The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Environment Engineering Association of Thailand, 2020-05-29 22:47:01

full papers proceeding NEC19

full papers proceeding NEC19

Keywords: NEC19

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

โครงสรา้ งพ้ืนฐาน เทศบาลนครแหลมฉบัง เทศบาลนครเจา้ พระสรุ ศกั ดิ์
1. ด้านการคมนาคม ถนน จานวน 80 สาย ถนนจานวน 1,321 สาย
ความยาวรวม 124,205 ม. ความยาวรวม 495,829.65 ม.

สะพาน จานวน 20 แห่ง สะพาน จานวน 5 แหง่
สะพานลอย จานวน 9 แหง่ สะพานลอย จานวน 4 แหง่

2. ดา้ นระบบไฟฟ้า มีการสร้างระบบไฟฟ้าย่อยในพน้ื ที่เทศบาลนครแหลมฉบงั โรงงาน

บริษัท สหโคเจน (ชลบรุ )ี มกี ารผลติ กระแสไฟฟ้า กาลงั การผลิต 42 เมกะวตั ต์

[1] ปริมาณการใชไ้ ฟฟ้ารวม 3,577,618,059.23 Kw

3. ดา้ นระบบระบายน้า สถิตกิ ารเกดิ อทุ กภยั ประจาปี 2562

- พื้นที่ หมทู่ ี่ 3 หมทู่ ี่ 4 หมทู่ ี่ 7 ต.บ่อวิน

พน้ื ท่ี หมู่ท่ี 4 หมทู่ ่ี 5 หมู่ที่ 8 หมู่ท่ี 9 หมู่ท่ี 10

4. ระบบบาบัดนา้ เสยี มีระบบบาบัดน้าเสียแบบบ่อเติมอากาศ (Aerated เทศบาลยังไมม่ รี ะบบบาบดั นา้ เสยี
Lagoon : AL) พื้นที่ 37 ไร่ บาบัดน้าเสียได้ 7,500 ลบ.
ม./วัน

5. ดา้ นแหลง่ นา้ การ ใช้บริการจาก การประปาส่วนภูมิภาค สาขาแหลมฉบัง ใช้บริการจาก การประปาส่วนภูมิภาค สาขา
ประปา
กาลังการผลิต 50,898 ลบ.ม./วนั แหลมฉบัง กาลังการผลิต 50,898 ลบ.ม./วนั
6. ด้านการฝั่งกลบขยะ
แหลง่ นา้ ที่ใช้ ซื้อจากบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้า แหล่งน้าท่ีใช้ซื้อจากบริษัท จัดการและพัฒนา

ภาคตะวนั ออก (EAST WATER) ทรพั ยากรนา้ ภาคตะวันออก (EAST WATER)

ไมม่ ีแหล่งนา้ สารอง ไมม่ ีแหลง่ น้าสารอง

ใช้บริการจาก การประปาส่วนภูมิภาค สาขา ศรี

ราชา กาลงั การผลติ 82,000 ลบ.ม./วัน

แหล่งน้าที่ใช้ซื้อจากบริษัท จัดการและพัฒนา

ทรพั ยากรนา้ ภาคตะวนั ออก (EAST WATER)

แหลง่ น้าสารอง อ่างเก็บน้าหนองคอ้

ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลนครแหลมฉบังมีพื้นท่ีทั้งหมด 238 ไร่และรองรับขยะของเทศบาลนคร

เจ้าพระยาสุรศักด์ิดว้ ย ซ่ึงปริมาณขยะมลู ฝอยรวมประมาณ 450 – 500 ตัน/วัน

จากขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการสารวจในชว่ งปีตลอดป2ี 562ไดผ้ ลวเิ คราะหค์ วามเพยี งพอของสาธารณูปโภคสาธารณปู การ ดงั น้ี

1.ด้านคมนาคม
ข้อมูลรายงานบัญชีถนนของท้ังสองเทศบาลเมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานนั้นถนนทุกสายได้มาตรฐานตามเกณฑ์ซ่ึง

ลาดับความเพยี งพอเป็นไปตามมาตรฐานในระดับคะแนน เท่ากบั 5

2. ด้านไฟฟา้
ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้ารวม3,577,618,059.23 Kw เม่ือเทียบกับกาลังการผลิต และพ้ืนท่ีที่ตั้งตามเกณฑ์มาตรฐาน

ต้องมอี ย่างนอ้ ย 1-2 ไร่ นน้ั มีความเพียงพอเป็นไปตามมาตรฐานในระดับคะแนนเท่ากับ 5ดังน้ันเมื่อเทียบการใช้ไฟฟ้ากับจานวน
ประชากรน้ัน มเี พยี งพอกบั การใช้งาน

3. ระบบระบายนา้
จากข้อมูลและสถิติไม่มีการบันทึกข้อมูลและตรวจสอบจากสถิติการเกิดอุทุกภัยปี 62 การระบายน้าน้ันไม่สามารถ

รองรบั นา้ หรอื ระบายนา้ ได้ทนั เนอื่ งจากทอ่ การระบายนา้ มีขนาดเลก็ โดยการติดตง้ั ทอ่ ระบายนา้ ของเทศบาลเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เมื่อ
และเมื่อนามาพจิ ารณาเทียบกับเกณฑ์ซงึ่ คา่ ตา่ กวา่ มาตรฐานซ่ึงมคี วามเพยี งพอเปน็ ไปตามมาตรฐานในระดับคะแนน 2

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 533 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

4.ระบบบาบดั น้าเสีย
ปริมาณนา้ เข้าระบบบาบดั น้าเสียและการปลอ่ ยนอกโรงงานในพ้นื ที่

เม่ือเทียบมาตรฐานเกี่ยวกับสาธารณูปโภค สาธารณูปการ เมืองขนาดใหญ่จะต้องมีปริมาณน้าเสียเทียบกับประชากร
เท่ากับ 150 ลติ ร/ คน / วัน จากการวิเคราะห์พบว่าปริมาณน้าเสียต่อประชากรต่ากว่ามาตรฐานโดยมีน้าเสีย800 ลิตร/ คน / วัน
ในการวิเคราะหก์ ารบาบดั น้นั ซงึ่ มีความเพยี งพอเปน็ ไปตามมาตรฐาน ในระดับคะแนน 1

5.การประปา

รูปท่ี 3 ปรมิ าณการใช้นา้
จากปริมาณความตอ้ งการน้าของจังหวัดชลบุรีรวมท้ังสิ้น = 133.01 ลิตร/คน/วันเทียบมาตรฐานเก่ียวกับสาธารณูปโภค
สาธารณปู การ เมืองขนาดใหญ่จะต้องมปี ริมาณความต้องการนา้ อยู่ระหว่าง 200 ลิตร/คน /วนั ดังน้นั ความต้องการน้า ณ ปัจจบุ ัน
ไมเ่ พยี งพอต่อความตอ้ งการระดับ 4

6.ขยะมลู ฝอย
ปริมาณมูลฝอยเฉลี่ยท่ีเกิดข้ึนในเขตเทศบาล ดังรูปที่ 4จากการวิเคราะห์ มาตรฐานเก่ียวกับสาธารณูปโภค

สาธารณูปการ เมืองขนาดใหญ่จะตอ้ งมีปรมิ าณขยะมลู ฝอยเทยี บกับประชากรเท่ากับ 1 กก./คน/วนั จากการคานวณพบว่าปี 2562
มคี า่ ดังกลา่ วเทา่ กับ 2.4 ซ่งึ มีความไม่เพียงพอเป็นไปตามมาตรฐาน ในระดับคะแนน 1

ป ิรมาณ ูมลฝอยเฉ ่ีลย ่ีทเ ิกดขึ้นในเขต 350 y = -1.5017x + 331.45
เทศบาล ( ัตน/ ัวน) R² = 0.5784
30y0= 0.7053x + 317.64
R² = 0.1652 y = 5.8878x + 242.1
R² = 0.6744
250

200

150 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ม.ค. 2561 2562 เชงิ เสน้ (2560) เชงิ เสน้ (2561) เชงิ เสน้ (2562)

2560

รูปท่ี 4ปรมิ าณมลู ฝอยเฉลีย่

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 534 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

เม่อื ทาการประเมินความเพยี งพอระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการทงั้ หมดพบข้อมลู ดงั รูปท5่ี เน่อื งจากจังหวัดชลบุรมี ี
อัตราการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ สงู

6. ดา้ นการฝ่ังกลบ 1. ดา้ นการคมนาคม 2. ดา้ นระบบไฟฟา้ มาตรฐานสาธารณปู โภค
ขยะ 5
4 3. ดา้ นระบบระบาย ศกั ยภาพสาธารณปู โภค
5. ดา้ นแหลง่ นา้ การ 3 นา้ สาธารณปู การ
ประปา 2
1
0

4. ระบบบาบดั นา้ เสยี

รูปที่ 5ขอ้ มลู สาธารณปู โภค

ดงั นั้น จึงมีแนวทางการดาเนนิ งานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในด้านโครงสร้างพื้นฐานในแตล่ ะด้านดงั น้ี

1.แนวทางการจดั การนา้ ประปา
1. ควรมกี ารจดั หาและบรหิ ารจัดการแหล่งน้าดิบ
1.1กระบวนการจัดหาแหล่งน้าดิบ (แหล่งน้าใหม่) เพ่ือเพิ่มปริมาณน้าดิบและจัดหาขนส่งน้าดิบใหม่ กรณีประสบ

ปญั หาภัยแล้งขาดแคลนน้า โดยการจดั ทาแผนงานโครงการพัฒนาแหล่งนา้ เพอ่ื เสนอของบประมาณมาแกไ้ ขปัญหา
1.2 การบรหิ ารจดั การแหลง่ นา้ ดบิ (แหลง่ น้าที่ใชอ้ ย)ู่ เป็นการจดั การ ดแู ล ปรับปรุง รกั ษา แหล่งน้าดิบท่ีใช้งานอยู่ให้

มปี ระสิทธิภาพ เพอ่ื ใหม้ ปี รมิ าณน้าดิบเพียงพอต่อการผลิตน้าประปาในทุกฤดูกาลอย่างยั่งยืน หรือทาให้เกิดปัญหาการขาดแคลน
นา้ นอ้ ยที่สุด

2. สารวจและปรบั ปรงุ แนวเสน้ ท่อท่ชี ารดุ และเสอื่ มสภาพ
3. จัดทาแผนงานโครงการขยายเขตการให้บริการในชุมชน เพ่ือเสนอของบประมาณมาดาเนินการ
4. หามาตรการการจัดการเรือ่ งนา้ สูญเสยี เพราะปญั หาน้าสญู เสียระหวา่ งให้บริการสะท้อนผลกาไรขาดทนุ โดยตรง

2.แนวทางการจัดการขยะมูลฝอย
1. อบรมใหค้ วามร้ใู นการจดั การขยะชมุ ชนแบบครบวงจรแก่ชมุ ชน โรงเรยี น
2. ส่งเสริมให้นามูลฝอยอนิ ทรยี ์มาใช้ประโยชนใ์ นโรงเรียนและชมุ ชน
3. ส่งเสริมกิจกรรมรณรงค์การลด คัดแยก และนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์โดยหลัก 3Rsในชุมชน หรือ

แหล่งกาเนิดมูลฝอยในพ้นื ท่ี เชน่ ชุมชน โรงเรียน สถานประกอบการ ฯลฯ
4. รณรงค์ลดการใช้ภาชนะโฟมและถุงพลาสติกใส่อาหาร พลาสติกบรรจุอาหารในโรงเรียน วัด โรงอาหารในสถาน

ประกอบการต่างๆ และสนบั สนุนใหใ้ ชภ้ าชนะท่ีทาจากกระดาษ หรือวสั ดุธรรมชาติ ทย่ี ่อยสลายง่าย
5. สารวจพนื้ ทใ่ี นเขตรับผดิ ชอบเพ่ือจดั ตงั้ ศูนยก์ าจดั ขยะมูลฝอยรองรบั สาหรบั ปริมาณขยะมูลฝอยที่มีแนวโนม้ สูงข้นึ ทุกปี
6. ปรบั ผวิ บรเิ วณศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลนครแหลมฉบัง เพอ่ื เพม่ิ จดุ พกั ขยะมลู ฝอยและไวใ้ ช้สาหรบั คดั แยก

ขยะมูลฝอยท่ีสามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดก้ อ่ นทาการฝังกลบ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 535 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

3. แนวทางการจดั การระบบบาบัดน้าเสยี
1. การขุดลอกรอ่ งน้าสาธารณะ
2. ตดิ ต้งั ถังกรองหรือถงั ดักไขมนั ในครัวเรือน
3. สรา้ งจุดลา้ งภาชนะรวมบรเิ วณตลาดน้าโดยติดตั้งบ่อดักไขมัน
4. ผลิตน้าหมักจลุ นิ ทรยี ์ (EM)
5. จดั เกบ็ ค่าธรรมเนียมรักษาความสะอาด
6. การมสี ว่ นรว่ มของภาคประชาชนในโครงการและกิจกรรมกาจัดนา้ เสีย
7. การประสานงานกบั หนว่ ยงานภายนอกเพอ่ื สนับสนุนในการจดั การนา้ เสีย
8. การรวมกลุ่มเยาวชน เพอ่ื สร้างจิตสานกึ ให้ดแู ลรักษาส่ิงแวดลอ้ ม

4.แนวทางการจดั การการระบายนา้
หนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ ท่ีรบั ผดิ ชอบต้องทางานแบบบรู ณาการ โดยการสารวจออกแบบทางระบายนา้ ใหเ้ ชือ่ มโยงตอ่ เนอ่ื งกนั

ผลสรปุ
จากการสารวจระบบสาธารณูปโภคได้รับการพัฒนาหรือยกระดับโดยการนาแนวความคิดการออกแบบเชิงนิเวศตาม

แนวทางของการพัฒนาอย่างยั่งยืน มาใช้ในการพัฒนาของพื้นทีท่ ่ีอยู่ในโครงการอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศตามเกณฑต์ ัวชี้วัดที่ 1.1.1 ว่า
ด้วยเร่ืองของการมแี ผนผังแสดงระบบสาธารณปู โภคและสาธารณปู การอย่างนอ้ ย 4 ระบบ[5] และจากการสารวจจานวนประชากร
กบั ระบบสาธารณปู โภคนน้ั พบว่า หากมปี ระชากรที่เพ่มิ มากขน้ึ ระบบสาธารณปู โภคตอ้ งเพ่มิ ตามขนาดของประชากรแตด่ ้วยพ้นื ทท่ี ่ี
จากัดอาจทาให้แออัดระบบสาธารณูปโภคจะไม่เพียงพอต่อการเพิ่มของประชากร เช่น ด้านการจัดการขยะ ด้านการระบายน้า
เปน็ ตน้

กติ ตกิ รรมประกาศ
คณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณเจ้าหน้าท่ีและบุคลากรในพ้ืนที่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดชลบุรีท่ีได้ให้ความอนุเค ราะห์

ข้อมูลและการอานวยความสะดวกในการศึกษาเพ่ือให้งานวิจัยฉบับน้ีสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีทางคณะผู้วิจัยหวังเป็นอย่างย่ิงว่า
งานวจิ ยั ฉบับนี้จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผสู้ นใจศกึ ษา

เอกสารอ้างองิ
[1] การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. คู่มือเกณฑ์การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับ Eco – Excellence

และ Eco - World Class
[2] กรมโรงงานอุตสาหกรรม. เกณฑ์และตัวช้ีวัดการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศฉบับปรับปรุง ปี พ.ศ. 2561กรุงเทพมหานคร:

