุม คณะผจู๎ ดั งานจงึ ได๎เล่อื นการจดั การประชมุ ออกไปในวันที่ 7-9 ตลุ าคม พ.ศ. 2563 ณ สถานที่เดิม
แตํกระบวนการดาเนินการจัดประชุมยังคงเดินตํอไปตามกาหนดท่ีทางผ๎ูจัดได๎จัดทาไว๎ อาทิ การรับลงทะเบียน
การสํงบทความ การพิจารณาบทความ การจัดทาเอกสารประกอบการประชุม (Proceeding) รวมทั้งการนาเสนอ
บทความแบบปากเปลาํ ตามความต๎องการของผ๎นู าเสนอบทความ เป็นตน๎

คณะกรรมการจัดการประชุมได๎รวบรวมบทคัดยํอ ซึ่งผํานการกลั่นกรองจากคณะกรรมการผู๎ทรงคุณวุฒิ
และกองบรรณาธิการไว๎เป็นรูปเลํม และบทความวิชาการฉบับเต็มในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ดังน้ัน คุณภาพ
เอกสารดังกลาํ ว จึงเป็นไปตามมาตรฐานระหวํางประเทศ โดยในการประชุมมีการบรรยายพิเศษ การเสนอผลงาน
ทงั้ ด๎วยการบรรยายและโปสเตอร์ นอกจากน้ี สวสท. ได๎รบั ความรํวมมือและสนับสนุนอยํางดียิ่งจากหนํวยราชการ
ตํางๆ ดังน้ี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ๎ ม กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน กรมควบคุมมลพิษ และ สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากร
ธรรมชาติและส่ิงแวดล๎อม

ในนามของ สวสท. กระผมขอแสดงความยินดีและขอบคุณทุกทํานที่ได๎มีสํวนรํวมในการนาเสนอ
ผลงานวิจัยและผลงานประยุกต์ และหนํวยสนับสนุนอื่นๆ รวมทั้งบริษัทเอกชนตํางๆ ดังตํอไปนี้
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแหํงประเทศไทย
(กฟผ.) บริษัท บางจาก คอร์ปอเรช่ัน จากัด (มหาชน) บริษัท แอสโซซิเอชั่นออฟทรี จากัด และ ศูนย์ความเป็น
เลศิ ด๎านการจดั การสารและของเสียอันตราย (ศสอ.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ให๎ความอนุเคราะห์ในทุกรูปแบบ
และหวงั อยํางย่งิ วําผลการประชุมวิชาการในครง้ั นี้จะสาเรจ็ ลลุ ํวงตามวัตถุประสงคท์ ุกประการ

ศาสตราจารย์ กติ ติคุณ ดร. ธเรศ ศรสี ถิตย์
นายกสมาคมวศิ วกรรมสิ่งแวดลอ๎ มแหงํ ประเทศไทย

สารจากอธิการบดมี หาวิทยาลยั พะเยา

การประชมุ วชิ าการสงิ่ แวดล๎อมแหงํ ชาติ ซึ่งจัดโดยสมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล๎อมแหํงประเทศไทย (สวสท.)
เป็นเวทีสาคัญให๎นักวิชาการและนักวิจัยได๎นาเสนอผลงานทางวิชาการที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับส่ิงแวดล๎อม ในปีนี้
มหาวทิ ยาลัยพะเยา ได๎รับเกียรตอิ ยาํ งสงู จาก สวสท. ให๎เปน็ เจา๎ ภาพรวํ มจดั การประชุมวิชาการสิ่งแวดล๎อมแหํงชาติ
ครง้ั ที่ 19 ควบคูกํ ับการประชุมวชิ าการส่ิงแวดลอ๎ มนานาชาติครงั้ ที่ 9

เนื่องด๎วยสถานการณ์ปัจจุบันประเทศไทยได๎เผชิญปัญหาโรคระบาด COVID-19 และได๎มีการห๎ามจัด
ประชุมรวมกลุมํ บุคลากรจานวนมาก จึงไดม๎ ีการปรับกิจกรรมตํางๆ เพ่ือความเหมาะสมกับสถานการณ์ แตํอยํางไร
ก็ตามยังคงมีกระบวนการตํางๆ เพื่อทาให๎การประชุมวิชาการมีความสมบูรณ์และเป็นไปตามมาตรฐานของการ
ประชมุ วิชาการทกุ ประการ ทั้งกิจกรรมการบรรยายพเิ ศษ การเสนอผลงาน ทั้งดว๎ ยการบรรยายและโปสเตอร์

มหาวิทยาลัยพะเยา ขอขอบคุณหนํวยราชการและหนํวยสนับสนุนอื่นๆ อันได๎แกํ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล๎อม กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวง
อุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน กรมควบคุมมลพิษ สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล๎อม และ ศูนย์ความเป็นเลิศด๎านการจัดการสารและของเสียอันตราย (ศสอ.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รวมทง้ั บรษิ ัทเอกชนตาํ งๆ อนั ประกอบด๎วย บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแหํงประเทศไทย (กฟผ.) บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน ) และ
บริษทั แอสโซซิเอชัน่ ออฟทรี จากัด ที่ให๎ความอนุเคราะห์ในทุกรูปแบบ ตลอดจนคณะกรรมการจัดประชุมทุกฝ่าย
ที่ได๎รวบรวมบทคัดยํอ ซ่ึงผํานการกล่ันกรองจากคณะกรรมการผู๎ทรงคุณวุฒิ และกองบรรณาธิการไว๎เป็นรูปเลํม
และบทความวชิ าการฉบับเตม็ ในรปู แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

ในนามของมหาวทิ ยาลยั พะเยา ดิฉันขอแสดงความยินดีและขอบคุณทุกทํานที่ได๎มีสํวนรํวมในการนาเสนอ
ผลงานวจิ ัยและผลงานประยุกต์ และหวงั อยาํ งยิง่ วําผลการประชมุ วชิ าการในคร้ังนี้จะสาเร็จลุลํวงตามวัตถุประสงค์
ทกุ ประการ

รองศาสตราจารย์ ดร. สภุ กร พงศบางโพธิ์
อธิการบดมี หาวิทยาลยั พะเยา

บทบรรณาธิการ

สมาคมวิศวกรรมส่ิงแวดล๎อมแหํงประเทศไทย (สวสท.) รํวมกับ คณะพลังงานและสิ่งแวดล๎อม
มหาวิทยาลัยพะเยา โดยมีหนํวยงานรํวมจัด ได๎แกํ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล๎อม กระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน กรมควบคุมมลพิษ และ
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล๎อม ได๎จัดให๎มีการประชุมวิชาการสิ่งแวดล๎อม
แหํงชาติครั้งท่ี 19 และ 9th International Conference on Environmental Engineering, Science and
Management ระหวํางวันที่ 7-9 ตุลาคม 2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให๎นักวิชาการ นักวิจัย และผู๎มี
ประสบการณ์ ตลอดจนผู๎ท่ีสนใจ ได๎นาเสนอผลงานวิจัย ผลการปฏิบัติงาน ข๎อคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งแวดล๎อมด๎าน
ตํางๆ เพื่อเป็นการแลกเปล่ียน เรียนรู๎ และเผยแพรํความรู๎ อันจะนาไปสํูการพัฒนาองค์ความรู๎ในการจัด การ
สิ่งแวดล๎อมของประเทศได๎

เอกสารการประชุมวิชาการประกอบด๎วยบทความฉบับสมบูรณ์ซ่ึงรวบรวมไว๎ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
และบทคัดยํอได๎ผํานการกลั่นกรองจากคณะกรรมการผ๎ูทรงคุณวุฒิและกองบรรณาธิการซ่ึงรวบรวมไว๎เป็นรูปเลํม
เพ่ือให๎ได๎เอกสารประกอบการประชุมวิชาการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานท้ังระดับประเทศและระดับสากล ซึ่ง
สามารถนาไปใชป๎ ระโยชน์ได๎ตอํ ไป

ในนามกองบรรณาธิการ ขอขอบคุณนักวิจัย นักวิชาการ ท่ีได๎ให๎ความรํวมมือเป็นอยํางดีในการจัดสํง
บทคัดยํอและบทความฉบับสมบูรณ์ พร๎อมนาผลงานเสนอในการประชุมวิชาการ ตลอดจนผู๎ท่ีสนใจเข๎ารํวมการ
ประชุมวิชาการ และขอขอบคุณคณะกรรมการผ๎ูทรงคุณวุฒิทุกทํานท่ีได๎สละเวลา ให๎ความรํวมมือในการพิจารณา
บทคัดยํอพร๎อมให๎ข๎อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์ตํอผู๎เสนอบทความ ทาให๎เอกสารประกอบการประชุมมีความ
สมบูรณ์มากยิง่ ขน้ึ และทาใหก๎ ารประชุมวิชาการในครง้ั นส้ี าเรจ็ ลุลํวงไปด๎วยดี

กองบรรณาธกิ าร
ธเรศ ศรีสถิตย์
วันเพ็ญ วโิ รจนกูฏ
สุชาติ เหลืองประเสริฐ
ต่อพงศ์ กรีธาชาติ
อนุสรณ์ บุญปก

สารบญั 1

นำเสนอผลงำนดว้ ยวำจำ (Oral Presentation) 8
16
001 24
ปัจจยั ทีท่ าใหเ้ กิดเศษวสั ดุและผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มในงานกอ่ สรา้ ง
กรณีศึกษาอาคารการเรียนร้ปู ๋วย 100 ปี 29
สพุ ตั รา ทองบุญ และ จงรกั ษ์ ผลประเสริฐ 36
002 44
การจัดการขยะมลู ฝอยงานว่งิ มาราธอนระดับนานาชาตใิ นจังหวัดภูเกต็ 51
สนิ ีนาฏ พวงมณี และ มาลิค แซะอาหลี
003
การจัดการขยะมลู ฝอยชมุ ชน: กรณีศกึ ษาถนนคนเดินถลาง
สินีนาฏ พวงมณี และ กัลญารตั น์ ช่วยศรีนวล
004
ผลของความเขม้ ข้น COD ทีม่ ตี อ่ การบาบดั นา้ ชะขยะสงั เคราะห์และการผลิตไฟฟ้า
ดว้ ยเซลล์เชื้อเพลิงจุลินทรยี แ์ บบถงั กรอง
เพชร เพ็งชยั กนกพรรณ ใจขาน ศศิญาภรณ์ ปติ ิมล และ ทรงยศ มงคลพิศ
005
ประสิทธิภาพการกรองของเยื่อกรองแบบไมโครโดยใช้สารอินทรีย์ในนา้ ทง้ิ
สุพัฒนพ์ งษ์ มัตราช และ ศุจีนนั ท์ สนั ติกุล
006
สถานการณ์และการเกบ็ รวบรวมมูลฝอยในอาเภอปากเซ ประเทศลาว
บุญปอน บุย่ วไิ ล และ สมภพ สนองราษฏร์
007
ระบบตรวจวัดดชั นีฝ่นุ ละอองขนาดเลก็ ในอากาศและแจง้ เตือนผ่านแอปพลเิ คชันไลน์
ชาญชยั อรรคผาติ และ พงศธร บัวทอง
008
สมรรถนะเคร่ืองฟอกอากาศแบบทาดว้ ยตนเองในการกาจดั ฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก
มณรี ตั น์ องคว์ รรณดี กมลชยั ยงประพฒั น์ และ ชูเกียรติ วเิ ชียรเจรญิ



009 58
การปลอํ ยก๏าซเรอื นกระจกจากเรอื พลงั งานแสงอาทิตย์แบบคาตามารานขนาดเล็ก 65
สรวิชญ์ หงษ์พาเวียน กนั ต์ ปานประยรู และ มณฑิรา ยุติธรรม 71
011 79
การกาจัดสารประกอบไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในบํอนา้ ด๎วยผักตบชวาและจอก 85
เพชร เพ็งชัย พชิ ิตชยั ปอ้ งนางไชย และ รตั นพร แผลติตะ
012 91
การกาจดั สาหราํ ยในแหลงํ น้าดิบด๎วยกระบวนการโฟโตคะตะลติ ิก 97
สพุ ตั รา มีคติธรรม ธรรมศักด์ิ โรจนว์ ริ ุฬห์ สัญญา สริ ิวทิ ยาปกรณ์ อรวรรณ โรจน์วิรุฬห์ 105
และ ณัฐพล ชาวสวน 113
013 120
การกาจัดสดี ว๎ ยโฟโตคะตะลิติกออกซเิ ดชันรวํ มกบั การเติมอากาศขนาดนาโนบบั เบ้ิล
อรกช สุทธิวัฒนกุล ธรรมศกั ดิ์ โรจน์วริ ุฬห์ อรวรรณ โรจนว์ ิรุฬห์ และ สัญญา สิรวิ ทิ ยาปกรณ์
014
คุณภาพอากาศภายในสถานประกอบการรบั ซ้ือของเกาํ ในตาบลบา๎ นกอก
อาเภอเขอื่ งใน จังหวดั อุบลราชธานี
กุลวรรณ โสรจั จ์ อนวุ ัฒน์ ยนิ ดีสุข ธีรวรรณ บญุ โทแสง และ กฤตวิชญ์ สขุ อ้ึง
015
ผลของปนู ขาวตํอการเจริญเติบโตของสาหราํ ยสเี ขยี วแกมน้าเงนิ Spirulina platensis
ทรงพล บัวอํอน และ รฐั ภมู ิ พรหมณะ
017
การผลติ กา๏ ซชวี ภาพจากขา๎ วฟ่างหวานดว๎ ยระบบ Leach-Bed Reactor
ปารชิ าติ แยม๎ ศรี นงลกั ษณ์ โรจนแสง สมชาย ดารารตั น์ และ เอรนิ เงาภทูํ อง
018
การบาบดั น้าเสียอตุ สาหกรรมฟอกยอ๎ มสงั เคราะห์โดยใชก๎ ารตกตะกอนดว๎ ยไฟฟา้ และโอโซน
ธิดารตั น์ ชมภูราช และ ทพิ ย์สรุ ีย์ กรบญุ รกั ษา
019
การกาจัดไนโตรเจนด๎วยกระบวนการไนตริเตชนั และอนาม็อกซ์ในระบบบึงประดิษฐ์
ทศพล แทํนทรัพย์ ศุวศา กานตวนชิ กรู กรรณิการ์ สัจจาพนั ธ์ และ พงศ์ศักดิ์ หนูพันธ์
020
การยับย้งั การเจริญเติบโตของ Chlorella sp. ด๎วยกระบวนการอเิ ลก็ โตรโคแอกคเู ลชั่นและ
โคแอกกูเลชั่น
เกอ้ื กลู นเุ กตุ และ ทิพย์สุรยี ์ กรบุญรกั ษา



021 127
การกาจดั สารอินทรยี ์ในนา้ ทง้ิ และสารอนิ ทรียธ์ รรมชาติโดยใชเ๎ รซนิ แลกเปล่ียนประจุ 134
ทม่ี คี ุณสมบตั เิ ปน็ แมํเหล็ก 140
ณัฐวิกรานต์ หมื่นภูเขยี ว และ ปณธิ าน จูฑาพร 146
022 153
การออกแบบทํอสงํ นา้ ประปาและศึกษาความดันเส๎นทํอ ของความต๎องการใชน๎ ้า 161
ในระยะ 10 และ 20 ปี โดยใชโ๎ ปรแกรม EPANET 2.0 166
พรี กานต์ิ บรรเจิด และ วลิ าสนิ ี สุขขา 174
023 182
ชนดิ และปริมาณขยะบริเวณชายหาดในจังหวดั ภูเกต็
จนั ทินี บุญชยั และ กมนรตั น์ ทองนวล
024
แนวทางการปรบั ปรงุ สานักงานสเี ขยี ว : กรณีศึกษา อาคาร 19 มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร
ณฐั พร จิระวฒั นาสมกลุ จติ ตรา ใยวังหน๎า พรสวสั ด์ิ อันทะปญั ญา อาภาพร แสนหูม
อมรรัตน์ แทํงทอง และ ภทั รลภา ฐานวเิ ศษ
025
การวเิ คราะห์คณุ ลกั ษณะของสารอดุ ตนั ของเมมเบรนในถังปฏิกรณ์ชีวภาพเพ่ือการบาบัดนา้ เสยี
เยอ่ื และกระดาษ
ปณิธาน จฑู าพร ขนิษฐา ภูจานงค์ กิตยิ ศ ตั้งสจั จวงศ์ และ วสั สา คงนคร
026
การศกึ ษาผลลัพธ์ดา๎ นการใช๎พลังงานจากการดาเนนิ โครงการอนรุ ักษ์พลงั งานและสิง่ แวดล๎อม
ในสถานศึกษาพน้ื ท่ีกรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ
นโคทร ศรีจันทร์ จารวุ รรณ วงค์ทะเนตร อจั ฉรา อัศวรจุ ิกุลชยั และ ศรัณยา สจุ ริตกุล
027
การวเิ คราะหเ์ บนโซเอไพรีนในนา้ ผิวดนิ จังหวัดภูเก็ตโดยการสกัดดว๎ ยของแข็งรวํ มกบั เทคนิค
แกส๏ โครมาโทกราฟี-แมสสเปกโตรเมตรี
นฤมล ลาธรกิจ ธราวี ทวกี าญจน์ วรวิทย์ วงศน์ ิรามยั กลุ และ อารยี ์ ชดู า
028
การสังเคราะหว์ สั ดสุ าหรบั ดดู ซับสไตรีนในอากาศ
บุษกร เกลยี้ งเกลา อารีย์ ชูดา และ วรวทิ ย์ วงศ์นิรามัยกุล
029
การตดิ ตามความสมบรู ณ์พชื พรรณบริเวณปา่ เศรษฐกิจครอบครวั ดว๎ ยสารวจระยะไกล:
กรณศี ึกษาอาเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร
ประวิทย์ สุวรรณรงค์



030 189
การศึกษามาตรฐานนา้ ทง้ิ จากโรงไฟฟ้าพลงั งานความร๎อน 197
จุลละพงษ์ จลุ ละโพธิ มานะ อมรกจิ บารุง และ พิภัสสร ศริ เิ วช 205
031 213
การคดั แยกเชือ้ แอคติโนมัยซีททย่ี อํ ยสลายเซลลโู ลสจากดินป่าเต็งรงั 221
พิมพศ์ ิริ สวุ รรณพัฒน์ พิมพ์ลดา บญุ ลือ บุญศิริ สวัสดิไ์ ชย และ มนตรี แสนวงั สี
032 228
การทาปยุ๋ หมักจากเศษใบจามจุรีกบั เศษผักผลไม๎ด๎วยระบบภาชนะปิดขนาดเล็ก 235
พิชญ รชั ฎาวงศ์ มนสั กร ราชากรกจิ และ ไพฑูรย์ พัชรบารุง 243
033 251
อัตราการกาจดั ไนเตรททางชวี ภาพเม่ือใช๎เมด็ พลาสติกชวี ภาพเป็นแหลํงอนิ ทรยี ์คารบ์ อน
มลั ลกิ า พ้ัวพวง พชั รียา รุงํ กจิ วัฒนานุกลู ชัยพร ภปูํ ระเสรฐิ และ วบิ ูลยล์ ักษณ์ พึง่ รัศมี
034
ปริมาณและชนิดของจลุ นิ ทรยี ์ในอากาศภายในรา๎ นอินเตอรเ์ น็ตโดยใชว๎ ิธกี ารเก็บตวั อยําง
ด๎วยวิธแี พสซีฟและแอคทีฟ
รจฤดี โชตกิ าวนิ ทร์ ภารดี อาษา โกวทิ สวุ รรณหงษ์ ดนยั บวรเกียรติกลุ ประยกุ ต์ เดชสุทธกิ ร
มนสั นันท์ พบิ าลวงค์ ทิษฏยา เสมาเงิน กมลวรรณ พรหมเทศ และ นริศรา จนั ทรประเทศ
035
การวิเคราะหป์ ริมาณสารหนูในนา้ ภาคสนามอยาํ งรวดเรว็ โดยใชเ๎ ทคนคิ การวเิ คราะหส์ ี
จากภาพถาํ ยดจิ ิทัล
วนดิ า จริ พัฒนโสภณ วรวิทย์ วงศน์ ิรามยั กุล และ อารีย์ ชูดา
036
ผลของอัตราภาระสารอินทรีย์ตํอพืน้ ท่ีตวั กลางสาหรบั บาบัดนา้ เสียความเขม๎ ข๎นตา่
โดยถังปฏิกรณ์ฟลิ ์มชวี ภาพชนิดตวั กลางเคลือ่ นที่
วราลี วศิ าลโภคะ กติ ตคิ ณุ ตรุยานนท์ และ ชัยพร ภปํู ระเสริฐ
040
การบาบัดนา้ เสยี อตุ สาหกรรมปลากระป๋องดว๎ ยต๎นแบบถงั ปฏิกรณช์ วี ภาพไร๎อากาศแบบตัวกลาง
เคลื่อนทีโ่ ดยใช๎พวี เี อเจลเป็นตัวกลาง
อคั รวนิ ท์ จิรศรัณย์พร เบญจพร สวุ รรณศลิ ป์ และ เจนยกุ ต์ โลํวชั รนิ ทร์
041
ผลของการเตมิ อากาศตอํ ประสทิ ธภิ าพการบาบดั แอมโมเนียจากนา้ ท้งิ ฟารม์ สุกร
โดยใช๎ถงั ปฏิกรณแ์ ผนํ ก้นั แบบฟิลม์ ตรึง
อัณธกิ า เสงย่ี มใจ



042 258
การแยกเดกซแ์ ทรนออกจากนา้ อ๎อยดว๎ ย Sephadex G-100 265
สาวติ รี จนั ทศรี ขนษิ ฐา เทยี มมาลา ชลธิชา เทศก่มิ และ ญาณศิ า ละอองอทุ ัย 273
043 281
ศกั ยภาพในการเจริญเติบโตของ Chlorella sp. กรณศี กึ ษาการใช๎สารส๎มและโอโซน 289
นสิ ากร รตั นพลแสน และ ทิพย์สรุ ยี ์ กรบุญรกั ษา
044 297
ความคดิ เห็นดา๎ นผลกระทบจากเสียงรบกวนของเครือ่ งบนิ ทส่ี ํงผลตอํ ประชาชนชมุ ชนบ๎านหมากปรก 305
ตาบลไมข๎ าวอาเภอถลาง จังหวดั ภูเกต็
ณชิ นันทน์ หลานหลงสา๎ ธิดารัตน์ คาล๎อม และ นติ ิญา สงั ขนันท์ 312
045
ปริมาณ องค์ประกอบทางกายภาพมูลฝอยและการจัดการมูลฝอยบริเวณอาคารเรียน
ในมหาวิทยาลยั ราชภัฏภูเก็ต อาเภอเมือง จงั หวัดภเู กต็
อดศิ ักดิ์ ภกั ดี และ นิตญิ า สงั ขนันท์
046
อทิ ธพิ ลของปริมาณแสงทพ่ี ชื สามารถสงั เคราะห์แสงไดแ๎ ละพลังงานตํอการแลกเปลี่ยน
คาร์บอนไดออกไซด์สุทธิในระบบนเิ วศป่าเตง็ รัง
มนตรี แสนวังสี พมิ พ์ศิริ สวุ รรณพัฒน์ สิทธิชัย พิมลศรี มานะ ปนั ยา พลั ลภ อนิ ทะนลิ
เพญ็ ฤดี คาสอน และ ทรงกริช อนิ ตา
047
ความแปรปรวนเชงิ เวลาของการคายระเหยนา้ ในระบบนิเวศปา่ ตังเรง็
กมลวรรณ ทองธนะเศรษฐ์ พิมพศ์ ริ ิ สุวรรณพฒั น์ มนตรี แสนวังสี ธรี ชยั อานวยล๎อเจริญ
สทิ ธชิ ยั พิมลศรี อนุสรณ์ บุญปก ปฏพิ ทั ธ์ วงศเ์ รือง กฤตชญา อสิ กลุ และ ฉัตรแก๎ว ชยั ลอื ชา
048
การตรวจวดั อนุภาคซัลเฟตและโลหะหนักทปี่ นเปอ้ื นในฝนุ่ ละอองบริเวณปา่ สงวนชวี มณฑลสะแกราช
นครราชสีมา
บัณฑิตา สงั ขะไชย วิตตานนั ท์ ธรรมดษิ ฐ์ ภูวษา ชานนทเ์ มอื ง จาลอง แปลกสระน๎อย
ศภุ ิกา วานิชชัง กัญจน์ ศิลป์ประสิทธ์ิ และ พงษเ์ ทพ หาญพฒั นากจิ
049
การพฒั นาเครอ่ื งบดยํอยขยะชมุ ชนเพอ่ื ผลติ เปน็ แทํงเชอื้ เพลิงชีวมวล
ภักดี สทิ ธิฤทธิก์ วิน ฤทธชิ ัย บุญทาศรี ไพฑูรย์ ยศกาศ และ สมชาย แสงนวล



