The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Environment Engineering Association of Thailand, 2020-05-29 22:47:01

full papers proceeding NEC19

full papers proceeding NEC19

Keywords: NEC19

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

กติ ติกรรมประกาศ

ผวู้ ิจยั ขอขอบคณุ บรษิ ัท พที ที ี โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) ที่ให้ทุนสนับสนุนงานวิจัยและขอขอบคุณบุคลากรทุก
ทา่ นที่ให้ความอนุเคราะหข์ อ้ มลู ทใี่ ช้ในการศึกษาน้ี

เอกสารอ้างอิง

[1] ชิษณุพงศ์ ประทุม. (2015). ความเป็นไปได้ในการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยระบบบาบัดน้าเสียแบบชีวภาพจาก
โรงงานอุตสาหกรรม. วนั ทสี่ ืบค้นขอ้ มลู 16 พฤษภาคม 2562, เข้าถงึ ได้จาก
https://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/view/32429

[2] Peter Folger. (2017). Carbon capture and sequestration (CCS) in the United States.
[3] Gabriele Centi, & Siglinda Perathoner. (2014). Green Carbon Dioxide: Advances in CO2 Utilization. 1-303.
[4] Daniela, F., Gabriela, M., José, M., and Araújo, Q. (2019). Sustainability Assessment of an Ethylene Oxide

Process with Carbon Capture Computer Aided Chemical Engineering, 47, 433-438.
[5] สานักงานท่ีปรึกษาด้านอุตสาหกรรมในต่างประเทศ. (2559). EU-Industry review. วันที่สืบค้นข้อมูล 23 พฤษภาคม

2562, เข้าถึงได้จาก https://thaiindustrialoffice.files.wordpress.com/2014/05/06-2016-june-newsletter-final-
version-7july2016-copy.pdf
[6] Ellen MacArthur Foundation. (2018). What is a circular economy. วันที่สืบค้นข้อมูล 25 พฤษภาคม 2562,
เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.ellenmacarthurfoundation.org/circular-economy/what-is-the-circular-economy
[7] World Economic Forum. (2014). Towards the Circular Economy: Accelerating the scale-up across global
supply chains. วนั ท่สี บื คน้ ข้อมลู 26 พฤษภาคม 2562, เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://www3.weforum.org/docs/WEF_ENV_TowardsCircularEconomy_Report_2014.pdf
[8] Bernardo, L., Benito, N., Fernando, V., Elías, R., Luis, F., Ángel, C., and Pedro, O. (2016). Greenhouse Gas
Emissions–Carbon Capture, Storage and Utilisation. Greenhouse Gases, 81.
[9] Edwards, J. (1995). Potential sources of CO2 and the options for its large-scale utilisation now and in
the future. Catalysis Today, 23(1), 59-66.
[10] Armin, E., Steven, R., and James, R. (2007). Nonequilibrium kinetic model that describes the reversible
adsorption and desorption behavior of CO2 in a K-promoted hydrotalcite-like compound. Industrial &
engineering chemistry research, 46(6), 1737-1744.
[11] Handa, O., Takayama, S., Mukai, R., Suyama, Y., Majima, A., Fuku,i A., Omatsu, T., and Naito, Y. (2018).
A review of the mechanism and prophylaxis of acetyl salicylic acid-induced injury of the small
intestine. Free Radic, 52, 1266-1270.
[12] Filipa, S., Martina, P., and William, M. (2018). Native metals, electron bifurcation, and CO2 reduction in
early biochemical evolution. Current opinion in microbiology, 43, 77-83.
[13] Kanhaiya, K., Chitralekha, D., Bikram, N., Peter, L., and Debabrata, D. (2011). Development of suitable
photobioreactors for CO2 sequestration addressing global warming using green algae and cyanobacteria.
Bioresource technology, 102(8), 4945-4953.
[14] Dana, M., Emeric, S., and Ómar, S. (2018). Process Advantages of Direct CO2 to Methanol Synthesis.
Frontiers in chemistry, 6.
[15] Environmental Chemistry for a Sustainable World 41. (2020). Conversion of Carbon Dioxide into
Hydrocarbons Vol. 2 Technology. วันท่ีสบื คน้ ข้อมูล 25 พฤษภาคม 2562, เข้าถึงไดจ้ าก
https://books.google.co.th/books?id=wiyDwAAQBAJ&pg=PA146&lpg=PA146&dq=Quadrelli+%E0%B9%81
%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0,+2011&source=bl&ots=5CnFBjPrBp&si
g=ACfU3U0htXv2n9UihukKtE6_vy2YL2eIYQ&hl=th&sa=X&ved=2ahUKEwjon5rV1fHoAhXNR30KHQ26D9gQ
6AEwAHoECAoQLA#v=onepage&q=Quadrelli%20%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%
E0%B8%93%E0%B8%B0%2C%202011&f=false

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 483 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

085

ตัวช้วี ดั ระดบั เศรษฐกิจหมุนเวยี นสาหรบั อตุ สาหกรรมการผลิต:
กรณีศึกษาอตุ สาหกรรมปโิ ตรเลยี ม

Circular economy indicators for industry: A case study
Petroleum Industry

วรวรรธน์ เฮงชยั โย1 สุทิศา สมทิ ธเิ วชรงค์2 และ อรทัย ชวาลภาฤทธ2ิ์ ,3*
Worrawat Hengchaiyo1 Sutisa Samittiwetcharong2 and Orathai Chavalparit2,3*
1นสิ ิตปรญิ ญาโท ภาควิชาวิศวกรรมส่ิงแวดลอ้ ม คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330
2นักวิจัย หนว่ ยวิจัยการจดั การสิง่ แวดล้อมอตุ สากรรมอยา่ งยัง่ ยนื จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กรุงเทพฯ 10330
3ศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอ้ ม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย กรงุ เทพฯ 10330

*โทรศัพท์ : 0-22186670, E-mail : [email protected]

บทคดั ยอ่

เศรษฐกิจหมนุ เวียน (Circular Economy) เป็นระบบเศรษฐกจิ ท่ีมงุ่ เน้นการใช้ทรพั ยากรธรรมชาตใิ ห้เกดิ ประโยชน์สูงสุด
ในทุกๆดา้ น ไมว่ ่าจะเปน็ ขัน้ ตอนตั้งแต่การได้มาของวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การอุปโภคและบริโภค ตลอดจนเพื่อทาให้ของเสีย
ไปสู่หลุมฝังกลบให้น้อยสุดการมีตัวช้ีวัดการดาเนินเศรษฐกิจหมุนเวียนในอุตสาหกรรมจะส่งผลให้สามารถดาเนินธุรกิจไปตาม
แนวทางที่ถูกต้องและยั่งยืน งานวิจัยนี้ได้นาเสนอตัวช้ีวัดการดาเนินอุสาหกรรมปิโตรเลียมตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน
(Petroleum Circular Indicator ;PCI) ซ่ึงเป็นตัวช้ีวัดที่บ่งบอกว่าการดาเนินธุรกิจมีการใช้ วัตถุดิบ และพลังงานอย่างยั่งยืน โดย
ประเมินจากการใช้ทรัพยากรให้เกิดคุณค่าสูงสุด ได้แก่ ร้อยละการหมุนเวียนวัตถุดิบภายในระบบ (% Circular inflow), ร้อยละ
การหมุนเวียนภายนอกระบบ (% Circular outflow) เพ่ือเป็นแนวทางในการดาเนินธุรกิจอุตสาหกรรมปิโตรเลียมตามหลัก
เศรษฐกจิ หมุนเวยี นต่อไป

คาสาคญั : อตุ สาหกรรมปิโตรเลยี ม; เศรษฐกจิ หมนุ เวียน; การใชท้ รพั ยากรอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ; 5Rs

Abstract

Circular economy is an economic system which aims to keep products, components and materials in
circulation in order to maintaining their value over a long period of time. As well as to minimize waste into
landfills by recycling resources and waste for reuse or processing for new uses Instead of eliminating waste
that causes environmental impacts. Circular economy Indicators of petroleum industry will drive the business
in sustainable way. This research introduces the Petroleum Circular Indicator (PCI) for the industry to
sustainable raw materials and energy consumption by evaluating the optimization of resource use. Such
indicators show the business sustainable use raw materials and energy by evaluating renewable inflow and
used at a rate in line with natural cycles of renewability (% Circular inflow) and products recovery potential
after lifetime (% Circular outflow)

Keywords : petroleum industry; circular economy; sustainable-resourced materials; 5Rs

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 484 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

บทนา

ในปัจจุบันการเติบโตท่ีเพ่ิมข้ึนของประชากรโลกส่งผลให้มีการบริโภคสินค้าและบริการ รวมถึงการใช้ทรัพยากรที่เพ่ิม
สงู ขึ้นทกุ ปี โดยเฉพาะทรัพยากรท่ีใช้แล้วหมดไป (Non-renewable Resource) ได้แก่ น้ามัน แร่ธาตุ และวัตถุดิบต่างๆ ส่งผลให้
ขาดแคลนทรัพยากร และเกิดความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมในอนาคตอันใกล้ได้ จึงจาเป็นต้องมีการปรับปรุงระบบการใช้
ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์มากทส่ี ุด หลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน เป็นหลักการท่ีมุ่งเน้นให้ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
ผ่านการลดการเกดิ ของเสยี โดยการนาผลิตภณั ฑท์ ใี่ ช้งานแล้วกลบั มาใช้เปน็ วตั ถุดิบไดอ้ กี คร้งั แทนการสกัดหรือผลติ วัตถุดบิ ใหม่ โดย
ใช้หลักการ 5Rs ร่วมกับการใช้นวัตกรรมมาเพ่ิมมูลค่าให้กับของเสียและสร้างมูลค่าเพิ่มเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ต่อไป[1] หลักการ
เศรษฐกจิ หมุนเวียนจึงเปน็ ยุทธศาสตร์หนึ่งของการพัฒนาที่ยั่งยืนทสี่ ามารถนามาใช้เพื่อแกไ้ ขปัญหาดงั กล่าว[2]

อุตสาหกรรมปิโตรเลียมเป็นอุตสาหกรรมท่ีนาทรัพยากรธรรมชาติทีม่ อี ยอู่ ย่างจากัดมาแปรรูปเป็นผลติ ภณั ฑ์ที่หลากหลาย
โดยประกอบด้วย ปิโตรเลียมต้นน้า คือกลุ่มขุดเจาะน้ามันและก๊าซธรรมชาติ ปิโตรเลียมขั้นกลาง คือกลุ่มปิโตรเคมี ซ่ึงนาสาร
ไฮโดรคาร์บอนท่ีขุดเจาะได้จากปิโตรเลียมต้นน้ามาผ่านกระบวนการต่างๆจนได้เป็นวัตถุดิบเพ่ือผลิตเม็ดพลาสติกและวัสดุ
สังเคราะห์ ปิโตรเลียมข้ันปลายคือ การนาผลิตภัณฑ์จากกลุ่มปิโตรเคมีมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ยาง พลาสติก เส้นใย
สังเคราะห์ เป็นต้น จากข้อมูลท่ีสืบค้นพบว่าผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมเป็นสาเหตุหน่ึงในการก่อให้เกิดปัญหาทาง
สิ่งแวดล้อมจากผลิตภัณฑ์หลังการบริโภค ไม่ว่าจะเป็นการทิ้งน้ามันหล่อลื่นท่ีใช้แล้วอย่างผิดวิธี การท้ิงพลาสติกอย่างไม่ถูกต้อง
ซึง่ จะถกู ชะลา้ งลงแมน่ ้าและทะเล สง่ ผลทาใหแ้ หล่งน้าและพืน้ ดินเส่อื มโทรม ทั้งยงั เปน็ อุปสรรคต่อการทาการเกษตรกรรม ประมง
การขนสง่ รวมท้งั ยงั มกี ารปล่อยก๊าซเรือนกระจกซึ่งมีผลต่อการเพิ่มขึ้นของสภาวะโลกร้อนอีกด้วย[3] ในปัจจุบันการเผาเพ่ือกาจัด
ขยะเหล่านเี้ ปน็ วธิ ีการหนง่ึ ทีม่ ีการนามาใชแ้ ละได้รบั ความนยิ มสูงในประเทศตา่ งๆ เนือ่ งจากพลงั งานความร้อนจากการเผาสามารถ
นากลบั มาใช้ประโยชนไ์ ด้ อยา่ งไรกด็ ีการเผาน้ามันหลอ่ ล่นื ใช้แล้ว และขยะพลาสติกกอ่ ให้เกิดปญั หาก๊าซเรือนกระจกซึ่งเป็นสาเหตุ
ของสภาวะโลกรอ้ นอย่างหลกี เลยี่ งไม่ได้[4]

การพยายามหมุนเวียนส่ิงเหลา่ นก้ี ลบั มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ เพื่อสนับสนนุ การลดทรพั ยากรธรรมชาตทิ หี่ าทดแทนได้
ยากมาใช้อย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ทั้งยังไม่ละเลยปัญหาทางสิ่งแวดล้อม การหมุนเวียนของเสียเพ่ือนากลับมาใช้ประโยชน์
สอดคล้องกับหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน ที่มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดในทุกๆ ขั้นตอนตั้งแต่การได้มาของ
วตั ถุดบิ กระบวนการผลิต การอุปโภคและบริโภค เพื่อให้เกิดของเสียไปสู่หลุมฝังกลบให้น้อยสุด โดยการหมุนเวียนทรัพยากรและ
ของเสียกลับมาใช้ซ้าหรือแปรรูปเพ่ือใช้ประโยชน์ใหม่ แทนการกาจัดของเสียที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (สานักงานที่
ปรึกษาด้านอุตสาหกรรมในต่างประเทศ, 2559) การประยุกต์ใช้หลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน ในกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
ตลอดห่วงโซอ่ ุปทานจาเป็นต้องมีตัวชี้วัดที่เหมาะสม เพ่ือบ่งช้ีและเป็นแนวทางการดาเนินธุรกิจตามลักการเศรษฐกิจหมุนเวียนได้
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

งานวิจัยนมี้ ีวัตถุประสงคเ์ พ่ือศกึ ษาระดับเศรษฐกิจหมุนเวียนในกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียมกรณีศึกษา โดยศึกษาข้อมูล
โครงการด้านส่ิงแวดล้อม โดยผู้วิจัยจะให้ความสาคัญกับการศึกษาสารวจโครงการความย่ังยืนต่างๆที่กลุ่มอุตสาหกรรมดาเนินมา
จากอดตี ถงึ ปัจจบุ นั รวมท้งั นาเสนอตัวชี้วดั ระดับเศรษฐกิจหมุนเวียนของอตุ สาหกรรมปิโตรเลยี มกรณศี ึกษา

อุปกรณ์และวธิ กี าร

1. ศึกษาหว่ งโซอ่ ปุ ทานอุตสาหกรรมปิโตรเลยี มกรณีศึกษา
ศึกษารวบรวมข้อมูลเก่ียวกับห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปิโตรเลียมของประเทศไทย และคัดเลือกโรงงานกรณีศึกษา
ครอบคลุมโรงงานปิโตรเลียมต้นน้า 1 โรงงาน โรงงานปิโตรเลยี มกลางนา้ 3 โรงงาน และโรงงานปิโตรเลียมปลายน้า 1 โรงงาน และฝ่าย
ผลิตพลงั งาน และฝา่ ยนโยบายการดาเนินธรุ กจิ ฝ่ายละ 1 โรงงาน
2. ศกึ ษารวบรวมข้อมูลท่เี ก่ียวข้องกับหลกั การเศรษฐกิจหมุนเวียน
ทาการศกึ ษารวบรวมข้อมูลโครงการและกิจกรรมต่างๆ เก่ียวกับหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียนของโรงงานต่างๆ ตลอดห่วงโซ่
อุปทานของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมในประเทศไทย ได้แก่ รายงานประจาปีของกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ปี พ.ศ. 2561 รานงาน
ความย่งั ยืน รวมทงั้ สารวจความคดิ เหน็ การดาเนินธรุ กิจปโิ ตรเลยี มโดยนาหลกั เศรษฐกจิ หมุนเวยี นเข้ามาประยุกต์ใช้ รวมถึงการวางแผน
และแนวทางในอนาคตท่มี ีตอ่ เศรษฐกิจหมนุ เวยี นจากผู้มีส่วนเกีย่ วข้องของธุรกจิ น้ี

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 485 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

3. นาเสนอตวั ชีว้ ัดระดับเศรษฐกิจหมุนเวยี นของอตุ สาหกรรมปิโตรเลยี ม
ศึกษาทบทวนตัวช้ีวัดความยั่งยืนของกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและนาเสนอตัวชี้วัดเศรษฐกิจหมุนเวียนตาม World
Business Council for Sustainable และ BS 8001:2017

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

1. หว่ งโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปิโตรเลยี ม
จากการศึกษารวบรวมข้อมูลการดาเนินกิจกรรมปิโตรเลียมตลอดห่วง โซ่อุปทานภายในประเทศไทยสามารถเขียน
ความสัมพนั ธไ์ ด้ดงั รปู ท่ี 1

รูปท่ี 1 การดาเนนิ กจิ กรรมปิโตรเลยี มในประเทศไทยตลอดห่วงโซ่อุปทาน (รายงานความยง่ั ยนื กลมุ่ ปตท., 2561)

อตุ สาหกรรมปิโตรเลียมในประเทศไทยในปจั จบุ นั มกี ารดาเนนิ ธรุ กจิ อย่างครบวงจร เร่ิมต้งั แตก่ ลุ่มอุตสาหกรรมปโิ ตรเลยี ม
ขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ เป็นกลุ่มท่ีมีหน้าท่ีในการสารวจแหล่งน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ รวมถึงขุดเจาะเพ่ือนาไปแยกเป็น
เชอื้ เพลิงตา่ งชนดิ กันตอ่ ไป กลมุ่ ปโิ ตรเลยี มขนั้ กลางหรอื กล่มุ ปิโตรเคมี ซง่ึ นาสารไฮโดรคาร์บอนท่ีขดุ เจาะได้จากปโิ ตรเลยี มขน้ั ตน้ มา
ผลิตเมด็ พลาสติกและวสั ดสุ ังเคราะห์ตา่ งๆ กลุ่มธรุ กิจปโิ ตรเลยี มข้ันปลาย เป็นกลุ่มท่ีนาผลิตภัณฑ์จากกลุ่มปิโตรเลียมข้ันกลาง มา
แปรรปู และจดั จาหนา่ ยผ้บู รโิ ภค และกลมุ่ วศิ วกรรมและเทคโนลยี ีเปน็ กลุ่มทีเ่ น้นไปในเร่ืองผลติ พลงั งาน ซึ่งเมื่อมองภาพรวมในการ
ดาเนินอุตสาหกรรมปิโตรเลียมในประเทศไทยแล้วนั้น พบว่ามีการดาเนินธุรกิจอย่างครบวงจรตั้งแต่ต้นน้ายังปลายน้า อีกท้ังใน
ปัจจุบันกลุ่มธุรกิจปลายน้ายังมีโครงการเพ่ือดึงดูดให้กลุ่มผู้บริโภคจัดการกับผลิตภัณฑ์ท่ีใช้แล้วอย่างถูกวิธี เพื่อปรับตัวเข้าสู่การ
ดาเนินธุรกจิ แบบเศรษฐกิจหมนุ เวียนอกี ด้วย

2. การดาเนนิ โครงการความยั่งยืน
ศกึ ษาข้อมูลความย่ังยืนในการดาเนนิ ธรุ กจิ ของกลมุ่ อุตสาหกรรมปโิ ตรเลยี มจากรายงานความยั่งยืนในปี 2018 เพื่อศึกษา
การดาเนินการด้านความยั่งยืนของโรงงาน โดยจะทาการศึกษากลุ่มปิโตรเลียมข้ันต้น และกลุ่มปิโตรเลียมขั้นกลาง และกลุ่ม
ปโิ ตรเลยี มขน้ั ปลาย เนือ่ งจากกลุ่มอตุ สาหกรรมปิโตรเลยี มในประเทศไทยเป็นกล่มุ อตุ สาหกรรมอย่างต่อเน่ืองมีการผลิตในขั้นกลาง
และขน้ั ปลายตอ่ เนือ่ งกัน ทางผู้วจิ ยั จึงได้รวมผลการศึกษาขนั้ กลางและขน้ั ปลายไวด้ ว้ ยกัน โดยผลการศึกษาสัดส่วนการดาเนินงาน
ของกลุ่มปิโตรเลยี มข้ันตน้ และก๊าซธรรมชาติ และกลุ่มปิโตรเลียมขัน้ กลางและขัน้ ปลาย แสดงดังรปู ท่ี 2

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 486 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

รูปที่ 2 ร้อยละของโครงการความยง่ั ยืนของกลุ่มปิโตรเลยี ม

จากการศกึ ษาข้อมลู พบว่าอตุ สาหกรรมปโิ ตรเลียมของประเทศไทยมกี ารดาเนนิ การตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียนแล้ว
โดยในปี พ.ศ. 2561 กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมข้ันต้นและก๊าซธรรมชาติ มีโครงการท่ีเป็นไปตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียนท่ีให้
ความสาคญั กับการจัดการในกระบวนการผลิตโดยเน้นการเพ่ิมประสิทธิภาพพลังงาน และลดการเกิดของเสียในระบบ นอกจากนี้
ยังมีโครงการท่ีให้ความสาคัญกับการจัดการวัตถุดิบและการลดการปล่อยมลภาวะทางอากาศซึ่งการดาเนินกิจกรรมตามแนวทาง

เศรษฐกจิ หมุนเวียนของกลุ่มปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติมุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ (Operation Efficiency)
ทัง้ การใช้พลังงาน และการลดการเกดิ ของเสยี เป็นหลัก เนอ่ื งจากผลติ ภัณฑจ์ ากอตุ สาหกรรมต้นนา้ จะส่งต่อไปยังกลมุ่ ปิโตรเลียมข้ัน
กลางและข้นั ปลาย ซ่ึงไมไ่ ด้ผลติ เพือ่ ขายให้กับผบู้ รโิ ภคโดยตรง

กลมุ่ ปโิ ตรเลยี มขนั้ กลางและปลายมโี ครงการทีเ่ ปน็ ไปตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวยี น โดยการดาเนนิ กิจกรรมมุ่งเน้นการ

จัดการด้านพลังงานสูงสุด รองลงมาคือการให้ความสาคัญกับวัตถุดิบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ โครงการท่ีเหลือเป็นกิจกรรมท่ีมุ่งเน้น
การลดการใช้วัตถุดิบและการลดการเกิดของเสีย ซึ่งเห็นได้ชัดเจนว่า กลุ่มปิโตรเลียมข้ันกลางและปลายให้ความสาคัญกับการ

พัฒนาผลิตภัณฑ์ตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียนมากกว่ากลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้น เนื่องจากผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมกลุ่มนี้
บางสว่ นเป็นผลิตภณั ฑ์เพื่อการบริโภค (consumer product) จึงมกี ารพฒั นาผลิตภัณฑ์ทเี่ ปน็ มติ รตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม

จะเห็นไดว้ า่ ทง้ั กลมุ่ ธุรกิจปิโตรเลยี มข้ันต้น และกล่มุ ปิโตเลยี มขั้นกลางและขนั้ ปลาย มกี ารดาเนินโครงการ/กิจกรรมทเี่ นน้
การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพของระบบ ทัง้ การใช้พลงั งานให้เกิดคุณค่า การใช้พลังงานหมุนเวียน และการลดการเกิดของเสียในระบบอยู่
แลว้ แต่ในด้านท่ีต่างกนั คอื กลมุ่ ปโิ ตรเลียมข้นั ปลายมีการคานงึ ถงึ ดา้ นการใชว้ ตั ถดุ ิบให้เกดิ ประสทิ ธิภาพ รวมถึงผลิตภณั ฑ์ที่จะออก
สผู่ ู้บรโิ ภค ซึง่ เป็นเพราะผลิตภณั ฑจ์ ากกลุม่ ปิโตรเลียมขั้นปลายเปน็ ผลติ ภัณฑซ์ ง่ึ จะสง่ ตรงสู่ผ่บู รโิ ภคโดยตรง มิได้เป็นวัตถุดิบตั้งต้น
ในอุตสาหกรรมเหมอื นผลติ ภณั ฑจ์ ากกลมุ่ ธุรกจิ ปโิ ตรเลยี มขั้นตน้ และข้นั กลาง

3. ตวั ชี้วดั ประสิทธิภาพระดับเศรษฐกจิ หมุนเวยี นสาหรับอุตสาหกรรมปิโตรเลียมระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนเป็นแนวคิดท่ี
สง่ เสรมิ การรักษาคณุ ค่าของวัสดุท่ีอยู่ในระบบเศรษฐกิจด้วยการยืดอายุการใช้งานของวัสดุและผลิตภัณฑ์ การนามาใช้ซ้า การนากลับ
เข้ากระบวนการผลิตใหม่ และรีไซเคิล เพ่ือการใช้วัสดุและเชื้อเพลิงอย่างคุ้มค่า ซึ่งจะช่วยลดการใช้ทรัพยากรและการสร้างขยะ
นอกจากนี้ยังช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการจัดหาวัตถุดิบใหม่อีกด้วย อุตสาหกรรมปิโตรเลียมเป็นอุต สาหกรรมท่ีมี

ผลติ ภัณฑม์ ากมายหลายประเภททัง้ นา้ มันเช้อื เพลิง พลงั งานเชอื้ เพลิง น้ามันหล่อลื่น ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เป็นต้น ซ่ึงหากมีการนา
หลกั เศรษฐกจิ หมนุ เวียนมาปรับใชน้ ัน้ จะทาให้การดาเนินธรุ กจิ สามารถบริหารจดั การการใชท้ รพั ยากรไดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื ย่งิ ขึน้

จากงานวิจยั ทผ่ี ่านมามีความพยายามนาเสนอแนวทางในการดาเนนิ อุตสาหกรรมตามหลักเศรษฐกจิ หมุนเวียนโดย
แนวทางต่างๆ แสดงดัง ตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แนวทางการดาเนินอตุ สาหกรรมตามหลกั เศรษฐกิจหมุนเวยี น

แนวทางทีส่ นใจ แนวทางการทาเดินการ คานยิ าม

ออกเบบเพอื่ ความทนทาน เพือ่ ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีความทนทานต่อการสึกหรอสูง

ยืดอายุการใช้งาน ไม่ถูกทาลาย และทางานได้ตลอดระยะเวลาที่กาหนดโดย
(Useful life
extension) ไมเ่ กิดข้อผดิ พลาดในการทางาน[5]

ออกแบบเพื่อความสะดวกในการ เพ่ือให้ผลิตภัณฑ์ง่ายต่อการดูแลรักษา มีการซ่อมแซมท่ี

บารุงรกั ษาและซอ่ มแซม ง่ายและมคี ่าใชจ้ ่ายน้อยเมอื่ ผลติ ภณั ฑเ์ กดิ การเสียหาย[5]

ออกแบบเพื่อง่ายต่อการปรับปรุง เพ่ือออกแบบผลิตภัณฑ์ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่าง

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 487 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

แนวทางทสี่ นใจ แนวทางการทาเดินการ คานยิ าม

คุณภาพ ต่อเน่ืองภายใต้เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง โดยการปรับปรุง

คณุ ภาพของผลิตภัณฑไ์ ดโ้ ดยไม่ต้องทิ้งผลิตภณั ฑเ์ ดิม[5]

ออกแบบเพ่ือง่ายต่อการการถอด- เพ่ือให้แน่ใจว่าผลิตภัณฑ์และช้ินส่วนสามารถแยกและ

ประกอบผลิตภณั ฑ์ ประกอบใหม่ได้ เพราะง่ายต่อการเคลื่อนย้าย และ

ประหยดั พื้นท[่ี 6]

ด้านเทคโลยี เพ่ือพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้องค์ประกอบต่างๆสามารถนา

การออกแบบเพือ่ กลับมาใช้ใหม่อย่างต่อเนื่องและปลอดภัยในวัสดุหรือ
ก้าวสู่ความเป็น
ผลิตภัณฑใ์ หม่[7]
วงจรปดิ
(Close loop) ดา้ นวงจรชีวภาพ เพ่อื ออกแบบผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ทรัพยากรทดแทน แทนการใช้

ทรัพยากรทีใ่ ชแ้ ลว้ หมดไป[8]

ออกแบบเพ่ือง่ายต่อการการถอด- เพ่ือให้ผลิตภัณฑ์และชิ้นส่วนสามารถแยกและประกอบ

ประกอบ ใหมไ่ ดง้ า่ ย ผลักดันการรีไซเคิล[6]

จากงานวจิ ยั ทผ่ี ่านมา พบวา่ ตวั ช้วี ัดการเขา้ สูร่ ะบบเศรษฐกิจหมุนเวยี นมักใหค้ วามสาคัญกบั การใชท้ รัพยากรให้เกดิ คุณค่า
สงู ท่ีสดุ อกี ทัง้ ยงั ให้ความสาคัญกบั การลดการเกิดขยะที่ต้องต้องสง่ ไปกาจดั ยังหลมุ ฝังกลบ ซง่ึ โรงงานในกลมุ่ อุตสาหกรรมปิโตรเลียม
ที่จะสามารถจัดทาตัวช้วี ดั ได้ควรจะเปน็ โรงงานท่ีมีการผลติ ผลิตภณั ฑ์สาหรบั ผ้บู รโิ ภคโยตรง ไดแ้ กอ่ ตุ สาหกรรมปิโตรเลียมขนั้ ปลาย
ดังนั้นในงานวิจัยน้ีผู้วิจัยจึงนาเสนอตัวชี้วัดการดาเนินอุสาหกรรมปิโตรเลียมขั้นปลายตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน ( Petroleum
Circular Indicator ;PCI) โดยใช้การหมุนวนทรัพยากรต่างๆให้เกิดประโยชน์สูงสุดเป็นตัวช้ีวัด (อ้างอิงจาก CIRCULAR

TRANSITION INDICATORS Proposed metrics for business, by business.) ซึ่งสามารถแบ่งการประเมินเป็น 2 ด้าน ได้แก่
การใชว้ ัตถดุ บิ ทดแทน และการใชพ้ ลงั งานทดแทน โดยปรับตามรูปท่ี 3

รูปท่ี 3 ตัวช้ีวัดแนวทางการดาเนินอุสาหกรรมปโิ ตรเลียมขน้ั ปลายตามหลักเศรษฐกจิ หมุนเวียน

โดยคานิยามตา่ งๆ และการคานวณไดส้ ามารถทาได้ ดงั น้ี
การไหลเวียนในระบบ (Circular inflow) – เป็นการมองไปถึงต้นทางการผลิตว่าการใช้วัตถุดิบต้นทางในการผลิตน้ันมี
ทีม่ าอย่างไร ซ่ึงในการประเมินจาเป็นตอ้ งทราบถงึ การใช้วสั ดุขาเข้าของวัตถุดบิ ในระบบดว้ ย โดยการคานวณแสดงดัง สมการท่ี (1)

% circular inflow total  (% circularity inflow A * weight A)  (% circularity inflow B * weight B)  (% circularity inflow C * weight C)  ... (1)
total weight of all inflow (A+B+C+...)

