The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Environment Engineering Association of Thailand, 2020-05-29 22:47:01

full papers proceeding NEC19

full papers proceeding NEC19

Keywords: NEC19

สม าคมวิศว ก ร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ตรวจวดั 62±1 ไมโครกรัมตอ่ ลิตร และขีดจากัดของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ 186±3 ไมโครกรัมต่อลิตร สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานท่ี
องค์การอนามัยโลกกาหนดปริมาณของสารหนใู นน้าด่ืมไวท้ ่ี 10 ไมโครกรัมตอ่ ลติ ร [6] แต่ตา่ กว่าเกณฑ์มาตรฐานความเข้มข้นสูงสุด
ของสารหนูในน้าเสียท่ีควบคุมโดยกรมควบคุมมลพิษแห่งประเทศไทย (250 ไมโครกรัมต่อลิตร) [21] ดังน้ันเทคนิคที่พัฒนาขึ้นน้ี
สามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ บั การวเิ คราะหป์ รมิ าณสารหนูในนา้ เสยี ได้ และยงั สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้สาหรบั วเิ คราะห์สารหนูในนา้
ในพื้นท่ีท่ีมกี ารปนเปือ้ นสารหนูปริมาณสงู เช่น บังคลาเทศ ได้อกี ด้วย
การวเิ คราะห์ตวั อย่างจริง

ผลการวเิ คราะห์ตวั อย่างนา้ ผิวดินท่ีเก็บจากขุมเหมืองเก่าและคลองสาธารณะในพ้ืนที่จังหวัดภูเก็ต จานวน 6 จุด โดยใช้
เทคนิคที่พัฒนาข้ึนไม่พบการปนเปื้อนของสารหนูในตัวอย่างท้ังหมด สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์โดยใช้วิธีมาตรฐาน (เทคนิค
ICP-OES) ซึ่งมีขีดจากัดของการตรวจวัด 12 ไมโครกรัมต่อลิตร และขีดจากัดของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ 39 ไมโครกรัมต่อลิตร
ตามลาดับ การศึกษาร้อยละของผลที่ได้กลับคืน (%Recovery) ด้วยการเติมสารมาตรฐานของสารหนูลงในตัวอย่าง (Spiked
sample) และวเิ คราะห์ด้วยเทคนคิ ท่ีพฒั นาข้นึ พบวา่ มี %Recovery ในช่วง 87.9 ถึง 97.8%RSD ดงั ตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ผลการศกึ ษา %Recovery ของตัวอย่างจรงิ

ตัวอย่าง ปริมาณสารหนทู ีพ่ บ ความเขม้ ขน้ ของสารมาตรฐาน ความเขม้ ขน้ ของปริมาณสาร %Recovery
(มลิ ลิกรัมตอ่ ลิตร) สารหนทู ี่เตมิ ในตัวอยา่ ง หนูที่ไดจ้ ากการวเิ คราะห์
(มลิ ลิกรมั ตอ่ ลติ ร) (มิลลิกรมั ต่อลติ ร) 97.6
4.88 91.1
1 ไม่พบ 5 4.55 87.9
4.39 97.8
2 ไม่พบ 5 4.89 90.7
4.53 88.4
3 ไมพ่ บ 5 4.42

4 ไม่พบ 5

5 ไมพ่ บ 5

6 ไมพ่ บ 5

สรปุ

การใช้ปฏิกิริยาการเกิดสีของสารหนูกับ BF2-curcumin ร่วมกับเทคนิค DIC สาหรับวิเคราะห์ปริมาณสารหนูให้
ความสัมพันธ์ที่เป็นเส้นตรงในช่วงความเข้มข้นของสารหนูต้ังแต่ 0 ถึง 7 มิลลิกรัมต่อลิตร มีความแม่นยาสูง ใช้งานง่าย ทราบผล
รวดเร็ว (ภายใน 1 นาที) ค่าใช้จ่ายไม่แพง และมีขีดจากัดของการตรวจวัดต่าเพียงพอที่จะนาไปประยุกต์ใช้งานสาหรับวิเคราะห์
ปริมาณสารหนใู นนา้ เสยี ภาคสนามได้ และยงั สามารถนาไปประยกุ ต์ใชส้ าหรบั วิเคราะห์สารหนูในนา้ ในพนื้ ที่ที่มีการปนเปอ้ื นสารหนู
ปริมาณสูง เชน่ บงั คลาเทศ เป็นตน้

กติ ติกรรมประกาศ

คณะนักวิจัยขอขอบคุณสาหรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากกองทุนวิจัย คณะเทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม
มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตภูเกต็ และบณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เอกสารอา้ งอิง

[1] Yogarajah, N. and Tsai, S. 2015. Detection of trace arsenic in drinking water: challenges and
opportunities for microfluidics. Environmental Science: Water Research & Technology. 1(4): 426–447.

[2] Hughes, M. F., Beck, B. D., Chen, Y., Lewis, A. S. and Thomas, D. J. 2011. Arsenic Exposure and
Toxicology: A Historical Perspective. Toxicological Sciences. 123(2): 305–332.

[3] Kumar, R., Patel, M., Singh, P., Bundschuh, J., Pittman, C. U., Trakal, L. and Mohan, D. 2019. Emerging
technologies for arsenic removal from drinking water in rural and peri-urban areas: Methods, experience
from, and options for Latin America. Science of The Total Environment. 694: 133427.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 233 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

[4] Smith, A. H., Lingas, E. O. and Rahman, M. 2000. Contamination of drinking-water by arsenic in
Bangladesh: a public health emergency. Bulletin of the World Health Organization. 78: 1093–1103.

[5] United Nations International Children’s Emergency Fund (UNICEF). 2008. The State of the World’s
Children 2009: Maternal and Newborn Health. UNICEF.

[6] World Health Organization. 2011. Arsenic in Drinking-water: Background document for development of
WHO Guidelines for Drinking Water Quality. World Health Organization: Geneva.

[7] Kapaj, S., Peterson, H., Liber, K. and Bhattacharya, P. 2006. Human Health Effects From Chronic Arsenic
Poisoning–A Review. Journal of Environmental Science and Health, Part A. 41(10): 2399–2428.

[8] Tuzen, M., Saygi, K.O., Karaman, I. and Soylak, M. 2010. Selective speciation and determination of
inorganic arsenic in water, food and biological samples. Food and Chemical Toxicology. 48(1): 41–46.

[9] Michon, J., Deluchat, V., Al Shukry, R., Dagot, C. and Bollinger, J.-C. 2007. Optimization of a GFAAS
method for determination of total inorganic arsenic in drinking water. Talanta. 71(1): 479–485.

[10] Xiong, C., He, M. and Hu, B. 2008. On-line separation and preconcentration of inorganic arsenic and
selenium species in natural water samples with CTAB-modified alkyl silica microcolumn and
determination by inductively coupled plasma-optical emission spectrometry. Talanta. 76(4): 772–779.

[11] Komorowicz, I. and Barałkiewicz, D. 2016. Determination of total arsenic and arsenic species in drinking
water, surface water, wastewater, and snow from Wielkopolska, Kujawy-Pomerania, and Lower Silesia
provinces, Poland. Environmental Monitoring and Assessment. 188: 504.

[12] Sirawatcharin, S., Saithongdee, A., Chaicam, A., Tomapatanaget, B. and Imyim, A. 2014. Naked-eye and
colorimetric detection of arsenic (III) using difluoroboron-curcumin in aqueous and resin bead support
systems. Analytical Sciences. 30(12): 1129-1134.

[13] Okazaki, T., Kuramitz, H., Hata, N., Taguchi, S., Murai, K. and Okauchi, K. 2015. Visual colorimetry for
determination of trace arsenic in groundwater based on improved molybdenum blue
spectrophotometry. Analytical Methods. 7(6): 2794–2799.

[14] Xu, C., Liu, D., Zhang, D., Zhao, C. and Liu, H. 2018. Ultrasensitive point-of-care testing of arsenic based
on a catalytic reaction of unmodified gold nanoparticles. New Journal of Chemistry. 42: 14857.

[15] Boonkanon, C., Phatthanawiwat, K., Wongniramaikul, W. and Choodum, A. 2020. Curcumin nanoparticle
doped starch thin film as a green colorimetric sensor for detection of boron. Spectrochimica Acta Part
A: Molecular and Biomolecular Spectroscopy. 224: 117351.

[16] Choodum, A., Sriprom, W. and Wongniramaikul, W. 2019. Portable and selective colorimetric film and
digital image colorimetry for detection of iron. Spectrochimica Acta Part A: Molecular and Biomolecular
Spectroscopy. 208: 40-47.

[17] Wongniramaikul, W., Limsakul, W. and Choodum, A. 2018. A biodegradable colorimetric film for rapid
low-cost field determination of formaldehyde contamination by digital image colorimetry. Food
Chemistry. 249: 154–161.

[18] ICH Expert Working Group. 2005. ICH Harmonised Tripartite Guideline: Validation of Analytical
Procedures: Text and Methodology Q2R1.

[19] Saithongdee, A. 2014. Electrospun coloring agent loaded zein membrane for analysis of ions,
Chulalongkorn University.

[20] Chaicham, A., Kulchat, S., Tumcharern, G., Tuntulani, T. and Tomapatanaget, B. 2010. Synthesis,
photophysical properties, and cyanide detection in aqueous solution of BF2-curcumin dyes.
Tetrahedron. 66(32): 6217–6223.

[21] T. P. C. Department. Department. 1996. Water quality standard. T. Ministry of Natural Resources and
Environment.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 234 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

036

ผลของอัตราภาระสารอนิ ทรีย์ต่อพนื้ ท่ตี วั กลางส้าหรบั บ้าบัดน้าเสยี
ความเขม้ ขน้ ต้า่ โดยถงั ปฏิกรณฟ์ ิลม์ ชีวภาพชนิดตวั กลางเคล่ือนที่

Effects of Surface Area Loading Rate on
System Performance of Moving Bed Biofilm Reactor

for Low Strength Wastewater Treatment

วราลี วศิ าลโภคะ1 กิตติคณุ ตรยุ านนท์2 และ ชยั พร ภู่ประเสรฐิ 3*
Waralee Wisanpoka1 Kittikhun Taruyanon2 and Chaiyaporn Puprasert3*
1นิสิตระดบั บณั ฑิตศกึ ษา; 2วิศวกรสงิ่ แวดลอ้ มอสิ ระ; 3*ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ภาควชิ าวิศวกรรมสิ่งแวดลอ้ ม

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั กรงุ เทพฯ 10330
โทรศัพท์ : 0 22186667, โทรสาร : 0 22186668, E-mail : [email protected]

บทคัดย่อ

ระบบบ้าบัดน้าเสียแบบถังปฏิกรณ์ฟิล์มชีวภาพชนิดตัวกลางเคลื่อนที่ (Moving Bed Biofilm Reactor, MBBR) เป็น
ระบบบ้าบัดน้าเสียทางชีวภาพที่ใช้ตัวกลางพลาสติก ท้าหน้าที่เป็นตัวกลางให้จุลชีพมาเกาะติด โดยตัวกลางมีการเคล่ือนที่อย่าง
อิสระในถังปฏิกรณ์ ในการศึกษาท้าการทดลองในระดับห้องปฏิบัติการโดยใช้ถังปฏิกรณ์ปริมาตร 2 ลิตร (ปริมาตรถังที่ยังไม่มี
ตวั กลาง) จ้านวน 2 ถังต่ออนุกรมกัน เติมตัวกลางพลาสติกของบริษัท Aqwise ปริมาณร้อยละ 50 ของปริมาตรถัง เวลากักน้าถัง
ละ 3 ชม. เดนิ ระบบแบบต่อเน่ืองด้วยน้าเสียสังเคราะห์ที่อัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพื้นที่ตัวกลาง (Surface Area Loading Rate,
SALR) ที่เข้าถังแรกเท่ากับ 2.0, 3.0, 3.9, 7.9 ก.ซีโอดี/ตร.ม./วัน และความเข้มข้นแอมโมเนียคงท่ี 20 มก./ล. ผลการทดลอง
พบว่า ท้ัง 4 สภาวะท่ีท้าการเดินระบบ มีประสิทธิภาพการบ้าบัดสารอินทรีย์และบ้าบัดแอมโมเนียไนโตรเจนเฉลี่ย ร้อยละ 97.9
และ 98.9 ตามลา้ ดับ และเม่ืออัตราภาระสารอนิ ทรยี ต์ ่อพ้นื ทตี่ ัวกลางเพ่มิ ข้ึน ฟิลม์ ชีวภาพทย่ี ดึ เกาะตัวกลางจะมีความหนามากขึ้น
อัตราการหลุดของฟิล์มชีวภาพสูงข้ึน ส่งผลให้ปริมาณจุลชีพแขวนลอยในระบบเพิ่มขึ้น ท่ีอัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพื้นท่ีตัวกลาง
สูงสุดท่ี 7.9 ก.ซีโอดี/ตร.ม./วัน ปริมาณจุลชีพที่ยึดเกาะบนตัวกลางมีค่าสูงถึง 6,080 มก.ของแข็งแขวนลอยระเหยได้/ล.ของถัง
ปฏกิ รณ์ ปรมิ าณจลุ ชพี แขวนลอยมีคา่ เท่ากบั 141.2 มก.ของแข็งแขวนลอยระเหยได้/ล. โดยปริมาณจลุ ชีพแขวนลอยคิดเป็น 1-3%
ของจุลชพี ทั้งหมดในระบบ และมคี ่าสัดส่วนระหว่างจุลชีพท่เี กดิ ข้ึนต่อซีโอดีทถี่ กู ก้าจดั เท่ากบั 0.19 ก.ของแข็งแขวนลอยระเหยได้/
ก.ซีโอดี จากการทดลองจะเห็นได้ว่าระบบ MBBR สามารถท้างานได้ดีกับน้าเสียความเข้มข้นต้่า ซ่ึงข้อมูลจากการทดลองน่าจะ
นา้ ไปใช้เปน็ แนวทางในการเดนิ ระบบระบบบ้าบดั น้าเสยี ของกรงุ เทพมหานครได้

ค้าส้าคัญ : ถังปฏิกรณ์ฟลิ ม์ ชีวภาพชนิดตวั กลางเคลื่อนท่ี; ตวั กลางพลาสตกิ ; ฟิล์มชีวภาพ; น้าเสียความเขม้ ข้นต้า่

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 235 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกร รม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเ ทศ ไทย

 

Abstract

A moving Bed Biofilm Reactor (MBBR) is a biological wastewater treatment system that the biomass is
attached to media carrier. The carriers move freely along with the water in the reactor. A lab-scale reactor
with two total liquid volume of 2L (not included media) was used in the study. The reactor was filled with
the Aqwise plastic media to 50% of the volume of empty reactor. Hydraulic retention time (HRT) in each
reactor was 3 hours and fed continuously with synthetic low strength wastewater at Surface Area Loading
Rate (SALR) in the first reactor of 2.0, 3.0, 3.9, 7.9 gCOD/m2/day and the concentrated ammonium constant at
20 mg/L. Experimental results showed that, the 4 conditions had the efficiency to remove organic carbon and
ammonium nitrogen at 97.9 % and 98.9%, respectively. As the SALR increased, the thickness of biofilm that is
attached to the media increase. The surface detachment rates of the biofilm also increased, causing more
suspended solid in the system. In the MBBR reactor, the biofilm reached a concentration of 6,080 mgVSS/L of
the reactor tank and the suspended solid was 141.2 mgVSS/L at the highest surface organic loading rate. The
amount of the suspended biomass was about 1-3% of the whole biomass in the system. The ratio between
the VSS production and the COD removal was 0.19 gVSS/gCOD. According to the findings, the MBBR system
worked well with the low-strength wastewater. The result of this experiment could pave the way for
operating the wastewater treatment plant of Bangkok Metropolitan Administration.

Keywords: Moving Bed Biofilm Reactor; Plastic Carriers; Biofilm; Low-Strength Wastewater

บทนา้

ปัจจบุ ันกรุงเทพมหานครไดก้ ่อสร้างและเดินระบบบา้ บัดนา้ เสยี รวมท้ังหมด 8 แหง่ โดยโรงควบคุมคุณภาพน้าทง้ั 8 แหง่ เป็น
ระบบแบบจุลชีพแขวนลอยในนา้ จากการที่กรุงเทพมหานครได้ท้าการเดินระบบเปน็ ระยะเวลากว่า 25 ปี พบว่า ความสกปรกของ
น้าเสียมีค่าต้่ากว่าค่าที่ใช้ในการออกแบบมาก โดยค่าบีโอดีออกแบบอยู่ในช่วง 100-200 มก./ล. แต่ค่าบีโอดีของน้าเสียเข้ามี
ค่าเฉล่ยี ในช่วงประมาณ 30-59 มก./ล. และคา่ ไนโตรเจนทงั้ หมด (TN) ออกแบบอยู่ในช่วง 30-40 มก./ล. แต่ค่าไนโตรเจนทั้งหมด
ของน้าเสียเข้ามีค่าเฉล่ียอยู่ในช่วง 7-16 มก./ล. ซึ่งอาจเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ลักษณะของน้าเสียที่เกิดขึ้นจากแหล่งก้าเนิด
ระบบท่อรวบรวมน้าเสียที่เป็นแบบท่อรวมน้าเสียและน้าฝน (Combined Sewer System) คุณภาพการก่อสร้าง ระดับน้าใต้ดิน
หรือการเกดิ การยอ่ ยสลายในระบบทอ่ รวบรวมน้าเสีย ส่งผลให้การเดินระบบประสบปัญหาต้องใช้ระยะเวลายาวนานกว่าระบบจะ
เขา้ สสู่ ภาวะคงตัวท่ีมีจุลชพี เพยี งพอและเหมาะสมในการเดินระบบ ทางกรุงเทพมหานครจึงมีความสนใจในระบบฟิล์มตรึง (Fixed
Film) ซึง่ เหมาะกบั นา้ เสยี ความเขม้ ขน้ ตา่้ โดยระบบบ้าบดั น้าเสยี รวมแหง่ ใหมท่ ีอ่ ยู่ในระหว่างการออกแบบ คือ ระบบบ้าบัดน้าเสีย
ธนบุรี จึงเลือกใช้ระบบฟิล์มตรึงแบบ Moving Bed Biofilm Reactor (MBBR) ซ่ึงมีข้อดี คือ จุลชีพเป็นแบบยึดเกาะตัวกลาง
เหมาะกบั จลุ ชพี กลุ่มโตช้า และสามารถเลี้ยงจลุ ชีพในระบบไดส้ ูงกว่าระบบตะกอนแขวนลอยท่วั ไป สง่ ผลใหร้ ะบบมขี นาดเล็กลง [1]
เดินระบบง่าย เน่ืองจากไม่ต้องมีการเวียนตะกอนจุลชีพจากก้นถังตกตะกอนกลับเข้าสู่ระบบ และไม่ต้องมีการควบคุมการทิ้ง
ตะกอนเพือ่ ควบคุมอายตุ ะกอน นอกจากน้ีระบบ MBBR ยังทนต่อภาระทางชลศาสตรท์ ี่เปลย่ี นแปลงสงู โดยไมเ่ กดิ การย้ายของมวล
ตะกอนจุลชีพจากถงั เติมอากาศไปยังถังตกตะกอนเหมอื นพวกจุลชพี แบบแขวนลอยในระบบแอกทเิ วเตด็ สลัดจใ์ นช่วงที่รับภาระทาง
ชลศาสตร์สูง [2] ในช่วงท้าการออกแบบ พบว่า การน้าระบบ MBBR มาใช้กับน้าเสียความเข้มข้นต่้า ยังขาดข้อมูลอ้างอิงเพ่ือใช้ใน
การออกแบบและเดนิ ระบบ

จากเหตผุ ลดงั กล่าว งานวจิ ยั นี้จึงสนใจศึกษาการเดินระบบ MBBR เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซึ่งขอ้ มลู และข้อจ้ากดั เพ่อื นา้ ไปใชเ้ ป็น
แนวทางในการออกแบบ ควบคมุ และเดนิ ระบบบ้าบัดน้าเสียรวมของกรุงเทพมหานครตอ่ ไป

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 236 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

อปุ กรณแ์ ละวิธีการ

ตวั กลางพลาสติก
ตัวกลางท่ใี ชภ้ ายในถงั เติมอากาศเป็นตัวกลางพลาสติกของบรษิ ทั AQWISE ใช้วสั ดุโพลีเอทิลีนท่ีมีความหนาแน่นสูง (HDPE)

โดยมีความหนาแน่น 0.94-0.96 ก./ลบ.ซม. รูปร่างทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 13 มม. ความยาว 13 มม. พ้ืนที่ผิว
ท้ังหมด (Total Surface Area) 900 ตร.ม./ลบ.ม. และมีพื้นที่ผิวประสิทธิผล (Effective Surface Area) 650 ตร.ม./ลบ.ม. โดย
ตวั กลางพลาสติกแสดงดังรูปที่ 1

รูปที่ 1 ตวั กลางพลาสตกิ ท่ใี ช้ในงานวจิ ัย

จากงานวิจัยท่ีผ่านมา พบว่า ในระบบ MBBR เมื่อมีการกวนผสมจะเกิดการขัดสีกันของตัวกลางพลาสติกภายในถังเติม
อากาศ ส่งผลใหบ้ ริเวณด้านนอกของตัวกลางพลาสติกไม่มีจุลชีพเกาะติดอยู่ พ้ืนท่ีผิวของฟิล์มชีวภาพ (Biofilm Surface Area) ท่ี
นา้ มาคา้ นวณจงึ คิดเพยี งพนื้ ที่ผวิ ดา้ นในของตัวกลางซึ่งก็คือพ้ืนท่ีผิวประสิทธิผล [3] ดังน้ันเม่ือใส่ตัวกลางพลาสติกร้อยละ 50 จะมี
พ้ืนท่ผี วิ ประสิทธผิ ลเท่ากบั 325 ตร.ม./ลบ.ม.

ถังปฏิกริ ิยา
ถังปฏิกิริยาเป็นถังเติมอากาศ (Aeration Tank) จ้านวน 2 ถัง ประกอบด้วย ถังก้าจัดสารอินทรีย์คาร์บอน (Carbon

Removal Tank) และถังไนตริฟิเคชัน (Nitrification Tank) ปริมาตรความจุถังละ 2 ลิตร (ปริมาตรถังที่ยังไม่มีตัวกลาง) ต่อกัน
แบบอนกุ รม เติมตัวกลางพลาสติกปริมาณร้อยละ 50 ของปริมาตรถัง โดยไดอะแกรมการติดตั้งชุดอุปกรณ์ที่ใช้ในงานวิจัยแสดงดัง
รปู ที่ 2

เครัองเตมัอ ก ศ

ถงัตกตะกอน

เครัองสบันั ถงัไนตรัฟเัคชนั
แบบไดอะแฟรม

ถังกัจดัส รอันทรัยัค รบัอน

ถังเตรัยมนัเสยั ถงันัออก

รูปที่ 2 ไดอะแกรมการติดตั้งชุดอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในงานวิจยั

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 237 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกร รม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเ ทศ ไทย

 

หัวเชือ้ ท่ใี ช้ในการเริ่มเดนิ ระบบ
หัวเชื้อ (Seed) ที่ใช้ในการเร่ิมเดินระบบมาจากโรงควบคุมคุณภาพน้าดินแดง ซ่ึงเป็นโรงบ้าบัดน้าเสียชุมชนของ

กรุงเทพมหานครทใี่ ชร้ ะบบแอกทิเวเตด็ สลัดจใ์ นการกา้ จัดสารอินทรีย์และก้าจัดไนโตรเจน จึงคาดว่าจะมีจุลชีพทั้งชนิดเฮเทอโรโทรฟิก
และออโตโทรฟกิ นา้ มาเรมิ่ เดินระบบในถังแบบทีละเท (Batch) จนเกิดฟลิ ม์ ชวี ภาพท่ีตัวกลางอย่างเห็นได้ชัด เดินระบบจนมีอัตรา
การก้าจัดสารอินทรีย์มากกว่าร้อยละ 75 และอัตราการเกิดไนตริฟิเคชันมากกว่าร้อยละ 50 แล้วจึงน้าไปเร่ิมท้าการทดลองต่อไป
ทงั้ นใ้ี นชว่ งการเรม่ิ เดนิ ระบบใชร้ ะยะเวลาประมาณ 1 เดอื น

สภาวะการเดนิ ระบบ
ในการทดลองท้าการเดนิ ระบบแบบต่อเน่อื งด้วยอตั ราการไหล 16 ล./วนั เวลากักน้าถงั ละ 3 ชม. (รวมสองถงั มีเวลากักน้า 6

ชม.) ท้าการทดลองโดยใช้น้าเสียสังเคราะห์เตรียมจากกลูโคส และแอมโมเนียมคลอไรด์ ซ่ึงใช้เป็นแหล่งคาร์บอนและไนโตรเจน
ตามล้าดับ และเติมสารอาหารอื่นๆ ให้เพียงพอส้าหรับกิจกรรมของจุลชีพ ควบคุมอัตราการเติมอากาศท่ี 2.5 ล./นาที เพ่ือให้ค่า
ความเรว็ เกรเดียนตข์ องระบบอยู่ในช่วง 134 ถึง 360 ต่อวินาที ซ่ึงเป็นช่วงที่เหมาะสม [4] โดยจะได้ค่าออกซิเจนละลายอยู่ที่ 4-6
มก./ล. และปรับพเี อชด้วยโซเดยี มไบคาร์บอเนต (NaHCO3) ใหอ้ ย่ใู นชว่ ง 7.5-8.0

การเดินระบบแบ่งเป็น 4 สภาวะท่ีความเข้มข้นบีโอดี 50, 75, 100 และ 200 มก./ล. ในการทดลองจะท้าการวิเคราะห์
สารอนิ ทรีย์ในรูปของซีโอดี โดยจากการทดลองวัดคา่ บโี อดขี องน้าเสียสงั เคราะหท์ ี่เตรียม พบว่า ความเข้มข้นของซีโอดีคิดเป็น 1.6
เท่าของบีโอดี ดังน้ันจะเดินระบบท่ีความเข้มข้นซีโอดี 80, 120, 160 และ 320 มก./ล. คิดเป็นอัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพ้ืนที่
ตัวกลาง (SALR) ท่ีเข้าถังก้าจัดสารอินทรีย์คาร์บอน 2.0, 3.0, 3.9, 7.9 ก.ซีโอดี/ตร.ม./วัน ตามล้าดับ และใช้ความเข้มข้น
แอมโมเนยี คงที่ 20 มก./ล. โดยสภาวะการเดินระบบท่ีท้าการทดลองแสดงดงั ตารางที่ 1 พารามิเตอรท์ ท่ี ้าการวเิ คราะห์ได้แก่ ซีโอดี
ละลายน้า แอมโมเนยี ไนไตรท์ ไนเตรท และปริมาณจุลชีพ (โดยน้าหนกั ) ในระบบ

ตารางท่ี 1 สภาวะการเดินระบบท่ที า้ การทดลอง

พารามเิ ตอร์

Run 1 Run 2 Run 3 Run 4

อัตราการไหล (ล./วนั ) 16 16 16 16

ออกซเิ จนละลาย (มก./ล.) ≥4 ≥4 ≥4 ≥4

ปรมิ าณตัวกลางต่อปรมิ าตรถัง 0.5 0.5 0.5 0.5

บโี อดีเข้า (มก./ล.) 50 75 100 200
ซีโอดีเขา้ (มก./ล.) 80 120 160 320
แอมโมเนยี (มก./ล.) 20 20 20 20

MBBR 1 (C Removal)
SALR (gCOD/m2·d)
2.0 3.0 3.9 7.9

HRT (hr.) 3333

MBBR 2 (Nitrification)

HRT (hr.) 3333

Total HRT (hr.) 6666

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 238 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

การก้าจัดสารอินทรยี แ์ ละแอมโมเนีย
จากการทดลองโดยการกา้ หนดอัตราภาระสารอนิ ทรียต์ ่อพนื้ ทตี่ ัวกลาง (SALR) ทเี่ ข้าถังก้าจัดสารอินทรีย์คาร์บอน 2.0, 3.0,

3.9, 7.9 ก.ซโี อดี/ตร.ม./วนั ระยะเวลากกั เกบ็ นา้ ถังละ 3 ชั่วโมง พบว่า ท้ัง 4 สภาวะที่ท้าการเดินระบบ มีประสิทธิภาพการก้าจัด
สารอินทรีย์ในรูปซีโอดีร้อยละ 91.86, 95.03, 98.03 และ 98.40 ตามล้าดับ จะเห็นได้ว่าเมื่อมีการเพิ่มขึ้นของอัตราภาระ
สารอนิ ทรียต์ อ่ พนื้ ท่ตี ัวกลางจะส่งผลใหร้ ะบบมีประสิทธภิ าพการก้าจัดซโี อดีสงู ขึ้น ซง่ึ มงี านวจิ ัยอนื่ พบว่า ที่อตั ราภาระสารอนิ ทรีย์มี
ค่าไม่เกนิ 6 กก.ซีโอดี/ลบ.ม./วัน เมอ่ื อตั ราภาระสารอนิ ทรีย์เพมิ่ ขน้ึ ประสิทธิภาพการก้าจัดซีโอดีจะสูงขึ้นด้วยเช่นกัน แต่ถ้าอัตรา
ภาระสารอนิ ทรีย์สูงกวา่ น้ันประสิทธภิ าพการกา้ จดั ซีโอดจี ะเรม่ิ ลดลง [5]