050 320
การศึกษาสถานการณ์การปนเปอ้ื นของไมโครพลาสติกในระบบทํอระบายน้าแบบรวม 328
เกวลนิ สุวรรณโชคอิสาน นรากรณ์ กจิ ทวีโยธนิ วีรวชิ ญ์ รจุ ิรพพี ฒั น์ นราพงศ์ หงสป์ ระสิทธ์ิ 336
และ เจนยุกต์ โลหํ ์วัชรนิ ทร์ 341
052 348
การออกแบบและสรา๎ งถังปฏิกรณต์ ๎นแบบเพื่อใช๎ในการบาบดั กา๏ ซฟอรม์ ลั ดีไฮด์ในห๎องปฏิบตั ิการ 356
กายวภิ าคศาสตร์ 364
วภิ าดา เดชะปัญญา สรรพาวุธ นนท์ตุลา และ สน่ัน พุทธาบุญ 370
053 377
การวเิ คราะห์พารามิเตอร์ออกแบบและประสิทธิภาพระบบบาบดั นา้ เสยี สาหรับโรงอาหารกลาง
มหาวิทยาลยั อุบลราชธานี
ใจสวรรค์ ชานาญรบ ปาวสิ า รวมสา ชาญณรงค์ ภุชงควารนิ และ สมภพ สนองราษฎร์
054
การวเิ คราะห์แนวทางการลดของเสยี : กรณีศึกษาของกระบวนการผลติ ขวดเพท
พรี พล วงศบ์ ญุ นาค และ ชนาธิป ผารโิ น
055
การจดั การขยะในงานอเี ว๎นท์และการประเมนิ ผล
นลินรตั น์ ฟดู ลุ ยวจั นานนท์ พัชร์ พินิจจติ รสมทุ ร พสิ ทุ ธิ์ เพยี รมนกุล ภาวนิ ี พงศ์พันธ์พฤทธ์ิ
และ ณฐั วิญญ์ ชวเลิศพรศยิ า
057
การดดู ซบั แมงกานสี (II) โดยใช๎ฟลิ ์มคอมโพสติ เพคตนิ จากเปลือกแก๎วมงั กร (Hylocercus undatus)
จกั รกฤษณ์ อัมพุช และ ณัฐกานต์ ภํูไหม
058
โรงไฟฟ้าทใ่ี ช๎ถํานหนิ ในมาบตาพดุ กับ PM2.5 ในบรรยากาศ
สรณ์ สุวรรณโชติ วราวธุ เสอื ดี และ เพญ็ ศรี วัจฉละญาณ
059
ปรมิ าณโลหะหนักในฝุ่นขนาดตา่ กวํา 10 ไมโครเมตรจากการรือ้ แยกซากโทรทัศน์
แบบไมํถกู สุขลักษณะ
คคนานต์ โกญจนาวรรณ และ ทรรศนยี ์ พฤกษาสิทธิ์
060
ผลของชนิดตัวกลางตํอการกาจัดซีโอดใี นถังปฏิกรณ์ชวี ภาพชนิดเบดเคล่อื นที่
เพญ็ พนิต โพธ์สิ วสั ดิ์ จามร เชวงกิจวณชิ และ ดาว จน่ั เจริญ



061 384
การบาบดั สารโทลอู นี ในอากาศ ดว๎ ยกระบวนการโฟโตคาตาไลซิส โดยไทเทเนียมไดออกไซด์
โดป๏ ไนโตรเจน และซิลิกอน เคลอื บบนแผํน HEPA
พรสุดา มณีอ๎าย และ สุปรีดา หอมกลิน่

062 390
สหสมั พนั ธร์ ะหวํางปจั จัยคณุ ภาพนา้ ทางกายภาพ และเคมีในบอํ เลยี้ งปลานลิ 395
ในพ้ืนท่ีอาเภอพาน จังหวดั เชยี งราย 401
นภสั สร จนั เสนา และ รฐั ภูมิ พรหมณะ 407
063 415
ผลการเตมิ ตัวกลางพลาสติกตํอสัมประสิทธิ์การถํายเทมวลสารและพลงั งาน 420
ที่ใชใ๎ นคอลมั น์แบบฟองอากาศ 428
นวพฒั น์ เตชะธางกูร กริชชาติ วอํ งไวลิขิต และ พสิ ุทธ์ิ เพียรมนกลุ 435
064
คําจลนพลศาสตร์และประสิทธภิ าพของถงั กรองไร๎อากาศแบบไหลขึน้
พัชราภรณ์ เที่ยงทอง และ ศรัณย์ เตชะเสน
067
ผลของอัตราการเวียนนา้ ตํอประสทิ ธภิ าพในการกาจัดไนโตรเจนดว๎ ยถงั กรองชีวภาพ
แบบกึง่ เติมอากาศชนดิ ไหลขึ้น
ยุทธกิจ ชูสทุ ธิ์ และ ศรณั ย์ เตชะเสน
068
เทคโนโลยสี ะอาดสาหรับโรงงานขนมจนี
เทียมมะณีย์ รตั นวรี ะพันธ์ สมภพ สนองราษฎร์ ทรงพล เหลากลม สมยศ จนั ดา และ วิโรจน์ อทุ ธา
070
ลักษณะและรูปแบบการขยายตัวของเมืองเพอื่ ลดผลกระทบสง่ิ แวดลอ๎ ม
กรณศี ึกษากรงุ ฮานอย สาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม
สาธติ ศรสี ถิตย์ และ เจษฎานนั ท์ เวียงนนท์
072
การกาจัดความขุํนในน้าโดยใชโ๎ ปรตนี สกดั จากเมล็ดมะรุมเป็นสารตกตะกอน
พรี วชิ ญ์ ศิริชยั อรพรรณ ธนสขุ ประเสริฐ ตวงสิทธิ์ เดนํ เพชรกลุ และ มนต์ชยั พุํมแก๎ว
073
ระบบกล่นั น้าผํานเย่ือกรองด๎วยเทอร์โมอิเลก็ ทริค รํวมกบั การหมนุ เวยี นไอนา้ ทอ่ี ุณหภมู ติ ่า
กานต์พัฒน์ แพโรจน์ สรีวัลย์ จึงเจริญนิรธร ชนนิกานต์ ศรีกัลยา และ มณฑล ฐานุตตมวงศ์



074 441
ผลกระทบของอัตราสํวนโดยโมลทแ่ี ตกตํางกนั ของผง ZnO:TiO2 ตอํ ความวํองไวของปฏกิ ิริยา 449
โฟโตคะตะไลติกในชวํ งแสงยวู เี อ 456
ชายกาญจน์ วิเศษสงิ ห์ กฤษณะ กอบวทิ ยา และ สญั ญา สิริวทิ ยาปกรณ์ 463
077 471
การประเมนิ การปลํอยก๏าซเรือนกระจกและแนวทางการลดก๏าซเรือนกระจกของสถานศึกษา 478
ในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา 484
นภิ าพร เดโชเกยี รติถวลั ย์ อาภา สธนเสาวภาคย์ ศิรวิ รรณ โรโห และ อรทัย ชวาลภาฤทธ์ิ 491
078 498
การวเิ คราะห์ปริมาณการตกค๎างของสารสเตยี รอยด์ฮอร์โมน ในนา้ ทงิ้ จากระบบบาบดั น้าโสโครก
ดุลยวตั รงํุ เชตุ และ สปุ รีดา หอมกล่นิ
081
การประเมินศกั ยภาพการกักเก็บคารบ์ อนของป่าชุมชนบ๎านโนนหนิ ผึ้ง จงั หวัดปราจีนบุรี
กิตตนิ นท์ หมอกเ็ ป็น วริ งรอง ดวงใจ ภัทรพงษ์ เกริกสกุล กัญจน์ ศิลป์ประสทิ ธิ์ และ
พงษ์เทพ หาญพฒั นกจิ
082
การจดั การรา๎ นกาแฟอยํางยง่ั ยนื โดยใชห๎ ลกั การเศรษฐกิจหมนุ เวยี น
ธิดารตั น์ อินทรพ์ ระเนตร สุทิศา สมิทธิเวชรงค์ และ อรทัย ชวาลภาฤทธิ์
084
การใช๎ประโยชน์กา๏ ซคารบ์ อนไดออกไซดเ์ หลือทิง้ จากโรงงานอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมี
ปิยวรรณ ศรทอง และ อรทยั ชวาลภาฤทธ์ิ
085
ตัวชว้ี ัดระดับเศรษฐกจิ หมนุ เวียนสาหรบั อตุ สาหกรรมการผลิต: กรณศี ึกษาอุตสาหกรรมปโิ ตรเลียม
วรวรรธน์ เฮงชัยโย สุทิศา สมทิ ธเิ วชรงค์ และ อรทยั ชวาลภาฤทธ์ิ
086
การลดการปลํอยก๏าซเรือนกระจกจากอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
อภญิ ญาพร วลิ าวรรณ์ ชณิภรณ์ เรืองฤทธ์ิ และ อรทยั ชวาลภาฤทธ์ิ
087
การศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดล๎อมเบื้องต๎นของระบบการจดั การขยะมลู ฝอยชมุ ชน:
กรณีศึกษาเทศบาลเมืองสรุ ินทร์
ศุภเดช นิยมทอง และ จมี า ศรลัมพ์



088 506
การเพิ่มมูลคําเปลือกหอยนางรมจากอุตสาหกรรมการประมงเพื่อเปน็ วสั ดุปรบั ปรุงคุณภาพน้า 513
มนัสนนั ท์ พบิ าลวงค์ สรุ ชัย วงชารี ภารดี อาษา รจฤดี โชตกิ าวินทร์ และ โกวทิ สุวรรณหงษ์ 521
089 529
ระดบั ความเขม๎ ข๎นตามแนวต้งั ของฝนุ่ ละอองขนาดเล็กในรอบวนั บรเิ วณอาคารสงู ในกรุงเทพมหานคร 537
ศริ ิภทั ร์ อนิ ทร์ตระกูล ทรรศนีย์ พฤกษาสิทธ์ิ และ นรตุ ตม์ สหนาวนิ 542
091 546
ประสิทธภิ าพเชงิ นิเวศเศรษฐกจิ ของการจดั การน้าเสยี จากโรงงานอุตสาหกรรมในพนื้ ท่ีอุตสาหกรรม
เชงิ นเิ วศ จังหวัดระยอง
อนริ ทุ ธ์ โพธหิ ลา๎ โกวทิ สวุ รรณหงษ์ นนั ทน์ ภสั ร อินยมิ้ และ เสรีย์ ตู๎ประกาย
092
แนวทางการดาเนินงานขององค์กรปกครองสวํ นทอ๎ งถ่นิ ในการบริหารจัดการโครงสร๎างพ้ืนฐาน
ในพนื้ ท่ีอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ จังหวัดชลบุรี
ดวงจันทร์ อนํุ ชาติ โกวิท สวุ รรณหงษ์ นนั ทน์ ภสั ร อินยมิ้ และ เสรีย์ ตป๎ู ระกาย
093
ปจั จยั ทมี่ ีผลกระทบตํอการบังคับใชก๎ ฎหมายจราจรของประชาชน ในเขตพ้ืนท่ีบางกะปิ
กรงุ เทพมหานคร
ธนเดช คชทรัพย์ วรานนท์ คงสง เสรยี ์ ตูป๎ ระกาย และ บุญธรรม หาญพาณิชย์
094
การสารวจทศั นคติ ความรู๎ และพฤติกรรมของครวั เรอื นในการจัดการขยะมลู ฝอย กรณีศกึ ษา
ผ๎อู ยูํอาศัยในหมูบํ ๎านเดอะแพลนท์และภัสสร25 (บางนา) อาเภอบางพลี จงั หวดั สมุทรปราการ
ภูวเดช ชัยธราทิพ และ นันทน์ ภสั ร อนิ ย้ิม
095
การลดปริมาณสารคลอไรด์ในนา้ บาดาลโดยเทคโนโลยีเมมเบรน
สธุ าทพิ ย์ สินยัง รัตพงษ์ บวั แดง วรรวิศา สงแก๎ว และ จรงค์พนั ธ์ มสุ กิ ะวงศ์



นาเสนอแบบโปสเตอร์ (Poster Presentation) 554
561
010 567
การประเมนิ กา๏ ซเรือนกระจกของคณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั ลาปาง 573
ธนวรกฤต โอฬารธนพร อนริ ุจน์ มโนธรรม ศิรมิ า เอมวงษ์ นราธปิ วงษ์ปนั
วรี ชยั สวํางทกุ ข์ และ สนั ติ วงศใ์ หญํ
037
มลพษิ จากแหลงํ กาเนดิ นา้ เสียแบบไมํทราบแหลงํ ท่ีมาท่ีแนนํ อนในพ้นื ท่ลี ุํมแมํน้าอิงตอนบน
สชุ ัญญา ทองเครือ เจนจิรา คุม๎ ชู และ พชั รา ชานาญรักษา
066
การจัดการขยะมลู ฝอยอยํางมีสวํ นรวํ มของนกั เรียน: กรณีศึกษาโรงเรียนบ๎านหัวดอย
ตาบลทําสาย อาเภอเมอื งเชียงราย จงั หวัดเชยี งราย
กติ ตชิ ยั จันธิมา กฤตวิชญ์ สขุ องึ้ สฤทธิ์พร วิทยผดงุ และ สุรนิ ทร์ ทองคา
076
การประเมินคุณภาพน้า อาํ งเก็บนา้ สามัคคธี รรม หมทูํ ่ี 5 บา๎ นสามคั คีธรรม ตาบลลุมํ สํุม
อาเภอไทรโยค จังหวดั กาญจนบรุ ี
อมั พา เอกจติ ต์ และ พีรตา ขุนโอษฐ์



Oral

Presentation

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

001

ปัจจยั ทท่ี าใหเ้ กดิ เศษวสั ดุและผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม
ในงานกอ่ สรา้ ง กรณศี ึกษาอาคารการเรียนรู้ปว๋ ย 100 ปี

Factors Causing Wastes and Environmental
Impact of Construction Project : Case study of

Puey 100 Year Knowledge Park Building

สุพตั รา ทองบญุ 1* และ จงรักษ์ ผลประเสริฐ2
Supattra Thongboon1* and Chongrak Polprasert2
1*นสิ ติ บณั ฑติ ศึกษา ภาควชิ าวศิ วกรรมและการจดั การเชงิ ธรุ กจิ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2ศาสตราจารย์ ภาควิชาวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนยร์ งั สิต 12120
โทรศัพท์ : 085-1089115, E-mail : [email protected]

บทคัดยอ่

งานวิจัยน้ีศึกษาปัจจัยท่ีทาให้เกิดเศษวัสดุและผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมในงานก่อสร้าง กรณีศึกษาอาคารการเรียนรู้ป๋วย
100 ปี เพื่อหาปัจจัยที่ทาให้เกิดเศษวัสดุ ประเภทของวัสดุ ปริมาณการเกิดเศษวัสดุ ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและการพัฒนา
สมการประเมินเศษวัสดุจากการก่อสร้าง โดยการเก็บข้อมูลจากบุคคล 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 เป็นบุคลากรในโครงการก่อสร้าง
กลุ่มที่ 2 เป็นประชากรบริเวณพ้ืนท่ีใกล้เคียง เก็บข้อมูลโดยการทาแบบสอบถาม เพื่อนาข้อมูลท่ีได้มาใช้ในการวิเคราะห์ ผลจาก
การศึกษาพบว่าปัจจัยท่ีทาให้เกิดเศษวัสดุมากท่ีสุดคือ มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขแบบระหว่างการก่อสร้าง มีระดับความสาคัญ
( = 3.96, SD = 1.02) เศษวัสดุที่เกิดข้ึนมากที่สุดคือ เศษคอนกรีต มีระดับความสาคัญ ( = 3.51, SD = 0.82) ผลกระทบต่อ
สง่ิ แวดลอ้ มทีเ่ กดิ ข้ึนมากท่สี ดุ คอื มลภาวะทางอากาศ มีระดบั ความสาคญั ( = 3.55, SD = 1.05) จากการพัฒนาสมการประเมิน
เศษวัสดุจากการก่อสร้าง ได้ดังสมการ Wtotal = Wc+Wi+Wb+Ww เม่ือแทนค่าในสมการ Wtotal = 2.354 กก./(ตรม.-เดือน)
โดยเศษวสั ดจุ ากการก่อสรา้ งคิดเปน็ รอ้ ยละ 7.70 ของวัสดุท้งั โครงการ เมื่อทดสอบความถูกต้องกับข้อมูลของการก่อสร้างรถไฟฟ้า
สถานีสะพานใหม่ พบวา่ มีความแตกตา่ งประมาณรอ้ ยละ 35 เพราะวา่ ลกั ษณะอาคารและการก่อสร้างแตกตา่ งกนั จงึ ควรใช้สมการ
ท่ีพัฒนาได้น้ีกับลักษณะอาคารและการก่อสร้างท่ีใกล้เคียงกัน แนวทางในการลดปริมาณเศษวัสดุจากการก่อสร้าง คือ
การออกแบบโครงสร้างให้มีความซับซ้อนน้อยเพ่ือป้องกันการแก้ไขแบบระหว่างก่อสร้าง มีการให้ความรู้และอบรมพนักงานให้มี
ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั แบบในการกอ่ สรา้ ง มกี ารวางแผนการใช้วัสดกุ อ่ สร้างอย่างเป็นระบบ
ควรใชส้ มการทพ่ี ฒั นาไดน้ ้ีกับลักษณะอาคารและการกอ่ สร้างทใ่ี กลเ้ คียงกัน

คาสาคัญ : เศษวัสดุกอ่ สรา้ ง; ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม; อาคารการเรยี นรู้

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 1 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

Abstract

This study evaluated the factors causing wastes and environmental impact of construction project at
the Puey 100 years knowledge park building. Data on type of construction wastes, their volumes and
environmental impacts were collected and analyzed for developing a regression, equation. From the
questionnaire surveys of the construction personal and people living near by the construction area, the most

important factor causing wastes was change in construction drawings during construction ( = 3.96, SD =

1.02). Concrete scrap was the most causing construction wastes ( = 3.51, SD = 0.82). A regression equation

to estimate construction wastes was developed as : Wtotal = Wc+Wi+Wb+Ww ; in which Wtotal (or construction
wastes) was formed to be 2.354 kg/(m2-month) or 7.70% of construction material wastes used in the whole

project. Air pollution was found to be the most environmental impact from the construction ( = 3.55,

SD = 1.05). The developed regression equation was tested with the data of the construction of the Green Line
Railway - Saphanmai station, resulting in about 35 % difference. Therefore, the developed regression equation
should be used to estimate construction wastes with building having similar structure with the Puey 100 years
knowledge park building.

Recommendation for construction waste reduction included: design of buildings having less
complicated structure, training of construction workers on shop drawing; and proper planning on construction
material.

Keywords : Construction wastes; Environmental impact; Knowledge park building

บทนา

การขยายตัวของอตุ สาหกรรมการก่อสร้างในปัจจุบันท่ีมีเพ่ิมมากขึ้นเพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค เนื่องจาก
การเพมิ่ ขึ้นของประชากร การบรโิ ภคที่เพ่ิมมากขึน้ การขยายตวั ของชุมชนเมืองและการปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ จากสงั คมเกษตรกรรมสู่
สังคมเมืองในหลายพ้ืนท่ีจึงทาใหม้ สี ิ่งกอ่ สรา้ งเพิม่ ขึน้ เปน็ อยา่ งมาก มีส่งิ ก่อสร้างมีตงั้ แตข่ นาดเลก็ ไปจนถงึ สิ่งก่อสรา้ งขนาดใหญ่ เพื่อ
อานวยความสะดวก และในการก่อสรา้ งใชร้ ะยะเวลานาน จงึ ทาให้มีการใชว้ สั ดุในการกอ่ สร้างปรมิ าณจานวนมาก ซ่ึงก่อให้เกิดขยะ
จากเศษวสั ดกุ อ่ สรา้ งเพิ่มขนึ้ ตามดว้ ย และอาจส่งผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ มทงั้ เรือ่ งของเศษวัสดทุ เ่ี พม่ิ ขน้ึ จากการก่อสรา้ ง มลพษิ ทาง
อากาศจากฝ่นุ ละออง มลพษิ ทางเสยี งจากการกอ่ สร้าง และการจราจรติดขัด เป็นตน้

วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั
1.เพื่อศึกษาปจั จยั ท่ที าใหเ้ กิดเศษวัสดุจากโครงการกอ่ สร้างอาคารการเรียนรู้
2.เพอื่ ศึกษาชนดิ และปริมาณของเศษวสั ดุทีเ่ กิดจากโครงการก่อสร้างอาคารการเรียนรู้และพัฒนาสมการประเมินเศษวัสดุจากการ
ก่อสร้าง
3.เพ่ือวิเคราะห์หาแนวทางในการลดปัจจัยที่ทาให้เกิดเศษวัสดุและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในโครงการก่อสร้างอาคารการ
เรยี นรู้

อุปกรณแ์ ละวิธีการ

การวิจัยได้ดาเนินการโดยเก็บข้อมูลจากสถานท่ีก่อสร้างอาคารการเรียนรู้ป๋วย 100 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศูนยร์ ังสติ อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี ใช้วธิ ขี อง Taro Yamane (1973) [1] ในการกาหนดจานวนของกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัย
ได้กาหนดปัจจัยในแบบสอบถามและนาข้อมูลแบบสอบถามท่ีได้มาวิเคราะห์ปัจจัยที่ทาให้เกิดเศษวัสดุจากการก่อสร้างมากที่สุด
เชน่ ปจั จัยการเปล่ียนแปลงแกไ้ ขแบบระหวา่ งการกอ่ สรา้ ง ปจั จยั ขาดการวางแผนและการประสานงานเป็นต้น ระบุชนิดของวัสดุท่ี
เกิดข้ึนเช่น เศษคอนกรีต เศษเหล็ก เป็นต้น ปริมาณของเศษวัสดุท่ีเกิดข้ึนนามาพัฒนาสมการประเมินเศษวัสดุและได้เก็บข้อมูล
แบบสอบถามผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มท่เิ กิดจากโครงการก่อสรา้ งโดยใช้เคร่ืองมือตรวจวัดก็บข้อมูลเสียงขณะการก่อสร้าง ทาการ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 2 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