โดย % circularity inflow คือ ร้อยละการใช้วัตถุดิบที่สามารถสร้างทดแทนได้ หรือวัตถุดิบที่เคยใช้งานมาแล้ว เป็น
องค์ประกอบเทา่ ใดในการผลิต แบง่ ไดเ้ ป็น 3 กรณี ได้แก่

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 488 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

• วตั ถดุ บิ ดง้ั เดิม ท่ีไม่สามารถหมนุ เวียนได้ (Virgin – non-renewable) – เปน็ วตั ถดุ ิบทไี่ หลเขา้ ระบบโดยไม่เคย
มีการใช้หรือบริโภคมาก่อน และไม่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้หรือสร้างทดแทนได้ยาก โดยจะมีค่า %
circularity เปน็ 0

• วัตถุดิบดง้ั เดมิ ท่ีสามารถหมนุ เวียนได้ (Virgin – renewable) – เป็นวัตถดุ บิ ทไี่ หลเข้าระบบโดยไมเ่ คยมีการใช้
หรอื บรโิ ภคมาก่อน แตส่ ามารถไมส่ ามารถนากลับมาใชใ้ หมไ่ ด้ หรอื สามารถสร้างทดแทนได้

• วัตถดุ บิ ทผ่ี า่ นการใชง้ านมาแลว้ (Non-virgin or secondary) – เป็นวัตถุดบิ ที่ก่อนไหลเข้าระบบมกี ารใชง้ าน
มาแล้ว แตม่ ีการกูค้ นื สภาพ หรอื ผา่ นกระบวนการ เชน่ การซ่อม การปรับปรงุ กระบวนการ หรอื การรไี ซเคลิ
เพอื่ ให้สามารถนาวตั ถุดิบมาใชง้ านไดอ้ ีก

การไหลเวียนนอกระบบ (Circular outflow) – เป็นการมองไปถึงการไหลออกของวตั ถุดบิ จากผผู้ ลิต ไม่ได้มองถึงวัตดุดิบ

ซง่ึ ใชใ้ นการผลติ โดยตรง แต่จะเนน้ ไปที่การเก็บรวบรวมผลิตภัณฑ์ท่ีถูกใช้แล้วกลับเข้าสู่ระบบการผลิตอีกคร้ัง และการใช้พลังงาน

ทดแทนในกระบวนการผลิต การประเมินตัวช้ีวัดการไหลเวียนวัตถุดิบภายนอกระบบ (% circularity outflow total) สามารถ

แบ่งการประเมนิ เป็น 2 ด้าน ได้แก่

• ด้านประสทิ ธภิ าพการนาพลงั งานท่ีใช้แลว้ วนกลับมาใชใ้ หม่ให้เกิดประโยชน์ (% recovery potential) รวมถึง
การนาวัตถุดิบกลับมาใช้เป็นพลังงานทางเลือก หรือกระบวนการผลิตพลังงาน เช่น การเผาให้พลังงาน ซ่ึง
สามารถคานวณไดจ้ ากสมการการใช้พลงั งานให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ดังสมการท่ี (2)

% recovery potential  recovery energy consumption / yaer  100% (2)
total energy consumption / yaer

• ด้านการใช้พลังงานทดแทนในกระบวนการผลิต (% renewable energy) การเข้าสู่หลักเศรษฐกิจหมุนเวียน
จะให้ความสาคัญกับการใช้ทรัพยากรที่สามารถหมุนเวียน หรือสร้างขึ้นมาใหม่ได้ (เช่น พลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานนา้ พลังงานลม) ดังน้นั การใชพ้ ลังงานทดแทนทีส่ ามารถสรา้ งขน้ึ มาไดเ้ อง หรือหมนุ เวียนมาใช้ได้อีก ไม่
หมดไปเม่ือถกู ใชจ้ ึงถกู ใชเ้ ป็นตัวชวี้ ดั หน่งึ โดยการใชพ้ ลังงานทดแทนสามารถคานวณไดจ้ ากสมการท่ี (3)

% renewable energy  renewable energy consumption / yaer  100% (3)
total energy consumption / yaer

โดยเม่ือสามารถคานวณประสิทธิภาพการนาพลังงานที่ใช้แล้ววนกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ (% recovery
potential) และการใช้พลังงานทดแทนในกระบวนการผลิต (% renewable energy) เราสามารถคานวณการไหลเวียนวัตถุดิบ
ภายนอกระบบ (% circularity outflow total) ไดด้ ังสมการที่ (4)

% circular outflow total  %recovery potential  %renewable energy (4)

เม่ือทาการคานวณแลว้ นน้ั จะแสดงให้เหน็ ถึงอตั ราการใช้วัตถดุ ิบ และพลงั งาน ในองค์กรว่ามีการใช้งานอย่างคุ้มค่า หรือ
เขา้ ใกลก้ ารเป็นเศรษฐกิจหมุนเวยี นมากน้อยเพยี งใด โดยหาก % circular inflow total มคี ่าสงู หรือใกล้เคียง 100% หมายถึงการ
ท่ีองค์กร มีการจัดการวัตถุดิบในการผลิตเข้าใกล้การดาเนินเศรษฐกิจหมุนเวียนมาก และหาก % circular outflow total ค่าสูง
หรือใกล้เคยี ง 100% หมายถงึ การที่องค์กรมกี ารจดั การกบั ผลติ ภณั ์ทผ่ี า่ นการใชง้ าน และพลังงานท่ีใชใ้ นกระบวนการผลิตเข้าอย่าง
มีประสิทธิภาพนั่นเอง โดยหากพบว่าค่าทั้ง 2 มีค่าน้อยทางองค์กรจะสามารถทราบถึงการใช้วัตถุดิบหรือพลังงานท่ียังไม่เกิด
ประโยชน์ และควรหาวธิ ีปรบั ปรงุ แกไ้ ขเพื่อให้วตั ถดุ ิบและพลงั งานใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ

สรปุ

การมีตัวช้ีวัดการดาเนินเศรษฐกิจหมุนเวียนในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมจะส่งผลให้สามารถดาเนินธุรกิจไปตามแนวทางที่
ถูกต้องและยั่งยืน เพราะการนาหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียนมาใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมนอกจากสามารถช่วยลดการใช้
ทรัพยากร และลดการใช้พลังงาน ยังสามารถลดการเกิดมลพิษซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อปัญหาส่ิงแวดล้อมในปัจจุบันอีกด้วย

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 489 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ตวั ช้ีวัดการดาเนินอสุ าหกรรมปิโตรเลียมตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Petroleum Circular Indicator ;PCI) โดยใช้การหมุนวน
ทรัพยากรต่างๆให้เกิดประโยชน์สูงสุดเป็นตัวชี้วัดท่ีจะช่วยผลักดันแนวคิดการดาเนินเศรษฐกิจหมุนเวียนควบคู่ไปกับการดาเนิน
อุตสาหกรรมได้ โดยเพ่ือความมีประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้ตัวชี้วัดดังกล่าวกลุ่มอุตสาหกรรมควรมีข้อมูลการใช้พลังงานและ
วัตถดุ บิ ตา่ งๆทค่ี รบถ้วน และมนี โยบายในการผลักดันการดาเนนิ งานตามหลักเศรษฐกจิ หมุนเวียนทช่ี ัดเจนควบคไู่ ปด้วย

กติ ตกิ รรมประกาศ

คณะผูว้ ิจยั ขอขอบคุณกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมปโิ ตรเลยี ม ทใี่ ห้ความอนุเคราะห์ คณะผู้วจิ ยั ขอบพระคุณเปน็ อย่างสูงไว้
ณ ท่นี ้ี

เอกสารอา้ งอิง

[1] Morseletto, P. (2020). Targets for a circular economy. Resources, Conservation and Recycling
[2] Brouwer, M. T., van Velzen, E. U. T., Augustinus, A., Soethoudt, H., De Meester, S. and Ragaert, K. J. W.

m. (2018). Predictive model for the Dutch post-consumer plastic packaging recycling system and
implications for the circular economy. 71, 62-85.
[3] MacArthur, D., Waughray, D. and Stuchtey, M. (2016). The New Plastics Economy, Rethinking the Future
of Plastics. Paper presented at the World Economic Forum.
[4] Colling, A. V., Oliveira, L. B., Reis, M. M., da Cruz, N. T., & Hunt, J. D. (2016). Brazilian recycling potential:
Energy consumption and Green House Gases reduction. Renewable and Sustainable Energy Reviews,
59, 544-549.
[5] Linton, J. & Jayaraman, V., 2005. A framework for identifying differences and similarities in the
managerial competencies associated with different models of product life extension. International
Journal of Production Research, Volume 43, pp. 18071829.
[6] Bakker, C., Den Hollander, M., van Hinte, E. & Zijlstra, Y., 2014. Product that Last. Product Design for
Circular Business Models. Delft: TU Delft Library.
[7] Boulding, K., 1966. The economics of the coming Spaceship Earth. In: Environmental Quality in a
Growing Economy: Essays from the Sixth RFF Forum. Baltimore: John Hopkins University Press, pp. 3-14.
[8] McDonough, W. & Braungart, M., 2002. Cradle to Cradle: Remarking the Way We Make Things. New York,
NY: North Point Press.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 490 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

086

การลดการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกจากอุตสาหกรรมปูนซเี มนต์
Greenhouse Gas Mitigation Reduction potential of

Cement Industry

อภิญญาพร วิลาวรรณ1์ ชณิภรณ์ เรอื งฤทธิ์2 และ อรทยั ชวาลภาฤทธิ์3
Apinyaporn Vilavan1 Chaniporn Ruangrit2 and Orathai Chavalparit3

นสิ ติ บณั ฑิตศึกษา1 ; ศาสตราจารย์3
ภาควชิ าวศิ วกรรมส่ิงแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรงุ เทพมหานคร 10330

2 หน่วยปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั การจดั การส่งิ แวดลอ้ มเชิงอตุ สาหกรรมอย่างยัง่ ยืน
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพมหานคร 10330
*โทรศพั ท์ : 081-553-6884, โทรสาร : 0-2218-6670, E-mail : [email protected]

บทคดั ย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตปูนซีเมนต์ของประเทศไทย ตลอดจนการ
นาเสนอมาตรการในการลดการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกของอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ในประเทศ โดยทาการรวบรวมข้อมูลในปี พ.ศ.
2558-2562 ซึ่งจากการศึกษาข้อมูลในปี พ.ศ. 2562 จากรายงานการพัฒนาความยั่งยืนของบริษัทท่ีใช้เป็นตัวแทน พบว่า
อุตสาหกรรมการผลิตปูนซีเมนต์ของประเทศไทยมีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเฉล่ียประมาณ 638.50 กิโลกรัมเทียบเท่า
คาร์บอนไดออกไซดต์ ่อตนั ปูนซีเมนต์ (cementitious) ลดลงจากคา่ เฉล่ียปี พ.ศ. 2561 ประมาณรอ้ ยละ 7.49 เนือ่ งจากในการผลิต
ปูนซเี มนต์ของประเทศไทยมีสดั ส่วนการใช้วัตถดุ บิ ทดแทนปนู เม็ด สัดส่วนการใชเ้ ชือ้ เพลิงทดแทน และการใช้เช้ือเพลงิ ชวี มวลทเี่ พมิ่
มากข้ึน เน่อื งจากอตุ สาหกรรมปูนซีเมนต์มคี วามตระหนกั ในเรื่องของการใช้พลงั งานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
จึงมีการดาเนินการตามแนวทางในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ได้แก่ การผลิตไฟฟ้าจากความร้อนเหลือท้ิง การลดการใช้
เชื้อเพลิงฟอสซิล และการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต ซึ่งข้อเสนอแนะแนวทางการลด CO2 เพ่ิมเติม ได้แก่ การใช้วัสดุ
ทดแทนปูนเม็ดในสัดสว่ นท่สี ูงข้นึ การอนุรักษพ์ ลังงาน และการใช้เช้ือเพลงิ ทดแทนแทนการใชเ้ ช้อื เพลิงฟอสซลิ
คาสาคญั : อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์; การลดการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก; การใช้พลงั งาน; มาตรการลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก

Abstract

This research aimed to investigate the greenhouse gas emission from the cement industry in
Thailand, including supported approaches, which potentially alleviate greenhouse gas emission.
The year 2015 to 2019 were set as the base years for greenhouse gas emission baselines that supported by
the Thailand representative cement industries. The results showed that in 2019, cement production
generated greenhouse gases approximately 638.50 kg CO2 equivalent per 1 ton of cementitious, which
reduced by 7.49 % from the previous year (2018). The reasons for this were rising in the clinker substitution,
a portion between alternative fuels and fossil fuel, and the biomass fuel consumption. Since the cement
industry is the significant cause of greenhouse effects, the Thailand cement industry has given priority to
energy consumption and climate change caused by cement productions. Consequently, several approaches,
such as electricity generation from waste heat recovery, the reduction in fossil fuel consumption, and
process maximization, were implemented. Moreover, this study suggested that the cement process can
lessen carbon dioxide emissions through the use of clinker substitute raw materials and the encouragement
of the concepts of energy conservation and alternative fuels instead of fossil fuels.

Keywords: Cement industry; Greenhouse gas reduction; Energy consumption; Greenhouse gas mitigation

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 491 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

บทนา

อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์เป็นอุตสาหกรรมหลักที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก
เนอื่ งจากปูนซีเมนต์เป็นหนึ่งในวัสดุก่อสร้างที่มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง และเป็นปัจจัยการผลิตหลักของงานก่อสร้างโครงสร้าง
พื้นฐาน ซึ่งการผลิตของอุตสาหกรรมปูนซเี มนต์ในประเทศไทยท่เี พ่มิ ข้ึนอาจก่อใหเ้ กิดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมอันมีสาเหตุมา
จากการใช้เช้ือเพลิงฟอสซิลเป็นแหล่งพลังงานและการใช้วัตถุดิบ รวมถึงการปล่อยก๊าซเรือนกระจกซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ทาให้เกิด
ภาวะโลกร้อน (Global warming) โดยงานวิจัยก่อนหน้าน้ีได้กล่าวไว้ว่า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่เกิดจากกระบวนการ
ผลติ ปนู ซีเมนต์ถกู ปล่อยออกมาจากทั่วโลกประมาณ 2.6 จิกะตนั ซ่ึงร้อยละ 50 ของการปล่อยกา๊ ซเหลา่ นเ้ี กดิ ขนึ้ จากการเผาหินปูน
ในปฏกิ ริ ยิ า Calcination ในกระบวนการผลิตปูนเม็ด และอกี ร้อยละ 35 เกดิ จากการเผาไหม้เช้ือเพลิงฟอสซิลเพื่อใช้เป็นเช้ือเพลิง
หลักในการเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเผาปูน เนื่องจากในกระบวนการผลิตปูนเม็ดจะต้องมีการให้ความร้อนแก่เตาเผาสูงถึง 1,300-
1,500 องศาเซลเซียส [1] ซึ่งอตุ สาหกรรมปูนซเี มนตเ์ ป็นหน่ึงในอุตสาหกรรมท่ีมีการปล่อย CO2 ออกจากกระบวนการผลิตคิดเป็น
รอ้ ยละ 5 ของการปลอ่ ยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดท์ ว่ั โลกในปัจจุบัน โดยการผลิตปูนเม็ด 1 ตันจะมีการปล่อย CO2 ประมาณ 900
กิโลกรัมออกสู่ช้ันบรรยากาศ [2] สาหรับประเทศไทย[3] พบว่าสัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกหลักจากการผลิต
ปูนซีเมนต์มาจากปฏิกิริยา calcination ในกระบวนการผลิตปูนเม็ด การเผาไหม้เชื้อเพลิงในหม้อเผาปูน คิดเป็นสัดส่วนสูงถึง
รอ้ ยละ 58 และ 42 ของปรมิ าณการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกทง้ั หมดที่ปลอ่ ยจากแหล่งปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกประเภทที่ 1 (ทางตรง)
สาหรับแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกประเภทท่ี 2 (ทางอ้อม) และประเภทที่ 3 (ทางอ้อมอื่นๆ) จะมีสัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกเพยี งรอ้ ยละ 18 และ 8 ของปรมิ าณการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกท้ังหมดขององคก์ ร

International Energy Agency[4] ได้นาเสนอแผนท่ีนาทางเทคโนโลยีปูนซีเมนต์กับการลดการปล่อย CO2
4 เทคโนโลยี คือ การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการใช้พลงั งานความรอ้ นและพลงั งานไฟฟา้ การใช้เช้ือเพลิงทดแทน การใช้วัตถุดิบทดแทน
ในปูนเม็ด และเทคโนโลยีการดักจับและเก็บกักคาร์บอน (CCS) ซึ่งสอคคล้องกับยุทธศาสตร์หลักในการลดการปล่อยก๊าซเรือน
กระจก (Mitigation Plan) สาหรับอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ในประเทศไทยโดยศูนย์ข้อมูลก๊าซเรือนกระจก องค์การบริหารจัดการ
กา๊ ซเรือนกระจก (ม.ป.ป.) [5] ทป่ี ระกอบไปดว้ ย 4 ยทุ ธศาสตรห์ ลกั คือ 1) สง่ เสริมการลงทุนตามความคุ้มค่าและศักยภาพการลด
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2) เพ่ิมศักยภาพการจัดหาแหล่งพลังงานทางเลือก 3) ส่งเสริมงานวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่
และ 4) สรา้ งตลาดและการยอมรบั ในผลิตภัณฑ์ใหมท่ ่สี ามารถลดการใช้ปนู เมด็ ลง

เนอื่ งจากการผลติ ปนู ซเี มนต์เป็นกระบวนการท่มี กี ารใชว้ ัตถดุ ิบและพลังงานในปรมิ าณมาก ซ่ึงเป็นการบริโภคทรัพยากร
ท่ีใช้แล้วหมดไป รวมท้ังมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีเป็นผลกระทบหลักที่เกิดจากกระบวนการผลิตปูนเม็ดซ่ึงเป็น
องค์ประกอบสาคัญของซีเมนต์ ดังน้ันอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ในยุโรปจึงได้มีการผลักดันกระบวนการเผาทาลายร่วม
(Co-Processing) ของวัตถุดิบและเช้ือเพลิงทดแทน เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และลดการสกัดวัตถุดิบจาก
ทรัพยากรธรรมชาติและเช้ือเพลิงฟอสซิล และช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดการขยะ [6] นอกจากนี้การเปลี่ยนมาใช้เชื้อเพลิง
การทดแทนแทนการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น เช้ือเพลิงขยะ RDF (เศษไม้เหลือทิ้ง กากตะกอนน้าเสีย พลาสติก วัสดุเหลือใช้ทาง
การเกษตร เศษยาง ปิโตรเลียมโค้ก) จะสามารถชว่ ยลดการปล่อย CO2 ลง 0.1 ถงึ 0.5 กิโลกรัม/กิโลกรัมซีเมนต์ [2] จึงกล่าวได้ว่า
การทดแทนปนู เม็ด และการใชเ้ ชือ้ เพลิงทดแทน สามารถลดตน้ ทุนการใช้พลังงานลงได้ร้อยละ 11 และ 7 ตามลาดับ [7] ดังน้ัน
บทความนี้จึงศึกษารวบรวมข้อมูลและนาเสนอแนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ในประเทศ
ไทยเพือ่ พัฒนาอุตสาหกรรมปนู ซีเมนต์อย่างยงั่ ยนื เพ่ือนาไปสเู่ ปา้ หมายของระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น (Circular economy) ต่อไป

อปุ กรณ์และวธิ กี าร

1. เกบ็ รวบรวมข้อมลู จากรายงานการพฒั นายั่งยนื ประจาปีของบริษัทปูนซีเมนต์ในประเทศไทยท่ีใช้เป็นตัวแทนศึกษา โดยทาการ
รวบรวมข้อมูลในปี พ.ศ. 2558-2562 ได้แก่ กาลังการผลิต ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) การใช้พลังงาน
ความร้อน การใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ และการใชว้ ัตถุดิบ

2. เก็บรวบรวมข้อมูลที่สาคัญจากรายงานการพัฒนายั่งยืนประจาปีของบริษัทปูนซีเมนต์ในประเทศไทยที่ใช้เป็นตัวแทนศึกษา
2 บรษิ ทั ซงึ่ ทง้ั สองบริษัทนีม้ ีกาลงั การผลิตปนู ซีเมนต์รวม คดิ เป็นรอ้ ยละ 69.57 ของการผลิตปนู ซเี มนต์ทั้งประเทศ โดยทาการ
รวบรวมข้อมลู ในปี พ.ศ. 2558-2562 หลงั จากนัน้ นาขอ้ มลู ท่ีได้มาประเมนิ การปล่อยก๊าซเรอื นกระจกจากอุตสาหกรรมน้ี

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 492 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

3. วิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ของโรงงานท่ีใช้เป็น
กรณีศึกษา เพอื่ เสนอแนะแนวทางในการลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก ซงึ่ การเสนอแนวทางจะทาการอา้ งอิงแนวทางต่างๆจาก
งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงแผนที่นาทางเก่ียวกับเทคโนโลยีปูนซีเมนต์ขององค์การพลังงานระหว่างประเทศ (IEA) [4] และ
ข้อมูลการลดก๊าซเรือนกระจกของอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (TGO) [5] ซึ่งแนวทาง
การลดผลกระทบจะต้องสอดคล้องกับ Cement Sustainability Initiative (CSI) โดยจะต้องมีการคานึงถึงคุณสมบัติของ
ปนู ซเี มนต์ รวมทัง้ ครอบคลมุ ถึงมาตรการการอนุรักษ์พลังงาน การใชเ้ ช้ือเพลงิ ทดแทน การทดแทนปนู เม็ด และมาตรการอ่นื ๆท่ี
เกยี่ วขอ้ ง

ผลการทดลองและวิจารณ์

1. ปรมิ าณการปลอ่ ย CO2 ทัง้ หมดจาเพาะ

อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2562 มีปริมาณการผลิตปูนซีเมนต์ทั้งสิ้น 34.51 ล้านตัน [8] ซ่ึง

ปรมิ าณการผลติ ปนู ซเี มนต์ในประเทศมีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึนเล็กน้อยจากปีพ.ศ. 2561 ดังรูปท่ี 1 ซ่ึงแหล่งกาเนิดหลักของการปล่อย
กา๊ ซเรือนกระจกจากการผลิตปูนซีเมนต์มี 2 กิจกรรมหลัก ได้แก่ CO2 ท่ีเกิดจากกระบวนการเผาปูนเม็ด (calcination process)
และ เกดิ จากการเผาไหมเ้ ชื้อเพลงิ (Fuel Combustion) ซึ่งสว่ นที่เหลอื อกี ประมาณรอ้ ยละ 5-10 เกิดจากการใช้พลงั งานไฟฟา้

ในกระบวนการเผาปนู เมด็ จะมปี ฏิกริ ยิ าทเี่ กดิ ขน้ึ ชว่ งการแตกตัวของสารทม่ี ีคาร์บอเนต ได้แก่ หนิ ปนู (CaCO3) จะแตกตวั
ออกเป็น CaO ทอ่ี ุณหภูมิประมาณ 600-900 องศาเซลเซยี ส (1) ส่วนแมกนีเซียมคาร์บอเนต (magnesium carbonate, MgCO3)
จะเร่ิมแตกตัวทอ่ี ณุ หภูมิประมาณ 800 – 900 องศาเซลเซยี ส (2) ซงึ่ ในระหว่างการแตกตัวจะไดส้ มการเคมี ดังน้ี [9]

CaCO3 900 OC CaO + CO2 (1)
MgCO3 900 OC MgO + CO2 (2)

สาหรับ CO2 ท่ีเกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงจะเกิดจากการใช้เช้ือเพลิงฟอสซิลในข้ันตอนการผลิตปูนเม็ด (Clinker
production) ซ่ึงเช้ือเพลิงฟอสซลิ ท่นี ามาใช้เพื่อใหพ้ ลังงานความร้อนและเพิม่ อุณหภูมทิ ีเ่ หมาะสมใหแ้ กเ่ ตาเผา ไดแ้ ก่ ถ่านหิน และ
ลิกไนต์ เป็นต้น จึงกล่าวได้ว่า เช้ือเพลิงฟอสซิลท่ีถูกใช้เผาไหม้เป็นสาเหตุหลักที่ทาให้เกิดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(CO2) ออกจากอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ ดังปฏิกิริยาการเผาไหม้เช้ือเพลิงถ่านหินที่เกิดขึ้น [10] โดยเร่ิมจากอนุภาคถ่านหินผ่าน
กระบวนการทาให้แห้ง (3) หลังจากน้ันจะเกิดกระบวนการไพโรไลซิส (pyrolysis) เปล่ียนแปลงองค์ประกอบทางเคมีโดยใช้
ความร้อน ซึ่งโมเลกุลของถ่านหินจะแตกตัวออกเป็นช้ินเล็กๆ เพ่ือเปล่ียนวัตถุดิบจากสภาวะของแข็ง ระเหิดกลายเป็นไอถ่านหิน
(Volatile) และผงถา่ น (Char) (4) สุดทา้ ยแล้วจะมเี พยี งผงถา่ นและเถ้าเท่านนั้ ที่เหลืออยู่ในอนุภาคของแข็งนี้ ซ่ึงเม่ือผงถ่านเจอกับ
ออกซเิ จนและความรอ้ นจะเกิดการเผาไหม้ ทาให้เกิดเปน็ กา๊ ซ CO2 ออกมา (5)

Wet Coal (s) H2O Evaporation Dry Coal (s) (3)

Dry Coal (s) pyrolysis Volatile (g) + Char (s) (4)

Char (s) + O2 (g) Heat CO2 (g) (5

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 493 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

รูปที่ 1 ปรมิ าณการผลติ ปนู ซเี มนต์ในประเทศไทย ในปีพ.ศ. 2558-2562

ทมี่ า: สมาคมอุตสาหกรรมปนู ซีเมนตไ์ ทย (2562)