เมื่อพจิ ารณาระบบทีละถัง พบว่า การก้าจัดสารอินทรีย์ในรูปซีโอดีส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่ถังที่ 1 (ถังก้าจัดสารอินทรีย์คาร์บอน)
ซึ่งถูกออกแบบโดยใช้คา่ อัตราภาระสารอินทรยี ์ตอ่ พน้ื ท่ีตวั กลางต้่า (Low SALR) เพ่ือให้ท้าหน้าที่ก้าจัดสารอินทรีย์ส่วนใหญ่ โดยมี
ประสิทธิภาพเฉลี่ย 94.8% คิดเป็นฟลักซ์ของการก้าจัดซีโอดี 1.74-7.95 ก.ซีโอดี/ตร.ม./วัน หรือเท่ากับ 0.56-2.58 กก.ซีโอดี/
ลบ.ม./วัน (0.35-1.61 กก.บีโอดี/ลบ.ม./วัน) โดยมีอัตราการก้าจัดสารอาหารต่อปริมาตรประมาณ 0.3-1.6 เท่าของระบบ
แอกทเิ วเต็ดสลดั จแ์ บบธรรมดา ซงึ่ มีค่าอย่ทู ี่ 1.0 กก.บีโอดี/ลบ.ม./วัน [6] และเมือ่ ผา่ นถังท่ี 2 (ถงั ไนตรฟิ เิ คชัน) ประสิทธิภาพเฉลี่ย
รวมของระบบจะเพิ่มข้ึนเป็น 97.9% โดยความสัมพันธ์ระหว่างอัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพ้ืนที่ตัวกลางและอัตราการบ้าบัด
สารอนิ ทรียต์ ่อพน้ื ท่ีตวั กลางมีความสมั พันธ์ในลักษณะเป็นเสน้ ตรง ดังรปู ท่ี 1

รปู ที่ 3 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งอัตราภาระสารอนิ ทรีย์ต่อพืน้ ที่ตัวกลางและอัตราการบ้าบัดสารอนิ ทรีย์ตอ่ พ้นื ทตี่ ัวกลาง
ที่สภาวะการเดนิ ระบบต่าง ๆ

แอมโมเนียท่ีเข้าสู่ระบบมีความเข้มข้นคงที่ที่ 20 มก./ล. ส่วนหน่ึงถูกน้าไปใช้ในกระบวนการสร้างเซลล์ของจุลชีพ และถูก
บ้าบัดในถังท่ี 1 คิดเป็นประสิทธิภาพ 94-99% จากนั้นเมื่อผ่านถังท่ี 2 สามารถบ้าบัดแอมโมเนียได้ประสิทธิภาพสูงถึง 97-100%
ซึ่งจะเหน็ ได้ว่าถึงแม้มกี ารเพม่ิ อตั ราภาระสารอนิ ทรยี ์ต่อพืน้ ที่ตัวกลางเพิ่มขน้ึ ประสิทธภิ าพการบ้าบัดแอมโมเนียยังมีประสิทธิภาพ
สงู ทท่ี ุกสภาวะทท่ี า้ การเดนิ ระบบ โดยทใี่ นสภาวะคงตวั เมอ่ื พจิ ารณาปรมิ าณไนโตรเจนทง้ั หมดในน้าออก พบว่า ทุกสภาวะการเดิน
ระบบน้าออกจะมีไนเตรทเป็นองค์ประกอบหลัก และมีไนไตรท์เพียงเล็กน้อย แสดงดังรูปท่ี 4 ซ่ึงปริมาณไนโตรเจนท้ังหมดในน้า
ออกเมื่อเทียบกับปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดที่เข้าสู่ระบบ พบว่า ในน้าออกมีปริมาณไนโตรเจนท้ังหมดลดลงจากสภาวะการเดิน
ระบบท่ี 1 ถึง 4 เนอื่ งจากเม่ือมีการเพิ่มอัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพื้นที่ตัวกลาง ย่อมส่งผลให้ซีโอดีของระบบเพิ่มข้ึนด้วย ปริมาณ
แอมโมเนียที่ถูกน้าไปใช้ในกระบวนการสร้างเซลล์ของจุลชีพจึงเพ่ิมข้ึนตาม จากการทดลองได้ค่าสัดส่วนของซีโอดีต่อไนโตรเจน
150:3.4, 150:3.4, 150:5 และ 150:3.4 ตามลา้ ดับ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 239 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกร รม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเ ทศ ไทย

 

100

90

รอ้ยละของไนโตรเจนในน้ออก 80
เท้ยบก้บไนโตรเจนทเ้ข้ระบบ
70

60

50

40

30

20

10

0 23 4
1 สภ วะก รเดน้ระบบ

แอมโมเน้ย ไนเตรท ไนไตรท้ จล้ช้พน้ไปใช้สร้งเซลล้

รปู ท่ี 4 สดั ส่วนของแอมโมเนยี ไนไตรท์ ไนเตรทในน้าที่ออกจากระบบต่อไนโตรเจนทงั้ หมดท่เี ขา้ ระบบ
ที่สภาวะการเดนิ ระบบต่างๆ

จากประสทิ ธิภาพของการบ้าบดั สารอนิ ทรีย์และแอมโมเนียของน้าเสียความเข้มข้นต่้าที่มีค่าอัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพ้ืนที่
ตัวกลางต่้า ท้ัง 4 สภาวะ ซ่ึงเดินระบบที่เวลากักเก็บน้าถังละ 3 ชั่วโมง (รวมสองถังมีเวลากักเก็บน้า 6 ช่ัวโมง) จะเห็นได้ว่ายัง
สามารถลดระยะเวลากกั เก็บนา้ ลงไดอ้ ีก โดยทีป่ ระสิทธิภาพของระบบยงั สงู อยู่ ซึ่งจะส่งผลใหร้ ะบบมีขนาดเลก็ ลง หรอื อาจสามารถ
รับน้าเสยี ได้มากขึ้นท่ีขนาดระบบเท่าเดมิ

จลุ ชพี แบบยึดติดและแขวนลอยในระบบ
ท่ีสภาวะคงตัวจุลชีพท่ียึดเกาะบนตัวกลางท่ีอัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพ้ืนท่ีตัวกลางทั้ง 4 สภาวะ มีปริมาณจุลชีพท่ียึด

เกาะบนตัวกลางของถังก้าจัดสารอินทรีย์คาร์บอน 1,480 1,850 2,070 และ 6,080 มก.VSS/ล.ของน้าในถังปฏิกรณ์ ตามล้าดับ
ปริมาณจุลชีพที่ยึดเกาะบนตัวกลางของถังไนตริฟิเคชันทั้ง 4 สภาวะ มีปริมาณใกล้เคียงกันท่ี 420-570 มก.VSS/ล. จะเห็นได้ว่า
ปรมิ าณจลุ ชีพรวม (จลุ ชีพแบบยึดเกาะและแขวนลอย) ในระบบ MBBR สูงกว่าระบบตะกอนแขวนลอยท่ัวไปอย่างชัดเจน โดยเมื่อ
อตั ราภาระสารอนิ ทรีย์สูงขึ้น ท่ีระยะเวลากักเก็บน้าเท่ากัน จะส่งผลให้จุลชีพที่ยึดเกาะบนตัวกลางหนาขึ้น แสดงดังรูปท่ี 5 และมี
อัตราการหลดุ ของจลุ ชพี มากขึน้ ท้าให้ปริมาณจุลชพี แขวนลอยในระบบเพ่ิมข้ึน แต่ทั้งนี้สัดส่วนของปริมาณจุลชีพแขวนลอยต่อจุล
ชีพรวมในระบบ (จุลชีพแบบยึดเกาะและแขวนลอย) มีปริมาณน้อยมาก โดยมีจุลชีพแขวนลอยเพียง 1-3% ของจุลชีพทั้งหมดใน
ระบบ ดังนน้ั การท้างานของระบบ MBBR จึงขึ้นกับ จุลชีพที่ยึดเกาะบนตัวกลางเป็นส้าคัญ สัดส่วนปริมาณจุลชีพบนตัวกลางและ
จุลชพี แขวนลอยแสดงดังรปู ที่ 6

รูปท่ี 5 การยึดเกาะของจุลชีพบนตัวกลางทสี่ ภาวะการเดินระบบตา่ ง ๆ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 240 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

100 8.0

ส้ดสว้นปร้มณจ้ลช้พบนตว้กล ง
และจ้ลช้พแขวนลอย(%)

ปร้ม ณจ้ลช้พในระบบ (กร้ม/ล้ตร)
80 6.0

60
4.0

40

20 2.0

0 23 0.0
1 สภ วะก รเดน้ระบบ 4

สดัสัวนจัลชพับนตวักล ง สดัสัวนจลัชพัแขวนลอย ปรมั ณจลัชพัในระบบ

รูปท่ี 6 สัดส่วนปริมาณจุลชพี บนตัวกลางและจลุ ชพี แขวนลอย

เมื่อพิจารณาสัดส่วนระหว่างปริมาณจุลชีพท่ีเกิดข้ึนต่อสารอินทรีย์ที่ถูกก้าจัดจะได้เป็นค่ายีลด์ (observed yield) ของ
จุลชีพในระบบ ซ่ึงท่ีสภาวะการเดินระบบท้ัง 4 สภาวะได้ค่ายีลด์เท่ากับ 0.16, 0.17, 0.14 และ 0.19 ก.VSS/ก.ซีโอดี ตามล้าดับ
จะเหน็ ไดว้ า่ มคี า่ ต้่ากว่าค่ายลี ด์ของระบบระบบแอกทเิ วเตด็ สลดั จ์แบบทว่ั ไปซ่งึ มีคา่ ประมาณ 0.45 ก.VSS/ก.ซโี อดี [6] ทั้งน้ีผลการ
ทดลองสอดคล้องกับงานวิจัยอ่นื ซึ่งทา้ การทดลองท่อี ัตราภาระสารอนิ ทรยี ต์ ่อพนื้ ที่ตวั กลาง 2 และ 35 ก.ซโี อดี/ตร.ม./วัน ไดค้ ่ายีลด์
เท่ากบั 0.12 และ 0.40 ก.TSS/ก.ซีโอดี ตามล้าดบั [7]

ปรมิ าณตะกอนทเี่ กดิ ขน้ึ ของระบบ (Sludge production) หรือปริมาณจุลชีพท่หี ลุดออกจากฟิล์มชีวภาพของระบบมีค่า
0.24 ก.ของแข็งแขวนลอย/วัน ที่อัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพื้นท่ีตัวกลางต่้าสุด และ 1.08 ก.ของแข็งแขวนลอย/วัน ที่อัตราภาระ
สารอินทรีย์ต่อพื้นท่ีตัวกลางสูงสุด โดยความสัมพันธ์ของปริมาณตะกอนท่ีเกิดข้ึนกับอัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพ้ืนที่ตัวกลางมี
ความสัมพันธ์เป็นเส้นตรงดังรูปท่ี 7 ซึ่งการที่ปริมาณตะกอนที่เกิดข้ึนต่อวันต้่า ท้าให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในส่วนของการจัดการ
ตะกอนส่วนเกินได้ จากงานวจิ ยั พบว่า ค่าใช้จ่ายในการจัดการกับตะกอนส่วนเกินของระบบทั่วไปน้ันคิดเป็นร้อยละ 50 ถึงร้อยละ
60 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการบ้าบัดน้าเสีย [8] โดยเมื่อท้าการค้านวณปริมาณตะกอนท่ีต้องก้าจัดต่อวันเปรียบเทียบกับระบบ
แอกทเิ วเต็ดสลัดจ์แบบท่วั ไป พบวา่ ทีส่ ภาวะการเดินระบบเหมอื นกนั ระบบแอกทิเวเต็ดสลดั จ์แบบทวั่ ไปมปี ริมาณตะกอนทต่ี อ้ งทงิ้
ตอ่ วนั มากกว่าระบบ MBBR ประมาณ 1.5-2 เท่า ซึ่งแสดงให้เห็นข้อได้เปรียบของระบบ MBBR นี้เม่ือเทียบกับระบบแอกทิเวเต็ด
สลัดจ์แบบท่ัวไป

รูปท่ี 7 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าณตะกอนทเ่ี กิดขนึ้ ต่อวนั และอตั ราการบา้ บัดสารอนิ ทรีย์ต่อพนื้ ท่ีตวั กลาง
ทสี่ ภาวะการเดินระบบต่าง ๆ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 241 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกร รม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเ ทศ ไทย

 

อายุตะกอน (Sludge Retention Time, SRT) ของระบบ สามารถคา้ นวณไดจ้ ากปรมิ าณจุลชพี ในถังเตมิ อากาศหารด้วย
อตั ราการท้ิงและหลุดออกจากระบบของจุลชีพในหน่วยมวลจุลชีพต่อเวลา ในการทดลองพบว่า อายุตะกอนของระบบอยู่ท่ี 9.65,
7.03, 7.02 และ 6.97 ตามลา้ ดบั ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับงานวิจัยอื่นท่ีท้าการทดลองที่อัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพ้ืนที่ตัวกลาง 6, 12,
24, 48, 96 ก.ซีโอดี/ตร.ม./วัน โดยมีค่าอายุตะกอนอยู่ที่ 13.3, 2.2, 1.4, 0.9, และ 0.5 วัน ตามล้าดับ [9] โดยเมื่ออายุตะกอน
ลดลงส่งผลให้ปฏิกิริยาไนตริฟิเคชันเกิดได้น้อยลง จะเห็นได้ว่าในสภาวะการเดินระบบท่ี 3 และ 4 มีแอมโมเนียที่เหลือในน้าออก
สงู ข้ึน แต่ยงั คงมีประสิทธิภาพในการบา้ บดั ทั้งสารอินทรยี ์ในรูปซีโอดีและไนโตรเจนสูงเปน็ ท่ีน่าพอใจ

สรปุ

ระบบบ้าบัดน้าเสียแบบถังปฏิกรณฟ์ ลิ ์มชีวภาพชนดิ ตวั กลางเคลอ่ื นท่ี (MBBR) ทใี่ ช้บ้าบดั นา้ เสียท่ีมคี วามเข้มขน้ ต้่า ซึ่งมักพบ
ในระบบรวบรวมน้าเสียของกรุงเทพมหานคร มีประสิทธิภาพในการบ้าบัดซีโอดีและแอมโมเนียได้สูง มีปริมาณจุลชีพในระบบสูง
กว่าระบบตะกอนแขวนลอยทั่วไป โดยจุลชีพในระบบร้อยละ 97-99 เป็นแบบยึดเกาะบนตัวกลาง ส่งผลให้ระบบมีขนาดเล็กลง
อยา่ งมากเมอ่ื เทียบกับระบบแอกทิเวเตด็ สลดั จ์ อีกทง้ั การเดนิ ระบบสามารถทา้ ได้งา่ ยกวา่ เนอื่ งจากไม่ตอ้ งมีการเวียนตะกอนจุลชีพ
จากก้นถังตกตะกอนกลับเข้าสู่ระบบ และไม่ต้องมีการควบคุมการทิ้งตะกอนเพ่ือควบคุมอายุตะกอน (SRT) นอกจากน้ีระบบ
MBBR มีปริมาณตะกอนที่เกิดข้ึนต่อวันต้่า ส่งผลให้ปริมาณตะกอนที่ต้องถูกน้าไปก้าจัดมีปริมาณลดลงเม่ือเทียบกับระบบตะกอน
แขวนลอยท่ัวไป ทา้ ให้สามารถลดคา่ ใช้จา่ ยในการเดินระบบได้ โดยในการเดินระบบยังไม่พบขอ้ จ้ากดั

กิตติกรรมประกาศ

งานวจิ ัยนี้ได้รับเงินสนับสนุนจากภาควชิ าวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้รับ
ความอนเุ คราะห์ตัวกลางพลาสติกจากบริษัท อาควา นชิ ฮิ าร่า คอร์ปอเรช่ัน จ้ากดั

เอกสารอ้างอิง

[1] Bassin, J.P., Cao, E., Laranjeira, Y. and Dezotti, M. Effect of increasing organic loading rates on the performance
of moving-bed biofilm reactors filled with different support media: Assessing the activity of suspended and
attached biomass fractions. Process Safety and Environmental Protection 100 (2016): 131-141.

[2] Hu, B., Wheatley, A., Ishtchenko, V., Huddersman, K., 2011. The effect of shock loads on SAF bioreactors
for sewage treatment works. Chem. Eng. J. 166, 73–80.

[3] Rusten, B., Ødegaard, H., Lundar, A., (1992). Treatment of dairy wastewater in a novel moving bed
biofilm reactor. Water Sci- ence and Technology, 26(3–4), 703–711.

[4] WERF. Mass transfer characteristics of floating media in MBBR and IFAS fixed-film systems. IWA Publishing (2014).
[5] Hajipour, A., Moghadam, N., Nosrati, M., Shojaosadati, S.A., 201. Aerobic thermophilic treatment of landfill

leachate in moving-bed biofilm bioreactor. Iranian Journal of Health Science and Engineering 8, 3-14.
[6] Metcalf andEddy. Wastewater Engineering Treatment and Resource Recovery. fifth. New York: McGraw-Hill, 2014.
[7] -Martinez, S., (2002). A new low-cost biofilm carrier for the treatment of

municipal wastewater in a moving bed reactor. 5th specialized conference on small water and
wastewater treatment systems, Istanbul-Turkey, 863–870.
[8] Kulikowska, D., Klimiuk, E., Drzewicki, A., (2007), BOD5 and COD removal and sludge production in SBR
working with or without anoxic phase. Bioresource Technology, 98(7), 1426–1432.
[9] Aygun, A., Nas, B. and Berktay, A. Influence of High Organic Loading Rates on COD Removal and Sludge
Production in Moving Bed Biofilm Reactor. Environmental Engineering Science 25(9) (2008): 1311-1316

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 242 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

040

การบา้ บดั น้าเสียอุตสาหกรรมปลากระปอ๋ งดว้ ยตน้ แบบถงั ปฏกิ รณ์
ชีวภาพไรอ้ ากาศแบบตัวกลางเคลอื่ นท่โี ดยใชพ้ วี ีเอเจลเปน็ ตวั กลาง
Treatment of Fish Canning Industry Wastewater Using

a Pilot-Scale Anaerobic Moving Bed Biofilm Reactor
with PVA Gel as Media

อคั รวินท์ จิรศรณั ยพ์ ร1 เบญจพร สุวรรณศลิ ป์2,3,4 และ เจนยุกต์ โลหํ ์วชั รนิ ทร์2,3,4
Akarawin Jirasaranporn1 Benjaporn Suwannasilp2,3,4 and Jenyuk Lohwacharin2,3,4
1นสิ ิตระดบั มหาบณั ฑิตศึกษา ภาควชิ าวศิ วกรรมสิง่ แวดลอ๎ ม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั กรงุ เทพฯ 10330
2อาจารย์ประจาภาควิชาวิศวกรรมส่ิงแวดล๎อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กรุงเทพฯ 10330
3Research Network of NANOTEC – CU on Environment, Department of Environmental Engineering,

Chulalongkorn University, Thailand
4กลุํมวิจัยเทคโนโลยชี วี ภาพสาหรบั วศิ วกรรมน้าเสยี จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั กรงุ เทพฯ
โทรศพั ท์ : 0 2218 6667, โทรสาร : 0 2218 6666, E-mail : [email protected]

บทคดั ย่อ

งานวิจัยนี้ทาการศึกษาประสิทธิภาพการบาบัดน้าเสียในระดับนารํอง ด๎วยถังปฏิกรณ์ชีวภาพไร๎อากาศแบบตัวกลาง
เคลอ่ื นทโี่ ดยใช๎ตวั กลางพีวีเอเจล เพ่อื บาบัดนา้ เสียโรงงานปลากระป๋องซ่งึ ประกอบดว๎ ยสารอินทรยี ์ นา้ มนั และไขมนั สูง โดยทาการ
ทดลองบํมตัวกลางพีวีเอเจลกับหัวเช้ือด๎วยน้าเสียจริงจากโรงงานปลากระป๋องท่ีเติมสารอาหารท้ังหมดและโซเดียมไบคาร์บอเนต
เพียงพอเป็นเวลา 1 เดือน จากน้ันนาตัวกลางที่ที่บํมแล๎วเข๎าสํูระบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพไร๎อากาศแบบตัวกลางเคล่ือนท่ีเพ่ือให๎เข้ือ
จลุ ินทรียป์ รับตัวกบั การรับน้าเสยี ตอํ เน่ือง จากนั้นคํอย ๆ ปรับอตั ราการเวยี นนา้ เพม่ิ ขึ้นจนกระทงั่ ถงึ อัตราการเวียนน้าท่ีออกแบบไว๎
(1.5 เมตรตํอชม.) เมื่อระบบคงท่แี ล๎วจงึ เริ่มการทดลองการศึกษาประสิทธิภาพการบาบัดน้าเสียที่อัตราภาระสารอินทรีย์ท่ีแตกตําง
กนั ที่ 3.0 4.3 6.5 และ 8.7 กก.ซีโอดี/ลบ.ม./วัน จากการปรับอัตราไหลของน้าขาเข๎าระบบที่ 350 500 750 และ 1,000 ลิตรตํอ
วัน พบวําประสิทธิภาพการบาบัดสารอินทรีย์จากคําซีโอดีท้ังหมดและซีโอดีกรองของระบบในชํวงอัตราไหล 350 ลิตรตํอวัน คือ
72.4 ± 6.4% และ 81.0 ± 12.4% ตามลาดับ ในชวํ งอัตราไหล 500 ลติ รตอํ วนั คือ 65.5 ± 6.1% และ 76.8 ± 8.2% ตามลาดับ
ในชํวงอัตราไหล 750 ลิตรตํอวัน คือ 64.7 ± 4.7% และ 74.7 ± 6.2% ตามลาดับ และในชํวงอัตราไหล 1,000 ลิตรตํอวันคือ
61.1 ± 7.8% และ 70.6 ± 12.4% ตามลาดับ

ค้าสา้ คญั : การบาบดั แบบไรอ๎ ากาศ, ถงั ปฏกิ รณ์ชวี ภาพไร๎อากาศแบบตวั กลางเคลอ่ื นที่, โพลไี วนิลแอลกอฮอล์เจล,
ระดับนารํอง, น้าเสยี จากอาหาร

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 243 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

Abstract

This research aims to study the efficiencies of a pilot-scale anaerobic moving bed biofilm (AnMBBR)
reactor with PVA gels as media treating real wastewater from canned fish factory containing high organic
compounds and high oil and grease. PVA gels were incubated with seed sludge and real wastewater from the
canned fish factory with sufficient nutrients and sodium bicarbonate for a month. Then, PVA gels were
transferred into the AnMBBR allowing microbes to adapt to continuous flow conditions. Then, upflow
recirculation rates were gradually increased to reach the designed value (1.5 m/h). When the system reached
a steady state, COD removal efficiencies at the different organic loading rates were investigated at 3.0, 4.3,
6.5, and 8.7 kgCOD/m3/day by adjusting inlet flowrates at 350, 500, 750, and 1,000 L/d, respectively. The
results show that the total COD and soluble COD removal efficiencies of the system during the 350 L/d
flowrate were 72.4 ± 6.4% and 81.0 ± 12.4%, respectively. For the flowrate of 500 L/d, the total COD and
soluble COD removal efficiencies were 65.5 ± 6.1% and 76.8 ± 8.2%, respectively. For the flowrate of 750 L/d,
they were 64.7 ± 4.7% and 74.7 ± 6.2%, respectively. Finally, for the flowrate of 1,000 L/d, the total COD and
soluble COD removal efficiencies were 61.1 ± 7.8% and 70.6 ± 12.4%, respectively.

Keywords: Anaerobic treatment, AnMBBR (Anaerobic Moving Bed Biofilm Reactor), Polyvinyl alcohol gel (PVA
gel), Pilot-scale, Food wastewater

1. บทน้า

อตุ สาหกรรมอาหารเปน็ หนง่ึ ในอตุ สาหกรรมหลักในประเทศไทยซึง่ มีสัดสํวนประมาณ 23% ของจดี พี ี (Gross Domestic
Product, GDP) ของประเทศ โดยทว่ั ไปแล๎วนา้ เสียจากอุตสาหกรรมอาหารจะมีสารประกอบอินทรีย์ในปริมาณสูงซึ่งอาจทาให๎เกิด
ปัญหาสิ่งแวดล๎อมหลายประการหากไมํได๎รับการบาบัดอยํางเหมาะสม การบาบัดน้าเสียแบบไร๎อากาศเป็นวิธีที่เหมาะสมท่ีสุดใน
การบาบัดน้าเสียที่มีสารอินทรีย์ที่สูงเน่ืองจากสามารถใช๎งบประมาณต๎นทุนได๎อยํางมีประสิทธิภาพและสามารถผลิตพลังงาน
ทดแทนในรูปแบบของก๏าซชีวภาพ ในประเทศไทยระบบช้ันตะกอนจุลินทรีย์ไร๎อากาศแบบไหลขึ้น (Upflow Anaerobic Sludge
Blanket, UASB) เป็นระบบทใ่ี ช๎กันอยํางแพรหํ ลาย อยาํ งไรก็ตามมักจะมปี ัญหาเก่ียวกับการแตกของเม็ดตะกอนโดยเฉพาะอยํางยงิ่
สาหรับนา้ เสยี บางประเภท เทคโนโลยกี ารบาบดั น้าเสียแบบไร๎อากาศแบบทางเลือกที่จะกาจดั ปญั หาเหลาํ น้ีจึงเป็นส่ิงจาเปน็

ระบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพไร๎อากาศแบบตัวกลางเคล่ือนที่ (Anaerobic Moving Bed Biofilm Reactor, AnMBBR) ที่ใช๎
โพลีไวนิลแอลกอฮอล์เจลหรือพีวีเอเจล (Polyvinyl Alcohol Gel, PVA gel) เป็นตัวกลางเป็นเทคโนโลยีการบาบัดน้าเสียแบบไร๎
อากาศที่มีแนวโน๎มที่สามารถกาจัดปัญหาการสร๎างเม็ดตะกอนท่ีพบในระบบชั้นตะกอนจุลินทรีย์ไร๎อากาศแบบไหลข้ึน (UASB)
ในขณะทรี่ ะบบถงั ปฏิกรณ์ชีวภาพไรอ๎ ากาศแบบตวั กลางเคลอื่ นท่ี (AnMBBR) มกี ารกักเก็บเช้ือตะกอนเป็นกระบวนการเติบโตแบบ
เกาะยึดติด (Attached growth) ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือเล้ียงเชื้อตะกอนบนตัวกลางเพื่อป้องกันการหลุดของเชื้อตะกอน งานวิจัย
สํวนใหญํกํอนหน๎านี้มีเป้าหมายที่จะใช๎พีวีเอเจล (PVA gel) เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการบาบัดสารอินทรีย์ด๎วยระบบถังปฏิกรณ์
ประเภทตําง ๆ ท้ังน้ีการศึกษาสํวนใหญํดาเนินการโดยใช๎น้าเสียสังเคราะห์ในระดับห๎องปฏิบัติการ [1, 2, 3, 4] มีการศึกษากํอน
หน๎าน้ีเพียง 2 งานท่ีมีการบาบัดน้าเสียแบบไร๎อากาศกับพีวีเอเจล (PVA gel) โดยใช๎น้าเสียจริง คือน้าเสียรีไซเคิลจากขยะอาหาร
ผสมกับน้าเสียชุมชน [5] และน้าเสียทางเภสัชกรรมผสมกับน้าเสียจาลองท่ีมีกลูโคส [6] อยํางไรก็ตามทั้งหมดยังคงอยูํในระดับ
ห๎องปฏิบตั กิ าร ทาใหม๎ ีความจาเป็นในการทดสอบระดับนารํอง (Pilot-scale) เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหมํน้ี กํอนนาไปใช๎กับโรงบาบัด
นา้ เสยี แบบเตม็ รปู แบบ (Full-scale)