เก็บข้อมูลด้านมลภาวะทางอากาศโดยการตรวจวัดปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) กาหนด
กลุ่มเปา้ หมายในการเก็บขอ้ มลู เป็น 2 กลุ่มไดแ้ ก่ 1.บุคลากรในโครงการกอ่ สร้างทรี่ ับรถู้ งึ สภาพหน้างานที่เกิดข้ึนจริง 2.ประชากรท่ี
ได้รบั ผลกระทบจากการก่อสรา้ ง เม่อื ได้ขอ้ มูลจากการสารวจภาคสนามและแบบสอบถามท่ีสมบูรณ์แล้ว ทาการประมวลผลข้อมูล
โดยการนาข้อมูลใส่ลงในโปรแกรม Statistical Package for the Social Sciences (SPSS) ซ่ึงกาหนดค่าตัวแปรต่างๆ สาหรับ
วเิ คราะห์ผลให้ออกมาในรูปแบบค่ารอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน นาข้อมูลที่ได้มาทาการพัฒนาสมการประเมินเศษ
วสั ดจุ ากการก่อสรา้ ง และทาการทดสอบความถกู ต้องตามรายการก่อสรา้ งของสมการทไี่ ดพ้ ัฒนากบั ขอ้ มูลของการกอ่ สร้างรถไฟฟ้า
สถานสี ะพานใหม่ ฐานชิ มะลิลา (2561) [2]

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

การวิจัยคร้ังนี้ได้ศกึ ษาถงึ ปัจจยั ท่ีทาให้เกิดเศษวสั ดุและผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม จากการก่อสร้างอาคารการเรียนรู้ป๋วย
100 ปี ได้ทาการเกบ็ ข้อมลู โดยการทาแบบสอบถามไปยังบุคลากรในโครงการก่อสรา้ ง และประชากรบริเวณใกล้เคียงพื้นท่ีก่อสร้าง
จากการเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากกลุ่มตัวอย่างทง้ั 2 กลุม่ นามาวเิ คราะห์หผ์ ลและสรุปผลไดด้ งั นี้

ผลจากการศึกษาพบว่าปัจจัยที่ทาให้เกิดเศษวัสดุมากท่ีสุด 5 อันดับแรก คือการเปลี่ยนแปลงแก้ไขแบบระหว่างการ
กอ่ สร้าง โดยมคี า่ เฉลีย่ เท่ากับ 3.96 อยใู่ นระดบั มาก อนั ดับสอง คือแบบไม่ละเอยี ดรายการประกอบไม่ครบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.44
อยใู่ นระดบั ปานกลาง อันดบั สาม คือแบบมคี วามซับซอ้ นเข้าใจยาก มีคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 3.18 อยู่ในระดับปานกลาง อันดับส่ี คือขาด
การวางแผนและการประสานงาน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.09 อยู่ในระดับปานกลาง และอันดับห้า คือการจัดเก็บวัสดุก่อสร้าง
ไม่เหมาะสม มคี ่าเฉลีย่ เทา่ กับ 3.00 อยใู่ นระดบั ปานกลาง ดังแสดงในรูปท่ี 1

รูปที่ 1 แสดงคา่ เฉล่ยี ปัจจัยทท่ี าให้เกดิ เศษวัสดุ มากทสี่ ุด 5 อนั ดบั

ผลจากการศึกษาพบว่าเศษวสั ดุที่เกิดข้นึ มากท่ีสุดในโครงการก่อสร้าง อันดับแรกคือ เศษคอนกรีต โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
3.51 อยู่ในระดับมาก อันดับสองคือ เศษอิฐบล็อกคอนกรีตเชิงตัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.22 อยู่ในระดับปานกลาง อันดับสามคือ
เศษเหล็ก มคี ่าเฉลีย่ เท่ากบั 3.16 อย่ใู นระดบั ปานกลาง อนั ดับสค่ี อื เศษไมแ้ บบ มคี ่าเฉล่ียเท่ากับ 3.13 อยูใ่ นระดับปานกลาง แสดง
ใหท้ ราบวา่ โครงการให้ความสาคญั กบั การเกิดเศษคอนกรีตมากท่สี ดุ รองลงมาคือเศษอฐิ บล็อกคอนกรีตเชิงตัน โดยรวม เศษวัสดุที่
เกดิ ขึ้นอยูใ่ นระดบั ปานกลาง ดงั แสดงในรปู ที่ 2

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 3 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

รูปที่ 2 แสดงคา่ เฉล่ยี เศษวสั ดทุ ่ีเกิดจากการก่อสร้าง

ผลจากการสารวจพ้ืนท่ีเพื่อเก็บข้อมูลปริมาณเศษวัสดุที่เกิดขึ้นภายในโครงการ ในเดือน เมษายน 2562 ความก้าวหน้า
โครงการ รอ้ ยละ 80.00 ในโครงการมีการจัดเก็บเศษวัสดุที่เกิดจากการก่อสร้างโดยไม่รวมส่วนที่มีการร้ือถอน โดยหน่วยงานจะมี
การคัดแยกเศษวสั ดุตามประเภทกองเก็บไวเ้ ปน็ สัดสว่ น โดยเศษคอนกรีตจะมกี ารขนยา้ ยวสั ดอุ อกไปโดยใช้รถสิบลอ้ 1 ครัง้ ต่อเดอื น
เศษเหล็กจะขนย้ายวัสดุโดยใช้รถหกล้อ 1 ครั้งต่อเดือน เศษไม้แบบจะขนย้ายออกไปโดยใช้รถหกล้อ 1 ครั้งต่อเดือน และเศษอิฐ
บล็อกคอนกรีตเชิงตันจะขนย้ายวัสดุโดยใช้รถหกล้อ 1 คร้ังต่อเดือน จากการเก็บข้อมูลค่าเฉลี่ยวัสดุย้อนหลัง 3 เดือน พบว่าเศษ
คอนกรีตเกิดข้ึนมากท่ีสุด ร้อยละ 63.17 รองลงมาคือเศษเหล็ก ร้อยละ 21.04 เศษอิฐบล็อกคอนกรีตเชิงตัน ร้อยละ 10.53 และ
เศษไม้แบบ รอ้ ยละ 5.26 ตามลาดบั เมื่อคิดเป็นน้าหนักต่อพ้ืนที่ ทั้งโครงการพบว่า เศษคอนกรีตมีน้าหนักมากท่ีสุดเท่ากับ 24.99
กิโลกรัมต่อตารางเมตร รองลงมาคือเศษเหล็ก มีน้าหนักเท่ากับ 8.33 กิโลกรัมต่อตารางเมตร เศษอิฐบล็อกคอนกรีตเชิงตันมี
น้าหนักเท่ากับ 4.17 กิโลกรัมต่อตารางเมตร และเศษไม้แบบ มีน้าหนักเท่ากับ 2.08 กิโลกรัมต่อตารางเมตร รวมเป็น 39.57
กโิ ลกรัมต่อตารางเมตร หรอื คดิ เปน็ 128.91 ตนั ตอ่ เดือน ของปริมาณทงั้ โครงการ ดังแสดงในรูปท่ี 3

รปู ที่ 3 อตั ราการเกดิ เศษวสั ดุ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากประชากรที่ตอบแบบสอบถามได้ให้ความสาคัญของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดจากการ
ก่อสรา้ ง พบวา่ คา่ เฉล่ียมากที่สุดอันดับแรกคือ มลภาวะทางอากาศ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.55 อยู่ในระดับมาก อันดับที่สองคือ ขยะ
รอบบริเวณสถานท่ีก่อสร้างเพิ่มข้ึน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 2.89 อยู่ในระดับปานกลาง อันดับท่ีสามคือ มลภาวะทางเสียง มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.81 อยู่ในระดับปานกลาง อันดับท่ีสี่ คือการจราจรติดขัด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 2.79 อยู่ในระดับปานกลาง และอันดับที่ห้า
คอื อุบตั ิเหตจุ ากการก่อสรา้ งมคี ่าเฉลยี่ เทา่ กับ 2.39 อยูใ่ นระดบั นอ้ ย ดังแสดงในรปู ที่ 4

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 4 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

รปู ที่ 4 แสดงความสาคญั ของผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม

ผลการวเิ คราะห์ ผลกระทบด้านมลภาวะทางเสยี งจากสถานที่โครงการก่อสร้างอาคารการเรียนรู้ ป๋วย 100 ปี ช่วงเดือน
เมษายน 2562 ความก้าวหนา้ โครงการรอ้ ยละ 80.00 ในขณะปฏบิ ัติงาน ได้ทาการเก็บข้อมูล 3 วัน จานวนวันละ 6 คร้ัง จุดท่ีเก็บ
ข้อมูล รอบโครงการ 2 จุด และจุดท่ีมีการทางานเสียงดัง 1 จุด เมื่อนาค่าท่ีได้ทาการเฉล่ียแล้ว เท่ากับ 63.23 เดซิเบลเอ
เปรยี บเทยี บกับค่ามาตรฐาน ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับท่ี 15 (พ.ศ.2540) เรื่องกาหนดมาตรฐานระดับ
เสียงโดยทั่วไปท่ีกาหนดระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมงไว้ไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ ซ่ึงค่าที่ได้น้อยกว่ามาตรฐาน และสอดคล้องกับ
แบบสอบถามของคา่ เสยี งท่มี คี ่าอยู่ในระดับปานกลาง

ผลจากการตรวจวัดค่าฝนุ่ ละออง PM 2.5 การตรวจวดั ปริมาณฝ่นุ ละอองขนาดเล็กขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5 )
ของโครงการอาคารการเรียนรู้ป๋วย 100 ปี มหาลัยธรรมศาสตร์(รังสิต) เก็บข้อมูล 1 จุด รอบนอกโครงการ โดยบริษัท พลีบิลท์
จากัด (มหาชน) วันท่ี 10 พฤษภาคม 2562 ความก้าวหน้าของโครงการร้อยละ 85 พบว่าค่าฝุ่นละออง PM 2.5 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง
เท่ากบั 46 ไมโครกรมั ตอ่ ลูกบาศก์เมตร เมอ่ื นามาเปรยี บเทียบคา่ มาตรฐาน ตามประกาศคณะกรรมการสง่ิ แวดล้อมแห่งชาติฉบับที่
36 (พ.ศ. 2533) เรื่องกาหนดมาตรฐานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน กาหนดไว้ไม่เกิน 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
พบว่าไม่เกินคา่ มาตรฐาน ซงึ่ สอดคลอ้ งกับผลการวิเคราะห์จากการเก็บข้อมูลแบบสอบถามผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม มลภาวะทาง
อากาศ ซี่งมีคา่ อยู่ในระดับปานกลาง ดงั แสดงในรปู ที่ 5

รปู ท่ี 5 คา่ ฝ่นุ ละอองบริเวณโครงการอาคารการเรียนร้ปู ว๋ ย 100 ปี
ผู้วจิ ัยได้เก็บขอ้ มูลปริมาณการสูญเสียเศษวัสดุ จากการสัมภาษณ์บุคลากรในโครงการก่อสร้าง เพื่อนาข้อมูลมาใช้ในการ
พัฒนาสมการประเมนิ เศษวสั ดทุ ่เี หลอื จากโครงการ โดยใชข้ อ้ มูลปรมิ าณงานในโครงนน้ั ๆ ในการประเมินเศษวสั ดุทเ่ี กิดขึ้นมีปรมิ าณ
มากหรือปริมาณน้อย โดยการพัฒนาสมการประเมินเศษวัสดุในโครงการนี้ ผู้วิจัยได้นาข้อมูลจากการทาแบบสอบถามและนามา
วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยของปัจจัยแต่ละด้าน ทาเป็นตัวแปรในการคานวณ และนาไปแทนค่าในสมการ โดยให้ c,i,b,w แทนด้วยเศษ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 5 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

วัสดุคอนกรีต เศษเหล็ก เศษอิฐบล็อคคอนกรีตเชิงตัน และเศษไม้ ตามลาดับเพื่อหาผลรวมของการเกิดเศษวัสดุจากสมการ จาก
การก่อสรา้ งอาคารการเรียนรูป้ ว๋ ย 100 ปี ดังแสดงในตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 ค่าของตวั แปรในสมการ Pac ตัวแปร Mcc
0.0222 Sbc 0.0211
ตัวแปร กก./(เดือน-ตร.ม.)
Vc Pai 0.0273 Mci
0.0763 Sbi 0.0725
27.8710 Mcb
Vi Pab 0.0937 0.0215
0.0226 Sbb
0.9039 Mcw
Vb Paw 0.0278 0.0584
0.0615
1.5245 Sbw
0.0755
Vw
0.2803 รวม

30.5797

เมื่อได้ตัวแปรนามาพัฒนาสมการประเมินเศษวัสดุที่เกิดข้ึนจากการก่อสร้างจากอาคารการเรียนรู้ป๋วย 100 ปี ได้ดัง
สมการที่ (1-6)

Wtotal = Wc+Wi+Wb+Ww (1)
Wtotal = Wc+Wi+Wb+Ww (2)
Wc = Vc - [Vc - Vc (Pac) - Vc (Sbc) - Vc (Mcc)] (3)
Wi = Vi - [Vi – Vi (Pai) - Vi (Sbi) - Vi (Mci)] (4)
Wb = Vb - [Vb – Vb (Pab) - Vb (Sbb) - Vb (Mcb)] (5)
Ww = Vw - [Vw – Vw (Paw) - Vw (Sbw) - Vw (Mcw)] (6)

ความหมายของตวั แปรแตล่ ะตัวในสมการ
Wtotal คือ ผลรวมของเศษวสั ดทุ ีเ่ กดิ ข้นึ ทง้ั โครงการ หน่วยเปน็ กโิ ลกรัม/(ตารางเมตร-เดือน)
Wc คือ ผลรวมของเศษคอนกรตี ที่เกดิ ขึน้ ในโครงการ หน่วยเปน็ กโิ ลกรัม/(ตารางเมตร-เดอื น)
Wi คือ ผลรวมของเศษเหล็กที่เกดิ ขนึ้ ในโครงการ หนว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั /(ตารางเมตร-เดือน)
Wb คือ ผลรวมของเศษอิฐคอนกรตี เชงิ ตันท่ีเกดิ ขึน้ ในโครงการ หนว่ ยเปน็ กิโลกรมั /(ตารางเมตร-เดอื น)
Ww คอื ผลรวมของไมแ้ บบทเี่ กดิ ขน้ึ ในโครงการ หน่วยเปน็ กโิ ลกรมั /(ตารางเมตร-เดือน)
V คือ ปรมิ าณของเศษวัสดุทใี่ ช้ในโครงการ หนว่ ยเป็นกโิ ลกรมั /(ตารางเมตร-เดอื น)
P คอื คา่ เฉลี่ยของปัจจยั ท่เี กิดจากบุคลากร
S คือ ค่าเฉล่ยี ของปจั จยั ทเ่ี กดิ จากแบบกอ่ สรา้ ง
M คือ ค่าเฉล่ยี ของปจั จยั ทีเ่ กดิ จากการจดั ซอื้ และจดั เก็บวัสดุก่อสรา้ ง
a,b,c คือ ค่าสัมประสิทธ์ของปริมาณการสญู เสยี ของวัสดุ แตล่ ะชนดิ

จากการพฒั นาสมการประเมินปรมิ าณเศษวสั ดุท่ีเกดิ ขึ้นในโครงการกอ่ สรา้ งอาคารการเรียนรปู้ ว๋ ย 100 ปี เมื่อแทนคา่ ใน
“สมการ (1)” จะไดผ้ ลรวมของสมการปริมาณเศษวสั ดทุ ่เี กดิ ข้ึนท้ังโครงการดงั มคี ่าต่างๆ ดังนี้
Wc = 1.9705
Wi = 0.2191
Wb = 0.1096
Ww = 0.0548
Wtotal = 1.9705+ 0.2191+ 0.1096+ 0.0548
Wtotal = 2.354 กก./(ตรม.-เดอื น ) หรอื เท่ากบั 128.91 ตัน/เดือน

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 6 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

สรปุ

งานวิจยั น้ีเป็นการศึกษาปัจจัยท่ีทาให้เกิดเศษวัสดุจากการก่อสร้างอาคารการเรียนรู้ป๋วย 100 ปี เพื่อเสนอแนวทางการ
ลดปริมาณเศษวัสดุ และลดผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อมเม่ือทาการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการออกแบบสอบถามพบว่าปัจจัยที่ทาให้
เกิดเศษวัสดุมากที่สุด คือการแกไ้ ขแบบระหวา่ งก่อสร้าง ดงั นั้นการออกแบบโครงสรา้ งใหม้ คี วามซับซ้อนน้อยลงและให้ความสาคัญ
ในการทาความเข้าใจแบบก่อสร้าง การอบรมให้ความรู้ก่อนการก่อสร้างจึงเป็นสิ่งท่ีควรให้ความสาคัญเป็นอย่างมากเพื่อที่จะลด
สาเหตกุ ารสญู เสยี เศษวัสดุใหน้ อ้ ยลงได้ เศษวสั ดุท่ีเกิดขึ้นมากท่ีสดุ คอื เศษคอนกรีต ซึ่งการลดปัจจัยการแก้ไขแบบระหว่างก่อสร้าง
จะสามารถทาใหล้ ดปรมิ าณเศษวสั ดทุ จี่ ะสญู เสยี ได้ สาหรบั แนวทางในการจดั การเศษวสั ดทุ ่ีเกิดขน้ึ คือ การนามาใชซ้ ้า ใช้ในการถม
และการกาจัดด้วยวิธีที่ถูกต้อง เพ่ือจะลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมในด้านอื่นๆ ด้วย และจากการพัฒนาสมการเพื่อหาเศษวัสดุที่
เหลือจากการกอ่ สรา้ ง สามารถนาไปใชใ้ นงานก่อสร้างประเภทอ่นื ๆ เชน่ งานกอ่ สรา้ งอาคารสูง โรงงาน อาคารการเรียนรู้อื่นๆ ท่ีมี
ลักษณะการก่อสรา้ งทใ่ี กล้เคียงกัน จากการพัฒนาสมการประเมินเศษวัสดุล่วงหน้าทาให้ทราบถึงปริมาณเศษวัสดุท่ีจะเกิดขึ้นและ
สามารถควบคุมให้ลดลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ที่สนใจหรือผู้ประกอบการสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการประมาณเศษวัสดุ
และสามารถการควบคุมตน้ ทนุ เศษวสั ดุ เพอ่ื เปน็ ลดปรมิ าณเศษวัสดทุ จ่ี ะเกดิ ข้ึนใหล้ ดลงได้ยังเป็นการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมท่ี
จะเกิดข้ึนดว้ ย

กิตติกรรมประกาศ

ในการศึกษาวิจัยฉบับนสี้ าเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ้วยดี ผู้เขียนขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารย์ ดร.จงรักษ์ ผลประเสริฐ ท่ีได้
กรุณาสละเวลามาท่ีปรึกษาการศึกษาวิจัยฉบับน้ี และกรุณาเสียสละเวลาอันมีค่าในการให้คาปรึกษาเก่ียวกับแนวคิด ให้ความรู้
คาแนะนา ตลอดจนการตรวจสอบ และแนวทางการแกไ้ ขปญั หาต่างๆ ด้วยดีตลอดมา ขอกราบขอบพระคณุ รองศาสตราจารย์ ดร.
บุรฉตั ร ฉตั รวีระ ทไี่ ดก้ รุณาใหเ้ กยี รตเิ ปน็ ประธานในการศึกษาวจิ ยั ในครง้ั นี้ พรอ้ มท้ังเสยี สละเวลาในตรวจสอบ ให้คาแนะนาอนั เป็น
ประโยชน์ตอ่ การศกึ ษาวจิ ัยฉบบั นใี้ หม้ ีความสมบรู ณม์ ากยิง่ ข้ึน

ขอขอบคุณบริษัท คอนซัลติ้ง แอนด์ แมนเนจเม้นต์ 49 จากัด และหน่วยงานก่อสร้าง บริษัท พรีบิลท์ จากัด (มหาชน)
และประชาชนที่อยู่บริเวณใกล้เคียงสถานท่ีก่อสร้าง ท่ีได้สละเวลาอันมีค่าในการให้ความกรุณาตอบแบบสอบถาม รวมถึงการให้
ขอ้ มูลอันเป็นประโยชนใ์ นการศกึ ษาวิจัยในครั้งนี้

สุดท้ายน้ีผู้เขียนขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ครอบครัวสมาชิกวงศ์ปะชุม ขอขอบคุณเจ้าหน้าท่ีคณะ
วศิ วกรรมศาสตร์ ทุกทา่ นที่อานวยความสะดวกในการจดั ทางานวิจัย และขอขอบคุณผู้ทเ่ี กี่ยวขอ้ งทกุ ทา่ นท่ีมไิ ด้กล่าวนามมา ณ ที่นี้
ที่ให้ความช่วยเหลือด้วยดีเสมอมา ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การจัดทาวิจัยฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์และเป็นแนวทางในการศึกษา
สาหรบั ผู้ทสี่ นใจได้เป็นอย่างดี ผ้เู ขียนจงึ ใคร่ขอขอบพระคุณเปน็ อย่างสงู ไว้ ณ โอกาสน้ี

ขอ้ มูลอเิ ลก็ ทรอนิกส์

"กรมควบคุมมลพษิ ". (2560). รายงานสถานการณส์ ถานที่กาจัดขยะมลู ฝอยชมุ ชนของประเทศไทย.
สบื ค้นเม่อื วนั ที่ 9 มนี าคม 2562, จาก http://www.pcd.go.th

"ระบบสถิติทางการทะเบียน". สถติ ปิ ระชากรและบา้ น. สืบค้นเมอ่ื วนั ท่ี 9 กรกฎาคม 2562,
จากhttp://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/

"เกียรตสิ ุดา ศรีสขุ ". เทคนิคการสรา้ งเครอ่ื งมือในงานวจิ ัย. (2552). สบื ค้นเมื่อวันที่ 16 มถิ นุ ายน 2562
จาก https://www.reg.cmu.ac.th/qa_new/fileslink/research02_2.pdf

เอกสารอ้างองิ

[1] Yamane, Taro. 1973. Statistics, An Introductory Analysis, 2nd Ed., New York : Harper and Row
Publication.