เม่ือพิจารณาเชิงประสิทธิภาพของค่าเฉล่ียปริมาณการปล่อย CO2 ทั้งหมดจาเพาะของอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ของ
ประเทศไทย ในหน่วยกิโลกรัมต่อตันผลิตภัณฑ์ปูนเม็ดและปูนซีเมนต์(cementitious) ในปี พ.ศ. 2558-2562 จากรายงานการ
พัฒนาย่งั ยืนประจาปีของบริษัทปูนซีเมนต์ในประเทศไทยทใี่ ช้เป็นตัวแทนศึกษา 2 บริษัท ดังรูปที่ 2 พบว่า มีค่าค่อนข้างคงท่ีเฉลี่ย
690 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อตันปูนซีเมนต์ (cementitious) ในปี พ.ศ. 2558-2561 และมีค่าลดลงในปี พ.ศ.
2562 โดยมีค่าเฉล่ียต่าลงเท่ากับ 638.50 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อตันปูนซีเมนต์ (cementitious) หรือลดลง
ประมาณร้อยละ 7.49

รปู ท่ี 2 ค่าเฉล่ยี ปริมาณการปล่อย CO2 ท้งั หมดจาเพาะตอ่ ตนั ปูนซีเมนต์ (cementitious) ในปี พ.ศ.2558-2562

2. การดาเนนิ มาตรการลดก๊าซเรือนกระจกในปจั จุบนั
จากการรวบรวมข้อมลู รายงานความยง่ั ยืนของโรงงานกรณศี กึ ษาพบว่าโรงงานมกี ารดาเนนิ มาตรการการลดก๊าซเรอื นกระจก ดังนี้

2.1 การผลติ ไฟฟ้าจากความรอ้ นเหลือท้งิ
บริษัทต่างๆมีมาตรการในการปรับปรุงการใช้พลังงานไฟฟ้าในกระบวนการผลิตที่เพิ่มมากข้ึน โดยการนา

ความร้อนเหลือท้ิงกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ภายในโรงงาน ซึ่งความร้อนท่ีเหลือท้ิงดังกล่าวนี้เกิดจากการถูกใช้เพ่ือลดความช้ืนใน
ขัน้ ตอนการเตรยี มอุณหภมู ขิ องวตั ถดุ บิ (Pre-Heater Tower) และของหมอ้ เยน็ Clinker Cooler ในกระบวนการผลิตปูนเม็ด ซึ่งมี
อุณหภูมิสูงถึง 350-400 องศาเซลเซียล มาใช้เป็นแหล่งพลังงานความร้อนเพ่ือผลิตไอน้าไปขับเคลื่อนกังหันไอน้า เพ่ือผลิต
กระแสไฟฟ้ากลับมาใช้ในกระบวนการผลิตต่อไป โดยมาตรการนี้สามารถลดการไฟฟ้าจากระบบสายส่งของประเทศได้มากกว่า
100 เมกกะวัตต์ ซึง่ มีสว่ นช่วยในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกไดม้ ากกว่า 327,000 ตันต่อปี รวมถึงยังเป็นการช่วยยืด
อายุของแหล่งถา่ นหนิ ที่จะถูกใชใ้ นการผลิตไฟฟา้ ของประเทศได้อีกดว้ ย [11]

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 494 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

2.2 การลดการใชเ้ ชื้อเพลิงฟอสซลิ
จากข้อมูลในรายงานการพัฒนาย่ังยืนประจาปีของบริษัทปูนซีเมนต์ในประเทศไทยท่ีใช้เป็นตัวแทนศึกษา พบว่าผู้ผลิต

ปูนซีเมนต์มีนโยบายในการลดการใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลโดยการใช้เชื้อเพลิงทดแทนให้มากขึ้น เช่น การใช้เชื้อเพลิง
ทดแทนจากกากของเสยี อุตสาหกรรม เช้ือเพลิงแข็งทดแทนที่ผ่านการปรับสภาพ (Refuse Derived Fuel, RDF) และเชื้อเพลิงชีว
มวล เป็นต้น รวมถึงมีการเพิ่มสัดส่วนการใช้วัตถุดิบทดแทนในการผลิตปูนซีเมนต์ ซึ่งมีการดาเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายใน
การลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกของภาครัฐ นอกจากน้ียังสามารถใชข้ องเหลอื ทงิ้ จากอตุ สาหกรรมอน่ื ๆ รวมถึงใชเ้ ช้อื เพลิงชีวมวล
ในสัดส่วนท่มี ากขนึ้ ในกระบวนการผลติ ปูนซเี มนต์ ซึ่งถอื วา่ แนวทางน้ีเปน็ การช่วยลดผลกระทบจากการนาของเหลือท้ิงเหล่าน้ันไป
ฝงั กลบและยังเป็นการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการกาจดั ของเหลือทิง้ อีกดว้ ย อีกทั้งยงั เปน็ การช่วยเพิ่มความต้องการด้าน
ผลผลติ เชอ้ื เพลิงชวี มวลและของเหลอื ทงิ้ จากภาคการเกษตรกรรมอีกดว้ ย [12]

2.3 การเพิ่มประสิทธภิ าพในกระบวนการผลติ
บริษัทปูนซีเมนต์ในประเทศไทยที่ใช้เป็นตัวแทนศึกษามีการติดต้ังระบบ Pre-Grinding ของหม้อบดซีเมนต์ เพื่อช่วยลด

การใชไ้ ฟฟ้าของหมอ้ บดปนู ซเี มนต์ลง 13 กกิ ะวตั ต์ชวั่ โมง/ปี และยงั ชว่ ยลดกา๊ ซเรือนกระจกไดก้ ว่า 6,500 ตนั /ปี [11]

3.ขอ้ เสนอแนะแนวทางการลดการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกจากอตุ สาหกรรมปูนซีเมนต์

3.1 การอนรุ กั ษ์พลังงาน
ควรมีการลงทุนด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ เพ่ือเป็นการอนุรักษ์การใช้พลังงานและเพ่ิมประสิทธิภาพในด้านของการลดการ

ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งในปัจจุบันผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ได้มีเวทีระหว่างประเทศ พร้อมทั้งเครือข่าย
ผูเ้ ช่ยี วชาญด้านเทคโนโลยีในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆที่
เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม [5] มาตรการอนุรักษ์พลังงานเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยท่ัวไป ได้แก่ การเปลี่ยนเตาเผาให้มี
คุณภาพสูง การใช้ระบบควบคุมอัตโนมัติโดยใช้คอมพิวเตอร์อาจช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้กระบวนการเผาไหม้ร้อยละ 2.5-5
การประยกุ ต์อปุ กรณป์ ระเภท VSD เข้ากับมอเตอร์ใหม้ คี วามเหมาะสมจะสามารถลดการใชพ้ ลงั งานไดถ้ ึง 0.215 กโิ ลวตั ต์/ตัน หรือ
ประมาณ 10 kWh/t cement การใชม้ อเตอรป์ ระสทิ ธิภาพสูงประหยัดพลงั งานประมาณรอ้ ยละ3-8 [2]

3.2 การใช้เชอื้ เพลิงทดแทน
การใช้เช้ือเพลิงทดแทนเป็นอีกหน่ึงทางเลือกในการแทนท่ีการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลแบบเดิม ซึ่งโดยทั่วไปแล้วเชื้อเพลิง

ฟอสซิลจาพวกถ่านหินจะถูกใช้เพ่ือให้ความร้อนแก่เตาเผาปูนซีเมนต์ นอกจากนี้เตาเผาปูนซีเมนต์ยังเหมาะสมต่อการใช้เชื้อเพลิง
ทดแทนเพื่อให้ความร้อนแก่เตาเผาอีกด้วย เน่ืองจากส่วนประกอบอนินทรีย์จาพวกขี้เถ้าจะถูกรวมเข้ากับเนื้อปูนเม็ด รวมท้ังยังมี
ประสิทธิภาพการปล่อย CO2 ทีต่ ่ากวา่ การใชเ้ ช้อื เพลิงฟอสซิลเพยี งอยา่ งเดียว ซึ่งกากของเสยี ต่างๆจะนยิ มถูกนามาใช้เป็นเชื้อเพลิง
ทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ เช่น ขยะจากชุมชน ขยะจากอุตสาหกรรม ยางรถยนต์ใช้แล้ว ขี้เลื้อย พลาสติก เป็นต้น รวม ไปถึง
เชือ้ เพลิงชีวมวลยงั ถกู นามาใช้เปน็ เชอื้ เพลิงทดแทนในเตาเผาปนู ซีเมนต์อีกด้วย [5] การใช้เช้ือเพลิงคาร์บอนต่า การเพิ่มอัตราส่วน
เชื้อเพลิงทดแทนต่อเชื้อเพลิงฟอสซิลสามารถลดมูลค่าพลังงานลงได้ร้อยละ 1.68 และ 18.33 ของปริมาณของการใช้พลังงาน
ทั้งหมดตามลาดับ ซ่ึงนอกจากช่วยลดการใช้พลังงานแล้วยังช่วยลดการปล่อย CO2 ลงได้คิดเป็นมูลค่าร้อยละ 25.35 และ 3.06
ของผลกระทบต่อภาวะโลกรอ้ นท้ังหมด [13]

3.3 การใชว้ ตั ถดุ บิ ทดแทนในปนู เม็ด
ปจั จบุ นั มาตรการในการลดอตั ราสว่ นปูนเมด็ ในการผลติ ปนู ซเี มนต์เป็นแนวทางทีมีศักยภาพสงู เพราะ ไมจ่ าเปน็ ต้องมกี าร

ปรับเปลย่ี นเครอ่ื งจักรในการผลติ เพียงลดปริมาณปูนเมด็ ทีจ่ ะถูกใชล้ ง โดยการใช้วตั ถดุ บิ ทดแทนในกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ถือ
ได้ว่าเป็นอีกวธิ ีหนึง่ ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพที่สุด สาหรบั วตั ถดุ บิ ทดแทนท่ีถูกใช้ในกระบวนการผลติ ปนู ซีเมนต์เกิดจากการนาเอาขยะ วัสดุ
ท่ีไม่ใช้แล้ว หรือกากของเสียจากอุตสาหกรรมมาเผาทาลายร่วมในเตาเผาปูนซีเมนต์ (Co-processing) โดยเถ้าที่เกิดจากการเผา
กาจดั กากของเสยี อุตสาหกรรมจะถูกนาไปใชเ้ ปน็ วตั ถุดบิ ทดแทนในเนอื้ ปูนเม็ด และการใช้วสั ดุทดแทนปูนเมด็ ในการผลติ ปูนซเี มนต์
โดยการใช้วัสดตุ า่ ง ๆ จากอตุ สาหกรรมหรอื วสั ดุท่ีได้จากธรรมชาติมาเป็นวัตถดุ ิบทดแทนในการผลิตปูนเม็ด เช่น เถ้าลอย กากถลุง
จากเตาถลงุ เหลก็ ปอซโซลาน ก็จะสามารถช่วยลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้เช่นกัน ซ่ึงการทดแทนปูนเม็ดด้วยการลด
อตั ราส่วนปูนเมด็ เปน็ มาตรการทลี่ ดการปลอ่ ย CO2 ไดส้ ูงสุดในประเทศอิหรา่ น โดยลดการปล่อย CO2 ได้มากกว่า 15 ล้านตันของ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 495 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ปริมาณ CO2 ท่ีถูกปล่อยออกมาภายในปี พ.ศ. 2577 และลดต้นทุนการใช้พลังงานลงร้อยละ 11 [7] สาหรับในประเทศไทยมี
การศึกษาประเมินศักยภาพของวัสดุทดแทนปูนเม็ดเพื่อช่วยลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก โดยใช้ เถ้าลอย เถ้าชานอ้อย และ
เถ้าปาล์มน้ามันพบว่าภาพอนาคตกรณีการใช้งานเต็มศักยภาพวัตถุดิบจะทาให้ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงได้มากท่ีสุด
คิดเป็นร้อยละ 10.15 จากกรณีฐาน โดยคิดเป็นปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดลงจากการใช้เถ้าลอย เถ้าชานอ้อยและเถ้า
ปาล์มน้ามนั เทา่ กับ รอ้ ยละ 6.79 2.19 และ 1.17 ตามลาดบั [14] ซึ่งการเพม่ิ สัดส่วนของวัสดุทดแทนปูนเม็ดในประเทศไทยอาจ
ทาได้จากดั เน่อื งจากจะตอ้ งพจิ ารณาถึงความพรอ้ มของวัตถดุ บิ ทดแทนปูนเมด็ แตล่ ะชนดิ โดยตอ้ งคานงึ ถึงคุณสมบตั ขิ องปนู ซเี มนต์
และจะต้องไม่เกินข้อกาหนดตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ซ่ึงในปัจจุบันมีการผลักดันให้มีการใช้ปูนซีเมนต์ชนิด
ใหม่อย่างปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกอย่างแพร่หลายมากข้ึน เน่ืองจากปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก เป็นปูนซีเมนต์ตามมาตรฐาน มอก. 2594-
2556 ประเภท Performance Based ท่ีมีความคล้ายคลึงกับมาตรฐาน ASTM C1157 ของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการ
อนุญาตให้ใช้วัสดุทดแทนปูนเม็ดเข้ามาเป็นส่วนผสม เพื่อช่วยเพิ่มคุณสมบัติและประสิทธิภาพในการทางานของปูนซีเมนต์และ
คอนกรีต จากการรายงานพบว่าปูนซีเมนต์ชนิดน้ีสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกสู่ส่ิงแวดล้อมได้ถึง 450,000 ตัน ซ่ึง
ภาครัฐควรมกี ารสง่ เสริมให้อตุ สาหกรรมกอ่ สรา้ งในประเทศไทยมกี ารใช้ปนู ซเี มนต์ไฮดรอลกิ ใหม้ ากขนึ้ [15]

2.4 การนาเทคโนโลยีการดักจบั และเกบ็ กกั คารบ์ อนมาใช้
สาหรับมาตรการนี้ถูกกล่าวถึงอย่างมากมายในงานวิจัยต่างๆทั่วโลก เน่ืองจากมาตรการ Carbon Capture and

Storage (CCS) เป็นเทคโนโลยีใหม่ท่ียังไม่ได้รับการพิสูจน์ในระดับอุตสาหกรรมในการผลิตปูนซีเมนต์ แต่อาจมีแนวโน้มท่ีก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากอุตสาหกรรมนจ้ี ะถูกจบั เม่อื ถกู ปล่อยออกมา และจะถูกบีบอัดให้เป็นของเหลวแล้วส่งผ่านไปยังท่อ
เพ่อื เกบ็ ไว้ใตด้ นิ อยา่ งถาวร ซึ่งเทคนิคนี้สามารถลดการปลอ่ ย CO2 ไดถ้ ึงร้อยละ 65-70 [16] จึงกล่าวได้ว่า CO2 จากอุตสาหกรรม
ปูนซีเมนต์ จะถูกปล่อยออกมาจากการเผาไหม้เช้ือเพลิงและจากการเผาหินปูนในเตาเผา ดังนั้นเป็นไปได้ว่าแหล่งปล่อย CO2 ทั้ง
สองแหล่งนี้อาจจะต้องใช้เทคนิค CCS ในการจับเฉพาะ ซึ่งเทคโนโลยีการดักจับบางชนิดอาจจะมีความเหมาะสมสาหรับเตาเผา
ปูนซีเมนต์ ซึ่งหากสามารถนาคาร์บอนไดออกไซด์ที่ดักจับได้มาใช้ประโยชน์ก็จะเป็นการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเพิ่ม
มูลค่าจากคาร์บอนไดออกไซด์ได้ จึงต้องสร้างองค์ความรู้เก่ียวกับเทคนิค CCS ให้มากขึ้น เพื่อท่ีเทคนิคดังกล่าวจะได้มีบทบาทใน
การลดการเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศจากการปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซต์ออกจากอตุ สาหกรรมได้ในอนาคต [5]

สรุป

อุตสาหกรรมปนู ซเี มนต์มีแหลง่ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกหลักมาจากปฏิกิริยา Calcination ในกระบวนการเผาปูนเม็ด
และจากการเผาไหมเ้ ชื้อเพลงิ ซึ่งสงู ถงึ รอ้ ยละ 74 ของการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกท้งั หมด ดงั น้ัน มาตรการที่จะสามารถช่วยลดการ
ปลอ่ ย CO2 จากอุตสาหกรรมนี้ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพสูงสุด คือ การใชว้ ัตถุดิบทดแทนปูนเม็ด การใช้เช้ือเพลิงทดแทนแทนการใช้
เชอ้ื เพลิงฟอสซิล และการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต เน่ืองจากมาตรการเหล่านี้เป็นเป็นอีกหนึ่งวิธีในการช่วยลดปัญหา
ในเรือ่ งของกากของเสยี อตุ สาหกรรมของประเทศด้วย โดยถือเป็นการนาพลังงานหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ในกระบวนการผลิตของ
โรงงาน เพ่ือพัฒนาเชื้อเพลิงทดแทนและวัตถุดิบทดแทน (Alternative Fuels and Raw Materials, AFR) ผ่านกระบวนการผลิต
ร่วม (Co-processing) ของอุตสาหกรรมปูนซเี มนต์ โดยมาตรการดังกล่าวสามารถลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกได้อยา่ งยั่งยนื

กิตตกิ รรมประกาศ

ผ้วู ิจยั ขอขอบคุณบรษิ ทั ปนู ซีเมนตน์ ครหลวง จากัด มหาชน และ บรษิ ัทปูนซเิ มนตไ์ ทย จากดั รวมท้ังเจ้าหนา้ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งที่
ได้ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ รวมท้ังข้อมูลจากรายงานการพัฒนาความย่ังยืนของบริษัทเพ่ือนามาใช้ในการศึกษา
วิจัยน้ี

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 496 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

เอกสารอ้างอิง

[1] Riccardo Maddalena, Jennifer J. Roberts and Andrea Hamilton. (2018). Can Portland cement be
replaced by low-carbon alternative materials A study on the thermal properties and carbon emissions
of innovative cements. Journal of Cleaner Production, 186, 933-942.

[2] Chris Hendriks, Ernst Worrell, David Jager, Kornelis Blok and P. Riemer. (2004). Emission Reduction of
Greenhouse Gases from the Cement Industry. Proceedings of the Fourth International Conference on
Greenhouse Gas Control Technologies.

[3] ณัฐนี วรยศ. (2558). คู่มือการจดั ทาคารบ์ อนฟุตพริ้นทข์ ององคก์ รรายสาขาอุตสาหกรรม (องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือน
กระจก (องค์การมหาชน) Ed. Vol. 1).กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท อมรนิ ทร์พรน้ิ ติ้งแอนดพ์ บั ลิชชงิ่ จากัด (มหาชน).

[4] International Energy Agency (IEA). (2009). Cement Technology Roadmap.
[5] ศนู ยข์ อ้ มลู กา๊ ซเรือนกระจก องคก์ ารบริหารจัดการก๊าซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน). (ม.ป.ป.). ศักยภาพการลดก๊าซเรือน

กระจกของอตุ สาหกรรมปนู ซีเมนตใ์ นประเทศไทยขององค์การบริหารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก.
[6] Supino, Stefania & Malandrino, Ornella & Testa, Mario & Sica, Daniela. (2016). Sustainability in the EU

cement industry: The Italian and German experiences. Journal of Cleaner Production, 112.
[7] Jokar, Zahra & Mokhtar, Alireza. (2018). Policy Making in the Cement Industry for CO2 Mitigation on the

Pathway of Sustainable Development-A System Dynamics Approach. Journal of Cleaner Production,
201.
[8] สมาคมอตุ สาหกรรมปูนซเี มนตไ์ ทย (TCMA). (2562). ภาพรวมอตุ สาหกรรมปนู ซีเมนต์ อปุ สงค์ และอุปทาน.
วนั ทีส่ บื คน้ ขอ้ มูล 9 พฤษภาคม 2563. เข้าถงึ ไดจ้ าก http://thaicma.or.th/cms/scale-of-industry/page-19/
[9] อนุรักษ์ ปติ ิรักษ์สกลุ ดวงเพญ็ ศรีบวั งาม. (ม.ป.ป). วัสดอุ โลหะ. กรงุ เทพมหานคร: ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี.
[10] Mikulcic, Hrvoje & Wang, Xuebin & Vujanovic, Milan & Tan, Helen & Duic, Neven. (2015). Mitigation of
climate change by reducing carbon dioxide emissions in cement industry, 45. 649-654.
[11] บริษทั ปูนซเิ มนต์ไทย จากัด (SCG). (2561). การพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืนดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม. วันทีส่ บื คน้ ข้อมลู 6 พฤษภาคม 2563.
เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.scg.com/pdf/th/05sustainability_development/energy-and-climate-change.pdf
[12] บริษทั ปนู ซเี มนต์นครหลวง จากดั (มหาชน). (2562). รายงานการพฒั นายั่งยนื ประจาปี 2562
[13] Parinya Khongprom and Unchalee Suwanmanee. (2017). Environmental Benefits of the Integrated
Alternative Technologies of the Portland Cement Production : A Case Study in Thailand. ENGINEERING
JOURNAL, Volume 21 Issue 7
[14] วิษณุ สายรัตนทองคา. (2558). ศักยภาพการใช้วัสดุทดแทนปูนเม็ดเพ่ือลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จาก
อตุ สาหกรรมปูนซีเมนต์ในประเทศไทย. บณั ฑติ วทิ ยาลัย จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
[15] สมาคมอุตสาหกรรมปนู ซีเมนตไ์ ทย (TCMA). (2562). Go Green with Hydraulic Cement.
[16] M. B. Ali, R. Saidur และ M. S. Hossain. (2011). A review on emission analysis in cement industries.
Renewable and Sustainable Energy Reviews, 15(5), 2252-2261.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 497 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

087

การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบอื้ งตน้ ของระบบการจดั การ
ขยะมลู ฝอยชุมชน: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองสรุ ินทร์

Initial Environmental Review of Municipal Solid Waste
Management System: A Case Study of Surin Municipality

ศภุ เดช นยิ มทอง1 และ จมี า ศรลมั พ2์ *
Supadate Niyomthong1 and Cheema Soralump2*
1นสิ ติ บณั ฑิตศึกษา โครงการปรญิ ญาโท สาขาวชิ าวศิ วกรรมความปลอดภัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900
2*ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ภาควชิ าวศิ วกรรมสิง่ แวดลอ้ ม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพฯ 10900
โทรศพั ท์ : (+66) 99-1491952, E-mail : [email protected]

บทคดั ย่อ

งานวจิ ยั นมี้ ีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในเขตชุมชนเทศบาลเมืองสุรินทร์และประเด็น
ความปลอดภัยท่ีเก่ียวข้อง ศึกษาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ท่ีเกี่ยวข้องเกี่ยวกับกระบวนการจัดการขยะในเขตชุมชน
เทศบาลเมืองสุรินทร์ และเสนอแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนที่เหมาะสมและเพ่ิมประสิทธิภาพให้กับเทศบาลเมืองสุรินทร์
ผลการศึกษาพบวา่ ในเขตเทศบาลเมืองสุรนิ ทร์มีขยะมูลฝอยเกิดข้ึนเฉลี่ย 43 ตันต่อวัน มีอัตราการเกิดขยะมูลฝอยเฉลี่ยเท่ากับ
1.25 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน และมีค่าใช้จ่ายในการกาจัดขยะมูลฝอยประมาณ 18.46 ล้านบาทต่อปี ส่วนประเด็นความปลอดภัย
สาหรับผู้ปฏิบัติงาน พนักงานยังขาดความตระหนักเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ซ่ึงควรกาหนดมาตรการ ระเบียบ
ข้อบงั คบั และจัดฝึกอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงาน โดยความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองสุรินทร์และประชาชนส่วนใหญ่
โดยเฉลีย่ รอ้ ยละ 77.58 และร้อยละ 71.46 ตามลาดบั มีความรคู้ วามเข้าใจและพฤติกรรมเรือ่ งขยะมูลฝอย ในภาพรวมจากความเหน็
ของเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองสุรินทร์และประชาชนเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองสุรินทร์มี
คา่ เฉลี่ยเทา่ กบั ( =3.83, =3.54) ตามลาดับ ซึ่งอยู่ในระดับปานกลางค่อนไปทางถูกต้อง โดยแนวทางและการเพ่ิมประสิทธิภาพใน
การจดั การขยะที่เหมาะสม เสนอให้หน่วยงานรัฐควรมีการลงพ้ืนท่ีประชาสัมพันธ์ถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการ
ขยะมลู ฝอยให้แก่ประชาชน และตดิ ตามผลอยา่ งต่อเนือ่ งเพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพในการลดปริมาณขยะมลู ฝอยทเ่ี กิดข้ึน

คาสาคัญ : ขยะมลู ฝอยชมุ ชน; ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบอ้ื งตน้ ; ระบบการจดั การขยะมลู ฝอย; เทศบาลเมอื งสรุ นิ ทร์

Abstract

Aims of the study are to examine Surin Municipality’s municipal waste management system including safety
aspects relevant to waste management, study comments and suggestions from stakeholders in waste management,
and propose an appropriate and effective municipal waste management for Surin Municipality. Results from the study
showed waste generated in Surin Municipality was 43 tons per day with a per capita waste generation of
1.25 kilograms per person per day. with an expense of 18.46 million baht per year. It was found that most of staffs
were not aware of occupational health and safety of waste management. To improve awareness of staffs, Surin
Municipality should develop enhancing measure including issuing additional orders and regulations and providing more
training to waste management staffs in term of occupational health and safety. From the results of questionnaires, it
was found that 77.58% of Surin Municipality staffs and 71.46% of Surin Municipality residents showed a good
understanding and positive behavior for waste management. As for Surin Municipality waste management comments

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 498 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อม แห่งปร ะเทศไทย

  

from Surin Municipality staffs and residents, the results showed that most of respondents had a medium to good level
of understanding about problems and obstacles for waste management of Surin Municipality (with =3.83, =3.54,
respectively). To improve waste management efficiency, Surin Municipality should increase a frequency of
communication and public relation with residents in the Municipality area about waste management and develop a
monitoring and assessment program to evaluate a waste management efficiency.