ดังน้ันวัตถุประสงค์หลักของการวิจัยคือเพ่ือศึกษาการทางานของถังปฏิกรณ์ชีวภาพไร๎อากาศแบบตัวกลางเคลื่อนที่
(AnMBBR) ระดบั นารอํ ง (Pilot-scale) โดยใช๎พวี เี อเจล (PVA gel) เปน็ ตวั กลางในการบาบดั น้าเสียจรงิ จากอุตสาหกรรมอาหารใน
อัตราการบรรทกุ สารอนิ ทรียต์ าํ ง ๆ ประสบการณแ์ ละความรเ๎ู ก่ยี วกบั การทางานของการเดินระบบถังปฏกิ รณ์ชีวภาพไร๎อากาศแบบ
ตวั กลางเคล่อื นที่ (AnMBBR) ในระดับนารํอง (Pilot-scale) โดยใช๎พีวีเอเจล (PVA gel) เป็นตัวกลางจะถูกนามาแบํงปัน อภิปราย
เก่ยี วกับปัญหาและแนวทางแก๎ไขซ่ึงจะเปน็ ประโยชนอ์ ยํางมากสาหรบั การใชง๎ านแบบเตม็ รปู แบบ (Full-scale)

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 244 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

2. อปุ กรณแ์ ละวิธกี าร

งานวจิ ัยนีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาประสทิ ธภิ าพของระบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพไร๎อากาศแบบตัวกลางเคลื่อนที่ (AnMBBR)
ในระดับนารํอง (Pilot-scale) โดยใช๎พีวีเอเจล (PVA gel) จากบริษัท Kuraray Co. , Ltd เป็นตัวกลาง โดยถังปฏิกรณ์ต้ังอยํูที่
โรงงานบาบดั น้าเสียในอตุ สาหกรรมปลากระป๋องของ บริษัท รอยัลฟู้ดส์ จากัด ท่ีจังหวัดสมุทรสาคร ประเทศไทย โดยถังปฏิกรณ์
ถกู ป้อนนา้ เสียอยาํ งตํอเนือ่ งดว๎ ยนา้ เสียสวํ นใสจากถงั ปรบั เสถียร ท่ีผํานกระบวนการบาบัดเบ้อื งตน๎ ประกอบด๎วยตะแกรงและบํอดัก
ไขมัน ซึ่งนา้ เสียน้ีถอื เปน็ ตวั แทนของอุตสาหกรรมอาหาร โดยงานวิจัยนส้ี ามารถแบํงออกเปน็ 3 สวํ นดังนี้
2.1 การบ่มเมด็ พวี ีเอเจล (PVA gels)

การทดลองสํวนนม้ี วี ัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เลี้ยงเชอื้ จุลนิ ทรยี ์ท่ีมคี วามเหมาะสมสาหรบั การยํอยสลายสารประกอบอินทรีย์ไว๎บน
ตัวกลางเมด็ พวี ีเอเจล (PVA gel) ในถงั ปฏิกรณ์แบบทีละเท (Batch) โดยใช๎หัวเชื้อจุลินทรีย์ (Seed) จากระบบช้ันตะกอนจุลินทรีย์
ไร๎อากาศแบบไหลข้ึน (Upflow Anaerobic Sludge Blanket, UASB) ของทางโรงงานปลากระป๋องดังรูปท่ี 1 ปั่นละเอียด 15 ลิตร
ผสมกบั เมด็ พีวเี อเจล 35 ลติ ร น้าเสียจรงิ จากทางโรงงาน 15 ลิตร โซเดียมไบคาร์บอเนต และสารอาหารท่ีเพียงพอจากนั้นผสมให๎
เขา๎ กนั ทาซ้าสามถงั โดยเปลีย่ นนา้ ใสสวํ นบนทุก 2 วันพร๎อมทั้งเตมิ โซเดียมไบคารบ์ อเนต และสารอาหารตามสัดสํวนจนกระทั่งครบ
1 เดอื น

รูปที่ 1 หัวเช้อื จลุ นิ ทรยี ์ก่อนและหลงั ปน่ั ละเอยี ด

2.2 การเร่ิมตน้ ระบบถงั ปฏกิ รณช์ ีวภาพไร้อากาศแบบตัวกลางเคล่ือนท่ี (AnMBBR) ระดับน้าร่อง (Pilot-scale) โดยใช้พีวีเอ
เจล (PVA gel) เปน็ ตวั กลาง

ในสํวนน้ีระบบถังปฏกิ รณ์จะนาตวั กลางพีวเี อเจล (PVA gels) มาเดนิ ระบบอยํางตํอเนื่องท่ีอัตราการไหลน้าขาเข๎าที่ 350
ลติ รตอํ วัน ซึ่งเป็นอตั ราภาระสารอินทรีย์ 3.0 กก.ซีโอดี/ลบ.ม./วัน และอัตราการเวยี นนา้ ท่ี 0.5 เมตรตํอช่วั โมงซึง่ ตวั กลางพีวเี อเจล
(PVA gels) ขยายตัว 30% ของปริมาตรชน้ั ตัวกลางเริ่มตน๎ (30 % bed expansion) เพ่อื สงํ เสรมิ การเตบิ โตของจุลินทรยี ์ในเมด็ พวี ี
เอเจล (PVA gels) จากนั้นคํอยๆเพ่ิมอัตราการเวียนน้าให๎ถึงท่ีออกแบบไว๎ท่ี 1.5 เมตรตํอชั่วโมง ซ่ึงตัวกลางพีวีเอเจล (PVA gels)
ขยายตัว 40 - 50% ของปริมาตรช้ันตัวกลางเร่ิมต๎น (40-50% bed expansion) เพื่อให๎เวลาจุลินทรีย์ปรับตัวกํอนการเดินระบบ
จรงิ พร๎อมท้ังเตรียมความพรอ๎ มและแก๎ปัญหาที่เกิดขึน้ กบั การเดนิ ระบบ ตวั อยํางน้าขาเขา๎ และออกถูกเกบ็ ดังรูปที่ 2 เพื่อวิเคราะห์
ประสิทธภิ าพการบาบัดจนกระทง่ั ระบบคงท่ี

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 245 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

จุดเก็บตัวอยําง จดุ เกบ็ ตัวอยําง
น้าขาเขา๎ น้าขาออก

รูปที่ 2 จดุ เกบ็ ตัวอยา่ งระบบถงั ปฏกิ รณ์ชวี ภาพไรอ้ ากาศแบบตัวกลางเคลื่อนที่ (AnMBBR) ระดับนา้ ร่อง (Pilot-scale)

2.3 การศึกษาระบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพไร้อากาศแบบตัวกลางเคล่ือนท่ี (AnMBBR) ระดับน้าร่อง (Pilot-scale) โดยใช้พีวีเอ
เจล (PVA gel) เป็นตวั กลางที่อตั ราภาระสารอนิ ทรยี ท์ แี่ ตกตา่ งกัน

ประสทิ ธิภาพการบาบัดสารอินทรีย์จะถูกศึกษาที่อัตราภาระสารอินทรีย์ 4 คํา โดยแตํละคําเป็นระยะเวลาประมาณ 45
วัน ซึ่งจะถูกควบคมุ โดยอตั ราการไหลของน้าซึง่ สอดคลอ๎ งกบั การปรบั ระยะเวลาการกกั เก็บนา้ (Hydraulic retention time, HRT)
ดงั ตารางที่ 1 ผลลพั ธ์จากสํวนน้จี ะใหข๎ ๎อมลู เกีย่ วกับอัตราการภาระสารอินทรีย์ที่เหมาะสมซ่ึงสามารถนาไปใช๎ในการออกแบบทาง
วิศวกรรมของระบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพไร๎อากาศแบบตัวกลางเคล่ือนท่ี (AnMBBR) โดยใช๎พีวีเอเจล (PVA gel) เป็นตัวกลางใน
อนาคต

ตารางท่ี 1 การควบคุมอัตราภาระสารอินทรีย์จากการปรับอตั ราไหลนา้ ขาเข้า

อตั ราไหลนา้ ขาเข้า ปริมาตรถังปฏิกรณ์ ระยะเวลาการกักเกบ็ นา้ (ช่ัวโมง) อัตราภาระสารอนิ ทรีย์
(ลติ ร/วนั ) (ลิตร) (กก.ซีโอดี/ลบ.ม./วัน)

350 288 19.8 3.0
4.3
500 288 13.8 6.5
8.7
750 288 9.2

1,000 288 6.9

จากตารางท่ี 1 อัตราภาระสารอินทรีย์สามารถคานวณได๎จากสมการ อัตราภาระสารอินทรีย์ = อตั ราไหลน้าขาเข๎า ซโี อดี
ปรมิ าตรถงั ปฏกิ รณ์

โดยตัวน้าเสียจริงจากทางโรงงานมีลักษณะน้าเสียท่ีมีปริมาณสารอินทรีย์อยํูที่ 2,500-4,500 มิลลิกรัมซีโอดี/ลิตรและการหา

ระยะเวลาการกักเก็บน้าดังสมการ ระยะเวลาการกักเก็บน้า = ปรมิ าตรถังปฏิกรณ์ ซ่ึงจากการทดลองเบื้องต๎นพบวําการควบคุมคํา
อัตราไหลนา้ ขาเขา๎
อัตราภาระสารอินทรีย์ท่ีสนใจไมํสามารถคุมได๎จากปริมาณสารอินทรีย์ในน้าเสีย จึงต๎องควบคุมอัตราภาระสารอินทรีย์จากอัตรา

ไหลของน้าขาเข๎าซ่ึงสะท๎อนถึงระยะเวลากักเก็บน้าภายในระบบด๎วยเชํนกัน จากการศึกษาระบะเวลากักเก็บน้าท่ีเหมาะสมกับ

ระบบถงั ปฏิกรณช์ วี ภาพไรอ๎ ากาศแบบตัวกลางเคลือ่ นท่ี [7] พบวาํ ระยะเวลาทีน่ อ๎ ยที่สดุ ท่ีถงั ปฏิกรณ์ควรมีคือมากกวํา 7 ช่ัวโมง ใน

อตั ราการไหล 1,000 ลติ ร/วัน ซึง่ เปน็ อัตราการไหลสูงสุดในงานวจิ ัยนี้

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 246 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

3. ผลการทดลองและวิจารณ์

3.1 การบม่ เม็ดพีวเี อเจล (PVA gels)
จากการทดลองพบวําคํา pH มีคํา 7.1 ± 0.1 และ ORP มีคํา -354 ± 48 ซึ่งท้ัง 2 คําเป็นชํวงคําท่ีเหมาะสมกับการ

เจริญเติบโตของกลํุมจุลินทรีย์ไร๎อากาศ ประสิทธิภาพการบาบัดสารอินทรีย์ของเม็ดพีวีเอเจลภายหลังจากการบํมเฉล่ียทั้ง 3 ถังมี
ประสิทธิภาพการบาบัดตามรูปที่ 3 และ 4 ณ ระยะเวลา 48 ชั่วโมงซีโอดีทั้งหมดกาจัดได๎ 42.9 ± 0.07% และซีโอดีกรองกาจัดได๎
46.7 ± 0.02% ณ ระยะเวลา 96 ช่ัวโมงประสทิ ธิภาพการกาจัดซโี อดีทั้งหมดและซีโอดีกรองคอื 71.4 ± 0% และ 71.4 ± 0.03%

ความเข๎มข๎น ีซโอดี (มก./ล.) 2500
2000
1500 20 40 60 80 100 120
1000 เวลา (ชัว่ โมง)
500

0
0

ความเ ๎ขมข๎น (มก./ล.) รูปท่ี 3 ความเขม้ ข้นซโี อดีทั้งหมด (มก./ล.) ในถงั บ่มทรี่ ะยะเวลาตา่ ง ๆ

2500
2000
1500
1000
500

0
0 20 40 60 80 100 120
เวลา (ชัว่ โมง)

รูปที่ 4 ความเข้มขน้ ซีโอดีกรอง (มก./ล.) ในถังบม่ ทร่ี ะยะเวลาตา่ ง ๆ

ซ่ึงจากผลการทดลองข๎างต๎นพบวําประสิทธิภาพการบาบัดสารอินทรีย์ของเม็ดพีวีเอเจล (PVA gels) ที่บํมแล๎วมี
ประสทิ ธภิ าพในการกาจัดสารอนิ ทรยี ไ์ ดส๎ ูงแตํใช๎เวลาคํอนข๎างนานเป็นผลเนื่องมาจากสารอินทรีย์ในน้าขาเข๎าในชํวงเวลาที่ทาการ
ทดลอง มคี าํ คํอนขา๎ งตา่ ทาใหก๎ ารบาบดั ในแงขํ องประสทิ ธภิ าพยงั ดไู มํสูงนกั

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 247 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

3.2 ประสิทธิภาพการบ้าบัดสารอินทรียใ์ นแตล่ ะอตั ราภาระสารอินทรยี ์
จากการทดลองพบวําลักษณะน้าเสียจริงจากทางโรงงานในแตํละวันแม๎ไมํมีการเปล่ียนวัตถุดิบ ยังคงมีความแปรปรวน

อยํางเห็นได๎ชัด ดังรูปที่ 5 และรูปที่ 6 ท้ังน้ีปริมาณสารอินทรีย์ในรูปซีโอดีทั้งหมดของน้าเสียขาเข๎าเมื่อวัตถุดิบเริ่มต๎นคือ ปลา
เม็กซิโก ปลาญ่ีปุ่น ปลาจีน และปลารัสเซีย คือ 3,708 ± 822 มิลลิกรัมซีโอดี/ลิตร 2,693 ± 542 มิลลิกรัมซีโอดี/ลิตร 2,868 ±
439 มลิ ลิกรมั ซโี อดี/ลิตร และ 3,515 ± 1,198 มลิ ลิกรมั ซโี อด/ี ลิตร ตามลาดับ และซีโอดีกรองของน้าเสียเมื่อใช๎ปลาชนิดดังกลําว
เป็นวัตถุดิบ คือ 1,842 ± 422 มิลลิกรัมซีโอดี/ลิตร 1,680 ± 369 มิลลิกรัมซีโอดี/ลิตร 1,662 ± 409 มิลลิกรัมซีโอดี/ลิตรและ
1,468 ± 344 มลิ ลกิ รมั ซีโอดี/ลติ ร ตามลาดับ

รปู ท่ี 5 ซโี อดขี าเข้า () ซโี อดีขาออก (●)

รูปที่ 6 ซโี อดกี รองขาเข้า () ซีโอดีกรองขาเขา้ (●)

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 248 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

จากการดาเนนิ การในระยะเวลากวาํ 6 เดือนทมี่ กี ารเปล่ียนองค์ประกอบของนา้ เสยี หลายครงั้ เน่อื งจากปลาที่เปน็ วตั ถดุ บิ
หลักในการผลิตมีการเปล่ียนแปลงตามฤดูกาล จะเห็นได๎วําการเปล่ียนแปลงตําง ๆ ไมํวําจะเป็นการปรับอัตราการไหลหรือการ
เปล่ียนวัตถุดิบจะทาให๎ประสิทธิภาพการบาบัดลดลงขณะหน่ึง กํอนจะปรับตัวสูงขึ้นในเวลาตํอมา โดยอัตราภาระสารอินทรีย์ ท่ี
อัตราการไหล 350 ลติ รตอํ วนั 500 ลติ รตํอวนั 750 ลิตรตอํ วนั และ 1,000 ลติ รตอํ วนั คอื 4.14 ± 1.33 กก.ซโี อดี/ลบ.ม.-วัน 5.38
± 1.22 กก.ซีโอด/ี ลบ.ม.-วนั 7.54 ± 1.53 กก.ซโี อดี/ลบ.ม.-วนั และ 12.50 ± 4.91 กก.ซโี อด/ี ลบ.ม.-วนั ตามลาดบั (คานวณจากซี
โอดีท้ังหมด) ประสิทธิภาพการบาบัดซีโอดีท้ังหมดและซีโอดีกรองของระบบในชํวงอัตราไหล 350 ลิตรตํอวัน คือ 72.4 ± 6.4%
และ 81.0 ± 12.4% ตามลาดับ ในชํวงอัตราไหล 500 ลิตรตํอวัน คือ 65.5 ± 6.1% และ 76.8 ± 8.2% ตามลาดับ ในชํวงอัตรา
ไหล 750 ลติ รตอํ วนั คอื 64.7 ± 4.7% และ 74.7 ± 6.2% ตามลาดับ และในชํวงอัตราไหล 1,000 ลิตรตํอวันคือ 61.1 ± 7.8%
และ 70.6 ± 12.4% ตามลาดับ

รปู ท่ี 7 ประสิทธภิ าพการบา้ บัดซโี อดี (x ซโี อดีทง้ั หมด และ ● ซีโอดีกรอง)

สาหรับคํา ORP (Oxidation Reduction Potential) ในระบบตลอดการทดลองมีคํา -385 ± 69 มิลลิโวลต์ แสดงให๎
เห็นวําสภาวะภายในของระบบเป็นสภาวะไร๎อากาศจริง คํา pH ภายในระบบตลอดการทดลองมีคําเฉล่ียคือ 7.12 ± 0.04 ซึ่งอยูํ
ในชวํ งทเี่ หมาะสมสาหรับจลุ ินทรีย์กลํุมไร๎อากาศ นอกจากนีอ้ ตั ราสํวนกรดอนิ ทรยี ์ระเหยตํอความเป็นดําง (VFA/Alkalinity) ตลอด
การทดลองเฉล่ียมีคํา 0.25 ± 0.07 ซ่ึงคําท่ีเหมาะสมคือ <0.4 แสดงให๎เห็นวําระบบมีความเป็นดํางท่ีเพียงพอสาหรับการควบคุม
การสะสมของกรดอินทรีย์ระเหย จากคําควบคุมระบบข๎างต๎นที่กลําวมาท้ังหมดจะเห็นได๎วําอยูํในชํวงท่ีเหมาะสมสาหรับการ
เจริญเติบโตของจลุ ินทรีย์ไร๎อากาศ เพื่อเปน็ การศกึ ษาประสิทธภิ าพสูงสุดในการทางานของกลํมุ จลุ ินทรีย์

4. สรุป

ระบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพไร๎อากาศแบบตัวกลางเคล่ือนท่ี (AnMBBR) ระดับนารํอง (Pilot-scale) โดยใช๎พีวีเอเจล (PVA
gel) เป็นตัวกลางสามารถบาบัดซีโอดีทั้งหมดและซีโอดีกรองท่ีอัตราการไหล 350 500 750 และ 1,000 ได๎มีประสิทธิภาพสูงเกิน
60% และ 70% ตามลาดบั แม๎วาํ จะมีการปรับเปลย่ี นองคป์ ระกอบของตัวน้าเสียเองดว๎ ยก็ตาม

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 249 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยนี้ได๎รับการสนับสนุนหลักจากบริษัท Kuraray Co., Ltd โดยได๎รับการอนุเคราะห์สถานท่ีและน้าเสียจริงจาก
บรษิ ัท รอยัลฟูด้ ส์ จากดั และไดร๎ ับการสนบั สนนุ บางสวํ นจาก Research Network Nanotec (RNN) program of the National
Nanotechnology Center (NANOTEC), NSTDA, Ministry of Science and Technology, Thailand.

เอกสารอ้างอิง

[1] Yue, J., Qinglin, X., and Wenjie, Z. 2016. High-strength ethylene glycol wastewater treatment in
anaerobic polyvinyl alcohol gel beads based biofilm reactor. Global Nest Journal 18(1): 46-54.

[2] Yin, Y., Zhuang, S., and Wang, J. 2018. Enhanced fermentative hydrogen production using gamma
irradiated sludge immobilized in polyvinyl alcohol (pva) gels. Environmental Progress and Sustainable
Energy 37(3): 1183-1190.

[3] Wang, J., Liang, J., Sun, L., and Gao, S. 2019. PVA/CS and PVA/CS/Fe gel beads’ synthesis mechanism
and their performance in cultivating anaerobic granular sludge. Chemosphere 219: 130-139.

[4] Chaikasem, S., Jacob, P., and Visvanathan, C. 2015. Performance improvement in a two-stage
thermophilic anaerobic membrane bioreactor using PVA-gel as biocarrier. Desalination and Water
Treatment 53(10): 2839-2849.

[5] Jeong, Y., Hermanowicz, S. W., and Park, C. 2017. Treatment of food waste recycling wastewater sing
anaerobic ceramic membrane bioreactor for biogas production in mainstream treatment process
of domestic wastewater. Water Research 123: 86-95.

[6] Wang, Y., Feng, M., Wang, Y., Liu, Y., Li, Y., and Zhang, B. 2018. Comparison of three types of anaerobic
granular sludge for treating pharmaceutical wastewater. Journal of Water Reuse and Desalination 8(4):
532-543.

[7] Sabzali, A., et al. (2012). "Performance evaluation of cigarette filter rods as a biofilm carrier in an
anaerobic moving bed biofilm reactor." 33(15): 1803-1810.

ขอ้ มูลอิเลก็ ทรอนิกส์

Thailand Board of Investment. (2016). Thailand’s Food Industry. [Online]. Source:
https://www.boi.go.th/index.php?page=business_opportunities_detail&topic_id=117522 [9 July 2018]

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 250 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

041

ผลของการเตมิ อากาศต่อประสทิ ธภิ าพการบาบัดแอมโมเนีย
จากน้าทงิ้ ฟารม์ สกุ รโดยใช้ถังปฏกิ รณแ์ ผ่นกั้นแบบฟลิ ์มตรงึ
Effect of Aeration on Performance of Ammonia

Removal from Swine Wastewater by Fixed
Film Baffled Reactor

อัณธกิ า เสงย่ี มใจ
Anthika Sa-ngiamjai
1*อาจารย์ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรส์ ่ิงแวดล้อม คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา พระนครศรอี ยุธยา 13000
*โทรศพั ท์ : 085-4228492, โทรสาร : 035-245888, E-mail : [email protected]

บทคดั ย่อ

มลพิษจากฟาร์มสุกรขนาดเล็กก่อให้เกิดปัญหาอย่างมากต่อแหล่งน้าผิวดิน งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและ
พัฒนาระบบบา้ บัดนา้ เสียฟารม์ สกุ ร โดยศกึ ษาถึงผลของการเติมอากาศต่อประสิทธิภาพการบ้าบัดแอมโมเนียจากน้าท้ิงฟาร์มสุกร
โดยใช้ถงั ปฏกิ รณแ์ ผ่นกน้ั แบบฟิล์มตรงึ ขนาดโตะ๊ ทดลอง เพื่อนา้ ไปเป็นแนวทางในการน้าไปใช้งานตอ่ ไป ได้แบ่งการทดลองออกเป็น
4 การทดลอง ได้แก่ 1) เติมอากาศในช่องที่ 1 เรียกการทดลอง FFBR1 2) เติมอากาศในช่องที่ 2 เรียกการทดลอง FFBR2
3) เติมอากาศในช่องท่ี 3 เรียกการทดลอง FFBR3 และ 4) เติมอากาศในช่องที่ 1 และ 3 เรียกการทดลอง FFBR4
โดยมีระยะเวลากักพักน้า 14.6 ชั่วโมง ใช้น้าเสียจากฟาร์มสุกรที่มีปริมาณแอมโมเนีย 50 มิลลิกรัมต่อลิตร ผลการทดลองพบว่า
การทดลอง FFBR2 มีประสิทธิภาพการบ้าบัดแอมโมเนียดีที่สุด รองลงมาได้แก่ FFBR3 FFBR1 และ FFBR4 โดยมีประสิทธิภาพ
การบ้าบัดแอมโมเนียร้อยละ 82.36±5.68 60.32±21.51 52±25.67 และ 52.32±20.58 ตามล้าดับ และในทุกการทดลอง
มปี ระสทิ ธภิ าพในการกา้ จดั ความข่นุ ใกลเ้ คียงกนั
คาสาคัญ : น้าเสยี ฟารม์ สุกร; แอมโมเนยี ; ถังปฏิกรณแ์ ผ่นก้ันแบบฟลิ ์มตรงึ

Abstract

Pollutants from pig farms have caused problems in many surface water reservoirs. The objective of
this research was development of swine wastewater system by studied effect of aeration on performance of
ammonia removal from swine wastewater by bench scale fixed film baffled reactor (FFBR) and reuse has
been proposed. The experiment was divided into four treatments: 1) The air was supplied only the first
chamber of the baffle reactor (FFBR1) 2) The air was supplied only the second chamber of the baffle reactor
(FFBR2) 3) The air was supplied only the third chamber of the baffle reactor (FFBR3) and 4) The air was
supplied the first and the third chamber of the baffle reactor (FFBR4). The hydraulic retention time was
controlled at 14.6 hours. Wastewater is taken from pig farm has ammonia concentration of 50 mg/L. The
results showed that, FFBR2 was highest ammonia treatment efficiency (82.36±5.68%). While FFBR3 FFBR1 and
FFBR4 was ammonia treatment efficiency 60.32±21.51 52±25.67 and 52.32±20.58, respectively. Subsequently,
all the experiments had the same effectiveness in eliminating turbidity.
Keywords : Swine Wastewater; Ammonia; Fixed Film Baffled Reactor

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 251 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

บทนา

ในปจั จุบันจา้ นวนผู้เลีย้ งสุกรที่เป็นฟาร์มขนาดเล็กมีปริมาณเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง ฟาร์มขนาดเล็กส่วนใหญ่ยังไม่มีระบบ
บ้าบัดน้าเสยี เนื่องจากฟาร์มท่ีมจี า้ นวนสกุ รน้อยกว่า 50 ตัว ยงั คงไมม่ กี ารควบคมุ ค่ามาตรฐานน้าท้งิ และไมม่ กี ารควบคุมให้มีระบบ
บ้าบดั นา้ เสีย อกี ท้งั การสรา้ งระบบบา้ บดั น้าเสยี มตี น้ ทุนในการก่อสรา้ งและการดูแลท่ีสูง ซึ่งนา้ ทีม่ ปี รมิ าณแอมโมเนยี ไนโตรเจนทส่ี ูง
ถูกปลอ่ ยสู่แหล่งนา้ ธรรมชาติและสง่ ผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ มจนท้าใหเ้ กิดปรากฏการณ์ยโู ทฟิเคชั่นและการขาดออกซเิ จนของแหลง่
นา้ ซ่งึ กระบวนการส้าหรบั การก้าจัดแอมโมเนียไนโตรเจนโดยท่ัวไปคือกระบวนการไนตรฟิ เิ คช่นั และดีไนตริฟเิ คช่นั ภายใต้สภาวะท่ี
มอี ากาศและสภาวะไรอ้ ากาศ การยอ่ ยสลายแอมโมเนยี จะเกิดโดยแบคทีเรยี แบบใชอ้ อกซเิ จนและไมใ่ ช้ออกซเิ จน ผลท่ีเกิดจากการ
ยอ่ ยสลายคือได้ก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ แอมโมเนีย นา้ และเซลล์ใหมข่ องจุลินทรีย์ โดยแอมโมเนียสามารถถกู จลุ นิ ทรีย์เปล่ยี นเป็น
ไนไตรท์ และไนเตรทในสภาวะมอี ากาศ และไนเตรทถกู เปลี่ยนเป็นไนไตร์ท ไนตรัสออกไซด์ และในโตรเจนแก๊สในสภาวะไร้อากาศ
โครงสร้างของไบโอฟิล์มแบ่งตามการกระจายของออกซิเจน สามารถแบ่งได้ 3 เขต ได้แก่ เขตที่มีอากาศ (Aerobic Zone) อยู่
ชั้นนอกสดุ ของไบโอฟิลม์ เป็นถนิ่ อาศัยของแอโรบคิ แบททีเรยี ทีม่ ีบทบาทหลักในการย่อยสลายสารอินทรีย์ และในเขตท่ีมีอากาศยัง
อาจพบแบคทเี รียที่เกย่ี วข้องกบั กระบวนการไนตริฟิเคชันคือ แอมโมเนยี ออกซิไดส์ซิงแบคทีเรียในสกุล Nitrosomonas และไนตริ
ฟายอิงแบคทเี รยี ในสกลุ Nitrobactor สา้ หรบั บริเวณชัน้ ในเป็นเขตท่ีขาดอากาศ (Anoxic Zone) และเขตทไี่ รอ้ ากาศ (Anaerobic
Zone) กระจายอยูเ่ ป็นหยอ่ ม ๆ จะพบดไี นตรฟิ ายอิงแบคทีเรยี [1]

ถงั ปฏิกรณ์แผ่นกั้นแบบฟลิ ม์ ตรึงมแี ผน่ กัน้ ขวางหลายแผน่ ตดิ ตั้งไวภ้ ายในถังตลอดความยาวของถัง เพื่อบังคับทิศทางการ
ไหลของน้าเสียที่เข้าสู่ระบบให้ไหลข้ึนและไหลลงสลับตามแนวผนังกั้น เป็นการเพิ่มระยะเวลาในการบ้าบัดน้าเสี ย และช่วยให้
ตะกอนจุลินทรีย์และของแข็งไม่หลุดออกนอกระบบ ภายในบรรจุตัวกลางเพื่อเพ่ิมพ้ืนที่ผิวในการยึดเกาะของจุลินทรีย์ในระบบ
และท้าให้ตะกอนจุลินทรีย์หลุดออกจากระบบน้อยลง ส่งผลให้น้าท่ีออกจากระบบมีความใส ซึ่งระบบนี้สามารถรับภาระบรรทุก
สารอินทรียไ์ ด้สงู และสามารถกักเก็บเซลลจ์ ุลนิ ทรีย์ได้อยา่ งดี