[2] ฐานิช มะลิลา. (2561). ศึกษาปัจจัยท่ีทาให้เกิดเศษวัสดุในการก่อสร้างรถไฟฟ้า และความเส่ียงท่ีส่งผล กระทบต่อ
ส่ิงแวดล้อม กรณีศึกษา รถไฟฟ้าสายสีเขียว หมอชิต-คูคต สถานีสะพานใหม่. (การค้นคว้าอิสระวิศวกรรมศาสตร
มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, คณะวศิ วกรรมศาสตร.์

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 7 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

002

การจดั การขยะมลู ฝอยงานว่ิงมาราธอนระดบั นานาชาติ
ในจังหวัดภเู ก็ต

International Running Marathon Event
Solid Waste Management in Phuket Province

สนิ ีนาฏ พวงมณ1ี * และ มาลิค แซะอาหล2ี
Sineenart Puangmanee1* and Malik Saearlee2
1*อาจารย์ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรส์ งิ่ แวดล้อม คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภูเกต็ ภูเกต็ ภูเกต็ 83000
2นักศกึ ษาปรญิ ญาตรี สาขาวิชาวิทยาศาสตรส์ ่งิ แวดลอ้ ม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภเู กต็ ภูเกต็ 83000
*โทรศพั ท์ : 076-218806, โทรสาร : 076-218806, E-mail : [email protected]

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงสารวจเกี่ยวกับการศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยงานว่ิงมาราธอนระดับนานาชาติ ใน
จังหวัดภูเก็ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณ องค์ประกอบทางกายภาพ และการจัดการขยะมูลฝอย ซ่ึงทาการเก็บตัวอย่างขยะ
มลู ฝอยจากถังขยะ ณ จดุ ใหบ้ ริการ ทเ่ี กิดจากกจิ กรรมการวง่ิ ทกุ ประเภทภายในงานท่เี ก่ียวข้องกับการว่ิงโดยตรงและโดยอ้อม เป็น
เวลา 1 วนั จากการวิง่ มาราธอน 3 รายการ (มินิมาราธอน ฟันรัน และวิ่งยุวชน) ผลการศึกษาพบว่า ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นท้ังหมด
มีปริมาณรวม 1,395.30 กิโลกรัม แบ่งเป็นขยะมูลฝอยท่ีเกิดจากกิจกรรมวิ่งโดยตรง 1,200.20 กิโลกรัมและจากกิจกรรมวิ่งโดย
อ้อม 195.10 กโิ ลกรัม ตามลาดับ มอี ตั ราการเกิดขยะมูลฝอยเท่ากับ 0.31 กิโลกรัม/คน/วัน โดยขยะมูลฝอยท่ีเกิดจากกิจกรรมวิ่ง
โดยตรง พบว่ามี ขยะท่ัวไปมากที่สุด 525.70 กิโลกรัม รองลงมาเป็นขยะรีไซเคิล ขยะย่อยสลายได้ และขยะอันตราย ปริมาณ
เท่ากับ 395.50, 268.50 และ 10.50 กิโลกรัม ตามลาดบั สว่ นขยะมูลฝอยท่เี กดิ จากกิจกรรมโดยออ้ ม พบวา่ มี ขยะท่วั ไป มากท่ีสุด
91.30 กิโลกรัม รองลงมา ขยะยอ่ ยสลายได้ ขยะรไี ซเคิล และขยะอันตราย มปี ริมาณ 87.20, 15.20 และ 1.40 กิโลกรมั ตามลาดบั
ในส่วนของลักษณะภาชนะรองรับขยะมูลฝอย พบว่า ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นโครงเหล็กแขวนถุงขยะ ตะกร้าพลาสติกขนาดเล็ก
ถงั พลาสติกขนาดเลก็ และถงั พลาสติกขนาดใหญ่ ซ่งึ ภายในมถี งุ พลาสติกรองรับสีดา การเกบ็ กักรวบรวมขยะมลู ฝอยภายในพ้นื ทจ่ี ัด
งาน พบว่า เปน็ พนกั งานของบรษิ ทั เอกชนทรี่ ับเหมาทาความสะอาด ส่วนขยะมูลฝอยตามเส้นทางว่ิงจะถูกกักเก็บรวบรวมและขน
ถ่าย/ขนยา้ ย โดยบคุ คลภายนอกท่ถี ูกวา่ จ้างโดยผจู้ ดั งาน ซึ่งใช้รถบรรทุก 4 ลอ้ ขนาด 3 ลบ.ม. ขนยา้ ยมายังจุดพักขยะ โดยในขณะ
ปฏิบัติงาน มกี ารใชอ้ ุปกรณ์ปอ้ งกนั ในขณะปฏบิ ัติงานท่ไี ม่เหมาะสม ในส่วนของการเก็บขน/ขนย้าย พบว่า เป็นบริษัทแห่งหน่ึงท่ีได้รับ
ใบอนุญาตประกอบกิจการเก็บขน หรือกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย โดยเก็บขนขยะมูลฝอยไปกาจัดเมื่อสิ้นสุดการจัดงานทั้งหมด
ทกุ สว่ นแลว้ เทา่ นนั้ โดยใช้รถกระบะรวั้ เหล็ก และในสว่ นของการกาจัด พบวา่ ขยะรีไซเคิล ซ่ึงถูกคัดแยกในบางจุดบริการต้ังแต่ต้น
ทางจะถูกนาไปขายให้กับรา้ นขายของเกา่ เพ่ือนาไปรีไซเคิล และในส่วนของขยะท่ัวไป ท่ีไม่ถูกคัดแยกในเกือบทุกจุดบริการ จะถูก
นาไปกาจดั ดว้ ยวธิ กี ารเผาในเตาเผา ณ ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยรวม ซ่ึงเป็นวิธีการที่ถูกต้องตามกฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการ
มลู ฝอยทั่วไป พ.ศ. 2560

คาสาคัญ : การจดั การขยะมูลฝอย; ขยะมลู ฝอย; งานว่ิงมาราธอน

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 8 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

Abstract

This research is a study on solid waste management at an international running marathon event in
Phuket province. The aim of this study was to investigate the quantities, physical compositions, and solid
waste management. The survey included solid waste materials taken from bins at service points that
collected waste from the direct and indirect activities on the day of running events that were comprised of
3 matches: minimarathon, fun run, and kids run. The total amount of solid waste materials was 1,395.30 kg.
This included 1,200.20 kg and 195.10 kg that were directly and indirectly related, respectively, to the
marathon running. The direct waste was found to be general waste (525.70 kg), recyclable waste (395.50 kg),
compostable waste (268.50 kg), and hazardous waste (10.50 kg). The indirect waste was found to be general
waste (91.30 kg), recyclable waste (87.20 kg), compostable waste (15.20 kg), and hazardous waste (1.40 kg).
The rate of waste based on the amount per person was 0.31 kg/person/day. The collections of the waste
materials were put into black plastic bags which were placed inside a steel frame, a basket, or small and big
plastic buckets. All waste materials within the running area and running route were moved and transferred to
waste storage points by employees and a 4 wheel truck and carried on for disposal by pickup truck. The
waste workers wore unsuitable protective equipment while working. In the final stage of waste disposal, the
recyclable waste was moved to a recycle shop and the general waste was transported for disposal at an
incineration plant. These methods were correct according to the guideline.

Keywords : solid waste management; solid waste; running marathon event

บทนา

ในปัจจุบันประชาชนนิยมออกกาลังกายด้วยการวิ่งเพ่ิมมากขึ้น โดยมีจุดมุ่งหมายของการว่ิงเพื่อสุขภาพและเพ่ือการ
แขง่ ขัน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การแข่งขันวงิ่ มาราธอน ซ่ึงมกี ารจัดงานท้ังในระดับทอ้ งถ่ิน ชาติ และนานาชาติ จากสถติ ิตัวเลขนักวิ่งใน
ประเทศไทยจากสถาบนั วิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า ในปี 2560 มีจานวนกว่า 15 ล้านคน ซึ่งเพิ่มจาก ปี 2559
ที่มีอย่ปู ระมาณ 12 ลา้ นคน และ 5.8 ล้านคน ในปี 2545 [1] แต่จากการจัดการแข่งขันในแต่ละครั้ง ได้ก่อให้เกิดปัญหาขยะมูลฝอย
ตามมาเปน็ จานวนมาก โดยเฉพาะขวดน้าและแก้วน้าพลาสติกชนิดใช้แล้วท้ิง [2] ซึ่งขยะมูลฝอยส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นจากการจัดงาน
มักจะถูกจดั การด้วยวิธกี ารที่ไม่เหมาะสม อันเปน็ สาเหตสุ าคัญทกี่ ่อใหเ้ กิดปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม โดยปรมิ าณและองค์ประกอบของขยะมูลฝอย
จะแปรผันตามจานวนผู้เข้าร่วมวิ่งมาราธอนและบุคคลต่าง ๆ ที่เข้ามาภายในงานว่ิงมาราธอน ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาการ
จัดการขยะมูลฝอยงานว่ิงมาราธอน

โดยในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาปริมาณ องค์ประกอบ
ทางกายภาพของขยะมูลฝอย และการจัดการขยะมูลฝอยจากงานว่ิงมาราธอนระดับนานาชาติ ในอาเภอแห่งหนึ่งของจังหวัดภูเก็ต
และเพื่อใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยในงานวิ่งมาราธอนระดบั นานาชาติ

อปุ กรณ์และวิธีการ

1. เก็บตัวอย่างขยะมูลฝอยจากถังขยะ ณ จุดให้บริการ ท่ีเกิดจากกิจกรรมการว่ิงทุกประเภทภายในงานที่เก่ียวข้องกับ
การว่ิงโดยตรง จานวน 11 จุดบริการ คือ จุดบริการรับของที่ระลึก จุดบริการน้าภายในงาน จุดบริการนวดผ่อนคลาย จุดบริการ
อาหาร จดุ ปล่อยตวั และเส้นชัย จดุ บรกิ ารผ้ใู ห้การสนับสนุน จุดลงทะเบียนผู้ชนะ จุดบริการปฐมพยาบาล จุดบริการฝากสัมภาระ
จุดบริการน้าตามเส้นทางว่ิง และสุขา ในส่วนกิจกรรมโดยอ้อม จานวน 3 จุดบริการ คือ งานแสดงสินค้าภายในงาน โซนอาหาร
และงานเลี้ยงพาสต้า ในงานว่ิงมาราธอนระดับนานาชาติ ตลอดท้ังวัน เป็นเวลา 1 วัน จากการวิ่งมาราธอน 3 รายการ คือ
มินิมาราธอน ฟันรนั และวิง่ ยุวชน โดยมจี านวนนักวิง่ รวมทงั้ หมด 4,431 คน

2. ทาการศึกษาปรมิ าณ องค์ประกอบทางกายภาพของขยะมูลฝอยแล้วนามาจัดกลุ่มเป็น 4 องค์ประกอบ คือ ขยะย่อย
สลายได้ ขยะท่วั ไป ขยะรีไซเคิล และขยะอนั ตราย

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 9 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

3. ศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยภายในงานวิ่งมาราธอนระดับนานาชาติ ซึ่งประกอบด้วย ภาชนะรองรับขยะมูลฝอย
การเกบ็ กกั รวบรวมขยะมลู ฝอย การเกบ็ ขนขยะมูลฝอย และการกาจดั ขยะมูลฝอย

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

จากการศึกษาปริมาณ และองค์ประกอบของขยะมูลฝอยเกิดขึ้นจากกิจกรรมการวิ่งทุกประเภทภายในงานวิ่งทั้งหมด
พบว่า ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นมีแหล่งที่มา มีปริมาณและองค์ประกอบท่ีเกิดมาจาก 2 กิจกรรมหลัก คือ 1) ขยะมูลฝอยท่ีเกิดจาก
กจิ กรรมวิง่ โดยตรง ซึ่งมีแหล่งกาเนิดมาจากจุดให้บริการรวม 11 จุดบริการ คือ จุดบริการรับของท่ีระลึก จุดบริการน้าภายในงาน
จุดบริการนวดผ่อนคลาย จุดบริการอาหาร จุดปล่อยตัวและเส้นชัย จุดบริการผู้ให้การสนับสนุน จุดลงทะเบียนผู้ชนะ จุดบริการ
ปฐมพยาบาล จุดบรกิ ารฝากสัมภาระ จุดบริการน้าตามเสน้ ทางวง่ิ และสขุ า จากการศึกษา พบว่า มีขยะมูลฝอยทเ่ี กดิ จากกจิ กรรมการ
วิ่งโดยตรงรวม 1,200.20 กิโลกรมั (ร้อยละ 86.02 ) เป็นขยะทั่วไปมากท่ีสุด 525.70 กิโลกรัม องค์ประกอบท่ีพบ ได้แก่ ถ้วย/จาน/แก้ว
กระดาษ ฟองน้า ถุงพลาสติก ถ้วย/จาน/กล่อง/ช้อนพลาสติก เศษกระดาษ/กระดาษลังเปียก กล่องโฟม ไม้เสียบลูกช้ิน/ไม้
ไอศกรีม/ไม้ไผ่ ผ้าเย็น ถุงมือ หลอดพลาสติก เชือกฟาง และซองเจลให้พลังงานชนิดบรรจุซอง รองลงมาเป็นขยะรีไซเคิล 395.50
กิโลกรัม องค์ประกอบที่พบ ได้แก่ กระดาษลัง ขวดพลาสติก แก้วพลาสติก ขวดแก้ว กระป๋อง (อลูมิเนียม) และเหล็ก/ลวด ขยะ
ย่อยสลายได้ 268.50 กิโลกรัม องค์ประกอบที่พบ ได้แก่ เศษอาหาร และเปลือกผลไม้ เป็นต้น และขยะอันตรายพบน้อยท่ีสุด
10.50 กิโลกรัม องค์ประกอบที่พบ ได้แก่ ขยะอันตรายชนิดติดเชื้อ พบเป็นกระดาษชาระเปื้อนอุจจาระ โดยมีการทิ้งปนรวมกัน
หมด โดยไมม่ กี ารคดั แยก และขวดสเปรย์ ดังแสดงในรูปที่ 1

ก : ขยะท่วั ไป ข : ขยะรีไซเคิล

ค : ขยะย่อยสลายได้ ง : ขยะอนั ตราย

รปู ที่ 1 (ก-ง) แสดงปริมาณและองค์ประกอบของขยะมลู ฝอยทเี่ กดิ จากกจิ กรรมวิ่งโดยตรง

2) ขยะมูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรมว่ิงโดยอ้อม มีแหล่งกาเนิดมาจากจุดให้บริการรวม 3 จุดบริการ คือ งานแสดงสินค้า
ภายในงาน โซนอาหาร และงานเลย้ี งพาสต้า จากการศึกษา พบว่า มีปริมาณขยะมลู ฝอยทเ่ี กิดจากกิจกรรมวงิ่ โดยอ้อมรวม 195.10
กิโลกรัม (ร้อยละ 13.98) พบว่า เป็นขยะทั่วไป มากที่สุด 91.30 กิโลกรัม องค์ประกอบท่ีพบ ได้แก่ ถุงพลาสติก ถ้วย/จาน/แก้ว
กระดาษ ไม้เสียบลูกช้ิน/ไม้ไอศกรีม/ไม้ไผ่ กล่องโฟม เศษกระดาษ/กระดาษลังเปียก ถ้วย/จาน/กล่อง/ช้อนพลาสติก ฟองน้า
รองเทา้ กาบหมากบรรจอุ าหาร และซองเจลให้พลังงานชนดิ บรรจซุ อง รองลงมาเปน็ ขยะย่อยสลายได้ 87.20 กโิ ลกรัม องค์ประกอบ
ท่ีพบ ได้แก่ เศษอาหาร และเปลือกผลไม้ ขยะรีไซเคิล 15.20 กิโลกรัม องค์ประกอบท่ีพบ ได้แก่ ขวดพลาสติก กระป๋อง
(อลูมเิ นียม) กระป๋อง (เหล็ก) แก้วพลาสติก และสายไฟ และขยะอันตราย 1.40 กิโลกรัม องค์ประกอบที่พบ ได้แก่ ขยะอันตราย
ชนิดติดเช้ือ ได้แก่ เข็มเจาะเลือด สาลีเปื้อนเลือด เศษกระดาษเป้ือนเลือด พลาสเตอร์ยาท่ีใช้แล้ว กล่องพลาสเตอร์ยา ขวดยา

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 10 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

แอลกอฮอล์ ถงุ มอื ยาง หน้ากากอนามัย และบรรจุภัณฑ์หีบหอวัสดุทางการแพทย์ โดยขยะเหล่าน้ีไม่ได้มีการคัดแยกออกจากขยะมูลฝอย
ชนิดอ่ืน แหลง่ ท่มี าของขยะกลมุ่ น้ี มาจากงานแสดงสินค้าภายในงานวงิ่ ซึง่ มีจดุ ใหบ้ ริการตรวจสุขภาพเบื้องต้น โดยมีการให้บริการ
ตรวจเลอื ดใหก้ ับผูท้ ่สี นใจ โดยไม่มีค่าจา่ ยของบริษทั ประกันชวี ติ แห่งหนงึ่ และถ่านไฟฉาย ดังแสดงในรปู ที่ 2

ก : ขยะทวั่ ไป ข : ขยะย่อยสลายได้

ค : ขยะรีไซเคลิ ง : ขยะอันตราย

รปู ที่ 2 (ก-ง) แสดงปริมาณและองคป์ ระกอบของขยะมลู ฝอยท่ีเกิดจากกจิ กรรมว่งิ โดยอ้อม

จากการเก็บตัวอย่างขยะมูลฝอยจากกิจกรรมการวิ่งทุกประเภทภายในงานที่เกี่ยวข้องกับการวิ่งทั้งโดยตรงและโดยอ้อม
ในงานว่งิ มาราธอนระดับนานาชาติในจังหวัดภูเก็ต เปน็ เวลา 1 วัน จากการว่งิ มาราธอน 3 รายการ คอื มินิมาราธอน ฟันรนั และวง่ิ
ยุวชน มีขยะมูลฝอยท่ีเกิดขึ้นท้ังหมดมีปริมาณเท่ากับ 1,395.30 กิโลกรัม โดยมีจานวนนักว่ิงท่ีเข้ารวมทั้งหมด 4,431 คน เมื่อ
คานวณหาอตั ราการเกิดขยะมลู ฝอยแล้ว พบวา่ มีอตั ราการเกดิ ขยะมูลฝอยเทา่ กบั 0.31 กโิ ลกรมั /คน/วนั

ในส่วนของการจัดการขยะมูลฝอย ในประเด็นของลักษณะของภาชนะรองรับขยะมูลฝอย พบว่า ภาชนะส่วนใหญ่เป็น
โครงเหล็กแขวนถุงขยะ ตะกร้าพลาสติกขนาดเล็ก ถังพลาสติกขนาด 26.9 ลิตร ซ่ึงไม่เป็นไปตามกฎกระทรวงสุขลักษณะการ
จัดการมูลฝอยท่ัวไป พ.ศ. 2560 [3] ที่กาหนดไว้ว่า ภาชนะสาหรับบรรจุมูลฝอยท่ัวไปและมูลฝอยที่นากลับมาใช้ใหม่ต้องทาจาก
วัสดุที่ทาความสะอาดง่าย มีความแข็งแรง ทนทาน ไม่ร่ัวซึม มีฝาปิดมิดชิด สามารถป้องกันสัตว์และแมลงพาหะนาโรคได้ ขนาด
เหมาะสม สามารถเคล่ือนย้ายได้สะดวก และง่ายต่อการถ่ายและเทมูลฝอย แต่มีเพียงถังขยะพลาสติกสีเขียวขนาด 240 ลิตร
เท่านน้ั ทม่ี คี วามแข็งแรงทนทาน มีฝาปดิ มดิ ชดิ ไมร่ ว่ั ซึม เป็นไปตามลกั ษณะทก่ี าหนดในกฎกระทรวงสขุ ลักษณะการจดั การมลู ฝอย
ทั่วไป พ.ศ. 2560 [3] นอกจากน้ี ภาชนะรองรับทุกประเภทจะมีถุงพลาสติกรองรับสีดา เป็นถุงพลาสติกที่มีความเหนียว ทนทาน
ไมฉ่ กี ขาดงา่ ยไม่รวั่ ซมึ ขนาดเหมาะสม และสามารถเคลอ่ื นยา้ ยได้สะดวก เป็นไปตามลักษณะที่กาหนดในกฎกระทรวงสุขลักษณะ
การจัดการมูลฝอยท่ัวไป พ.ศ. 2560 [3] ที่กาหนดไว้ว่า ถุงสาหรับบรรจุมูลฝอยท่ัวไปและมูลฝอยนากลับมาใช้ใหม่ต้องต้องเป็น
ถุงพลาสติกหรือถุงท่ีทาจากวัสดุอื่นที่มีความเหนียว ทนทาน ไม่ฉีกขาดง่าย ไม่รั่วซึม ขนาดเหมาะสม และสามารถเคลื่อนย้ายได้
สะดวก ดังแสดงในรปู ท่ี 3

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 11 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ก: โครงเหลก็ แขวนถงุ ขยะ ข: ตะกร้าพลาสติกขนาดเลก็ ค: ถงั พลาสติกขนาด ง: ถังขยะพลาสติกขนาด
26.9 ลิตร ภายในมี 240 ลิตร สีเขียว ภายในมี
ภายในมถี งุ พลาสตกิ ภายในมีถุงพลาสติก ถงุ พลาสติกรองรบั สีดา ถุงพลาสตกิ รองรับสีดา

รองรับสีดา รองรับสีดา

รูปท่ี 3 (ก-ง) แสดงลกั ษณะของภาชนะรองรับขยะมลู ฝอยท่เี กดิ จากกจิ กรรมวิ่งทางตรงและทางออ้ ม

การเก็บกกั รวบรวมขยะมูลฝอย พบว่า ขยะมูลฝอยจากทุกกิจกรรมและทุกจุดบริการถูกเก็บรวบรวมเข้าด้วยกันท้ังหมด
เนื่องด้วยผเู้ ข้ารว่ มงานมกี ารทง้ิ ขยะมลู ฝอยลงในภาชนะรองรบั ท่ีผจู้ ดั งานเตรยี มไวใ้ ห้ โดยไมม่ ีการแยกประเภทของขยะมลู ฝอยและ
ภาชนะ ซง่ึ ส่วนใหญไ่ ม่มกี ารคัดแยกขยะท่ีต้นทาง ทาให้ขยะมูลฝอยทุกชนิดถูกเก็บรวบรวมเข้าด้วยกัน โดยไม่เว้นแม้ขยะอันตราย
(วตั ถุอนั ตรายและขยะติดเช้ือ) ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ กอปรทิพย์ อัจฉริยโสภณ [4] ซ่ึงพบว่า ส่วนใหญ่ขยะเปียกและขยะแห้ง
ถกู ทง้ิ ปะปนกนั โดยไมม่ กี ารคัดแยกต้ังแตต่ น้ ทาง ในส่วนงานว่ิงมาราธอนจะมีเพียงบางจุดบริการเท่าน้ันที่มีการคัดแยกขยะที่ต้นทางเพ่ือ
นาไปรีไซเคลิ ผทู้ ่ีมหี นา้ ท่ใี นการเก็บกกั รวบรวม ประกอบไปด้วย พนักงานของบริษัทเอกชนท่ีรับเหมาทาความสะอาดแบบครบวงจร
และบุคคลภายนอกท่ีถูกว่าจ้างโดยผู้จัดงาน รวมทั้งสิ้นจานวน 15 คน ท้ังน้ีในส่วนของขยะมูลฝอยตามเส้นทางว่ิงจะถูกเก็บกัก
รวบรวมและขนถ่าย/ขนย้ายโดยบุคคลภายนอกที่ถูกว่าจ้างโดยผู้จัดงาน จานวน 3 คน (คนขับรถเป็นพนักงานของส่วนกลาง)
โดยใช้รถบรรทุก 4 ล้อ ขนาด 3 ลบ.ม. ดังแสดงในรูปท่ี 4 ซึ่งไม่เป็นไปตามกฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป
พ.ศ. 2560 [3] ท่ีกาหนดไว้ว่ายานพาหนะขนมูลฝอยท่ัวไป ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และสุขลักษณะ ซึ่งขยะมูลฝอยจะเก็บกัก
รวบรวมมาจากเส้นทางว่งิ มายงั จุดพักขยะมูลฝอย ซึ่งจุดพักขยะมูลฝอยไม่เป็นไปตามลักษณะท่ีกาหนดในกฎกระทรวงสุขลักษณะการ
จัดการมูลฝอยทว่ั ไป พ.ศ. 2560 [3]

สาหรับจุดพักขยะ พบวา่ มี 2 จดุ ได้แก่ 1) จุดพกั ขยะ 1 เป็นจดุ พกั ขยะท่เี กิดจากการเกบ็ กกั รวบรวมขยะมูลฝอยจากจุด
บริการรับของท่ีระลึก จดุ ลงทะเบียนผชู้ นะ จุดบรกิ ารปฐมพยาบาล จุดบริการฝากสัมภาระ โซนอาหาร จุดบริการน้าตามเส้นทางว่ิง
และงานแสดงสินค้าภายในงาน ในส่วนที่ 2) จุดพักขยะ 2 เป็นจุดพักขยะที่เกิดจากการเก็บกักรวบรวมขยะมูลฝอยจากจุดบริการน้า
ภายในงาน จุดบริการนวดผ่อนคลาย จุดบริการอาหาร จุดปล่อยตัวและเส้นชัย และจุดบริการผู้ให้การสนับสนุนซึ่งจะมีพนักงาน
ของบรษิ ัทเอกชนท่รี ับเหมาทาความสะอาดแบบครบวงจร เป็นผมู้ หี นา้ ทีใ่ นการเก็บกกั รวบรวมขยะมลู ฝอย ดังแสดงในรปู ที่ 5