Keywords : Municipal Solid Waste; Initial Environmental; Municipal Solid Waste Management System;
Surin Municipality’s

บทนา

ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีสาคัญอย่างย่ิงต่อชุมชนและทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น เน่ืองจากมีปริมาณขยะ
มูลฝอยเพิม่ มากขึ้น โดยขยะมลู ฝอยชุมชนทีเ่ กดิ ข้ึนในประเทศไทยมีประมาณ 27.82 ล้านตัน ซ่ึงมีอัตราการเกิดขยะอยู่ที่ 1.15 กิโลกรัม
ตอ่ คนตอ่ วนั [1] และยังมีการคาดการณ์ว่าปรมิ าณขยะมูลฝอยจะมีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมท้ังความสามารถในการเก็บขน
และการกาจัดขยะของหน่วยงานท่ีรับผิดชอบมีค่อนข้างจากัด จึงทาให้ไม่สามารถดาเนินการได้อย่างทันการณ์ อันเป็นสาเหตุทาให้
เกิดปัญหาขยะตกค้างในพื้นท่ี และเกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของประชาชน ปัจจุบันเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์
มีพื้นท่ี 11.39 ตารางกิโลเมตร มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 34,204 คน โดยมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดข้ึนเฉล่ียวันละ 43 ตัน [2]
และไดม้ ีการรวบรวมและเกบ็ ขนขยะมูลฝอยสง่ ไปกาจดั ยังสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี
นอกจากน้ีในประเด็นความปลอดภัยในการทางานสาหรับพนักงานเก็บขนขยะมูลฝอยซึ่งมีความสาคัญอย่างยิ่ง เน่ืองจากพนักงาน
เก็บขยะมีการสัมผัสกับวัสดุท่ีมีความแหลมคม สารเคมีชนิดต่าง ๆ ที่ปนเปื้อนจากขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึนโดยไม่ได้มีการคัดแยก
จากครัวเรอื นในทกุ ๆ วัน อาจทาใหพ้ นักงานเก็บขยะไดร้ ับความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บและมีสภาพท่ีไมป่ ลอดภัยตอ่ การปฏิบัตงิ าน

ในงานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนของเทศบาลเมืองสุรินทร์ ประโยชน์ในการเพ่ิม
ประสิทธิภาพของระบบการจัดการขยะมูลฝอยโดยภาพรวมและปรับปรุง ประเด็นด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง โดยพิจารณา
ผเู้ ก่ียวข้องกบั ระบบการจัดการขยะมูลฝอยทั้งผใู้ หบ้ ริการ ผ้รู บั บริการและอน่ื ๆ

อุปกรณแ์ ละวธิ ีการ

ข้อมูลปริมาณและองค์ประกอบของขยะมูลฝอยทาการศึกษาองค์ประกอบขยะ โดยการชั่งน้าหนักขยะมูลฝอย
ผ่านเครื่องช่ังน้าหนักขนาด 50 ตัน โดยมีข้ันตอนตามวิธีของ (Ministry of Public Health and Welfare, 2000) [5] ซึ่งมี
ขั้นตอน คือ 1) นาขยะเทกองรวมกันในพื้นที่ที่จัดเตรียมไว้และคลุกเคล้าให้ทั่วกอง เพ่ือให้ลักษณะและองค์ประกอบของขยะ
เหมือนกันทุกส่วน แสดงดังรูปท่ี 1 (ก) 2) แบ่งกองออกเป็น 4 ส่วน (Quartering) แล้วเลือก 2 ส่วนท่ีอยู่ตรงข้ามกันนามากองรวมกัน
คลุกเค้าให้เป็นเน้ือเดียวกันจนมีขยะมูลฝอยปริมาณ 50 หรือ 100 ลิตร แสดงดังรูปที่ 1 (ข) และ 3) แยกประเภทเพื่อหา
องคป์ ระกอบขยะมลู ฝอย แสดงดังรูปที่ 1 (ค)

(ก) ขยะมูลฝอยที่ถูกรวบรวมจากครัวเรือน ของขยะมูลฝอย
(ข) แบ่งกองขยะมูลฝอยออกเปน็ 4 สว่ น (ค) คดั แยกองค์ประกอบขยะทางกายภาพ

นามาเทกองรวมกัน

รูปที่ 1 ขัน้ ตอนวิธีการหาองคป์ ระกอบของขยะมลู ฝอย (Waste Compositions)

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 499 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

อัตราการเกิดขยะมูลฝอย (กิโลกรัม/คน/วัน) สามารถคานวณได้จากปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บขนได้ (กิโลกรัมต่อวัน)
(กองสาธารณสขุ และสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมอื งสรุ ินทร์) [2] หารด้วยจานวนประชากรในเขตพนื้ ที่ (คน) (ฝุายทะเบียนราษฎรและ
บตั รประชาชนเทศบาลเมืองสุรินทร์) [4]

ท้ังน้ี การหาขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากรตามวิธีการของ (Yamane, 1973) [6] ที่ระดับความเชื่อม่ัน 95% โดยมี
สมการ n = N/(1+Ne2) ซ่ึงกาหนดให้ n คือ ขนาดของตัวอย่าง, N คือ ขนาดของประชากรทั้งหมด และ e คือ ความคาดเคล่ือนที่
ยอมรบั ได้ทรี่ อ้ ยละ 5

เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา
เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) ประกอบด้วย 3 ตอน โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูล

ทางสถติ ิ (SPSS) กาหนดระดับนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ 0.05 ไดแ้ ก่ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม, ตอนท่ี 2 ข้อมูล
เกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจ และพฤติกรรม เร่ืองขยะมูลฝอยของประชาชนและเจ้าหน้าท่ีเทศบาลเมืองสุรินทร์ โดยมีคาถาม
ทัง้ หมด 11 ขอ้ และตอนที่ 3 ขอ้ มูลเกี่ยวกับปญั หาและอุปสรรคในการจัดการขยะมูลฝอย โดยมีคาถามท้ังหมด 15 ข้อ โดยคาถามจะ
แบ่งระดับแบบ Likert scale โดยแบง่ การวดั ระดบั ออกเปน็ 5 ระดบั ตามวิธขี อง (บุญชุม ศรสี ะอาด, 2546) [3]

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

1.องคป์ ระกอบและลกั ษณะขยะมูลฝอย
ข้อมูลองค์ประกอบและลักษณะของขยะมูลฝอย แสดงดังรปู ท่ี 2 โดยขยะมลู ฝอยท่ีเกิดข้นึ ในเขตชมุ ชนเทศบาลเมืองสุรินทร์มี

ปรมิ าณเฉล่ยี 43 ตนั ตอ่ วนั [2] จากน้าหนักขยะมลู ฝอยปรมิ าณเฉลี่ย 100 กโิ ลกรมั สามารถแยกได้ 13 ประเภท พบวา่ มีขยะเศษอาหาร
เกิดขึ้นมากที่สุดร้อยละ 39 รองลงมาเป็นขยะพลาสติกร้อยละ 21 ขยะอื่น ๆ ร้อยละ 14 แก้วพลาสติกร้อยละ 7 กระดาษร้อยละ 6
ขวดแกว้ รอ้ ยละ 3 โดยขยะมลู ฝอยส่วนน้อยท่พี บในสดั ส่วนร้อยละ 2 และร้อยละ 1 ได้แก่ ไม้ ผ้า โลหะ ยาง หนัง หิน และขยะอันตราย
ตามลาดบั

รปู ท่ี 2 องคป์ ระกอบของขยะมลู ฝอยท่เี กดิ ข้นึ ในเขตชมุ ชนเทศบาลเมอื งสรุ ินทร์
อตั ราการเกดิ ขยะมูลฝอย

ข้อมูลอัตราการเกิดขยะมูลฝอยคานวณจากสมการท่ี (2) โดยเปรียบเทียบจากสถิติจานวนประชากรในเขตเทศบาล
เมืองสุรินทร์ [2] แสดงดังรูปที่ 3 และปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ระหว่างปี พ.ศ. 2558 – 2562 [2]
แสดงดังรปู ท่ี 4 พบว่า อัตราการเกิดขยะมูลฝอยมีมากท่ีสุดในปี พ.ศ. 2559 เท่ากับ 1.57 กิโลกรัม/คน/วัน รองลงมาคือปี พ.ศ. 2558
เท่ากบั 1.53 กิโลกรมั /คน/วัน และในปี พ.ศ. 2560 - 2562 เท่ากับ 1.19, 1.17 และ 1.25 กิโลกรัม/คน/วัน ตามลาดับ แสดงดังรูปท่ี 5
และเม่ือเปรียบเทียบข้อมูลอัตราการเกิดขยะมูลฝอย พบว่า อัตราการเกิดขยะมูลฝอยมีแนวโน้มลดลงซ่ึงอาจเกิดจากจานวน

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 500 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อม แห่งปร ะเทศไทย

  

ประชากรที่ลดลงและปัจจัยอ่ืน เช่น กิจกรรมรณรงค์คัดแยกขยะจากครัวเรือน ซึ่งทาให้ประชาชนเกิดความตระหนักต่อการจัดการ
ขยะมลู ฝอย และอาจเป็นสาเหตุทท่ี าให้ปรมิ าณขยะลดลงอยา่ งเห็นไดช้ ดั อยา่ งไรก็ตามการเพ่ิมข้ึนของอัตราการเกิดขยะต่อคน
ที่ปริมาณเฉล่ีย 1.17 กิโลกรัม/คน/วัน เป็น 1.25 กิโลกรัม/ต่อ/วัน เป็นประเด็นที่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดเพ่ือนามาพิจารณา
และหาโอกาสในการปรับปรงุ ต่อไป

0 0

รูปที่ 3 จานวนประชากรในเขตเทศบาลเมอื งสุรินทร์ รูปที่ 4 ปริมาณขยะมลู ฝอยที่เกิดขึน้ ในเขตเทศบาลเมืองสรุ ินทร์
ในปี พ.ศ. 2558 – 2562 ในปี พ.ศ. 2558 - 2562

0

รูปที่ 5 อตั ราการเกดิ ขยะมลู ฝอยทีเ่ กดิ ข้นึ ในเขตเทศบาลเมืองสรุ นิ ทร์ในปี พ.ศ. 2558 – 2562
2.
3. การบรหิ ารงานการจัดการขยะมลู ฝอยและประเดน็ ความปลอดภยั

ข้อมูลร้อยละของงบประมาณที่ใช้สาหรับดาเนินการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองสุรินทร์ในปี พ.ศ. 2562
แสดงดังรูปที่ 6 ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสาหรับการกาจัดขยะมูลฝอยมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 45.57 รองลงมาคือ เงินเดือนพนักงาน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 43.75 ซงึ่ เปน็ เงนิ เดือนของพนักงานเทศบาลเมืองสุรินทร์ที่จะต้องเบิกจ่ายสาหรับปีงบประมาณ 2562 ส่วนค่าเชื้อเพลิง
รถบรรทกุ ขยะมลู ฝอย คา่ ซอ่ มบารงุ รถบรรทกุ คา่ อุปกรณป์ อู งกันความปลอดภัยสาหรับพนักงานที่ใช้สาหรับการดาเนินงานจัดการขยะ
มูลฝอยมรี ้อยละ 8.89, 1.18, 0.25 และ 0.25 และน้อยท่ีสดุ เป็นค่าปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ (OT) คิดเปน็ ร้อยละ 0.12 ตามลาดับ

รปู ท่ี 6 เปอรเ์ ซน็ ต์ของงบประมาณในการดาเนนิ การจดั การขยะมลู ฝอยของเทศบาลเมืองสุรินทร์ปีงบประมาณ 2562

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 501 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ประเด็นความปลอดภัยจากการปฏิบตั งิ านเก็บขนขยะมูลฝอย
จากตารางท่ี 1 ข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ านของพนักงานเก็บขนขยะมลู ฝอยของเทศบาลเมอื งสุรินทร์ และประเดน็ ความปลอดภัยท่ี

เกีย่ วขอ้ ง พบวา่ ผู้ปฏิบัตงิ านยงั ขาดความตระหนักในดา้ นความปลอดภยั ในการทางาน ซึง่ ควรอบรมใหค้ วามรู้ ความเข้าใจทเ่ี กยี่ วข้องกับ
ความปลอดภัยให้แก่พนักงาน และควรกาหนดมาตรการปูองกันความปลอดภัยเพ่ือเสริมสร้างความตระหนัก รวมท้ังติดตามผลการ
ดาเนนิ งานอย่างตอ่ เนอื่ ง

ตารางที่ 1 ขน้ั ตอนและประเด็นความปลอดภยั การปฏบิ ัติงานของพนักงานเกบ็ ขนขยะมูลฝอยของเทศบาลเมอื งสุรนิ ทร์

ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน ประเด็นความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน

การเตรยี มความพรอ้ ม กองสาธารณสุขและส่ิงแวดล้อมมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ปูองกันส่วนบุคคล ซึ่งพนักงานบางราย
ก่อนการปฏิบัตงิ าน ไม่ได้สวมถงุ มือยาง ไมส่ วมแว่นตา ไม่สวมรองเทา้ บูธ ไมใ่ ส่ผา้ ปดิ จมูก และไม่ใส่เส้ือสะท้อนแสง
กอ่ นการปฏบิ ตั ิงาน ซึ่งพนักงานอาจได้รับความเสย่ี งตอ่ การบาดเจ็บและไมป่ ลอดภยั ต่อการปฏิบัติงาน

กองสาธารณสขุ และสิ่งแวดลอ้ มได้กาหนดการปฏิบัติงานรวบรวมและเก็บขนขยะมูลฝอยในช่วงเวลา

ขณะปฏิบตั งิ านรวบรวม 01.00 – 06.00 น. ซึ่งพนักงานจาเป็นต้องสวมใส่เสื้อสะท้อนแสง แต่ไม่มีการสวมใส่เพื่อปูองกัน
และเก็บขนขยะมลู ฝอย อันตรายจากการสัญจรของยานพาหนะจากท้องถนนในช่วงเวลาดังกล่าว และพนักงานส่วนใหญ่
มีพฤติกรรมหอ้ ยโหนบริเวณท้ายรถและกระโดดข้นึ ลงรถขณะวิ่งไปยังจุดเก็บขยะต่าง ๆ ซึ่งอาจ

เป็นสาเหตสุ าคัญทที่ าใหพ้ นักงานพลัดตกจากรถบรรทุกทาใหเ้ กิดการบาดเจ็บหรือเสยี ชวี ิตได้

ภายหลงั ทรี่ ถบรรทุกเกบ็ ขนขยะทป่ี ฏิบตั ิงานเสรจ็ แลว้ รถบรรทุกเกบ็ ขนขยะบางคนั ไมไ่ ด้ทาการฉดี ลา้ ง

หลงั จากปฏิบตั งิ าน เพื่อทาความสะอาด ซึ่งอาจทาให้เกิดความสกปรก ก่อให้เกิดกลิ่นเหม็น ส่งผลให้มีแมลงวัน หนู
แลว้ เสรจ็ ที่เป็นพาหะของโรคต่าง ๆ นอกจากน้ี พนักงานที่ไม่ได้มีการสวนอุปกรณ์ปูองกัน เพื่อปูองกันขยะ
มูลฝอยสัมผัสกับร่างกาย และไม่ได้ชาระล้างร่างกายหลังจากปฏิบัติงานแล้วเสร็จ ซึ่งอาจทาให้

เกดิ อาการผ่ืน คัน ในบริเวณทม่ี ีการสมั ผสั กบั ขยะมลู ฝอยได้

3.ขอ้ คดิ เห็นด้านการจดั การขยะจากผู้ทิง้ และเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองสุรินทร์
จากตารางที่ 2 แสดงผลการสอบถามความเห็นผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ประชาชนผู้ทิ้งขยะและเจ้าหน้าท่ีเทศบาลเมืองสุรินทร์

(ตอบ “ใช่” และ “ไม่ใช่”) จากผลสามารถวิเคราะห์ได้ดังน้ี
พฤติกรรมของผู้ตอบทั้ง 2 กลุ่มตัวอย่าง ระบุว่า พฤติกรรมลาดับต้นด้านการลดขยะและการจัดการขยะท่ีเก่ียวข้อง

และท้ังสองกลุม่ ไม่มคี วามแตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ที่ 0.05 ได้แก่ ได้ดาเนินการลดขยะในครวั เรอื น, การเลือกสินค้าที่สามารถ
ใชป้ ระโยชน์และนามารีไซเคลิ ได้, การเลือกใชผ้ ลิตภัณฑช์ นิดทเ่ี ติมซา้ ได,้ การลดปรมิ าณขยะโดยใช้ถุงผ้าเพื่อลดการใช้ถงุ พลาสตกิ
ครัง้ เดียวแลว้ ทงิ้ และการนาขยะทขี่ ายได้ไปขายท่ีร้านรับซื้อของเก่า จากผลการวิเคราะห์ พบว่า พฤติกรรมท่ีทาได้น้อย ได้แก่ การนา
ขยะท่ยี ่อยสลายได้มาทาประโยชน์อืน่ ๆ ในครวั เรอื น, ภาชนะรองรับขยะทแี่ ยกประเภทขยะในครัวเรอื น และแยกประเภทขยะแลว้ ทา่ น
นาขยะไปท้ิงในถังขยะที่เทศบาลเมืองสุรินทร์จัดเตรียมไว้ โดยพบว่า เทศบาลเมืองสุรินทร์ยังไม่ได้จัดให้มีการคัดแยกขยะอย่าง
จริงจัง จึงส่งผลให้ประชาชนไม่ได้มีการแยกขยะจากครัวเรือนหรือใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์ และไม่ได้ทิ้งในถังแยกของ
เทศบาล จากตารางท่ี 2 ยังพบว่า เจ้าหน้าท่ีเทศบาลเมืองสุรินทร์ มีความรู้ความเข้าใจที่ส่งเสริมการลดปริมาณขยะมากกว่า
ประชาชนทั่วไป ส่วนประเด็นทม่ี ีการตอบรับต่าควรได้รบั การสง่ เสริมและประสัมพนั ธ์ให้มากขน้ึ โดยหน่วยงานภาครัฐ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 502 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ตารางที่ 2 ความรู้ ความเขา้ ใจ และพฤตกิ รรม เรอ่ื งขยะมูลฝอยจากกลุ่มตวั อยา่ งเจ้าหน้าทีแ่ ละประชาชนในเขตเทศบาลเมืองสุรนิ ทร์

ประเด็นคาถาม เจา้ หน้าท่ี ประชาชน P-value
ร้อยละ S.D. รอ้ ยละ S.D.

1. ครวั เรือนของท่านได้ดาเนนิ การลดปรมิ าณขยะ ใช่หรอื ไม่ 100.00 0.00 88.10 32.42 0.03

2. ทา่ นไดล้ ดปริมาณขยะโดยใชถ้ งุ ผ้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติกคร้ังเดียวแล้วทิ้ง 80.00 40.68 82.78 37.80 0.35
ใช่หรอื ไม่

3. ทา่ นเลอื กสินค้าทีส่ ามารถใช้ประโยชน์และนามารไี ซเคลิ ได้ 86.67 34.57 87.85 32.71 0.43

4. ทา่ นหลกี เลี่ยงการซอื้ สินคา้ ที่มอี ายุการใชง้ านตา่ ใชห่ รอื ไม่ 53.33 50.74 75.19 43.25 0.01

5. ท่านเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดท่ีเติมซ้าได้ เช่น ขวดน้ายาล้างจาน, 86.67 34.57 97.47 15.73 0.00
ขวดนา้ ยาซักผา้ ใชห่ รอื ไม่

6. ท่านนาขยะที่ย่อยสลายได้มาทาประโยชน์อื่น ๆ ในครัวเรือนของท่าน 60.00 49.83 58.99 49.25 0.46
ใช่หรอื ไม่

7. ทา่ นนาขยะท่ีขายได้ไปขายท่รี ้านรับซอื้ ของเก่า ใชห่ รือไม่ 80.00 40.68 80.51 39.67 0.43

8. ครวั เรือนของท่านมีภาชนะรองรับขยะทแี่ ยกประเภทขยะ ใช่หรือไม่ 66.67 47.95 41.77 49.38 0.01

9. ภายหลังจากท่ีท่านได้คัดแยกประเภทขยะแล้วท่านนาขยะไปทิ้งใน 73.33 44.98 58.73 49.29 0.06
ถงั ขยะท่ีเทศบาลเมอื งสรุ นิ ทรจ์ ัดเตรียมไว้ ใช่หรือไม่

10. หากขยะอย่ไู กลชุมชน กล่ินเหม็นจะไม่ส่งผลกระทบต่อท่าน 80.00 40.68 90.13 29.87 0.04

11. ท่านทราบวธิ ีการกาจดั ขยะของเทศบาลเมอื งสุรนิ ทร์ ใช่หรอื ไม่ 86.67 34.57 24.56 43.10 0.00

เฉลี่ย ( ) 77.58 38.12 71.46 38.41 0.17

หมายเหตุ P-value < 0.05 มคี วามเหน็ แตกต่างทรี่ ะดบั นยั สาคญั และ P-value > 0.05 มคี วามเหน็ ไม่แตกต่างท่ีระดบั นยั สาคญั

การประเมินความคิดเห็นเก่ียวกับปัญหาและอุปสรรคในการจัดการขยะมูลฝอย โดยกาหนดให้ 5 คะแนน เท่ากับ
“ถกู ตอ้ งมากท่สี ดุ ”, 4 คะแนน เทา่ กับ “ถูกตอ้ ง”, 3 คะแนน เท่ากบั “ปานกลาง”, 2 คะแนน เทา่ กับ “มสี ว่ นไม่ถกู ตอ้ ง” และ 1 คะแนน
เท่ากับ “ไม่ถูกต้อง” จากกลุ่มตัวอย่างเจ้าหน้าท่ีเทศบาลเมืองสุรินทร์จานวน 30 คน และประชาชนในเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์
จานวน 395 คน ซงึ่ วเิ คราะหผ์ ลด้วยโปรแกรมวเิ คราะหข์ อ้ มูลทางสถิติ (SPSS) สรุปไดด้ งั ตารางที่ 3

ตารางที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการจัดการขยะมูลฝอยของเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองสุรินทร์และ

ประชาชนในเขตเทศบาลเมอื งสรุ ินทร์

ประเด็นคาถาม S.D. ระดบั S.D. ระดบั P-value
ความคดิ เห็น ความคดิ เหน็

1. ประเด็นการดาเนนิ งานของเทศบาลเมือง

สุรนิ ทร์

1.1 ผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ีถ่ายทอดความรู้ 4.00 1.17 มาก 3.44 0.90 ปานกลาง 0.00

ความเขา้ ใจในการจัดการขยะอยา่ งถกู ตอ้ ง

1.2 จานวนรถเก็บขนขยะมีเพียงพอต่อการ 3.73 0.87 ปานกลาง 3.30 0.97 ปานกลาง 0.01

ปฏิบัติงาน

1.3 ความถ่ใี นการเกบ็ ขนขยะมีความเหมาะสม 3.87 0.90 มาก 3.58 1.01 ปานกลาง 0.06

1.4 มขี ยะตกค้างในชุมชน 2.53 1.28 น้อย 3.03 1.00 ปานกลาง 0.01

1.5 การดาเนนิ การกาจัดขยะมูลฝอยถูกต้องตาม 4.20 0.66 มาก 3.52 0.98 ปานกลาง 0.00

หลกั สขุ าภบิ าล

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 503 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ตารางท่ี 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการจัดการขยะมูลฝอยของเจ้าหน้าท่ีเทศบาลเมืองสุรินทร์และ

ประชาชนในเขตเทศบาลเมอื งสุรนิ ทร์ (ต่อ)

ประเดน็ คาถาม S.D. ระดบั S.D. ระดับ P-value
ความคิดเห็น ความคดิ เหน็

2.ประเดน็ กบั ตวั ท่านและการจัดการขยะใน

เขตเทศบาลเมอื งสรุ ินทร์

2.1 ทา่ นมคี วามรคู้ วามเข้าใจในการจัดการขยะ 4.07 0.78 มาก 3.57 0.83 ปานกลาง 0.00

2.2 ท่านได้รับข่าวประชาสัมพันธ์เก่ียวกับ 4.20 0.76 มาก 3.32 0.99 ปานกลาง 0.00

การจดั การขยะ

2.3 ท่านมีสว่ นร่วมในการจดั การขยะ 4.47 0.63 มากท่สี ุด 3.34 0.95 ปานกลาง 0.00

2.4 ท่านท้ิงขยะลงถังรองรับที่เทศบาลเมือง 4.27 0.78 มากทส่ี ุด 4.15 1.00 มาก 0.27

สุรินทรว์ างไวใ้ ห้

2.5 ท่านมีการคัดแยกประเภทขยะเพ่ือลด 4.40 0.62 มากทสี่ ุด 3.55 1.13 ปานกลาง 0.00

ปรมิ าณขยะ

4. ประเด็นเก่ียวกับชมุ ชนในเขตเทศบาล

เมืองสุรนิ ทร์

3.1 ผู้นาชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา 3.50 0.97 ปานกลาง 3.61 0.89 ปานกลาง 0.33

ขยะของชุมชน

3.2 ชุมชนไดร้ ับขา่ วประชาสัมพันธเ์ กย่ี วกับการ 3.33 1.21 ปานกลาง 3.50 0.91 ปานกลาง 0.18

จดั การขยะ

3.3 ชมุ ชนมีความพรอ้ มในการแกไ้ ขปัญหาขยะ 3.73 0.87 ปานกลาง 3.51 0.78 ปานกลาง 0.07

3.4 ชุมชนมีการรวมกลุ่มกันเพ่อื รว่ มแก้ไข 3.40 1.04 ปานกลาง 3.64 0.91 ปานกลาง 0.09

3.5 ชุมชนมกี ารกาหนดจุดวางถงั ขยะในพน้ื ท่ี 3.80 0.92 ปานกลาง 4.01 0.94 มาก 0.13

เฉลย่ี ( ) 3.83 0.90 ปานกลาง 3.54 0.95 ปานกลาง 0.08

หมายเหตุ P-value < 0.05 มีความเหน็ แตกตา่ งทร่ี ะดบั นยั สาคัญ และ P-value > 0.05 มคี วามเหน็ ไม่แตกต่างทีร่ ะดบั นยั สาคญั

จากตารางที่ 3 ซึ่งได้สอบถามความเห็นจากประชาชนท่ัวไปและเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองสุรินทร์ พบว่า ในเกือบ
ทุกประเด็นท้ังสองกลุ่มมีความเห็นท่ีแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ 0.05 โดยภาพรวมประเด็นการดาเนินงานในข้อ 1.1 - 1.5
ประชาชนให้ความเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ในขณะท่ีเจ้าหน้าท่ีให้ความเห็นว่าอยู่ในระดับดี ส่วนประเด็นของผู้ตอบแบบสอบถาม
ประชาชนทั่วไปมีความเห็นระดับปานกลาง ในด้านความเข้าใจ การรับข่าวประชาสัมพันธ์ การมีส่วนร่วม และการคัดแยกขยะ
ในประเด็นดังกล่าวซ่ึงควรได้รับการพัฒนาจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนต่อความเห็นเก่ียวกับชุมชน
ซึง่ ส่วนใหญ่มคี วามเหน็ ในระดบั ปานกลางและจะสามารถพัฒนาศกั ยภาพของชุมชนใหม้ ากย่ิงขนึ้

สรปุ

การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นของระบบการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน กรณีเทศบาลเมืองสุรินทร์ พบว่า
ในเขตชุมชนเทศบาลเมืองสุรินทร์มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดข้ึนเฉล่ีย 43 ตันต่อวัน โดยมีอัตราการเกิดขยะมูลฝอยเฉล่ียเท่ากับ
1.25 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ซ่ึงมีขยะเศษอาหารเกิดขึ้นมากท่ีสุดร้อยละ 39 และค่าใช้จ่ายสาหรับการดาเนินงานจัดการขยะ
มูลฝอยมีค่ากาจัดขยะท่ีให้เทศบาลเมืองวารินชาราบมากท่ีสุดคิดเป็นร้อยละ 45.57 ส่วนประเด็นความปลอดภัยสาหรับ
ผู้ปฏิบตั ิงาน พนักงานยงั ขาดความตระหนักเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ซึ่งหัวหน้างานควรกาชับให้พนักงานมีการ
สวมใสอ่ ุปกรณป์ ูองกันส่วนบคุ คลทุกคร้ังกอ่ นเรม่ิ ปฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื ปอู งกนั ขยะมลู ฝอยทอ่ี าจตดิ เช้อื จาก Covid-19 และควรกาหนด
มาตรการ ระเบียบ ข้อบังคับ และการจัดฝึกอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ส่วนประเด็นความรู้ความเข้าใจของ
เจ้าหนา้ ที่เทศบาลเมืองสรุ นิ ทร์และประชาชนสว่ นใหญ่โดยเฉล่ียรอ้ ยละ 77 และร้อยละ 72 ตามลาดับ มีความรู้ความเข้าใจและ
พฤติกรรมเร่ืองขยะมูลฝอย และโดยภาพรวมจากความเห็นเจ้าหน้าท่ีเทศบาลเมืองสุรินทร์และประชาชนเก่ียวกับปัญหาและ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 504 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

อุปสรรคในการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองสุรินทร์อยู่ในระดับปานกลางค่อนไปทางถูกต้อง ( =3.83, =3.54)
ซ่ึงแนวทางและการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการขยะที่เหมาะสมเสนอให้หน่วยงานภาครัฐควรมีการลงพื้นท่ีประชาสัมพันธ์
ถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะให้แก่ประชาชนได้รับทราบอย่างทั่วถึง และติดตามผลอย่างต่อเน่ืองเพื่อให้เกิด
ประสิทธภิ าพในการลดปริมาณขยะมลู ฝอยทีเ่ กิดขน้ึ

กติ ติกรรมประกาศ

ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณผู้บริหาร เจ้าหน้าท่ีเทศบาลเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ และเทศบาลเมืองวารินชาราบ
จงั หวัดอบุ ลราชธานี ทอ่ี นเุ คราะหข์ ้อมลู ในการทาวจิ ัยตลอดมา

เอกสารอา้ งองิ

[1] กรมควบคมุ มลพิษ. 2561. รายงานสถานการณม์ ลพษิ ของประเทศไทย
[2] กองสาธารณสุขและสิง่ แวดลอ้ มเทศบาลเมอื งสุรินทร์. 2562.
[3] บุญชมุ ศรสี ะอาด. 2546. วิธีการทางสถิติสาหรับการวิจยั . สุวีรยิ าสาส์น. กรุงเทพมหานคร.
[4] ฝาุ ยทะเบยี นราษฎรและบัตรประชาชนเทศบาลเมอื งสรุ นิ ทร์. 2562 ขอ้ มลู ประชากรในเขตเทศบาลเมอื งสุรินทร์.
[5] Ministry of Public Health and Welfare. 2000. Garbage Composition Test Methods.
[6] Yamane. 1973. Statistics an introduction analysis. 2nd. Harper & Row.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 505 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

088

การเพม่ิ มลู ค่าเปลอื กหอยนางรมจากอตุ สาหกรรม
การประมงเพื่อเปน็ วัสดุปรบั ปรุงคณุ ภาพนา้

Upcycling Oyster Shells Waste from Fishery
Industry as Material for Improving Water Quality