งานวิจัยน้จี ึงเป็นการศึกษาการบา้ บัดแอมโมเนียในน้าทง้ิ จากฟารม์ สกุ รโดยใช้ถังปฏิกรณ์แผ่นก้ันแบบฟิล์มตรึง โดยมีการ
ก้าหนดการเติมอากาศในถังปฏิกรณ์ท่ีแตกต่างกัน เพื่อให้ภายในถังปฏิกรณ์ให้เกิดสภาวะท่ีมีอากาศและสภาวะไร้อากาศในการ
บ้าบัดน้าเสียจากฟาร์มสุกร เพื่อให้เกิดจุลินทรีย์ 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ใช้อากาศและกลุ่มที่ไม่ใช้อากาศ และท้าการเปรียบเทียบ
ประสทิ ธิภาพการบ้าบดั แอมโมเนียเม่ือมีการเติมอากาศในต้าแหน่งท่ีต่างกัน โดยใช้เชื้อตั้งต้นจากบ่อบ้าบัดน้าเสียฟาร์มสุกรท่ีผ่าน
การบา้ บดั แบบไร้อากาศแล้ว ซงึ่ การทดลองในครั้งนี้จะเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการน้าไปประยุกต์ใช้ในการบ้าบัดน้าเสียในฟาร์มสุกร
ขนาดเล็กเพอ่ื ใหฟ้ ารม์ สุกรสามารถอยู่รว่ มกับชมุ ชนไดอ้ ยา่ งยั่งยืน

อปุ กรณ์และวธิ กี าร

ถังปฏิกรณ์
ถังปฏิกรณ์แผ่นก้ันแบบฟิล์มตรึง ท้าจากแผ่นอะคริลิคใส ขนาด 25x30x25 เซนติเมตร (กว้างxยาวxสูง) ปริมาตรใช้งาน 14
ลิตร ฝาด้านบนมีชอ่ งสา้ หรับการเตมิ อากาศและเก็บตวั อย่างน้าเสีย โดยภายในถังปฏิกรณ์แบ่งเป็น 3 ช่อง แต่ละช่องมีขนาด 9x25x21
เซนติเมตร (กว้างxยาวxสูง) ในแตล่ ะชอ่ งจะใส่ตัวกลางที่มจี ุลนิ ทรีย์ยึดเกาะ แสดงดงั รูปที่ 1

รปู ที่ 1 ถังปฏกิ รณ์แผ่นกัน้ แบบฟิลม์ ตรงึ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 252 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ตวั กลาง
ตัวกลางทา้ จากฟองนา้ โพลียูรีเทน ขนาด 2 x 2 x 2 เซนติเมตร สา้ หรบั ใหจ้ ลุ นิ ทรียย์ ดึ เกาะ แสดงดงั รปู ที่ 2

รูปท่ี 2 ตัวกลาง

นา้ เสียทีใ่ ชใ้ นการทดลอง
น้าเสียจากการล้างคอกสุกร ซึ่งประกอบไปด้วยเศษอาหาร และมูลสุกร โดยมีคุณลักษณะแสดงดังตารางที่ 1 มีการ

เจอื จากนา้ เสยี ดว้ ยน้าประปาเพ่อื ใหม้ ีความเข้มข้นของแอมโมเนียไนโตรเจน เท่ากบั 50 มิลลิกรมั ต่อลิตร

ตารางท่ี 1 แสดงคุณลักษณะของน้าเสยี ท่ีใช้ในการทดลอง

พารามิเตอร์ ความเข้มขน้

pH 7.8

แอมโมเนยี (มลิ ลิกรัมต่อลิตร) 440

ซโี อดี (มิลลิกรมั ต่อลติ ร) 400

ไนไตร์ท (มลิ ลิกรมั ต่อลติ ร) 42.79

จลุ นิ ทรีย์
เชื้อจุลินทรีย์ต้ังต้นน้ามาจากบ่อรับน้าเสียฟาร์มสุกรท่ีผ่านการบ้าบัดแบบไร้อากาศแล้ว น้าเช้ือจุลินทรีย์ มาเล้ียงในถัง
ปฏิกรณ์ซีเควนซิ่งแบตซ์แบบแขวนลอย ป้อนน้าเสียเลียนแบบฟาร์มสุกรท่ีผ่านการบ้าบัดแบบไร้อากาศ มีการเติมออกซิเจนต้่า ๆ
และมีการกวนผสมตลอดเวลา ควบคุมเวลากักพักน้า 48 ชั่วโมง เมื่อเช้ือจุลินทรีย์มีสภาวะคงตัวจึงน้าตัวกลางไปใส่ในถังปฏิกรณ์
ซีเควนซ่ิงแบตซ์เพ่ือให้จุลินทรีย์ยึดเกาะ หลังจากนั้นจึงย้ายตัวกลางท่ีมีจุลินทรีย์ยึดเกาะแล้วมาใส่ในถังปฏิกรณ์แผ่นก้ันแบบฟิล์ม
ตรึง
การดาเนินการในถงั ปฏิกรณแ์ ผ่นกั้นแบบฟลิ ์มตรึง
1) น้าตัวกลางที่มเี ชื้อจลุ ินทรียเ์ กาะตดิ จากถังปฏกิ รณซ์ ีเควนซง่ิ แบตซ์มาใส่ในถงั ปฏิกรณ์แผน่ ก้นั แบบฟลิ ม์ ตรงึ
2) ท้าการเปรียบเทยี บการเติมอากาศ โดยแบ่งออกเป็น 4 การทดลอง ไดแ้ ก่

การทดลองที่ 1 มีการเติมอากาศในชอ่ งท่ี 1 เรียกการทดลอง FFBR1
การทดลองท่ี 2 มกี ารเติมอากาศในชอ่ งที่ 2 เรยี กการทดลอง FFBR2
การทดลองที่ 3 มีการเตมิ อากาศในชอ่ งท่ี 3 เรียกการทดลอง FFBR3
การทดลองที่ 4 มีการเตมิ อากาศในชอ่ งท่ี 1 และ 3 เรียกการทดลอง FFBR4
จากนน้ั ทา้ การป้อนน้าเสียจากฟารม์ สกุ รท่มี ีการเจอื จางดว้ ยน้าประปาเพอื่ ใหน้ ้าเสียมีความเข้มข้นของแอมโมเนียไนโตรเจนเท่ากับ
50 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยมีอัตราในการป้อนน้าเสีย 16 มิลลิลิตรต่อนาที และมีระยะเวลากักพักน้า 14.6 ชั่วโมง ควบคุมค่า
ออกซิเจนละลายน้าในช่องที่มีการเติมอากาศเท่ากับ 1.2 มิลลิกรัมต่อลิตร ใช้หัวทรายในการเติมอากาศที่ด้านล่างของถังปฏิกรณ์
ทา้ การทดลองการทดลองละ 5 วัน ในทุกวนั วเิ คราะห์ปริมาณแอมโมเนยี ไนไตร์ท และความขนุ่ เพ่อื เปรยี บเทยี บประสิทธิภาพการ
ทา้ งานของระบบบ้าบัด และวัดปริมาณออกซิเจนละลายนา้ และค่าความเป็นกรด-ด่างของระบบบา้ บัดในทกุ วัน
วิธีวิเคราะห์
ในการด้าเนนิ การทดลองท้าการวเิ คราะห์พารามเิ ตอร์ต่าง ๆ ดงั แสดงในตารางท่ี 2

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 253 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ตารางที่ 2 พารามิเตอรแ์ ละวธิ วี เิ คราะห์ วิธีวเิ คราะห์
พารามิเตอร์ Handheld Colorimeter Ammonia HR
Colorimetric Method
แอมโมเนยี (มลิ ลิกรัมตอ่ ลิตร) Photometer
ไนไตร์ท (มลิ ลิกรมั ตอ่ ลิตร) Membrane electrode method
ความข่นุ (NTU)
ปริมาณออกซิเจนละลายน้า (มิลลกิ รมั ตอ่ ลติ ร)

ผลการทดลองและวิจารณ์

การด้าเนนิ การในถงั ปฏิกรณ์แผน่ กั้นแบบฟลิ ์มตรึง (FFBR) ทรี่ ะยะเวลากักเก็บเท่ากับ 14.6 ช่ัวโมง ได้ท้าการป้อนน้าเสีย
จากฟาร์มสุกรปริมาตร 16 มิลลิลิตรต่อนาที ด้าเนินการทดลองการทดลองละ 5 วัน โดยในแต่ละการทดลองมีความเข้มข้นของ
แอมโมเนียในน้าเข้าเท่ากับ 50 มิลลิกรัมต่อลิตร ได้ท้าการวิเคราะห์ค่าความเข้มข้นของแอมโมเนียและปริมาณไนไตรท์ทุก ๆ วัน
ไดผ้ ลการทดลองแสดงดังรูปที่ 3 และ 5

จากการทดลอง FFBR1 FFBR2 และ FFBR3 ที่มีการเติมอากาศเพียง 1 ช่อง มีประสิทธิภาพการบ้าบัดแอมโมเนีย
รอ้ ยละ 52±25.67 82.36±5.68 และ 60.32±21.51 ตามลา้ ดบั และการทดลอง FFBR4 ที่มีการเตมิ อากาศ 2 ช่อง มปี ระสิทธิภาพ
การบ้าบัดแอมโมเนียร้อยละ 52.32±20.58 จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่า การทดลอง FFBR2 ท่ีมีการเติมอากาศในช่องที่ 2
มีประสทิ ธภิ าพการบ้าบัดแอมโมเนียดีทส่ี ดุ ดงั แสดงในรูปที่ 4

จากรูปท่ี 5 จะเห็นว่าในการทดลอง FFBR1 FFBR2 และ FFBR3 พบว่ามีปริมาณแอมโมเนียและไนไตร์ทในระบบลด
น้อยลงดังแสดงในรูปท่ี 5 ซึ่งจากผลการทดลองแสดงว่าอาจเกิดกระบวนการอนามอกซ์ขึ้นในระบบเนื่องจากความเข้มข้นของ
ปริมาณแอมโมเนยี และไนไตรทถ์ ูกใชไ้ ป และสนั นิษฐานว่าแบคทีเรียอนามอกซ์น่าจะเปล่ียนแอมโมเนียและไนไตรท์เป็นไนโตรเจน
ก๊าซ [2] และในการทดลอง FFBR4 ท่ีมีการเติมอากาศ 2 ช่อง โดยมีปริมาณออกซิเจนมากกว่าการทดลอง FFBR1 FFBR2 และ
FFBR3 ดงั แสดงในรูปท่ี 5 พบว่า ปรมิ าณไนไตรทใ์ นการทดลองท่ีมีการเติมอากาศ 2 ช่อง จะมีค่ามากกว่าในการทดลองที่ไม่มีการ
เติมอากาศเพียงชอ่ งเดียวซึ่งมปี รมิ าณออกซเิ จนละลายน้าทจี่ า้ กดั ท้าให้เกดิ กระบวนการไนตริฟิเคช่ันท่ีมีแบคทีเรียไนไตรติฟายด์ท้า
การออกซไิ ดซ์แอมโมเนยี เป็นไนไตรทโ์ ดยใชอ้ อกซิเจนเปน็ ตวั รบั อเิ ล็กตรอน และกระบวนการอนามอกซ์ท่ีมีแบคทีเรียอนามอกซ์ท้า
การใช้ไนไตรทใ์ นการออกซิไดซแ์ อมโมเนยี เพอื่ เปลีย่ นเป็นกา๊ ซไนโตรเจนไปพรอ้ ม ๆ กัน

รูปที่ 3 แสดงปรมิ าณแอมโมเนียในนา้ เขา้ -น้าออกของการทดลองโดย (1) FFBR1 (2) FFBR2 (3) FFBR3 และ (4) FFBR4

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 254 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

รปู ท่ี 4 แสดงประสิทธิภาพการบาบัดไนโตรเจนในถังปฏกิ รณ์แผ่นกันแบบตรึงฟิล์ม

รูปท่ี 5 แสดงปริมาณไนไตร์ทในน้าเขา้ -นา้ ออกของการทดลองโดย (1) FFBR1 (2) FFBR2 (3) FFBR3 และ (4) FFBR4

รปู ที่ 6 แสดงปรมิ าณออกซเิ จนละลายนา้ ในแตล่ ะชอ่ งของการทดลอง FFBR1 FFBR2 FFBR3 และ FFBR4

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 255 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

จากรูปที่ 7 พบว่า การทดลอง FFBR1 FFBR2 FFBR3 และ FFBR4 มีประสิทธิภาพการก้าจัดความขุ่นร้อยละ
96.54±3.42 98.22±1.14 97.21±1.71 และ 99.07±0.56 จะเหน็ ไดว้ า่ ในแต่ละการทดลองมีประสทิ ธภิ าพการก้าจัดความขุ่นได้ไม่
แตกตา่ งกันเน่ืองจากถงั ปฏิกรณแ์ ผ่นก้ันภายในถงั ปฏิกรณม์ ีแผน่ ก้ันท้าใหเ้ กดิ การแบง่ เป็นห้อง ๆ ภายในถังน้าเสียท่ีเข้าระบบจะถูก
บังคบั ทศิ ทางการไหลของน้าเสยี ให้ไหลขนึ้ ลงสลบั กนั ซ่งึ วิธนี ี้เป็นการช่วยให้เกิดการตกตะกอนของของแข็งที่ปนมากับน้าเสียท้าให้
ของแข็งไมห่ ลดุ ออกนอกระบบ

รูปที่ 7 แสดงประสทิ ธิภาพการบาบัดความข่นุ ในการทดลอง FFBR1 FFBR2 FFBR3 และ FFBR4

เม่ือเปรียบเทียบกับการทดลองอ่ืนดังตารางที่ 3 ท่ีมีการตรึงฟิล์มโดยใช้เช้ือจุลินทรีย์ไนตริฟายอิงและอะนาม็อกและใช้
ตัวกลางชนิดอื่น ควบคมุ เวลากักพักน้า 48 ช่ัวโมง ความเขม้ ข้นของแอมโมเนียไนโตรเจนในน้าเข้า เทา่ กับ 100 – 400 มิลลิกรัมต่อ
ลิตร พบว่า การทดลองน้ีมีประสิทธิภาพการบ้าบัดแอมโมเนียร้อยละ 82.36±5.68 ซ่ึงมีค่าใกล้เคียงกับการทดลองอื่นแต่ใช้
ระยะเวลาการกกั เกบ็ ทน่ี อ้ ยกวา่

ตารางที่ 3 การเปรียบเทยี บประสิทธภิ าพการกาจัดแอมโมเนียไนโตรเจนในถงั ปฏิกรณแ์ ละตวั กลางทต่ี ่างกนั

HRT ความเข้มข้น คา่ ออกซิเจน ประสทิ ธภิ าพ
(วัน)
ถังปฏิกรณ์ ตวั กลาง แอมโมเนียเขา้ ละลาย การก้าจัดแอมโมเนยี อา้ งอิง

(มลิ ลิกรมั ต่อลิตร) (มิลลิกรมั ต่อลิตร) ไนโตรเจน (รอ้ ยละ)

FFBR พลาสติก 2 212.8±18.9 0.75±0.1 89.8 [2]

UFFR เสน้ ใย 2 146.64±14.78 0.75±0.25 94 [3]

FFBR พลาสติก 2 100-200 0.5 78.15 [4]

SBBR พลาสตกิ 2 100-400 0.5 84.28±7.71 [5]

SBR ฟองน้าโพลยี รู ีเทน 2 20-300 0.9 85.85 ± 9.03 [6]

FFBR ฟองน้าโพลียูรเี ทน 14.6 50 0.2-1.2 82.36±5.68 งานวิจยั นี้

หมายเหตุ FFBR =Fixed Film Baffle Reactor UFFR = Upflow Fixed Film Reactor SBBR = Sequencing Batch Biofilm

Reactor

สรปุ

จากการทดลองการบ้าบัดน้าเสียจากฟาร์มสุกรโดยใช้ถังปฏิกรณ์แผ่นกั้นแบบตรึงฟิล์ม ท่ีเวลากักพักน้า 14.6 ช่ัวโมง
ของการทดลอง FFBR1 FFBR2 FFBR3 และ FFBR4 พบว่า การทดลอง FFBR2 มีประสิทธิภาพการบ้าบัดแอมโมเนียดีท่ีสุด
รองล งมา ได้ แ ก่ FFBR3 FFBR1 แ ละ FFBR4 โ ดย มีป ร ะสิ ทธิภ าพกา ร บ้า บัด แ อม โ มเ นีย ร้ อย ละ 82.36 ±5. 68
60.32±21.5152±25.67 และ 52.32±20.58 ตามล้าดบั และในทกุ การทดลองมีประสทิ ธภิ าพในการก้าจดั ความขุ่นใกลเ้ คยี งกนั

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 256 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

กิตตกิ รรมประกาศ

ในงานวจิ ยั ฉบบั นสี้ ้าเรจ็ ลลุ ่วงไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ด้วยความกรุณาจากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ
พระนครศรีอยธุ ยาท่ีเอื้อเฟือ้ สถานท่แี ละเครอ่ื งมือในการท้าวจิ ัยในครง้ั น้ี

เอกสารอา้ งองิ

[1] กรรณิการ์ ชูเกียรติวัฒนา. 2561. จุลชีววิทยาส้าหรับนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรสิ่งแวดล้อม. พิมพ์คร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

[2] มนฑรัตน์ บุญมา. 2551. ปฏิกรณ์แผ่นกั้นแบบตรึงฟิล์มส้าหรับลดสารประกอบไนโตรเจนจากน้าเสียฟาร์มสุกร .
วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมส่ิงแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์. มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี.

[3] อรุ ารินทร์ เจา้ เพง็ . 2550. ปฏกิ รณ์ตรึงฟิล์มหลายข้ันตอนแบบไหลขึ้นส้าหรับการลดสารประกอบไนโตรเจนในน้าเสียจาก
ฟารส์ กุ ร. วิทยานพิ นธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิศวกรรมสง่ิ แวดลอ้ ม คณะวศิ กรรมศาสตร์. มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี.

[4] กัลวดี เทียนจวง. การลดสารประกอบไนโตรเจนในน้าเสียที่มีสารอินทรีย์ต่้าโดยออโทโทรปดีไนตริฟายด์: น้าเสีย
อุตสาหกรรมผลิตซอสปรุงรส. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะ
วิศวกรรมศาสตร์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี.

[5] อัณธิกา เสงีย่ มใจ. 2554. การพัฒนาปฏิกรณฟ์ ิล์มตรึงซเี ควนซิ่งแบตซ์โดยจลุ ินทรยี ์ออโตโทรปส้าหรับก้าจัดไนโตรเจนในน้า
เสียอุตสาหกรรมเกษตร. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมส่ิงแวดล้อม
คณะวศิ วกรรมศาสตร์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี.

[6] อัณธิกา เสงีย่ มใจ พศิน สารกลู และณัฐวฒุ ิ จนั่ ทอง. 2562. ผลของระยะเวลาในการเติมอากาศต่อประสิทธิภาพการบ้าบัด
แอมโมเนียไนโตรเจนโดยใช้ถังปฏิกรณ์ซีเควนซิ่งแบตซ์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏ
กรงุ เกา่ ” ประจา้ ปี พ.ศ. 2562. 446-450.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 257 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

042

การแยกเดกซแ์ ทรนออกจากนา้ ออ้ ยดว้ ย Sephadex G-100
Separation of Dextran in Cane Juices using
Sephadex G-100

สาวติ รี จนั ทศร1ี * ขนษิ ฐา เทียมมาลา2 ชลธชิ า เทศก่มิ 2 และ ญาณศิ า ละอองอทุ ยั 1,2*
Sawitree Jantasri1* Khanittha Tiammala2 Chonticha Tedkim2 and Yanisa Laoong-u-thai1,2*
1,2*ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ สาขาวิศวกรรมชวี ภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา ชลบรุ ี 20131
1*นสิ ิตบณั ฑติ ศึกษา สาขาวิศวกรรมชวี ภาพ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา ชลบุรี 20131
*โทรศพั ท์ : 087-5363232, โทรสาร : 0-3810-2222 ต่อ 3350, E-mail : [email protected].

บทคดั ยอ่

งานวิจัยน้ีจัดทาข้ึนเพื่อศึกษาการแยกเดกซ์แทรนออกจากน้าอ้อยโดยวิธีคอลัมน์โครมาโทกราฟีด้วยเจล Sephadex
G-100 ทคี่ วามสูงของเจลต่างกัน พบว่าทคี่ วามสงู เจล 0.3 เมตร สามารถแยกเดกซ์แทรนออกจากน้าอ้อยได้ โดยมีการป้อนน้าอ้อย
10 มิลลิลิตร และป้อนน้ากล่ัน 13.92 มิลลิลิตรต่อนาที อัตราการไหลออกของตัวอย่างเป็น 1 มิลลิลิตรต่อนาที เมื่อวิเคราะห์
องค์ประกอบของตัวอย่างโดยวิธี TLC วิเคราะห์ค่าเฉพาะตัวของสาร (Rate of flow) วิเคราะห์ปริมาณน้าตาลรีดิวส์โดยวิธี DNS
และวิเคราะห์ปริมาณเดกซ์แทรน ฟรักโทสและซูโครสโดยวิธี AOAC (2016) พบว่าตัวอย่างท่ี 11 ถึง 13 พบเดกซ์แทรนบริสุทธ์ิ
ตัวอย่างท่ี 14 มีการผสมระหว่างเดกซ์แทรนอยู่เล็กน้อยร่วมกับซูโครส ตัวอย่างท่ี 15 ถึง 19 พบซูโครสและตัวอย่างที่ 20 ถึง 23
พบฟรักโทส ดังน้ันจากงานวิจัยครั้งนี้พบว่าสามารถแยกสารท้ังสามชนิดออกจากกันได้ 100% โดยใช้เวลาในการแยกเดกซ์
แทรนตัวอย่างท่ี 11-13 ใช้เวลา 110-130 นาที ปริมาณผลได้ของเดกซ์แทรนจากการแยกคิดเป็น 92% นอกจากนี้ระยะเวลาใน
การแยกซโู ครสและฟรักโทสคอื 150-190 นาที และ 200-230 นาที ตามลาดับ

ค้าสา้ คัญ : นา้ อ้อย, เดกซแ์ ทรน, คอลัมน์โครมาโทกราฟี, Sephadex G-100, เจลฟิวเตรชนั่

Abstract

This research was conducted to study the separation of dextran from Cane juice by column
chromatography method using Sephadex G-100 gel. At the different height of gel, we found that column
chromatography method at gel height 0.3 meters was that best height to separate dextran from Cane juice,
feed 10 ml of Cane juice, elution rate of 13.92 ml per minute with distilled water, the eluent flow rate was
1 ml per minute. All sample fractions were analyzed by TLC and rate of flow (Rf). Reducing sugar was
analyzed by DNS method and dextran, fructose and sucrose quantity were tested by AOAC (2016) method.
The result showed that fractions 11 to 13 were found pure dextran, fraction 14 was mixed between dextran
and a small amount of sucrose, fractions 15 to 19 were found sucrose and fraction 20 to 23 were found
fructose. This research showed that the column chromatography method using Sephadex G-100 gel could get
almost 100% purity of Dextran fructose and sucrose. The separation time of dextran was at 110-130 minutes
with a productivity of 92%. The Separation time of sucrose and fructose were at 150-190 and 200-230
minutes respectively.

Keywords : Cane juice, dextran, column chromatography, Sephadex G-100, gel filtration chromatography

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 258 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

บทน้า

ประเทศไทยให้ความสาคัญกับอุตสาหกรรมประเภทการเกษตรแปรรูปเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมน้าตาล
เนื่องจากประเทศไทยน้ันมีโรงงานน้าตาลเป็นจานวนมาก โดยมีรายงานการผลิตน้าตาลทรายของโรงงา นน้าตาลทั่วประเทศ
ประจาปีการผลิต 2561/2562 มีจานวนปริมาณการผลติ ทั้งสนิ้ 145,806,706.005 ตัน ซ่ึงกระบวนการผลิตน้าตาลในประเทศไทย
ได้ใชอ้ ้อยเป็นวตั ถุดบิ หลกั ในการผลิต และภูมิอากาศในประเทศไทยยงั สามารถปลกู ออ้ ยไดเ้ กอื บทกุ ภมู ภิ าคของประเทศ ผลิตภณั ฑ์
นา้ ตาลท่ถี กู ผลติ จากน้าอ้อย ถกู ใช้บริโภคทั้งภายในประเทศพร้อมสง่ ออกเป็นอนั ดับสองของโลก [1] ซ่ึงในกระบวนการผลิตน้าตาล
จรงิ นนั้ ยงั คงมีปัญหาทสี่ ง่ ผลตอ่ ผลผลิตน้าตาล โดยเฉพาะปญั หาการปนเป้อื นของเดกซ์แทรน (Dextran) จานวนมากในน้าอ้อย ซ่ึง
เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อทั้งคุณภาพและปริมาณของน้าตาลโดยตรง โดยเดกซ์แทรนนี้เกิดข้ึนจากแบคทีเรีย Leuconostoc
mesenteroides และ Leuconostoc dextranicum ซ่ึงแบคทีเรยี เหลา่ น้อี าศัยอย่ใู นดนิ จึงสามารถขยายจานวนตัวมันเองได้มาก
ข้ึนเร่ือย ๆ ต้ังแต่ช่วงเวลาการเก็บเก่ียว การขนส่ง การพักก่อนหีบอ้อย จนกระท่ังอยู่ในกระบวนการผลิตน้าตาล และการติดเช้ือ
แบคทีเรียเหล่าน้ียังเป็นปัญหาที่ยากต่อการควบคุมปริมาณการขยายตัวของแบคทีเรีย เดกซ์แทรนท่ีเกิดจากแบคทีเรียนี้ส่งผล
โดยตรงในกระบวนการผลิต ตอ่ การสูญเสยี ปรมิ าณนา้ ตาลและคุณภาพของผลกึ นา้ ตาล อีกทงั้ ยังมปี ญั หาทางอ้อมอ่ืน ๆ ทีเ่ กดิ ขึ้นได้
อกี เชน่ ทาให้การไหลเวียนของน้าอ้อยช้าลง ขัดขวางระบบทาใสน้าอ้อย ขัดขวางไม่ให้อนุภาคของประจุรวมตัวกันเพื่อตกตะกอน
ถ่วงเวลาที่ใชใ้ นการกรองนา้ ออ้ ย ทาให้เกิดความหนืดในน้าอ้อยและทาให้อัตราการแลกเปลี่ยนความร้อนมีประสิทธิภาพลดลง ซึ่ง
ปญั หาเหลา่ นคี้ ือการสูญเสียพลงั งานทตี่ อ้ งใชเ้ พิ่มขน้ึ ในการผลติ และยังต้องสญู เสยี เวลาเพ่ิมมากขึน้ มากไปอีก [2]

เดกซแ์ ทรนบรสิ ทุ ธิ์นน้ั สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ ลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นในอุตสาหกรรมเคร่ืองสาอางใช้เป็นสารเพ่ิมปริมาณ
หรือในอตุ สาหกรรมยาใชเ้ ปน็ สารทดแทนเลอื ดในผ้ทู ่ตี ้องเข้ารับการผา่ ตัด โดยการสร้างสมดลุ ของของเหลวในหลอดเลือดให้กับผู้ท่ี
สูญเสียเลอื ดมาก เป็นสารชว่ ยหลอ่ ล่ืนในยาหยอดตา ใช้เป็นตัวกลางละลายธาตุเหล็กเพื่อฉีดเข้ากล้ามเนื้อและใช้ในการส่องกล้อง
ตรวจมดลูก ด้วยเหตุน้ีเราจึงควรแยกเดกซ์แทรนออกจากน้าอ้อยแทนการกาจัดเพื่อสร้างประโยชน์สูงสุดต่ออุตสาหกรรมน้าตาล
และออ้ ย [3]