รปู ท่ี 4 แสดงรถบรรทกุ 4 ล้อ ขนาด 3 ลบ.ม.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 12 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ก : แสดงจดุ พกั ขยะ 1 ข : แสดงจดุ พักขยะ 2

รูปท่ี 5 (ก-ข) แสดงจุดพักขยะ 1 และ 2

นอกจากนี้ จากการสารวจการใช้อุปกรณ์ป้องกันในขณะท่ีปฏิบัติงาน พบว่า ไม่มีการสวมถุงมือ หน้ากากอนามัย
ผ้ากันเป้ือน และสวมรองเท้าแตะ ดังแสดงในรูปที่ 6 การใช้อุปกรณ์ในการปฏิบัติงานไม่เหมาะสมตามกฎกระทรวงสุขลักษณะ
การจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ. 2560 [3] กาหนดไว้ว่า ต้องจัดให้มีผู้ปฏิบัติงานซ่ึงทาหน้าที่ เกี่ยวกับการเก็บรวบรวมและคัดแยก
มลู ฝอยท่วั ไปและจัดใหม้ ีอปุ กรณ์ป้องกนั อันตรายสว่ นบุคคล ทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผู้ปฏิบตั งิ านดังกลา่ ว

ก: การใชอ้ ุปกรณป์ ้องกันของพนักงานของ ข: แสดงการใชอ้ ปุ กรณป์ ้องกันของ
บรษิ ทั เอกชนท่ีรับเหมาทาความสะอาด บคุ คลภายนอกท่ีถูกว่าจ้างโดยผจู้ ดั งาน

แบบครบวงจร

รปู ที่ 6 (ก-ข) แสดงการใชอ้ ุปกรณป์ ้องกนั ของผทู้ ีม่ ีหนา้ ทใี่ นการเกบ็ กักรวบรวมขยะมูลฝอยในขณะทป่ี ฏิบัติงาน

ในการเกบ็ ขนขยะมลู ฝอย พบว่า การดาเนนิ การเก็บขนขยะมูลฝอยกระทาโดยบริษัทเอกชน ซึ่งทางผู้จัดงานว่ิงมาราธอน
เปน็ ผู้วา่ จา้ งบริษัทท่ีได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการเก็บ ขน หรือกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ให้มีหน้าที่ในการดาเนินการเก็บขน
ขยะมูลฝอยจากการจัดงานวิ่งมาราธอน มีพนักงานทั้งหมด 6 คน การดาเนินการเก็บขนขยะมูลฝอยจะเก็บขนไปกาจัดเม่ือสิ้นสุด
การจัดงานท้งั หมดทกุ ส่วนแล้วเท่านั้น โดยรถที่ใช้ในการเก็บขนขยะมูลฝอยเป็นรถกระบะร้ัวเหล็ก 2 คัน ดังแสดงในรูปที่ 7 ซึ่งไม่
เป็นไปตามกฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ. 2560 [3] ท่ีกาหนดไว้ว่า ยานพาหนะขนมูลฝอยท่ัวไป ต้องเป็นไป
ตามหลักเกณฑแ์ ละสุขลกั ษณะตัวถงั บรรจุมูลฝอยทั่วไปมีความแข็งแรง ทนทาน ไม่รั่วซึม มีลักษณะปกปิด ง่ายต่อการบรรจุขนถ่าย และ
ทาความสะอาด

กข
รปู ที่ 7 (ก-ข) แสดงรถเก็บขนขยะมลู ฝอยมลี ักษณะเปน็ รถกระบะรวั้ เหลก็

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 13 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

โดยการใชอ้ ปุ กรณ์ปอ้ งกันในขณะปฏิบัติงาน พบว่า ผู้ทาหน้าท่ีในการเก็บขนไม่มีการสวมถุงมือ หน้ากากอนามัย ผ้ากัน
เปื้อน และสวมรองเท้าแตะ ดังแสดงในรูปท่ี 8 มีการใช้อุปกรณ์ในการปฏิบัติงานไม่เหมาะสมตามกฎกระทรวงสุขลักษณะการ
จัดการมูลฝอยท่ัวไป พ.ศ. 2560 [3] ที่กาหนดไว้ว่า ต้องจัดให้มีผู้ปฏิบัติงานซึ่งทาหน้าท่ี เก่ียวกับการเก็บรวบรวมและคัดแยก
มูลฝอยทั่วไปและจัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลท่ีเหมาะสมสาหรับผู้ปฏิบัติงานดังกล่าว นอกจากน้ีขยะมูลฝอยที่เกิด
จากภายในพืน้ ทีจ่ ัดงานวง่ิ มาราธอน และขยะมูลฝอยที่มาจากตามเสน้ ทางวิง่ จะถกู นามายงั จุดพกั ขยะ 1 ดังแสดงในรปู ท่ี 5 (ก)

รปู ท่ี 8 แสดงการใชอ้ ปุ กรณ์ป้องกนั ในขณะปฏบิ ัตงิ านของผูท้ มี่ ีหน้าทใี่ นการเก็บขนขยะมลู ฝอย

การกาจัดขยะมูลฝอย พบวา่ ขยะมูลฝอยทจี่ ะนาไปกาจดั จะถกู คัดแยกโดยผเู้ กบ็ ขนกอ่ น โดยแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื
1) ขยะรีไซเคลิ (ถกู คดั แยกในบางจุดบรกิ ารตงั้ แต่ต้นทาง) ได้แก่ ขวดพลาสติก ขวดแก้ว กระป๋อง เศษกระดาษ และกระดาษลัง มี
ปริมาณขยะรีไซเคิลที่รวมจากทุกกิจกรรมและทุกจุดบริการรวม 410.70 กิโลกรัม (ร้อยละ 29.43) ซึ่งสอดคล้องกับงาน London
Marathon ท่ีพบขยะรีไซเคิลเช่นกัน โดยมีสูงถึง 3,500 กิโลกรัม [5] ซึ่งขยะรีไซเคิลจากงานว่ิงมาราธอนจะถูกนาไปขายให้กับร้านขาย
ของเก่า 2) ในส่วนขยะท่วั ไป ไดแ้ ก่ เศษอาหาร เปลอื กผลไม้ พลาสติก (ถุง/กลอ่ ง/ถว้ ย/จาน) กระดาษ (กล่อง/ถว้ ย/จาน/แกว้ ) โฟม
(กล่อง/ถ้วย/จาน) และอื่นๆ ซ่ึงเป็นขยะมูลฝอยรวมที่ไม่ได้ถูกคัดแยก ณ แหล่งกาเนิด (ไม่ถูกคัดแยกในเกือบทุกจุดบริการ) มี
ปริมาณ 984.60 กิโลกรัม (ร้อยละ 70.57) จะถูกส่งไปกาจัดด้วยวิธีการเผาในเตาเผา ณ ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยรวมของจังหวัด
ซ่ึงเป็นวิธีท่ีถูกต้องตามกฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยท่ัวไป พ.ศ. 2560 [3] โดยวิธีการกาจัดมีความสอดคล้องและ
แตกตา่ งกบั งาน Monterey Bay Half Marathon ท่กี าจัดขยะมูลฝอยด้วยการนาขยะรีไซเคิลไปรีไซเคลิ นาขยะยอ่ ยสลายได้ไปเข้า
กระบวนการ Anaerobic Digestion เพ่ือผลิตเป็นไบโอแก๊ส และของบริจาคซ่ึงเป็นของใช้แล้วสภาพดีกลุ่มเสื้อผ้า รองเท้าและ
อาหารท่ีเหลือจากการจัดงานวิ่งแต่ยังบริโภคต่อได้ จะถูกนาไปบริจาคและขายต่อในราคาถูกแทนการนาขยะมูลฝอยท้ังหมดไป
ฝังกลบ ซ่ึงสามารถลดปรมิ าณขยะมูลฝอยทจ่ี ะนาไปฝงั กลบได้ถงึ ร้อยละ 92-98 [6]

ข้อเสนอแนะในการจดั การขยะมูลฝอยเพ่อื ลดปรมิ าณการเกิดและการกาจัดในข้ันสุดท้าย ผ้จู ดั งานควรมีระบบการจดั การ
ทค่ี รอบคลุมทั้งระบบตัง้ แตก่ ่อนเริ่มกจิ กรรม ได้แก่ การทาความเขา้ ใจร่วมกันระหวา่ งทมี จัดงาน เจ้าของพ้นื ที่และผู้ให้การสนบั สนนุ
ในการวางแผนการลดการเกิดขยะมูลฝอยและพลาสติกในทุกข้ันตอน โดยเน้นการลด การคัดแยก การนากลับมาใช้ใหม่ ด้วย
หลักการ 3R และการกาจดั ตามหลกั วชิ าการ ในระหว่างกิจกรรมงานวงิ่ ทาการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ร่วมงานทุกฝ่ายรับทราบและขอ
ความรว่ มมือในการปฏิบตั ติ ามข้อปฏิบัติที่ได้แจ้งไว้ โดยภายในงานต้องจัดเตรียมภาชนะที่ใส่ขยะมูลฝอยท่ีมีการแยกประเภทและ
ติดฉลากกากับอย่างชัดเจนอย่างน้อย 4 ประเภท (ขยะท่ัวไป ขยะอินทรีย์ ขยะอันตราย/ติดเชื้อและขยะรีไซเคิล) และมีทีมงาน
ประจาจุดทง้ิ ขยะเพื่อแนะนาและควบคุมการคดั แยกแกน่ กั วงิ่ และผรู้ ว่ มงาน สดุ ทา้ ย คือ ภายหลังหลังกิจกรรมงานว่ิง ทาการส่งต่อ
ขยะมูลฝอยไปตามเสน้ ทางของการจดั การขยะมลู ฝอยทีไ่ ด้วางแผนไวแ้ ละควรจดั ทีมงาน/อาสาสมัครว่ิงเก็บขยะมูลฝอยตกค้างตาม
เสน้ ทางงานวิ่งเพอื่ ความสะอาดของพ้ืนทโี่ ดยรอบทีใ่ ช้เปน็ เส้นทางผ่านของการว่ิงและช่วยลดปญั หาการรอ้ งเรยี นจากประชาชน

สรปุ

ขยะมูลฝอยภายในงานวิ่งมาราธอน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ขยะมูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรมการว่ิงโดยตรงและโดยอ้อม
โดยขยะมลู ฝอยในแต่ละประเภทสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 องค์ประกอบ คือ ขยะย่อยสลายได้ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล และขยะ
อันตราย ในสว่ นของการเก็บกกั รวบรวมและขนยา้ ย ขยะมลู ฝอยท่ีได้รับการคัดแยกเป็นขยะไซเคลิ จะถูกเก็บรวบรวมแลว้ นาไปขาย
ณ ร้านขายของเกา่ สว่ นขยะท่วั ไปจะถกู นาไปกาจัดดว้ ยวิธีการเผาในเตาเผาทถ่ี กู ต้องตามหลกั วิชาการ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 14 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

กติ ติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณทมี งานบริษัทลากนู ่า ภเู ก็ต รีสอร์ท แอนด์ โฮเทล็ จากัด (มหาชน) และทีมงานบริษัท โกแอดเวนเจอร์ เอเชีย
ทใ่ี หค้ วามอนเุ คราะห์ใหเ้ ข้าใช้พืน้ ทเ่ี พื่อทาการศึกษาและสนับสนนุ ขอ้ มลู ในการวิจยั

เอกสารอา้ งองิ

[1] BLT Bangkok. 2561. สถติ ิตัวเลขนกั ว่ิงในไทย. [ออนไลน]์ เข้าถงึ ไดจ้ ากhttps://www.bltbangkok.com/lifestyle/4497/.
เข้าถงึ ขอ้ มลู เม่อื วันท่ี 6 ธันวาคม 2562.

[2] United Nations Environment Programme. 2019. Xiamen Marathon runs towards plastic-free future
with#CleanSeas [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://www.unenvironment.org/news-and-stories/press-
release/xiamen-marathon-runs-towards-plastic-free-future-cleanseas. เข้าถึงข้อมลู เมื่อวันที่ 6 ธนั วาคม 2562.

[3] กรมอนามยั . 2559. พระราชบญั ญัติการสาธารณสขุ พ.ศ. 2535. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก
http://laws.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/laws/main.php?filename=1HLaws2016.
เข้าถงึ ข้อมูลเม่ือวนั ท่ี 16 มนี าคม 2563.

[4] กอปรทิพย์ อัจฉริยโสภณ. 2558. การจัดการขยะอย่างยั่งยืนในการแข่งขันกีฬา: กรณีศึกษาการแข่งขันฟุตบอลในประเทศ
ไทย. ปรญิ ญาศิลปศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาสิ่งแวดลอ้ ม การพฒั นาและความยัง่ ยืน. จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

[5] Helier Cheung. 2019. Science & Environment: London Marathon: How do you reduce the
environment impact? [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://www.bbc.com/news/science-environment-
48064102. เข้าถงึ ข้อมูลเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2563.

[6] Monterey Bay Half Marathon. 2019. Zero-Waste Event [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://www.monterey
bayhalfmarathon.org/zero-waste-event/. เขา้ ถึงขอ้ มลู เม่ือวันท่ี 18 เมษายน 2563.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 15 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

003

การจดั การขยะมลู ฝอยชมุ ชน: กรณศี ึกษาถนนคนเดินถลาง
Municipal Solid Waste Management: A Case Study of

Thalang Road Walking Street

สินีนาฏ พวงมณี1* และ กัลญารตั น์ ช่วยศรนี วล2
Sineenart Puangmanee1* and Kanyarat Chuaisinuan2
1*อาจารย์ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรส์ ง่ิ แวดลอ้ ม คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภเู กต็ ภูเกต็ ภเู ก็ต 83000
2นักศึกษาปรญิ ญาตรี สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรส์ งิ่ แวดล้อม คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภูเกต็ ภเู กต็ 83000
*โทรศพั ท์ : 076-218806, โทรสาร : 076-218806, E-mail : [email protected]

บทคดั ย่อ

งานวจิ ยั นี้เปน็ การศกึ ษาการจัดการขยะมลู ฝอยชุมชน: กรณศี กึ ษาถนนคนเดนิ ถลาง อาเภอเมือง จงั หวัดภเู กต็ ซ่งึ เปน็ การ
วิจัยเชิงสารวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณ องค์ประกอบทางกายภาพ และการจัดการขยะมูลฝอยในถนนคนเดินถลาง
ซ่ึงทาการเก็บตัวอย่างขยะมูลฝอยที่เกิดจากนักท่องเท่ียวท้ังหมดจากจุดวางถังขยะมูลฝอยทุกจุดภายในพื้นท่ีถนนคนเดินถลาง
รวม 14 จุด ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 บริเวณ คือ 1) บริเวณจุดจาหน่ายสินค้า และ 2) บริเวณจุดจาหน่ายอาหารและเครื่องด่ืม จากผล
การศึกษาพบว่า ปริมาณขยะมูลฝอยรวมท่ีเกิดขึ้นจากนักท่องเท่ียวภายในถนนคนเดินถลางมีปริมาณเท่ากับ 703.95 กิโลกรัม
โดยเกิดจากบริเวณจุดจาหน่ายสินค้ามีปริมาณเท่ากับ 374.58 กิโลกรัม พบเป็นขยะมูลฝอยประเภทขยะย่อยสลายได้ ขยะท่ัวไป
ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย เท่ากับ 213.98, 123.75, 29.23 และ 7.62 กิโลกรัม ตามลาดับ และในบริเวณจุดจาหน่ายอาหาร
และเคร่ืองด่ืม พบขยะมูลฝอยมีปริมาณเท่ากับ 329.37 กิโลกรัม พบเป็นขยะมูลฝอยประเภทขยะทั่วไป ขยะย่อยสลายได้ และ
ขยะรีไซเคิล เท่ากับ 155.28, 151.34 และ 22.75 กิโลกรัม ตามลาดับ แต่ท้ังนี้ไม่พบขยะอันตราย มีอัตราการเกิดขยะมูลฝอย
เท่ากับ 0.20 กิโลกรัม/ตารางเมตร/วัน นอกจากน้ี ยังพบว่ามีขยะมูลฝอยจากร้านค้าท่ีเหลือท้ิงภายหลังการจาหน่ายที่ถูกเก็บ
รวบรวมหลังปิดตลาดอีกประมาณ 2,965.30 กิโลกรัม ซ่ึงรวมปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นท้ังหมดภายในถนนคนเดินถลางมี
ปรมิ าณ 3,669.25 กิโลกรมั ในส่วนของการจัดการขยะมูลฝอยถนนคนเดินถลาง พบว่า ลักษณะภาชนะรองรับขยะมูลฝอยส่วนใหญ่มี
ลกั ษณะเป็นถังพลาสติกสีขาวใส ขนาด 50 ลิตร และ 70 ลิตร และมีถังพลาสติกสีเขียวขนาด 240 ลิตร ซึ่งภายในมีถุงพลาสติกรองรับ
ขยะมูลฝอยสีขาวและสีดา นอกจากน้ี ในการเก็บกักรวบรวมและการเก็บขนขยะมูลฝอย พบว่า ขยะมูลฝอยทั้งหมดจะถูกเก็บขน
ขนถา่ ยและขนยา้ ย โดยพนักงานและรถขนขยะมูลฝอยของทางเทศบาลนครภเู ก็ต โดยในขณะปฏิบตั ิงาน พบวา่ พนกั งานทีม่ ีหน้าท่ี
ในการเก็บขน ขนถ่ายและขนย้ายขยะมูลฝอยมีการใช้อุปกรณ์ป้องกันท่ีไม่เหมาะสม และในส่วนของการกาจัดในข้ันตอนสุดท้าย
พบว่า ขยะมลู ฝอยท้งั หมดจะถกู ส่งไปกาจดั ด้วยวิธกี ารเผาในเตาเผา ณ ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยรวมของจังหวัด โดยไม่มีการคัดแยก
ขยะมูลฝอย

คาสาคญั : การจดั การขยะมูลฝอย; ขยะมลู ฝอย; ถนนคนเดนิ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 16 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

Abstract

This research is a survey on municipal solid waste management: a case study of Thalang road walking
street. The objective of this study was to investigate the quantities, physical composition, and solid waste
management on Thalang road walking street. The survey includes solid waste material that were selected
from 14 buckets point within two areas (product selling point and food & beverage). The results found the
waste from tourist 703.95 kilograms that consist of 374.58 kilograms from product selling point area. It can be
separated in four types that included compostable waste, general waste, recycle waste, and hazardous waste
were 213.98, 123.75, 29.23, and 7.62 kilograms, respectively. Food & beverage area were found 329.37
kilograms that comprised general waste, compostable waste, and recycle waste were 155.28, 151.34, and
22.75 kilograms, respectively, but it was not found hazardous waste. The rate of waste based on the amount
per person was 0.20 kg/m2/day. Moreover, it was found residue waste from market 2,965.30 kilograms. So, the
total of waste was found 3,669.25 kilograms. The wastes were collected and put into transparency and black
plastic bags that were placed in transparency and green plastic buckets size 50, 70, and 240 litters,
respectively. In addition, all wastes were move and transfer to disposal by employees and a vehicle of
municipal organization. But, while working they wore unsuitable suit according to the guideline. Finally, the
wastes were disposed by incinerator at incineration plant without separation.

Keywords : solid waste management; solid waste; road walking street

บทนา

ถนนคนเดนิ เป็นถนนเพอื่ กจิ กรรมสาธารณะและการท่องเที่ยว จดั เป็นสถานทท่ี ่องเทีย่ วประเภทหนึ่ง ซ่ึงมีกิจกรรมตา่ ง ๆ
ควบคกู่ ับการจาหน่ายสินค้าและอาหาร เพอื่ สรา้ งรายไดแ้ ละกระตนุ้ เศรษฐกิจให้กบั ชุมชน โดยมีการรว่ มมอื กนั ระหว่างหน่วยงานรัฐ
เอกชนและประชาชนในชมุ ชน

ถนนคนเดนิ ถลาง เปน็ ตลาดขายของย่านชมุ ชนเมอื งเกา่ ถนนถลาง จงั หวดั ภูเกต็ เกดิ ข้ึนจากการรว่ มมอื กนั ระหว่างชุมชน
ย่านเมืองเก่าภูเก็ตกับเทศบาลนครภูเก็ต เพ่ือดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาเท่ียวในเขตเมืองเพ่ือสัมผัสกับศิลปวัฒนธรรมจีนและ
ศิลปะของโปรตุเกส ซ่ึงตลาดเปิดให้บริการในทุก ๆ วันอาทิตย์ โดยในปี 2562 มีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวประมาณ 14,000-31,000
คน/วัน ผลกระทบจากการเดินเท่ียวชม เลือกซื้อสินค้าและอาหารของนักท่องเที่ยวท่ีเพ่ิมมากข้ึนนั้น เร่ิมส่งผลให้มีปริมาณขยะ
มูลฝอยเพ่ิมขึ้นตามไปด้วย โดยมีประมาณ 2-3 ตัน/วัน [1] แม้ว่าทางผู้จัดงานจะพยายามบริหารจัดการเร่ืองขยะมูลฝอยภายใน
ตลาดแลว้ กต็ าม แต่ยังขาดระบบการคัดแยกขยะและการจดั ทาฐานข้อมูลปริมาณขยะมลู ฝอยอย่างเปน็ ระบบ ดังน้ัน ผู้วิจัยจึงสนใจ
ทีจ่ ะศกึ ษาการจัดการขยะมลู ฝอยในพ้ืนท่ีถนนคนเดินถลาง

โดยในการวิจัยคร้ังนี้ เป็นการวิจัยเชิงสารวจซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาปริมาณ องค์ประกอบทางกายภาพ และการ
จัดการขยะมลู ฝอยในถนนคนเดนิ ถลาง

อปุ กรณแ์ ละวธิ กี าร

1. เก็บตัวอย่างขยะมูลฝอยที่เกิดจากนักท่องเท่ียวท้ังหมดจากจุดวางถังขยะมูลฝอยทุกจุดภายในพื้นที่ถนนคนเดิน
ถลาง แบง่ ออกเป็น 2 บรเิ วณ คือ 1) บริเวณจุดจาหนา่ ยสนิ ค้าและ 2) บรเิ วณจุดจาหน่ายอาหารและเคร่อื งดื่ม ซึ่งมพี นื้ ทค่ี รอบคลุม
บรเิ วณถนนถลางและบาทวิถที ้งั 2 ฝ่ังของถนนซ่ึงอยู่หน้าอาคารที่พักอาศัย โดยความกว้างของถนนรวมบาทวิถีและความยาวของ
ถนนมีขนาด 8 x 450 เมตร มีพ้ืนท่ีรวมท้ังหมด 3,600 ตารางเมตร ทาการเก็บตัวอย่างในวันอาทิตย์ที่ตลาดเปิด ตั้งแต่เวลา
16.00 - 22.00 น. ซึ่งเปิดให้บริการเพียงสัปดาห์ละ 1 คร้ัง เท่านั้น โดยทาการเก็บตัวอย่างในวันอาทิตย์สัปดาห์สุดท้ายของเดือน
ธันวาคม 2562 เปน็ เวลา 1 วัน

2. ทาการศึกษาปริมาณ องค์ประกอบทางกายภาพ โดยการแยกขยะออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลายได้
ขยะทัว่ ไป ขยะรไี ซเคิล และขยะอันตราย และการจัดการขยะมูลฝอยภายในถนนคนเดินถลาง

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 17 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

จากการศึกษาปรมิ าณและองค์ประกอบทางกายภาพของขยะมลู ฝอยท่ีเกดิ จากนกั ทอ่ งเท่ียวภายในถนนคนเดิน มีทั้งหมด
2 บริเวณ คือ 1) บริเวณจุดจาหน่ายสินค้าและ 2) บริเวณจุดจาหน่ายอาหารและเคร่ืองดื่ม พบว่า มีปริมาณขยะมูลฝอย
ท่ีเกิดจากนักท่องเที่ยว ซึ่งมีปริมาณรวมเท่ากับ 703.95 กิโลกรัม เป็นขยะมูลฝอยท่ีเกิดจากบริเวณจุดจาหน่าย สินค้า 374.58
กิโลกรมั (รอ้ ยละ 53.21) และในบริเวณจุดจาหนา่ ยอาหารและเคร่อื งดื่ม มีปรมิ าณขยะมูลฝอย 329.37 กิโลกรัม (รอ้ ยละ 46.79)