มนสั นันท์ พิบาลวงค์1* สรุ ชัย วงชาร2ี ภารดี อาษา3 รจฤดี โชติกาวนิ ทร์4 และ โกวิท สวุ รรณหงษ์5*
Manutsanan Pibanwong1* Surachai Wongcharee 2 Paradee Asa3
Rotruedee Chotigawin4 and Kowit Suwannahong5*

1*นักวทิ ยาศาสตร์ ภาควิชาอนามัยส่ิงแวดลอ้ ม คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา ชลบุรี 20131
2อาจารย์ สาขาวศิ วกรรมส่งิ แวดลอ้ ม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม 44150

3-5อาจารย์ อาจารย์ภาควิชาอนามัยสง่ิ แวดลอ้ ม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา ชลบรุ ี 20131
*โทรศพั ท์ : 038-102747, โทรสาร 038-102765:, E-mail : [email protected]

บทคัดยอ่

การปรบั ปรงุ คุณภาพน้าดบิ จากแหล่งน้าธรรมชาติ โดยทา้ การศกึ ษาลักษณะคณุ ภาพดิบหลกั ได้แก่ความขุ่น (Turbidity)
ซีโอดี (COD) และสีเขียวที่เกิดการเจริญเติบโตของสาหร่าย ท้ังนี้วัตถุประสงค์ของงานวิจัยน้ีเพื่อศึกษาปัจจัยปริมาณ แคลเซียม
ออกไซด์ จากการสังเคราะห์จากเปลือกหอยต่อประสทิ ธภิ าพการปรบั ปรงุ น้าดบิ ในการศกึ ษาได้สังเคราะห์เปลือกหอยนางรมเหลือ
ท้ิงโดยผ่านกระบวนการเผาที่ 900 องศาเซลเซียส เพื่อเป็น แคลเซียมออกไซด์ (CaO) จากนั้นท้าการทดสอบประสิทธิภาพการ
ปรับปรุงน้าดิบที่ความเข้มข้นแตกต่างกันและดัดแปลง แคลเซียมออกไซด์ (CaO) ด้วยโพลิเมอร์เพ่ืออัดเม็ด จากการศึกษาพบว่า
ปริมาณ แคลเซียมออกไซด์ (CaO) ท่ีเหมาะสมส้าหรับการปรับปรุงคุณภาพน้าดิบมีค่าเท่ากับ 4 กรัมต่อลิตร ประสิทธิภาพการ
ก้าจัด อยู่ท่ีซีโอดี 42% ความขุ่น (Turbidity) 8.3 % ตามล้าดับ จากน้ันท้าการศึกประสิทธิภาพการปรับปรุงคุณภาพน้าโดยผสม
แคลเซียมออกไซด์(CaO) ด้วยโพลิเมอรอ์ ดั เม็ด ทอี่ ัตราส่วน 1ถึง6:1 ผลการทดลองพบว่าประสิทธิภาพการปรับปรุงคุณภาพน้าโดย
ใช้ซีโอดี เป็นตัวอ้างอิงพบว่ามีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึนถึง 85% อีกทั้งยังส่งผลต่อ ความเป็นกรดด่าง (pH) มีค่าช่วงความเป็นกลาง
และยังส่งผลปริมาณ ที่แคลเซียมออกไซด์ ใช้ลดลงคือ 3 กรัมต่อลิตร มากไปกว่าน้ันจะเห็นได้ว่าความขุ่น (Turbidity) เมื่อมีการ
เพม่ิ โพลิเมอร์ในการปรบั ปรงุ คณุ ภาพน้าท้าให้ประสิทธิภาพการกา้ จัดความขุ่น (Turbidity) มากสูงถึง 79% จะเห็นได้ว่าแคลเซียม
ออกไซด์ทส่ี ังเคราะห์ข้นึ รว่ มกับโพลิเมอร์สามารถน้าไปประยุกตใ์ ชใ้ นการปรบั ปรุงคุณภาพนา้ เบื้องต้นกอ่ นเขาสู่ระบบประปาได้เป็น
อยา่ งดี

คา้ สา้ คัญ : เปลอื กหอยนางรม; ซีโอด;ี แคลเซยี มออกไซด;์ การปรับปรงุ คณุ ภาพน้าดิบ; โพลีเมอร์

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 506 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

Abstract

The improvement of raw water quality from reservoir sources for water treatment system by studying
the main raw quality characteristics, including turbidity, pH, COD and green color of algae growth. This
research aimed to study the treatment efficiency with varying suitable calcium oxide, which calcium oxide
prepared from oyster shell waste with heating in the furnace at 900 C. Moreover, CaO was mixed with a
polymer to form CaO pellet. It was found that 4 g/L CaO was suitable in the improvement of raw water
quality as for 42% and 8.3% removal efficiency of COD and turbidity, respectively. However, mixed CaO with
polymer at the ratio of 1 to 6: 1 was tested to compare with CaO alone using COD as a surround gate
parameter. That the treatment efficiency of water quality has an efficiency of up to 85%, also affecting The
pH (pH) has a neutral range along with the CaO dosages used is reduced to 3 g/L. In addition, it can be seen
that turbidity when had added a polymer to improve water quality, the turbidity removal efficiency was as
high as 79%. It be concluded that prepared CaO with maxing polymer could be applied to improve water
quality very well before into the water supply systems.

Keywords: Oyster shells; COD; CaO; Improving Raw Water Quality; Polymer

บทน้า

ปัญหามลู ฝอยท่ีเกดิ ขึน้ มีแนวโน้มเพิ่มขน้ึ แมว้ า่ หน่วยงานต่าง ๆ จะมีการเฝ้าระวัง บริหารจัดการและมีการก้าหนดนโยบาย
เกีย่ วกบั การจดั การมลู ฝอยชุมชน แตป่ ัญหาดงั กลา่ วยงั คงอยู่ ซึ่งวธิ ีการหนง่ึ ที่สามารถจะท้าใหป้ ัญหาดงั กล่าวลดลงได้ คือ การแปร
รูปหรอื เปลีย่ นมูลฝอยท่ไี ม่มคี ่าเป็นวตั ถุดิบใหม่หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ (Upcycling waste) และเพ่ิมมูลค่า ปริมาณมูลฝอยที่เกิดข้ึนก็
จะลดนอ้ ยลง และสามารถนา้ กลบั มาใชใ้ หมเ่ รื่อย ๆ (Circular economy) การบริหารจัดการในลักษณะดังกล่าวน้ีจะน้าไปสู่ขยะ
เหลอื ศูนย์ (Zero waste) และเปน็ การสร้างการเติบโตคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มไดอ้ กี ดว้ ย และเป็นการพ่ึงพาอาศัยกัน
ในการใชท้ รพั ยากรร่วมกันระหวา่ งชุมชนและอุตสาหกรรม (Symbiosis)เกิดอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ (ECO industrial Town)

จังหวัดชลบุรีเป็นจังหวัดหน่ึงท่ีมีเป็นเมืองท่องเท่ียวทางทะเลอีกท้ังกิจกรรมประมงจ้านวนมากและมีความหลายหลากทาง
สงั คมทัง้ สงั คมเกษตรกรรม สังคมเมืองและสังคมอตุ สาหกรรมเนอื่ งจากเปน็ จงั หวัดทีม่ ีอุตสาหกรรมสงู สงู ในประเทศไทย นอกจากนี้
ยงั เปน็ จังหวัดในโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออกEEC(Eastern Economic Corridor) จึงท้าให้มีปัญหาด้าน
สงิ่ แวดลอ้ มโดยหน่งึ ในปญั หามลพษิ ไดแ้ ก่ปญั หาขยะอตุ สาหกรรมและมูลฝอยโดยปริมาณมูลฝอยจากกิจกรรมประมงที่ไม่ใช้แล้วมี
อยูจ่ ้านวนมาก เกดิ การจัดการไมเ่ ตม็ ประสิทธิภาพ สง่ ผลกระทบต่อคุณภาพชีวติ ของประชาชนท่ีอยูบ่ รเิ วณใกล้เคยี งและสงิ่ แวดลอ้ ม
และยังเป็นแหล่งสะสมของเชื้อก่อโรค และพาหนะน้าโรคได้อีกด้วย มูลฝอยจากกิจกรรมประมงบางชนิดสามารถน้ามาสร้างเป็น
ผลติ ภัณฑ์ใหม่และนา้ มาใช้ในการลดปัญหาส่ิงแวดล้อมได้อีกด้วย ได้แก่ เปลือกหอยนางรมที่ถูกแกะหรือวางกองไว้เพื่อเตรียมท้ิง
หรือก้าจัด สามารถน้ามาท้าให้เกิดประโยชน์และเพ่ิมมูลค่าได้ โดยมีการศึกษาคุณสมบัติพบว่า เปลือกหอยนางรมประกอบ
องค์ประกอบทีส่ า้ คัญ[1] คือ แคลเซยี มคารบ์ อเนต (CaCO3) องค์ประกอบหลักมากกว่า 97% โดยน้าหนักเปลือกหอยนางรม จึง
ท้าให้เปลือกหอยนางรมสามารถน้ามาใช้ประโยชน์ได้หลายรูปแบบ เช่น ในอุตสาหกรรมเครื่องส้าอาง อุตสาหกรรมยา เป็น
ส่วนผสมอาหารสตั ว์ในอุตสาหกรรมปศุสัตว์ เปน็ ตน้ หากน้าเปลือกหอยนางรมไปเผาที่ความรอ้ นภายใต้สภาวะทเ่ี หมาะสมมากกว่า
700 องศาเซลเซยี ส จะไดแ้ คลเซยี มออกไซด์ (CaO)หรือทเ่ี รียกวา่ ปนู ขาวกบั คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) เป็นผลผลิต อีกทั้งยังพบว่า
การเผาเปลอื กหอยทา้ ใหข้ นาดของรพู รุนมีการขยายเพิ่มมากข้ึน คุณสมบัตดิ งั กลา่ วเหลา่ น้ีจึงน้าไปใช้เป็นสารปรับสภาพ ความเป็น
กรดในดินหรือน้าผลิตโซดาไฟ สารฟอกขาว ตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีในกระบวน การผลิตไบโอดีเซล ใช้เป็นสารดูดซับ การบ้าบัด
น้าเสีย [2] เป็นต้น

จากข้อมูลดังกล่าวผู้วิจัยจึงมีความสนใจ ท้าการศึกษาการสังเคราะห์แคลเซียมออกไซด์จากเปลือกหอยนางรมเพ่ือให้ได้
แคลเซียมออกไซดท์ ่มี ีประสทิ ธภิ าพบริสทุ ธิ์และน้ามาทา้ เป็นผลิตภัณฑ์แคลเซียมจากธรรมชาติเพื่อน้าไปใช้ทดแทนสารเคมีส้าหรับ
การปรับปรุงคุณภาพน้าเสียเบื้องต้น ซึ่งเป็นการลดปัญหาส่ิงแวดล้อมจากแหล่งก้าเนิดและยังเป็นการน้าวัสดุเหลือใช้ประเภท
เปลือกหอยนางรมมาเพมิ่ มูลค่าไดอ้ ีกทางหน่งึ ดว้ ย

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 507 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

อุปกรณ์และวิธีการ

อุปกรณ์และวิธกี ารกระบวนการศกึ ษาประกอบด้วย 2 ขนั้ ตอน ได้แก่
1. การสงั เคราะห์ แคลเซียมออกไซด์ (CaO) อัดเม็ดจากเปลอื กหอย ดังรูป 1
2. ท้าการศึกษาปัจจยั ปรมิ าณแคลเซียมออกไซด์ (CaO) ท่มี ีผลต่อประสิทธิภาพ ในการปรับปรงุ นา้ ดบิ จากแหลง่ ธรรมชาติ
โดยใช้ความเข้มข้นชว่ ง 1ถึง6 กรมั ต่อลิตร

รูปท่ี 1 ขั้นตอนการคาร์บอไนเซช่ันเปลอื กหอยจนได้แคลเซียมอัดเม็ด

วธิ ที ดลอง
1.วัดค่าอุณหภูมิ (Temperature), ค่าความเป็นกรดด่าง (pH), ซีโอดี (COD) และค่าความขุ่น (Turbidity) ของน้า

ตัวอยา่ งตวั อยา่ งนา้ ดิบจากแหล่งนา้ ธรรมชาติ พรอ้ มบันทึกผล
2. ตวงน้าตวั อย่างปริมาตร 1 ลติ ร ใสใ่ นบีกเกอร์ขนาด 1 ลิตร จา้ นวนทง้ั หมด 6 ใบ
3. เตรียมแคลเซียมออกไซด์ (CaO) และ โพลิเมอร์ ที่ใช้ในการช่วยตกตะกอนท้าการทดลองหาปริมาณ แคลเซียม

ออกไซด์ (CaO) ท่ีเหมาะสมด้วยเครื่อง Jartest โดยเพิ่มปริมาณ แคลเซียมออกไซด์ (CaO) ที่ 1 2 3 4 5 6 กรัม/ลิตร ลงในบีก
เกอร์แตล่ ะ่ ใบ

4. ท้าการทดลองโดยเพ่มิ 2 ppmโพลเิ มอร์ ใสไ่ ปในแตล่ ่ะบกี เกอร์ โดยเลือกความเร็วรอบที่ 120 rpm เป็นเวลา 1 นาที
และ 30 rpm เปน็ เวลา 15 นาที สงั เกตและบนั ทึกผลและทิ้งใหต้ กตะกอน 20 นาที

5. นา้ ตัวอย่างท่ีไดท้ ้าการทดลองไปท้าการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพการบ้าบัด ซีโอดี (COD),. ความเป็นกรดด่าง (pH)
และความขุ่น (Turbidity) โดยท้าการทดลอง 3 ครั้ง เพ่ือหาอัตราส่วนท่ีเหมาะสมในการปรับปรุงคุณภาพน้าและเปรียบเทียบ
ประสิทธิผลกับนา้ ตวั อยา่ ง[3]

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 508 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ผลการทดลองและวิจารณ์

ผลของการปรบั ปรงุ คุณภาพน้าใช้
ตัวอยา่ งนา้ ดบิ จากแหลง่ น้าธรรมชาติที่ใช้ศึกษามลี กั ษณะทางกายภาพ คือมีความขุ่น (Turbidity) และมีสีเขียวท่ีเกิดการ

เจรญิ เติบโตของสาหรา่ ยโดยใช้แคลเซยี มออกไซด์ (CaO) อดั เมด็
การศึกษาปริมาณ แคลเซียมออกไซด์ (CaO) ท่ี 1 ถึง 6 กรัมต่อลิตร ในการปรับปรุงคุณภาพน้าดิบ ผลการทดลอง

พบว่า ปริมาณ แคลเซียมออกไซด์ (CaO) ท่ีเหมาะสมส้าหรับการปรับปรุงคุณภาพน้าดิบอยู่ที่ 4 กรัมต่อลิตร จะเห็นได้จาก
ประสิทธิภาพการก้าจัด ซีโอดี (COD) ที่ 42% และ ประสทิ ธภิ าพการกา้ จดั ความขุน่ (Turbidity)ลดลง ที่ 8.3 % ดังรูปท่ี 2 และ 3
ตามล้าดับ ในสว่ นของ ความเป็นกรดด่าง (pH) แสดงใหเ้ ห็นวา่ เม่อื มกี ารเพ่ิมปริมาณของ แคลเซียมออกไซด์ (CaO) ในปริมาณท่ี
มากข้ึนพบว่าความเป็นกรดด่าง (pH) มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนตามปริมาณ แคลเซียมออกไซด์ (CaO) ท่ีเพ่ิมขึ้น เนื่องจาก แคลเซียม
ออกไซด์ (CaO) มีคุณสมบัติเป็นเบส ซ่ึงสมารถท้าลายประจุลบของน้าดิบ (desterilization) หลังจากปรับปรุงคุณภาพน้า ซ่ึง
สอดคล้องกบั การศกึ ษาของ เหยา ซินหลิวและคณะฯ เรือ่ งการบา้ บัดนา้ เสยี ชุมชนด้วยเปลอื กหอยนางรมโดยการกรองแบบชีวภาพ
ซึ่งพบว่าเปลอื กหอยนางรมมีประสิทธิภาพในการลด COD ได้ [4]

รูปท่ี 2 แสดงผลการหาปริมาณ แคลเซียมออกไซด์ (CaO) ทีเ่ หมาะสมส้าหรบั การปรับปรงุ คณุ ภาพน้า
และ ความเป็นกรดดา่ ง (pH) ท่เี ปล่ียนไปตามปริมาณการศกึ ษาแคลเซียมออกไซด์ (CaO)
ทเ่ี หมาะสมเพื่อการปรับปรุงคุณภาพนา้ เสีย

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 509 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

รูปท่ี 3 แสดงผลของ ความขุน่ (Turbidity) ทเ่ี ปลี่ยนไปตามปรมิ าณการหา แคลเซียมออกไซด์ (CaO)
ท่เี หมาะสมส้าหรับการปรับปรงุ คณุ ภาพนา้

รปู ที่ 4 แสดงผลการหาปรมิ าณ polymer ทเ่ี หมาะสมสา้ หรบั การปรบั ปรุงคุณภาพนา้ สา้ หรบั แคลเซียมออกไซด์ (CaO)
4 กรมั ต่อลิตรและผลของ ความเปน็ กรดดา่ ง (pH) ทเ่ี ปลีย่ นไปตามปรมิ าณการหา polymer

ทเี่ หมาะสมสา้ หรับการปรบั ปรุงคุณภาพน้าสา้ หรบั แคลเซียมออกไซด์ (CaO) 4 กรมั ตอ่ ลิตร

รูปที่ 4 ท้าการศึกประสิทธิภาพการปรับปรุงคุณภาพน้า โดยการเพ่ิม โพลิเมอร์ที่ 2 ppm ในการปรับปรุงคุณภาพ ผลการ
ทดลองพบว่าประสิทธิภาพการปรับปรุงคุณภาพน้ามีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นกว่าการเติมแคลเซียมออกไซด์ (CaO) อย่างเดียว ถึง
85% ซีโอดี (COD) รวมไปถงึ ท้าใหค้ า่ ความเปน็ กรดดา่ ง (pH) เขา้ ใกล้ความเป็นกลางประมาณ ความเป็นกรดด่าง (pH) 7-8 อีก
ท้ังยังส่งผลถงึ ปริมาณการใชแ้ คลเซยี มออกไซด์ (CaO) ทลี่ ดลง คอื 3 กรัมต่อลิตร ดังแสดงในรูปที่ 4 ในส่วนลักษณะของความขุ่น
(Turbidity) (รูปที่ 5) จะเห็นได้ว่าเม่ือมีการเพ่ิมโพลิเมอร์ในการปรับปรุงคุณภาพน้าท้าให้ประสิทธิภาพการก้าจัดความขุ่น

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 510 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

(Turbidity) เพมิ่ มากถึง 79% แสดงให้เห็นว่าการเพ่ิมโพลเิ มอร์ (Cationic polymer) ซึ่งมีประจุไฟฟ้าเปน็ บวกมกี ารจัดเรยี งตัวเปน็
สายยาวมนี ้าหนักโมเลกุลมากเมื่อรวมตัวของกลุ่มก้อนตะกอน (Floc) โดยเป็นการท้างานร่วมกันกับแคลเซียมออกไซด์ (CaO) ซึ่ง
ท้าหน้าที่ปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างและเกิดปฏิกิริยาสะเทินท้าให้ตกตะกอนจากกลไกนี้ท้าให้บ้าบัดความขุ่น(Turbidity)
และซีโอดี (COD) ในน้าเสียได้ [4] ที่เกิดจากเกลือแกงของเหล็กต่าง ๆ แล้วท้าให้มีขนาดโมเลกุลที่ใหญ่มากข้ึนซ่ึงท้าให้น้าหนัก
สูงข้ึนจงึ ตกตะกอนไดด้ ยี ่ิงข้ึน ซ่งึ สามารถชว่ ยในการรีดตะกอนของการปรับปรงุ คุณภาพนา้ เสีย

รูปท่ี 5 การเปลี่ยนแปลงความขนุ่ (turbidity) ที่เปล่ยี นไปตามปรมิ าณ polymer

สรุป

จากการศึกษาประสิทธิภาพการปรับปรุงคุณภาพน้า โดยใช้ ซีโอดี (COD) ความขุ่น (Turbidity) เป็นตัวชี้วัดระหว่าง
แคลเซียมออกไซด์ (CaO) กับแคลเซยี มออกไซด์ (CaO) และโพลเิ มอร์ พบว่า การเพ่มิ โพลเิ มอร์กับแคลเซียมออกไซด์ (CaO) ดว้ ย
การอัดเม็ดให้ประสิทธิภาพการก้าจัดซีโอดี (COD) มากถึง 85% และความขุ่น (Turbidity)ท่ี 79% แสดงให้เห็นว่า แคลเซียม
ออกไซด์ (CaO) สามารถใช้เปน็ ตัวแทนในการบา้ บัดน้าเบื้องต้นก่อนเขาสรู่ ะบบ

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบพระคุณภาควิชาอนามยั สง่ิ แวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา และ โรงปยุ๋ บอ่ ทองทีใ่ ห้ความ
อนุเคราะหส์ ถานที่ในการทา้ การทดลองตลอดจนสนบั สนุนวัสดุอปุ กรณ์และสารเคมีในการทดลองใหง้ านวิจยั ฉบบั น้ีสา้ เรจ็ ลลุ ่วงไป
ไดด้ ว้ ยดี ทางคณะผูว้ จิ ยั หวังเป็นอย่างยิง่ ว่างานวิจัยฉบับนี้จะเปน็ ประโยชน์ต่อผสู้ นใจศกึ ษา

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 511 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

เอกสารอา้ งองิ

[1] Shan, D., Zhu, M., Han, E., Xue, H., & Cosnier, S. (2007). Calcium carbonate nanoparticles: a host matrix
for the construction of highly sensitive amperometric ความเป็นกรดด่าง (pH)enol biosensor. Biosensors
and Bioelectronics, 23(5), 648-654.

[2] Kim, H. S., Park, B. H., Choi, J. H., & Yoon, J. S. (2008). Mechanical properties and thermal stability of
poly (L‐lactide)/calcium carbonate composites. Journal of Applied Polymer Science, 109(5), 3087-3092.

[3] Xu, N., Zhang, M., Li, W., Zhao, G., Wang, X., & Liu, W. (2013). Study on the selectivity of calcium
carbonate nanoparticles under the boundary lubrication condition. Wear, 307(1-2), 35-43.

[4] Chen, X., Qian, X., & An, X. (2011). Using calcium carbonate whiskers as papermaking filler.
BioResources, 6(3), 2435-2447.

[5] Xing Liu, Y., OuYang, T,. Xing Yuan, D., & Yun Wu, X. (2010). Study of municipal wastewater treatment
with oyster shell as biological aerated filter medium, 254(1-3), 149-153.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 512 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

089

ระดับความเข้มขน้ ตามแนวตั้งของฝุน่ ละอองขนาดเลก็ ในรอบวนั
บรเิ วณอาคารสูงในกรุงเทพมหานคร

Diurnal Vertical Profiles of Fine Particulate Matter
around a High-rise Building in Bangkok

ศิริภทั ร์ อินทรต์ ระกลู 1 ทรรศนยี ์ พฤกษาสิทธิ์2* และ นรุตตม์ สหนาวิน3
Siriphat Intrakun1 Tassanee Prueksasit2* and Narut Sahanavin3
1นสิ ติ มหาบณั ฑติ หลกั สตู รสหสาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ส่งิ แวดลอ้ ม บณั ฑิตวิทยาลยั จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย กรุงเทพฯ 10330
2*ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ภาควิชาวทิ ยาศาสตรส์ ิง่ แวดลอ้ ม คณะวิทยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพฯ 10330
3อาจารย์ ภาควชิ าสาธารณสขุ ศาสตร์ คณะพลศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ จังหวัดนครนายก 26120
*โทรศัพท์ : 02-2185196, โทรสาร : 02-2185180, E-mail : [email protected]

บทคดั ย่อ

การศึกษาคร้ังน้ีมุ่งเน้นศึกษาระดับความเข้มข้นตามแนวตั้งของ PM2.5 และ PM10 ในรอบวัน และความเข้มข้นภายใน
อาคารและภายนอกอาคารของฝุ่นละอองท้งั สองขนาด ทาการตรวจวดั ดว้ ยเครือ่ ง Aeroqual Series 500 ทส่ี ามารถอ่านคา่ ไดท้ ันที
ณ อาคารสูงแห่งหน่ึงในกรุงเทพมหานครที่ความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร ตรวจวัดอย่างต่อเน่ืองเป็นเวลา 7 วัน ในช่วงสภาพ
อากาศปกติ (วันที่ 23 - 29 กันยายน 2562) และช่วงหมอกควัน (วันท่ี 13-19 มกราคม 2563) ผลการศึกษาพบว่า ในช่วงสภาพ
อากาศปกติ PM2.5 ภายนอกอาคารท่ีความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 26.85 ± 18.79 และ 30.18 ± 23.33
µg/m3 ตามลาดับ และ PM10 มีค่าเท่ากับ 35.75 ± 22.78 และ 34.7 ± 23.29 µg/m3 ตามลาดับ ส่วนในช่วงหมอกควัน PM2.5
ภายนอกอาคารทว่ี ดั ได้ทั้งสองความสูงมีค่าเฉลย่ี เท่ากบั 43.18 ± 18.72 และ 38.23 ± 16.03 µg/m3 ตามลาดับ และ PM10 มีค่า
เท่ากับ 51.64 ± 19.45 และ 56.49 ± 23.70 µg/m3 ตามลาดบั คา่ เฉล่ียความเข้มขน้ ของฝุ่นละอองภายนอกทั้งสองขนาดท่ีความ
สูง 4.5 เมตร มีค่าเป็น 0.9 - 1.1 เท่าของความสูง 138.5 เมตร แสดงให้เห็นว่าฝุ่นละอองทั้งสองระดับความสูงมีค่าใกล้เคียงกัน
ฝุน่ ละอองในชว่ งสภาพอากาศปกติมีแนวโน้มเพิม่ ขนึ้ สองช่วงเวลา ไดแ้ ก่ 05.00 – 11.00 น. และ 18.00 – 23.00 น. ในขณะท่ชี ว่ ง
หมอกควันมคี ่าสูงตลอดชว่ งเวลากลางวันจนถึงหัวค่า ระหว่างเวลา 06.00 – 20.00 น. สาหรับความเข้มข้นภายในอาคารและนอก
อาคารของฝุ่นละอองท้ังสองขนาดมีความสัมพันธ์เชิงบวกทั้งช่วงสภาพอากาศปกติและช่วงหมอกควัน จากการวิเคราะห์
ความสัมพันธ์แบบ Pearson ระหว่าง PM2.5 และ PM10 ภายนอกอาคารกับปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยา พบว่า อุณหภูมิมีผลเชิงบวก
(r = 0.164) ต่อ PM2.5 แต่ความเรว็ ลมมผี ลเชิงลบ (r = -0.165, -0.204) ต่อฝุ่นท้ังสองขนาดอยา่ งมนี ัยสาคัญ

คาสาคญั : PM2.5; PM10; ความเขม้ ข้นตามแนวตั้งในรอบวันของฝุ่นละออง; ความเข้มข้นภายในอาคารและภายนอกอาคารของฝุน่ ละออง

Abstract

This study aimed to investigate the diurnal vertical profiles of PM2.5 and PM10 and to determine their
indoor and outdoor concentrations. Real-time portable particulate monitors, Aeroqual series 500, were used
for simultaneous measurement of PM2.5 and PM10 at 4.5 and 138.5m height of the office building located in
the urban area of Bangkok, Thailand. The PM measurement was continuously performed for seven days
consecutively in none-haze (September 23 - 29, 2019) and haze periods (January 13 - 19, 2020). The results
showed that the average outdoor concentrations of PM2.5 at 4.5 and 138.5m in the none-haze period were
26.85 ± 18.79 and 30.18 ± 23.33 µg/m3, respectively, and those of PM10 were 35.75 ± 22.78 and 34.7 ± 23.29

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 513 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

µg/m3, respectively. For haze period, the average outdoor concentrations of PM2.5 at both levels were 43.18 ±
18.72 and 38.23 ± 16.03 µg/m3, respectively, and those of PM10 were 51.64 ± 19.45 and 56.49 ± 23.70 µg/m3,
respectively. The outdoor concentration of both PM at the height of 4.5 m was about 0.9 - 1.1 times of that
measured at 138.5 m, which showed a slight difference. The hourly outdoor concentrations of PM2.5 and PM10
in the none-haze period showed an increasing trend from 5 am to 11 am and 6 pm to 11 pm, while those of
high level in the day time from 6 am to 8 pm were observed in the haze period. The relationship between
indoor and outdoor concentrations of PM2.5 and PM10 in both none-haze and haze periods showed significant
positive correlations. From the analysis of Pearson correlations between the PM2.5 and PM10 concentrations
and meteorological data, temperature could be found to have a significant positive correlation (r = 0.164)
with PM2.5, while wind speed gave significant negative correlations with both PM2.5 (r = -0.204) and PM10
(r = -0.204), respectively.