ดังน้ันการแยกเดกซ์แทรนออกจากน้าอ้อยแทนการกาจัดจึงน่าจะเป็นประโยชน์สูงสุดต่ออุตสาหกรรมอ้อยและน้าตาล
การแยกเดกซ์แทรนสามารถทาได้หลายวิธี เช่น ระบบหอดูดซับแบบไหลสวนทางกัน (Counter current absorption system)
เย่ือเลอื กผา่ นของเหลว (Liquid membrane) อัลตราฟิลเตรชัน (Ultra-filtration) ระบบเบดเคลอ่ื นท่จี าลอง (Simulate moving
bed) และ โครมาโตกราฟี (Chromatography) โดยในระบบเบดเคลอื่ นท่จี าลองพบวา่ ท่ีความยาวคอลมั น์ 0.3 เมตร สามารถแยก
เดกซ์แทรนได้บริสุทธ์ิสูงท่ีสุด [4] โดยระบบน้ีการทางานภายในคอลัมน์สาหรับการแยกจะเป็นแบบชนิดเจลฟิวเตรช่ัน [5] ดังน้ัน
งานวจิ ัยในคร้ังนจี้ งึ เลอื ก Sephadex G-100 มาศกึ ษาความสามารถในการแยกเดกซ์แทรนออกจากนา้ ออ้ ยด้วยระบบเจลฟิวเตรช่ัน

อปุ กรณแ์ ละวธิ ีการ

วัตถดุ บิ
การศึกษานี้ใช้น้าอ้อยสดจากตลาดหนองมนซึ่งเป็นน้าอ้อยสาหรับดื่ม เก็บตัวอย่างน้าอ้อยใน วันท่ี 27 เดือนกุมภาพันธ์

พ.ศ. 2562

การเตรยี มเจลและคอลัมน์
การเตรียมเจลและคอลัมน์ ( Gel filtration chromatography) อุดปลายของคอลัมน์ด้วยสาลี ใส่ทรายบริสุทธิ์และ

ละเอียดลงบนสาลี ใส่น้ากล่ันในเจลแล้วคน เทเจลที่ใส่น้ากล่ันผ่านกรวยลงในคอลัมน์ เปิดคอลัมน์ให้น้าไหลออกช้า ๆ ใช้สายยาง
เคาะด้านข้างของคอลัมน์

การทดลองแยกเดกซแ์ ทรนออกจากน้าอ้อยด้วยคอลัมน์โครมาโทกราฟีชนิดเจลฟิวเตรชนั่ (Gel filtration chromatography)
ทาการทดลองแยกเดกซ์แทรนออกจากน้าอ้อยท่คี วามดันบรรยากาศและไหลตามแรงโน้มถ่วงโลก ด้วยคอลัมน์โครมาโทก

ราฟี เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.026 เมตร ชนิดเจลฟิวเตรชั่น โดยใช้เจล Sephadex G-100 มีขนาดเม็ดบีดเท่ากับ 40-120 ไมโครเมตร
และขนาดรูพรุนเท่ากับ 1-100 กิโลดาลตนั มปี รมิ าตรขณะบวมน้าเทา่ กบั 15-20 มิลลิลิตรต่อ 1 กรัม โดยใชเ้ จลทรี่ ะดบั ความสงู ของ
เจล 0.3 และ 0.9 เมตร โดยป้อนตัวอย่าง 10 มิลลิลิตร ท่ีมีการเติมสาร Bromophenol blue Mw 669.97 เพื่อเป็นสารอ้างอิง

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 259 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

และป้อนน้ากลั่นซึ่งเป็นตัวชะ 13.92 มิลลิลิตรต่อนาที โดยเก็บตัวอย่างจานวน 24 คร้ัง (Fraction) ครั้งละ 10 มิลลิลิตร โดย
เรยี กวา่ ตวั อยา่ งที่ 1-24 [4]

รูปท่ี 1 คอลัมน์โครมาโทกราฟแี ละเจล Sephadex G-100

การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบของตวั อย่างโดยวิธี TLC (Thin-layer Chromatography)
นาตัวอย่างท่ีได้จากการแยกเดกซ์แทรนออกจากน้าอ้อยด้วยคอลัมน์โครมาโทกราฟีชนิดเจลฟิวเตรชั่น จานวน 24 คร้ัง

(Fraction) วิเคราะห์ด้วยวิธี TLC เพื่อดูองค์ประกอบของตัวอย่างท่ีได้ว่าเป็นไปตามท่ีตั้งสมมติฐานไว้ นาตัวอย่างหยดลงบนแผ่น TLC
บนซลิ ิกาเจล G-60 ใช้ส่วนผสมของคลอโรฟอร์ม กรดอะซิติกและน้า เป็นระบบเฟสเคลื่อนที่ หลังจากการเคล่ือนที่ของเฟสเคลื่อนที่ถึง
จุดท่ีกาหนดและทาการระเหยเฟสเคล่ือนท่ีภายใต้การไหลของอากาศอย่างต่อเนื่อง ฉีดพ่นส่วนผสมของกรดกามะถันและเอทานอล
นาไปอบที่อุณหภูมิ 115 °C 15 นาที จุดบนแผ่นซิลิกาเจล G-60 จะปรากฏขึ้นและวิเคราะห์เทียบกับสารมาตรฐาน [6] นาตัวอย่าง
หลังจากการแยกมาวิเคราะห์องค์ประกอบโดยวิธี TLC (Thin-layer Chromatography) มาวิเคราะห์ค่าเฉพาะตัวของสาร (Rate of
flow) ดงั สมการท่ี 1

ระยะทางที่สารเคมีเคลื่อนท่ี (cm) (1)
Rf =

ระยะทางท่ีตัวทาละลายเคลอื่ นท่ี (cm)

การวิเคราะหป์ รมิ าณเดกซแ์ ทรนโดยวธิ ีตกตะกอนด้วยเอทานอลและการหาปริมาณน้าตาลรีดิวส์โดยวธิ ี DNS
เปน็ วธิ กี ารตกตะกอนด้วยเอทานอลเพ่ือดกู ารตกตะกอนของเดกซ์แทรนในน้าอ้อยด้วยการใช้เอทานอลและกาจัดโปรตีน

ด้วยสารไตรคลอโรอะซิติกแอซิด ใช้เคร่ืองหมุนเหว่ียงในการปั่นแยกตะกอนเดกซ์แทรนออกมาและวิเคราะห์หาปริมาณน้าตาล
รีดิวส์ด้วยวิธี DNS โดยการเตรียมสารละลายท่ีมีตัวอย่างผสมนาไปวัดไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ 520 นาโนเมตร เทียบค่าการ
ดูดกลืนแสงของตัวอยา่ งกับกราฟมาตรฐาน [7]

ตรวจสอบผลการแยกและปรมิ าณของเดกซ์แทรน ฟรกั โทสและซูโครส ด้วยวธิ ี AOAC (2016) และ In-house method
SU-056-TM based on AOAC (2016)

วิเคราะห์ปริมาณเดกซ์แทรนโดยวิธี AOAC (2016) โดยวิธีการตกตะกอน และการวิเคราะห์ปริมาณฟรักโทสและซูโครสโดย
วิธี In-house method SU-056-TM based on AOAC (2016) ด้วยเทคนิค HPLC โดยบริการตรวจวิเคราะห์ของบริษัท รับตรวจ
สนิ คา้ โพ้นทะเล จากัด (กรงุ เทพฯ)

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 260 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ผลการทดลองและวิจารณ์

ผลการทดลอง
การแยกเดกซ์แทรนออกจากน้าอ้อยโดยคอลัมน์โครมาโทกราฟีด้วยเจล Sephadex G-100 พบว่าที่ความสูงเจล 0.9

เมตร มีอัตราการไหลของผลิตภัณฑ์ต่ามากซ่ึงใช้ระยะเวลาในการแยกที่นาน (เกินหนึ่งวัน) ซึ่งไม่เหมาะต่อการนาไปใช้จริงใน
อุตสาหกรรม เม่ือเทียบกับการแยกท่ีใช้ความสูงของเจล 0.3 เมตร พบว่าอัตราการไหลออกของตัวอย่างเป็น 1 มิลลิลิตรต่อนาที
และสามารถเเยกเดกซ์เเทรนออกจากน้าออ้ ยได้

ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบของตัวอย่างโดยวธิ ี TLC (Thin-layer Chromatography)
จากการทดลองพบว่าเจล Sephadex G-100 ท่ีความสูง 0.3 เมตร เดกซ์แทรนถูกแยกออกมาในตัวอย่างท่ี 11-14 โดย

พบซูโครสในตัวอย่างท่ี 15-19 ส่วนฟรักโทสพบในตัวอย่างที่ 20-23 ตามลาดับ (ดังรูปท่ี 2) โดยในตัวอย่างท่ี11-14 พบท้ังเดกซ์
แทรนขนาดใหญ่ (ไม่เคล่ือนที่บนแผ่น TLC) ร่วมกับเดกซ์แทรนขนาดเล็ก (หางท่ียาวของตัวอย่างหลังการแยก) ซ่ึงอาจเกิดจาก
กระบวนการสังเคราะห์ของเดกซ์แทรนจากน้าตาลซูโครสท่ีอยู่ในน้าอ้อยโดยเชื้อแบคทีเรีย L. mesenteroides และ L.
dextranicum [2] ท่ีปะปนมากับน้าอ้อย จึงทาให้ขนาดของเดกซ์แทรนที่วิเคราะห์มีท้ังขนาดเล็กและใหญ่ผสมกัน นอกจากนี้ยัง
พบว่าวธิ นี ้สี ามารถแยกซโู ครสออกจากฟรักโทสได้อยา่ งสมบูรณโ์ ดยสงั เกตไดจ้ ากตัวอยา่ งที่ 19 และ 20 ไมม่ กี ารปนกนั ของสาร

S F D 7 8 9 10 11 S F D 12 13 14 15 S F D 16 17 18 S S F D 19 20 21 22 23 24

รปู ท่ี 2 ผลการวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบของตัวอย่างโดยวิธี TLC ท่คี วามสูงเจล 0.3 เมตร โดยที่
ซูโครส (S), ฟรกั โทส (F), เดกซ์แทรน (D) และ ตวั อยา่ งท่ี 7-24 (7-24)

ผลการวเิ คราะห์คา่ เฉพาะตวั ของสาร (Rf : Rate of flow)

ทาการคานวนค่า Rf ของแตล่ ะตัวอยา่ งจากผลวิเคราะห์ TLC ท่ีความสงู 0.3 เมตร ของเจล Sephadex G-100 เทียบกับ
ค่า Rf ของสารมาตรฐาน ดงั แสดงในตารางที่ 1 พบว่าในตัวอย่างน้าอ้อยมีเดกซ์แทรนขนาดเล็กเม่ือเทียบกับเดกซ์แทรนมาตรฐาน
โดยมี Rf เฉล่ยี 0.28

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 261 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ตารางท่ี 1 ผลการหาค่าเฉพาะตัวของสาร (Rate of flow) จากกระบวนการ TLC

ตวัอยา่ง คา่ Rf ของสาร สารทค่ี าดวา่ จะได้

เดกซแ์ทรนมาตรฐาน(12000Da) 0 เดกซแ์ทรน

ซโคู รสมาตรฐาน 0.33 ซโคู รส
ฟรกั โทสมาตรฐาน 0.51 ฟรกั โทส
0 เดกซแ์ทรนขนาดใหญ่
11--13 0.28 เดกซแท์ รนขนาดเลก็
11-13 0 เดกซแ์ทรนขนาดใหญ่
14 0.33 ซโคู รส
14 0.32 ซโคู รส
15-19 0.52 ฟรกั โทส
20-23

การวเิ คราะหป์ รมิ าณเดกซแ์ ทรนโดยวิธตี กตะกอนด้วยเอทานอลและการหาปรมิ าณนา้ ตาลรีดวิ ส์โดยวธิ ี DNS
จากการวิเคราะห์ปริมาณเดกซ์แทรนโดยวิธีตกตะกอนด้วยเอทานอลพบตะกอนของเดกซ์แทรนเฉพาะในตัวอย่างท่ี

11-13 แต่ในการตกตะกอนไม่พบเดกซ์แทรนในตัวอย่างที่ 14 อาจเน่ืองมาจากมีปริมาณเดกซ์แทรนท่ีน้อยมากจึงไม่สามารถ
วเิ คราะหด์ ้วยวิธตี กตะกอนดว้ ยเอทานอลได้ และอาจจะมีการปนของซูโครสมาด้วย โดยสังเกตุจากค่า Rf ของตัวอย่างที่ 14 (รูปที่
2) ทใ่ี กล้เคยี งกับซูโครสมาก จงึ จาเป็นตอ้ งวเิ คราะห์ชนดิ ของสารด้วยวธิ กี ารท่แี มน่ ยามากยง่ิ ข้ึน และการวิเคราะหห์ าปรมิ าณนา้ ตาล
รีดิวส์โดยวิธี DNS ก็พบน้าตารีดิวส์ในที่นี้คือฟรักโทส ซึ่งมาจากผลิตภัณฑ์พลอยได้จากระบวนการสังเคราะห์เดกซ์แทรน โดยพบ
เฉพาะตัวอย่างท่ี 20-23 เท่าน้ัน (รูปที่ 2 และตารางท่ี 2) ซ่ึงเป็นผลสอดคล้องกันว่าน้าตาลรีดิวส์ไม่สามารถตกตะกอนด้วยเอทา
นอลได้และผลการวเิ คราะห์ปรมิ าณเดกซ์แทรนโดยวธิ ตี กตะกอนดว้ ยเอทาานอลและการหาปริมาณน้าตาลรีดิวสโ์ ดยวิธี DNS กส็ อด
คลล้องกับผลการวเิ คราะหค์ า่ เฉพาะตัวของสาร (Rate of flow) จากกระบวนการวิเคราะห์ TLC ท่ีพบว่ามีปริมาณเดกซ์แทรนใน
ตวั อยา่ งที่ 11-13 และมปี รมิ าณฟรกั โทสในตัวอย่างที่ 20, 21, 22, และ 23 เชน่ เดยี วกนั

ตารางที่ 2 ผลการหาปรมิ าณน้าตาลรีดวิ สโ์ ดยวิธี DNS จากการเกบ็ ตวั อยา่ งจา้ นวน 24 ครั้ง
เทยีบเป็นคา่ ความเขม้ ขน้ ของนา้ตาลกลโูครสในกราฟ

ตวัอยา่ง คา่การดดู กลนื แสง มาตรฐาน

(กรมั ตอ่ ลติ ร)

20 1.4139 12.5398

21 1.4794 13.4358

22 1.5566 14.1383

23 1.5187 13.7934

ผลการวิเคราะหป์ ริมาณเดกซแ์ ทรน ฟรกั โทสและซูโครสโดยวธิ ี AOAC (2016)
ผลการวเิ คราะหต์ ัวอยา่ งจากการทดลองท่ีความสงู 0.3 เมตร ของเจล Sephadex G-100 พบว่าตวั อยา่ งท่ี 11 ถึง 13

พบเดกซแ์ ทรนบรสิ ทุ ธ์ิ ตวั อย่างท่ี 14 มีการผสมระหว่างเดกซแ์ ทรนอย่เู ล็กน้อยรว่ มกับซโู ครส ตวั อย่างท่ี 15 ถึง 19 พบซูโครสและ
ตวั อย่างที่ 20 ถึง 23 พบฟรกั โทส ดงั นั้นจากงานวจิ ยั ครัง้ นพ้ี บวา่ สามารถแยกสารทั้งสามชนิดออกจากกันได้ 100% โดยใชเ้ วลาใน

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 262 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

การแยกเดกซแ์ ทรนตัวอยา่ งที่ 11-13 ใช้เวลา 110-130 นาที ปริมาณผลได้ของเดกซแ์ ทรนจากการแยกคดิ เปน็ 137.81 ppm
(จากท้งั หมด 150 ppm) คดิ เป็น 92% นอกจากนี้ระยะเวลาในการแยกซโู ครสและฟรกั โทสคือ 150-190 นาที และ 200-230
นาที ตามลาดับ ในตัวอยา่ งท่ี 11 ถงึ 13 พบเดกซแ์ ทรนบรสิ ทุ ธิ์ 100% ดูได้จากการยนื ยนั ผลดว้ ยวธิ วี ิเคราะห์ AOAC (2016) ซงึ่
จะพบแตเ่ ดกซ์แทรนอยา่ งเดียว ไมพ่ บน้าตาลชนิดอนื่ ดงั ตารางที่ 3 ทง้ั น้ีพบว่าในส่วนท่ี 2 พบปรมิ าณเดกซ์แทรนอยู่ด้วยซึ่งคาดวา่
มาจากตัวอยา่ งท่ี 14 ซ่ึงตัวอยา่ งน้ีในผลการตกตะกอนด้วยเอทานอลไมพ่ บเดกซแ์ ทรนแสดงวา่ มีการผสมอยู่กับซูโครส ซึง่ ดูได้จาก
ผลการตกตะกอนด้วยเอทานอลและการวเิ คราะห์องค์ประกอบของตัวอย่างโดยวธิ ี TLC การวิเคราะหป์ ริมาณเดกซ์แทรนโดยวิธี
AOAC (2016) มีปริมาณเดกซ์แทรนเรมิ่ ต้น 3531.25 ppm คดิ เปน็ 0.3531 % w/v การวิเคราะหป์ รมิ าณฟรักโทสและซโู ครสโดย
วธิ ี In-house method SU-056-TM based on AOAC (2016) มีปรมิ าณฟรกั โทส 17100 ppm คิดเป็น 1.71 % w/v และ มี
ปริมาณซูโครส 117500 ppm คดิ เป็น 11.75 % w/v เม่อื เปรียบเทียบผลการวิเคราะห์กบั ผลงานวจิ ยั ของ S.N. WALFORD [8]
ซึ่งศึกษาองค์ประกอบในน้าออ้ ย ดงั นน้ั จงึ สอดคล้องกับผลงานวจิ ัยของ S.N. WALFORD ได้ปรมิ าณเดกซแ์ ทรน 0.1-0.6 % w/v ได้
ปรมิ าณฟรกั โทส 1-6 % w/v และปรมิ าณซูโครส
9.6-11.9 % w/v การวิเคราะห์ปริมาณฟรกั โทสและซโู ครสโดยวธิ ี In-house method SU-056-TM based on AOAC (2016)
จงึ มคี วามแมน่ ยาในการวเิ คราะห์

ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะหป์ รมิ าณเดกซ์แทรน ฟรกั โทส และซโู ครสโดยวธิ ี AOAC (2016)

แยก(10ml) แยก(10ml)

ชนดิ ของนา้ตาล ปรมิ าณ(ppm) Calculate Calculate

เดกซแ์ทรน 3531.25 (11-13) (14-23)
ฟรกั โทส 17100 137.81 12.19
ซโคู รส 117500 726.42
- 4990.5
-

สรุป

การแยกเดกซแ์ ทรนออกจากนา้ ออ้ ยดว้ ย Sephadex G-100 ดว้ ยคอลมั นโ์ ครมาโทกราฟฟชี นิดเจลฟวิ เตรช่นั ที่ความสูง
เจล 0.3 เมตร มกี ารป้อนนา้ อ้อย 10 มิลลลิ ิตร และป้อนน้ากล่นั 13.92 มลิ ลิลติ รตอ่ นาที อตั ราการไหลออกของตัวอยา่ งเปน็ 1
มิลลลิ ิตรต่อนาที สามารถแยกเดกซ์แทรนไดบ้ รสิ ุทธ์ ในตวั อยา่ งที่ 11-13 คือ ณ เวลาในการแยก 110-130 นาที และปรมิ าณการ
แยกเดกซ์แทรนไดท้ ้งั หมด 137.81 ppm (92%)

กิตตกิ รรมประกาศ

งานวจิ ยั ฉบับนี้ได้รับการสนบั จากทนุ โครงงานวจิ ัยทางวิศวกรรมเคมีประจาปี 2561 และทุนการนาเสนอผลงานประจาปี
2562 ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยลัยบรู พา

เอกสารอ้างองิ

[1] ธนาคารไทยพาณิชย.์ (2019). AGRICULTURAL COMMODITY 2019: SUGAR. เข้าถึงไดจ้ าก
https://www.bluechipthai.com/articles-AGRICULTURAL_COMMODITY_2019___SUGAR-3433

[2] ปรีชา สุริยพนั ธ.์ (2548). ปัญหาเด็กซแ์ ตรนในโรงงานน้าตาล. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
http://www.sugarzone.in.th/know/know1.asp

[3] อภยั ราษฎรวจิ ติ ร. (2561). เดกซแ์ ทรน (Dextran). เขา้ ถงึ ได้จาก
http://haamor.com/th/แดกซแ์ ทรน/.

[4] กชกร รุ่งเรอื ง. 2554. การศึกษาผลกระทบของสายปอ้ นกลบั เพื่อการแยกกลโู คสกับฟรักโทส โดยใช้ระบบเบดเคล่ือนท่ี
จาลอง. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ กรุงเทพฯ.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 263 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

[5] Semba Biosciences. (2018). Octave Chromatography System. เข้าถึงได้จาก
http://sembabio.com/

[6] Fredric, R., et al. (2019). Thin layer chromatography in the analysis of cannabis and its components and
synthetic cannabinoids. Journal of Liquid Chromatography & Related Technologies 2019:1-16

[7] Keniry, J.S., et al. (1969). Improvements in the dextran assay of cane sugar materials. International sugar
journal 2013: 230-233

[8] Walford, S.N. (1996). Composition of cane juice. Sugar Milling Research Institute, University of Natal, King
George V Avenue, Durban

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 264 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

043

ศักยภาพในการเจรญิ เติบโตของ Chlorella sp.
กรณีศึกษาการใช้สารสม้ และโอโซน

Growth Potential of Chlorella sp.
A Case Study in Using Alum and Ozone

นสิ ากร รตั นพลแสน1 และ ทิพยส์ รุ ีย์ กรบุญรักษา2*
Nisakorn Rattanaphonsan1 and Thipsuree Kornboonraksa2*
1นิสิตบัณฑติ ศึกษา ภาควชิ าวศิ วกรรมเคมี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา ชลบุรี 20131
2*ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ภาควชิ าวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา ชลบรุ ี 20131
*โทรศพั ท:์ (+66) 94-5365545, E-mail: [email protected]

บทคัดยอ่

งานวิจัยนมี้ ีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาประสิทธภิ าพของการบาบัด Chlorella sp. ดว้ ยการใช้สารสม้ โอโซน และการใช้สารส้ม
ร่วมกับโอโซน รวมถึงศึกษาศักยภาพในการเจริญเติบโตของ Chlorella sp. จากการทดลองพบว่าการใช้สารส้มที่ความเข้มข้น
10 มก./ล. มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการกาจัด Chlorella sp. โดยมีปริมาณ Chlorella sp. ลดลงเหลือ 1,222 ยูนิต/100 มล. หรือ
คดิ เปน็ ร้อยละ 84.7 ของการบาบัด ปรมิ าณคลอโรฟลิ ล์ เอ ท่พี บในน้าส่วนใสเท่ากับ 0.0098 มคก./ล. หรือคิดเป็นร้อยละ 94.8 ของ
การบาบัด ในขณะท่ีความขุ่นในน้าเหลือเพียง 0.9 NTU หรือคิดเป็นร้อยละ 83.9 ของการบาบัด สาหรับการใช้โอโซนในการกาจัด
Chlorella sp. ท่ีระยะเวลาในการสัมผัสต่างๆ กัน พบว่า เมื่อระยะเวลาในการสัมผัสโอโซนนานข้ึนปริมาณ Chlorella sp. ที่
หลงเหลอื อยใู่ นน้าจะลดลง โดยระยะเวลาสัมผัสโอโซนท่ีให้ประสิทธิภาพดีท่ีสุด คือ 150 วินาที ทาให้ปริมาณ Chlorella sp. ลดลง
เหลือ 1,100 ยนู ิต/100 มล. หรือคิดเปน็ ร้อยละ 89.4 ของการบาบัด ในขณะที่ตรวจไม่พบปริมาณคลอโรฟิลล์ สาหรับค่าความขุ่นใน
น้ามีค่า 2.4 NTU หรือคิดเป็นร้อยละ 48.7 ของการบาบัด ในกรณีที่ใช้สารส้มร่วมกับโอโซนพบว่าการใช้สารส้มที่ความเข้มข้น
10 มก./ล. ร่วมกับโอโซนที่ระยะเวลาสัมผัสท่ี 120 วินาที ให้ประสิทธิภาพดีที่สุดในการบาบัด Chlorella sp. คิดเป็นร้อยละ 89.2
การบาบัดคลอโรฟิลล์ เอ คิดเป็นรอ้ ยละ 98.0 และการบาบดั ความขุ่นคดิ เปน็ ร้อยละ 64.6 ของการบาบดั การตดิ ตามศักยภาพในการ
เจรญิ เติบโตของ Chlorella sp. พบว่าการใช้สารส้มร่วมกบั โอโซนมปี ระสิทธิภาพดีท่ีสุดในการยับยั้งการเจริญเติบโตของ Chlorella
sp. โดยมีปริมาณ Chlorella sp. ท่หี ลงเหลืออยู่ มีปริมาณลดลงเร่ือยๆ จนกระทั่งไม่มีการเจริญเติบโตของสาหร่ายนับต้ังแต่วันท่ี 6
ของการทดลองเป็นตน้ ไป

คาสาคญั : ศักยภาพในการเจรญิ เติบโต; Chlorella sp.; สารสม้ ; โอโซน

Abstract

The objective of this research was to compare the treatment efficiency of Chlorella sp. based on three
methods such as Alum, ozone and Alum combined with ozone. Monitoring of growth potential after each
treatment also investigated. The results showed that 10 mg/L of Alum had the highest Chlorella sp. removal
efficiency. The amount of Chlorella sp. decreased to 1,222 units/ 100 mL or 84.7% removal. Chlorophyll A was
0.0098 ug/L or 94.8% removal while turbidity 0.9 NTU or 83.9% removal. The application of ozone with the
different contact time showed that at 150 seconds of contact time given the highest Chlorella sp. removal
efficiency. The amount of Chlorella sp. decreased to 1,100 units/ 100 mL or 89.4% removal while Chlorophyll A
could not detect and turbidity was 2.4 NTU or 48.7% removal. With the combination of using Alum and ozone

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 265 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

showed that 10 mg/L of Alum followed by 120 seconds of ozone was the best conditions. The removal
efficiency of Chlorella sp., Chlorophyll A and turbidity was 89.2%, 98.0% and 64.6%, respectively. The
monitoring of growth potential of Chlorella sp. after each treatment found that using Alum combined with
ozone showed the most efficiency to inhibit the regrowth of Chlorella sp. A decrease of Chlorella sp. was
observed continuously until completely non-regrowth of Chlorella sp. was made on the 6th day of the
experiment.