2561
[3] United Nations publicationGuidelines for developingeco-efficient and socially inclusive infrastructure on

April 25-27,2020
[4] http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/ 2562/E/301/T_0001.PDF
[5] https://www.ieat.go.th/assets/uploads/attachment/file/20190613183226425795105.pdf

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 536 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

093

ปจั จยั ทีม่ ีผลกระทบต่อการบังคบั ใชก้ ฎหมายจราจรของประชาชน
ในเขตพื้นทบ่ี างกะปิ กรงุ เทพมหานคร

Affecting Factors on Traffic Law Enforcement of the
People in Bangkapi Area of Bangkok

ธนเดช คชทรพั ย์1* วรานนท์ คงสง2 เสรีย์ ตูป้ ระกาย3 และ บุญธรรม หาญพาณิชย์4
Tanadech Kotchasap1* Waranon Kongsong2 Seree Tuprakay3 and Boontham Harnphanich4
1*นักศึกษาคณะ วศิ วกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต(การตรวจสอบและกฎหมายวศิ วกรรม) มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง กรุงเทพฯ 10240

2ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ; 3รองศาสตราจารย์ ; 4อาจารย์พิเศษ คณะวศิ วกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง กรุงเทพฯ 10240

โทรศพั ท์ : 06-3894-9151, E-mail : [email protected]

บทคดั ย่อ

การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงสารวจมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการบังคับใช้กฎหมายจราจร
และ 2) เปรียบเทียบปจั จัยท่มี ีผลกระทบต่อการบังคบั ใช้กฎหมายจราจรของประชาชนในพน้ื ที่เขตบาง กะปิ กรุงเทพมหานคร โดย
ทาการส่มุ กลมุ่ ตวั อย่างแบบหลายขัน้ ตอน (Multistage Stage sampling) ไดข้ นาดกลุ่มตัวอย่างจานวน 382 คน เครื่องมือที่ใช้ใน
การวจิ ยั ไดแ้ ก่ 1)แบบสอบถามเกี่ยวกับขอ้ มลู ท่วั ไปเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check-list) จานวน 5 ขอ้ 2)แบบสอบถามปัจจัยท่ี
มผี ลกระทบต่อการบังคับใช้กฎหมายจราจรประกอบด้วย 3 ดา้ นดังน้ี (1)ดา้ นการกระทาผดิ กฎหมายจราจรทาง (2)ด้านการบังคับ
ใชก้ ฎหมาย (3)ด้านวิศวกรรมจราจรและส่ิงแวดลอ้ ม เปน็ แบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับจานวน30 ข้อสถติ ทิ ่ี
ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลได้แก่ รอ้ ยละ(Percentage)ค่าเฉล่ีย(Mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)การแจกแจง
ความถี่(Frequency) การทดสอบค่าที (t- test of dependent)ความแปรปรวนแบบทางเดียว(One –Way Analysis of
Variance : ANOVA) และ LSD (Least Square Difference) ผลการวจิ ัยมดี งั ต่อไปน้ี 1) ผลการศึกษาปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อการ
บงั คบั ใช้กฎหมายจราจรของประชาชน พบว่าโดยรวมอยใู่ นระดบั มาก (X =4.42) เมอื่ แยกเป็นรายด้านได้แก่ ดา้ นการกระทาผิดกฎ
จราจรทางบกมีค่าเฉลี่ยสูงสุดในระดับมาก (X=4.45) รองลงมาด้านวิศวกรรมและส่ิงแวดล้อมมีค่าเฉลี่ย ( X=4.38) และลาดับ
สดุ ท้ายด้านการบังคับใช้กฎหมายมคี ่าเฉล่ียในระดบั มาก (X=4.38) และ 2). ผลการเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการบังคับ
ใช้กฎหมายจราจรของประชาชนพบว่าปัจจัยด้านเพศ ด้านระดับการศึกษา และด้านประเภทยานพาหนะต่างกันมีความคิดเห็น
โดยรวมไม่แตกต่างกนั ส่วนปัจจัยดา้ นอายุ และอาชพี ตา่ งกัน มีความคิดเหน็ โดยรวมแตกตา่ งกนั ท่ีระดับนยั สาคญั ทางสถติ ิ 0.05

คาสาคัญ : ผลกระทบการใช้กฎหมายจราจร; การบังคับใช้กฎหมายจราจร; การสมุ่ กลมุ่ ตวั อย่างแบบหลายขน้ั ตอน;
การวเิ คราะหค์ วามแปรปรวน

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 537 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะ เทศ ไทย

 

Abstract

This research was a survey research aimed to: (1) Study factors impacting on the traffic law
enforcement of the people and (2) Comparing impacting factors towards the traffic law enforcement of the
people in Bangkapi area of Bangkok. The samples were evaluated using Multi-stage Stage Sampling, the
sample size thus was 382 people. The research tools were 1) general questionnaires with 5 items check-lists;
2) Questionnaires related with factors impacting on the traffic law enforcement consisted of 3 aspects as
following (1) violation of road traffic laws; (2) law enforcement; (3) traffic engineering and environment; with
five levels of 30 items of Rating Scale. The statistics used for data analysis were Percentage, Mean, Standard
Deviation, Frequency, T-Test of dependent, One-Way Analysis of Variance (ANOVA), and LSD (Least Square
Difference). The research results were as follows: 1) factors affecting on traffic law enforcement of the
People were mostly as high value with X =4.42, dividing into violation of road traffic laws (X=4.45), traffic
engineering and environment (X=4.42), and law enforcement (X=4.38); 2) comparison factors affecting the
traffic law enforcement of the people indicated that gender, education, and vehicle type factors were not
significant while age and occupation factors had statistically significant difference of the 0.05 level.

Keywords : Impact of using traffic law; Traffic law enforcement; Multiple stage sampling; ANOVA

บทนา

จากข้อมูลสถิตกิ ารประเมนิ สภาพจราจรท่ัวโลก ประจาปี 2560 โดย INRIX Global Traffic Scorecard บริษัทที่ทาการ
วดั ผลการจราจรในชว่ งเวลาเร่งดว่ นและชว่ งเวลาอ่ืนๆ ระบุวา่ กรงุ เทพมีการจราจรติดขดั มากท่ีสุดในโลก โดยเสียเวลาเฉล่ียราว 56
ช่วั โมงตอ่ ปี [1] การบงั คับใชก้ ฎหมายจราจรทางบก ได้มกี ารศึกษาสถานการณ์การจราจรของประเทศไทยในปัจจุบันซึ่งเป็นปัญหา
วิกฤตอย่างมากโดยเฉพาะในกรุงเทพมหานคร [2] นอกจากน้ีมีการศึกษาการใช้บังคับกฎหมายจราจรทางบก เร่ืองสถานการณ์
การจราจรของประเทศไทยในปัจจุบันซึ่งเป็นปัญหาวิกฤตอย่างมากโดยเฉพาะในกรุงเทพมหานคร และเมืองใหญ่ๆ เช่น เชียงใหม่
ขอนแก่น ชลบุรี รวมท้ังปริมณฑลรอบ ๆ เน่ืองจากเป็นศูนย์กลางความเจริญในทุก ๆ ด้าน เช่น การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม
การเมอื งการปกครอง กจิ การต่างประเทศ เปน็ ตน้ [3] ไดม้ กี ารศกึ ษาข้อมลู ว่าการขยายตัวของกรุงเทพมหานคร เป็นไปด้วยอัตรา
เพิม่ ขน้ึ อย่างรวดเร็วกว่าเมอื งอื่น ๆ ปญั หาสงั คมอีกประการหนงึ่ ที่ ก่อใหเ้ กิดความสูญเสียท้ังทางตรงและทางอ้อมในด้านเศรษฐกิจ
และงบประมาณด้านการลงทนุ รวมถงึ ความปลอดภยั ในชวี ติ ทรัพยส์ นิ ของประชาชน ปัญหาการจราจรดังกล่าวส่งผลให้เกิดปัญหา
ต่อผู้อื่น และเป็นสาเหตุสาคัญต่อการก่อให้เกิดปัญหาจราจรติดขัด และการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนที่ต้อง บาดเจ็บและสูญเสีย
และนับวันจะมีการสะสมปัญหามากขึ้นเรื่อย ๆ จึงจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้อง ดาเนินการแก้ไขอย่างจริงจัง และเร่งให้เกิดและเป็น
รปู ธรรมโดยเร็วท่ีสดุ ปัญหาการจราจรในเมืองใหญ่ของประเทศไทย เกิดจากปัญหาหลายประการ เช่น ปัญหาด้าน การไม่เคารพ
บทบัญญัติของกฎหมายจราจรอย่างเคร่งครัดจึงเกิดอุบัติขึ้นอย่างมากมาย ซึ่งส่วนหน่ึงมาจากกรณีท่ีผู้ขับรถไม่มีใบอนุญาตขับรถ
อาจจะมาจากหลายสาเหตุเช่นเป็นผู้ขาดคุณสมบัติหรือยังไม่มี คุณสมบัติในการขับรถแต่ก็ยัง ฝ่าฝืนขับรถเป็นการไม่เกรงกลัว
กฎหมายทาให้เกิดปัญหาด้านต่าง ๆ ตามมาอย่างหลายอย่าง ซ่ึงถือเป็นการทาผิดกฎหมายจราจรทั้งสิ้น นอกจากนั้นปัญหาการ
บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดของเจ้าพนักงานที่ปล่อยให้เกิดปัญหา โดยความหย่อนยานของเจ้าหน้าที่ เช่นการไม่สวมหมวก
นิรภัย การขับรถโดยไม่มีใบอนุญาตหรือมี อนุญาตแต่ไม่พกพา การไม่เคารพกฎจราจร เป็นต้น โดยเฉพาะปัญหาการฝ่าฝืน
กฎหมายจราจร การไมม่ วี นิ ัยในการขับขี่ การไม่รกู้ ฎหมายจราจรในการขับข่ีของผู้ขับขี่เป็นสาเหตุสาคัญท่ีก่อให้เกิดปัญหา จราจร
ข้ึนมากมาย [4] และมีการศึกษาด้านกลยุทธ์การดาเนินงาน การสื่อสารในการปฏิบัติตามกฎจราจรของผู้ขับขี่รถยนต์ในเขต
กรุงเทพมหานคร และประสิทธิผลการสื่อสารเพ่ือส่งเสริมการปฏิบัติตามกฎจราจร ของผู้ ขับข่ีรถยนต์ส่วนบุคคลในเขต
กรุงเทพมหานคร โดยแบ่งวิธีการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ ศึกษากลยุทธ์การดาเนินงานการส่ือสารในการปฏิบัติตามกฎ
จราจร และสว่ นที่สองคือ ศกึ ษาการเปิดรบั ขา่ วสาร ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตามกฎจราจรของผู้ขับข่ีรถยนต์ส่วนบุคคลใน
เขตกรุงเทพมหานคร จานวน 430 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ผลการศึกษาในส่วนกลยุทธ์การ
ดาเนินงานการสื่อสารในการปฏิบตั ิตามกฎจราจร พบวา่ การประชาสัมพันธข์ องโครงการรณรงค์เนน้ การใชส้ อื่ ท่หี ลากหลาย เพอ่ื ให้
กลุม่ เปา้ หมายเกิดการรับรู้และเกดิ การปฏิบัติตามกฎจราจร สาหรับผลการศึกษาในส่วนการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 538 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

การปฏิบตั ติ ามกฎจราจรของผู้ขับขร่ี ถยนต์ส่วนบุคคลในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการวจิ ัยพบว่า (1) การเปดิ รบั ขา่ วสารเกย่ี วกบั การ
ปฏบิ ัติตามกฎจราจรของผขู้ ับข่รี ถยนตส์ ว่ นบคุ คล ไมม่ ีความสมั พันธก์ ับความรู้เกย่ี วกับการปฏิบตั ติ ามกฎจราจรของผู้ขับขี่รถยนต์
ส่วนบุคคล (2) การเปดิ รบั ข่าวสารเกยี่ วกับการปฏิบัตติ ามกฎจราจรผู้ขบั ขร่ี ถยนต์ส่วนบุคคล ไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติเกี่ยวกับ
การปฏิบัติตามกฎจราจรของผู้ขับข่ีรถยนต์ส่วนบุคคล (3) การเปิดรับข่าวสารเก่ียวกับการปฏิบัติตามกฎจราจรของผู้ขับขี่รถยนต์
ส่วนบุคคล มีความสัมพนั ธ์เชงิ บวกกับการปฏิบัติตามกฎจราจรของผู้ขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคล (4) ความรู้เก่ียวกับการปฏิบัติตามกฎ
จราจรของผู้ขับขรี่ ถยนต์ส่วนบคุ คล มคี วามสมั พันธเ์ ชงิ ลบกบั ทัศนคตเิ กี่ยวกับการปฏบิ ัตติ ามกฎจราจรของผูข้ ับขี่รถยนต์ส่วนบุคคล
5. ความรูเ้ ก่ียวกับการปฏิบัติตามกฎจราจรของผู้ขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคล ไม่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติตามกฎจราจรของผู้ขับข่ี
รถยนต์สว่ นบคุ คล 6. ทศั นคติเกีย่ วกับการปฏบิ ตั ติ ามกฎจราจรของผู้ขับข่ีรถยนต์ส่วนบุคคล มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการปฏิบัติ
ตามกฎจราจรของผ้ขู บั ขีร่ ถยนต์สว่ นบคุ คล [5] จากปัญหาทีก่ ล่าวมาแล้วน้ีผวู้ จิ ัยไดม้ ีความสนใจจะศกึ ษาปจั จัยทม่ี ผี ลกระทบตอ่ การ
บงั คับใชก้ ฎหมายจราจรของประชาชน ในเขตพนื้ ทบ่ี างกะปิ กรุงเทพมหานคร เนอ่ื งจากเปน็ พน้ื ทที่ ่มี ีความหนาแนน่ ของประชากร
มีสถาบันการศึกษาหลายแห่ง มีโรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น ผลจากการศึกษาในครั้งน้ีจะเป็นประโยชน์ ในด้านการ
วางแผนและวิเคราะห์นโยบายในการลดอุบัติเหตุจราจรทางบกให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด
ประโยชนต์ อ่ ความปลอดภยั ของประชาชนได้

วตั ถุประสงค์

1) ศกึ ษาปัจจยั ท่ีมผี ลกระทบตอ่ การบงั คับใชก้ ฎหมายจราจรของประชาชนในพนื้ ท่ีเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร
2) เปรียบเทยี บปจั จยั ทมี่ ีผลกระทบตอ่ การบงั คบั ใช้กฎหมายจราจรของประชาชนในพ้นื ท่เี ขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานคร

วิธีการ

การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้หลักการเชิงสารวจสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายข้ันตอน(Multistage Stage
sampling) ได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 382 คน เคร่อื งมือในการวิจัยได้แก่ (1)แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป (2)แบบสอบถามปัจจัยท่ีมี
ผลกระทบต่อการบังคับใช้กฎหมายจราจรประกอบด้วย 3 ด้านดังนี้1)ด้านการกระทาผิดกฎหมายจราจรทาง 2)ด้านการบังคับใช้
กฎหมาย 3)ด้านวิศวกรรมจราจรและสิ่งแวดล้อม สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ Percentage, Mean, Standard Deviation, Frequency,
t- test, One –Way Analysis of Variance และ LSD ในการศึกษาผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูล และนาเสนอข้อมูล แบ่งเป็น
3 ตอน ดังน้ี
ตอนที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคลของประชาชนผู้ที่ใช้กฎหมายจราจรทางบก ในพ้ืนท่ีเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร (ปัจจัยส่วนบุคคล
ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา อาชพี ประเภทยานพาหนะ)
ตอนท่ี 2 ผลการศึกษาผลกระทบตอ่ การบังคบั ใชก้ ฎหมายจราจรของประชาชนในพน้ื ท่เี ขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร
ตอนที่ 3 ผลการเปรียบเทยี บปัจจัยส่วนบคุ คลตอ่ การบังคับใชก้ ฎหมายจราจรของประชาชนในพื้นทเี่ ขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร

ผลการศกึ ษา

ผลการศกึ ษา แสดงดงั ตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 ค่าเฉล่ีย ค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ของผลกระทบต่อการบังคับใช้กฎหมายจราจรทางบกในพ้นื ท่ีเขตบางกะปิ

กรุงเทพมหานครโดยรวม (n=382)

ผลกระทบต่อการบังคับใช้กฎหมายจราจร X S.D. แปลผล ลำดบั ที่
ดา้ นการกระทาผดิ กฎจราจรทางบก
4.45 0.46 มาก 1

ดา้ นการบังคับใช้กฎหมาย 4.38 0.46 มาก 3
ดา้ นวศิ วกรรมและสง่ิ แวดล้อม 4.42 0.52 มาก 2
โดยรวม 4.42 0.42 มาก

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 539 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะ เทศ ไทย

 

ผลการศึกษาปัจจัยท่ีมผี ลกระทบต่อการบังคับใช้กฎหมายจราจร ของประชาชนในพนื้ ท่ีเขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานครมีดงั นี้
1) .ผลการศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการบังคับใช้กฎหมายจราจรของประชาชนในพ้ืนเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร
พบวา่ โดยรวมอยู่ในระดบั มาก(X=4.42) เมอ่ื แยกเป็นรายด้านได้แก่ ด้านการกระทาผิดกฎจราจรทางบกมีค่าเฉล่ียสูงสุด
ใน ระดบั มาก(X =4.45) รองลงมาดา้ นวศิ วกรรมและส่ิงแวดลอ้ มมคี ่าเฉลย่ี (X =4.42) และลาดบั สดุ ท้ายดา้ นการบังคบั ใช้
กฎหมายมีคา่ เฉลย่ี ในระดบั มาก (X=4.38)
2) ผลการเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการบังคับใช้กฎหมายจราจรของประชาชนในพ้ืนที่เขตบางกะปิ
กรุงเทพมหานครพบว่าปจั จัยดา้ นเพศด้านระดับการศกึ ษา และด้านประเภทยานพาหนะตา่ งกันมีความคดิ เห็นโดยรวมไม่
แตกตา่ งกนั ส่วนปัจจยั ดา้ นอายุ และอาชพี ต่างกัน มีความคดิ เหน็ โดยรวมแตกตา่ งกนั ทรี่ ะดบั นัยสาคญั ทางสถติ ิ 0.05

สรปุ

1) ข้อมูลส่วนบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่เป็นเพศชาย คดิ เป็นร้อยละ62.57 และเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 37.43
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีอายุต่ากว่า 21 ปี เป็นลาดับที่ 1คิดเป็นร้อยละ 40.05 รองลงมาลาดับที่ 2 คือมีอายุ
ระหวา่ ง 21- 35 ปี คิดเป็นร้อยละ 30.10 ลาดับที่ 3 คือ อายุ 36 – 50 ปีคิดเป็นร้อยละ17.28 และลาดับที่4 น้อยท่ีสุด
คือมอี ายุมากกว่า 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 12.57 มีระดับการศึกษาต่ากว่าปริญญาตรีเป็นลาดับที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 53.93
รองลงมาเป็นลาดับท่ี 2 คือมีการศึกษาระดับปริญญาตรีคิดเป็นร้อยละ 37.70 และน้อยที่สุดเป็นลาดับที่ 3 คือมี
การศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 8.38 เมื่อจาแนกด้านประกอบอาชีพมีรายการดังน้ี ประกอบธุรกิจส่วนตัว
เปน็ ลาดับท่ี 1 คิดเป็นร้อยละ 33.77 รองลงมาลาดับท่ี 2 เป็นนักเรียน/นักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 27.23 และลาดับท่ี 4
น้อยท่ีสุด คือรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ คิดเป็นร้อยละ 13.87 ประเภทของยานพาหนะส่วนใหญ่ เป็นผู้ขับ
รถจกั รยานยนต์ คิดเป็นรอ้ ยละ44.50 เป็นลาดบั ที่ 1 รองลงมาลาดบั ท่ี 2 เปน็ รถยนต์นั่งส่วนบุคคลคิดเป็นร้อยละ 28.01
และลาดบั ท่ี 3 เป็นรถกระบะร้อยละ 27.49 ตามลาดับ

2) ผลกระทบต่อการบังคับใช้กฎหมายจราจรทางบก ในพื้นที่เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานครโดยรวมอยู่ในระดับมาก
( X =4.42)

3) ผลการเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลต่อการบังคับใช้กฎหมายจราจรของประชาชน ในพ้ืนท่ีเขตบางกะปิ
กรงุ เทพมหานคร มีดงั น้ี
(1) จาแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกนั ท่ีระดบั นัยสาคัญทางสถิติ 0.05
(2) จาแนกตามอายโุ ดยรวมแตกตา่ งกันท่รี ะดับนัยสาคญั ทางสถิติ 0.05
(3) ด้านการกระทาผิดกฎจราจรทางบก จาแนกตามอายุ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มี
จานวน 3 คู่ได้แก่ กลุ่มอายุต่ากว่า 21ปี กับกลุ่มอายุ 36-50ปี กลุ่มอายุต่ากว่า 21 ปี กับกลุ่มอายุ มากกว่า
50 ปี และกล่มุ อายุ 21-35 ปี กบั กลมุ่ อายมุ ากกวา่ 50 ปี
(4) ด้านการกระทาผดิ กฎจราจรทางบก โดยรวมจาแนกตามอายุ เป็นรายคู่ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลต่อการบังคับ
ใช้กฎหมายจราจร ด้านการกระทาผิดกฎจราจรทางบก จาแนกตามอายุโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีจานวน 2 คู่ได้แก่ กลุ่มอายุต่ากว่า 21ปีกับกลุ่มอายุ 36-50ปี และกลุ่มอายุต่ากว่า
21 ปี กับกลมุ่ อายุ มากกวา่ 50 ปี
(5) จาแนกตามระดบั การศึกษาโดยรวมไม่แตกต่างกันระดบั นัยสาคัญทางสถติ ิ 0.05
(6) ดา้ นการกระทาผดิ กฎจราจรทางบก จาแนกตามระดับการศึกษาเป็นรายคู่พบว่าปัจจัยส่วนบุคคลต่อการบังคับ
ใช้กฎหมายจราจร ด้านการกระทาผิดกฎจราจรทางบกแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
จานวน 2 คู่ ได้แก่ ระดับการศึกษาต่ากว่าปริญญาตรี กับ สูงกว่าปริญญาตรี และระดับการศึกษาปริญญาตรี
กับสูงกว่าปรญิ ญาตรี
(7) จาแนกตามอาชีพ โดยรวมแตกต่างกัน ท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 และเมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า
ดา้ นการกระทาผดิ กฎจราจรทางบกและดา้ นการบังคบั ใช้กฎหมาย แตกตา่ งกันที่ระดบั นยั สาคญั ทางสถิติ 0.05
(8) ด้านการกระทาผดิ กฎจราจรทางบก จาแนกตามอาชีพเป็นรายคู่พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05 จานวน 3 คู่ ได้แก่ นักเรียน/นักศึกษากับธุรกิจส่วนตัว นักเรียน/นักศึกษากับพนักงาน/ลูกจ้าง
และขา้ ราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจกบั พนกั งาน/ลกู จ้าง

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 540 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

(9) ดา้ นการกระทาผิดกฎจราจรทางบก จาแนกตามอาชีพ พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05 มีจานวน 2 คู่ได้แก่ ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ กับ ธุรกิจส่วนตัว และ ข้าราชการ/
พนกั งานรัฐวิสาหกจิ กบั พนกั งาน/ลูกจา้ ง

(10) ด้านการกระทาผิดกฎจราจรทางบกจาแนกตามอาชีพเป็นรายคู่พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี
ระดบั 0.05 มีจานวน 1 คไู่ ด้แกน่ ักเรยี น/นักศกึ ษา กับพนักงาน/ลูกจ้าง

(11) จาแนกตามประเภทยานพาหนะ โดยรวมไม่แตกต่างกันท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติท่ี 0.05 และเม่ือพิจารณา
รายดา้ นพบวา่ ทกุ ด้านไมแ่ ตกตา่ งกัน

กิตตกิ รรมประกาศ

การค้นคว้าอิสระเรื่องปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการบังคับใช้กฎหมายจราจรของประชาชน ในเขตพื้นท่ีบางกะปิ
กรุงเทพมหานคร ฉบบั น้สี าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ผูศ้ กึ ษาไดร้ บั ความอนเุ คราะห์ และความกรุณาอย่างดีย่ิง จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.วรานนท์ คงสง ซึ่งเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ได้ให้คาแนะนาช่วยเหลือแก้ไขข้อบกพร่อง จนทาให้การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับน้ี มี
ความสมบรู ณแ์ ละบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ ผศู้ ึกษาขอกราบพระคุณทา่ นเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้

ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ และคณะกรรมการทุกท่าน รวมท้ังบัณฑิตวิทยาลัย ท่ีได้ให้ความช่วยเหลือ ช้ีแนะ
ขอ้ บกพร่อง ทงั้ ในชั้นเรียนจนถงึ ขณะเม่อื ทารายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระด้วยตนเองฉบับน้ี ได้ลุล่วงไปได้ด้วยดี ผู้ศึกษาขอมอบ
คุณงามความดีท้ังหลายท้ังปวงให้แก่บุพการี คณาจารย์ และครอบครัว ซ่ึงเป็นกาลังใจให้มาโดยตลอด ช่วยให้การศึกษาค้นค ว้า
อสิ ระนส้ี าเร็จ ผูศ้ กึ ษาหวงั เป็นอยา่ งยิ่งว่างานวิจัยนจ้ี ะมปี ระโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน และผู้ท่ีต้องการศึกษาค้นคว้า
เกย่ี วกับการศึกษาต่อไป

สุดท้ายขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยรามคาแหง ที่เป็นแหล่งให้ความรู้ด้านการศึกษาและสังคมของผู้คนที่เกี่ยวข้องกับ
การศึกษาในระดบั ปรญิ ญาโท ซ่งึ เป็นองค์ประกอบสาคญั ส่วนหนึ่งท่ที าให้การศกึ ษาสาเรจ็ ลงอยา่ งสมบูรณ์

เอกสารอ้างอิง

[1] กรุงเทพฯครองแชมป์รถตดิ ทีส่ ดุ ในเอเชีย (2561). สบื ค้นเม่อื 5 ตุลาคม 2562 จาก
https://www.bltbangkok.com/bangkok- update/4243/

[2] ณธรรศ ภเู รียนค.ู่ (2558). การใชบ้ งั คับกฎหมายจราจรทางบก : ศกึ ษากรณผี ้ขู บั รถ โดยไมม่ ใี บอนญุ าตขับรถ.
วิทยานพิ นธก์ ารศกึ ษาตามหลักสตู รนิติศาสตร์ มหาบณั ฑิต คณะนติ ศิ าสตร์ มหาวิทยาลยั . กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัย
เกษมบัณฑติ .

[3] ชาครติ ขันนาโพธิ์. (2556). ทัศนคติต่อการบงั คับใชพ้ ระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบกในจงั หวดั มหาสารคาม : กรณศี กึ ษานสิ ติ
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. มหาสารคาม.

[4] สพุ ศิ ประณตี พลกรงั . (2561). ครบเคร่ืองคดจี ราจรความผดิ ตอ่ พระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก. กรุงเทพฯ : บัณฑิตอกั ษร.
[5] พชั นี เชยจรรยา. (2552). ประสทิ ธผิ ลการสอื่ สารเพ่ือส่งเสรมิ การปฏบิ ตั ิตามกฎจราจรของ ผู้ขับขร่ี ถยนตส์ ว่ นบุคคลใน

เขต กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 541 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

094

การสารวจทัศนคติ ความรู้ และพฤตกิ รรมของครวั เรอื นในการจัดการ
ขยะมูลฝอย กรณีศกึ ษา ผอู้ ยู่อาศยั ในหมู่บา้ นเดอะแพลนท์และ
ภสั สร25 (บางนา) อาเภอบางพลี จงั หวดั สมุทรปราการ

Survey of Attitude Knowledge and Behavior of Households
on Solid Waste Management: A Case Study of Village

Residents The Plant and Passorn 25 (Bang Na),
Bang Phli district Samut Prakan Province

ภูวเดช ชยั ธราทพิ 1* และ นนั ทน์ ภสั ร อินย้ิม2
Phuwadet Chaitharathip1* and Nannapasorn Inyim2
1นักศึกษาปรญิ ญาโท ;2ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สาขาวิชาการตรวจสอบและกฎหมายวศิ วกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง กรงุ เทพมหานคร 10240
E-mail : [email protected]

บทคดั ยอ่

การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) สารวจข้อมูลด้านทัศนคติ ความรู้ และพฤติกรรมของครัวเรือนในการจัดการขยะ
มลู ฝอย และ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติ ความรู้ และพฤติกรรมของครัวเรือนในการจัดการขยะมูลฝอย เป็นการวิจัย
เชงิ ปรมิ าณ กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการศกึ ษาครั้งน้ี คือ ครัวเรอื นที่อยใู่ นหมบู่ ้านเดอะแพลนท์และภสั สร25 (บางนา) ตาบลบางพลีใหญ่
อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จานวน 226 ครัวเรือน โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติประมวลผล โดยสถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และสถิติ Pearson’s Product
Moment Correlation Coefficient ผลการศึกษา พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติในการจัดการขยะในครัวเรือนภาพรวมอยู่ใน
ระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง ระดับความรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือนอยู่ในระดับสูง และพฤติกรรมในการจัดการขยะครัวเรือนภาพ
รวมอยู่ในระดับมาก 2) ทัศนคติมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกต่อความรู้และพฤติกรรมของครัวเรือนในการจัดการขยะในครัวเรือน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 และ 3) ความรู้ของครัวเรือน ไม่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมของครัวเรือนในการจัดการขยะใน
ครวั เรือน

คาสาคัญ : ทศั นคต;ิ ความรู้; พฤตกิ รรม; ขยะมลู ฝอย; การจดั การขยะในครัวเรือน

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 542 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

Abstract

The objectives of this study are 1) to survey about attitude, knowledge, and behavior of households
on solid waste management, and 2) to study the relationship between attitude knowledge, and behavior of
households on solid waste management. The studied samples of this research were households in “the
Plant and Passorn 25 (Bang Na)” village of Bang Phli Yai sub district, Bang Phli district, Samut Prakan province
for 226 households by utilizing the statistical program to evaluate the statistical data such as frequency
distribution, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient.
The result of this study revealed that 1) the selected household’s samples had strong agreement attitude,
high knowledge level, and high behavior toward household waste management; 2) attitude had positive
correlation with knowledge and behavior of households at the statistical significance of 0.05; and 3) households’
knowledge did not correlate with household behavior toward household waste management.