Keywords : PM2.5; PM10; Diurnal vertical profiles of PM; Indoor and outdoor concentrations of PM

บทนา

ปญั หาฝ่นุ ละอองขนาดเล็กเป็นปัญหาด้านมลพิษทางอากาศท่ีสาคัญในพ้ืนที่เขตเมือง โดยเฉพาะฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
2.5 ไมครอน (PM2.5) ซ่ึงสามารถแขวนลอยในบรรยากาศได้ในระดับหลายวันจนถึงหลายสัปดาห์ และสามารถกระจายตัวได้ใน
ระยะไกลหลายร้อยกิโลเมตรจนถึงหลายพันกิโลเมตร โดยมีแหล่งกาเนิดมาจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงฟอสซิลจากโรงไฟฟ้า
โรงงานอุตสาหกรรม การเผาไหม้จากยานยนต์ การเผาทางเกษตรกรรม และกระบวนการหลอมหรือแปรรูปของโลหะต่าง ๆ
เป็นต้น [1] อีกท้ัง สามารถเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจลึกไปสู่ปอด ถุงลม และเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด ส่งผลให้เกิดผลกระทบท่ี
สาคัญต่อสุขภาพของมนุษย์ ได้แก่ หัวใจขาดเลือด หัวใจเต้นผิดปกติ ความสามารถการทางานของปอดลดลง โรคหอบหืดกาเริบ
และอาการทางระบบทางเดินหายใจ เชน่ ระคายเคืองระบบทางเดนิ หายใจ ไอ จาม หายใจตดิ ขัด เป็นตน้ [2]

กรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่ที่พบปัญหามลพิษทางด้านอากาศ โดยเฉพาะปัญหาฝุ่นละออง จากข้อมูลการตรวจวัดของ
กรมควบคุมมลพษิ พบว่า ความเขม้ ขน้ เฉลีย่ 24 ชั่วโมงของ PM2.5 ในพ้ืนท่กี รุงเทพมหานครและปรมิ ณฑลมคี ่าสงู เกินค่ามาตรฐานที่
กาหนดไวไ้ มเ่ กนิ 50 ไมโครกรมั ต่อลูกบาศก์เมตร ประมาณ 40 - 50 วันต่อปี โดยเกินค่ามาตรฐานในช่วงเดือนธันวาคม - มีนาคม
ของทุกปี จากสถานการณ์ในปี 2561 พบว่า ความเข้มข้นเฉลี่ย 24 ชั่วโมงของ PM2.5 มีแนวโน้มสูงข้ึนในช่วงเดือนมกราคม -
กมุ ภาพนั ธ์ 2561 และชว่ งเดือนธนั วาคม 2561 - มกราคม 2562 [3,4] อยา่ งไรกต็ าม ปัญหาฝุ่นละอองท่ีเกดิ ข้นึ ในบรรยากาศทัว่ ไป
สามารถส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศภายในอาคารได้ เน่ืองจากฝนุ่ ละอองภายนอกอาคารสามารถกระจายตัวเข้าสู่ภายในอาคาร
ผา่ นทางช่องว่างหรอื รอยแยก การเปิดประตแู ละหน้าตา่ ง รวมถงึ ระบบระบายอากาศ [5] จากการศึกษาท่ีผ่านมาพบว่า ฝุ่นละออง
ภายในอาคารและภายนอกอาคารมีความสัมพันธ์เชิงบวก กล่าวคือ ฝุ่นละอองภายในอาคารได้รับอิทธิพลจากฝุ่นละอองภายนอก
อาคาร [6,7]

เนื่องจากพนื้ ที่ในกรุงเทพมหานครที่มอี ยูอ่ ยา่ งจากัด กรงุ เทพมหานครในปัจจุบันจึงประกอบไปด้วยอาคารสูงเป็นจานวน
มากและมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนในอนาคต ประชาชนในกรุงเทพมหานครจึงมีแนวโน้มท่ีจะใช้ชีวิตอยู่ภายในอาคารสูงเป็นจานวนมาก
จากการศึกษาระดับความเข้มข้นตามแนวตั้งของฝุ่นละอองที่ผ่านมาพบว่า ความเข้มข้นเฉลี่ยของ PM10 และ PM2.5 มีแนวโน้ม
ลดลงตามความสูงท่ีเพ่ิมขึ้น [8,9] อย่างไรก็ตาม ฝุ่นละอองมีความเข้มข้นลดลงตามความสูงในระดับต่า ดังน้ัน ผู้ที่อยู่ชั้นบนของ
อาคารสงู กม็ โี อกาสไดร้ ับสมั ผัสฝนุ่ ละอองผ่านทางการหายใจได้เชน่ เดียวกับผู้ท่ีอยู่ระดับล่าง เพ่ือทราบถึงแนวโน้มการรับสัมผัสฝุ่น
ละอองของผู้ท่ีอยู่ในอาคารสูง การศึกษาระดับความเข้มข้นตามแนวตั้งของฝุ่นละอองบริเวณอาคารสูง โดยเฉพาะในพ้ืนท่ี
กรงุ เทพมหานคร จึงควรใหค้ วามสาคญั และมกี ารศกึ ษาเพม่ิ เติม

ดังน้ัน การศึกษาคร้ังน้ีจึงมุ่งเน้นศึกษาระดับความเข้มข้นตามแนวตั้งของ PM2.5 และ PM10 ในรอบวัน พร้อมทั้งศึกษา
ความเขม้ ขน้ ภายในอาคารและภายนอกอาคารของฝุน่ ละอองท้งั สองขนาด โดยศึกษาบริเวณอาคารสูง ประเภทอาคารสานักงานใน
สานกั งานในกรุงเทพมหานครท่ีความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร และทาการศึกษาใน 2 ช่วงเวลา ได้แก่ ช่วงสภาพอากาศปกติและ
ช่วงหมอกควัน โดยช่วงสภาพอากาศปกติ คือ ช่วงที่ไม่พบปัญหาฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน และช่วงหมอกควัน คือ ช่วงที่พบ
ปญั หาฝุ่นละอองเกินคา่ มาตรฐาน (เดือนธนั วาคม – มีนาคม)

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 514 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

อุปกรณแ์ ละวิธกี าร

การตรวจวดั ความเข้มขน้ ของ PM10 และ PM2.5
ตรวจวัดความเข้มข้นของ PM2.5 และ PM10 ด้วยเครื่อง Aeroqual Series 500 ท่ีสามารถอ่านค่าทันที (Real-time)

ซึ่งทางานดว้ ยหลักการ Light scattering โดยสามารถอ่านคา่ ความเขม้ ขน้ ได้ในช่วง 0.001-1.000 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และ
ตวั เคร่ืองได้รบั การสอบเทยี บจากผู้ผลติ ทาการตรวจวดั บริเวณอาคารสานักงานในกรุงเทพมหานครที่ความสูงจากพื้นดิน 4.5 และ
138.5 เมตร อาคารตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีเปิดโล่ง และอยู่ห่างจากทางยกระดับประมาณ 200 เมตร ซ่ึงกาหนดจุดเก็บตัวอย่างที่ความสูง
เดียวกันเป็นภายในและภายนอกอาคารแห่งละ 1 จุด รวมท้ังหมด 4 จุด โดยจุดติดต้ังเคร่ืองตรวจวัดอยู่สูงจากพื้นประมาณ 1.5
เมตร ห่างจากผนังหรือกาแพงประมาณ 1.5 เมตร และต้ังบริเวณกลางห้องสาหรับจุดตรวจวัดภายในอาคาร เครื่องทาการบันทึก
ขอ้ มูลตรวจวัดทเ่ี ปน็ ค่าเฉลี่ยทุก 5 นาที เป็นเวลา 24 ช่ัวโมง ตรวจวัดอย่างต่อเนื่อง 7 วัน ในช่วงสภาพอากาศปกติ (ระหว่างวันท่ี
23 - 29 กันยายน 2562) และช่วงหมอกควนั (ระหว่างวันท่ี 13-19 มกราคม 2563)
การเกบ็ ขอ้ มลู สภาพอุตุนิยมวทิ ยา

เก็บข้อมูลสภาพอุตุนิยมวิทยาด้วยชุดตรวจวัดสภาพอุตุนิยมวิทยาของ DAVIS INSTRUMENT รุ่น Vantage PRO2 โดย
การตง้ั สถานเี กบ็ ข้อมูลบนชน้ั ดาดฟ้าของอาคารพื้นทศ่ี ึกษา ความสงู จากพ้ืนดินประมาณ 150 เมตร ซ่ึงข้อมูลสภาพอุตุนิยมวิทยาท่ี
ศึกษา ได้แก่ ความเรว็ ลม ทิศทางลม อุณหภมู ิ ความช้ืนสัมพทั ธ์ ปริมาณนา้ ฝน และดันบรรยากาศ สาหรับการเก็บข้อมูลได้ทาการ
บนั ทกึ คา่ เฉลี่ยทกุ 1 ชั่วโมง โดยเกบ็ ข้อมูลสภาพอุตนุ ยิ มวิทยาในชว่ งเวลาเดยี วกบั การตรวจวดั ฝุ่นละออง
การวิเคราะห์ขอ้ มูลและการวิเคราะห์ทางสถติ ิ

วิเคราะห์อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นของ PM2.5 และ PM10 (PM2.5/PM10 ratio) และอัตราส่วนของความเข้มข้น
ฝนุ่ ละอองภายในอาคารและภายนอกอาคาร (I/O ratio) สาหรบั การวิเคราะห์ข้อมลู ทางสถิติ ทาการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SPSS
statistics ver. 22 โดยวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของฝุ่นละอองโดยใช้ T-test และวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ระหว่างฝุ่นละอองภายในอาคารและนอกอาคาร รวมถึงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างฝุ่นละอองภายนอกอาคารกับปัจจัยทาง
อุตุนิยมวิทยาโดยใช้ Pearson correlation

ผลการทดลองและวิจารณ์
ระดับความเข้มข้นภายนอกอาคารตามแนวตั้งของ PM2.5 และ PM10
ความเข้มข้นเฉลี่ยภายนอกอาคารของ PM2.5 และ 6P.M8210-ป6ร9า.0ก4ฏดµังgร/ูปmท3ี่ 1 พบว่า ในช่วงสภาพอากาศปกติ PM2.5
ความสงู 4.5 และ 138.5 เมตร มีคา่ อยใู่ นชว่ ง 7.82 - 57.54 และ ตามลาดบั และมีคา่ เฉล่ยี เท่ากับ 26.85 ±
18.79 และ 30.18 ± 23.33 µg/m3 ตามลาดับ ส่วน PM10 ท่ีความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร มีค่าอยู่ในช่วง 13.37 - 71.87 และ
9.14 - 70.19 µg/m3 ตามลาดับ และมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 35.75 ± 22.78 และ 34.70 ± 23.29 µg/m3 ตามลาดับ สาหรับในช่วง
หใมนีคมช่าอว่ เกฉงคล3ว่ีย3ันเ.ท5P4่าMก-ับ27.574ท.38ี่ค.61ว8แามล±สะ1ูง3843.7..5520แแ-ลล8ะะ81.373878.2.µ53gเ/±มmต13ร6ต.ม0าีคม3่าลµอาgยด/ู่ใบั mนชแ3่วลตงะาม2มีค3ล่า.า6เดฉ6ับล-ีย่ ส6เท่ว9น่า.5ก1PับMแ51ล10ะ.ท624่ีค1ว±.า5ม51ส9-ูง.46450.5.แ2ล2แะลµะ5g6/1m.34839.5ต±าเม2ม3ลต.าร7ดมµับีคgแ่/าmอลยะ3ู่
ตามลาดับ เม่ือวิเคราะห์ด้วย T-test พบว่า ในช่วงสภาพอากาศปกติ PM2.5 ที่ความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร แตกต่างกันอย่างมี
นัยทางสถติ ิท่ีระดบั ความเช่อื ม่ัน 95% (p = 0.000) ในขณะท่ี PM10 ท่ีความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร ไม่แตกต่างกัน (p = 0.179)
สาหรับในช่วงหมอกควัน PM2.5 และ PM10 ท่ีความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความ
เชอ่ื มัน่ 95% (p = 0.000, 0.000) อย่างไรกต็ าม เมอื่ พิจารณาความแตกตา่ งของค่าเฉลี่ยความเขม้ ข้นของฝุ่นละอองทั้งสองขนาดที่
ความสูงทั้งสองระดับ พบว่า ในช่วงสภาพอากาศปกติ PM2.5 ท่ีความสูง 4.5 เมตร มีค่าเป็น 0.88 เท่าของความสูง 138.5 เมตร
และ PM10 ที่ความสูง 4.5 เมตรมีค่าเป็น 1.03 เท่าของความสูง 138.5 เมตร ส่วนในช่วงหมอกควัน PM2.5 ที่ความสูง 4.5 เมตร
มีค่าเป็น 1.13 เท่าของความสูง 138.5 เมตร และ PM10 ที่ความสูง 4.5 เมตรมีเป็น 0.91 เท่าของความสูง 138.5 เมตร
จะเห็นไดว้ ่า ความเข้มข้นของฝุน่ ละอองที่ความสูงทัง้ สองระดับมีค่าเฉล่ียไมแ่ ตกต่างกนั มากนัก โดยเฉพาะ PM10 ท่ีมคี า่ ใกล้เคียงกัน
อย่างเห็นได้ชัด
ความเข้มข้นของ PM2.5 ในชว่ งสภาพอากาศปกติท่คี วามสูง 138.5 เมตร พบวา่ มคี ่าสงู กวา่ ท่คี วามสูง 4.5 เมตร เน่ืองจาก
PM2.5 เคลือ่ นตัวมาจากการจราจรบริเวณใกล้เคยี ง และพน้ื ทศี่ กึ ษาเป็นพื้นท่ีเปิดโล่ง ไมม่ ีสง่ิ กีดขวางโดยรอบอาคาร ส่งผลให้ PM2.5
กระจายตัวดี รวมถึงได้รับอิทธิพลจากละอองลอยทุติยภูมิที่เกิดการกระบวนการทางเคมีในบรรยากาศ (Photochemical
formation) [10, 11] ในขณะท่ีช่วงหมอกควัน ความเข้มข้นของ PM2.5 ที่ความสูง 4.5 เมตร มีค่าสูงกว่าท่ีระดับ 138.5 เมตร
เน่ืองจากกรุงเทพมหานครในช่วงหมอกควันได้รับอิทธิพลจากความกดอากาศสูงจากประเทศจีน และผลตรวจอากาศช้ันบนจาก

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 515 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ศูนย์ฝนหลวง สถานีสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยเป็นสถานีท่ีใกล้เคียงกับพื้นท่ีกรุงเทพมหานครมากท่ีสุด เนื่องจากไม่มีข้อมูลการ
ตรวจวัดทก่ี รมอุตุนยิ มวทิ ยาสถานีบางนา กรุงเทพมหานคร ซ่ึงชี้ให้เห็นสภาวะการผกผันของอุณหภูมิ (Temperature inversion)
อยู่ท่ีระดับความสูง 500 - 1,000 เมตรจากพื้นดิน [12, 13] ส่งผลสภาพอากาศในช่วงหมอกควันจึงมีลักษณะจมตัวและมีสภาพ
คงตัว ดังนั้น PM2.5 ที่เกิดข้ึนจากแหล่งกาเนิดท่ีระดับพื้นดิน โดยเฉพาะการจราจรบริเวณใกล้เคียง จึงไม่สามารถกระจายตัวได้ดี
และเกิดการสะสมทร่ี ะดบั พ้ืนดิน

เมื่อพจิ ารณาความเข้มข้นภายนอกอาคารเฉลีย่ ของ PM2.5 และ PM10 ในรอบวัน ท่ีปรากฏดังรูปท่ี 2 พบว่า ความเข้มข้น
ในช่วงสภาพอากาศปกติมีแนวโน้มเพ่มิ ขึน้ ในสองช่วงเวลา ได้แก่ ช่วงเช้า 05.00 – 11.00 น. และช่วงเย็น 18.00 – 23.00 น. และ
ลดลงในช่วงบ่าย (12.00 – 16.00 น.) ซ่ึงสอดกับการศึกษาของ Deng at el. (2015) ท่ีศึกษาความเข้มข้นของ PM2.5 และ PM10
ในรอบวันท่ีเมืองกว่างโจว ประเทศจีน พบว่า ฝุ่นละอองท้ังสองขนาดมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนในช่วงเวลาเร่งด่วนในช่วงเช้าและช่วงเย็น
และลดลงในช่วงบ่ายเนื่องจากการยกตัวของมวลอากาศส่งผลให้ฝุ่นละอองเกิดการกระจายตัวได้ดี [14] ส่วนในช่วงหมอกควันมี
แนวโน้มเพ่ิมข้ึนตลอดช่วงกลางวันจนถึงหัวค่า (06.00 – 20.00 น.) ซ่ึงอาจได้รับอิทธิพลจากสภาพอากาศท่ีมีลักษณะจมตัว [12,
13] ประกอบกับกจิ กรรมของมนษุ ยท์ เี่ กิดขึน้ ในชว่ งเวลากลางวนั และช่วงเวลาเร่งด่วน โดยเฉพาะการจราจรบริเวณใกลเ้ คียง ส่งผล
ให้ฝนุ่ ละอองไม่สามารถกระจายตัวไดด้ ีและเกดิ การสะสมในชว่ งเวลาดังกล่าว โดยแนวโน้มในรอบวันของฝุ่นละอองท้ังสองขนาดท่ี
ความสงู 4.5 และ 138.5 เมตร พบวา่ มแี นวโนม้ สอดคลอ้ งไปในทิศทางเดียวกัน

รปู ที่ 1 ความเขม้ ขน้ เฉลีย่ ภายนอกอาคารของ PM2.5 และ PM10

รปู ที่ 2 ความเขม้ ข้นเฉลย่ี ตามแนวตั้งของ PM2.5 และ PM10 ในรอบวัน

ค่า PM2.5/PM10 ratio เฉล่ีย 24 ชั่วโมง ปรากฏดังตารางท่ี 1 พบว่า ช่วงสภาพอากาศปกติ มีค่า PM2.5/PM10 ratio ท่ี
ความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร อยู่ในชว่ ง 0.59 - 0.79 และ 0.63 - 0.98 ตามลาดับ และมีคา่ เฉล่ยี เท่ากับ 0.73 ± 0.09 และ 0.85
± 0.14 ตามลาดับ ส่วนช่วงหมอกควัน มีค่า PM2.5/PM10 ratio ท่ีความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร อยู่ในช่วง 0.70 - 0.90 และ
0.63 - 0.73 ตามลาดับ และมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 0.82 ± 0.10 และ 0.67 ± 0.06 ตามลาดับ จากการศึกษาที่ผ่านมา พบว่า
ค่า PM2.5/PM10 ratio ในบรรยากาศทวั่ ไปในพนื้ ทเ่ี ขตเมอื งในกรุงเทพมหานคร มคี า่ อยู่ในชว่ ง 0.64 - 0.67 [15] และพนื้ ท่ีเขตเมอื ง
ของประเทศจีน มีค่าอยู่ในช่วง 0.56 - 0.66 ในเมืองปักกิ่ง และมีค่าเท่ากับ 0.62 ในเมืองหวู่ฮ่ัน [11,16] จะเห็นได้ว่า
ค่า PM2.5/PM10 ratio ในพนื้ ทเี่ ขตเมอื งจะพบไดต้ ั้งแต่ 0.56 – 0.67

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 516 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

เมื่อพิจารณาค่า PM2.5/PM10 ratio ที่ความสูง 4.5 เมตร พบว่า ช่วงหมอกควันมีค่าสูงกว่าช่วงสภาพอากาศปกติ และ
มีค่าสูงกว่างานวิจัยที่ผ่านมาที่กล่าวมาข้างต้น เน่ืองจากช่วงหมอกควันมีสภาพอากาศท่ีมีลักษณะจมตัว [12, 13] ส่งผลให้ PM2.5
ท่ีเกิดขึ้นจากแหล่งกาเนิดที่ระดับพ้ืนดิน โดยเฉพาะการจราจรบริเวณใกล้เคียง ไม่สามารถกระจายตัวได้ จึงเกิดการสะสมที่ระดับ
พืน้ ดนิ ส่งผลให้ PM2.5 มสี ัดส่วนเพมิ่ มากขึน้ ในชว่ งหมอกควัน ส่วนค่า PM2.5/PM10 ratio ท่ีความสงู 138.5 เมตร พบว่า ช่วงสภาพ
อากาศปกติมีค่าสูงกว่าช่วงหมอกควัน เนื่องจากช่วงสภาพอากาศปกติ ได้รับอิทธิพลจาก PM2.5 เคลื่อนตัวมาจากแหล่งกาเนิดใน
ระดบั พืน้ ดนิ โดยเฉพาะการจราจรบริเวณใกล้เคียง รวมถึงได้รับอิทธิพลจากละอองลอยทุติยภูมิที่เกิดการกระบวนการทางเคมีใน
บรรยากาศ ในขณะที่ช่วงหมอกควันได้รับอิทธิพลจากละอองลอยทุติยภูมิน้อยกว่า เนื่องจากช่วงดังกล่าวมีแสงอาทิตย์น้อยลง
เนื่องจากสภาพอากาศท่ีปกคลุมไปด้วยหมอกควันจึงทาให้โอกาสในการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่กระตุ้นด้วยแสงอาทิตย์ลดลง [11]
เมือ่ พจิ ารณาคา่ PM2.5/PM10 ratio ในรอบวันที่ปรากฏดังรปู ท่ี 3 พบว่า ค่า PM2.5/PM10 ratio ในช่วงสภาพอากาศปกติมีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้นในช่วงเวลากลางคืน (17.00 - 06.00 น.) ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ Xu et al. (2017) ท่ีพบว่า ค่า PM2.5/PM10 ratio
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต้ังแต่ 19.00 - 6.00 น. เนื่องจากในช่วงเวลากลางคืน อากาศเหนือพื้นผิวดินมีอุณหภูมิต่ากว่าในบรรยากาศ
ด้านบน จึงเกดิ การผกผนั ของอณุ หภูมิ อากาศมสี ภาพคงตัว ส่งผลใหอ้ ากาศนิง่ ฝุ่นท่ีมีอนุภาคใหญ่กว่าตกตามแรงโน้มถ่วง ในขณะ
ทฝ่ี ุน่ ขนาดเลก็ เกดิ การสะสมในบรรยากาศ ดงั นัน้ ค่า PM2.5/PM10 ratio จงึ เพ่ิมมากข้นึ ในเวลากลางคืน [16] สว่ นในชว่ งหมอกควนั
มีแนวโนม้ เพม่ิ ข้ึนตลอดช่วงเวลากลางวัน (07.00 - 21.00 น.) ซึ่งไดร้ ับอิทธพิ ลกิจกรรมของมนษุ ย์ทเี่ กดิ ขน้ึ ในช่วงเวลากลางวนั และ
ช่วงเวลาเร่งด่วน ประกอบกับสภาพอากาศท่ีมีลักษณะจมตัว จึงทาให้ PM2.5 มีเกิดการสะสมและสัดส่วนเพ่ิมมากข้ึนในช่วงเวลา
ดังกลา่ ว

ตารางท่ี 1 อตั ราส่วนเฉลี่ย 24 ช่ัวโมงของ PM2.5 และ PM10 ภายนอกอาคาร

วันที่ 4.5 เมตร 138.5 เมตร
ช่วงสภาพอากาศปกติ
ช่วงสภาพอากาศปกติ ชว่ งหมอกควนั ชว่ งหมอกควัน
0.73 ± 0.06
1 0.59 ± 0.11 0.85 ± 0.06 0.63 ± 0.11 0.63 ± 0.07
0.65 ± 0.04
2 0.77 ± 0.05 0.70 ± 0.10 0.78 ± 0.11 0.65 ± 0.06
0.68 ± 0.03
3 0.77 ± 0.07 0.76 ± 0.07 0.77 ± 0.13 0.69 ± 0.03
0.69 ± 0.05
4 0.67 ± 0.08 0.76 ± 0.09 0.85 ± 0.10 0.67 ± 0.06

5 0.73 ± 0.06 0.86 ± 0.04 0.93 ± 0.07

6 0.74 ± 0.06 0.89 ± 0.04 0.92 ± 0.08

7 0.79 ± 0.03 0.90 ± 0.05 0.98 ± 0.04

เฉล่ยี 0.73 ± 0.09 0.82 ± 0.10 0.85 ± 0.14

รูปท่ี 3 อตั ราสว่ นเฉล่ยี ของ PM2.5 และ PM10 ในรอบวนั
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งฝุ่นละอองภายในอาคารและภายนอกอาคารของ PM2.5 และ PM10

ความเข้มข้นภายในอาคารเฉล่ีย 24 ชั่วโมงของ PM2.5 และ PM10 ปรากฏดังรูปท่ี 4 พบว่า ในช่วงสภาพอากาศปกติ
PM2.5 ทค่ี วามสูง 4.5 และ 138.5 เมตร มีคา่ อยู่ในชว่ ง 6.61 – 41.09 และ 5.88 - 40.78 µg/m3 ตามลาดับ และมีค่าเฉล่ียเท่ากับ
22.89 ± 11.76 และ 22.22 ± 12.25 µg/m3 ตามลาดับ ส่วน PM10 ท่ีความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร มีค่าอยู่ในช่วง 8.88 -
47.57 และ 8.93 - 50.95 µg/m3 ตามลาดับ และมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 28.96 ± 14.31 และ 30.53 ± 15.51 µg/m3 ตามลาดับ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 517 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

สาหรับในช่วงหมอกควัน PM2.5 ที่ความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร มีค่าอยู่ในช่วง 19.51 - 60.32 และ 18.14 - 56.89 µg/m3
เตมาตมรลามดีคับา่ อแยล่ใู ะนมชีคว่ า่งเฉ29ล.ีย่ 1เ4ท่า-ก7บั 5.3174.7แ1ละ±2156.7.468-แ7ล2ะ.3335µ.1g3/m±31ต7า.ม3ล1าµดgับ/mแล3 ะตมาีคม่าลเาฉดลับี่ยเสท่ว่านกับPM4910.2ท3่ีค±วา1ม9ส.ู1ง94.แ5ลแะล4ะ51.8318.±5
22.68 µg/m3 ตามลาดับ เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วย Pearson correlation พบว่า ฝุ่นละอองภายในอาคารและภายนอก
อาคารมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อม่ัน 99% ซ่ึงมีค่าสัมประสิทธิ์เป็นบวก โดยช่วงสภาพอากาศ
ปกติ PM2.5 ภายในอาคารและภายนอกอาคารท่ีความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร มีค่าสหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ 0.926 และ 0.895
ตามลาดับ และ PM10 มีค่าเท่ากับ 0.867 และ 0.851 ตามลาดับ ส่วนช่วงหมอกควัน PM2.5 ภายในอาคารและภายนอกอาคารท่ี
ความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร มีค่าสหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ 0.893 และ 0.897 ตามลาดับ และ PM10 มีค่าเท่ากับ 0.793 และ
0.810 ตามลาดับ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยที่ผ่านมาท่ีพบว่า ฝุ่นละอองภายในอาคารและภายนอกอาคารมีความสัมพันธ์อย่างมี
นยั สาคญั โดยมีความสัมพนั ธ์เชิงบวก กลา่ วคือ ฝนุ่ ละอองภายในอาคารได้รบั อิทธิพลจากฝนุ่ ละอองภายนอกอาคาร เม่ือฝุ่นละออง
ภายนอกอาคารมปี รมิ าณเพม่ิ มากข้นึ ฝุ่นละอองภายในอาคารก็จะมีปริมาณเพ่มิ มากขึ้นเช่นเดียวกัน [6,7]