Keywords : Growth Potential; Chlorella sp.; Alum; Ozone

บทนา

ปรากฏการณ์การบลูมของสาหร่าย (Algae Bloom) โดยเฉพาะบริเวณน้าผิวดินท่ีถูกใช้เป็นแหล่งน้าดิบเพ่ือการผลิต
น้าประปาสง่ ผลต่อคุณภาพนา้ อยา่ งมนี ัยสาคัญ เช่น กลิ่น ความขุ่น และยังต้องมีการเติมคลอรีนในน้าดิบก่อนท่ีจะเข้าสู่กระบวนการ
ปรบั ปรงุ คณุ ภาพน้าขั้นถัดไป รวมถึงมีโอกาสก่อให้เกิดสารพิษ (Toxins) เช่น Microcystin ซ่ึงมีความเป็นพิษสูงต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อีก
ดว้ ย [1] ในประเทศไทยพบว่าชนดิ ของสาหร่ายสีเขียวที่ปนเป้ือนในกระบวนการผลิตน้าประปามากที่สุดคือ Chlorella sp. (ต่อไปน้ี
เรียกว่า Chlorella sp.) ซ่ึงเป็นสาหร่ายที่มีลักษณะกลมและมีขนาดเล็กท่ีสามารถก่อให้เกิดการอุดตันในระบบทรายกรอง อีกทั้ง
กระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้าทั่วไปยังไม่สามารถกาจัดและทาลายเซลล์ของ Chlorella sp. ให้ออกไปจากน้าดิบได้หมด ทาให้
Chlorella sp. มีโอกาสกลับมาเจริญเติบโตได้อีกคร้ัง [2] กระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้าโดยท่ัวไปมีการใช้กระบวนการ
โคแอกกูเลชัน (Coagulation) เข้ามากาจดั ความขุ่นออกจากน้าดบิ โดยสารสรา้ งตะกอนท่ีนยิ มใช้ เช่น สารส้ม โพลิอลมู ิเนยี มคลอไรด์
และเฟอริกคลอไรด์ เปน็ ต้น อย่างไรก็ตามกระบวนการนี้ไม่ส่งผลกระทบต่อการกาจัดเซลล์สาหร่ายอย่างมีนัยสาคัญ [3] ซ่ึงอาจเป็น
สาเหตหุ น่ึงของการกลับมาเจรญิ เติบโตอีกครงั้ ของเซลล์สาหรา่ ย ในขณะท่ีโอโซนซึ่งเป็นสารออกซิไดซิงต์เอเจนต์ (Oxidizing Agent)
ทีม่ ีความรนุ แรงและมีความรวดเร็วในการทาปฏิกิริยาในการทาลายเซลล์สาหร่ายอาจเป็นทางเลือกหนึ่งในการนามาประยุกต์ใช้งาน
[4] แต่วธิ กี ารน้ีจะทาให้ผนงั เซลล์ (Cell Membrane) ของสาหรา่ ยถูกทาลายและมีการปลดปลอ่ ยสารประกอบ (Compounds) หรือ
สารอนิ ทรยี ท์ ี่อยู่ภายในเซลล์ (Intracellular Organic Matter) ไปยังน้าดิบ ส่งผลให้เกิดกลิ่นและรสท่ีไม่พึงประสงค์ รวมถึงเป็นการ
เพ่ิมความขุน่ ในน้าอันเนื่องมาจากเศษซากของเซลล์สาหรา่ ยได้ [5]

ในงานวจิ ยั น้จี ึงมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อศกึ ษาประสทิ ธิภาพในการบาบดั Chlorella sp. ด้วยการใช้สารส้มเทียบกับการใช้โอโซน
และการใช้สารส้มร่วมกับโอโซน รวมถึงติดตามศักยภาพในการเจริญเติบโตของ Chlorella sp. ท้ังน้ีเพ่ือเป็นประโยชน์ในการ
ประยุกต์ใช้ในการบาบัดสาหร่ายในน้าสาหรับระบบผลิตน้าประปา หรือกระบวนการผลิตน้าท่ีมีปัญหาอันเน่ืองมาจากการปนเปื้อน
ของสาหรา่ ย

อปุ กรณแ์ ละวิธีการ

1. การเตรยี มนาตัวอย่าง
ตวั อย่างน้าดบิ ที่ใชใ้ นการทดลองเตรยี มจากหวั เชือ้ Chlorella sp. และเจือจางดว้ ยนา้ กลนั่ ใหม้ ีความเขม้ ข้น 8,000 ยูนติ /100

มล. (ตามเกณฑเ์ ฝา้ ระวังสาหร่ายในแหล่งน้าดบิ ของการประปานครหลวง, 2537)

2. การบาบดั Chlorella sp. ด้วยการใช้สารสม้ เปน็ สารสร้างตะกอน
เลือกความเข้มข้นของสารส้มในช่วง 0, 5, 10, 15, 20 และ 25 มก./ล. บรรจุลงในตัวอย่างน้าดิบ 600 มล. ใช้การกวนเร็วท่ี

200 รอบ/นาที นาน 1 นาที ตามด้วยการกวนชา้ ท่ี 40 รอบ/นาที นาน 20 นาที แล้วท้ิงให้ตกตะกอนนาน 30 นาที หลังจากน้ันจึงทา
การเกบ็ นา้ ตวั อย่างส่วนใสเพือ่ นาไปวิเคราะห์พารามิเตอร์ตา่ งๆ ตอ่ ไป

3. การบาบัด Chlorella sp. ด้วยการใชโ้ อโซน
นาน้าดบิ ปริมาตร 600 มล. บรรจใุ นกระบอกตวงขนาด 1,000 มล. หลังจากน้ันทาการปล่อยโอโซนด้วยเคร่ืองมือที่ใช้ในการ

ผลติ โอโซนยหี่ อ้ Ozoner ร่นุ OZONER-011-7G ทมี่ คี วามสามารถในการผลติ โอโซนที่ 7 ก./ชม. นาน 0, 30, 60, 90, 120 และ 150
วินาที แลว้ ทง้ิ ใหต้ กตะกอนนาน 30 นาที ตามลาดับ หลังจากน้ันจึงทาการเก็บนา้ ตัวอยา่ งสว่ นใสเพอื่ นาไปวิเคราะห์พารามิเตอร์ต่างๆ
ตอ่ ไป

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 266 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

4. การบาบัด Chlorella sp. ด้วยการใช้สารสม้ รว่ มกบั โอโซน
การทดสอบนเี้ ร่มิ จากการทาจารเ์ ทสตด์ ้วยสารส้มทีม่ ีความเข้มข้น 10 มก./ล. ท้ัง 6 บกี เกอร์ เม่ือสนิ้ สุดปฏิกิริยาทาการเก็บน้า

ตัวอย่างส่วนใส 300 มล. ที่สัมผัสโอโซนที่ระยะเวลา 0, 30, 60, 90, 120 และ 150 วินาที ตามลาดับ หลังจากนั้นจึงทาการเก็บน้า
ตัวอยา่ งไปวเิ คราะห์พารามเิ ตอร์ต่างๆ

5. การติดตามศักยภาพในการเจริญเตบิ โตของ Chlorella sp.
ทาการตดิ ตามศกั ยภาพการเจริญเติบโตของ Chlorella sp. โดยใช้น้าส่วนใสภายหลังการทดลองสารส้ม โอโซน และการใช้

สารส้มรว่ มกับโอโซนเป็นระยะเวลา 7 วัน มีการเก็บน้าอย่างส่วนใสภายหลังการบาบัดในแต่ละการทดลองที่ปริมาตร 300 มล. เก็บ
ตวั อย่างตัง้ ไวท้ ี่อุณหภูมิหอ้ งและอยู่ในบริเวณท่ีแสงแดดส่องถงึ ได้ในชว่ งเวลากลางวัน ระหว่างการทดลองไม่มีการการสารอาหารใดๆ
เพิม่ เตมิ ทาการตรวจวัดพีเอช ความขุ่น และปริมาณ Chlorella sp. ทกุ ๆ 7 วัน

6. การวเิ คราะห์พารามิเตอร์
ตัวอย่างน้าส่วนใสท่ีได้จากการทดลองถูกนาไปวิเคราะห์พีเอช ด้วยเคร่ือง pH Meter ยี่ห้อ METTLER TOLEDO รุ่น

Seven2GoTM สาหรับค่าความขุ่น ตรวจวัดด้วยเคร่ืองวัดความขุ่น ยี่ห้อ Lovibond Water Testing รุ่น TB-210IR การวัดปริมาณ
Chlorella sp. ใช้วธิ ีนับเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ย่ีห้อ Carton รุ่น INS-0104 ร่วมกับ Sedgewick-Rafter (S-R) สไลด์
และในการวัดปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ ทาตามวิธีมาตรฐานของ Standard Methods for the Examination of Water and
Wastewater 10200H [6]

ผลการทดลองและวิจารณ์

ประสทิ ธิภาพในการบาบดั Chlorella sp. ดว้ ยการใช้สารส้ม
จากการทดลองพบว่าการใช้สารส้มท่ีความเข้มข้น 10 มก./ล. มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการกาจัด Chlorella sp. โดยมี

ปริมาณ Chlorella sp. ลดลงเหลือ 1,222 ยูนิต/100 มล. หรือคิดเป็นร้อยละ 84.7 ของการบาบัด ซึ่งสัมพันธ์กับการลดลงของค่า
คลอโรฟลิ ล์ เอ และค่าความข่นุ ทีห่ ลงเหลือในน้าส่วนใส โดยปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ ท่ีพบในน้าส่วนใสเท่ากับ 0.0098 มคก./ล. หรือ
คิดเปน็ ร้อยละ 94.8 ของการบาบดั ในขณะท่ีความขุ่นในน้าเหลือเพียง 0.9 NTU หรือคิดเป็นร้อยละ 83.9 ของการบาบัด ท้ังน้ีพีเอช
ในน้ามีค่าค่อนข้างคงท่ี แสดงผลการทดลองดังรูปที่ 1 (ก) และรูปท่ี 2 (ก) ถึง (ง) สาเหตุที่สารส้มสามารถบาบัด Chlorella sp. ได้
เนื่องจาก Chlorella sp. เป็นคอลลอยดป์ ระเภทหนึ่งซึง่ ผนังเซลลม์ ีประจเุ ป็นลบ เมอ่ื ใสส่ ารส้มลงไปในนา้ สารส้มจะแตกตวั ทาใหเ้ กดิ
เปน็ ประจุบวกอิสระของอลูมิเนียมไอออน (Al3+) ซึ่งสามารถทาลายเสถียรภาพของ Chlorella sp. ได้โดยเปลี่ยนแปลงค่าความต่าง
ศักย์ของบริเวณผิวของเซลล์ Chlorella sp. ทาให้เซลล์สูญเสียเสถียรภาพและสามารถรวมตัวกันเป็นฟล้อค (Floc) ระหว่าง
อลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ (Al(OH)3) และ Chlorella sp. [7] และลดปริมาณ Chlorella sp. จากน้าดิบโดยกระบวนการตกตะกอน
ตอ่ ไป

(ก) สารสม้ (ข) โอโซน

รปู ท่ี 1 ตัวอย่างนา้ ภายหลงั การบาบัด

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 267 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

(ก) พเี อช (ข) ความขุ่น

(ค) Chlorella sp. (ง) คลอโรฟลิ ล์ เอ

รูปท่ี 2 การบาบัด Chlorella sp. ดว้ ยการใช้สารส้มเป็นสารสรา้ งตะกอน

ประสทิ ธภิ าพในการบาบดั Chlorella sp. ดว้ ยการใช้โอโซน
จากการใช้โอโซนในการกาจัด Chlorella sp. ที่ระยะเวลาในการสัมผัสต่างๆ กันในช่วง 0-150 วินาที พบว่า เม่ือ

ระยะเวลาในการสัมผัสโอโซนนานขึ้นปริมาณ Chlorella sp. ท่ีหลงเหลืออยู่ในน้าจะลดลง อันเน่ืองมาจากกลไกในการทาลาย
โครงสร้างผนังเซลล์ของสาหร่าย โดยระยะเวลาสัมผัสโอโซนท่ีให้ประสิทธิภาพดีที่สุดจากการทดลองน้ี คือ 150 วินาที ทาให้
ปริมาณ Chlorella sp. ลดลงเหลือ 1,100 ยูนิต/100 มล. หรือคิดเป็นร้อยละ 89.4 ของการบาบัด ในขณะท่ีตรวจไม่พบปริมาณ
คลอโรฟิลล์ เอ ในน้าส่วนใส สอดคล้องกับงานวิจัยอื่นที่พบว่าเยื่อหุ้มเซลล์ของสาหร่ายจะถูกทาลายโดยสมบูรณ์หลังจากเข้าสู่
กระบวนการโอโซเนชนั ท่ีระยะเวลาในการสมั ผสั โอโซนมากกว่า 30 วนิ าที [8] สาหรบั ค่าความขุ่นในนา้ สว่ นใสมคี ่าสูงกว่าการใชส้ าร
สรา้ งตะกอน คอื 2.4 NTU หรอื คดิ เป็นร้อยละ 48.7 ของการบาบดั สาเหตทุ ี่ค่าความข่นุ ภายหลงั การบาบัดมีค่าสูงเนื่องจากโอโซน
ไมไ่ ดม้ สี ่วนช่วยในกระบวนการสรา้ งและรวมตะกอนของสาหรา่ ยทาให้คา่ ความขุน่ ในนา้ ยังคงพบในปรมิ าณทสี่ งู อยู่ ในกรณีของการ
ใชร้ ะยะเวลาในการสัมผัสตวั อยา่ งน้ากับโอโซนที่นานขึ้นพบว่าพีเอชในตัวอย่างมีแนวโน้มท่ีลดลงเล็กน้อย เน่ืองจากการเติมโอโซน
ในนา้ ทรี่ ะยะเวลาสัมผสั นานข้นึ โดยปกติจะทาให้พีเอชในน้าเพิ่มขน้ึ แต่เมื่อโอโซนทาปฏกิ ริ ยิ ากบั สาหร่ายท่ีหลงเหลืออยู่ในน้าส่งผล
ใหผ้ นงั เซลลข์ องสาหร่ายถกู ทาลายและเกิดการปลดปลอ่ ยของเหลวภายในเซลล์ของสาหร่ายซึ่งเป็นสารจาพวกกรดอินทรีย์ออกมา
ในน้า จึงทาให้พีเอชในนา้ ลดลงเล็กนอ้ ย [9] แสดงผลการทดลองดงั รูป 1 (ข) และรูปที่ 3 (ก) ถงึ (ง)

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 268 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

(ก) พีเอช (ข) ความขนุ่

(ค) Chlorella sp. (ง) คลอโรฟิลล์ เอ

รูปที่ 3 การบาบัด Chlorella sp. ดว้ ยการใช้โอโซน

ประสทิ ธภิ าพในการบาบดั Chlorella sp. ด้วยการใช้สารส้มรว่ มกบั โอโซน
จากการเลอื กใชส้ ารสม้ ท่ีความเข้มขน้ 10 มก./ล. ร่วมกบั โอโซนที่ระยะเวลาสัมผัสในช่วง 0-150 วินาที พบวา่ ระยะเวลา

ในการสมั ผสั โอโซนที่เหมาะสมควรมีค่าตั้งแต่ 30 วินาทีขึ้นไป ทาให้ได้ประสิทธิภาพในการบาบัด Chlorella sp. ท่ีสูงกว่าร้อยละ
80 ของการบาบัด ทั้งนี้ระยะเวลาสัมผัสโอโซนท่ี 120 วินาทีมีประสิทธิภาพในการบาบัด Chlorella sp. ดีที่สุด โดยมีปริมาณ
Chlorella sp. ลดลงเหลอื 933 ยูนิต/100 มล. หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 89.2 ของการบาบัด และปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ ในน้าส่วนใส
เท่ากบั 0.0052 มคก./ล. หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 98.0 ของการบาบัด สาเหตุท่ีประสิทธิภาพในการบาบัดปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ มีค่า
น้อยลง เมื่อเปรียบเทียบกบั การใช้โอโซนเพียงอย่างเดียว เนื่องจากการใช้สารส้มทาให้มี Chlorella sp. บางส่วนลอยอยู่บนผิวน้า
เม่ือเข้าสู่กระบวนการบาบัดด้วยโอโซนอาจทาให้ Chlorella sp. สัมผัสกับโอโซนได้ไม่ท่ัวถึง และเมื่อส้ินสุดปฏิกิริยาของการใช้
สารส้มร่วมกับโอโซนแล้วพบว่ายังคงมี Chlorella sp. ลอยอยู่บนผิวน้าเช่นกัน ในขณะท่ีค่าความขุ่นในน้าเหลือเพียง 0.9 NTU
หรือคิดเป็นร้อยละ 64.6 ของการบาบัด ท้ังน้ีพีเอชในน้าค่อนข้างคงที่ เนื่องจากภายหลังการบาบัดด้วยสารส้ม Chlorella sp. ท่ี
หลงเหลืออยู่ในน้ามีปริมาณน้อยลง ส่งผลให้การปลดปล่อยของเหลวจาพวกกรดอินทรีย์ท่ีมีอยู่ภายในเซลล์ Chlorella sp.
ภายหลงั การใช้โอโซนมนี อ้ ยลง จงึ ไมส่ ง่ ผลทาให้พเี อชของตวั อย่างนา้ มีการเปล่ยี นแปลง แสดงผลการทดลองดังรปู ที่ 4 (ก) ถึง (ง)

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 269 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

(ก) พเี อช (ข) ความขนุ่

(ค) Chlorella sp. (ง) คลอโรฟิลล์ เอ

รปู ที่ 4 การบาบัด Chlorella sp. ด้วยการใช้สารส้มรว่ มกับโอโซน

การเปรยี บเทียบศักยภาพในการเจริญเตบิ โตของ Chlorella sp.
ในการตดิ ตามศักยภาพในการเจริญเติบโตของ Chlorella sp. ภายหลงั การใช้สารส้มในการบาบัด พบว่า Chlorella sp.

สามารถเจรญิ เติบโตและเพิ่มจานวนเซลล์ได้ตง้ั แตว่ ันที่ 2 การบาบัด โดยมีจานวนของ Chlorella sp. เพิ่มขึ้นสูงสุดเป็น 1.28 เท่า
เมอ่ื เทยี บกบั วนั แรกทท่ี าการบาบดั คิดเป็น 2,133 ยนู ติ /100 มล. หลังจากน้ัน Chlorella sp. มแี นวโน้มลดลงเร่ือยๆ ตั้งแต่วันท่ี 4
จนถึงวันที่ 7 ทาให้มีปริมาณ Chlorella sp. หลงเหลืออยู่ในน้าเพียง 933 ยูนิต/100 มล. ดังรูปที่ 5 ทั้งน้ีมีความเป็นไปได้ว่า
หลังจากการบาบัดด้วยการใช้สารส้ม สารส้มซ่ึงหลงเหลืออยู่ในน้าจะแตกตัวเป็นอลูมิเนียมไอออน (Al3+) สร้างความเป็นพิษให้กับ
เซลลข์ องสาหร่ายได้ [10] ทาให้ Chlorella sp. ท่ีไม่สามารถปรับสภาพเซลล์ให้เข้ากับสภาวะใหม่ของน้าได้จึงค่อยๆ ตายไปและ
ทาใหป้ ริมาณ Chlorella sp. ท่อี ยู่ในน้าลดลง [1] สาหรบั ศกั ยภาพในการเจรญิ เติบโตของ Chlorella sp. ภายหลังการบาบัดด้วย
การใชโ้ อโซน พบว่า Chlorella sp. สามารถกลบั มาเจริญเตบิ โตอกี ครั้งได้ในวันท่ี 6 โดยมีปริมาณเพ่ิมขึ้นจาก 667 ยูนิต/100 มล.
เปน็ 1,000 ยูนติ /100 มล. หรอื คิดเปน็ 1.5 เทา่ นบั จากวันแรกที่ทาการบาบดั

เนื่องจากพีเอชมผี ลต่อความมีเสถยี รภาพของโอโซนที่ละลายอยใู่ นน้า โดยทโี่ อโซนสามารถคงอยใู่ นนา้ ได้นานข้ึนเมอื่ นา้
มีสภาวะเป็นกรด และสามารถสลายตัวได้เร็วขึ้นเม่ือน้ามีสภาวะเป็นด่าง [11] จากการทดสอบโดยใช้โอโซนในการบาบัด
Chlorella sp. พบว่าพเี อชในนา้ ภายหลังการบาบดั มีคา่ 8.4 ดังนน้ั เมอ่ื เวลาผ่านไปปริมาณโอโซนที่ละลายในน้าจะมีน้อยลงและมี
ประสิทธิภาพในการบาบัดเซลล์ Chlorella sp. ได้น้อยลง ดังน้ันโอกาสท่ี Chlorella sp. จะสัมผัสกับโอโซนท่ีเหลืออยู่ก็น้อยลง
ดว้ ยเช่นกัน จึงทาให้ Chlorella sp. บางส่วนที่หลงเหลืออยู่ในน้ามีโอกาสเพ่ิมจานวนเซลล์และกลับมาเจริญเติบโตได้ในน้าได้อีก
ครงั้ เมือ่ ตดิ ตามการเจรญิ เตบิ โตของ Chlorella sp. พบวา่ ในวันแรกภายหลงั จากการบาบดั ปริมาณ Chlorella sp. มีค่าเป็น 667
ยูนิต/100 มล. และเพิ่มขึ้นในวันท่ี 6 โดยมีปริมาณ Chlorella sp. เป็น 1,000 ยูนิต/100 มล. และมีแนวโน้มเพิ่มอย่างต่อเนื่อง
จนถึงวันที่ 7 ของการทดลอง

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 270 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

สาหรับการบาบัด Chlorella sp. ด้วยการใช้สารส้มที่ความเข้มข้น 10 มก./ล. ร่วมกับโอโซนท่ี 120 วินาที พบว่า
ศักยภาพในการเจริญเติบโตของ Chlorella sp. มีค่าลดลงตามระยะเวลา โดยท่ีปริมาณ Chlorella sp. ลดลงเรื่อยๆ จาก 667
ยูนิต/100 มล. ในวันแรกของการทดลอง จนกระทั่งตรวจไม่พบปริมาณ Chlorella sp. ในน้าตัวอย่างนับต้ังแต่วันท่ี 6 ของการ
ทดลอง ทัง้ นเี้ น่อื งจากประสิทธภิ าพในการทางานของสารส้มทีช่ ว่ ยลดปริมาณของ Chlorella sp. ลง และเม่ือนาตัวอยา่ งนา้ ส่วนใส
ไปผ่านกลไกการทาลายเซลล์ของโอโซนอย่างต่อเน่ือง ทาให้ Chlorella sp. ที่หลงเหลืออยู่ในน้ามีความอ่อนแอ ไม่สามารถมีชีวิต
อยู่รอดรวมถึงการเพิ่มจานวนของ Chlorella sp. ได้ ทั้งน้ีพีเอชของน้าตัวอย่างในช่วงระยะเวลา 7 วันที่ทาการทดลองมีค่า
คอ่ นขา้ งคงท่ี ทัง้ นี้สามารถสรุปได้ว่าการบาบัด Chlorella sp. ด้วยการใชส้ ารส้มร่วมกับโอโซนมีประสิทธิภาพดีที่สุด รองลงมาคือ
การใชส้ ารสม้ และการใช้โอโซนตามลาดบั แสดงผลการทดลองแสดงดังรูปที่ 5 และ 6

(ก) Chlorella sp. (ข) พีเอช

รปู ที่ 5 ปริมาณสาหรา่ ยภายหลงั การบาบัดด้วยการใช้สารสม้ โอโซน และการใชส้ ารสม้ ร่วมกับโอโซนในช่วงระยะเวลา 7 วัน

รปู ที่ 6 ประสิทธภิ าพในการบาบัด Chlorella sp. ด้วยการใช้สารสม้ โอโซน และการใชส้ ารสม้ ร่วมกบั โอโซน

สรปุ

1. การใชส้ ารสม้ เปน็ สารสร้างตะกอนท่ีความเข้มข้น 10 มก./ล. ให้ประสิทธิภาพดีท่ีสุดในการบาบัด Chlorella sp. คิด
เปน็ ร้อยละ 84.7 การบาบดั คลอโรฟิลล์ เอ คดิ เป็นรอ้ ยละ 94.8 และการบาบดั ความขุ่นคดิ เป็นรอ้ ยละ 83.9 ของการบาบดั

2. การใช้โอโซนในการบาบัด Chlorella sp. ที่ความเข้มข้นของโอโซน 7 ก./ชม. และระยะเวลาในการสัมผัสโอโซนที่
150 วนิ าที มปี ระสทิ ธภิ าพในการบาบดั Chlorella sp. คิดเป็นร้อยละ 89.4 และการบาบดั ความขนุ่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 48.7 ในขณะท่ี
ตรวจไม่พบปรมิ าณคลอโรฟิลล์ เอ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 271 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

3. การใชส้ ารส้มทค่ี วามเข้มข้น 10 มก./ล. ร่วมกับโอโซนที่ระยะเวลาสัมผัสท่ี 120 วินาที ให้ประสิทธิภาพดีที่สุดในการ
บาบัด Chlorella sp. คิดเป็นร้อยละ 89.2 การบาบัดคลอโรฟิลล์ เอ คิดเป็นร้อยละ 98.0 และการบาบัดความขุ่นคิดเป็นร้อยละ
64.6 ของการบาบดั

4. การบาบัด Chlorella sp. ด้วยการใช้สารส้มร่วมกับโอโซนมีประสิทธิภาพดีที่สุดในการยับยั้งการเจริญเติบโตของ
Chlorella sp. รองลงมาคอื การใชส้ ารส้มและการใช้โอโซนตามลาดับ โดยภายหลังการบาบัดด้วยการใช้สารส้มท่ีความเข้มข้น 10
มก./ล. ร่วมกับการใช้โอโซนท่ีระยะเวลาสัมผัส 120 วินาที พบว่าปริมาณ Chlorella sp. ที่หลงเหลืออยู่ มีปริมาณลดลงเร่ือยๆ
จนกระท่ังไมม่ กี ารเจรญิ เติบโตของสาหรา่ ยนับตัง้ แต่วนั ท่ี 6 ของการทดลองเป็นต้นไป

เอกสารอ้างอิง

[1] Jin X., Bi L., Lyu T., Chen J., Zhang H. and Pan G. 2019. Amphoteric starch-based bicomponent modified
soil for mitigation of harmful algal blooms (HABs) with broad salinity tolerance: Flocculation, algal
regrowth, and ecological safety. Water Research. 165: 1-8.

[2] ทนั ดาว ทองตนั . 2545. สาหร่ายในกระบวนการผลิตนา้ ประปาทีโ่ รงผลติ นา้ ประปาสามเสน. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวชิ าวิทยาศาสตรส์ ภาวะแวดล้อม สหสาขาวิชาวิทยาศาสตรส์ ภาวะแวดลอ้ ม จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

[3] Hall T., Hart J., Croll B. and Gregory R. 2007. Laboratory-scale investigations of algal toxin removal by
water treatment. Water and Environment Journal. 14(2): 143–149.

[4] Hoeger, S. J., Dietrich, D. R., Hitzfeld and B. C. 2002. Effect of ozonation on the removal of cyanobacterial
toxins during drinking water treatment. Environmental Health Perspectives. 110(11): 1127-1132.

[5] Plummer J.D. and Edzwald J.K. 2001. Effect of ozone on algae as precursors for trihalomethane and
haloacetic acid production. Environmental Science & Technology. 35: 3661–3668.

[6] APHA, AWWA and WEF. 2017. Standard Methods for the Examination of Water and Waste Water, 23th
Edition. Washington, DC, United States.

[7] ภรณี หวงั ธารงวงศ์, กฤษณ์ เฑยี รฆประสิทธ์ิ, วชริ ะ สิงหะคเชนทร์ และเยาวลักษณ์ เต็งเจริญกุล. 2543. ประสิทธิภาพในการ
กาจดั สาหรา่ ยดว้ ยวธิ ีการตกตะกอนทางเคมี. วารสารวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี(ภาษาไทย) ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 2: 22-28.

[8] Wu, Z., Shen, H., Ondruschka, B., Zhang, Y., Wang, W. and Bremner D. H. 2012. Removal of blue-green
algae using the hybrid method of hydrodynamic cavitation and ozonation. Journal of Hazardous Materials.
235-236: 152-158.

[9] สุทธิรัตน์ กาบแก้ว. 2546. การใช้โอโซนสาหรับการฆ่าเช้ือโรคในน้าประปา. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรม
ส่ิงแวดลอ้ ม คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

[10] Robert W. G. and Richard C. P. 1999. The bioavailability and toxicity of aluminum in
aquatic environments. Critical Reviews in Environmental Science and Technology. 29(4): 315-450.

[11] Andoyo R., Prawitasari I. A. P., Mardawati E., Cahyana Y., Sukarminah E., Rialita T., Zaida, D. M., Hanidah I.
and Setiasih I. S. 2018. Retention time of ozone at various water condition. Journal of Physics: Conference
Series. 1080: 1-6.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 272 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

044

ความคดิ เห็นดา้ นผลกระทบจากเสยี งรบกวนของเครื่องบิน
ที่ส่งผลต่อประชาชนชุมชนบ้านหมากปรก ตาบลไมข้ าว

อาเภอถลาง จังหวดั ภูเกต็
The Opinions of Impact of Aircraft Noise

Ban Mak Prok, Mai Khao Subdistrict
Thalang District, Phuket Province

ณชิ นันทน์ หลานหลงส้า1* ธิดารตั น์ คาล้อม1 และ นติ ญิ า สังขนนั ท2์
Nichanan Lanlongsa1 Tidarat Kumlom1* and Nitiya Sangkhanan2
1อาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั ภเู กต็ ภเู กต็ 83000
2ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ; 1*นักศกึ ษา สาขาวชิ าวิทยาศาสตรส์ ่งิ แวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภเู กต็ ภเู กต็ 83000
*โทรศพั ท์ : 076-240-474 ต่อ 4000, โทรสาร : 076-218-806, E-mail : [email protected]

บทคัดยอ่

งานวิจยั นมี้ วี ัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ศกึ ษาความคดิ เหน็ ด้านผลกระทบจากเสียงรบกวนของเคร่ืองบินที่ส่งผลต่อประชาชนชุมชน
บ้านหมากปรก ตาบลไมข้ าว อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ซ่ึงความคิดเห็นจะแบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ 1. ด้านสุขภาพ 2. ด้านสภาพ
ความเป็นอยู่และสิ่งแวดล้อม ทาการศึกษาในช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม 2562 และกาหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง คือ
กล่มุ ครวั เรือนที่ได้รับผลกระทบจากเสยี งของเครอื่ งบิน จานวน 210 ครัวเรือน เกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ซ่ึงมีท้ังหมด
4 ตอน สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ และคา่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน

ผลการศกึ ษา พบวา่ ส่วนใหญ่เปน็ เพศหญงิ มากกวา่ เพศชาย (51.9 %) อายุระหว่าง 26-35 ปี (26.2 %) ระดับการศึกษา
ชนั้ มัธยมศกึ ษา (34.46 %) ประกอบอาชีพลูกจ้างเอกชน/พนักงานบริษัท (33.3 %) ลักษณะบ้านท่ีอยู่อาศัยบ้านชั้นเดียวแบบปูน
(47.6 %) พักอาศัยในระยะเวลามากกว่า 15 ปี (58.6 %) ระยะห่างจากท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะทาง 3 กิโลเมตร (53.3 %)
ผลกระทบที่ได้รบั จากเสียงของเครอ่ื งบินมากทส่ี ุด คือ เสยี งและความสน่ั สะเทือน (51.3 %) ผูท้ ีร่ ้องเรียนสว่ นใหญ่ไดแ้ จง้ กับกานัน/
ผู้ใหญ่บ้าน (20.95 %) และหลังที่มีการร้องเรียนได้รับการแก้ไขโดยกานัน/ผู้ใหญ่บ้าน (15.71 %) และความคิดเห็นด้านสุขภาพ
พบวา่ ประเด็นเสียงข้ึน-ลงของเครอื่ งบินส่งผลกระทบทาให้เกดิ ความเครียด และหงุดหงิด ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย
สงู สุด ( = 3.78 , S.D. =1.05) และความคดิ เห็นด้านสภาพความเป็นอยู่และส่ิงแวดลอ้ ม พบวา่ ประเด็นของขนาดของเคร่ืองบิน
มีผลทาให้เกิดเสียงและความสั่นสะเทือน ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( = 4.23 , S.D. = 0.92)
ผลการศึกษาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาเบ้ืองต้นของชุมชน พบว่า ต้องการตรวจสุขภาพ (การได้ยิน) (55.7 %) และ
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ไม่ให้ข้อเสนอแนะ สาหรับผู้ท่ีให้ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ต้องการให้ผู้ประกอบการท่าอากาศยาน
ดาเนินการแก้ไขและปรับปรุงโดยจัดให้มีค่าเยียวยา และค่าชดเชยจากผลกระทบทางเสียงท่ีเกิดข้ึน (6.19 %) และต้องการให้มี
บรกิ ารตรวจสขุ ภาพมากกวา่ 1 คร้ัง/ปี (1.43 %) ตามลาดบั

คาสาคญั : ผลกระทบ; ความคิดเหน็ ; เสียงรบกวน, เคร่อื งบนิ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 273 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

Abstract

The present research aimed to investigate the opinion on the effects of the aircraft noise pollution
on people. The opinion was divided into two aspects which were 1) the heath and 2) the living and
environment. This study was conducted in January – March 2019. Two hundred and ten families that were
affected by the aircraft noise pollution were included in this study by using the purposive sampling method.
All data were obtained through the questionnaires which consisted of four sections. The statistical analyzed
data were frequency, percentage, mean and standard deviation.