Keywords : attitude; knowledge; behavior; household waste management

บทนา

การจัดการกับขยะมูลฝอยโดยประยุกต์ใช้หลักกระบวนการ 3Rs ประกอบด้วย 1) Reduce การลดปริมาณขยะที่จะ
เกิดข้นึ 2) Reuse การใชซ้ า้ ใหค้ ุ้มค่า และ 3) Recycle การรวบรวมนากลบั มาใชใ้ หม่ [1] ซึ่งสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การ
จดั การขยะในครัวเรือนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม [2] อยา่ งไรก็ตาม การท่ีชมุ ชนหนงึ่ ๆ จะประสบความสาเรจ็ ในการแกป้ ญั หาขยะมลู ฝอย
ของชุมชนยังขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ หลายประการ ที่สาคัญ ได้แก่ ทัศนคติ ความรู้ และพฤติกรรมคนในชุมชนน้ัน ๆ ท่ีมีต่อการ
จัดการกับขยะมูลฝอย อันจะมีผลต่อเนื่องไปถึง ความต่ืนตัวและการตระหนักถึงบทบาทของตนเองในการร่วมกันจัดการขยะ
มลู ฝอย ดงั นัน้ ผวู้ ิจยั จงึ ต้องการศกึ ษาถงึ ปจั จัยดังกลา่ ว โดยเลอื กใช้กรณศี กึ ษาเป็นชุมชนของผู้อยู่อาศยั ในหมบู่ า้ นเดอะแพลนทแ์ ละ
ภัสสร25 (บางนา) ตั้งอยู่ในตาบลบางพลใี หญ่ อาเภอบางพลี จังหวดั สมทุ รปราการ โดยมีความมุ่งหวงั ว่าผลจากการศึกษาน้ี จะเป็น
ประโยชน์ต่อการกาหนดแผนงานการสร้างชมุ ชนทมี่ ีการจัดการขยะให้เปน็ ศนู ย์ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ทง้ั น้ี มวี ัตถปุ ระสงค์หลักของ
การวิจัย คือ 1) สารวจข้อมูลด้านทัศนคติ ความรู้ และพฤติกรรมของครัวเรือนในการจัดการขยะมูลฝอย และ 2) ศึกษา
ความสมั พันธ์ระหว่างทัศนคติ ความรู้ และพฤติกรรมของครัวเรอื นในการจดั การขยะมูลฝอย

เอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง
กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับกฎหมายการจัดขยะมูลฝอยในประเทศ ได้แก่ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.
2496 เป็นต้น [3] และการศึกษาวิจัยเร่ือง ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในเขตตาบลหนองเหียง อาเภอ
พนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ซ่ึงพบว่า ประชาชนมีความรู้เก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยอยู่ในระดับสูง มีทัศนคติ และ มีพฤติกรรม
เกยี่ วกบั การจัดการขยะมูลฝอยอยู่ในระดบั ดมี าก โดยทศั นคติเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรม
เกีย่ วกับการจัดการขยะมลู ฝอย อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดบั 0.01 [4]

วิธกี าร

การวิจยั ครัง้ นีเ้ ป็นการวิจยั เชงิ สารวจ ประชากร คือ ครัวเรือนท่ีอยู่ในหมู่บ้านเดอะแพลนท์และภัสสร25 (บางนา) ตาบล
บางพลีใหญ่ อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จานวน 580 ครัวเรือน และได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 226 ครัวเรือน มาจากการ
เทียบกับตาราง Krejcie & Morgan (1970) [5] โดยใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิง
พรรณนา และสถิตเิ ชิงอนมุ าน

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 543 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ผลการศึกษาและวิจารณ์ผล

ตารางท่ี 1 จานวนและรอ้ ยละของกลุม่ ตัวอยา่ ง จาแนกตามระดบั ความรูใ้ นการจัดการขยะในครัวเรือน

ระดับความรู้ จานวน ร้อยละ

(คน)

สูง (17-23 คะแนน) 139 61.50

ปานกลาง (9-16 คะแนน) 87 38.50

นอ้ ย (0-8 คะแนน) 00

รวม 226 011

ตารางที่ 2 ค่าเฉลยี่ ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั พฤติกรรมในการจดั การขยะครวั เรือนของกลุ่มตัวอยา่ ง

พฤตกิ รรมในการจัดการขยะครัวเรอื น คา่ เฉล่ีย S.D. ระดบั พฤติกรรม

การลดปริมาณขยะ 3.89 0.737 มาก

การนาวัสดกุ ลบั มาใช้ซ้า 3.81 0.767 มาก

การนาวัสดหุ มนุ เวียนกลับมาใชใ้ หม่ 2.72 0.995 ปานกลาง

ภาพรวม 3.47 0.646 มาก

ตารางท่ี 3 แสดงความสัมพันธร์ ะหว่างทัศนคติ ความรู้ และพฤตกิ รรมของครัวเรือนในการจัดการขยะมลู ฝอย

คา่ สัมประสทิ ธส์ิ หสัมพนั ธ์

ตัวแปร ความรู้ พฤติกรรม

ทศั นคติ 0.503 0.277
(Sig = 0.000*) (Sig = 0.000*)

ความรู้ - 0.056
(Sig = 0.401)

* ระดบั นยั สาคัญทางสถติ ิที่ 0.05

ผลการศกึ ษาแสดงการจาแนกตามระดบั ความรู้ในการจัดการขยะในครวั เรอื นดงั ตารางท่ี 1 แสดงถึงความรู้ของครัวเรือน
ในการจัดการขยะอยู่ในระดับสูง (17-23 คะแนน) ร้อยละ 61.50 ระดับปานกลาง (9-16 คะแนน) ร้อยละ 38.50 โดยไม่มีระดับ
น้อยเลย ระดบั พฤตกิ รรมในการจัดการขยะครัวเรอื นของกลุ่มตัวอย่าง แสดงในตารางที่ 2 แสดงถึงพฤติกรรมการลดปริมาณขยะ
(ค่าเฉลี่ย 3.89 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.737) และ การนาวัสดุกลับมาใช้ซ้า (ค่าเฉลี่ย 3.81 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.767)
อยใู่ นระดับมาก การนาวัสดหุ มนุ เวียนกลบั มาใช้ใหม่ (ค่าเฉล่ีย 2.72 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.995) อยู่ในระดับปานกลาง ดังน้ัน
สรุปในภาพรวมดา้ นพฤตกิ รรมการจัดการขยะอยใู่ นระดับมากขยะ (ค่าเฉล่ีย 3.74 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.646) และตารางที่ 3
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติ ความรู้ และพฤติกรรมของครัวเรือนในการจัดการขยะมูลฝอย ซ่ึงพบว่า ผลการศึกษา
สอดคล้องกับผลงานวิจัยท่ีศึกษาในทานองเดียวกัน ของ Rinraksa, P. 2016 [4] ที่ระบุว่าประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
ขยะมลู ฝอยอยู่ในระดับสูง และมีพฤตกิ รรมเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยอยู่ในระดับดีมาก นอกจากนี้ผลการศึกษาในตารางท่ี 3
สอดคล้องกับแนวคิดที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับทัศนคติไว้ว่า หากบุคคลมีความรู้หรือความคิดว่าส่ิงใดดีก็มักจะมี
ทศั นคติที่ดีตอ่ ส่งิ น้ัน [6]

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 544 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

สรุป

กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่มรี ะดับความรูใ้ นการจดั การขยะในครวั เรือนอยใู่ นระดับสูง อย่างไรก็ตาม กลุ่มตัวอย่างบางส่วนยัง
มีความรู้อยู่ในระดับปานกลาง ฉะน้นั หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยของชุมชน ควรให้ความรู้แก่ครัวเรือน
ในการจัดการขยะดา้ นต่าง ๆ ได้แก่ ชนิดขยะ วิธกี ารจัดการขยะ กฎหมายท่ีเก่ยี วขอ้ ง และปญั หามลพิษจากขยะให้เข้าใจได้ถูกต้อง
ซ่งึ เป็นการส่งเสริมทาให้ครัวเรือนมีความรใู้ นการจดั การขยะในครัวเรือนได้ดีย่ิงขึ้น และควรสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ในการจัดการ
ขยะในครัวเรอื นด้านตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่การลดปริมาณขยะ การนาวัสดุกลับมาใช้ซา้ และการนาวสั ดุหมนุ เวียนกลบั มาใช้ใหม่ เพื่อนาไปสู่
การบรรลเุ ปา้ หมายการเปน็ ชมุ ชนท่มี ีการจัดการขยะให้เปน็ ศนู ย์

เอกสารอ้างองิ

[1] The Secretariat of the Cabinet. 2019. Planning action plan and separate waste Secretariat of the Cabinet
Fiscal 2019. The Secretariat of the Cabinet., Bangkok.

[2] Thai Health Promotion Foundation. 2017. Waste management at community level. Thai Health
Promotion Foundation, Bangkok.

[3] The Secretariat of the House of Representatives. 2019. Waste management in Thailand. The Secretariat
of the House of Representatives, Bangkok.

[4] Rinraksa, P. 2016. Knowledge, Attitudes, and Behavior on Waste Management in Nonghieng Sub-District,
Amphoe Phanasnikom, Chon Buri Pronvince. Master Thesis in Public and Private Management, Brurapha
University.

[5] Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. 1970. Determination sample size for research activities. Education and
Psychology Measurement. 30(3): 607-610.

[6] Zimbardo, P. G. & Ebbesen, E. 1997. Influencing Attitudes and Changing Behavior: An Introduction to
Method, Theory, and Applications of Social Control and Personal Power. 2nd ed. Addison-Wesley, New
York.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 545 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

095

การลดปรมิ าณสารคลอไรด์ในน้าบาดาลโดยเทคโนโลยีเมมเบรน
Reduction of Chloride Contained in Groundwater by

Membrane Technology

สุธาทิพย์ สินยัง1* รตั พงษ์ บวั แดง2 วรรวิศา สงแกว้ 3 และ จรงค์พนั ธ์ มสุ ิกะวงศ4์ ,5
Suthatip Sinyoung1*, Ratapong Buadang2, Wanwisa Songkaew3 and Charongpun Musikavong4,5

1*ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ สงขลา 90110
2,3นักศกึ ษา ภาควชิ าวศิ วกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ สงขลา 90110
4รองศาสตราจารย์ สถานวจิ ยั การประเมินทางส่ิงแวดลอ้ มและเทคโนโลยีการจัดการของเสียอนั ตราย

คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ จ.สงขลา 90110
5โปรแกรมวจิ ัยการพฒั นาระบบการจัดการเพ่ือลดการปนเป้ือนและควบคุมการแพรก่ ระจายของสารมลพิษในแหลง่ น้า

พื้นทล่ี มุ่ นา้ ทะเลสาบสงขลาและภาคใต้ฝัง่ ตะวันตก
ศนู ย์ความเปน็ เลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย (ศสอ.) กรุงเทพฯ 10330

*โทรศพั ท์ : 061-9624414, E-mail : [email protected]

บทคดั ย่อ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาการลดปริมาณสารคลอไรด์ในน้าบาดาลด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน โดยใช้ระบบ
นาโนฟลิ เตรชนั (NF-270) และรีเวอรส์ ออสโมซิส (TW-30) น้าบาดาลก่อนเข้าระบบประปามีค่าผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพ
มาตรฐานน้าประปาไทย และมาตรฐานคุณภาพน้าเพ่ือบริโภคของกระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย น้าบาดาลก่อนเข้าระบบ
ประปามาเตมิ สารโซเดยี มคลอไรด์ (NaCl) ให้มีความเข้มข้น 300 และ 600 มก/ล แล้วศึกษาประสิทธิภาพการก้าจัดคลอไรด์ด้วย
ระบบนาโนฟิลเตรชัน (NF-270) และรีเวอร์สออสโมซิส(TW-30) ที่ความดัน 4 บาร์ ความเข้มข้นของคลอไรด์และชนิดของ
เมมเบรน ส่งผลโดยตรงต่อการลดลงของค่าฟลักซ์ โดยท่ีความเข้มข้นของคลอไรด์ 300 และ 600 มก/ล มีค่าฟลักซ์อยู่ในช่วง
71.2–74.2 และ 68.2–71.6 ลติ ร/ตร.ม.-ชม. ส้าหรับ NF-270 และอยู่ในช่วง 22.2–23.2 และ 20.4–21.3 ลติ ร/ตร.ม.-ชม. ส้าหรับ
TW-30 ตามล้าดบั ประสทิ ธิภาพในการกา้ จดั คลอไรดข์ องเมมเบรนท้ัง 2 ชนดิ มคี า่ ใกลเ้ คยี งกัน ที่ความเข้มข้น 300 มก/ล ก้าจัดได้
54% และ 59% และท่ีความเข้มข้น 600 มก/ล ก้าจัดได้ 60% และ 63% ส้าหรับ NF-270 และ TW-30 ตามล้าดับ กรณีที่มีการ
ปนเป้อื นคลอไรด์ในน้าบาดาลในปรมิ าณไมส่ ูงเกิน 600 มก/ล สามารถพัฒนาระบบนาโนฟิลเตรชนั มาใช้ในการก้าจัดคลอไรด์ได้

คา้ สา้ คญั : คลอไรด;์ นาโนฟลิ เตรชัน; รเี วอร์สออสโมซสิ ; น้าบาดาล; นา้ ประปา

Abstract

This research is aimed to study the reduction of chloride contained in groundwater by membrane
technology including, nanofiltration system (NF-270) and reverse osmosis (TW-30). The characteristics of
groundwater before water treatment plant was within the Thai water supply standard and water quality
standard for the consumption of the Ministry of Public Health, Thailand. The experimental samples were
prepared by adding sodium chloride (NaCl) at the concentration of each 300 and 600 mg/l to groundwater.
The nanofiltration system (NF-270) and reverse osmosis (TW-30) were carried out at the pressure of 4 bars.
The initial chloride concentration and type of membrane had direct impact to the flux value. At chloride
concentrations of 300 and 600 mg/l, the flux values were in the range of 71.2–74.2 and 68.2–71.6 L/m2-h for

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 546 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

NF-270 and 22.2-23.2 and 20.4-21.3 L/m2-h for TW-30, respectively. The performance capability of
nanofiltration and reverse osmosis membranes for reducing chloride contained in groundwater was
considerably similar. NF-270 and TW-30 membranes were able to reduce chloride by 53% and 59% at the
initial dose of 300 mg/l, respectively. At an initial dose of 600 mg/l, NF-270 and TW-30 membranes could
reduce chloride by 60% and 63%, respectively. The nanofiltration system was able to apply as chloride
treatment in the case of low chloride concentration (<600 mg/L).