เมอ่ื พิจารณาค่า I/O ratio ที่ปรากฏดังตารางท่ี 2 พบว่า ในช่วงสภาพอากาศปกติ ค่า I/O ratio ของ PM2.5 และ PM10
ที่ความสูง 4.5 เมตร มีค่าอยู่ในช่วง 0.78 - 1.03 และ 0.74 – 0.95 ตามลาดับ และมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 0.93 ± 0.22 และ 0.86 ±
0.25 ตามลาดบั และทค่ี วามสูง 138.5 เมตร มีค่าอยู่ในช่วง 0.65 - 1.02 และ 0.80 - 1.18 ตามลาดับ และมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 0.82
± 0.20 และ 0.96 ± 0.25 ตามลาดบั สาหรับในชว่ งหมอกควนั คา่ I/O ratio ของ PM2.5 และ PM10 ท่ีความสูง 4.5 เมตร มีค่าอยู่
ในชว่ ง 0.83 - 0.92 และ 0.87 - 1.11 ตามลาดับ และมคี า่ เฉล่ียเทา่ กับ 0.88 ± 0.14 และ 0.97 ± 0.20 ตามลาดับ และท่ีความสูง
138.5 เมตร มีค่าอยู่ในช่วง 0.84 - 0.96 และ 0.76 - 0.86 ตามลาดับ และมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 0.97 ± 0.20 และ 0.81 ± 0.20
ตามลาดับ จะเหน็ ไดว้ า่ คา่ I/O ratio ของฝุ่นละอองมีค่าส่วนใหญ่น้อยกว่า 1 โดยคิดเป็นร้อยละ 78.91 ของค่าทั้งหมด ระบุได้ว่า
ฝุ่นละอองภายในอาคารมีปริมาณต่ากว่าฝุ่นละอองภายนอกอาคาร ซ่ึงปริมาณของฝุ่นละอองภายในอาคารได้รับอิทธิพลจาก
ฝนุ่ ละอองภายนอกอาคารเป็นหลกั

รูปท่ี 4 ความเขม้ ข้นเฉลีย่ ภายในอาคารของ PM2.5 และ PM10

ตารางท่ี 2 อัตราส่วนเฉลี่ย 24 ชั่วโมงของความเขม้ ขน้ ฝนุ่ ละอองภายในอาคารและภายนอกอาคาร (I/O ratio)

ชว่ งสภาพอากาศปกติ ช่วงหมอกควัน

วันที่ 4.5 เมตร 138.5 เมตร 4.5 เมตร 138.5 เมตร

PM2.5 PM10 PM2.5 PM10 PM2.5 PM10 PM2.5 PM10
1 0.86 ± 0.23 0.76 ± 0.21 0.82 ± 0.23 0.83 ± 0.29 0.83 ± 0.16 0.92 ± 0.21 0.93 ± 0.17 0.86 ± 0.18

2 0.94 ± 0.18 0.88 ± 0.21 1.02 ± 0.18 1.18 ± 0.30 0.85 ± 0.15 0.91 ± 0.20 0.84 ± 0.17 0.76 ± 0.19

3 0.97 ± 0.08 0.95 ± 0.18 0.96 ± 0.13 1.10 ± 0.24 0.83 ± 0.15 0.87 ± 0.21 0.87 ± 0.17 0.81 ± 0.21

4 1.03 ± 0.27 0.93 ± 0.34 0.81 ± 0.14 0.99 ± 0.17 0.88 ± 0.13 0.94 ± 0.18 0.90 ± 0.17 0.79 ± 0.21

5 0.94 ± 0.24 0.85 ± 0.29 0.72 ± 0.13 0.93 ± 0.18 0.92 ± 0.10 1.02 ± 0.14 0.89 ± 0.17 0.78 ± 0.21

6 0.98 ± 0.19 0.89 ± 0.18 0.75 ± 0.12 0.94 ± 0.16 0.98 ± 0.08 1.11 ± 0.11 0.95 ± 0.15 0.82 ± 0.19

7 0.78 ± 0.18 0.74 ± 0.17 0.65 ± 0.15 0.80 ± 0.20 0.89 ± 0.16 1.01 ± 0.21 0.96 ± 0.18 0.84 ± 0.21

เฉลย่ี 0.93 ± 0.22 0.86 ± 0.25 0.82 ± 0.20 0.96 ± 0.25 0.88 ± 0.14 0.97 ± 0.20 0.97 ± 0.20 0.81 ± 0.20

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 518 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ความสัมพันธ์ระหวา่ งความเข้มข้นของฝนุ่ ละอองภายนอกอาคารและปจั จัยทางอตุ นุ ิยมวิทยา
ผลการตรวจวดั ปัจจัยทางอุตนุ ิยมวทิ ยา พบว่า ในช่วงสภาพอากาศปกติและในช่วงหมอกควัน มีค่าเฉลี่ยอุณหภูมิ เท่ากับ

29.86 ± 2.90 และ 28.71 ± 2.23 °C ตามลาดับ มีค่าเฉล่ียความช้ืนสัมพัทธ์ เท่ากับ 68.52 ± 12.91 % และ 75.78 ± 11.07
ตามลาดบั มีค่าเฉลยี่ ปริมาณนา้ ฝน เทา่ กับ 0.15 ± 1.74 mm และไม่มีฝนตกในช่วงหมอกควัน มีค่าเฉลย่ี ความเรว็ ลม เทา่ กับ 0.92
± 0.64 และ 0.73 ± 0.44 m/s ตามลาดับ และมีค่าเฉลี่ยความกดอากาศ เท่ากับ 747.72 ± 1.01 และ 747.00 ± 1.08 mmHg
ตามลาดับ ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นฝุ่นละอองภายนอกอาคารและปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยาโดยใช้
Pearson correlation ปรากฏดังตารางท่ี 3 พบวา่ อณุ หภมู มิ ีความสมั พนั ธเ์ ชงิ บวกกบั ความเข้มขน้ ของ PM2.5 โดยอณุ หภมู ิอทิ ธพิ ล
ต่อการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ PM2.5 โดยอุณหภูมิเพ่ิมสูงข้ึนส่งผลต่อการเกิดอนุภาคทุติยภูมิจากปฏิกิริยาทางเคมี
(Photochemical process) ซึง่ ทาให้ฝนุ่ ละอองมปี ริมาณเพม่ิ มากขึน้ [17] และความเร็วลมมีความสัมพันธ์เชิงลบกับความเข้มข้น
ของ PM2.5 และ PM10 โดยความเรว็ ลมมอี ิทธิพลต่อการกระจายตัวในแนวราบและแนวด่ิงของฝุ่นละออง เม่ือความเร็วลมเพ่ิมมาก
ขึน้ สง่ ผลใหฝ้ ุ่นละอองลดลงเนือ่ งจากสามารถกระจายตวั ได้ดี [18] อยา่ งไรกต็ าม การศึกษาครั้งน้ีพบเพียงอุณหภูมิกับความเร็วลม
ทีม่ อี ิทธพิ ลต่อความเขม้ ข้นของฝนุ่ ละออง อีกท้ัง ยังพบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ในระดับต่า ดังน้ัน ปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยาท่ี
ศึกษาจงึ อาจไม่ไดม้ ีอิทธิมีผลต่อความเข้มข้นและการกระจายตัวของฝุ่นละอองเพียงอย่างเดียว ซ่ึงอาจได้รับอิทธิพลจากปัจจัยอื่น
รวมถงึ ปจั จยั ทางอตุ ุนิยมวทิ ยาอื่น ๆ ที่ไม่ได้ศึกษาในงานนี้ร่วมด้วย เช่น แหล่งกาเนิดของฝุ่นละอองบริเวณใกล้เคียง เสถียรสภาพ
ของอากาศ และการผกผันของอุณหภมู ิ

ตารางท่ี 3 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความเข้มขน้ ของฝุ่นละอองภายนอกอาคารและปัจจยั ทางอุตนุ ิยมวทิ ยา

ปจั จัย คา่ สมั ประสิทธสิ์ หสัมพนั ธ์ (r)

PM2.5 PM10

อณุ หภมู ิ 0.164* 0.092

ความชื้นสัมพทั ธ์ -0.086 -0.010

ปริมาณนา้ ฝน -0.088 -0.091

ความเร็วลม -0.165* -0.204*

ความกดอากาศ -0.070 -0.041

หมายเหต:ุ * มีความสัมพันธ์อยา่ งมนี ัยสาคญั ทร่ี ะดับความเชอื่ มั่น 99%

สรุป

จากผลการศกึ ษาระดบั ความเขม้ ข้นตามแนวตัง้ ของ PM2.5 และ PM10 ในรอบวัน พบวา่ ความเขม้ ขน้ เฉล่ียของฝุ่นละออง
ท้งั สองขนาดที่ความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร มีคา่ เฉลย่ี ไมแ่ ตกตา่ งกันมากนัก ทงั้ ในช่วงสภาพอากาศปกติและช่วงหมอกควัน เม่ือ
พิจารณาแนวโน้มของฝุ่นละอองทัง้ สองขนาดในรอบวันในช่วงสภาพอากาศปกติและชว่ งหมอกควนั พบวา่ ช่วงหมอกควันมีแนวโน้ม
ท่ีเปล่ียนแปลงไปจากช่วงสภาพอากาศปกติ จะเห็นไดว้ า่ สภาพอากาศทต่ี า่ งกันมอี ิทธิพลตอ่ การเปลีย่ นแปลงแนวโน้มในรอบวันของ
ฝุ่นละอองทั้งสองขนาด แต่ไม่มีอิทธิผลต่อความแตกต่างของค่าเฉล่ียฝุ่นละอองท้ังสองขนาดท่ีความสูง 4.5 และ 138.5 เมตร
สาหรบั ผลการศึกษาความเข้มขน้ ของฝุ่นละอองทั้งสองขนาดภายในอาคารและภายนอกอาคาร พบว่า ค่า I/O ratio มีค่าน้อยกว่า
1 ซึ่งบ่งชี้ได้วา่ ฝ่นุ ละอองภายในอาคารได้รับอิทธิผลจากฝุ่นละอองท่ีมีแหล่งกาเนิดจากภายนอกอาคารเป็นหลัก จากผลการศึกษา
จะเห็นได้ว่า ผู้ที่อยู่ช้ันบนของอาคารสูงมีแนวโน้มได้รับสัมผัสฝุ่นละอองเช่นเดียวกับผู้ท่ีอยู่ระดับล่าง ผลของการศึกษาครั้งน้ีจึง
สามารถนาไปเปน็ ขอ้ มลู พนื้ ฐานในการหามาตรการจัดการคุณภาพอากาศภายในอาคารสูง รวมถึงวางแผนในการป้องกันตัวเองใน
กรณีทค่ี ุณภาพอากาศภายนอกอาคารเกินค่ามาตรฐาน

กติ ติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณทุนอุดหนุนการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อเฉลิมฉลอง
วโรกาสท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมายุครบ 72 พรรษา และขอขอบหน่วยงานของพื้นท่ี
ศึกษาท่ีให้ความอนุเคราะหเ์ ข้าไปตดิ ตง้ั เครอ่ื งตรวจวัดสาหรบั งานวิจัยในคร้ังนี้

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 519 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

เอกสารอา้ งอิง

[1] United States Environmental Protection Agency. (1996). Air Quality Criteria for Particulate Matter.
Washington, DC: Office of Research and Development.

[2] United States Environmental Protection Agency. (2018). Environmental Topics [Online]. Available from:
https://www.epa.gov/environmental-topics [2020, April 4]

[3] กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม. (2561). สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทาง
อากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2560. กรุงเทพมหานคร: กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อม.

[4] กรมควบคมุ มลพษิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม. (2562). สรุปสถานการณ์มลพษิ ของประเทศไทย ปี 2561.
กรงุ เทพมหานคร: กรมควบคุมมลพษิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม.

[5] Thornburg, J., Ensor, D. S., Rodes, C. E., Lawless, P. A., Sparks, L. E., & Mosley, R. B. (2001). Penetration of
Particles into Buildings and Associated Physical Factors. Part I: Model Development and Computer
Simulations. Aerosol Science and Technology, 34(3), 284-296.

[6] Massey, D., Masih, J., Kulshrestha, A., Habil, M., & Taneja, A. (2009). Indoor/outdoor relationship of fine
particles less than 2.5µm (PM2.5) in residential homes locations in central Indian region. Building and
Environment, 44(10), 2037-2045.

[7] Shao, Z., Bi, J., Ma, Z., & Wang, J. (2017). Seasonal trends of indoor fine particulate matter and its
determinants in urban residences in Nanjing, China. Building and Environment, 125, 319-325.

[8] Zauli Sajani, S., Marchesi, S., Trentini, A., Bacco, D., Zigola, C., Rovelli, S., & Harrison, R. M. (2018). Vertical
variation of PM2.5 mass and chemical composition, particle size distribution, NO2, and BTEX at a high rise
building. Environ Pollut, 235, 339-349.

[9] Liu, F., Zheng, X., & Qian, H. (2018). Comparison of particle concentration vertical profiles between
downtown and urban forest park in Nanjing (China). Atmospheric Pollution Research, 9(5), 829-839.

[10] Chan, L. Y., & Kwok, W. S. (2000). Vertical dispersion of suspended particulates in urban area of Hong
Kong. Atmospheric Environment, 34(26), 4403-4412.

[11] Chan, C. Y., Xu, X. D., Li, Y. S., Wong, K. H., Ding, G. A., Chan, L. Y., & Cheng, X. H. (2005). Characteristics of
vertical profiles and sources of PM2.5, PM10 and carbonaceous species in Beijing. Atmospheric
Environment, 39(28), 5113-5124.

[12] กรมอุตุนิยมวิทยา. (2563). สรุปลักษณะอากาศรายเดือน [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: https://www.tmd.go.th/climate/ [20
เมษายน 2563]

[13] ศูนย์ฝนหลวงหัวหิน กรมฝนหลวงและการบินเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2563). ผลตรวจอากาศช้ันบน
[ออนไลน]์ . แหลง่ ทีม่ า: http://huahin.royalrain.go.th/ [26 เมษายน 2563]

[14] Deng, X., Li, F., Li, Y., Li, J., Huang, H., & Liu, X. (2015). Vertical distribution characteristics of PM in the
surface layer of Guangzhou. Particuology, 20, 3-9.

[15] Chuersuwan, N., Nimrat, S., Lekphet, S., & Kerdkumrai, T. (2008). Levels and major sources of PM2.5 and
PM10 in Bangkok Metropolitan Region. Environ Int, 34(5), 671-677.

[16] Xu, G., Jiao, L., Zhang, B., Zhao, S., Yuan, M., Gu, Y., & Tang, X. (2017). Spatial and Temporal Variability of
the PM2.5/PM10 Ratio in Wuhan, Central China. Aerosol and Air Quality Research, 17(3), 741-751.

[17] Li, X., Ma, Y., Wang, Y., Liu, N., & Hong, Y. (2017). Temporal and spatial analyses of particulate matter
(PM10 and PM2.5) and its relationship with meteorological parameters over an urban city in northeast
China. Atmospheric Research, 198, 185-193

[18] Li, X., Feng, Y. J., & Liang, H. Y. (2017). The Impact of Meteorological Factors on PM2.5 Variations in Hong
Kong. 8th International Conference on Environmental Science and Technology 78(1).

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 520 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

091

ประสทิ ธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของการจดั การน้าเสยี จากโรงงาน
อุตสาหกรรมในพนื ทอ่ี ตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ จังหวดั ระยอง

Eco-efficiency of Industrial Wastewater Management in
Ecoindustrial Town Rayong Province

อนิรทุ ธ์ โพธหิ ลา้ 1 โกวทิ สุวรรณหงษ2์ นันท์นภัสร อินยม้ิ 3 และ เสรยี ์ ตูป้ ระกาย 4
Anirut Potilar1 Kowit Suwannahong2 Nannapasorn Inyim3 and Seree Tuprakay4
1นสิ ติ บัณฑติ ศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมการตรวจสอบและกฎหมายวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลยั รามคาแหง หัวหมาก กรงุ เทพมหานคร 102402ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พาชลบรุ ี
201313 ผ้ชู ่วยศาสตราจารย4์ รองศาสตราจารย์คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง หัวหมาก กรงุ เทพมหานคร 10240

*โทรศัพท์ : 089244 6393 E-mail : [email protected]

บทคัดยอ่

นา้ เสยี เป็นปญั หาหลกั ในพนื้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศนจ์ งั หวดั ระยอง วัตถุประสงค์ในการศึกษาการบริหารจัดการน้าของ
โรงงานอุตสาหกรรมจาพวกที่ 3 ท่ีตั้งอยู่นอกนิคมอุตสาหกรรมในพ้ืนที่เขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง โดยใช้แบบสารวจมลพิษ
ทางน้าของกรมโรงงานอุตสาหกรรมเป็นเครอื่ งมอื การบรหิ ารจัดการน้าของโรงงานทม่ี ีการระบายน้าเสยี เกนิ 100 ลูกบาศก์เมตรต่อ
วัน จานวน 6 โรงงาน เพื่อศึกษาประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจโดยพิจารณาบีโอดี (BOD Loading) ต่อค่าไฟฟ้าที่ใช้ในการบาบัด
พบว่า โรงงานลาดับที่ 9(2) มีค่าการบาบัดบีโอดี(BOD removed) สูงสุดเมื่อเทียบกับหน่วยไฟฟ้าท่ีใช้ขณะที่โรงงานลาดับที่ 89 มี
ประสิทธิภาพในการบาบัดบีโอดี (BOD removed) น้อยสุดเน่ืองจากมีการใช้หน่วยไฟฟ้าสูงสุด และคุณภาพน้าท่ีระบายออกมี
มาตรฐานเปน็ ไปตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง กาหนดมาตรฐานควบคมุ การระบายนา้ ท้ิงจากโรงงาน พ.ศ. 2560

คา้ ส้าคญั : น้าเสยี ; เมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ; ประสทิ ธภิ าพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ; ระยอง

Abstract

Wastewater is major problem in ECO industrial town are Rayong province, which having the objective
to study the water management of the category 3 factories that are located outside the industrial estates in
the pollution control area in Rayong province. By using the water pollution survey from the Department of
Industrial Works as a research tool the eco-efficiency of water management of 6 factories with waste water
drainage exceeding 100 cubic meters per day was studied. The results by considering the BOD loading on the
electricity cost for wastewater treatment, we found that the No. 9 (2) factory had the highest BOD removed
treatment value compared to the electricity units used, while the No. 89 factory had the least BOD removed
treatment efficiency due to use the most of electricity units and the quality of the water drained that
accorded with the Notification of the Ministry of Industry regarding the standard of the factory effluent
control in 2017.

Keywords : Wastewater; ECO industrial town; eco-efficiency; Rayong

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 521 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

บทนา้

ภาคอุตสาหกรรม เป็นปัจจัยสาคญั ทส่ี ่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โรงงานอุตสาหกรรมมีการขยายตัวและมี
จานวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนด้ังเดิมที่มีอาชีพและวิถีชีวิตในภาคเกษตรกรรม ความต้องการการใช้
ทรพั ยากรธรรมชาติ ทั้งน้า ดิน และสภาพภูมิอากาศ เป็นปัญหาความขัดแย้งระหว่างชุมชนกับผู้ประกอบการอุตสาหกรรม มีการ
ต่อต้านการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมส่งผลใหเ้ กิดการชะลอตวั ของดา้ นเศรษฐกจิ และการลงทนุ ซ่ึงอาจมีผลกระทบต่อนโยบาย
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของรัฐบาล จากปัญหาดังกล่าวรัฐบาลโดยกระทรวงอุตสาหกรรมได้ประกาศกฎกระทรวงพ.ศ.2561
กาหนดพนื้ ท่เี มืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศเพอ่ื เปน็ เคร่ืองมอื หลกั ในการอยู่รว่ มกนั อยา่ งปกติสขุ ระหว่างชมุ ชนและอุตสาหกรรม โดยให้
ความสาคญั กบั การบรหิ ารจดั การการใชท้ รัพยากรอยา่ งคุม้ ค่า หมุนเวียนการใช้ของเสยี กลับมาเปน็ ทรพั ยากร และลดของเสยี โดยใช้
เทคโนโลยสี ะอาด สง่ เสริมการแลกเปลีย่ นข้อมลู ขา่ วสารและความรว่ มมือกันระหว่างโรงงาน ชมุ ชน และภาครัฐ กระทรวงอุตสาหกรรม
ได้ศึกษาและพัฒนารูปแบบของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจัดแบ่งคุณสมบัติพึงประสงค์ 5 มิติ 20 ด้าน 41ตัวช้ีวัด ซ่ึง
ตวั ช้วี ัดความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศโดยมอบหมายให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมจัดทาแผนแม่บทพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม
เชงิ นเิ วศและแผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับแผนแม่บทดังกล่าว ของ 15 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดระยอง สมุทรปราการ สมุทรสาคร
ฉะเชิงเทรา ปราจนี บรุ ี ปทุมธานี ชลบรุ ี นครปฐม สระบรุ ี พระนครศรีอยธุ ยา ราชบุรี สงขลา ขอนแก่น นครราชสีมา สรุ าษฎรธ์ านี

จังหวัดระยอง โดยคณะกรรมการพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศจังหวัดระยอง ไดม้ กี ารคัดเลอื กพนื้ ทใี่ นการดาเนินการ
2 พ้นื ท่ี ไดแ้ ก่

(1) พ้ืนทเ่ี ขตประกอบการอตุ สาหกรรมไออาร์พีซี คลอบคลุมพื้นที่ 4 ตาบล ได้แก่ ตาบลเชิงเนิน ตาบลตะพง ตาบลบ้าน
แลง ตาบลนาตาขวญั

(2) พืน้ ท่เี ขตควบคุมมลพิษ อยูใ่ นพื้นที่ 6 ตาบล ใน 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมือง ประกอบด้วย ตาบลมาบตาพุด ตาบล
ห้วยโป่ง ตาบลเนนิ พระ และ ตาบลทับมา อาเภอนิคมพัฒนา ประกอบดว้ ย ตาบลมาบข่า และอาเภอบ้านฉาง ประกอบด้วย ตาบลบ้าน
ฉาง ซงึ่ ในปี พ.ศ. 2562 จังหวัดระยองได้รับการประเมินให้เป็นเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศระดบั ท่ี 4 ทั้งสองพื้นทด่ี าเนนิ การ

โดยพื้นทีเ่ ขตควบคมุ มลพิษจาเปน็ ตอ้ งมีการจดั การน้าและน้าเสียซึ่งตัวชี้วัดน้ีเป็นความจาเป็นเร่งด่วนเนื่องจากยังไม่ผ่าน
เกณฑ์ในระดับเป็นท่ีพอใจและกาลังเป็นปัญหาสาคัญของการขาดแคลนน้าจึงทาให้เกิดความเครียดน้า (WATER SCARCITY) จึง
ต้องดาเนนิ การหาแนวทางแกไ้ ขให้มีคุณภาพนา้ ทดี่ แี ละปรมิ าณเพียงพอต่อการใช้นา้ ทั้งในภาครฐั และภาคเกษตรกรรม ในการศึกษา
วิจัยคร้ังน้ี จึงได้ประยุกต์ระบบบริหารการจัดการของโรงงานอุตสาหกรรมจาพวกท่ี 3 ของพ้ืนท่ีควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงงานอุตสาหกรรมจาพวกท่ี 3 ที่ตั้งอยู่นอกนิคมอุตสาหกรรมที่มีน้าทิ้งจากการประกอบกิจการและระบายออก
นอกบริเวณโรงงาน จากขอ้ มูลดังกลา่ วผวู้ ิจัยจงึ มคี วามสนใจ ในการทจ่ี ะสารวจข้อมูลการดาเนินการที่สอดคล้องกับเกณฑ์ตัวช้ีวัด
การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับท่ี 5 และประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ(Eco-Efficiency) ของการจัดการน้าเสียของ
โรงงาน จากการประกอบกจิ การโรงงานเกิน 100 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และระบายออกนอกบริเวณโรงงานในเขตควบคุมมลพิษจังหวัด
ระยอง

อุปกรณแ์ ละวิธีการ

การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณในการเก็บข้อมูลการจัดการน้าของโรงงานอุตสาหกรรมนอกนิคม
อุตสาหกรรมในพื้นที่ควบคุมมลพิษจังหวัดระยองท่ีมีน้าเสียจากขบวนการผลิตเพ่ือนามาหาประสิทธิภาพการบาบัดน้าเสียตาม
หลักของการประเมินประสทิ ธภิ าพเชิงนิเวศ (Eco-efficiency)[1] โดยมขี ัน้ ตอนการดาเนินการดงั น้ี

1.สารวจข้อมูลพ้ืนฐานในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยองและจานวนโรงงานท้ังหมดในพ้ืนที่ ด้วย
แบบสอบถามโดยชว่ งเวลาดาเนินงานวจิ ยั คือเดอื นมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562

2.วเิ คราะห์ประเภทการประกอบกจิ การและการเกดิ มลภาวะดา้ นน้าเสยี ของโรงงานอุตสาหกรรมจาพวกที่ 3 ท่ี
อยูน่ อกนิคมอตุ สาหกรรมท้งั หมดและ จดั กล่มุ มลพิษดา้ นน้าเสียทีเ่ กิดขึน้ เพ่ือใชใ้ นการเก็บข้อมลู ท่ีถกู ตอ้ งและมีความน่าเชอื่ ถอื

3.สัมภาษณ์เชิงลึกและเก็บข้อมูลด้านการบาบัดน้าเสียของโรงงานอุตสาหกรรมเป้าหมายที่มีน้าเสียเกิน
100ลกู บาศก์เมตรตอ่ วัน และระบายออกนอกบรเิ วณโรงงานโดยวเิ คราะหศ์ กั ยภาพการใช้น้าโรงงานงานอุตสาหกรรมและประเมิน
ประสทิ ธภิ าพเชิงนเิ วศ (Eco-Efficiency) ของการจัดการน้าของโรงงาน [2]

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 522 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

ในการศึกษาข้อมูลพื้นฐานในพ้ืนที่เขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยองและจานวนโรงงานทั้งหมดในพื้นที่โดยช่วงเวลา
มกราคมถงึ ธนั วาคม 2562 พบวา่ โรงงานในพน้ื ที่ควบคมุ มลพิษในการนคิ มอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทยและโรงงานนอกพ้ืนท่ีการ
นคิ มอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ซง่ึ มสี ดั ส่วนดงั รูปท่ี 1

ในพนื้ ท่ีนิคม
อตุ สาหกรรม

34%

นอกพนื้ ท่ีนิคม
อตุ สาหกรรม

66%

รปู ที่ 1 สดั ส่วนปริมาณโรงงานทังหมดในพนื ทเ่ี ขตควบคุมมลพิษจงั หวดั ระยอง

จะเหน็ ได้ว่าปริมาณโรงงานนอกการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยมีปริมาณมากกว่าในพ้ืนท่ีการนิคมอุตสาหกรรม
แห่งประเทศไทย ในทางกลับกันจานวนเงินลงทุนโรงงานพื้นที่การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยจะสูงกว่าและเป็นประเภท
กลุ่มโรงงานปิโตรเคมีซ่ึงเป็นโรงงานท่ีมีกระบวนการซับซ้อนและกาลังผลิตสูงโดยโรงงานนอก พ้ืนที่การนิคมอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทยเป็นโรงงานขนาดเลก็ และเป็นกลุม่ โลหะสาหรับการรองรับกลุ่มอุตสาหกรรมในพ้นื ท่กี ารนิคมอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศ
ไทย และมีความหนาแน่นของกลุ่มอุตสาหกรรมดังรูปท่ี 2 นอกจากนี้ผลการศึกษาการบริหารจัดการน้าใช้และน้าเสียในเขตพ้ืนท่ี
ควบคุมมลพษิ พบว่าโรงงานในพน้ื ทค่ี วบคมุ มลพษิ ทีม่ ปี รมิ าณการใชน้ ้าและการระบายน้าดงั รปู ท่ี 3

คดั แยกวสั ดทุ ี่ไมใ่ ช้ ผลติ ภณั ฑโ์ ลหะอยา่ ง
แลว้ ใดอยา่ งหนึ่ง
16% 27%

ซอ่ มแซมรถยนต์ ผลติ เครอ่ื งมือ
18% เครอื่ งใชจ้ ากเหลก็
ผลติ ภณั ฑ์
พลาสติก 21%

18%

รูปท่ี 2 ประเภทอตุ สาหกรรมทม่ี ีความหนาแนน่ 5 อันดับแรก

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 523 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ปริมาณการใชน้ า้ และการระบายนา้ ของนิคมอุตสาหกรรม

ป ิรมาณน้า m3/day 250,000 นิคมอตุ สาหกรรม
200,000 มาบตาพดุ และ
150,000 นิคมอตุ สาหกรรม นิคมอตุ สาหกรรม นิคมอตุ สาหกรรม นิคมอตุ สาหกรรม
100,000 เหมราชตะวนั ออก เอเชีย ไออารแ์ อล
ผาแดง
50,000 100,000 39,000 33,000
0 220,000 70,000 12,000 1,600

ปริมาณนา้ ใช้ (m3/day) 55,000
ปริมาณนา้ ท่ีระบายออก (m3/day)