โดยขยะมูลฝอยจากบริเวณจุดจาหน่ายสินค้า ซึ่งมีตาแหน่งการจัดวางถังขยะท้ังหมด 6 จุด 9 ถัง ได้แก่ หน้าร้าน Cub
House หนา้ ร้านไท้กี้ หน้าร้านจ.ี บ.ี ปาเตะ๊ หนา้ รา้ นโตราคาน หนา้ ร้านมะลิ และหนา้ ซอยรมณีย์ มปี รมิ าณขยะมลู ฝอยทง้ั หมดท่ีพบ
374.58 กิโลกรัม ซึ่งแบ่งองค์ประกอบของประเภทขยะมูลฝอยที่พบได้ 4 ประเภท คือ 1) ขยะย่อยสลายได้ มีปริมาณมากท่ีสุด
เท่ากับ 213.98 กิโลกรัม (ร้อยละ 57.13) องค์ประกอบที่พบ คือ เศษอาหารและเปลือกผลไม้ 2) ขยะทั่วไป มีปริมาณทั้งหมด
เท่ากับ 123.75 กิโลกรมั (รอ้ ยละ 33.04) องคป์ ระกอบที่พบ ไดแ้ ก่ ไม้ (ไม้เสยี บลูกชิ้น/ตะเกยี บ/ไมไ้ อศกรีม) กระดาษ (ถ้วย/จาน/
แก้ว/หลอด) พลาสติก (หลอด/แก้ว/กล่องบรรจุอาหาร/ช้อน) โฟม รองเท้า เศษกระดาษ และฟรอย 3) ขยะรีไซเคิล มีปริมาณ
ท้ังหมดเท่ากับ 29.23 กิโลกรัม (ร้อยละ 7.80) องค์ประกอบท่ีพบ ได้แก่ กระป๋องอลูมิเนียม ขวดพลาสติก และขวดแก้ว และ
4) ขยะอันตราย ปริมาณทั้งหมดเท่ากับ 7.62 กิโลกรัม (ร้อยละ 2.03) องค์ประกอบที่พบ ได้แก่ ผ้าอ้อม ผ้าอนามัย และ
เครือ่ งสาอางท่หี มดอายกุ ารใช้งาน โดยมกี ารท้งิ ปนรวมกันหมดโดยไมม่ กี ารคดั แยก ดังแสดงในรูปท่ี 1

ในส่วนของบริเวณจุดจาหน่ายอาหารและเครื่องด่ืม มีตาแหน่งการจัดวางถังขยะภายในถนนคนเดินรวมท้ังหมด 8 จุด
12 ถัง ได้แก่ หน้าร้านนิวภูเก็ตนิยม หน้าร้านป่านจ้ินท่าย หน้าร้าน SIN&LEE หน้าคริสเตียนสถาน หน้าร้าน The Old Phuket
Coffee หน้าร้าน Thalang Café หน้ารา้ นอยูฮ่ ากการพมิ พ์ และหนา้ ศาลเจา้ แม่ทับทมิ มีปรมิ าณขยะมูลฝอยทั้งหมดท่ีพบ 329.37
กิโลกรัม ซึ่งแบ่งองค์ประกอบของประเภทขยะมูลฝอยที่พบได้ 3 ประเภท คือ 1) ขยะทั่วไป มีปริมาณมากที่สุดเท่ากับ 155.28
กิโลกรัม (ร้อยละ 47.14) องค์ประกอบที่พบ ได้แก่ ไม้ (ไม้เสียบลูกช้ิน/ตะเกียบ/ไม้ไอศกรีม) กระดาษ (ถ้วย/จาน/แก้ว/หลอด)
พลาสติก (หลอด/ถุง/แก้ว/กล่องบรรจุอาหาร/ช้อน) โฟม เคสโทรศัพท์มือถือ เศษกระดาษ และฟรอย 2) ขยะย่อยสลายได้
มีปริมาณท้ังหมดเท่ากับ 151.34 กิโลกรัม (ร้อยละ 45.95) องค์ประกอบที่พบ ได้แก่ เศษอาหารและเปลือกผลไม้ และ 3) ขยะ
รีไซเคิลมีปริมาณทั้งหมดเท่ากับ 22.75 กิโลกรัม (ร้อยละ 6.91) องค์ประกอบท่ีพบ ได้แก่ กระป๋องอลูมิเนียม ขวดพลาสติก และ
ขวดแกว้ ในส่วนของขยะมลู ฝอยอนั ตรายนนั้ ไมพ่ บในบรเิ วณจุดจาหนา่ ยอาหารและเครื่องด่ืม ดงั แสดงในรูปที่ 2

จากบริเวณจุดจาหน่ายสินค้าและบริเวณจุดจาหน่ายอาหารและเคร่ืองด่ืม ในพ้ืนท่ีถนนคนเดินถลางท้ัง 2 บริเวณ ซ่ึงมี
พ้นื ท่ีครอบคลมุ บรเิ วณถนนถลางและบาทวิถี ท้ัง 2 ฝั่งของถนนซึ่งอยู่หน้าอาคารที่พักอาศัย โดยมีความกว้างของถนนรวมบาทวิถี
และความยาวของถนนขนาด 8 x 450 เมตร ซึ่งมีพื้นที่รวมท้ังหมด 3,600 ตารางเมตร โดยส่วนต้นทางถึงกลางทางของถนนเป็น
บริเวณจุดจาหน่ายสินค้าและส่วนกลางทางถึงปลายทางของถนนเป็นบริเวณจุดจาหน่ายอาหารและเครื่องด่ืม ดังแสดงในรูปท่ี 3
โดยพบว่า ขยะมูลฝอยที่เกดิ ขนึ้ จากพ้นื ที่ถนนคนเดนิ ทัง้ หมดมีปรมิ าณเท่ากับ 3,669.25 กโิ ลกรมั โดยเป็นขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึนจาก
นักท่องเท่ียว ทั้ง 2 บรเิ วณ มีปรมิ าณเท่ากับ 703.95 กโิ ลกรัม และขยะมลู ฝอยจากรา้ นคา้ ท่เี หลือท้ิงภายหลังการจาหน่ายที่ถูกเก็บ
รวบรวมหลังปดิ ตลาดอกี ประมาณ 2,965.30 กิโลกรมั

ก: ขยะยอ่ ยสลายได้ ข: ขยะท่ัวไป

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 18 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ค: ขยะรไี ซเคลิ ง: ขยะอนั ตราย

รปู ที่ 1 (ก-ง) แสดงองค์ประกอบทางกายภาพและปรมิ าณขยะมลู ฝอยบริเวณจดุ จาหน่ายสนิ ค้า

ก: ขยะทัว่ ไป ข: ขยะย่อยสลายได้

ค: ขยะรไี ซเคลิ
รปู ที่ 2 (ก-ค) แสดงองค์ประกอบทางกายภาพและปริมาณขยะมลู ฝอยบรเิ วณจดุ จาหนา่ ยอาหารและเครอ่ื งด่มื

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 19 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ก: บริเวณจดุ จาหนา่ ยสินค้า ข: บรเิ วณจดุ จาหน่ายอาหารและเครื่องด่ืม

รูปที่ 3 (ก-ข) แสดงบริเวณถนนคนเดินถลาง

สาหรับอัตราการเกิดขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจากปริมาณขยะมูลฝอยจากนักท่องเท่ียวต่อพ้ืนที่มีค่าเท่ากับ 0.20 กิโลกรัม/
ตารางเมตร/วนั ทงั้ นไี้ มร่ วมขยะมลู ฝอยจากร้านค้าเหลือทงิ้ ภายหลงั การจาหน่ายทถี่ ูกเก็บรวบรวมหลังปดิ ตลาด

ในส่วนของภาชนะรองรับขยะมูลฝอย ในบริเวณจุดจาหน่ายสินค้าและบริเวณจุดจาหน่ายอาหารและเคร่ืองด่ืม พบว่า
ภาชนะรองรับขยะมูลฝอยส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นถังพลาสติกสีขาวใส ขนาด 50 ลิตรและ 70 ลิตร ไม่มีการระบุแยกประเภทของ
ขยะมลู ฝอย ลักษณะของภาชนะมีความแขง็ แรง ทนทาน แต่ไม่มีฝาปดิ ท่มี ดิ ชิด ซง่ึ ไม่เป็นไปตามกฎกระทรวงสุขลักษณะการจดั การ
มูลฝอยท่ัวไป พ.ศ. 2560 ท่ีกาหนดไว้ว่า ภาชนะสาหรับบรรจุมูลฝอยทั่วไปและมูลฝอยท่ีนากลับมาใช้ใหม่ต้องทาจากวัสดุ ที่ทา
ความสะอาดง่าย มีความแข็งแรง ทนทาน ไม่ร่ัวซึม มีฝาปิดมิดชิด สามารถป้องกันสัตว์และแมลงพาหะนาโรคได้ ขนาดเหมาะสม
สามารถเคล่ือนย้ายได้สะดวก และง่ายต่อการถ่ายและเทมูลฝอย [4] ซึ่งภายในมีถุงพลาสติกรองรับขยะมูลฝอยสีขาวและสีดา
ตามลาดับ ซ่ึงมีความเหนียว ทนทาน ไม่ฉีกขาดง่าย ไม่รั่วซึม ขนาดเหมาะสม และสามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก เป็นไปตาม
ลกั ษณะท่กี าหนดในกฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยท่ัวไป พ.ศ. 2560 [4] และยังพบว่ามีภาชนะรองรับขยะมูลฝอย 2
ถัง ท่ีมีลักษณะเปน็ ถังพลาสติกสีเขียว ขนาด 240 ลติ ร มกี ารระบุแยกประเภทขยะมูลฝอยอย่างชัดเจน มีความแข็งแรง ทนทาน มี
ฝาปดิ ทม่ี ิดชิด ซงึ่ เปน็ ไปตามกฎกระทรวงสขุ ลักษณะการจดั การมูลฝอยท่วั ไป พ.ศ. 2560 [4] ซงึ่ ภายในมีถงุ พลาสติกรองรับขยะมูล
ฝอยสดี า ท่ีมีความเหนียว ทนทาน ไม่ฉีกขาดงา่ ย ไม่รว่ั ซึม ขนาดเหมาะสม และสามารถเคลอื่ นย้ายได้สะดวก เปน็ ไปตามลักษณะที่
กาหนดในกฎกระทรวงสขุ ลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ. 2560 [4] ดงั แสดงในรูปท่ี 4

ก: พลาสติกสีขาวใส ขนาด 50 ลิตร ข: ถงั พลาสตกิ สขี าวใส ขนาด 70 ลติ ร ค: พลาสตกิ สีเขียว ขนาด 240 ลิตร

รูปท่ี 4 (ก-ค) แสดงภาชนะเก็บกกั รวบรวมขยะมลู ฝอย

ในสว่ นของการเกบ็ กกั รวบรวม พบวา่ ขยะมลู ฝอยถกู เกบ็ รวบรวมจากถุงขยะ ณ ตาแหน่งการจัดวางถังขยะทุกจุดภายใน
พื้นที่ โดยไมม่ ีการคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทางและขยะมูลฝอยทั้งหมดจะถูกเก็บขน ขนถ่ายและขนย้าย โดยพนักงานและรถ
ขนของทางเทศบาลนครภูเกต็ ท่ีมาอานวยความสะดวกใหก้ บั พืน้ ทีต่ ลาด ซึ่งระบบการจัดการขยะมลู ฝอยไมส่ อดคลอ้ งกบั การบริหาร
จดั การขยะของถนนคนเดินเมืองน่านและถนนคนเดินริมชายทะเลอา่ วประจวบครี ีขันธ์ โดยการจัดการของเทศบาลเมืองน่านนั้น มี
การคัดแยกขยะด้วยการแยกท้ิงเป็นแต่ละชนิด โดยนาถังขยะมารองรับการท้ิงและมีจิตอาสาคอยดูแลการคัดแยกขยะ ผลจาก
คัดแยกขยะ 3 สัปดาห์ พบว่า สามารถลดขยะท่ีจะนาไปบ่อขยะได้ถึงร้อยละ 40 [2] ส่วนเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ มีการ
คดั แยกขยะกอ่ นทงิ้ โดยตั้งจุดคดั กรองขยะบนทางเทา้ รมิ ชายทะเลและมจี ุดวางถุงขยะใสเรยี งติดกันแยกขยะออกเปน็ 11 ชนดิ โดย

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 20 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

มเี จ้าหน้าทป่ี ระจาจุดให้คาแนะนาและประชาสัมพันธ์ผ่านเครื่องขยายเสียงซึ่งสามารถลดการจัดเก็บขยะได้ถึงวันละ 2 ตัน [3] ซึ่ง
ในการเก็บกักรวบขยะมูลฝอย พบว่า พนักงานที่มีหน้าท่ีในการเก็บขนขยะมูลฝอยไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ซ่ึงไม่
เปน็ ไปตามกฎกระทรวงสขุ ลักษณะการจัดการมลู ฝอยทวั่ ไป พ.ศ. 2560 ท่ีกาหนดไว้ว่าผู้ปฏิบัติงานซ่ึงทาหน้าท่ีเก็บและขนมูลฝอย
ท่วั ไป จัดใหม้ อี ปุ กรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายส่วนบุคคลท่ีเหมาะสมสาหรับผู้ปฏิบัติงานดังกล่าว อุปกรณ์หรือเคร่ืองมือป้องกันอุบัติเหตุท่ี
อาจเกิดขน้ึ จากการปฏิบตั งิ าน [4] ดังแสดงในรูปที่ 5

กข

รปู ท่ี 5 (ก-ข) แสดงพนกั งานทีม่ หี นา้ ทใ่ี นการเก็บขนขยะมลู ฝอยและการใช้อุปกรณป์ อ้ งกัน

ในส่วนของการเก็บขนขยะมูลฝอยของถนนคนเดินถลาง พบว่า ดาเนินการโดยพนักงานของทางเทศบาลนครภูเก็ต
จานวน 2 คน และดาเนนิ การเก็บขนขยะมลู ฝอย 2 รอบ ในรอบแรกทาการเกบ็ ขนต่อเม่ือถึงเวลาปดิ ของถนนคนเดิน และในรอบท่ี
สองจะทาการเก็บขนขยะตกค้างที่เกิดจากผู้ประกอบการภายในถนนคนเดินถลางนามาท้ิงหลังจากการจัดเก็บร้านเสร็จเป็นท่ี
เรยี บร้อย ดงั แสดงในรูปท่ี 6

ส่วนพาหนะทใี่ ช้ในการเก็บขนขยะมูลฝอยมีลกั ษณะเป็นรถยนตบ์ รรทกุ ขยะทุกมลู ฝอย แบบเปดิ ขา้ งเททา้ ย จานวน 1 คนั
ดังแสดงในรูปที่ 7 ซ่ึงเป็นไปตามกฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ. 2560 ที่กาหนดไว้ว่า ยานพาหนะขนมูล
ฝอยทั่วไป ตอ้ งเป็นไปตามหลักเกณฑ์และสุขลักษณะตัวถังบรรจุมูลฝอยทั่วไป มีความแข็งแรง ทนทาน ไม่รั่วซึม มีลักษณะปกปิด
ง่ายต่อการบรรจุ ขนถ่าย และทาความสะอาด ระดับตัวถังไม่สูงเกินไปหรืออยู่ในระดับที่ปลอดภัยต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน
ในขณะ ขนถา่ ยมลู ฝอยท่วั ไป [4]

ในส่วนของการกาจดั ขยะมูลฝอย พบว่า ขยะมูลฝอยท่ีเกิดขึ้นภายในถนนคนเดินท้ังหมดจะถูกส่งไปกาจัดด้วยวิธีการเผา
ในเตาเผาโดยไม่มกี ารคดั แยกขยะ ซ่ึงไม่สอดคล้องกับการศกึ ษาการจดั การขยะมลู ฝอย กรณศี ึกษา ตลาดนา้ ระแหง โดยการจัดการ
ขยะมลู ฝอยของตลาดน้าระแหง ทาการคัดแยกขยะ ทาใหง้ า่ ยในการเกบ็ ขน ลดปริมาณขยะมลู ฝอยและเพิ่มรายไดจ้ ากการขายขยะ
ส่วนมากใช้บรกิ ารเทศบาลในการกาจดั ขยะ มีส่วนน้อยที่ทาการเผาและฝังกลบ [5] ขยะมูลฝอยท้ังหมดถูกส่งไปยังศูนย์กาจัดขยะ
มูลฝอยรวมของจังหวัด ซึง่ เปน็ วิธีทถ่ี กู ต้องตามกฎกระทรวงสขุ ลักษณะการจัดการมลู ฝอยทัว่ ไป พ.ศ. 2560 [4]

กขค
รปู ท่ี 6 (ก-ค) แสดงขยะมูลฝอยทเี่ กิดจากผูป้ ระกอบการ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 21 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

กข

รูปที่ 7 (ก-ข) แสดงยานพาหนะทใ่ี ชใ้ นการเก็บขนขยะมลู ฝอย

สาหรับแนวทางในการบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยเพอื่ ลดปรมิ าณการเกดิ และการกาจดั ในขนั้ ตอนสุดท้าย ถงึ แมว้ ่าทางผจู้ ดั
งานจะมีการรณรงค์ให้ผู้ประกอบการ ลดและเลิกการใช้บรรจุภัณฑ์สาหรับใส่อาหารและเครื่องดื่มที่เป็นพลาสติกและโฟมแล้ว
แตย่ ังพบวา่ มีผ้ปู ระกอบการบางรายยังคงใชพ้ ลาสติกและโฟมอยู่บ้าง นอกจากนผ้ี ู้จัดงานควรเพ่มิ ระบบการคัดแยกขยะที่ต้นทางให้
ชัดเจน มีเพียงแต่การคัดแยกขยะรีไซเคิลโดยพนักงานของเทศบาลเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่มิได้ทาอย่างเป็นระบบ การคัดแยก
กระทาโดยการแบ่งประเภทภาชนะใส่ขยะมูลฝอยให้ชัดเจน เพื่อทาให้เกิดการคัดแยกท่ีถูกต้อง ท้ังนี้ควรแยกประเภทภาชนะ
สาหรับคัดแยกอย่างน้อย 4 ประเภท ได้แก่ ขยะท่ัวไป ขยะย่อยสลายได้ ขยะอันตราย/ติดเชื้อและขยะรีไซเคิล และเพื่อให้การ
คัดแยกที่ต้นทางมีประสิทธิภาพเพ่ิมมากข้ึน ควรจัดให้มีอาสาสมัคร/เจ้าหน้าที่ยืนประจาจุดวางภาชนะใส่ขยะมูลฝอยเพ่ือคอยให้
คาแนะนา ควบคุมดูแลการท้ิงขยะให้ถูกต้อง พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย ติดฉลากประเภทภาชนะกากับเพื่อให้
นักท่องเทย่ี วรับทราบขอ้ มูลและปฏิบัตติ ามอย่างถูกต้อง ด้วยภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น และภาษาเกาหลี ฯลฯ

อนึง่ จากการศึกษายังพบว่า ประชาชนท่ีอยู่อาศัยบริเวณถนนถลางที่เป็นพ้ืนท่ีจัดงานถนนคนเดิน ซ่ึงมีบริเวณหน้าบ้าน
เช่ือมต่อกับบาทวิถีของถนน มีการนาขยะมูลฝอยภายในบ้านเรือนมาทิ้งปะปนกับขยะมูลฝอยจากนักท่องเที่ยวด้วย ประกอบกับ
ช่วงท่ีทาการศึกษาอยู่ในช่วงส้ินปี มีประชาชนส่วนหน่ึงทาความสะอาดบ้านเรือนเพื่อต้อนรับศักราชการใหม่ มีการนาเอาขยะ
มูลฝอยท่ีไม่ใช้แล้วออกมาท้ิง เช่น เคร่ืองสาอางท่ีไม่ใช้แล้ว และยังพบขยะอันตราย (ติดเช้ือ) เช่น ผ้าอนามัย ผ้าอ้อมสาเร็จรูป
ท่ีมิได้เก่ียวข้องกับขยะมูลฝอยจากนักท่องเท่ียวซ่ึงใส่มาในภาชนะอ่ืน ๆ ที่มิใช่ของทางผู้จัดงานกาหนดไว้ ซ่ึงเป็นการยากท่ีจะ
ควบคุมมิใหม้ กี ารนาขยะมูลฝอยกล่มุ น้ีมาทิ้งปนกับขยะมูลฝอยจากนักท่องเท่ียว สุดท้ายแล้วขยะมูลฝอยทุกกลุ่มท่ีพบภายในถนน
คนเดินที่มิได้มีการคัดแยกเพ่ือการนาไปใช้ประโยชน์จะกลายสภาพเป็นขยะทั่วไปท่ีรอการกาจัดในระบบเตาเผาทั้งหมด โดยไม่มี
การคัดแยกซึ่งจะเป็นการเพ่ิมปริมาณขยะมูลฝอยให้กับระบบกาจัดในขั้นตอนสุดทา้ ยโดยไมจ่ าเปน็

สรุป

ขยะมลู ฝอยภายในถนนคนเดนิ ถลางสามารถเกดิ ข้นึ ไดท้ ัง้ 2 บริเวณ คือ บรเิ วณจาหน่ายสนิ ค้าและบริเวณจาหน่ายอาหาร
และเคร่ืองดื่ม ซึ่งขยะมูลฝอยท่ีเกิดสามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1) ขยะทั่วไป 2) ขยะรีไซเคิล 3) ขยะอันตราย และ 4)
ขยะยอ่ ยสลายได้ โดยขยะมลู ฝอยทเ่ี กิดขึน้ มีการผสมรวมกนั ระหว่างขยะมูลฝอยจากนักท่องเท่ียวและขยะมูลฝอยครัวเรือน อีกท้ัง
การเกบ็ กกั รวบรวมขยะมลู ฝอยยังไม่มรี ะบบการคดั แยกขยะ ก่อนการเก็บขน/ขนถ่ายและขนย้ายไปกาจัดด้วยวิธีการเผาในเตา ณ
ศนู ย์กาจดั ขยะมลู ฝอยรวม

กติ ติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตท่ีสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัย/การกลั่นกรอง
ผลงานวิจยั และค่าใชจ้ ่ายการส่งนักศึกษาเข้ารว่ มกิจกรรม/แขง่ ขนั ทางวิชาการภายในประเทศ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 22 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

เอกสารอ้างอิง

[1] ดอน ล้ิมนันทพิสฐิ . 2562. ขอ้ มลู ปรมิ าณขยะมลู ฝอย. ประธานชมุ ชนย่านเมอื งเกา่ (สมั ภาษณ)์
[2] สมาน สุทาแปง. 2560. เทศบาลเมืองน่าน รณรงค์ให้เลิกการใช้ถาดอาหารถ้วยอาหารแบบโฟม. [ออนไลน์] เข้าถึงได้

จากhttp://thainews.prd.go.th/th/news/print_news/WNSOC6012130010116. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันท่ี 20 มีนาคม
2563.
[3] ธนวัต วงศ์วิริยะวณิช. 2561. ต้ังจุดคัดกรองขยะ 6 จุด คัดแยกขยะ 11 ชนิด ที่ตลาดนัดริมชายทะเลอ่าว
ประจวบครี ีขันธ์ ปอ้ งกนั ผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดล้อมและทาให้ง่ายต่อการจดั การขยะ. [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้จาก
http://npnt.prd.go.th/centerweb/news/NewsDetail?NT01_NewsID=WNEVN6111220010011. เข้าถึงขอ้ มูลเม่ือ
วนั ที่ 2 เมษายน 2563.
[4] กรมอนามัย. 2559. พระราชบญั ญตั ิการสาธารณสขุ พ.ศ. 2535. [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้จาก
http://laws.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/laws/main.php?filename=1HLaws2016. เข้าถึงขอ้ มลู เมือ่ วันท่ี
5 พฤษภาคม 2563.
[5] มณทิพย์ จันทร์แก้ว และ ขนิษฐา ภมรพล. 2560. การศึกษาการจัดการขยะมูลฝอย กรณีศึกษา ตลาดน้าระแหง. แก่น
เกษตร 45 ฉบับพเิ ศษ 1 (2560).