The present study found that the aircraft noise pollution affected female (51.9%) more than male in
the age range between 26 – 35 years (26.2 %), graduated with secondary education (34.46 %), worked as a
private employee/staff (33.3 %) and lived in a one-story cement house (47.6 %) for more than 15 years (58.6
%). Their residences were 3 km. from Phuket international airport (53.3 %). The aircraft noise pollution
affected the most on the noise and vibration (51.3 %). Most of the affected persons reported the problems to
the subdistrict headman/village headman (20.95 %). After their complaints, the problems were solved by the
subdistrict headman/village headman (15.71 %). For the opinion on health, aircraft noise from departing and
arriving caused stress and irritability at high level ( = 3.78, S.D. =1.05). For the opinion on living and
environment, the size of aircraft affected the noise and vibration at highest level ( = 4.23, S.D. = 0.92). For
the prevention and the initial problem-solving process, the affected person required the heath check-up
(hearing tests) (55.7 %). Most of the respondents did not provide the suggestions but those who gave the
suggestions requested the monetary reparation of the noise pollution (6.19 %) and the health check-up for
more than one time per year (1.43 %) from the airport operator.

Keywords : Effects; Opinions; Noise, Aircraft

บทนา

ในยุคสมัยท่ีมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีนามาใช้พัฒนาระบบคมนาคม เพื่อตอบสนองความต้องการความสะดวกสบาย
อยา่ งไม่มขี ีดจากัดของผูค้ นแล้วนัน้ ตอ้ งยอมรับวา่ การคมนาคมทางอากาศ เป็นทางเลอื กทส่ี ามารถตอบโจทย์ทั้งความสะดวกสบาย
และรวดเร็ว เมือ่ เทยี บกับการคมนาคมอ่นื ๆ จึงทาใหอ้ ุตสาหกรรมการบินมีการเจริญเติบโตเพ่ิมมากขึ้น และประเทศไทยก็ได้มีการ
ก่อสร้างสนามบินเพ่ือรองรับการคมนาคมภายใต้ข้อจากัดของพ้ืนที่การวางผังเมืองและประชากร จากปัจจัยดังกล่าวส่งผลให้
ประชาชนที่ต้องอาศัยอยู่บริเวณโดยรอบท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต ประสบปัญหาต่อการดาเนินชีวิต อาทิ จังหวัดภูเก็ตที่เร่ง
พัฒนาสนามบินเพื่อรองรับนักท่องเท่ียวที่หล่ังไหลมาเที่ยวชม ตามกระแสความโด่งดังทางด้านความสวยงามของธรรมชาติ
มลี กั ษณะภมู ิศาสตรท์ ี่โดดเด่นและเป็นแหล่งรวมของธุรกิจแขนงต่างๆ อีกด้วย แต่เน่ืองจากจังหวัดภูเก็ตมีลักษณะเป็นเกาะขนาด
เล็ก ซงึ่ มีพืน้ ท่ี 570.034 ตารางกโิ ลเมตร และจานวนประชากร 392,011 คน ซ่ึงยากต่อการจัดสรรแหล่งที่อยู่อาศัยให้เหมาะสมได้
จากข้อมูลเท่ียวบินระหว่าง ปี พ.ศ. 2558, 2559, 2560 และปี พ.ศ. 2561 ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต มีจานวนเท่ียวบิน
84,758 , 97,813, 106,093 และ 118,280 เที่ยวบิน จะเห็นได้ว่ามีจานวนเท่ียวบินเพิ่มมากขึ้นจากปีก่อนหน้าตามลาดับ [1]
ฉะน้ันจึงเป็นที่มาของข้อพิพาทระหว่างท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตกับชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณโดยรอบ คือ ในเขตพ้ืนท่ีหมู่ท่ี 1
ชุมชนบ้านหมากปรก ตาบลไม้ขาว อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ที่ประสบปัญหาจากระดับเสียงของเคร่ืองบินที่ค่อนข้างสูงในช่วง
บนิ ข้นึ -ลง ส่งผลใหบ้ ้านเรอื นมีรอยแตกร้าว เด็กเล็กมีปัญหาแก้วหู หูอื้อ หูหนวก ประกอบกับข้อมูลจากท่าอากาศยานพบว่า 210
ครัวเรือน ในหมทู่ ี่ 1 ชมุ ชนบา้ นหมากปรกได้รบั ผลกระทบเรือ่ งเสยี งดังจากเครอ่ื งบนิ ทาให้มีอาการหูอื้อ ได้ยินไม่ชัดเจน จนกระท่ัง
โรงเรียนบ้านหมากปรกทาการเรียนการสอนไม่ได้ จึงย้ายไปในปี พ.ศ. 2532 [2] ดังน้ันผู้วิจัยจึงมีความสนใจในการศึกษาความ
คดิ เหน็ ด้านผลกระทบจากเสียงรบกวนของเคร่อื งบนิ และตระหนกั ถึงสภาพปัญหาผลกระทบจากเสียงรบกวนของเครื่องบินที่ส่งผล
ตอ่ ประชาชนชมุ ชนบ้านหมากปรก ตาบลไมข้ าว อาเภอถลาง จงั หวดั ภเู กต็ ซงึ่ นบั ว่าเป็นส่ิงที่จาเป็นอย่างยิ่ง เพ่ือความปลอดภัยท้ัง
ทางดา้ นสขุ ภาพอนามัย สภาพจติ ใจ และตลอดจนความเปน็ อยู่ของประชาชนท่อี าจจะไดร้ บั ผลกระทบเหล่าน้ี

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 274 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

อุปกรณ์และวธิ ีการ

จากข้อมูลการลงสารวจพ้ืนที่ของการท่าอากาศยานภูเก็ต ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเสียงขึ้น-ลงของเคร่ืองบิน บริเวณพ้ืนท่ี
หมู่ท่ี 1 บ้านหมากปรก ตาบลไม้ขาว อาเภอถลาง จังหวดั ภเู กต็ จานวน 210 ครัวเรอื น โดยคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติงบประมาณจาก
การท่าอากาศยานภูเก็ต จานวน 3,000 ล้านบาท เพื่อเป็นค่าเยียวยาให้กับผู้ท่ีรับผลกระทบจากการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต
ดงั นั้นในการศกึ ษาวิจยั ครั้งน้ีจึงทาการวิจัยเชิงสารวจ ในเขตพ้ืนที่หมู่ท่ี 1 ชุมชนบ้านหมากปรก ตาบลไม้ขาว อาเภอถลาง จังหวัด
ภูเกต็ ดังภาพที่ 1 จานวน 210 ครัวเรือน โดยเลือกเก็บแบบสอบถามเฉพาะกลุ่มครัวเรือนท่ีได้รับผลกระทบจากเสียงรบกวนของ
เครือ่ งบนิ ตามทก่ี ารท่าอากาศยานได้ศกึ ษาไว้ ดังภาพที่ 2 โดยการศกึ ษาการวิจัยครั้งนี้จะแบ่งแบบสอบถามออกเป็น 4 ตอน ได้แก่
ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความคดิ เหน็ ในดา้ นระดบั ผลกระทบจากเสียงรบกวนของเครื่องบินท่ีส่งผล
ต่อประชาชน ตอนท่ี 3 แนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาเบอื้ งตน้ ของชมุ ชน และตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะจากผลกระทบของเสียง
รบกวนของเครื่องบินท่ีส่งผลต่อประชาชน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่า
ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และมีเกณฑ์การพิจารณาจากคะแนนที่ได้จากแบบสอบถาม 5 ระดับ ใช้ตามวิธีของ ยศพล คลี่ขจาย
(2554) [3]

สัญลักษณ์ ภาพที่ 1 ภาพถา่ ยดาวเทียมแสดงระยะห่างท่าอากาศยานนานาชาตภิ ูเกต็ กับพนื้ ท่ีชมุ ชนบา้ นหมากปรก
สัญลกั ษณ์ ตาบลไม้ขาว อาเภอถลาง จงั หวัดภเู กต็

แสดงกลุ่มครัวเรอื นทไี่ ดร้ บั ผลจากเสยี งรบกวนของเคร่อื งบนิ จานวน 210 ครัวเรอื น
รศั มี 3 กิโลเมตร

ท่ีมา: Google Earth Pro, (3 กุมภาพันธ์ 2562)

ภาพท่ี 2 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากผู้ตอบแบบสอบถาม

ผลการทดลองและวิจารณ์

1. ขอ้ มูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย (51.9 %) มีอายุระหว่าง 26-35 ปี

(26.2 %) มรี ะดบั การศึกษาชนั้ มัธยมศกึ ษา (34.46 %) มีอาชีพประกอบอาชีพลูกจ้างเอกชน/พนักงานบริษัท (33.3 %) มีลักษณะ
บา้ นทอ่ี ยู่อาศยั บ้านชนั้ เดยี วแบบปนู (47.6 %) พักอาศยั ในระยะเวลา มากกว่า 15 ปี (58.6 %) ระยะห่างจากท่าอากาศยานภูเก็ต

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 275 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ระยะทาง 3 กิโลเมตร (53.3 %) ผลกระทบท่ีได้รับจากเสียงเคร่ืองบินมากที่สุด คือ เสียงและความสั่นสะเทือน (51.3 %) ผู้ที่
ร้องเรียนส่วนใหญ่ได้แจ้งกับกานัน/ผู้ใหญ่บ้าน (20.95 %) ซ่ึงกานัน/ผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้นาหลักในพ้ืนนี้แห่งน้ี จึงสามารถท่ีจะติดต่อ
และดาเนนิ การกบั ทางการท่าอากาศยานได้สะดวกและรวดเรว็ กว่า

จากการศึกษาความคิดเห็นด้านผลกระทบจากเสียงรบกวนของเครื่องบิน ที่ส่งผลต่อประชาชนชุมชนบ้านหมากปรก
ตาบลไมข้ าว อาเภอถลาง จงั หวัดภูเกต็ จานวน 210 ครวั เรือน พบวา่ มผี ตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญเ่ ปน็ เพศหญงิ มากกว่าเพศชาย
มอี ายรุ ะหว่าง 26-35 ปี เนอื่ งจากในช่วงนเ้ี ป็นวยั ทางานและมีกาลงั มากกวา่ ชว่ งวยั อ่นื ๆ มีระดบั การศกึ ษาช้นั มธั ยมศึกษา ประกอบ
อาชพี ลูกจ้างเอกชน/พนกั งานบริษทั เชน่ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเกต็ หรือโรงแรมที่อยู่บริเวณใกล้เคียง ลักษณะบ้านท่ีอยู่อาศัย
บา้ นชั้นเดยี วแบบปูน ซึง่ บ้านลกั ษณะเหล่านม้ี คี วามทนทานหรือเหมาะสม และบ้านปูนสามารถเก็บเสียงและสามารถป้องกันเสียง
รบกวนจากภายนอกตัวบ้านได้เปน็ อยา่ งดี ระยะเวลาที่พกั อาศยั ส่วนใหญ่ มากกว่า 15 ปี เน่ืองจากคนในชุมชนนี้อาศัยอยู่ในชุมชน
มาเป็นระยะเวลายาวนาน ประชาชนส่วนใหญ่อาศยั อย่ใู นระยะห่างจากท่าอากาศยานภูเกต็ ในระยะ 3 กิโลเมตร เน่ืองจากบริเวณ
น้ันเป็นย่านชุมชนท่ีประชาชนอาศัยกันเป็นส่วนใหญ่ และผลกระทบท่ีได้รับจากเสียงข้ึน-ลงของเครื่องบินมากที่สุด คือ เสียงและ
ความส่ันสะเทือนจากการข้ึน-ลงของเคร่ืองบิน ซ่ึงเป็นปัญหาหลักท่ีประชาชนในพื้นท่ีชุมชนบ้านหมากปรกได้รับผลกระทบ เสียง
จากการข้ึน-ลงของเครื่องบินส่งผลทาให้โครงสร้างที่อยู่อาศัยของประชาชนได้รับความเสียหาย เช่น กระจกร้าว กระเบื้องหลังคา
หลุดร่อน รวมไปถึงเกิดปัญหาด้านสุขภาพ เช่น ระบบการได้ยินผิดปกติ หูอ้ือและหูหนวก ได้ยินไม่ค่อยชัดเจน เหตุน้ีจึงทาให้
ประชาชนส่วนใหญ่ในพืน้ ทชี่ ุมชนบา้ นหมากปรกท่ไี ด้รับความเสียหายจากการข้ึน-ลงของเครื่องบนิ ไดม้ ีการรอ้ งเรียนถงึ ผลกระทบที่
เกิดขึ้นกับกานัน/ผู้ใหญ่บ้านชุมชนบ้านหมากปรก ซึ่งกานัน/ผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้นาหลักในพ้ืนนี้แห่งน้ี จึงสามารถท่ีจะติดต่อและ
ดาเนนิ การกบั ทางการท่าอากาศยานได้สะดวกและรวดเร็ว และในการร้องเรียนเพ่ือที่จะให้ทางการท่าอากาศยานภูเก็ต ได้เข้ามา
แก้ไขและติดตามตรวจสอบจากผลกระทบทางเสียงที่เกิดขึ้น เช่น ในกรณีท่ีได้รับความเดือดร้อนราคาญจากเสียงและความ
สน่ั สะเทอื นจากการขน้ึ -ลงของเครื่องบิน ผปู้ ระกอบการท่าอากาศยานนานาชาตภิ ูเก็ต จะรับผิดชอบในส่วนท่ีทาให้ประชาชนได้รับ
ความเสียหาย โดยมีมาตรการหรือหลักเกณฑ์การจ่ายค่าชดเชยหรือค่าเยียวยาให้แก่ครัวเรือนท่ีได้รับผลกระทบจากเสียงรบกวน
ของเครือ่ งบนิ ซึ่งหลักเกณฑ์ในการจ่ายคา่ เยยี วยานั้นจะแบง่ ออกตามประเภทของผลกระทบท่ีเกิดขึ้น ได้แก่ 1. กลุ่มผู้ที่มีครัวเรือน
อาศัยอยู่ในเขตท่ีมีเสียงดังเกิน NEF 40 ทางการท่าอากาศยานภูเก็ตให้เลือกระหว่างขายอาคารพร้อมท่ีดิน หรือรับเงินเพื่อไป
ปรบั ปรงุ อาคาร 2. กลมุ่ ผูท้ ีม่ คี รวั เรือนอาศัยอยใู่ นเขตทมี่ ีเสยี งดงั NEF 30-40 น้ัน จะได้รบั เงินชดเชยเพอ่ื ปรับปรงุ อาคารเพียงอย่าง
เดียว (จา่ ยเฉพาะอาคารท่ีสรา้ งก่อนปี พ.ศ. 2553) [2]

2. ความคดิ เห็นในดา้ นระดบั ผลกระทบจากเสียงรบกวนของเครื่องบนิ ที่ส่งผลต่อประชาชน

ผลการศกึ ษาความคิดเห็นในดา้ นระดับผลกระทบจากเสียงรบกวนของเคร่ืองบินท่ีส่งผลต่อประชาชนสามารถแบ่งได้เป็น

2 ประเด็น คือ ประเด็นความคิดเห็นในด้านสุขภาพ และประเด็นความคิดเห็นในด้านสภาพความเป็นอยู่และส่ิงแวดล้อม ซึ่งมี

รายละเอียดดงั ตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 ระดบั ผลกระทบในประเด็นความคิดเห็นด้านสุขภาพและในประเด็นด้านสภาพความเป็นอยู่และส่ิงแวดล้อม จากเสียง

รบกวนของเครอื่ งบินที่สง่ ผลต่อประชาชนบา้ นหมากปรก ตาบลไมข้ าว อาเภอถลาง จงั หวัดภูเกต็

ประเด็นความคดิ เห็นในด้านสขุ ภาพ คา่ เฉลย่ี ค่า SD

ระดบั ผลกระทบมาก

1. เสยี งขนึ้ -ลงของเครื่องบินส่งผลกระทบทาให้เกดิ ความเครยี ด และหงุดหงดิ 3.78 1.05

ระดับผลกระทบปานกลาง

1. เสียงขึ้น-ลงของเครอ่ื งบินส่งผลกระทบต่อการได้ยนิ เชน่ เกดิ อาการหตู ึง และเกิดอาการหอู ื้อ 3.30 1.02

2. หลังจากท่ีได้เปดิ ใชบ้ ริการท่าอากาศยานนานาชาตภิ ูเกต็ มีการเปลยี่ นแปลงทางด้านรา่ งกาย เช่น ระบบการได้ยนิ ผดิ ปกติ 3.14 0.97

ประเด็นความคดิ เหน็ ในดา้ นสภาพความเป็นอยแู่ ละสง่ิ แวดลอ้ ม คา่ เฉลีย่ คา่ SD

ระดบั ผลกระทบมากท่ีสดุ

1. ขนาดของเคร่ืองบินมีผลทาเกดิ เสยี งและความสัน่ สะเทอื น เช่น ประเภทเครือ่ งบนิ ของ Boeing กับ Airbus 4.23 0.92

ระดบั ผลกระทบมาก

1. เสียงขน้ึ -ลงของเคร่อื งบนิ ส่งผลกระทบตอ่ การพักผ่อน เชน่ รบกวนการนอนหลบั รบกวนการดูหนัง ฟงั เพลง 3.66 0.85

2. แรงสัน่ สะเทอื นจากการข้ึน-ลงของเคร่อื งบินทาให้บ้านมรี อยแตกรา้ ว 3.80 1.09

3. เสยี งขึ้น-ลง ของเครือ่ งบินท่ีได้รบั ในเวลากลางคนื มากกว่าเวลากลางวัน 4.07 0.94

4. เสียงข้ึน-ลง ของเครื่องบินท่ีได้รับในเวลากลางวนั มากกวา่ เวลากลางคนื 3.92 1.04

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 276 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ประเด็นความคดิ เห็นในด้านสขุ ภาพ ค่าเฉลยี่ คา่ SD
ระดบั ผลกระทบปานกลาง
1. เสียงข้ึน-ลงของเครอื่ งบนิ สง่ ผลกระทบตอ่ การพดู คยุ ส่ือสาร 3.25 0.87
2. เสยี งจากการขนึ้ -ลงของเคร่ืองบินเปน็ อุปสรรคตอ่ การทางาน 3.05 0.99
3. เสียงขึ้น-ลงของเครอ่ื งบินสรา้ งความเดือดรอ้ นราคาญ 3.40 0.87
4. เสยี งข้ึน-ลงของเครื่องบนิ รบกวนสมาธิ 2.95 0.95

2.1) ความคิดเห็นในด้านสขุ ภาพ ในประเด็นเสยี งขนึ้ -ลงของเครอ่ื งบนิ ส่งผลกระทบทาให้เกิดความเครียด และหงุดหงิด
ความคดิ เหน็ อยู่ในระดบั มาก ( =3.78) และสง่ ผลกระทบตอ่ การไดย้ นิ เชน่ เกดิ อาการหูตงึ และเกดิ อาการหอู ือ้ ความคดิ เห็นอยู่ใน
ระดับปานกลาง ( =3.30) ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของยศพล คล่ีขจาย (2554) [3] พบว่า กลุ่มตัวอย่างรู้สึกว่า ไม่มีสมาธิในการ
ทางาน หงุดหงิด และเป็นกังวลต่อโรคร้ายในระดับปานกลาง และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ ศิรินทรา สดใสและคณะ (2549)
[4] พบวา่ เสยี งท่รี บกวนมผี ลกระทบทาให้เกิดความเครียดในระดับมาก และในประเด็นเสียงขึ้น-ลงของเคร่ืองบินส่งผลกระทบต่อ
การได้ยิน เช่น เกิดอาการหูตึง และเกิดอาการหูอ้ือ ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.30 [4] พบว่า
เสยี งขึ้น-ลงจากเครื่องบินส่งผลกระทบต่อการได้ยิน เชน่ เกิดอาการหูอ้ือ

ในประเด็นหลังจากที่ได้เปิดใช้บริการท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตท่านมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย เช่น ระบบ
การได้ยนิ ผดิ ปกติ ความคดิ เห็นอยู่ในระดับปานกลาง มคี า่ เฉลี่ยเทา่ กับ 3.14 ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ กรวิกา เรือทอง (2551)
[5] พบว่า จากการสารวจข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับผลกระทบที่มีผลต่อการได้ยินของประชาชนท่ีอาศัยอยู่บริเวณท่าอากาศยาน
นานาชาติ จังหวดั กระบ่ี ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนเริ่มมีปัญหาการได้ยิน โดยถ้าหากพูดด้วยเสียงปกติจะไม่ได้ยิน ต้องตะโกน
หรอื พดู เสยี งดังพอสมควร

2.2) ความคดิ เห็นในดา้ นสภาพความเป็นอยูแ่ ละส่ิงแวดล้อม ในประเด็นขนาดของเครือ่ งบินมีผลทาเกดิ เสยี งและความ
สน่ั สะเทือน เช่น ประเภทเคร่ืองบินของ Boeing กับ Airbus ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.23 [5] พบว่า
ประชาชนทอ่ี าศยั ในเขตพ้นื ท่ีหมู่ที่ 3 และในเขตพน้ื ท่ีหมู่ท่ี 5 ตาบลเหนือคลอง อาเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ซ่ึงมีความคิดเห็น
ว่า ขนาดของเครือ่ งบินมผี ลกระทบทาให้เกิดเสยี งและความสน่ั สะเทอื นในระดบั ท่ีสงู มาก คดิ เป็นร้อยละ 53

ในประเด็นเสียงขึน้ -ลงของเครอ่ื งบินสง่ ผลกระทบตอ่ การพกั ผ่อน เชน่ รบกวนการนอนหลบั ความคิดเหน็ อยู่ในระดับมาก
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.66 ซึ่งเสียงจากการขึ้นลงของเครื่องบินส่งผลทาให้ประชาชนนอนหลับไม่สนิท หรือต่ืนระหว่างนอนหลับ
ซึ่งสอดคล้องกับงานวจิ ัยของ พลังรฐั ทองสนั ตตแิ์ ละคณะ (2550) [6] พบว่า ประชากรทอ่ี าศัยอยู่โดยรอบทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ
ตามแนวเส้นเสียงที่มีความดังอยู่ในช่วง NEF 30-40 น้ัน ได้รับผลกระทบจากเสียงข้ึนลงของเครื่องบินทาให้มีปัญหาในการนอน
หลบั เชน่ นอนหลับไมส่ นิท หรือต้องต่ืนระหวา่ งนอนหลบั มากขึ้น ดงั นนั้ การสรา้ งท่าอากาศยานใกล้แหล่งชุมชนหรือการตัดสินใจ
ไปอาศยั อยู่ใกลท้ า่ อากาศยานนั้น ควรพจิ ารณาผลกระทบทีจ่ ะเกิดข้นึ จนทาให้มีผลต่อสุขภาพท่ัวไปและคุณภาพชีวิตด้วย อีกท้ังยัง
สอดคล้องกับงานวิจัยของ พระมหากาญจนะ ภาคพรม (2555) [7] พบว่า ระดับปัญหามลพิษทางเสียงเคร่ืองบินส่งผลกระทบต่อ
การพกั ผอ่ น ทาให้นอนไมค่ อ่ ยหลับ หลับไม่สนทิ ตน่ื บ่อยข้ึน และสะดงุ้ ตนื่ ในเวลาพักผอ่ น

ในประเดน็ แรงสั่นสะเทอื นจากการขึ้น-ลงของเครื่องบนิ ทาใหบ้ า้ นมรี อยแตกร้าว ความคดิ เห็นอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย
เทา่ กบั 3.80 เน่อื งจากมีผตู้ อบแบบสอบถามเคยไดร้ บั ความเสยี หายจากการขน้ึ ลงของเครอื่ งบนิ อันเนื่องมาจากขนาดและประเภท
ของเครื่องบินทาให้เกิดความสั่นสะเทือน เช่น ประเภทเคร่ืองบินของ Boeing กับ Airbus เหตุนี้จึงส่งผลทาให้บ้านเรือนของ
ประชาชนท่อี าศยั ได้รับความเสียหายทาให้บ้านเรือนมีรอยแตกร้าว กระจกสั่นสะเทือน กระเบื้องหลังคาหลุดร่อน ดังภาพท่ี 3 ซึ่ง
สอดคล้องกับงานวิจัยของ ราเมศ พุทธิบูลย์ (2553) [8] พบว่า ประชาชนผู้ตอบแบบสอบถามเคยไดรับผลกระทบและความ
เสียหายจากเสียงข้ึน-ลงของเคร่ืองบิน ได้แก่ กระจกร้าว กระเบ้ืองหลังคาหลุดร่อน เป็นต้น [7] พบว่า เสียงจากเครื่องบินทาให้
กระเบ้ืองหลังคากุฏิ โบสถ วิหาร ศาลา รวงลงมา ทาใหกระเบ้ืองหลังคาเกิดความแตกราวและทาใหอาคารสถานที่เกิดความ
สั่นสะเทอื น อย่ใู นระดบั ค่อนข้างมาก

ภาพท่ี 3 บา้ นท่ีได้รับผลกระทบจากการสั่นสะเทอื นของเคร่ืองบินขณะบินขึ้นลง ซึ่งทาให้บา้ นเกดิ รอยแตกร้าว

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 277 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ประเด็นเสียงขึ้น-ลงของเครื่องบินรบกวนสมาธิ ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.80 ทาให้
ประชาชนขาดสมาธิในการทางาน และรบกวนการเรียนการสอน [6] ด้วยเหตุน้ีจนกระท่ังโรงเรียนบ้านหมากปรกจึงทาการเรียน
การสอนไม่ได้ จึงย้ายพ้ืนที่ไปในปี พ.ศ. 2532 [8] พบว่า เสียงข้ึน-ลงของเครื่องบินรบกวนสมาธิ ขาดสมาธิในการทางาน และ
รบกวนการเรียนการสอน [7] พบว่า เสียงข้ึน-ลงของเครื่องบินรบกวนสมาธิในระดับค่อนข้างมาก ซ่ึงพระสงฆ์เม่ือบวชเข้ามาแล้ว
จะต้องศึกษาเล่าเรียนและบาเพ็ญเพียร ฝึกฝนตัวเองท้ังด้านกายและจิตใจ เมื่อพระสงฆ์ได้รับการรบกวนจากเสียงของเครื่องบิน
การฝกึ ฝนตัวเองทาไดไ้ ม่เตม็ ท่ี คอื ทาใหข้ าดสมาธใิ นการอา่ นและท่องหนังสอื เปน็ อุปสรรคต่อการปฎิบัติกัมมัฎฐาน และทาให้เกิด
ความราคาญ อารมณ์เสยี หงุดหงดิ

3. แนวทางการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาเบอ้ื งต้นของชมุ ชน
จากการตอบแบบสอบถาม ประชาชนเคยมีวธิ ีการป้องกันตนเองจากเสียงข้ึน-ลงของเครือ่ งบิน ด้วยการปิดประตูหน้าต่าง

คิดเปน็ ร้อยละ 51.9 ซึ่งเป็นวิธีการแก้ไขเบ้ืองต้นในการลดระดับความดังจากเสียงขึ้นลงของเครื่องบินเพื่อให้ระดับเสียงมีความดัง
ลดนอ้ ยลง [6] พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ทราบล่วงหน้าแล้วว่าจะมีสนามบินสุวรรณภูมิในบริเวณนี้ เคยมีหน่วยงานภาครัฐมาแจ้ง
ให้ทราบวา่ ในบริเวณน้จี ะมเี สยี งเคร่อื งบินดังรบกวน และประชาชนมวี ิธปี อ้ งกนั เสียงจากเครือ่ งบนิ โดยการปดิ ประตหู น้าตา่ ง

ในประเด็นการใช้อุปกรณ์อุดหูเพ่ือป้องกันเสียงดังจากเคร่ืองบิน ประชาชนส่วนมากไม่เคยใช้อุปกรณ์อุดหูเพ่ือป้องกัน
เสยี งดงั จากเครือ่ งบิน คดิ เป็นรอ้ ยละ 81.1 เน่ืองจากเสยี งจากการขน้ึ -ลงของเครอ่ื งบินอาจจะไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพของประชาชน
ในทันที หรืออาจเกิดความเคยชินท่ีประชาชนอาศัยอยู่ใกล้ท่าอากาศยานมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งการที่ประชาชนไม่ใช้อุปกรณ์
อุดหู (Earplug) เพ่ือป้องกันเสียง อาจจะทาให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพได้ เช่น ระบบการได้ยินผิดปกติ ทาให้หูหนวกและหูอื้อได้
ด้วยเหตนุ ีป้ ระชาชนในชุมชนควรใชอ้ ุปกรณอ์ ดุ หู (Earplug) เพอื่ ปอ้ งกนั เสียงและเพ่ือเป็นการลดความเสี่ยงจากระดับความดังจาก
เสียงขึน้ -ลงของเครอื่ งบนิ

4. ขอ้ เสนอแนะจากผลกระทบของเสยี งรบกวนของเครอื่ งบนิ ทีส่ ง่ ผลตอ่ ประชาชน
บ้านหมากปรกเปน็ พื้นทท่ี างการทา่ อากาศยานต้องติดตามตรวจสอบผลกระทบทางสง่ิ แวดล้อมและสุขภาพตามกฎหมาย

การท่าอากาศยาน และทาการประเมินระดับค่า NEF เป็นระยะๆ ตามท่ีกฎหมายกาหนดอยู่แล้ว ดังน้ันประชาชนในหมู่บ้านจึง
เข้าใจในมาตรการต่อการดแู ลและปฏิบตั ขิ องการท่าอากาศยาน อกี ท้งั ทางการทา่ อากาศยานยงั มที างเลอื ก อนึ่งการทา่ อากาศยานมี
ฝ่ายประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมและสุขภาพของการท่าอากาศยาน ได้ติดตามผลกระทบท่ีจะเกิดกับบ้านหมากปรก หากการ
ประเมินได้รับผลกระทบ ทางการท่าอากาศยาน ให้การเยียวยากับผู้ได้รับผลกระทบตามความเป็นจริงและอีกทั้งยังมีทางเลือก
ให้กับชุมชนในรูปแบบของการซ่อมแซมบ้าน เวนคืนท่ีดิน หรือจ่ายเงินชดเชย ดังภาพท่ี 4 ซ่ึงข้ึนอยู่ระดับของผลกระทบในแต่ละ
ครวั เรอื นนัน้ ๆ ดงั นั้นผวู้ จิ ยั ไม่มคี วามจาเปน็ ตอ้ งตรวจวัดคุณภาพเสยี งจากชมุ ชนเพม่ิ เตมิ

ภาพท่ี 4 การประชุมเรอ่ื งการจ่ายคา่ ชดเชยและค่าเยยี วจากเสียงรบกวนของเครื่องบินให้กบั ประชาชนหมู่ที่ 1
ชมุ ชนบา้ นหมากปรก ตาบลไม้ขาว อาเภอถลาง จังหวดั ภูเกต็

การตรวจวัดค่าระดับความดังเสียงและการประเมินค่า NEF ที่จะส่งผลต่อชุมชนโดยรอบสนามบินเป็นภารกิจหลักของ
การทา่ อากาศยาน ซงึ่ ตอ้ งดาเนนิ ตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด และท่าอากาศยานภูเก็ต (ทภก.) ได้ว่าจ้าง กลุ่มนิติบุคคลร่วมลงทุน
บีซี (BG Consortium) เป็นท่ีปรึกษาเพื่อดาเนินการตรวจสอบรายละเอียดทางวิศวกรรม การประเมินราคาปรับปรุง ตรวจสอบ
เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์การถือครองที่ดินและส่ิงปลูกสร้าง และดาเนินการจ่ายค่าชดเชยเพื่อป้องกันผลกระทบด้านเสียงจากการ
ดาเนินงานท่าอากาศยานภูเก็ต โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุฯ ได้แจ้งว่าบริษัทที่ปรึกษาได้ตรวจสอบและแจ้งรายช่ือผู้ท่ีได้รับ
ผลกระทบด้านเสียงในพื้นที่ NEF มากกว่า 40 และ NEF 30-40 ท่ีพร้อมรับเงินค่าปรับปรุงอาคาร ตามหนังสือของกลุ่มนิติบุคคล
ร่วมลงทุน บซี ี (BG Consortium) สว่ นกิจการพเิ ศษและมวลชลสัมพนั ธ์ ฝ่ายอานวยการท่าอากาศยานภูเก็ต (สกศ.ฝอต.ทภก.) จึง
ไดก้ าหนดวันรับเงินค่าปรับปรุงอาคารเพื่อชดเชยผลกระทบด้านเสียงจากการดาเนินงาน ทภก. ให้กับผู้ได้รับผลกระทบด้านเสีย ง

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 278 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ก่อนปี 2553 [1] และทางการท่าอากาศยานภูเก็ตได้จัดโครงการ “ท่าอากาศยานภูเก็ตห่วงใยชุมชน” เป็นประจาทุกปี ในการ
ตรวจวัดสขุ ภาพและตรวจวดั สขุ ภาพทางหู (ตรวจวัดการไดย้ นิ ) เพื่อป้องกันและบรรเทาผลกระทบที่อาจได้รับจากการขึ้น-ลง ของ
เครอื่ งบิน ดงั ภาพท่ี 5

ภาพที่ 5 ทา่ อากาศยานภูเกต็ จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การดแู ลสุขภาพ และตรวจสขุ ภาพทางหู
ดังโครงการ “ทา่ อากาศยานภเู กต็ ห่วงใยชุมชน” เมอ่ื วันท่ี 6 กรกฎาคม 2562

ขอ้ เสนอแนะจากเสยี งรบกวนของเครื่องบินทสี่ ่งผลต่อประชาชน พบว่า ประชาชนร้อยละ 89.04 ไมใ่ ห้ขอ้ คดิ เห็น สาหรับ

ประชาชนที่ใหข้ อ้ คิดเหน็ สามารถจัดเรยี งลาดับ ดงั แสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 จากการศึกษาขอ้ เสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการศึกษาสามารถสรุปไดด้ ังนี้

ข้อเสนอแนะ ความถี่ ร้อยละ ลาดับ
(Frequency) (Percent)

1. ไม่ใหข้ อ้ คดิ เห็นและไมม่ ขี อ้ เสนอแนะ 187 89.04

ประชาชนทใี่ หข้ อ้ คดิ เห็น

1. ให้ผู้ประกอบการท่าอากาศยาน ดาเนินการแก้ไขและปรับปรุงโดยจัดให้มีค่าเยียวยา 13 6.19 1
และจา่ ยคา่ ชดเชยจากผลกระทบทางเสยี งทเี่ กดิ ขนึ้ เพือ่ ใหเ้ กิดผลดตี ่อชุมชน

2. จัดใหม้ บี รกิ ารตรวจสุขภาพมากกวา่ 1 คร้ัง/ปี 3 1.43 2

3. ให้ผู้ประกอบการท่าอากาศยานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาดูแลประชาชนอย่าง 2 0.95 3
จรงิ จัง

4. ย้ายทีอ่ ยอู่ าศัย 2 0.95 3

5. สร้างสนามบินเพ่ิมในพื้นท่ีใกล้เคียง เช่น จังหวัดพังงา เพื่อลดจานวนเท่ียวบินและ 1 0.48 4
มลภาวะทางเสยี ง

6. อยากให้หนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ งจดั สรรทีอ่ ยอู่ าศยั ใหป้ ระชาชนท่ีได้รับผลกระทบ 1 0.48 4

7. จัดให้การส่งเสริมให้ความรู้พื้นฐานกับผู้ที่เก่ียวข้องและประชาชนท่ีอาศัยอยู่บริเวณท่า 1 0.48 4
อากาศยานนานาชาติภเู ก็ต

รวม 210 100 -

จากขอ้ เสนอแนะลาดับท่ี 1 ประชาชนต้องการใหผ้ ปู้ ระกอบการท่าอากาศยาน ดาเนินการแก้ไขและปรับปรุงโดยจัดให้มี
ค่าเยียวยา และค่าชดเชยจากผลกระทบทางเสียงท่ีเกิดข้ึนเพ่ือให้เกิดผลดีต่อชุมชน คิดเป็นร้อยละ 6.19 [6] พบว่า ผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่เห็นด้วยกับมาตรการการจัดตั้งศูนย์ร้องทุกข์ที่ชุมชนเพ่ือรับข้อมูลความเสียหาย และร่วมกันหาทางแก้ไข
ปัญหาทเ่ี กดิ จากการดาเนนิ งานของท่าอากาศยานเชียงใหม่ และมมี าตรการในการชดเชยใหก้ ับผ้ทู ไี่ ด้รบั ผลกระทบ

จากข้อเสนอแนะลาดบั ที่ 2 ประชาชนประชาชนตอ้ งการใหม้ ีการบริการตรวจสุขภาพมากกว่า 1 คร้งั ตอ่ ปี โดยเฉพาะการ
ตรวจสุขภาพทางหู เพอื่ เปน็ การปอ้ งกันการเกิดผลเสยี ต่อสุขภาพของประชาชนต่อไปในระยะยาว คิดเป็นร้อยละ 1.43 สอดคล้อง
กับงานวิจัยของณัฐวุฒิ ทาอินต๊ะ (2556) [9] พบว่า ในด้านความต้องการประชาชนต้องการให้ท่าอากาศยานเชียงใหม่และ
หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งดาเนินการจัดการผลกระทบที่เกดิ จากมลภาวะทางเสียงของเครอ่ื งบนิ คอื จดั ใหม้ ีการตรวจสุขภาพประจา [4]
พบว่า ประชาชนผ้ตู อบแบบสอบถาม มคี วามต้องการสวัสดกิ ารดา้ นการคุม้ ครองในเรอ่ื งความปลอดภัยเกี่ยวกับสุขภาพ โดยเฉพาะ
การตรวจสขุ ภาพทางหู และสว่ นใหญ่จึงคดิ วา่ ทางภาครัฐจะชว่ ยแก้ไขปญั หาน้ีได้

สาหรับข้อเสนอแนะลาดับที่ 3 ในประเด็นประชาชนต้องการให้ผู้ประกอบการทา่ อากาศยานและหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้องเขา้
มาดูแลประชาชนอย่างจริงจัง คิดเป็นร้อยละ 0.95 [9] พบว่า ในด้านความต้องการประชาชนต้องการให้ท่าอากาศยานเชียงใหม่
และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้องดาเนินการจัดการผลกระทบทเ่ี กดิ จากมลภาวะทางเสยี งของเครือ่ งบนิ คือ อยากให้หนว่ ยงานทรี่ ับผดิ ชอบ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 279 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ควรมีความชัดเจนและต้องการให้ช่วยประชาชนท่ีได้รับผลกระทบทางเสียงอย่างจริงจังและโปร่งใส และในประเด็นการย้ายท่ีอยู่
อาศัย [6] พบว่า ประชาชนมีความตอ้ งการท่ีจะยา้ ยทีอ่ ยอู่ าศัย หากปญั หาการเยยี วยาไมไ่ ด้รบั การช่วยเหลอื จากหนว่ ยงานภาครัฐ

ข้อเสนอแนะลาดับท่ี 4 ในประเด็นการจัดให้การส่งเสริมให้ความรู้พ้ืนฐานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง และประชาชนท่ีอาศัยอยู่
บริเวณท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต เก่ียวกับเร่ืองเสียง อันตรายจากการได้รับเสียง และวิธีป้องกันในระดับเบื้องต้น [3] พบว่า
มลภาวะทางเสยี งมีผลกระทบตอ่ ผปู้ ฏบิ ัติงานในท่าอากาศยานและท่อี าศัยในบริเวณพื้นทโ่ี ดยรอบท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่
น้อยมาก แต่ในขณะเดียวกันกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ก็มีความสนใจที่จะรับทราบถึงภัยจากมลภาวะทางเสียงท่ีเกิดขึ้นโดยรอบ
ท่าอากาศยานเชยี งใหมโ่ ดยตระหนักถงึ อันตรายท่ีอาจขึ้นตอ่ สขุ ภาพของตนเองในระยะยาว จึงเห็นความสาคัญของการเรียนรู้ท่ีจะ
ปอ้ งกนั จากเสียงและมีความยินดที ี่จะใช้อุปกรณ์ป้องกนั เสียง

สรุป

ประเด็นเสยี งขึ้น-ลงของเครอ่ื งบินส่งผลกระทบทาให้เกดิ ความเครียด และหงุดหงดิ และประเดน็ ของขนาดของเครอื่ งบินมผี ล
ทาให้เกิดเสียงและความสั่นสะเทือน ส่วนการศึกษาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาเบื้องต้นของชุมชน ต้องการให้
ผู้ประกอบการท่าอากาศยานดาเนินการแก้ไขและปรับปรุงโดยจัดให้มีค่าเยียวยา และค่าชดเชยจากผลกระทบทางเสียงท่ีเกิดข้ึน
เพอ่ื ให้เกิดผลดีต่อชุมชน และต้องการให้มบี ริการตรวจสุขภาพมากกว่า 1 ครัง้ /ปี

กติ ติกรรมประกาศ

งานวิจัยฉบับน้ีสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี เนื่องจากได้รับความกรุณา ความช่วยเหลืออย่างดียิ่งและคอยให้คาแนะนาท่ีเป็น
ประโยชน์ต่อการทาวิจัยทุกข้ันตอน ในโอกาสน้ีจึงใคร่ขอขอบพระคุณสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภูเก็ต ประชาชนชุมชนชนบ้านหมากปรก ตาบลไมข้ าว อาเภอถลาง จังหวดั ภูเกต็ ทส่ี ละเวลาในการ
ให้ข้อมูลด้านต่างๆ และขอขอบพระคุณ บุญไพศาล บุญสพ.ที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลการชดเชยผลกระทบด้านเสียงจาก
เครอ่ื งบนิ บริเวณชมุ ชนบา้ นหมากปรก

เอกสารอา้ งองิ

[1] บรษิ ัท ทา่ อากาศยานไทย จากัด (มหาชน).2561.รายงานสถติ ขิ นส่งทางอากาศ ระหวา่ งปี 2558-2559.[ออนไลน์] เข้าได้ถึง
จาก. http://aot-th.listedcompany.com/transport.html เขา้ ถึงข้อมลู เมอ่ื วันที่ 15 ตุลาคม 2562

[2] การสรุปการประชุมช้ีแจงโครงการและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน. 2557 [ออนไลน์]เข้าถึงได้จาก
http://www.publicreport.opm.go.th/uploading/uploadfile/final_file/20141222157431_Attach%20Let_030
_Seminar_19_11_14.pdf. เข้าถึงขอ้ มูลเม่ือวนั ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2561

[3] ยศพล คลี่ขจาย. 2554. การศึกษามลภาวะทางเสียงที่มีผลต่อผู้ปฏิบัติงานและชุมชนโดยรอบท่าอากาศยานนานาชาติ
เชยี งใหม.่ หลกั สูตรปริญญาวทิ ยาศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจดั การการบนิ มหาวทิ ยาลัยนครพนม

[4] สิรินทรา สดใสและคณะ.2549.การศึกษาความเห็นเก่ียวกับมลภาวะทางเสียงจากเคร่ืองบินบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ ,
การวจิ ัยธรุ กจิ โปรแกรมบรหิ ารธรุ กิจการตลาด คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั จันทรเกษม

[5] กรวิกา เรือทอง. 2551. การศึกษาระดับความดงั เสยี งบรเิ วณท่าอากาศยานนานาชาติ จงั หวดั กระบ่ี. หลักสูตรวิทยาศาสตร
บัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อม คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏภเู ก็ต

[6] พลังรัฐ ทองสนั ตติ์และคณะ.2550. การศึกษาผลกระทบของเสียงเครื่องบินต่อภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตโดยทั่วไปใน
ประชากรท่ีอาศยั ในบรเิ วณรอบทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ,สถาบนั ฝึกอบรมโรงพยาบาลพระมงกฎุ เกล้า

[7] พระมหากาญจนะ ภาคพรม .2555. ศึกษาผลกระทบและการจัดการปัญหามลพิษทางเสียงท่ีมีต่อพระสงฆ์โดยรอบท่า
อากาศยานสุวรรณภูมิ.วิทยานพิ นธห์ ลกั สูตรรฐั ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ
คณะรฐั ศาสตรและนติ ิศาสตรมหาวิทยาลยั บรู พา

[8] ราเมศ พทุ ธิบูลย์ .2553. การศึกษาความคิดเห็นของผู้อยู่อาศัยโดยรอบท่าอากาศยานเชียงใหม่ ที่มีต่อมาตรการแก้ปัญหา
มลพิษทางเสียง. หลกั สตู รปริญญาบริหารธุรกจิ มหาบณั ฑิต บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่

[9] ณัฐวุฒิ ทาอินต๊ะ. 2556. การจัดการผลกระทบจากมลภาวะทางเสียงท่ีเกิดข้ึนกับชุมชนโดยรอบท่าอากาศยานเชียงใหม่.
หลักสูตรปรญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการจัดการสาธารณภยั บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 280 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

045

ปริมาณ องคป์ ระกอบทางกายภาพมูลฝอยและการจัดการมลู ฝอย
บรเิ วณอาคารเรยี น ในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภเู กต็
อาเภอเมือง จงั หวดั ภเู กต็

Quantity and Physical Composition of Solid Waste and
Waste Management in the school building, Phuket
Rajabhat University Mueang District, Phuket Province

อดศิ กั ด์ิ ภกั ด1ี * และ นติ ิญา สังขนนั ท์1
Adisak Pakdee1* and Nitiya Sangkhanan1
1ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั ภูเกต็ ภูเก็ต 83000
2*นกั ศกึ ษา สาขาวิชาวิทยาศาสตรส์ งิ่ แวดลอ้ ม คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภเู กต็ ภูเกต็ 83000
*โทรศพั ท์ : 076-240-474 ตอ่ 4000, โทรสาร : 076-218-806, E-mail : [email protected]

บทคัดย่อ

งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาปริมาณ และองค์ประกอบทางกายภาพขยะมูลฝอยจากอาคารเรียน และอาคารท่ี
นกั ศกึ ษาใช้ประกอบการเรยี น และ 2) เพื่อศึกษาวธิ กี ารจัดการขยะมูลฝอยจากอาคารเรยี น ในการศกึ ษาปริมาณ องค์ประกอบทาง
กายภาพของขยะมลู ฝอย ใช้วิธีการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยจากอาคารเรยี น 12 อาคาร น้ามาช่ังน้าหนกั เพอ่ื หาปริมาณและคัดแยก
องค์ประกอบ ส้าหรับการศึกษาวิธีการจัดการขยะ ได้แก่ การศึกษาลักษณะถังรองรับ จุดพัก การเก็บขน และการก้าจัดขยะ โดย
วิธีการส้ารวจ ถ่ายภาพ และจดบันทึกข้อมูลลงในแบบบันทึก ท้าการศึกษาในช่วงเดือนมิถุนายน – เดือนสิงหาคม 2562 จ้านวน
9 ครง้ั แบ่งเปน็ วนั ท้าการ ไดแ้ ก่ วนั จนั ทร์ และวันศกุ ร์ และวนั หยดุ ราชการ ได้แก่ วนั เสาร์

ผลการศกึ ษาปรมิ าณขยะมลู ฝอยจากอาคารเรยี น พบวา่ ปริมาณขยะมูลฝอยจากอาคาร 19 ปรมิ าณรวมมากท่ีสุดเท่ากับ
284.40 กิโลกรัม และอาคารคณะเทคโนโลยีการเกษตร มีปริมาณรวมน้อยท่ีสุดเท่ากับ 43.40 กิโลกรัม และผลการศึกษา
องคประกอบทางกายภาพขยะมูลฝอย พบว่า ประเภทขยะอินทรีย์ ประกอบด้วย เศษอาหาร เศษผัก/ผลไม้ พบมากท่ีสุดเท่ากับ
525.50 กิโลกรัม สา้ หรบั วธิ กี ารจัดการขยะมลู ฝอย พบวา่ ลักษณะถังรองรับขยะมูลฝอย ถังพลาสติกใสแบบมีฝาปิดมีการน้ามาใช้
ภายในอาคารสงู สดุ ประกอบด้วย 7 อาคาร ส้าหรับจุดพักขยะมูลฝอย พบว่า มีการจัดวางลักษณะถังพลาสติก ขนาด 120 ลิตร มี
ฝาปิดมิดชิด จัดวางถังรองรับขยะมูลฝอย 3 ประเภท คือ ขยะท่ัวไป ขยะอินทรีย์ และขยะรีไซเคิล ส้าหรับการเก็บขน และการ
ก้าจัดขยะมูลฝอย พบว่า มีเจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังน้ี 1) ขยะประเภทอินทรีย์มีการเก็บขนและน้าไปก้าจัดโดย
มหาวิทยาลัยด้วยวิธีการน้าขยะมูลฝอยไปเทกองบริเวณที่โล่งแจ้ง 2) ขยะมูลฝอยประเภทท่ัวไป รีไซเคิล และอันตราย โดย
บริษทั เอกชน มีการเกบ็ ขนและนา้ ไปกา้ จดั ดว้ ยวธิ ีการเผาในเตาเผาเทศบาลนครภูเก็ต แนวทางในการจัดการ พบว่า มหาวิทยาลัย
ควรปรับปรุงแก้ไขเพ่ิมเติมถังคัดแยกขยะรีไซเคิล ปรับปรุงแก้ไขถังรองรับขยะที่ช้ารุด ร่ัวซึม และการน้าขยะมูลฝอยประเภท
อินทรยี ไ์ ปหมักเพอื่ ทา้ ปยุ๋ ไวใ้ ช้ในการบ้ารุงต้นไมภ้ ายในมหาวิทยาลัย

คาสาคัญ : ปรมิ าณขยะมูลฝอย; องค์ประกอบทางกายภาพ ;วธิ กี ารจัดการขยะมลู ฝอย; มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภเู ก็ต

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 281 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

Abstract

The present research aimed 1) to investigate the quantity and physical composition of the solid waste
from education building and building used for the study, and 2) to study the management of solid waste
from education building. To investigate quantity and physical composition, the solid waste from twelve
education buildings was collected, weighted and sorted. The management of solid waste, including the
characteristics of waste containers, resting spot, transportation and waste disposal, was reported by exploring,
photographing and recording. This research was conducted for nine times in June – August 2019. The study
was divided into working days, Monday and Friday, and public holidays, Saturday.

For the quantity of solid waste obtained from education building, the highest total quantity of waste
was found at the building 19 (284.40 kg) while the lowest total amount was observed at the faculty of
agricultural technology building (43.40 kg). For the physical composition, most of the waste was organic waste
which was composed of food waste and vegetable/fruit waste (525.50 kg). For the management, most of the
waste containers were clear plastic containers with lids which were used in seven buildings. The clear plastic
containers of 120 L with tight lids were used as the resting spot for waste. Furthermore, there were three
types of waste containers: general, organic and recyclable waste. The waste transportation and disposal was
classified into two classes: 1) organic and 2) general, recyclable and hazardous waste. Each class of waste was
managed by different staffs. For the organic waste, the waste was gathered at the open-air space by the
University staffs. In contrast, the general, recyclable and hazardous wastes were collected and disposed by
burning in an incinerator at Phuket city municipality by the private staffs. The present study demonstrated
that the University should modify and increase the waste sorting bins, fix the broken bins, and ferment the
organic waste to be used as a fertilizer for the trees in the University.

Keywords : The quantity of solid waste; Solid waste management ; physical composition of the solid waste;
Phuket Rajabhat University

บทนา

ปริมาณขยะมูลฝอยทเี่ กดิ ขน้ึ ท่วั ประเทศในปี พ.ศ. 2560 ประมาณ 27.40 ลา้ นตนั หรอื 75,046 ตันต่อวัน เพิ่มข้ึนร้อยละ
1.26 จากปี พ.ศ. 2559 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากรการขยายตัวของชุมชนเมือง พฤติกรรมการบริโภคของประชาชน
ตลอดจนการท่องเท่ียวซ่ึงมีนักท่องเท่ียวกว่า 30 ล้านคนในปี พ.ศ. 2560 [1] จังหวัดภูเก็ตได้ ช่ือว่าเป็นเมืองอุตสาหกรรมการ
ท่องเที่ยวและจากการเจริญเติบโตท้ังด้านสังคมและเศรษฐกิจส่งผลให้เกิดปริมาณของ “ขยะ” เพ่ิมสูงขึ้นจากการส้ารวจพบว่า
จังหวัดภูเก็ต มีขยะเพิ่มขึ้นเฉลี่ยวันละประมาณ 600 ตันต่อวัน ส่งผลให้ภาพรวมขยะในจังหวัดภูเก็ตเพ่ิมสูงข้ึนในอัตราร้อยละ
6 - 7 ต่อปี เม่อื พิจารณาสถานการณข์ ยะในจังหวดั ภูเก็ตพบว่า ในปี พ.ศ. 2559 จงั หวดั ภูเกต็ ปรมิ าณขยะ 31,150 ตนั ปรมิ าณขยะ
แนวโน้มสงู ขนึ้ ทุกปี ส้าหรับประสิทธิภาพการก้าจัดขยะของจังหวัดภูเก็ตพบว่า เตาเผาขยะมูลฝอย เทศบาลนครภูเก็ตเป็นเตาเผา
ขยะขนาด 350 ตนั มจี ้านวน 2 ชดุ สามารถเผาขยะได้จ้านวน 700 ตันต่อวัน แต่ปัญหาขยะในจังหวัดภูเก็ต ไม่สามารถก้าจัดขยะ
ได้หมดในแตล่ ะวันเน่อื งจากมีขยะท่จี า้ นวนมากกวา่ 800 ตนั ตอ่ วนั และมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนทุกวัน ซึ่งการก้าจัดขยะมูลฝอยน้ันต้องมี
การพักขยะมูลฝอยเพ่ือให้มีความชื้นน้อยท่ีสุดเพื่อช่วยลดเช้ือเพลิงในการเผา และเพิ่มประสิทธิภาพในการเผาไม่ก่อให้เกิดมลพิษ
ทางอากาศ [2]

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตเป็นสถาบันการศึกษาเก่าแก่ของจังหวัดภูเก็ตได้ก่อต้ังมาเป็นเวลานานประมาณ 48 ปี โดย
ตั้งอยเู่ ลขที่ 21 หมู่ท่ี 6 ต้าบลรษั ฎา อา้ เภอเมอื ง จงั หวัดภูเก็ต บนทีด่ ินเนือ้ ทป่ี ระมาณ 354 ไร่ 78 ตารางวา ปัจจุบันได้จัดให้มีการ
เรียนการสอนท้ังในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ซ่ึงมีสาขามากกว่า 54 สาขาวิชา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มีคณาจารย์และ
บุคลากรสายสนับสนุนจา้ นวนประมาณ 608 คน [3] เนอื่ งจากในปจั จบุ นั มหาวทิ ยาลยั มกี ารเจรญิ เติบโตอย่างรวดเรว็ สง่ ผลใหม้ ีการ
พัฒนาในด้านต่าง ๆ น้าไปสู่การเกิดกิจกรรมการเรียนการสอนมากข้ึนโดยมีการจัดการเรียนการสอนทุกวัน ทั้งในวันท้าการ คือ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 282 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563


Click to View FlipBook Version