Keywords : chloride; nano-filtration; reverse osmosis; ground water; water supply

บทน้า

ประเทศไทยมีความต้องการใชน้ ้าทเี่ พมิ่ ขึน้ ทกุ ปี โดยแหลง่ นา้ ทนี่ ้ามาใช้ส้าหรับการอุปโภคและบริโภคในปัจจุบันโดยส่วน
ใหญ่มาจากน้าผิวดินและน้าบาดาลเป็นหลัก [1,2] ปัจจุบันแหล่งน้าบาดาลของประเทศไทยมีจ้านวนทั้งหมด 27 แอ่ง มีสถานี
สังเกตการณ์ของกรมทรัพยากรน้าบาดาล จ้านวน 901 สถานี 1,587 บ่อ และจากการส้ารวจพบว่าน้าบาดาลถูกน้าไปใช้เพ่ือการ
เกษตรกรรมมากทสี่ ุดคิดเปน็ ร้อยละ 86.4 รองลงมาใชเ้ พือ่ การอุปโภคบริโภค และอุตสาหกรรม ตามล้าดับ [3] คุณภาพน้าบาดาล
ในปัจจุบันเสื่อมโทรมลงมาก ตลอดจนในช่วงฤดูแล้งพบว่าเกิดปัญหาการรุกล้าของน้าทะเลอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ [4] ปัจจุบัน
หน่วยงานรัฐหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทยสนับสนุนให้มีการผลิตน้าประปาชุมชน เพื่อลดปัญหาการเข้าไม่ถึง น้าประปาที่มี
คณุ ภาพของชมุ ชนในพน้ื ทหี่ ่างไกล อยา่ งไรก็ตามการปนเปื้อนมลพิษในน้าผวิ ดินสง่ ผลใหน้ ้าดิบเพ่ือการผลิตน้าประปาในบางพ้ืนท่ีมี
คณุ ภาพต่้ากวา่ เกณฑ์มาตรฐาน ตอ้ งใชต้ น้ ทุนสูงในการปรับปรงุ คณุ ภาพก่อนแจกจา่ ยให้กบั ชุมชน [5]

นา้ บาดาลเป็นแหล่งน้าท่นี า้ มาผลิตเปน็ น้าประปาได้ จากการศึกษาข้อมูลคุณภาพน้าประปาบาดาลพบว่าส่วนใหญ่อยู่ใน
เกณฑ์มาตรฐานคณุ ภาพน้าประปา คุณภาพน้าดังกล่าวจะอยู่ในระดับพอใช้ไปจนถึงระดับดี อย่างไรก็ตามในบางพื้นที่น้าบาดาลมี
ปริมาณเหลก็ ฟลูออไรด์ แมงกานสี และคลอไรด์ สูงเกินมาตรฐานมาตรฐานน้าประปา โดยเฉพาะช่วงท่ีมีการรุกล้าของน้าทะเลมี
การปนเปื้อนของคลอไรด์สูงกว่าคา่ มาตรฐานทกี่ า้ หนด ในส่วนของจงั หวดั สงขลาช่วงหนา้ แลง้ ท่ีมนี ้าทะเลหนุนปริมาณคลอไรด์ท่ีรุก
ล้าปนเปอ้ื นในน้าบาดาลอยใู่ นช่วงตั้งแต่ 50 - 600 มลิ ลกิ รัมต่อลิตร [3] ดังน้ันหากจะปรับปรุงคุณภาพให้ประชาชนในพื้นสามารถ
ใชน้ ้าได้ทง้ั ปจี ้าเป็นตอ้ งท้าการปรับปรุงคณุ ภาพน้า การปรับปรุงคุณภาพน้าเพ่ือให้ผ่านมาตรฐานน้าด่ืมส่วนใหญ่นิยมใช้เทคโนโลยี
เมมเบรน เช่น อัลตร้าฟิลเตรชนั (ultrafiltration) นาโนฟิลเตรชัน (nano-filtration) และรีเวอร์ส ออสโมซิส (reverse osmosis)
เปน็ ต้น เมนเบรนแต่ละชนิดจะมีรพู รนุ ขนาดแตกต่างกัน เมอ่ื เปรยี บเทียบเมมเบรนทัง้ สามชนิดอัลตราฟิลเตรชันมีขนาดรูพรุนใหญ่
ท่ีสุด รองลงมาได้แก่ นาโนฟิลเตรชัน ส่วนรีเวอร์ส ออสโมซิสมีขนาดรูพรุนเล็กสุด แรงดันเป็นอีกปัจจัยหนึ่งท่ีใช้ในการก้าจัดสาร
ผ่านระบบเมมเบรน เมมเบรนที่มีขนาดรูพรุนเล็กจะใช้ความดันสูงและมีต้นทุนด้านพลังงานในการเดินระบบสูงกว่าเมมเบรนท่ีมี
ขนาดรพู รนุ ใหญ่

ที่ผ่านมาโดยส่วนใหญ่ระบบรีเวอร์สออสโมซิสถูกน้ามาใช้ในการลดปริมาณแร่ธาตุและสารเคมีต่าง ๆ ในน้า โดย
เทคโนโลยีดังกลา่ วมีประสทิ ธภิ าพในการก้าจัดคลอไรด์ได้สูง แต่มีต้นทุนในการด้าเนินงานค่อนข้างสูงและก้าจัดแร่ธาตุได้เกือบทุก
ประเภทรวมถึงแร่ธาตุท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกายออกจากน้า การศึกษาและพัฒนาระบบเมมแบรนที่มีต้นทุนค่าก่อสร้างระบบและ
ต้นทุนการด้าเนินการไม่สูงมากนัก และสามารถก้าจัดสารปนเปื้อนที่ต้องการได้เป็นการศึกษาที่ส้าคัญอย่างยิ่ง งานวิจัยนี้มุ่งเน้น
ศึกษาการลดปรมิ าณสารคลอไรด์ในน้าบาดาลโดยใช้ระบบนาโนฟิลเตรชันและรีเวอร์สออสโมซิสเพ่ือเป็นแนวทางในการปรับปรุง
คุณภาพบาดาลทม่ี กี ารรกุ ล้าของนา้ ทะเล เพอื่ สร้างความเชอ่ื มน่ั ในคุณภาพน้าประปาหมู่บ้านท่ีจะน้ามาใช้อุปโภคและบริโภค และ
เพ่ือสนบั สนนุ เปา้ หมายการพฒั นาที่ย่ังยนื ในเปา้ หมายท่ี 6 น้าสะอาดและสุขาภิบาล อีกทั้งยังท้าให้ประชากรเข้าถึงน้าประปาและ
นา้ ดื่มที่มีประสทิ ธภิ าพไดง้ า่ ยข้ึน ลดคา่ ใช้จ่าย ตลอดจนสง่ ผลให้คุณภาพชีวติ และความเปน็ อยขู่ องคนในชมุ ชนดีขนึ้

อปุ กรณแ์ ละวิธีการ

วัสดุและสารเคมที ่ีใชใ้ นการทดลอง
น้าตวั อย่างท่ีใช้ในการทดลองได้รับความอนุเคราะห์จากระบบประปาน้าบาดาลหมู่บ้าน อ้าเภอบางกล่้า จังหวัดสงขลา ท้า

การเกบ็ ตัวอย่างนา้ 2 ต้าแหน่ง ได้แก่ น้าดบิ กอ่ นเข้าระบบประปา และน้าที่ผ่านระบบประปา ส้าหรับค่าคลอไรด์ที่ใช้ในการศึกษา
อยใู่ นรปู ของโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ความบรสิ ทุ ธิ์ 99.99 เปอร์เซน็ ต์ ท้าการศกึ ษาท่ีความเข้มข้นเริ่มต้นของคลอไรด์ เท่ากับ 300

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 547 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

และ 600 มลิ ลกิ รัมต่อลิตร ในส่วนของการศกึ ษาประสิทธิภาพของเมมเบรนในการกา้ จดั คลอไรด์ งานวิจัยน้ีใช้ชุดอุปกรณ์เมมเบรน
ระบบการถ่ายเทมวลแบบไหลขวาง (mass transfer in crossflow filtration) โดยใช้เมมเบรน 2 ชนิด ได้แก่ นาโนฟิลเตรชัน
ชนดิ NF-270 และรเี วิร์สออสโมซสิ ชนิด TW-30 โดยคุณสมบตั แิ สดงดงั ตารางที่ 1 และชุดการทดลองแสดงดงั รปู ที่ 1

วธิ ีการทดลองและการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
- การวเิ คราะหค์ ณุ ลักษณะของน้าตัวอย่าง
การวิเคราะห์คุณลักษณะทางกายภาพ และเคมีในตัวอย่างน้าวิเคราะห์ตาม Standard Methods for the

Examination of Water and Wastewater, 22nd Edition, APHA, AWWA, and WEF, 2012 [6] ค่าความขุ่นของน้าตัวอย่าง
วเิ คราะหด์ ว้ ยเครอ่ื งวัดความขนุ่ ยห่ี อ้ HACH รุ่น 2100 N ปริมาณโลหะหนัก ได้แก่ เหล็ก ตะกั่ว และสารหนู วิเคราะห์ด้วยเคร่ือง
ICP-OES ย่ีห้อ Perkin Elmer รุ่น Optima 8000 การวิเคราะห์ทางชีวภาพ ได้แก่ Total coliform bacteria E.coli S.aureus
และ Salmonella sp. วิเคราะห์ตาม Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater Edition 22nd
APHA AWWA WEF, 9060 B [7]

ตารางท่ี 1 คณุ สมบัตขิ องเมมเบรนทใี่ ชใ้ นงานวิจยั

คุณสมบตั ิ NF-270 TW-30
ผู้ผลติ DOW/Filmtec DOW/Filmtec
ความซึม ความซมึ ผ่านไดข้ องน้า (L m-2 h-1 bar-1)
13.5 2
น้าหนักโมเลกุลสารที่กักกนั ได้ (Daltons)
170 ถงึ 300 100
Contact angle (º)
55.0 Not available
Zeta potential (mV)
-19 -20.6

รูปท่ี 1 ชุดอปุ กรณเ์ มมเบรนระบบการถา่ ยเทมวลแบบไหลขวาง (mass transfer in crossflow filtration) ในงานวจิ ยั นี

- การลดสารคลอไรด์ในน้าตัวอย่างท่ีผา่ นกระบวนการกรองด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน
การลดสารตั้งต้นของคลอไรด์ในน้า ด้วยเมมเบรนในงานวิจัยน้ีใช้ระบบถ่ายเทมวลแบบไหลขวาง (mass transfer in

crossflow filtration) ทา้ การทดลองด้วยกระบวนการนาโนฟิลเตรชัน (nano-filtration process) โดยใช้เมมเบรนชนิด NF-270
และกระบวนการรีเวริ ์สออสโมซสิ (reverse osmosis process) โดยใช้เมมเบรนชนดิ TW-30 เรม่ิ ต้นการทดลองโดยท้าการศึกษา
คา่ ฟลกั ซข์ องน้า DI ทีค่ วามดนั 4 บาร์ เท่ากนั เพ่ือประเมินประสิทธภิ าพเบ้ืองตน้ ของระบบ หลงั จากนั้นศึกษาค่าฟลักซ์ของตัวอยา่ ง

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 548 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

น้าบาดาลก่อนเข้าระบบประปาท่ไี มม่ แี ละมีคลอไรด์ทีค่ วามเขม้ ขน้ เร่ิมต้น เทา่ กับ 300 และ 600 มก/ล โดยใช้สารโชเดียมคลอไรด์
เติมลงไปในน้าบาดาลก่อนเข้าระบบประปาให้ได้ค่าความเข้มข้นเริ่มต้นเท่ากับที่ต้องการศึกษา น้าน้าตัวอย่างมากรองผ่าน
แมมเบรนแตล่ ะชนดิ โดยท้าการเดินระบบเปน็ เวลา 8 ชว่ั โมง หลงั จากนัน้ เก็บตวั อย่างนา้ เพอ่ื วิเคราะหป์ รมิ าณคลอไรด์ ทีเ่ หลือในน้า
ตวั อย่าง และวเิ คราะห์คา่ ประสิทธ์ของแต่ละระบบในการก้าจดั คลอไรด์

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

ผลการวเิ คราะห์คุณภาพเบืองตน้ ของนา้ บาดาลทีใ่ ชใ้ นงานวิจยั นี
การศึกษาลักษณะทางกายภาพของน้าบาดาล พบว่าน้าตัวอย่างก่อนเข้าระบบประปาและออกจากระบบประปาไม่มีสี

โดยมีค่าความขุ่น ความเป็นกรด-ด่าง (pH) และอุณหภูมิเท่ากับ 0.45 เอ็นทียู 6.82 และ 31 องศาเซลเซียส ตามล้าดับ โดยน้า
ตัวอย่างหลังออกจากระบบประปามีค่าเป็น 0.41 เอ็นทียู 6.38 และ 30 องศาเซลเซียส ตามล้าดับ การศึกษาลักษณะทางเคมี
ได้แก่ คลอไรด์ (Cl) ไนเตรท (NO3) ปริมาณของแข็งท้ังหมด (total solids) ความกระด้าง (hardness) และความเป็นด่าง
(alkalinity) ของน้าตวั อย่างท่ีก่อนเข้าระบบประปา มีค่าเปน็ 19, 0.11, 259 มก/ล และ 247 และ 251 มก/ล มิลลิกรัมต่อลิตรใน
รูปแคลเซียมคาร์บอเนตตามล้าดับ และน้าตัวอย่างหลังออกจากระบบประปา มีค่าเท่ากับ 19, 0.03 และ 285 มก/ล และ 239
และ 255 มิลลิกรัมต่อลิตรในรูปแคลเซียมคาร์บอเนต ตามล้าดับ การศึกษากลุ่มแบคทีเรียท้ังหมด ได้แก่ โคลิฟอร์มแบคทีเรีย
E.coli S.aureus และ Salmonella sp. ของน้าตัวอย่างก่อนเข้าระบบประปา พบว่ามีค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรีย เท่ากับ 13 MPN
และ ไมพ่ บ E.coli S.aureus และ Salmonella sp. ในสว่ นของน้าตัวอย่างออกจากระบบประปา พบว่ามีค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรีย
เทา่ กบั 7 MPN และ ไม่พบ E.coli S.aureus และ Salmonella sp. กรณีกล่มุ โลหะหนกั ไดแ้ ก่ เหลก็ , ตะก่วั และสารหนู ของน้า
ตัวอย่างก่อนเข้าระบบประปา และออกจากระบบประปา จากการวิเคราะห์พบว่ามีผลไม่ต่างกัน โดยพบปริมาณเหล็ก น้อยกว่า
0.005 มลิ ลกิ รัมต่อลติ ร และไม่พบ ตะกวั่ และสารหนู ในน้าตวั อยา่ งทัง้ สองประเภท โดยรายละเอยี ดในภาพรวมแสดงในตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 ผลการตรวจวิเคราะหค์ ุณภาพนา้ บาดาลก่อนเขา้ ระบบประปาและออกจากระบบประปา

คุณลกั ษณะ พารามิเตอร์ หน่วย นา้ ตวั อยา่ งก่อนเข้าระบบ น้าตวั อยา่ งออกจากระบบ
ทางกายภาพ
ทางเคมี สี Pt - Co N.D. N.D.