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 23 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

004

ผลของความเข้มข้น COD ท่ีมีต่อการบา้ บัดนา้ ชะขยะสังเคราะห์
และการผลิตไฟฟา้ ด้วยเซลล์เชอื เพลิงจลุ นิ ทรยี แ์ บบถังกรอง
Effect of COD Concentration on The Treatment of

Synthetic Landfill Leachate and Electricity Generation
using Biofilter-Microbial Fuel Cell

เพชร เพง็ ชัย1* กนกพรรณ ใจขาน2 ศศญิ าภรณ์ ปิตมิ ล2 และ ทรงยศ มงคลพศิ 3
Petch Pengchai1* Kanokpan Jaikhan2 Sasiyaporn Pitimol2 and Songyot Mongkulphit3
1*ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ; 2นสิ ติ ปริญญาตรี ; 3นิสิตบณั ฑิตศึกษา Circular Resources and Environmental
Protection Technology Research Unit (CREPT) สาขาวิชาวศิ วกรรมส่ิงแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม มหาสารคาม 44150
*โทรศัพท์ : 043-754-316, E-mail : [email protected]

บทคัดยอ่

งานวิจยั นมี้ วี ัตถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาผลของความเข้มข้นซีโอดใี นน้าชะขยะสังเคราะห์ท่ีมีต่อการก้าจัดซีโอดีและผลิตไฟฟ้า
โดยเซลล์เชื้อเพลิงจุลินทรีย์ที่ประดิษฐ์จากถังกรองชีวภาพไม่เติมอากาศแบบไหลข้ึน (BMFC : biofilter-microbial fuel cell)
น้าเสียสังเคราะห์ท่ีมีความเข้มข้นซีโอดี 6 ค่าคือ 680 mg/l 1,240 mg/l 1,781 mg/l 2,592 mg/l 4,621 mg/l และ 4,906
mg/l ถูกป้อนเข้า MFC ภายใต้อัตราการไหล 35 ลิตรต่อวัน ระยะเวลากักเก็บเท่ากับ 5 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 90 วัน ผลการ
ทดลองแสดงใหเ้ ห็นวา่ ในชว่ งความเข้มขน้ 680-4,621 mg/l อตั ราเรว็ ในการบ้าบัด COD แปรผนั ตามความเข้มขน้ COD โดยความ
เข้มข้น COD ที่ให้อัตราการบ้าบัดสูงสุด (513.2 mgCOD/l/hr) มีค่า 4621 mg/l อย่างไรก็ตามเมื่อความเข้มข้นเพ่ิมเป็น
4,621 mg/l พบว่าอัตราเร็วในการบ้าบัด COD ลดลงเหลือ 392.5 mgCOD/l/hr ส้าหรับพลังงานไฟฟ้าท่ี MFC ผลิตได้ตลอด
ระยะเวลาเดินระบบนั้นพบว่าแบ่งได้ 2 กรณี กรณีท่ี 1 ความเข้มข้น COD อยู่ในช่วง 680-2,592 mg/l พบว่าพลังงานไฟฟ้าแปร
ผันตามกับความเข้มข้น COD โดยความเข้มข้น COD ที่ให้พลังงานไฟฟ้าสูงสุด (0.323 W∙hr) มีค่า 2592 mg/l กรณีที่ 2 ความ
เข้มข้น COD อยู่ในช่วง 4,621-4,902 mg/l พบว่าพลังงานไฟฟ้ากลับมีแนวโน้มลดลง (0.197-0.200 W∙hr) กล่าวโดยรวมได้ว่า
อัตราเร็วในการกา้ จดั COD และพลงั งานไฟฟา้ ที่ BMFC ผลิตได้มักแปรผนั ตามความเขม้ ขน้ ซีโอดใี นน้าชะขยะขาเข้า ยกเวน้ ในกรณี
ทค่ี วามเข้มข้น COD ขาเข้าสูงถึง 4,621 mg/l เป็นตน้ ไป

ค้าสา้ คัญ : เซลลเ์ ช้อื เพลงิ จลุ นิ ทรยี ์; ความเขม้ ข้นซีโอด;ี ก้าลังไฟฟ้า; พลังงานไฟฟา้ ; อัตราเร็วในการบา้ บัด; ถงั กรองชีวภาพ

Abstract

This research aimed to analyze an effect of influent COD concentrations in synthetic landfill leachate
on COD removal and electricity generation by microbial fuel cell constructed from non – aerated upflow
biofilter (BMFC: biofilter-microbial fuel cell). Six COD concentrations, i.e. 680 mg/l, 1240 mg/l, 1781 mg/l, 2592
mg/l, 4621 mg/l and 4906 mg/l were applied to the BMFC under 35-l/d flow rate and 5-hr hydraulic retention
time for 90 days. For 680-4621 mg/l- COD concentrations, the result revealed that COD removal rates varied
directly with the COD concentrations. The Highest COD removal rates (513.2 mgCOD/l/hr) was found at high
COD concentration (4621 mg/l). However, when the highest COD concentration (4906 mg/l) was reached, the

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 24 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

COD removal rate reduced to 392.5 mgCOD/l/hr. In terms of electricity generation, there were 2 cases. In case
of 680-2592 mg/l COD concentration, electrical energy increased due to the increase of COD concentration.
The highest electrical energy of 0.32 W∙hr was gained at the COD concentration of 2592 mg/l. But in case of
4621-4902 mg/l COD concentration, the electrical energy decreased to 0.197-0.200 W∙hr due to the increase
of COD concentration. It can be said that an increase of influent COD concentration normally leads to high
COD removal rate and high electrical energy except in the case of COD concentration no less than 4621-mg/l.

Keywords : microbial fuel cell; COD concentration; electrical power; electrical energy; removal rate; biofilter

บทน้า

เซลล์เช้ือเพลิงจุลินทรีย์ (MFC : microbial fuel cell) เป็นวิธีบ้าบัดน้าเสียชนิดหน่ึงซึ่งสามารถประยุกต์รูปแบบให้มี
ต้นทุนในการสร้างระบบและค่าใช้จ่ายในการเดินระบบต่้าและสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าไปด้วยในตัว อย่างไรก็ตาม 1 เซลของ
MFC มักมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าไม่เกิน 1.0 โวลต์ [1] และมีกระแสไฟฟ้าไม่เกิน 0.01-1000 ไมโครแอมแปร์ [2] ท้าให้ต้องน้า MFC
มากกว่า 1 เซลล์มาต่อทั้งแบบอนุกรมและแบบขนานจึงจะสามารถน้าพลังงานไฟฟ้าจาก MFC ไปใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าได้จริง [3]
เพ่ือประเมินและพัฒนาศักยภาพของ MFC ในการใช้งาน ในงานวิจัยนี้คณะผู้วิจัยได้ส้ารวจผลของความเข้มข้น COD ที่มีต่อการ
บ้าบัดน้าชะขยะสังเคราะห์และการผลิตไฟฟ้าเพ่ือน้าเสนอข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการระบุช่วงความเข้มข้นที่เหมาะสมในการ
ท้างานของ MFC โดยรูปแบบของ MFC ท่ีใช้เป็นเซลล์เชื้อเพลิงจุลินทรีย์ต้นทุนต่้าราคาประมาณ 2,070 บาทต่อ 1 ถัง (ค่าวัสดุ
กรอง 1500 บาทต่อถัง) ที่ประยุกต์มาจากถังกรอง (BMFC: Biofilter-Microbial Fuel Cell) ข้อมูลที่ได้จากการทดลองนี้จะเป็น
ประโยชนใ์ นการออกแบบตลอดจนวางแผนตอ่ BMFC แบบขนานและแบบอนุกรมเพื่อใช้กับเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าตอ่ ไปในอนาคต

อปุ กรณ์และวธิ ีการ

BMFC ท่ีใช้ในการทดลองประดิษฐ์จากถังกรองไร้อากาศแบบไหลขึ้นมีขนาดห้องแอโนด 8.33 L บรรจุตัวกรองจ้านวน
2,383 ชน้ิ ซึง่ แตล่ ะช้ินท้าจากเชือกไนลอ่ นเส้นผา่ ศูนย์กลาง 1.0 mm ยาว 10 cm มดั รวมกัน 10 เสน้ ดงั แสดงในรูปที่ 1

100 excluded from regression model 600
COD removal efficiency (%)
COD removal rate (mg/L-hr)
80 R² = 0.8922 500
60 400
40 R² = 0.9572 300
20 200
100

00
0 2000 4000 6000

ก. COD initial concขen.tration (mg/L)

รูปที่ 1 เซลล์เชอื เพลิงจลุ นิ ทรีย์แบบถงั กรองในงานวิจัยนี (ก.) สมรรถนะการก้าจัดซีโอดี (ข.)

ภายในห้องแอโนดตรงกลางชน้ั กรองติดต้งั ข้ัวแอโนดท้าจากแผน่ กราไฟทข์ นาด 5.2 cm2 และด้านบน BMFC ตรงทางน้า
ออกติดต้ังขั้วแคโทดท้าจากแผ่นกราไฟท์มีขนาด 20.78 cm2 น้าเสียที่ใช้ในการทดลองเป็นน้าเสียสังเคราะห์ท่ีประยุกต์จากการ
ทดลองของ Halim และคณะ [4] โดยเจือจางให้มีความเข้มข้น COD ต่างกัน 6 ค่า ตั้งแต่ 680 ถึง 4,907 mg/L แล้วป้อนเข้า
BMFC ด้วยอัตราการไหล 40 L/วัน ที่ระยะเวลากักเก็บ 5 ช่ัวโมง ตลอดการทดลองมีการเก็บตัวอย่างน้าเสียเข้าและออกจากถัง
เพ่ือวิเคราะห์ COD ด้วยวิธี Closed Reflux, Titrimetric Method [5] ในส่วนของค่าทางไฟฟ้า คณะผู้วิจัยได้ท้าการทดลอง
polarization ส้าหรับแต่ละช่วงความเข้มข้นของ COD เพื่อเลือกค่าความต้านทานภายนอกที่ท้าให้ BMFC ผลิตก้าลังไฟฟ้าได้

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 25 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

สงู ทสี่ ุด แล้วน้าตัวต้านทานมาต่อเข้ากับขั้วแอโนดและข้ัวแคโทดของ BMFC แล้ววัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าตลอดการทดลองด้วย
เครื่องมัลติมิเตอร์ (GDM-8255A, Good Will Instrument Co., Ltd.) จากน้ันจึงน้ามาค้านวณค่าก้าลังไฟฟ้า (W) และพลังงาน
ไฟฟา้ ทจ่ี า่ ยตลอดระยะเวลาทดลอง 42 วัน (W·hr) เพอื่ วเิ คราะห์ผล

ผลการทดลองและวิจารณ์

ค่า pH ระหว่างเดินระบบอยู่ในช่วงเป็นกลางถึงด่างเล็กน้อย (pH 7.19-8.4 ส้าหรับ COD ขาเข้า 680 mg/L 7.00-7.81
ส้าหรับ COD ขาเข้า 1,240 mg/L 7.09-7.86 ส้าหรับ COD ขาเข้า 1,781 mg/L 7.00-8.68 ส้าหรับ COD ขาเข้า 4,621 mg/L
และ 7.74-8.20 ส้าหรับ COD ขาเข้า 4,906 mg/L ทั้งน้ี ในช่วงที่ใช้ความเข้มข้น COD ขาเข้า 2,592 mg/L เครื่องวัดค่า pH
ชา้ รุดจงึ ไม่มขี อ้ มลู ในช่วงนี)้ ประสิทธิภาพการบ้าบัดและอัตราเร็วในการก้าจัด COD ณ ความเข้มข้น COD ขาเข้าแต่ละค่าเป็นดัง
แสดงในรปู ที่ 1 ข. จากรูปเห็นได้ว่าประสิทธิภาพการบ้าบัด COD ในช่วงความเข้มข้นต้่า (680-1781 mg/l) มีค่าค่อนข้างคงท่ีอยู่
ในชว่ ง 80-85 % และลดลงอยา่ งผกผันกับความเข้มข้นของ COD เมื่อความเข้มข้นเพ่ิมข้ึนเป็น 2,592-4,907 mg/l ส่วนอัตราเร็ว
ในการก้าจัด COD นัน้ พบว่ามคี ่าเพม่ิ ขน้ึ เมอ่ื เพ่มิ ความเขม้ ข้นขาเข้าจาก 680 mg/l ไปจนถึง 4,621 mg/l แต่กลับลดลงเม่ือความ
เข้มขน้ เพม่ิ ขน้ึ อกี เป็น 4,907 mg/l อธิบายได้วา่ จุลนิ ทรยี ์ใน BMFC มีอัตราเร็วในการกนิ อาหารเพิ่มขึ้นเมื่อเพ่ิมความเข้มข้นอาหาร
เข้าระบบตามทฤษฎีความเร็วในการท้าปฏิกิริยา อย่างไรก็ตามเมื่อความเข้มข้นเกิน 4,621 mg/l อาจเกิดภาวะ shock load
ท้าให้อัตราเร็วในการกินอาหารลดลง แต่เม่ือดูในแง่ของประสิทธิภาพการบ้าบัดแล้ว พบว่าอัตราเร็วในการบ้าบัด COD แม้จะ
เพิ่มข้ึนในช่วง 680-4,621mg/l แต่ก็ไม่มากพอจะท้าให้ประสิทธิภาพการบ้าบัด COD ในช่วง 2592-4,621 mg/l เพ่ิมข้ึนได้ เมื่อ
เทียบประสิทธิภาพการบ้าบัด COD ที่ความเข้มข้น 1,240 mg/L (84.6%) ของ MFC ในงานวิจัยนี้กับ MFC ในงานวิจัยของ
Ahmed et al. (2016) [6] ทบี่ ้าบดั COD 1,000 mg/L ได้ 79.4-98.8% แล้วกล่าวได้ว่า MFC ในงานวิจัยนี้สามารถบ้าบัดน้าเสีย
ได้ตามปกติ แต่ก็ยังถือว่าบ้าบัด COD ได้ต้่ากว่าระบบบ้าบัดน้าเสียแบบ Membrane Bioreactor (MBR) ในงานวิจัยของ
Dewanti et al. (2014) เลก็ น้อย (บา้ บัด COD 1,800 mg/L ได้สูงสดุ 90.0 %) [7]

0.8 C1 (680mgCOD/l) C2 (1240mgCOD/l)
0.7
CCV C1 0.045 C3 (1781mgCOD/l) C4 (2592mgCOD/l)
0.04 C5 (4621mgCOD/l) C6 (4907mgCOD/l)

0.6 C2 0.035

0.5 0.03
0.4 0.025
0.3

0.2 OCV
Voltage (V) C3
Power (mW)
C4 0.02

C5 0.015
0.01

0.1 C6 0.005

0 0
1 1 11 1 1 1 1 11 1 1

Time (กd.ay) Time (hr)

ข.

รูปท่ี คา่ ความต่างศกั ยต์ ลอดระยะเวลาเดินระบบ (ก.) ก้าลังไฟฟา้ ท่ีเซลล์เชอื เพลิงจุลินทรีย์จา่ ย (ข.)

ความต่างศักย์ท่ีเกิดข้ึนระหว่างข้ัวแอโนดกับแคโทดเมื่อยังไม่ได้ต่อตัวต้านทานภายนอกเรียกว่า OCV (OCV : Open
Circuit Voltage) มีค่าดังแสดงในรูปที่ 2 ก. เมื่อสังเกตเห็นว่า OCV ไม่เพิ่มข้ึนอีกแล้ว คณะผู้วิจัยจึงได้ท้าการทดลอง
polarization จนได้ค่าความต้านทานภายนอกที่ท้าให้ BMFC ผลติ กา้ ลงั ไฟฟ้าได้สูงทสี่ ุดอย่ทู ่ี 8,060  ส้าหรับความเข้มข้นขาเข้า
COD 680 mg/l 7,800  ส้าหรบั ความเข้มขน้ ขาเขา้ COD 1,240 mg/l 7,500  ส้าหรับความเข้มข้นขาเข้า COD 1,781 mg/l
7,800  ส้าหรับความเข้มข้นขาเข้า COD 2,592 mg/l 8,060  ส้าหรับความเข้มข้นขาเข้า COD 4,621 mg/l 10,000 
สา้ หรบั ความเขม้ ขน้ ขาเข้า COD 4,907 mg/l เม่อื น้าค่าความตา้ นทานภายนอกดังกล่าวไปเชอื่ มต่อระหว่างข้ัวแอโนดกับขั้วแคโทด
ความต่างศกั ย์ทเ่ี กิดเรยี กว่า CCV (CCV : Closed Circuit Voltage) มคี า่ ดงั แสดงในรูปที่ 2 ก. ค่าเฉลี่ย OCV เท่ากับ 0.56, 0.41,
0.55, 0.60, 0.57 และ 0.44 V ส่วนค่าเฉลี่ย CCV เท่ากับ 0.24, 0.40, 0.33, 0.33, 0.33 และ 0.38 V ส้าหรับความเข้มข้น 6 ค่า
จากน้อยไปมากตามล้าดบั เมือ่ น้าค่า CCV ในรูปที่ 2 ก. มายกก้าลัง 2 แล้วหารด้วยค่าความต้านทานภายนอกที่น้ามาต่อจะได้ค่า

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 26 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ก้าลังไฟฟา้ ที่ MFC จา่ ยจริงตลอดช่วงการต่อตัวต้านทาน (รปู ท่ี 2 ข.) ซงึ่ มคี ่าอยู่ในช่วง 1.53-38.30 µW ส้าหรับความเข้มข้น 680
mg/l 2.08-7.06 µW ส้าหรับความเข้มข้น 1,240 mg/l 5.99-25.48 µW ส้าหรับความเข้มข้น 1,781 mg/l 17.01-26.18 µW
ส้าหรับความเข้มข้น 2,592 mg/l 8.98-19.81 µW ส้าหรับความเข้มข้น 4,621 mg/l 14.56-15.19 µW ส้าหรับความเข้มข้น
4,907 mg/l ดงั แสดงในรูปที่ 4 เม่อื น้าค่ากา้ ลังไฟฟา้ ทไี่ ด้ในงานวิจัยนีไ้ ปคา้ นวณให้อยใู่ นหนว่ ยความหนาแน่นกา้ ลงั ไฟฟา้ พบวา่ มีค่า
โดยรวมอยใู่ นชว่ ง 2.94-73.65 mW/m2 ซ่ึงมากกวา่ ในงานวิจัยของ Kamau et al. (2017) [8] ทค่ี วามหนาแน่นก้าลังไฟฟ้าเท่ากับ
23.28 mW/m2 แต่กน็ อ้ ยกว่าในงานวจิ ัยของ Fan et al. (2008) [9] ทมี่ ีความหนาแนน่ กา้ ลงั ไฟฟา้ เท่ากับ 6,860 mW/m2

เม่ือน้าพื้นที่ใต้เส้นกราฟในรูปที่ 2 ข.มาพล็อตกราฟใหม่ จะได้ความสัมพันธ์ของพลังงานไฟฟ้า (W·hr) กับความเข้มข้น
COD ขาเขา้ ดงั แสดงในรูปท่ี 3 ก. กล่าวได้ว่าความสัมพันธ์ระหว่างค่าความเข้มข้น COD ขาเข้ากับพลังงานไฟฟ้าท่ี BMFC จ่ายได้
นน้ั แปรผันตามกันเมือ่ COD ขาเข้ามีค่าอยใู่ นช่วง 680-2,592 mg/l (R2 = 0.832) ซงึ่ เม่ือเทียบกับอัตราการใช้ COD (g/d) แล้วยัง
พบอีกว่ามีแนวโน้มคล้ายกัน คือแปรผันตามค่าความเข้มข้น COD ขาเข้าในช่วงความเข้มข้น 680-4,621 mg/l (R2 = 0.957)
อธิบายได้ว่าในช่วงท่ีความเข้มข้น COD ขาเข้าไม่สูงมาก (680-2,592 mg/l) นั้น จุลินทรีย์ในระบบย่อยสลาย COD ได้เร็ว ท้าให้
อตั ราการจา่ ยอิเล็กตรอนเรว็ ตามไปดว้ ยส่งผลให้พลงั งานไฟฟา้ ท่ี MFC ผลติ ได้มคี า่ สงู อย่างไรก็ตามพบว่าเมือ่ ความเข้มขน้ COD ขา
เขา้ สงู มากเกนิ ไป (4,907 mg/l) อัตราการใช้ COD กลับลดลง สันนิษฐานว่าเป็นเพราะจุลินทรีย์เกิดสภาวะ shock load จึงท้าให้
ย่อยสลาย COD ได้ช้าลงส่งผลให้อัตราการจ่ายอิเล็กตรอนช้าตามไปด้วย พลังงานไฟฟ้าท่ี BMFC ผลิตได้จึงลดต้่าลง เป็นท่ีน่า
สังเกตวา่ กรณีความเข้มข้น COD ขาเขา้ คอ่ นข้างสงู (4,621 mg/l) อัตราการใช้ COD ยังคงสงู อยู่ แต่พลังงานไฟฟ้าที่ MFC ผลิตได้
กลับมีค่าต้่าลง กรณีน้ีสันนิษฐานว่าเป็นเพราะการย่อยสลาย COD ในสภาวะน้ีบางส่วนเกิดจากกระบวนการผลิตก๊าซมีเทน
(methanogenesis) ตามสมการ CH3COO- + H+  CH4 + CO2 [10] ซึง่ ไม่จา่ ยอิเลก็ ตรอนอสิ ระ ในขณะที่การย่อยสลาย COD
แบบผลิตไฟฟ้าได้ (electrogenesis) นั้นเป็นไปตามสมการ CH3COO- + 2H2O  2CO2 + 7H+ +8e- [10] ซ่ึงจ่าย
อิเล็กตรอนอิสระได้ถึง 8 โมลจากการย่อย CH3COO- 1 โมล ท้ังนี้ค่า pH ณ ความเข้มข้น COD ขาเข้า 4,621-4,907 mg/l อยู่
ในช่วง 7.00-9.93 ซึ่งเป็นสภาวะท่ีเกิดกระบวนการผลิตก๊าซมีเทนได้ เม่ือน้าอัตราการใช้ COD กับพลังงานไฟฟ้าไปพล็อตกราฟ
ร่วมกันโดยละเว้นข้อมูลช่วงความเข้มข้นขาเข้า 4,621-4,907 mg/l ท่ีการย่อยสลาย COD ได้รับอิทธิพลจาก shock load และ
methanogenesis พบวา่ มีแนวโน้มจะสัมพันธ์กันในเชิงแปรผันตามดังแสดงในรปู ที่ 3 ข.

400 Energy COD consume rate 100 350

Energy ( W·hr) 80 300
COD comsume rate (g/d)60 250
40 200
Energy ( W·hr) 150
300 R² = 0.8316 100 R² = 0.6515
200 R² = 0.9572 50

100 excluded from 20 0

regression model 0 20 40 60 80
COD comsume rate (g/d)
00
ข.
0 2000 4000 6000
COD (mg/l)

ก.

รูปท่ี พลังงานไฟฟา้ ในรูปฟังชัน่ ของความเขม้ ขน้ (ก.) และฟงั ชนั่ ของอตั ราการใช้ COD (ข.)