รปู ที่ 3 ปรมิ าณการใช้นา้ และการระบายน้าของนคิ มอตุ สาหกรรม

ซึ่งข้อมูลในพื้นที่ควบคุมมลพิษจังหวัดระยองมีโรงงานอุตสาหกรรมจาพวกท่ี 3 ที่ต้ังอยู่นอกนิคมอุตสาหกรรมจานวน
393 โรงงาน เป็นโรงงานทม่ี นี า้ เสยี จากขบวนการผลิตจานวน 15 โรงงาน และมีอัตราการระบายน้าเสยี ออกนอกบริเวณโรงงานเกิน
100 ลูกบาศก์เมตรต่อวันจานวน 6 โรงงาน ดงั รปู ที่ 4

และจากการสารวจปริมาณน้าเสียรวมของโรงงานที่มีอัตราการระบายออกนอกโรงงานจานวน 15 โรงงาน มีปริมาณ
น้าเสียรวม 9,182.28 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน โดยร้อยละ 97.76 เป็นปริมาณการระบายน้าออกนอกบริเวณโรงงานของโรงงานท่ีมี
นา้ เสยี เกิน100 ลกู บาศก์เมตรตอ่ วนั จานวน 6 โรงงาน เน่อื งจากมีอัตราการระบายออกรวมท้ังส้ิน 8,977.23 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
ดงั รปู ท่ี 5

โรงงานอุตสาหกรรมจาพวกที่ 3 ต้ังอยู่นอกเขตนิคม
อุตสาหกรรมในเขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยองจานวน
393 โรงงาน

มีน้าเสียจากขบวนการผลติ จานวน ไม่มีนา้ เสยี จากขบวนการผลติ จานวน358
35 โรงงาน โรงงาน

ระบายน้าเสยี ออกนอกบรเิ วณ ไมม่ กี ารระบายนา้ เสยี ออกนอกบรเิ วณ
โรงงานจานวน 15 โรงงาน โรงงานจานวน 20โรงงาน

มอี ตั ราการระบายนา้ อตั ราการระบายนา้ เสยี
เสียออกนอกบรเิ วณ ออกนอกบรเิ วณโรงงาน
โรงงานเกนิ 100 น้อยกว่า 100 ลกู บาศก์
ลูกบาศก์เมตรตอ่ วนั
เมตร/วนั จานวน 9
จานวน 6 โรงงาน
โรงงาน

รูปท่ี 4 โรงงานอุตสาหกรรมจา้ พวกท่ี 3 ทีต่ งั อยนู่ อกนิคมอุตสาหกรรมระบายออกนอกบริเวณโรงงาน

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 524 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

205.05 ม3/วนั (9 โรงงาน< 100 ม3/วัน

97.76 %
8977.23 ม3/วัน ( 6 โรงงาน>100 ม3/วนั

รวม 9,182.28 ลบม./วนั

รปู ท่ี 5 อตั ราน้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมจา้ พวกที่ 3 ท่ตี ังอยูน่ อกนิคมอุตสาหกรรมระบายออกนอกบริเวณโรงงาน
จากข้อมูลการสารวจโรงงานอุตสาหกรรมจาพวกท่ี 3 ท่ีมีการระบายน้าเสียออกนอกบริเวณโรงงานเกิน 100

ลูกบาศก์เมตรต่อวันในพ้ืนที่ควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง ประกอบด้วย ประเภทอุตสาหกรรมลาดับท่ี 22(3) จานวน 2 โรงงาน,
ลาดับที่ 89 จานวน 1 โรงงาน, ลาดับที่ 88 จานวน 1 โรงงาน, ลาดับท่ี 9(2) จานวน 1 โรงงาน และลาดับที่ 53(5) จานวน 1
โรงงาน และพบว่ามี 3 โรงงานที่ไม่มีการนาน้าเสียท่ีผ่านการบาบัดแล้วกลับมาใช้ใหม่ คือ โรงงานประเภทอุตสาหกรรมลาดับที่
22(3) และโรงงานลาดับที่ 88 สาหรับโรงงานท่ีมีการนาน้าที่ผ่านการบาบัดแล้วกลับมาใช้ใหม่ ได้แก่ ประเภทโรงงานลาดับที่ 53(5)
ประเภทโรงงานลาดบั ท่ี 89 ประเภทโรงงานลาดับท่ี 9(2) โดยนากลับไปใช้ในการรดต้นไม้ สนามหญ้า และพื้นท่ีสีเขียวของโรงงาน
เป็นตน้

ซึ่งภาพรวมจากการสารวจโรงงานในและนอกพืน้ ทน่ี คิ มอุตสาหกรรมจะพบว่ามีปรมิ าณการใช้น้าดังรูปท่ี 6 และ
การนานา้ กลับมาใชใ้ หม่ดังรูปท่ี 7 ตามลาดบั

รปู ที่ 6 ปรมิ าณการใชน้ ้า รปู ท่ี 7 ปริมาณการนา้ นา้ กลับมาใช้ใหม่

นอกจากน้ผี ลการวิเคราะห์ปรมิ าณนา้ เขา้ ระบบบาบัดนา้ เสยี และการปลอ่ ยนอกโรงงานในพน้ื ท่ีซงึ่ พบข้อมูลดงั รูปที่ 8 โดย
คุณภาพน้าเสียที่ระบายออกนอกบริเวณโรงงานเป็นไปตามมาตรฐานและสามารถนาไปใช้ในภาคเกษตรกรรมได้ [3] ซ่ึงคุณภาพ
นา้ เสียทีร่ ะบายออกนอกบริเวณโรงงานพบขอ้ มลู ดังตารางท่ี 1และรปู ท่ี 9 โดยเปน็ การเปรียบเทียบคุณภาพน้าเสียที่ผ่านการบาบัด
ที่ปล่อยสู่สาธารณะ ผลที่ได้คุณภาพน้าไม่ใกล้เคียงกันและเป็นไปตามมาตรฐานสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพจากแหล่งน้าจาก
แหลง่ กาเนิดทแี่ นน่ อนและไมแ่ น่นอน

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 525 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

รูปที่ 8 ปริมาณน้าเขา้ ระบบบ้าบดั นา้ เสียและการปลอ่ ยนอกโรงงานในพืนที่

ตารางท่ี 1 คณุ ภาพน้าเสยี BOD (mg/L) ท่รี ะบายออกนอกบรเิ วณโรงงาน

โรงงานล้าดับ นา้ เสียเขา้ ในระบบBOD น้าเสียปล่อยออกจากระบบ มาตรฐานทกี่ ฎหมายก้าหนด

(mg/L) BOD (mg/L) 20 (mg/L)
20 (mg/L)
22(3) 170 10 20 (mg/L)
20 (mg/L)
22(2) 410 8 20 (mg/L)
20 (mg/L)
89 287 4

88 2 2

53(5) 3865 6

9(2) 8280 2

BOD (mg/l) 8 7.67
6

รปู ที่ 9 คุณภาพน้าเสยี ที่ผ่านการบา้ บัดเปรยี บเทียบกบั คลองสาธารณะ

เมื่อทาการวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงนิเวศ และคุณภาพน้าที่ระบาย พบว่า คุณภาพน้าเสียที่ระบายออกนอกบริเวณ
โรงงานของโรงงานอุตสาหกรรมทัง้ 6 โรงงาน มคี ่าเปน็ ไปตามมาตรฐานตามประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เรอ่ื ง กาหนดมาตรฐาน
ควบคุมการระบายน้าท้งิ จากโรงงาน พ.ศ. 2560 และเมือ่ นาค่าการบาบัดบโี อดี (BOD removed) ต่อหน่วยไฟฟ้าที่ใช้ในการบาบัด
รวมท้ังความสามารถในการบาบัดนา้ เสยี

ซึ่งในการศกึ ษาประสทิ ธิภาพเชงิ นเิ วศเศรษฐกจิ โดยพิจารณาภาระบรรทุกบีโอดี (BOD Loading) ต่อค่าไฟฟ้าท่ีใช้ในการ
บาบัด [4] พบว่า โรงงานลาดับท่ี 9(2) มีค่าการบาบัดบีโอดี(BOD removed) สูงสุดเม่ือเทียบกับหน่วยไฟฟ้าที่ใช้ขณะท่ีโรงงาน
ลาดับท่ี 89 มีประสทิ ธิภาพในการบาบัดบีโอดี (BOD removed) น้อยสุดเนื่องจากมีการใช้หน่วยไฟฟ้าสูงสุด ในขณะเดียวกันเม่ือ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 526 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

หาประสิทธิภาพการบาบัดต่อภาระบรรทุกบีโอดี(BOD Loading) ต่อค่าไฟฟ้า พบว่า โรงงานลาดับท่ี 9(2) มีประสิทธิภาพสูงสุด
เนื่องจากค่าบีโอดีก่อนเข้าระบบมีค่าสูงสุด แต่ค่าไฟฟ้าท่ีใช้ในการบาบัดน้อย และโรงงานลาดับท่ี 89 มีประสิทธิภาพน้อยท่ีสุด
เน่ืองจากค่าไฟฟ้าบาบัดสูง ทั้งนี้โรงงานลาดับที่ 88เป็นโรงงานผลิตไฟฟ้า ดังนั้น ค่าใช้จ่ายจึงไม่มีผลต่อ การบาบัดน้าเสีย
ดงั รูปท่ี 10 และ 11ตามลาดบั

Kw/Unit BOD removed 9.00E+03 600 BOD REMOVE
8.00E+03 500
7.00E+03 400
6.00E+03 300
5.00E+03 200
4.00E+03 100
3.00E+03 0
2.00E+03
1.00E+03
0.00E+00

รง.3-22(3) รง.3-89-1 รง.3-22(2)-1 รง.3-9(2)-1 รง.3-53(5)-1 รง.3-88-66

BOD REMOVE Kw/Unit BOD removed

รปู ที่ 10 ประสิทธิภาพเชิงนเิ วศเศรษฐกจิ การจัดการนา้ เสีย

BOD Loading 3.00E+07 2.00E+05 Electrical cost (Unit/month)
2.50E+07 1.80E+05
2.00E+07 1.60E+05
1.50E+07 1.40E+05
1.00E+07 1.20E+05
5.00E+06 1.00E+05
0.00E+00 8.00E+04
6.00E+04
4.00E+04
2.00E+04
0.00E+00

รง.3-22(3) รง.3-89-1 รง.3-22(2)-1 รง.3-9(2)-1 รง.3-53(5)-1 รง.3-88-66
BOD Loading
Electrical cost

รปู ท่ี 11 การบา้ บดั ภาระบีโอดี (BOD Loading) ตอ่ อัตรา คา่ ไฟฟ้า

สรปุ

จากการศกึ ษาโรงงานอตุ สาหกรรมจาพวกท่ี 3 ท่ีอยู่นอกนคิ มอุตสาหกรรมในพ้ืนท่จี ังหวัดระยองมีจานวน 393 โรงงาน และ
มีน้าทิ้งจากการประกอบกิจการโรงงาน 35 โรงงาน จัดเก็บน้าเสียไว้ในบริเวณโรงงาน 20 โรงงาน และระบายน้าทิ้งออกนอกบริเวณ
โรงงาน 15 โรงงาน โดยมีโรงงานลาดับท่ี 3-22(3),3-22(2),3-89-1,.3-9(2),3-88-66 และ3-53(5) ที่มีการระบายน้ารวมกัน 8,977.23
ลกู บาศกเ์ มตรต่อวัน ซ่งึ มปี ริมาณนา้ เสียสว่ นมากโรงงาน ท่ีระบายออกนอกบริเวณโรงงาน คุณภาพน้าเสียที่ระบายออกนอกบริเวณ
โรงงานของโรงงานท้ัง 6 ลาดับท่ีมีการระบายน้าเสียเกิน 100 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และ น้าเสียท่ีระบายออกมีค่าเป็นไปตาม

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 527 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

มาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่อื ง กาหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าท้ิงจากโรงงาน พ.ศ. 2560 และคุณภาพน้า
เสยี ทร่ี ะบายออกนอกบรเิ วณโรงงานของโรงงานประเภทอุตสาหกรรมลาดบั ท่ี 9(2)[5]

โดยสามารถที่จะนาไปใชป้ ระโยชน์ในภาคเกษตรกรรมได้ หากมกี ารรอ้ งขอหรือมกี ลมุ่ เกษตรเป้าหมายท่ตี อ้ งการใช้ และเปน็
ประเภทโรงงานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการพิจารณาเห็นชอบให้มีการนาน้าทิ้ง
ของโรงงานมาใชป้ ระโยชนใ์ นพ้นื ท่ีเกษตรกรรมเป็นการช่วั คราวในช่วงภยั แล้งในปี พ.ศ. 2563[6] ทง้ั น้ี โรงงานท่มี กี ารระบายน้าเสีย
ออกนอกบริเวณโรงงานเกิน 100 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน สามารถเป็นตัวแทนของการจัดการด้านน้าเสีย การนาตัวชี้วัดของเกณฑ์
ประเมินเป็นเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศของโรงงานนอกนคิ มอุตสาหกรรม พน้ื ท่ีควบคุมมลพิษจังหวดั ระยอง

กติ ตกิ รรมประกาศ

คณะผวู้ ิจยั ขอขอบพระคณุ เจา้ หน้าทแี่ ละบุคลากรในพื้นท่ีอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จังหวัดระยองที่อนุเคราะห์และอานวย
ความสะดวกเพ่ือ ให้งานวิจัยฉบับน้ีสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ทางคณะผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อ
ผ้สู นใจศกึ ษา

เอกสารอ้างอิง

[1] เกณฑ์และตวั ชี้วัดการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศฉบับปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2562, กองพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศกรม
โรงงานอุตสาหกรรม

[2] Industrial Environment Institute, The Federation of Thai Industries. “Eco-Efficiency”, Available :http :
www.ici.or.th/media/www/lite/435/90739611378872566.pdf 30 June 2017

[3] D.Mayime, M. Marcotte and Y.Are “Development of Eco-Efficiency Indicators for The conadian Food
and Belerage Industry”, Journal of Clener Production 14, 2006, PP.636-648

[4] Xinyue Zhao , Chaofan Zhang and Shunwen Bai , Eco-Efficiency of End-of-Pie Systems: An Extended
Environmental Cost Efficiency Framework for Wastewater Treatment, MDPI

[5] ประกาศกระทรวง เรอ่ื ง กาหนดมาตรฐานควบคมุ การระบายนา้ ทิง้ จากโรงงาน พ.ศ. 2560
[6] ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง หลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงื่อนไขการพจิ ารณาเห็นชอบให้มีการนาน้าทิ้งของโรงงานไป

ใช้ประโยชน์ในพื้นท่ีเกษตรเปน็ การชว่ั คราวในชว่ งภัยแลง้ ในปี พ.ศ. 2563

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 528 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

092

แนวทางการดาเนนิ งานขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ
ในการบริหารจัดการโครงสรา้ งพ้นื ฐาน

ในพ้นื ที่อุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ จังหวัดชลบรุ ี
Operational Guidelines for Infrastructure Mangement of
Local Government Organization in Chonburi Province

Eco industrial Town

ดวงจนั ทร์ อุ่นชาติ1,โกวทิ สุวรรณหงษ2์ นันทน์ ภัสร อนิ ย้ิม3 และ เสรยี ์ ตู้ประกาย4
Doungchan Aunchat1 Kowit Suwannahong 2Nannapasorn Inyim3 and Seree Tuprakay4

1นสิ ติ บณั ฑิตศกึ ษา ภาควิชาวิศวกรรมการตรวจสอบและกฎหมายวศิ วกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลยั รามคาแหง หัวหมาก กรงุ เทพฯ 10240 ; 2ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ชลบรุ ี

20131 ; 3ผชู้ ่วยศาสตราจารย4์ รองศาสตราจารยค์ ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง กรุงเทพฯ 10240
*โทรศัพท์ : 081716 7020 E-mail : [email protected]

บทคัดย่อ

การศึกษาในครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ลักษณะทางกายภาพในพื้นที่การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco
Industrial Town ) ของจังหวัดชลบุรี เพ่ือประเมินศักยภาพของระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการและหาแนวทางการบริหาร
จดั การขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ในพนื้ ท่ีอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศของจังหวัดชลบรุ ี เนื่องจากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม
เกิดข้ึนอยา่ งรวดเรว็ ทาใหป้ ระสบปัญหาการบรหิ ารจัดการส่งิ แวดลอ้ มและอาชีวอนามัย

จากการสารวจข้อมูลเก่ียวกับระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการที่ในพ้ืนท่ีโครงการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดชลบุรี
และสารวจความเพยี งพอตอ่ การรองรับการเปน็ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศในอนาคต พบว่า การสาธารณปู โภคสาธารณปู การไมเ่ พียงพอ
ต่อการรองรับประชาชนท่ีเพิ่มมากข้ึน โดยเมื่อมีประชากรท่ีเพ่ิมมากขึ้น ระบบสาธารณูปโภคต้องเพ่ิมตามขนาดของประชากรเช่น ด้าน
การจดั การขยะ ดา้ นการประปา ดา้ นการระบายนา้ จงึ ได้หาแนวทางแกไ้ ขการจดั การ การสาธารณปู โภคสาธารณปู การในดา้ นท่ีไม่
เพยี งพอเพือ่ สนับสนุนและเปน็ แนวทางให้องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ท่รี ับผดิ ชอบใชด้ าเนนิ การและใช้สาหรับยกระดับการเป็นเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุง่ สูใ่ นระดับทีด่ ีต่อไป

คาสาคญั : เมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ; จงั หวดั ชลบุร;ี สาธารณูปโภคสาธารณูปการ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 529 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

Abstract

The rapid growth in the industrial sector has resulted in problems of environmental and occupational
health management. The research objective of the study of the Eco Industrial Town in Chonburi Province was
to study physical characteristics, to assess the potential of infrastructure and to sort out the management
role for the Local government organization.

From a survey of infrastructure data of the Eco Industrial Town in Chonburi Province, according to the
criteria on indicator of having a map showing infrastructure and facilities and surveying the sufficiency to
support the ecological industry in the future. The survey shows that the infrastructure is not adequate to
support the increasing population. Infrastructure such as Waste management, Water supply and Drainage
must increase according to population size. Therefore, find solutions to management infrastructure
inadequate to support and provide guidance for local administrative organizations which responsible for
operation and use to upgrade the Eco Industrial Town in Chonburi Province for moving forward to the next
higher level.

Keywords : Eco Industrial Town; Chonburi Province; infrastructure

บทนา

จังหวัดชลบุรีเป็นพื้นที่ภาคอุตสาหกรรม ที่ขยายตัวในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EASTERN ECONOMIC
CORRIDOOR)การพฒั นาภาคอตุ สาหกรรมในพืน้ ทีช่ ลบุรเี กดิ ขึน้ อย่างรวดเรว็ ทาใหป้ ระสบปญั หาการบริหารจัดการสง่ิ แวดล้อมและ
อาชวี อนามัย ซ่ึงปญั หาตา่ ง ๆ เหลา่ น้ีจาเปน็ ท่ีจะต้องดาเนินการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบเพื่อให้การพัฒนาในภาคอุตสาหกรรม
สงั คม และชุมชน อยูร่ ว่ มกันได้อยา่ งยงั่ ยืน

เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrail Town) เป็นเคร่ืองมือหน่ึงท่ีถูกคิดขึ้นมาเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมโดยให้มี
ความเชอื่ มโยงของโรงงานอตุ สาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม เขตประกอบการอุตสาหกรรม กับองค์กรหน่วยงาน
ท้องถ่ินและชุมชนโดยรอบ ใหเ้ จริญเตบิ โตไปดว้ ยกันภายใต้ การบริหารจัดการ การกากับดูแลสิ่งแวดล้อมท่ีดี การพัฒนาเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรมควบคู่กับเศรษฐกิจชุม และการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเก่ียวข้องในพื้นท่ี โดยกรมโรงงาน
อุตสาหกรรมและการนิคมอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย ได้วางกรอบแนวคิดไว้ไว้ 5 มิติ ได้แก่ มิติด้านกายภาพ มิติด้านเศรษฐกิจ
มิตดิ า้ นสงิ่ แวดล้อม มติ ดิ ้านสังคม และมิติดา้ นการบรหิ ารจัดการ [1] กาหนดตัวช้ีวัดเพ่ือพัฒนาไปสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 41
ตัวชีว้ ดั โดยสว่ นหนึง่ ใน41ตัวชีว้ ัดได้กลา่ วถึงการพัฒนาด้านโครงสร้างพ้ืนฐานสาหรับเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ท่ีองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น รับผิดชอบภารกิจในการกากับ ดูแลในพ้ืนที่ของตนเอง จึงจาเป็นที่จะต้องเข้าใจ ในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานใน
เมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศเพือ่ ให้ผ่านเกณฑต์ ัวชวี้ ัดที่เก่ยี วขอ้ ง [2]

อุปกรณแ์ ละวิธีการ

การศึกษาครัง้ นี้เป็นการวิจัยเอกสาร (Document Research) และการวิจัยเชิงสารวจ Survey research เพ่ือศึกษาแนว
ทางการจัดการสาธารณปู โภค สาธารณูปการขององคก์ ารปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินในพ้นื ทีอ่ ตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศจังหวดั ชลบรุ ี

1.ข้อมูลท่ีใช้ในการศึกษา คือ ข้อมูลพ้ืนฐานในเทศบาลแหลมฉบังและเทศบาลเจ้าพระยาสุรศักด์ิมนตรี ซึ่งได้แก่ ด้าน
ปริมาณ พ้ืนท่ี ประชากร โรงงานอตุ สาหกรรม การใช้ระบบโครงสร้างสาธารณปู โภค สาธารณูปการ

2.การสารวจในพื้นที่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดชลบุรี ด้วยแบบสอบถามข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมและข้อมูล
โครงสรา้ งพน้ื ฐานในพ้นื ท่ี

3.การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและการวิเคราะหข์ อ้ มูลดว้ ยสถิติเชิงพรรณา (Descriptive analysis) [3]

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 530 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

4.การประเมินผลความพอเพียงของระบบสาธารณปู โภคและสาธารณูปการโดยใช้มาตรฐานขององค์การปกครองส่วนท้องถ่ินซ่ึง
ใชก้ ารกาหนดเกณฑแ์ ต่ละระดบั แบบอิงเกณฑ์ (Criterion Reference) ใน5ระดับ โดยกาหนดเกณฑค์ ือ ใชช้ ่วงระดบั คะแนนเทา่ กัน
เปน็ คะแนนสูงสุด คือ 5 คะแนนซ่ึงเปน็ ไปตามมาตรฐานและคะแนนเพียงพอเทียบเทา่ รอ้ ยละ ซ่ึงมีระดบั ดงั น้ี

ระดบั คา่ คะแนน 100 คือ เพียงพอ
ระดับคา่ คะแนน 80-99 คอื "ไมเ่ พียงพอ" ระดับ 1
ระดบั คา่ คะแนน 70-79 คอื "ไม่เพยี งพอ" ระดบั 2
ระดบั คา่ คะแนน 60-69 คอื "ไมเ่ พียงพอ" ระดับ 3
ระดับคา่ คะแนน 0-59 คือ "ไม่เพยี งพอ" ระดบั 4

ตารางท่ี 1 มาตรฐานเก่ยี วกับสาธารณปู โภค สาธารณูปการ (Urban Utilities & Facilities) [4]

ประเภท มาตรฐาน หมายเหตุ

สาธารณูปโภค 300 ลติ ร/คน/วนั - รวมการใช้สาหรับพักอาศัย,
- นา้ ประปา 150 – 200 ลติ ร/คน/วนั พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม การ
80 - 120 ลติ ร/คน/วัน ดับเพลิง และการลา้ งถนน
เมืองขนาดใหญ่ 2 – 5 ไร/่ แหง่ - ปกติน้าเสียจะเท่ากับปริมาณน้า
เมอื งขนาดกลาง 200 ลิตร/คน/วัน ใช้ แต่ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของ
เมืองขนาดเลก็ 150 ลิตร/คน/วัน ปรมิ าณนา้ ใช้
- พ้ืนทโี่ รงงานประปา 85 ลิตร/คน/วนั - ข้ึนอยกู่ บั ขนาดของชุมชน
- นา้ ทิ้ง (นา้ เสีย) 2 ไร/่ 1,000 คน - ขน้ึ อยู่กับปริมาณสินค้า
เมอื งขนาดใหญ่ 1 กก./คน/วนั
เมืองขนาดกลาง 2.5 ไร่/1,000 คน
เมืองขนาดเล็ก 6.00 – 7.00 kw/คน/วนั
- พ้ืนท่สี ถานบี าบดั นา้ เสยี 1.00 – 2.00 kw/คน/วัน
- ขยะมลู ฝอย 5 คน/เคร่ือง
- พนื้ ทีก่ าจดั ขยะมลู ฝอย 2 – 10 ไร่
- การไฟฟ้า 2- 10 ไร่
นครหลวง
ภูมิภาค

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

จากผลการสารวจขอ้ มูลเกย่ี วกับระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการในพื้นที่โครงการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดชลบุรี
ได้แก่2 เทศบาลทอ่ี ยใู่ นพ้นื ท่ี คอื เทศบาลนครแหลมฉบงั และเทศบาลนครเจา้ พระสุรศกั ดิ์ พบข้อมลู ดงั น้ี

ข้อมูลทว่ั ไป

เทศบาลนครแหลมฉบัง เทศบาลนครเจา้ พระสรุ ศักด์ิ

พ้นื ท่ีประมาณ 109.65 ตารางกิโลเมตร พ้ืนท่ปี ระมาณ 276.98 ตารางกิโลเมตร

ประชากร 87,968 คน พนื้ ที่ 4 ตาบล ดังนี้ ประชากร 143,858 คน

1.ตาบลทุง่ สขุ ลา มี 12 หมบู่ า้ น อาเภอศรรี าชา ครอบคลุมพน้ื ที่ 5 ตาบล ดังนี้

2.ตาบลบงึ มี 4 หมบู่ า้ น 1.ตาบลบอ่ วิน มี 6 หมบู่ ้าน

3.ตาบลสรุ ศักด์ิ มี 2 หมู่บา้ น 2.ตาบลหนองขาม มี 7 หมูบ่ า้ น

4.ตาบลหนองขาม มี 1 หมู่บ้าน 3.ตาบลสุรศกั ดิ์ มี 10 หมบู่ ้าน

5. อาเภอบางละมุง ครอบคลุมพื้นท่ี1 ตาบล คือ ตาบลบางละมุง 4.ตาบลบึง มี 9 หมูบ่ า้ น

มี 5 หมู่บา้ น 5.ตาบลเขาคันทรง มี 7 หมูบ่ ้าน

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 531 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

เทศบาลนครแหลมฉบงั เทศบาลนครเจา้ พระสรุ ศกั ดิ์

ภาคอุตสาหกรรม ภาคอตุ สาหกรรม
โรงงานในนคิ มอตุ สาหกรรมจานวน 82 โรงงาน โรงงานในนคิ มอตุ สาหกรรมจานวน 150 โรงงาน
โรงงานนอกนคิ มอุตสาหกรรม 283 โรงงาน โรงงานนอกนิคมอุตสาหกรรม 241 โรงงาน

จากข้อมูลในพ้ืนที่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศชลบุรีพบว่ามีโรงงานอุตสาหกรรมนอกพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมจานวน 524
โรงงาน และโรงงานในนิคมอตุ สาหกรรมจานวน 232 โรงงานดงั รูปท1่ี

ในพนื้ ที่นิคม
อตุ สาหกรรม

34%

นอกพนื้ ท่ีนิคม
อตุ สาหกรรม

66%

รูปท่ี 1 สัดส่วนโรงงานในพ้นื ท่อี ุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศจงั หวัดชลบรุ ี

และจากการสารวจข้อมูลสาธารณูปโภคสาธารณูปการจะพบข้อมูลพ้ืนฐานในด้านต่างๆโดยแสดงได้ดังรูปที่ 2โดยมี
อตั ราสว่ นโรงงานตอ่ พื้นท่ี 1.96ตอ่ ตารางกิโลเมตร ซง่ึ จัดว่ามีความหนาแน่นของโรงงานต่อพ้ืนท่ีสูงทั้งนี้พ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรีเป็นพื้นที่
ทเ่ี หมาะแกก่ ารดาเนินกจิ กรรมภาคการผลิต ซ่ึงเปน็ พืน้ ท่ีติดทะเลง่ายตอ่ การขนส่งจึงทาให้มีการจัดต้ังโรงงานอุตสาหกรรมปริมาณ
มากโดยปรมิ าณโรงงานในจงั หวัดชลบุรีมปี ริมาณโรงงานสงู สุดในประเทศไทย

รปู ท่ี 2 แผนผังระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดชลบุรี

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 532 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563


Click to View FlipBook Version