แบคทีเรยี ความขนุ่ NTU 0.45 0.41

โลหะหนัก ความเป็นกรด-ด่าง - 6.82 6.38

อุณหภูมิ องศาเซลเซยี ส 31 30

คลอไรด์ (Cl) มก/ล 19 19
ไนเตรท (NO3) มก/ล 0.11 0.03
ปรมิ าณของแข็งทัง้ หมด มก/ล 259 285
ความกระดา้ ง มก/ล ในรปู CaCO3 247 239
ความเปน็ ด่าง มก/ล ในรูป CaCO3 251 255
ฟลอู อไรด์ มก/ล 0.64
โคลิฟอรม์ แบคทีเรยี MPN - 7
E.coli MPN 13 N.D.
S.aureus N.D. N.D.
Salmonella sp. - N.D. N.D.
เหล็ก - N.D. < 0.005
ตะกว่ั มก/ล < 0.005 N.D.
สารหนู มก/ล N.D. N.D.
มก/ล N.D.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 549 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

จากผลการศึกษาลักษณะทางกายภาพ เคมี แบคทีเรีย และโลหะหนักของน้าบาดาล อ้าเภอบางกล่้า จังหวัดสงขลา
พบว่าเมอ่ื เปรยี บเทียบกับเกณฑม์ าตรฐานคุณภาพน้าบาดาลท่ีใชบ้ รโิ ภค มาตรฐานคุณภาพน้าประปาตามเกณฑ์คุณภาพมาตรฐาน
น้าประปา [8] และมาตรฐานคุณภาพน้าเพื่อบริโภค [9] น้าท่ีออกจากระบบประปาหมู่บ้านของพ้ืนท่ีดังกล่าวผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ดงั นน้ั จากผลการทดลองในสว่ นนี้ พบวา่ น้าทผ่ี ่านระบบประปาบาดาลหมบู่ ้านดังกลา่ วมศี ักยภาพเพียงพอในการท่ีจะน้าไปผลิตเป็น
นา้ ด่มื เพ่อื ใช้ในการบริโภค รวมไปถงึ การอปุ โภคให้กบั ประชาชน อย่างไรก็ตามหากจะพิจารณาเพิ่มเติมในกรณีท่ีมีน้าทะเลรุกล้าใน
บางช่วงของหน้าแล้ง จ้าเป็นต้องท้าการศึกษาเพิ่มเติมในประเด็นของคลอไรด์ งานวิจัยนี้จึงได้ท้าการทดลองศึกษา โดยการเติม
โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ท่ีความเข้มข้นเร่ิมต้นของคลอไรด์ เท่ากับ 300 และ 600 มก/ล เพ่ือศึกษาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการ
ก้าจดั ปริมาณคลอไรดใ์ นน้าบาดาลกรณีที่ความเขม้ ขน้ ตา้่ ตอ่ ไป

ประสทิ ธภิ าพการกา้ จัดปริมาณสารคลอไรด์ดว้ ยการใช้เทคโนโลยีเมมเบรน
- คา่ ฟลักซ์ของน้ากล่ันบรสิ ุทธ์ิ (DI) ทีท่ ดสอบด้วยระบบนาโนฟลิ เตรชนั และรีเวอรส์ ออสโมซิส
การทดสอบหาค่าฟลักซ์ของน้า DI ท้าการทดสอบด้วยระบบนาโนฟิลเตรชัน และรีเวอร์ส ออสโมซิส ท่ีความดัน 4 บาร์

เท่ากัน พบว่าค่าฟลักซ์ของน้า DI เมื่อทดสอบด้วยระบบนาโนฟิลเตรชัน โดยใช้เมมเบรนชนิด NF-270 อยู่ในช่วง 74.5-76.5 ลิตร/
ตร.ม.-ชม. และค่าฟลักซ์ของน้า DI เม่ือทดสอบด้วยระบบรีเวอร์ส ออสโมซิส โดยใช้เมมเบรนชนิด TW-30 อยู่ในช่วง 31.5-35.0
ลิตร/ตร.ม.-ชม. และเมื่อเปรียบเทียบกบั งานวิจยั ทีผ่ ่านมา พบว่ามคี ่าใกลเ้ คยี งกัน โดยมกี ารรายงานคา่ ฟลกั ซ์ของนา้ DI เม่อื ทดสอบ
ด้วยระบบนาโนฟิลเตรชัน ของเมมเบรนชนิด NF-270 อยู่ในช่วง 68.0-74.0 ลิตร/ตร.ม.-ชม. และค่าฟลักซ์ของน้า DI เมื่อทดสอบ
ดว้ ยระบบรเี วอรส์ ออสโมซิส โดยใช้เมมเบรนชนดิ TW-30 อย่ใู นชว่ ง 18-28 ลติ ร/ตร.ม.-ชม.[10]

- ค่าฟลักซ์ของน้าบาดาลท่ีเติมโซเดียมคลอไรด์ (RW+NaCl) ท่ีความเข้มข้นต่างกัน เม่ือทดสอบด้วยระบบนาโน
ฟิลเตรชนั และรเี วอร์ส ออสโมซิส
รูปท่ี 2 และ 3 แสดงผลการทดสอบหาค่าฟลักซ์ของ RW+NaCl ที่ความเข้มข้นของคลอไรด์ต่างกัน ได้แก่ 0 300 และ

600 มิลลิกรัมต่อลิตรเมื่อผ่านระบบนาโนฟิลเตรชันโดยใช้เมมเบรนชนิด NF-270 และระบบรีเวอร์ส ออสโมซิส โดยใช้เมมเบรน
ชนิด TW-30 ที่ความดัน 4 บาร์ ค่าฟลักซ์ของ RW+NaCl ท่ีผ่านระบบนาโนฟิลเตรชัน ท่ีความเข้มข้นเริ่มต้นของคลอไรด์ เท่ากับ
19, 300 และ 600 มลิ ลกิ รัมตอ่ ลิตร อยใู่ นช่วง 72.7-75.5, 71.2-74.2 และ 68.2-71.6 ลิตร/ตร.ม.-ชม. ตามล้าดับ ในสว่ นของค่าฟ
ลกั ซ์ของ RW+NaCl ท่ีผ่านระบบรีเวอรส์ ออสโมซิส ท่ีความเขม้ ขน้ เริ่มตน้ ของคลอไรด์ เทา่ กบั 19, 300 และ 600 มิลลิกรมั ตอ่ ลติ ร
อยใู่ นชว่ ง 24.9-26.9, 22.2-23.2 และ 20.4-21.3 ลิตร/ตร.ม.-ชม. ตามลา้ ดบั ทั้งน้ีจะเห็นได้ว่าค่าฟลักซ์ของท้ังสองระบบมีค่าแปร
ผันตามความเขม้ ขน้ ของคลอไรด์เริ่มต้น โดยท่ีความเข้มข้นของคลอไรดต์ ่า้ พบว่าค่าฟลักซ์มีค่าสูงกว่าที่ความเข้มข้นของคลอไรด์สูง
เน่ืองจากน้าบาดาลก่อนเข้าระบบประปาที่มีการเติมโซเดียมคลอไรด์ในปริมาณท่ีสูงนั้นจะส่งผลให้แผ่นเมมเบรนทั้งสองชนิดเกิด
สภาวะอุดตันได้มากกว่านา้ บาดาลก่อนเขา้ ระบบประปาท่ีมกี ารเติมโซเดียมคลอไรด์ในปรมิ าณท่ีต้่าเปน็ สาเหตุให้ค่าฟลกั ซล์ ดลง

รูปท่ี 2 คา่ ฟลกั ซข์ องเมมเบรนชนิด NF-270 เม่อื ทดสอบด้วยน้าดิบที่เติมโซเดียมคลอไรด์ (RW+NaCl) ทคี่ วามเขม้ ขน้ ต่างกัน

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 550 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

รูปท่ี 3 ค่าฟลกั ซ์ของเมมเบรนชนดิ TW-30 เม่อื ทดสอบดว้ ยน้าดิบทเี่ ติมโซเดยี มคลอไรด์ (RW+NaCl) ทีค่ วามเขม้ ขน้ ตา่ งกัน

- การศึกษาปริมาณคลอไรดใ์ นน้าบาดาลทผี่ า่ นการกรองดว้ ยนาโนฟิลเตรชนั และรีเวอร์ส ออสโมซสิ
จากการศึกษาประสิทธิภาพการกา้ จดั ปริมาณคลอไรด์ในน้าบาดาลดว้ ยระบบเทคโนโลยีเมมเบรนแบบนาโนฟลิ เตชนั โดย

ใชเ้ มมเบรนชนิด NF-270 ทคี่ วามดัน 4 บาร์ ทา้ การทดลองน้าตัวอย่างที่ความเข้มข้นของโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ต่างกัน คือ 19,
300 และ 600 มก/ล พบว่าหลังผ่านระบบนาโนฟิลเตชัน ท่ีความเข้มข้นเริ่มต้นของคลอไรด์ เท่ากับ 19, 300 และ 600 มก/ล
ปรมิ าณคลอไรดท์ ่ีคงเหลือในน้าตัวอย่างหลงั จากเดินระบบ 8 ชว่ั โมง มคี า่ เทา่ กบั 17.5, 137.6 และ 250 มก/ล ตามล้าดับ ดังแสดง
ในรูปที่ 4 และเม่อื น้านา้ ดังกล่าวมาผ่านระบบรีเวอร์ส ออสโมซิส โดยใช้เมมเบรนชนิด TW-30 ที่ความดัน 4 บาร์ เท่ากัน พบว่าท่ี
ความเขม้ ขน้ เริม่ ตน้ ของคลอไรด์ เท่ากับ 19, 300 และ 600 มก/ล ปริมาณคลอไรด์ที่คงเหลือในน้าดิบหลังจากเดินระบบ 8 ชั่วโมง
มคี ่าเท่ากบั 18.6, 123.5 และ 235 มก/ล

รูปท่ี 4 ปริมาณคลอไรด์ที่ผา่ นการกรองดว้ ยระบบเมมเบรนชนดิ NF-270 และTW-30 เม่ือทดลองดว้ ยนา้ ดบิ
ที่เตมิ โซเดียมคลอไรด์ (RW+NaCl) ที่ความเขม้ ขน้ ต่างกนั

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 551 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

เมอื่ พิจารณาทท่ี ุกความเข้มข้น พบว่าปริมาณคลอไรด์ที่เหลืออยู่ในน้าดังกล่าว มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่ก้าหนด คือต้องไม่เกิน
250 มก/ล [7] ยกเว้นตัวอย่างน้าที่มีคลอไรด์เริ่มต้น 600 มก/ล และน้ามาผ่านกระบวนการนาโนฟิลเตชันซึ่งมีค่าเท่ากับค่า
มาตรฐาน จากขา้ งตน้ กล่าวไดว้ า่ น้าดบิ ท่เี ติมโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ที่ความเข้มข้นของคลอไรด์เริ่มต้น 600 มก/ล มีความเสี่ยงท่ี
สูงเม่อื น้ามาผา่ นกระบวนการนาโนฟิลเตชันแลว้ น้าทอี่ อกจากระบบจะมคี า่ คลอไรดส์ งู กว่าเกณฑ์มาตรฐานท่ีก้าหนด

ผลการเปรยี บเทียบประสทิ ธภิ าพการกา้ จัดปรมิ าณสารคลอไรดด์ ้วยการใชเ้ ทคโนโลยเี มมเบรนทงั 2 ชนดิ
จากผลการทดลองข้างต้น ได้ท้าการเปรยี บเทียบประสิทธภิ าพการก้าจัดสารคลอไรด์ด้วยระบบเทคโนโลยีเมมเบรนแบบ

นาโนฟลิ เตชัน และรีเวอร์ส ออสโมซิส โดยใช้เมมเบรนชนิด NF-270 และ TW-30 ที่ความดัน 4 บาร์ และความเข้มข้นเร่ิมต้นของ
คลอไรดใ์ นนา้ ดิบต่างกัน ได้แก่ 300 และ 600 มก/ล ประสิทธิภาพของระบบนาโนฟิลเตชัน ในกรณีของน้าตัวอย่าง RW+NaCl ท่ี
ความเข้มข้น 300 มก/ล ก้าจัดคลอไดร์ได้ 54 เปอรเ์ ซ็นต์ และ น้าตวั อยา่ ง RW+NaCl ทคี่ วามเข้มข้น 600 มก/ล ก้าจัดคลอไรด์ได้
60 เปอร์เซ็นต์ ในส่วนของระบบรีเวอร์ส ออสโมซิส น้าตัวอย่าง RW+NaCl ท่ีความเข้มข้น 300 มก/ล ก้าจัดคลอไรด์ได้ 59
เปอร์เซ็นต์ และ น้าตัวอย่าง RW+NaCl ที่ความเข้มข้น 600 มก/ล ก้าจัดคลอไรด์ได้ 63 เปอร์เซ็นต์ จากผลการทดลองพบว่า
ประสิทธิภาพในการก้าจัดคลอไรด์ของท้ังสองระบบน้ันมีความใกล้เคียงกัน ในกรณีที่ใช้ความดันต่้าท่ี 4 บาร์ เท่ากัน โดยระบบรี
เวอรส์ ออสโม มปี ระสิทธภิ าพในการกา้ จัดคลอไรด์ที่สงู กวา่ เล็กนอ้ ย

จากการศึกษาในภาพรวมของงานน้ี พบว่าระบบนาโนฟลิ เตชนั และรีเวอรส์ ออสโมซิส ที่ความดันต่้า มปี ระสิทธิภาพการ
ก้าจัดสารคลอไรด์ในช่วงความเข้มข้นต้่าได้ใกล้เคียงกัน จึงกล่าวได้ว่าน้าท่ีมีการปนเป้ือนปริมาณคลอไรด์ไม่สูงมาก (ต้่ากว่า 600
มก/ล) สามารถใช้ระบบนาโนฟิลเตชัน แทนการเลือกใช้ระบบรีเวอร์ส ออสโมซิส ในการก้าจัดสารดังกล่าวเพื่อน้าน้าไปใช้ในการ
อปุ โภคและบริโภค อีกทงั้ ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านต้นทนุ ในการด้าเนินงาน อย่างไรก็ตามการเลือกใช้ระบบในการปรับปรุงคุณภาพ
น้าให้ได้ประสิทธิภาพที่เพียงพอต่อการน้ามาอุปโภคและบริโภคน้ัน ต้องค้านึงถึงพื้นท่ีของแหล่งน้าน้ัน ๆ ว่ามีปริมาณคลอไรด์
ปนเปื้อนอยมู่ ากนอ้ ยเพียงใดในทกุ ฤดูกาลตลอดปี โดยต้องคา้ นงึ ถึงตน้ ทนุ ในการติดตั้งและดูแลระบบได้อยา่ งต่อเนื่อง เพอื่ การไดม้ า
ซงึ่ น้าทม่ี คี ุณภาพทดี่ ีที่สุดตอ่ สขุ ภาพของประชาชนในพืน้ ทีน่ ่ันเอง

สรุป

งานวจิ ยั นีท้ า้ การศกึ ษาการลดสารคลอไรด์ในน้าบาดาลดว้ ยเทคโนโลยเี มมเบรน โดยเปรยี บเทียบประสิทธิภาพของระบบ
นาโนฟิลเตชัน และรีเวอร์ส ออสโมซิส โดยใช้เมมเบรนชนิด NF-270 และ TW-30 การก้าจัดคลอไรด์ด้วยระบบนาโนฟิลเตรชัน
(NF-270) ทค่ี วามดัน 4 บาร์ ท่ีความเข้มข้นของคลอไรด์เร่ิมต้น 300 และ 600 มก/ล ค่าฟลักซ์อยู่ในช่วง 71.2–74.2 และ 68.2–
71.6 ลิตร/ตร.ม.-ชม.มีประสิทธิ์ภาพในการก้าจัดคลอไรด์เป็น 54 และ 60 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ การก้าจัดคลอไรด์ด้วยระบบ
รีเวอร์สออสโมซิส (TW-30) ความดัน 4 บาร์ ท่ีความเข้มข้นของคลอไรด์เริ่มต้น 300 และ 600 มก/ล ค่าฟลักซ์อยู่ในช่วง 22.2–
23.2 และ 20.4–21.3 ลิตร/ตร.ม.-ชม. ประสิทธ์ภิ าพในการก้าจัดคลอไรด์มคี า่ เป็น 59.0 และ 63 เปอรเ์ ซ็นต์ ตามลา้ ดับ

กติ ตกิ รรมประกาศ

ขอขอบคุณส้านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และส้านักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (สบว.) ส้าหรับทุนอุดหนุนโปรแกรมวิจัย พร้อมทั้งขอขอบคุณสถานวิจัยการประเมินทางส่ิงแวดล้อมและเทคโนโลยีการ
จัดการของเสยี อันตราย คณะการจัดการสง่ิ แวดล้อม มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ และศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและ
ของเสียอันตราย (ศสอ.) ที่ได้อ้านวยความสะดวกและสนับสนุนในด้านเครื่องมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์อันเป็นประโยชน์ต่อ
ความสา้ เร็จของการดา้ เนนิ งานวิจัยในครัง้ นี้