สรุป

ในช่วงความเข้มข้น 680-4,621 mg/l อัตราเร็วในการบ้าบัด COD แปรผันตามความเข้มข้น COD โดยความเข้มข้น
COD ท่ีให้อัตราการบ้าบัดสูงสุด (513.2 mgCOD/l/hr) มีค่า 4621 mg/l อย่างไรก็ตามเมื่อความเข้มข้นเพ่ิมเป็น 4,621 mg/l
พบว่าอัตราเร็วในการบ้าบัด COD ลดลงเหลือ 392.5 mgCOD/l/hr ส้าหรับพลังงานไฟฟ้าที่ MFC ผลิตได้ตลอดระยะเวลาเดิน
ระบบนนั้ พบว่าแบง่ ได้ 2 กรณี กรณีท่ี 1 ความเข้มข้น COD อยู่ในช่วง 680-2,592 mg/l พบว่าพลังงานไฟฟ้าแปรผันตามกับความ

เข้มข้น COD โดยความเข้มข้น COD ท่ีให้พลังงานไฟฟ้าสูงสุด (0.323 W∙hr) มีค่า 2592 mg/l กรณีที่ 2 ความเข้มข้น COD อยู่

ในช่วง 4,621-4,902 mg/l พบว่าพลังงานไฟฟ้ากลับมีแนวโน้มลดลง (0.197-0.200 W∙hr) กล่าวโดยรวมได้ว่าอัตราเร็วในการ
ก้าจดั COD และพลงั งานไฟฟา้ ที่ BMFC ผลิตไดม้ ักแปรผันตามความเข้มขน้ ซโี อดีในน้าชะขยะขาเข้า ยกเว้นในกรณีท่ีความเข้มข้น

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 27 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

COD ขาเข้าสูงถึง 4,621 mg/l เป็นต้นไป จ้าเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกับอิทธิพลของ shock load และการเกิดก๊าซมีเทนซ่ึง
อาจทา้ ให้อัตราเร็วในการกา้ จัด COD และพลงั งานไฟฟา้ ลดลงได้ นอกจากน้ีเมื่อพิจารณาในด้านประสิทธิภาพการบ้าบัดแล้วกล่าว
ได้ว่าความเข้มข้น COD 680-1,781 mg/l เป็นช่วงที่ BMFC ให้ประสิทธิภาพการบ้าบัดสูงถึงกว่า 80 % แต่ช่วงความเข้มข้นที่
BMFC ใหอ้ ัตราเรว็ ในการบา้ บดั กา้ ลงั ไฟฟ้าสงู สุด และพลังงานไฟฟา้ สูงคอื 2,592-4,621 mg/l ดังน้ันหากจะน้า BMFC ที่ต่อแบบ
อนุกรมมาบ้าบัดน้าและผลิตไฟฟ้าให้ได้ผลดี อาจแบ่งการเชื่อมต่อไฟฟ้าเป็นกลุ่มเซลล์ต้นน้าท่ีสามารถให้พลังงานไฟฟ้าสูงแต่
ประสิทธิภาพการบ้าบัดต่้าและเซลล์ปลายน้าที่ให้พลังงานไฟฟ้าต่้าแต่มีประสิทธิภาพการบ้าบัดสูง เพ่ือบริหารจัดการเร่ือง
ก้าลังไฟฟา้ ของวงจรรวมให้เหมาะสม ท้ังนีจ้ า้ เป็นต้องศึกษาในรายละเอียดตอ่ ไปในอนาคต

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบพระคุณ Kurita Water and Environment Foundation (KWEF) ผู้มอบทุน Kurita-AIT Research Grant ให้
คณะวิจัยได้น้าไปใช้ในการวิจัย ขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวุฒิ สุวรรณทา ในค้าแนะน้าเก่ียวกับการต่อวงจรไฟฟ้า
และการวเิ คราะหค์ ่าทางไฟฟ้า ขอขอบพระคุณผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. ชลทศิ า สุขเกษม ในคา้ แนะน้าเกยี่ วกับรปู แบบถังปฏกิ รณ์ท่ี
ใช้ในงานวิจยั นี้ และขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยมหาสารคามท่อี นุญาตให้คณะวจิ ัยใช้สถานท่ีและอุปกรณ์ในการทา้ วิจยั

เอกสารอ้างอิง

[1] Yeo, J., Kim, T., Jang, J.K. and Yang, Y. 2018. Practical Maximum-Power Extraction in Single Microbial
Fuel Cell by Effective Delivery through Power Management System. Energies. 11(9): 2312.

[2] Ivars-Barceló, F., Zuliani, A., Fallah, M., Mashkour, M., Rahimnejad, M. and Luque, R. 2018. Novel
Applications of Microbial Fuel Cells in Sensors and Biosensors. Applied Sciences. 8(7): 1184

[3] Walter X.A., Greenman, J. and Ieropoulos, I.A. 2020. Microbial fuel cells directly powering a
microcomputer. Journal of Power Sources. 446: 227328.

[4] Halim, A.A., Abidin, N.N.Z., Awang, N., Ithnin, A., Othman, M.S. and Wahab, M.I. 2011. Ammonia and COD
removal from synthetic leachate using rice husk composite adsorbent. Journal of Urban and
Environmental Engineering (JUEE). 5(1): 24-31.

[5] วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย. 2545. ค่มู อื วเิ คราะหน์ ้าและน้าเสีย. บรษิ ทั จุดทอง จา้ กัด, กรงุ เทพ.
[6] Ahmed, S., Rozaik, E., Abdel-Halim, H. 2016. Performance of Single-Chamber Microbial Fuel Cells Using

Different Carbohydrate-Rich Wastewaters and Different Inocula. Pol. J. Environ. Stud. 25(2): 503-510.
[7] Dewanti, B.S.D. 2014. The Influence of Various Concentrations of MLSS and COD on the Performance of

the MBR to Eliminate the Organic Materials and Nitrogen. Agroindustrial Journal. 3(2): 174-181.
[8] Kamau, K.M., Mbui, D.N., Mwaniki, J.M., Mwaura F.B., and Kamau G.N., 2017. Microbial Fuel Cells:

Influence of External Resistors on Power, Current and Power Density. Journal of Thermodynamics &
Catalysis. 8(1): 1-5.
[9] Fan, Y., Sharbrough, E., Liu, H. 2008. Quantification of the internal resistance distribution of microbial
fuel cells Environ. Sci. Technol. 42: 8101–8107.
[10] Kaur, A., Boghani, H.C., Michie, I., Dinsdale, R.M., Guwy, A.J., Premier, G.C. 2014. Inhibition of methane
production in microbial fuel cells: Operating strategies which select electrogens over methanogens.
Bioresource Technology. 173 (2014): 75–81.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 28 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

005

ประสทิ ธภิ าพการกรองของเยอ่ื กรองแบบไมโคร
โดยใชส้ ารอินทรียใ์ นนา้ ท้งิ

Filtering Efficiency of Microfiltration Membranes by
using Effluent Organic Matter in Wastewater

สุพัฒน์พงษ์ มตั ราช1* และ ศุจนี นั ท์ สนั ติกลุ 2
Supatpong Mattaraj1* and Sujeenun Suntikul2
1*รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี อุบลราชธานี 34190;
2บัณฑติ ศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอ้ ม คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี
*โทรศัพท์ : 089-8615992, โทรสาร : 045-353344, E-mail: [email protected]; [email protected]

บทคัดยอ่

วัตถุประสงค์งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของความเข้มข้นของสารอินทรีย์ในน้าทิ้ง และค่าความแรงของประจุ (ionic
strength) ต่อประสิทธภิ าพการกรองของสารอนิ ทรยี ใ์ นนา้ ท้ิง โดยใช้กระบวนการไมโครแบบชดุ การไหลตายตัว แผน่ เย่ือกรองของ
Durapore รนุ่ HVLP2932A ถูกทดสอบในการศกึ ษาน้ี นา้ ทิง้ ท่ีรวบรวมจากระบบบา้ บดั น้าเสียภายในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
จะผา่ นขั้นตอนแรกของการบา้ บดั ขัน้ ต้น ขณะทน่ี ้าทผ่ี า่ นการบา้ บดั ขนั้ ต้นจะถกู แยกต่อมาดว้ ยระบบออสโมซสิ ผันกลับเพ่ือน้ามาใช้
ส้าหรับการทดลองแบบไมโคร ผลการทดลองพบว่าการเพ่ิมความเข้มข้นของสารอินทรีย์ในน้าทิ้งส่งผลต่อการเพิ่มการลดลงของ
ฟลกั ซ์สารละลาย อาจเนอื่ งมาจากสะสมสารอินทรียบ์ นผวิ เยอ่ื กรองทง้ั ยงั ส่งผลให้มีการก้าจัดสารอินทรียเ์ พ่ิมมากขน้ึ และการเพมิ่
ความแรงประจุจาก 0.005 M เป็น 0.01 M NaCl สง่ ผลให้ค่าฟลักซ์สารละลายลดลงและเพ่ิมประสิทธิภาพการก้าจัดมากข้ึน อาจ
เน่อื งจากผลของการเกดิ ช้ันเคก้ แน่นขนึ้ จากผลร่วมระหวา่ งเกลือโซเดียมและสารอนิ ทรยี ใ์ นน้าบนผวิ ของเย่ือกรอง

คา้ สา้ คัญ : เยอื่ กรองแบบไมโคร; สารอินทรยี ์ในนา้ ท้ิง; การลดลงของฟลกั ซส์ ารละลาย

Abstract

The purpose of this research was to study the effect of solution concentration and ionic strength on
filtering efficiency of effluent organic matter (EfOM) during microfiltration using dead-end filtration test cell.
Hydrophilic Polyvinylidene fluoride microfiltration (HVLP2932A, Durapore) was applied in the study.
Wastewater effluents, collected from wastewater treatment plants in Ubon Ratchathani University, was
initailly pretreated, while the pretreated effluent water was subsequently separated by reverse osmosis for
microfiltration experiments. Experimental results revealed that increased EfOM concentration caused an
increase in solution flux decline, possibly due to organic matter accumulation on membrane surface, thus
increasing organic matter removal. Increased ionic strength from 0.005 M to 0.01 M decreased solution flux
and increased rejection performance, possibly occuring compacted cake layer between combined sodium
salt and organic matter in water on the membrane surface.

Keywords : Microfiltration; Effluent Organic Matter; Solution Flux Decline

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 29 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

บทนา้

น้าเป็นทรพั ยากรทางธรรมชาติท่ีเป็นปัจจัยหลักในการด้ารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตทุกชนิด คุณภาพของน้าที่มนุษย์ใช้อุปโภค
บรโิ ภคจึงมคี วามส้าคญั เป็นอยา่ งย่ิง และจากความตอ้ งการนา้ ประปาในปัจจุบันได้เพ่ิมข้ึนจากอดีตมาก ซ่ึงส่งผลต่อความต้องการ
ปรมิ าณน้าดบิ จากแหลง่ น้าผิวดนิ เพ่มิ ขน้ึ การนา้ น้าเสียทีผ่ ่านกระบวนการบ้าบัดกลับมาใชใ้ หม่ เป็นอกี ทางเลือกหนึ่งในการจัดการ
การใช้ทรัพยากรน้าท่ีมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนน้าได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังช่วยลดปริมาณน้าทิ้งท่ีต้อง
ระบายลงสแู่ หล่งนา้ และเป็นการลดปัญหามลพษิ ทางน้าได้อีกดว้ ย [1]

จากวิกฤตมหาอุทกภัย ท่ีจังหวัดอุบลราชธานี เมื่อปี พ.ศ. 2562 ท่ีผ่านมานั้น ท้าให้มีฝนตกและมีน้าไหลหลากจนเกิด
การชะลา้ งสง่ิ ปนเปื้อนมลพิษต่างๆ จากผืนดนิ ลงสู่แหล่งน้า สง่ ผลใหเ้ กดิ การปนเป้ือนในแหล่งน้าได้ โดยมาจากน้าเสียตกค้างอยู่ใน
ท่อระบายน้าเสีย น้าชะจากกองขยะ พ้ืนที่เกษตร ส่งผลให้คุณภาพน้าเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น ปริมาณออกซิเจนในน้าลดลง
ความขุ่นและตะกอนแขวนลอยเพ่ิมข้ึน การปนเปื้อนของสารเคมี รวมถึงสารอินทรีย์ในน้าท้ิง (Effluent Organic Matter: EfOM) [2]
สารอนิ ทรีย์ในน้าทิ้งทอ่ี ยูใ่ นรปู ของสารอนิ ทรยี ท์ ี่ละลายน้าประกอบไปดว้ ย 3 กลมุ่ ใหญ่ คือสารอนิ ทรยี ์ธรรมชาติ (Natural Organic
Matter) สารประกอบอินทรีย์สังเคราะห์ (Synthetic Organic Compounds) และสารชีวภัณฑ์ละลายน้า (Soluble Microbial
Products) ซึ่งสารอินทรีย์ในน้าท้ิงน้ีจึงประกอบไปด้วยสารประกอบหลายชนิด ตั้งแต่สารท่ีมีน้าหนักโมเลกุลต้่าไปจนถึงสารท่ีมี
น้าหนกั โมเลกลุ สงู เช่น โปรตีน โพลีแซคคาไรด์ กรดอะมโิ น กรดนิวคลอี กิ กรดฮิวมกิ กรดฟลั วิก กรดอนิ ทรียแ์ ละส่วนประกอบ
ของเซลล์ เป็นตน้ [3] จากการศึกษาทผี่ ่านมาพบว่า สารอินทรีย์ในน้าท้ิงก่อให้เกิดปัญหาต่อแหล่งน้าและการผลิตน้าสะอาด โดย
ท้าให้เกิดสีและกลิ่นในแหล่งน้า การกัดกร่อน และการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ในระบบจ่ายน้า รวมทั้งสามารถก่อให้เกิดสาร
ตกค้างจากการฆ่าเช้ือโรค (Disinfection By Products: DBPs) [4] ซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อสัตว์น้า ระบบนิเวศ และการน้ามาใช้
ประโยชน์ อกี ทงั้ ท้าใหข้ าดแคลนน้าสะอาดส้าหรบั อปุ โภคและบรโิ ภค จากปัญหาทเี่ กิดขนึ้ จงึ จ้าเป็นต้องมีวิธีการบ้าบัดน้าให้มีความ
สะอาดเพียงพอกอ่ นท่จี ะนา้ ไปใชไ้ ด้

การปรับปรุงคณุ ภาพนา้ โดยการกรองผา่ นเย่อื กรอง (Membrane) เปน็ วธิ ีการหนง่ึ ท่นี ิยมนา้ มาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพ
น้า การกรองแบบไมโครฟลล เตรชนั เปน็ หน่งึ ในวิธที ่ีใช้ก้าจัดความขุ่นออกจากน้า ซ่ึงสามารถก้าจัดตะกอน และคอลลอยด์ออกจาก
น้าได้ ระบบการกรองแบบไมโครฟลลเตรชันเป็นระบบการกรองที่นิยมใช้ในการผลิตน้าประปา และมีประสิทธิภาพในการก้าจัด
สารอินทรีย์ในน้าทิ้ง [5] ดังน้ันเพื่อเป็นการประยุกต์ใช้ระบบเย่ือกรองในการผลิตน้าจากน้าทิ้งให้มีคุณภาพสูง และเพ่ือน้าน้าทิ้ง
กลบั มาใช้ใหม่ส้าหรับวตั ถปุ ระสงคต์ ่างๆ งานวจิ ยั น้ีจึงมุง่ ศึกษาการใช้เยอ่ื กรองแบบไมโคร ในการก้าจดั สารอินทรีย์ในน้าทิ้ง

อุปกรณ์และวธิ กี าร

สารอินทรียใ์ นน้าทิง้
สารอินทรีย์ในน้าท้ิงที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ีได้มาจากบ่อเก็บน้าท่ีผ่านการบ้าบัดแล้วภายในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
คุณสมบัติของสารอินทรีย์ในน้าทิ้งมีดังน้ี สารคาร์บอนอินทรีย์ท้ังหมด 16.19 mg/L มีค่าการดูดกลืนแสงท่ีความยาวคล่ืน
254 นาโนเมตร เท่ากับ 0.05 cm-1 ค่าการน้าไฟฟ้าอยู่ท่ี 382.49 μS.cm-1 พีเอชอยู่ที่ 8.15 การเตรียมสารอินทรีย์เข้มข้น
โดยการน้าน้าเก็บมาจากจุดท่ีน้าไหลออกจากบ่อตกตะกอนมาจ้านวน 200 ลิตร ผ่านระบบเย่ือกรองแบบไมโครฟลลเตรชันขนาด
10, 5 และ 1 ไมครอน ตามล้าดับ เพ่ือบ้าบัดเบื้องต้นก่อนเข้าเย่ือกรองแบบออสโมซีสผันกลับ เพ่ือแยกสารอินทรีย์ในส่วน
คอนเซนเตรทให้เหลอื ปรมิ าตรสารอนิ ทรยี ใ์ นน้าทิง้ เขม้ ข้นประมาณ 6 ลติ ร ดงั แสดงในรปู ท่ี 1 น้าสารอินทรีย์ในน้าทิ้งเข้มข้นบรรจุ
ในภาชนะที่ปลดสนิทและเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส เพ่ือเป็นการรักษาสารอินทรีย์ในน้าท้ิงให้อยู่ในสภาวะพร้อมใช้งาน
ในการทดลอง

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 30 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

รปู ที่ 1 แผนภาพการทา้ งานของระบบเยื่อกรองแบบออสโมซสิ ผันกลบั

เยอื่ กรองไมโคร
การวิจัยใช้เย่ือกรองแบบไมโครของ Durapore รุ่น HVLP2932A น้ามาตัดให้เป็นแผ่นวงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
7.6 cm เพ่ือให้สามารถน้ามาใส่ลงในชุดทดลองเย่ือกรอง โดยเย่ือกรองแบบไมโครท่ีใช้ในการทดลองมีคุณสมบัติ ดังแสดงใน
ตารางที่ 1

ตารางที่ 1 คณุ สมบัตขิ องเย่อื กรองแบบไมโครของบริษทั Durapore รุ่น HVLP2932A

คณุ ลกั ษณะ คา่

ประเภทของเยือ่ กรอง Thin film membrane

วสั ดทุ ่ีใช้ทา้ เยอ่ื กรอง Hydrophilic Polyvinylidene Fluoride (PVDF)

ขนาดรูพรุน 0.45 µm

การดา้ เนินระบบของชุดเย่อื กรองไมโคร
จากรูปที่ 1 เป็นการกรองภายใต้การกรองแบบไหลตายตัว (Dead-End filtration) โดยจะอาศัยแรงดันจากก๊าซ
ไนโตรเจนปอ้ นสารละลายเข้าในทิศทางตงั้ ฉากกบั แผ่นเย่อื กรอง น้าตัวอย่างจะถูกส่งผ่านมายังชุด Stirred cell ซ่ึงภายในจะบรรจุ
แผ่นเยอื่ กรองไมโคร ส้าหรบั น้าทผ่ี ่านเย่ือกรองจะไหลออกมาทางท่อ (pipe) จะเรียกว่า เพอร์มิเอท (Permeate) โดยควบคุมการ
ทดลองด้วยระบบเย่ือกรองไมโคร ดว้ ยความดันให้คงท่ตี ลอดการทดลองท่ี 20 psig และใช้เวลาในการทดลอง 240 นาที วัดอัตรา
การไหลของเพอร์มิเอทและเกบ็ ตัวอย่างตามช่วงเวลา

รูปที่ 1 แผนภาพการท้างานของระบบเยอื่ กรองแบบไมโคร

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 31 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

สมการที่ใช้ในการศกึ ษา
จากการศึกษาของ Mattaraj and Kilduff [6] เกี่ยวข้องกับการอุดตันของเยื่อกรองอันเป็นผลมาจากสารอินทรีย์ในการ
กรองแบบไมโคร ซง่ึ มคี วามสอดคลอ้ งกับแผนการวิจัยในคร้ังน้ี คา่ อัตราการกรองแสดงไดใ้ นสมการ (1)

Jv  Qperm (1)
Am
โดย J v คอื อัตราการกรองผา่ นเยอ่ื กรอง (L.m-2.h-1), Qperm คือ อตั ราการไหลของน้าท่ีกรองได้ (L.h-1), Am คือ

พน้ื ทีท่ ีใ่ ช้ในการกรอง (m2) ส่วนการก้าจัดสารละลายออกจากนา้ (Rejection) โดยการกรองผา่ นเยอ่ื กรองจะแยกสารละลายต่างๆ

ออกจากน้า ซง่ึ ประสทิ ธิภาพในการก้าจัดสามารถค้านวณไดจ้ ากสมการ (2)

R  1 Cperm (2)
Creten

โดย R คือ อตั ราการกา้ จดั สารละลายออกจากนา้ , Cperm คือ ความเขม้ ขน้ ของสารละลายทผี่ ่านการกรอง (mg.L-1),
Creten คอื ความเข้มข้นของสารละลายทไี่ ม่ผา่ นการกรอง (mg.L-1)

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

ผลการศกึ ษาคา่ ความเข้มข้นของสารอนิ ทรยี ใ์ นนา้ ทงิ้ ท่มี ผี ลต่อการลดลงของคา่ ฟลักซ์
การศึกษาผลของความเข้มข้นของสารอินทรีย์ในน้าท้ิง 5, 10 และ 15 มิลลิกรัมต่อลิตร ควบคุมค่าพีเอชเท่ากับ 7 ปรับ
ความแรงประจุเป็น 0.01 โมลต่อลิตร ด้วยโซเดียมคลอไรด์ ความดันคงที่ตลอดการทดลองที่ 20 psig จากรูปท่ี 2 แสดงผลของ
ความเข้มข้นของสารอินทรียใ์ นน้าทิ้งท่มี ีผลต่อการลดลงของฟลกั ซ์สารละลาย พบวา่ การเพ่ิมความเข้มข้นของสารอินทรีย์ในน้าทิ้ง
สง่ ผลทา้ ให้ฟลกั สส์ ารละลายลดลง โดยลดลงอย่างรวดเรว็ ในช่วง 15 นาทีแรก และลดลงตอ่ เน่ืองอยา่ งช้าๆ เน่ืองจากเกิดการสะสม
ของสารอินทรีย์ และคอลลอยด์ ซึ่งมีอนุภาคขนาดใหญ่ท่ีบริเวณผิวหน้าเยื่อกรองท้าให้เกิดการปลดกั้นรูพรุนของเย่ือกรอง
ท้ังนี้ด้วยองค์ประกอบของสารอินทรีย์ในน้าท้ิงท่ีมีอย่างหลากหลาย เช่น สารอินทรีย์ธรรมชาติ กรดอะมิโน โปรตีน
สารชีวภัณฑ์ละลายน้า สารประกอบอินทรีย์สังเคราะห์ เช่น ยาฆ่าแมลง ผงซักฟอก [7] เป็นต้น จึงท้าให้สารอินทรีย์ในน้าทิ้ง
มีมวลโมเลกุลอยู่ในช่วงที่กว้าง ความเข้มข้นของสารอินทรีย์ในน้าท้ิงท่ีเพ่ิมมากข้ึน จึงเป็นผลท้าให้เพิ่มค่าการลดลงของฟลักซ์
สารละลาย

Solution flux (LMH)6000
4000 I.S.= 0.01 M NaCl, P=20 psig, pH=7
2000 EfOM 5 mg/l
700 EfOM 10 mg/l

EfOM 15 mg/l
600

500

400

300

200

100

0
0 30 60 90 120 150 180 210 240
Operation period (min)

รูปที่ 2 ผลของคา่ ความเขม้ ข้นของสารอินทรยี ์ในน้าทง้ิ ทีม่ ีผลตอ่ ค่าฟลกั ซ์สารละลาย

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 32 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563


Click to View FlipBook Version