เอกสารอา้ งองิ

[1] การประปาส่วนภูมิภาค (2562). “ปรมิ าณการใชน้ ้าประจา้ ปี2561”.<www.pwa.co.th> (15 กนั ยายน 2562)

[2] ส ถ า บั น ส า ร ส น เ ทศ ท รั พ ย า ก ร น้ า แ ล ะ ก า ร เ ก ษ ต ร .2555. ข้อ มู ล ก า ร ใ ช้ น้ า เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก :

http://www.thaiwater.net/web/attachments/25basins/23-songkhla_lake.pdf (11/11/61)

[3] ส่วนเฝ้าระวังทรัพยากรน้าบาดาล ส้านักอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรน้าบาดาล กรมทรัพยากรน้าบาดาลกระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม. รายงานสถานการณน์ ้าบาดาลประเทศไทย พ.ศ. 2562

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 552 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

[4] สา้ นักงานสิ่งแวดลอ้ ม ภาคท่ี 16, 2563, รายงานตดิ ตามคณุ ภาพน้า คร้งั ท่1ี ,
https://reo16.mnre.go.th/reo16/files/com_download/2020-01/20200123_xaeenvrm.pdf

[5] ก า ร ก ร ะ ป า น ค ร ห ล ว ง , 2 5 6 1 . ก า ร ผ ลิ ต น้ า ป ร ะ ป า . ก า ร ก ร ะ ป า น ค ร ห ล ว ง เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก :
https://www.mwa.co.th/download/prd01/water_technology/other/wtp2.pdf (31/10/61)

[6] Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater, 22nd Edition, APHA, AWWA, and WEF,
2012

[7] Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater Edition 22nd APHA AWWA WEF, 2012,
9060 B,

[8] ประกาศกรมอนามัย เรื่อง เกณฑ์คุณภาพน้าประปาด่ืมได้ กรมอนามัยเห็นควรปรับปรุงเกณฑ์คุณภาพเกณฑ์คุณภาพ
น้าประปาด่ืมได้ ปี พ.ศ. 2553 ประกาศกรมอนามยั (13 ตุลาคม 2553)

[9] ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบบั ท่ี 61 (พ.ศ.2524) เรื่อง นา้ บริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท อาศัยอ้านาจตามความใน
มาตรา 5 และมาตรา 6 (1)(2) และ (6) แหง่ พระราชบญั ญตั อิ าหาร พ.ศ. 2522

[10] เตอื นใจ พลาย ดว้ ง. การ บา้ บดั สาร ตง้ั ต้น ของ สาร เอ็น-ไน โต ร โซ ได เมทิล เอ มี น ใน น้าดิบ ประปา จาก คลอง อู่
ตะเภา (Doctoral dissertation, มหาวิทยาลัย สงขลา นครินทร์

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 553 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

Poster

Presentation

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

010

การประเมนิ ก๊าซเรือนกระจกของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง

Assessment of Carbon Footprint for Faculty of
Industrial Technology Lampang Rajabhat University

ธนวรกฤต โอฬารธนพร1* อนิรุจน์ มโนธรรม2 ศริ ิมา เอมวงษ3์ นราธิป วงษ์ปัน4 วรี ชัย สวา่ งทุกข5์ และ สันติ วงศใ์ หญ6่
Tanaworakit Orantanaporn1* Aniruth Manotum2 Sirima Emwong3 Narathip Wongpun4
Weerachai Sawangtuk5 and Sunti Wongyai6

1*,3,4ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ; 2รองศาสตราจารย์ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง ลาปาง 52150
4,5,6อาจารย์ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาปาง ลาปาง 52100

*โทรศพั ท์ : 054-237352, โทรสาร : 054-241079, E-mail : [email protected]

บทคดั ย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการประเมินก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยา ลัย
ราชภฏั ลาปาง โดยการคานวณและแสดงผลเป็นคา่ ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ท่ีเกิดจากกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร
โดยใช้แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพร้ินท์ขององค์กร ทาการศึกษากิจกรรม 3 ประเภท ได้แก่ 1) การปล่อยก๊าซเรือนกระจก
โดยตรงของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ได้แก่ การเผาไหม้เคลื่อนท่ี และการรั่วไหลอื่นๆ 2) การปล่อยก๊าซโดยอ้อมจากการใช้
พลังงาน และ 3) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยอ้อมอ่ืนๆ ได้แก่ การใชน้ า้ ประปา การใช้กระดาษ และการกาจัดขยะมูลฝอย ผลที่
ได้จากการศึกษาวิจัยจะนาไปสู่แนวทางการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกและเ พื่อใช้ประโยชน์ในการแสดงความเป็นมิตรกับ
สงิ่ แวดล้อมของคณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏลาปาง อีกทงั้ ยังเปน็ แนวทางในการลดการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก
เพอ่ื รกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มอีกดว้ ย

คาสาคัญ : คาร์บอนฟตุ พร้นิ ท;์ การประเมินคารบ์ อนฟุตพรนิ้ ท์ขององค์กร; กา๊ ซเรอื นกระจก

Abstract

This research is assessment of greenhouse gas (GHG) generated from various activities operated in the
Faculty of Industrial Technology, Lampang Rajabhat University. GHG was calculated and presented as carbon
dioxide equivalent, which employed carbon footprint of organization. The studied activities were divided to 3
items: 1) direct emission of greenhouse gas such as mobile combustion and other fugitives, 2) indirect
emission of greenhouse gas from using energy, and 3) other indirect emission of greenhouse gas such as using
water, paper, and garbage disposal. The study results would lead to management guidelines of greenhouse
gas and presented in terms of eco-friendly (Environmentally Friendly) organization. Moreover; it illustrated the
reduction of reduce greenhouse gas emissions in order to protect the environment.

Keywords : Carbon Footprint; Carbon Footprint for Organization; Greenhouse Gas

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 554 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

บทนา

สาเหตุหน่ึงท่ีทาให้เกิดปัญหาภาวะโลกร้อนมีสาเหตุเกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซ่ึงก๊าซเรือนกระจกเกิดข้ึนเอง
ตามธรรมชาติและเกิดจากกิจกรรมต่างๆของมนษุ ย์ ปริมาณกา๊ ซเรือนกระจกท่ีเกิดขน้ึ รอ้ ยละ 60 เปน็ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซ
เรือนกระจกส่งผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิกาศ การเปลยี่ นแปลงสภาพแวดลอ้ มและระบบนิเวศ โดยปริมาณก๊าซเรือนกระจก
รวมท้ังโลกในปี 2010 ตามรายงานของ World Resource Institute (WRI) มีปริมาณเท่ากับ 47,182.6 ล้านtCO2eq [1] ประเทศ
ไทยมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปี 2011 เท่ากับ 305.52 ล้านtCO2eq เกิดจากภาคเศรษฐกิจท่ีเก่ียวกับการผลิตพลังงานไฟฟ้า
การขนส่ง การกอ่ สร้าง มปี รมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจก 222.94 ล้านtCO2eq หรือคิดเป็นร้อยละ 72.97 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ทั้งหมดของประเทศไทย Office of Natural Resource and Environmental Policy and Planning, (2015) [2]

กจิ กรรมการจดั ทาคารบ์ อนฟตุ พริน้ ท์ขององคก์ รโดยทวั่ ไปนิยมใชเ้ ทคนิคการวิเคราะห์คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรหรือ
Carbon Footprint for Organization: CFO องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก [3] ดังนั้นองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือน
กระจก (องค์การมหาชน) จึงได้กาหนดให้มีการดาเนนิ งานด้านการจัดทาคาร์บอนฟตุ พรนิ้ ทข์ ององคก์ รขน้ึ เพอ่ื กาหนดแนวทางหรือ
หลกั เกณฑก์ ารประเมนิ คารบ์ อนฟุตพริน้ ทข์ ององคก์ รสาหรบั ใช้เป็นเครอื่ งมือในการประเมนิ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกท่เี กิดขึ้นจาก
การ ดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ ทัง้ การผลติ และการบรกิ ารขององคก์ ร อันจะเปน็ การช่วยเสริมสรา้ งศักยภาพใหก้ ับหนว่ ยงานหรอื องคก์ ร
ของไทยสามารถแขง่ ขนั กบั หน่วยงานหรอื องค์กรทัว่ โลกได้

มหาวิทยาลัยเป็นองค์กรหนึ่งที่มีกิจกรรมหลักคือ การจัดการศึกษาอันประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ คือ การดาเนินการ
เรยี นการสอน การสนับสนุนหอ้ งปฏบิ ตั ิการ การบริการการศึกษา การดาเนินงานด้านอาคารส่ิงปลูกสร้าง การดาเนินการดังกล่าว
ย่อมทาให้มีการใช้พลังงานและทรัพยากรในองค์กร เช่น กระดาษ วัสดุสานักงาน พลังงานในรูปของเชื้อเพลิง น้า เป็นต้น ซ่ึงเป็น
สาเหตุที่ก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจกเช่นกัน การเกิดภาวะโลกร้อน และนับวันปัญหาย่ิงทวีความรุนแรงมากขึ้น จากผลกระทบของ
ภาวะโลกรอ้ น ทาให้ประเทศต่างๆ ท่วั โลกตื่นตัวในการดาเนินงานเพ่ือลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การจัดทาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
ขององคก์ รหรอื Carbon Footprint for Organization: CFO องค์การบริหารจดั การก๊าซเรือนกระจก [3] เป็นวิธกี ารประเภทหน่งึ
ในการแสดงข้อมูลปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยจากการดาเนินงานขององค์กร อันจะนาไปสู่การกาหนดแนวทางการบริหาร
จัดการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจากการศึกษาเบ้ืองต้นพบว่าการประเมินก๊าซเรือนกระจก
ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ในปีการศึกษา 2556 ยังขาดการเก็บข้อมูลในส่วนของอาคารท่ีอยู่นอกเหนือจากอาคารหลัก
ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ทาการการประเมินก๊าซเรือนกระจกขององค์กรของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปางให้
ครบทุกอาคารท่ีใช้ดาเนินกิจกรรมเพ่ือให้ได้ข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ครบถ้วน และเพ่ือนาผลการประเมินปริมาณก๊าซ
เรือนกระจกมาบรหิ ารจัดการกา๊ ซเรอื นกระจกในคณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏลาปาง และเพ่ือใช้ประโยชน์ใน
การแสดงความเปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง อีกท้ังยังเป็นแนวทางในการ
ลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกเพอ่ื รกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มอีกทางหนึง่

อปุ กรณ์และวิธีการ

การประเมินปริมาณการปล่อยและดดู กลับก๊าซเรือนกระจกระดับองค์กร อ้างอิงตามหลักเกณฑ์ของแนวทางการประเมิน
คาร์บอนฟุตพร้ินท์ขององค์กรโดย องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ท่ีกาหนดระดับของการรับรองแบบ
จากัด (Limited Assurance) และระดับความมีสาระสาคัญท่ี 5% (Threshold) ซึ่งได้พิจารณาการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
(Greenhouse Gas) ท่สี าคญั ซง่ึ ถกู ควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) และท่ีเกิดขึ้นจากการกระทาของมนุษย์ 7 ชนิด
ได้แก่ กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Dioxide: CO2) กา๊ ซมีเทน (Methane: CH4) ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (Nitrous Oxide: N2O)
ไฮโดรฟลูออโรคารบ์ อน (Hydrofluorocarbon: HFC) เปอรฟ์ ลอู อโรคาร์บอน (Perfluorocarbon: PFC) ซัลเฟอร์เฮกซะฟลอู อไรด์
(Sulfur Hexafluoride: SF6) และไนโตรเจนไตรฟลูออไรด์ (NF3) เป็นก๊าซเรือนกระจกหลักที่รายงานและทาการประเมินเป็นค่า
คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่

การดาเนินการวิจัยน้ี ได้ทาการกาหนดขอบเขตการทางานขององค์กร ตามข้ันตอนการทางาน ตามรูปที่ 1 การกาหนด
ขอบเขตขององคก์ ร

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 555 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย กาหนดขอบเขตองคก์ ร

 

กาหนดปีฐาน

ควบคุมการดาเนนิ งาน

รปู ท่ี 1 การกาหนดขอบเขตขององคก์ ร

การพัฒนาและออกแบบบัญชีรายการปริมาณก๊าซเรือนกระจกจะต้องดาเนินการกระบวนการ ตามรูปท่ี 1 มีการกาหนด
ปีฐานคือ 1 ตุลาคม 2560 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 และมีการกาหนดขอบเขตขององค์กรเป็นแบบควบคุมการดาเนินงาน
(รูปที่ 2) มีการเกบ็ ขอ้ มลู ตามกระบวนการดาเนินงาน ในการเกบ็ ข้อมูลแตล่ ะประเภทมกี ารจัดเก็บขอ้ มลู ดงั ตอ่ ไปนี้

รูปที่ 2 อาคารคณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม

ประเภทท่ี 1 การจัดเก็บข้อมูลของการเผาไหม้เคล่ือนท่ี วิธีการจัดเก็บข้อมูลได้ทาการสร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับ
ระยะทางในการเดินทางของบุคคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และพาหนะที่ใช้ในการเดินทาง น้ามันเช้ือเพลิงที่ใช้กับ
พาหนะ การเก็บข้อมลู เกย่ี วกบั การบาบดั นา้ เสียท่ีเกิดจากกิจกรรมของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีการคานวนปริมาณน้าท่ีทา
การจัดเก็บไว้ในถังกักเก็บซ่ึงอยู่บริเวณช้ัน 6 ของอาคารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และในส่วนของการร่ัวไหลของสารทาความเย็น
ได้ทาการตรวจวัดจากปริมาณน้ายาที่เติมในกรณีการตรวจซ่อมเคร่ืองปรับอากาศประจาปี ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การเก็บรวมข้อมลู ได้ทาการตามกระบวนการตามรูปท่ี 3

สารวจแหล่งขอ้ มูล ตรวจวดั เกบ็ ขอ้ มลู บนั ทกึ ข้อมลู /รวบรวมหลักฐาน

รูปท่ี 3 กระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

จากการดาเนินการ ผู้วิจัยพบแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทาการตรวจวัด และทาการบันทึกข้อมูล รวบรวมหลักฐานท่ี
เก่ียวกับปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และจานวนแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก ดังรูปที่ 4 การสารวจแหล่งปล่อยก๊าซเรือน
กระจกในประเภทท่ี 1

รูปท่ี 4 การสารวจแหล่งปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกในประเภทที่ 1

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 556 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ประเภทที่ 2 การจัดเก็บข้อมูลของการใช้ไฟฟ้าของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง
ทาการจัดเก็บการใช้พลังงานโดยทาการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูลจะสามารถสรุปข้อมูลการใช้พลังงานแต่ละเดือน ซึ่งการใช้
พลังงานไฟฟ้าของแต่ละตึกของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีการใช้ไฟฟ้าในกระบวนการบริหารจัดการและการเรียนการสอน
กระบวนการสารวจ รวบรวมข้อมลู การใช้ไฟฟา้ แตล่ ะตกึ แสดงตามรูปที่ 5 การสารวจแหลง่ ปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกในประเภทท่ี 2

รูปที่ 5 การสารวจแหลง่ ปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกในประเภทที่ 2
ประเภทที่ 3 ทาการจัดเก็บข้อมูลแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมการใช้น้าประปา การใช้กระดาษ และการ
กาจัดขยะมูลฝอย กจิ กรรมการใช้นา้ ประปาทาการเกบ็ ข้อมูลจากมิเตอร์ท่ีวัดปริมาณการใช้น้าในแต่ละวันทาการจดบันทึกปริมาณ
การใช้น้าประปาในแตล่ ะวนั การใชก้ ระดาษของคณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมมีการส่ังซอื้ กระดาษจากรา้ นคา้ การเกบ็ ข้อมูลเก็บจาก
ใบส่ังซือ้ กระดาษ และทาการช่ังขยะมูลฝอยท่ีเกดิ จากคณะในแต่ละวัน

รปู ท่ี 6 การสารวจแหล่งปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกในประเภทท่ี 3

จากกระบวนการจดั เก็บขอ้ มูลและบันทกึ ในบญั ชรี ายการกา๊ ซเรอื นกระจก การประเมนิ ปริมาณก๊าซเรอื นกระจกของคณะ

เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง คานวณโดยใช้ข้อมูลกิจกรรมต่างๆ คูณด้วยค่าแฟกเตอร์การปล่อยก๊าซเรือน

กระจก (Emission Factor) สมการ (1) และแสดงผลอยูใ่ นหนว่ ยของกโิ ลกรมั หรือตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (CO2eq)
(1)
GHGj  ( Ai xEFj )

GHG คือ ปรมิ าณก๊าซเรอื นกระจกชนิด j

A คือ ข้อมลู ปรมิ าณวัตถุดบิ และพลงั งาน ชนดิ i

EF คือ ค่าสมั ประสทิ ธ์ิการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกของกา๊ ซชนิด j ขอ้ มลู วตั ถดุ บิ และพลังงาน i จากนั้นแปลงค่ากา๊ ซ

เรอื นกระจกให้อยู่ในรปู ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทยี บเทา่ โดยคณู กับคา่ ศกั ยภาพทท่ี าให้โลกรอ้ นในรอบ 100 ปี สมการ (2)

GHG  (Ei xGWPij ) (2)

GHG คือ ปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกทั้งหมด

Ei คือ ข้อมูลกจิ กรรมแตล่ ะกจิ กรรม

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 557 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

GWP คือ ค่าศักยภาพทาให้โลกร้อน ของก๊าซชนิด j ปริมาณวัตถุดิบและพลังงาน i ซึ่งเป็นค่าตัวเลขท่ีระบุถึง
ผลกระทบของก๊าซชนิดนั้นๆ ในการทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจก โดยค่า GWP ใช้ข้อมูลจาก IPCC Fourth Assessment Report:
Climate Change, (2006) [1]

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เพ่ือเป็นแนวทางในการ
วเิ คราะห์แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากการกาหนดประเภทการประเมินสามารถแยกแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกและปริมาณ
การปลอ่ ยของแต่ละแหล่ง แสดงในตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 แหล่งปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกและปรมิ าณกจิ กรรมของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏลาปาง

ประเภท แหลง่ ปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก ปริมาณ หลกั ฐานและการได้มา

ประเภทท่ี 1 - การเผาไหม้เคลือ่ นที่ 34,820 ลติ ร - แบบสอบถาม

- บ่อบาบดั นา้ เสยี 5,400 ลบ.ม - การตรวจวัด

- การรั่วไหลของสารเคมี 12 Kg - ใบเสรจ็ ค่าซ่อมแอร์

ประเภทท่ี 2 - การใชพ้ ลังงานไฟฟ้า 1,716,394 kWh - การตรวจวดั

ประเภทท่ี 3 - นา้ ประปา 1,780 ลบ.ม - การตรวจวัด

- กระดาษ 610 Kg - ใบเสร็จคา่ กระดาษ

- ขยะมูลฝอย 2,290 Kg - การตรวจวัด

จากตารางที่ 1 มกี ารเกบ็ ขอ้ มลู แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกแต่ละประเภทพิจารณาตามแนวทางการประเมินการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจกขององค์กร ให้ครบถ้วนมากทส่ี ุด ข้อมลู แต่ละประเภทไดม้ าจากแบบสอบถาม การตรวจวดั คา่ จากแหล่งปล่อยก๊าซ
เรอื นกระจกและจากใบเสร็จในการใช้บริการในประเภทตา่ งๆ (ตารางท่ี 2)

ตารางท่ี 2 ปริมาณกา๊ ซเรือนกระจกแบ่งตามประเภท

ประเภทดาเนินงาน ปรมิ าณ หน่วย ร้อยละ
0.9
ประเภทท่ี 1 105.54 tCO2eq 99
tCO2eq 0.1
ประเภทที่ 2 999.11 tCO2eq

ประเภทที่ 3 6.91

จากตารางที่ 2 จะพบแหลง่ ปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏลาปาง เกิดจาก
แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกในประเภทท่ี 2 คือ การใช้พลังงานทางอ้อม ได้แก่ การใช้พลังงานไฟฟ้า ซ่ึงมีปริมาณการปล่อยก๊าซ
เรอื นกระจกรอ้ ยละ 99 (รปู ท่ี 7)

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 558 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

รปู ท่ี 7 ปรมิ าณการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกของแตล่ ะประเภท

ประเภทที่ 2 มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากท่ีสุดร้อยละ 99 เกี่ยวกับการใช้พลังงานไฟฟ้าสาหรับกิจกรรมในองค์กร
ได้แก่ กิจกรรมการบริหารงาน การเรียนการสอน มีการใช้เคร่ืองปรับอากาศ 50% เครื่องคอมพิวเตอร์ 30% เคร่ืองมือสาหรับ
ปฏบิ ตั งิ านช่าง 18% เป็นตน้

การศึกษาปริมาณก๊าซเรือนกระจกของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง โดยใช้วิธีการประเมิน
คารบ์ อนฟุตพร้นิ ท์ขององค์กร ทาใหท้ ราบถึงแหลง่ ปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกอย่างแท้จริง ผลการประเมินการใช้พลังงานไฟฟ้าในการ
ดาเนินกิจกรรมขององค์กร มีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด 99% ซ่ึงเป็นผลจากกิจกรรมท่ีดาเนินการสาหรับการ
บริหารองค์กร และกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งสอดคล้องกับการประเมินก๊าซเรือนกระจกท่ีถูกปล่อยออกมาจากกิจกรรมของ
ภาควชิ าวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี 2553 พบว่า มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เท่ากับ
1,036.43 tCO2eq โดยทีก่ ารใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ มีการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกมากทส่ี ุดคิดเป็นร้อยละ 52.9 ซึ่งจะนาผลท่ีได้มาวางแผน
ในการลดการใช้พลังงานและการจัดเก็บข้อมูลของภาควิชาต่อไป ธนัท พูลประทิน และคณะ, (2554) [4] มหาวิทยาลัยหัวเฉียว
เฉลิมพระเกียรติ มีการประเมินคาร์บอนฟุตพร้ินท์ขององค์กรในปี 2012 พบว่า มีปริมาณคาร์บอนฟุตพร้ินท์ เท่ากับ 34,355
tCO2eq มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียมีการประเมินคาร์บอนฟุตพร้ินท์ในปี 2559 พบว่ามีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ
5555.17 tCO2eq ฐิติกร หมายมั่น และคณะ, (2561) [5] มีการประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระกระจกในมหาวิทยาลัยของรัฐ
พบว่ามกี ารปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกของนักศกึ ษาแต่ละคนเทา่ กบั 64.02 kgCO2eq Kandananond K., (2017) [6] การประเมินก๊าซ
เรือนกระจกของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏลาปาง ในปีการศึกษา 2556 พบว่ามีการปล่อยปล่อยก๊าซเรือน
กระจกจากกจิ กรรมขององค์กรเท่ากับ 281.04 tCO2eq ธนวรกฤต โอฬารธนพร, (2556) [7] และมหาวิทยาลัยในต่างประเทศได้มี
การประเมนิ คารบ์ อนฟุตพร้ินท์ขององคก์ รเชน่ กัน ดังเชน่ มหาวิทยาลัย Campus in Mexico มกี ารประเมนิ คารบ์ อนฟุตพร้ินท์ของ
องคก์ รโดยใชแ้ นวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร พบว่าในประเภทที่ 2 มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากท่ีสุด เม่ือ
พจิ ารณาพบวา่ การใช้แสงสว่างมกี ารปล่อยก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 28 Escobedo A. and et al, (2014) [8] และมีการประเมิน
คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของมหาวิทยาลัยอินเดียโดยใช้วิธีการประเมินคาร์บอนฟุตพร้ินท์ขององค์กร พบว่าในมีการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกทางอ้อมร้อยละ 99 Singh Sangwan K. and et al., (2018) [9] การศึกษานี้ สามารถนาผลไปวางแผนการลดการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจกของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โดยการเสนอมาตรการการบริหารจัดการกิจกรรมในองค์กร และจัดทาบัญชี
รายการสาหรบั การประเมนิ ก๊าซเรือนกระจกในปีตอ่ ไป ใหถ้ กู ต้องตรงกับปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกครอบคลุมกิจกรรมของ
องคก์ รอย่างแทจ้ ริง

สรุป

การศึกษาปริมาณก๊าซเรือนกระจกของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง โดยใช้วิธีการประเมิน
คาร์บอนฟุตพร้ินท์ขององค์กร ทาให้ทราบถึงแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างแท้จริง ผลการประเมินการใช้พลังงานไฟฟ้าใน
การดาเนินกิจกรรมขององค์กร มีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด 99% ซ่ึงเป็นผลจากกิจกรรมที่ดาเนินการสาหรับ
การบริหารองค์กร และกิจกรรมการเรียนการสอน การศึกษานี้ สามารถนาผลไปวางแผนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 559 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โดยการเสนอมาตรการการบริหารจัดการกิจกรรมในองค์กร และจัดทาบัญชีรายการสาหรับการ
ประเมินกา๊ ซเรือนกระจกในปตี ่อไป ให้ถกู ต้องตรงกับปริมาณการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกครอบคลุมกิจกรรมขององคก์ รอยา่ งแท้จริง

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคณุ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาปาง ท่ีเอือ้ เฟือ้ สถานที่ อุปกรณ์ และข้อมลู ในการทาวจิ ัย

เอกสารอ้างอิง

[1] IPCC (Intergovermental Panel on Climate Change). 2006, IPCC Guideline for National Greenhouse Gas
Inventories. http://www.ipcc-nggip.iges.or.jp/public/2006gl/ เข้าใชเ้ มื่อ 11 February 2020

[2] Office of Natural Resource and Environmental Policy and Planning., 2015. Indicators for Emissions of
greenhouse gases. http://www.tdri.or.th เข้าใช้เมือ่ 17 February 2020

[3] แนวทางการประเมินคารบ์ อนฟตุ พร้นิ ท์ขององค์กร, 2559. องค์การบรหิ ารจัดการก๊าซเรือนกระจก(องค์การมหาชน). พิมพ์
คร้งั ที่ 5. กรุงเทพ.

[4] ฐติ กิ ร หมายมนั่ ., สมบตั ิ ทีฑทรัพย์., อตกิ ร เสรีพิพัฒนานนท,์ และบัณฑติ รตั นไตร, 2561. การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์
องค์กรของมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
หน้า 195-209

[5] ธนัท พูลประทิน มนตรี สว่างพฤกษ์ และ ธารงรัตน์ มุ่งเจริญ, 2103. การวิเคราะห์คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของภาควิชา
วิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. การประชุมวิชาการนานาชาติวิศวกรรมเคมีและเคมี
ประยกุ ตแ์ ห่งประเทศไทย ครั้งที่ 21. หนา้ 1-5

[6] Kandananond K., 2017. The Greenhouse Gas Accounting of A Public Organization: The Case of A public
University in Thailand. Energy Procedia volume 141 (2017) pp 672 -676.

[7] ธนวรกฤต โอฬารธนพร, 2557. การประเมินกา๊ ซเรือนกระจกของคณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏลาปาง,
การประชุมสมั มนาเชิงวิชาการรปู แบบพลังงานทดแทนสชู่ ุมชนแหง่ ประเทศไทย ครง้ั ท่ี 1. หนา้ 412-415.

[8] Escobedo, A., Briceno, S., Juarez, H., Castillo, D., Imaz, M., and Sheinbaum, C. (2014). Energy
consumption and GHG emission scenarios of a university campus in Mexico. Energy for sustainable
Development. Vol 18 (2014) pp. (49-57)

[9] Sangwan, K S., Bhakar, V., Arora, V., and Solanki, P. 2018. Measuring carbon footprint of an Indian
university using life cycle assessment. Procedia CIRP volume 69 (2018) pp 475 – 480.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 560 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเท ศไทย

  

037

มลพิษจากแหล่งกา้ เนิดนา้ เสยี แบบไมท่ ราบแหล่งทมี่ าที่แนน่ อน
ในพนื ทลี่ มุ่ แม่นา้ อิงตอนบน

Non-point Source Pollution in upper Ing Watershed Area

สชุ ญั ญา ทองเครอื 1* เจนจิรา คมุ้ ชู2 และ พัชรา ชานาญรกั ษา3
Suchanya Thongkrua1* Janjira Khomsu2 and Pardchara Chamnanraksa3
1*อาจารย์ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรส์ ิง่ แวดลอ้ ม คณะพลังงานและส่ิงแวดล้อม มหาวทิ ยาลยั พะเยา พะเยา 56000;
2,3นิสิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตรส์ ่ิงแวดล้อม คณะพลงั งานและส่งิ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลัยพะเยา พะเยา 56000
โทรศพั ท์ : 085-8333923, โทรสาร : 0–5446-6704, E-mail : [email protected]

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแหล่งกาเนิดน้าเสียแบบไม่ทราบแหล่งกาเนิดที่แน่นอนและคุณภาพในพื้นที่ลุ่มน้าอิง
ตอนบน โดยทาการเกบ็ ตวั อยา่ งนา้ ในลาน้าสาขาหลักที่ไหลลงแม่น้าอิงตอนบนและกว๊านพะเยาท้ังหมด 12 ลาน้า ได้แก่ คลองแม่
ใส คลองแม่ตอ๋ ม คลองแม่ตา๊ คลองแมต่ ้มุ คลองเหยย่ี น คลองจวา้ ห้วยลกึ คลองชมพู คลองคอื ห้วยบง คลองปืม และคลองแม่ต๋า
เก็บตวั อย่างน้า 2 ฤดู คือ ฤดูแลง้ (มีนาคม-เมษายน 2562) และฤดูฝน (สิงหาคม-กันยายน 2562) พบว่าสัดส่วนของแหล่งกาเนิด
น้าเสยี แบบไมท่ ราบแหลง่ กาเนดิ ที่แน่นอนโดยประเมนิ จากการใช้ที่ดิน ได้แก่ การปลูกข้าวร้อยละ 46 ชุมชนร้อยละ 22 พืชไร่ร้อย
ละ 22 ไมผ้ ลร้อยละ 8 และปศสุ ัตว์ร้อยละ 2 และพบว่าคุณภาพนา้ ในพ้ืนทีศ่ กึ ษาของฤดูแล้งเส่ือมโทรมมากกว่าฤดฝู น และคุณภาพ
น้าไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าในแหลง่ น้าผวิ ดิน ประเภทที่ 3 โดยในฤดูแลง้ คลองแม่ต๊ามีค่าดีโอต่าท่ีสุดเท่ากับ 0.56±0.09
มิลลิกรัมต่อลิตร คลองชมพูมีค่าบีโอดีสูงท่ีสุดเท่ากับ 8.30±0.17 มิลลิกรัมต่อลิตร และห้วยบงมีค่าแอมโมเนีย (NH3) สูงท่ีสุด
เท่ากับ 41.57±0.21 มิลลิกรัมต่อลิตร และพบว่าปริมาณสารอินทรีย์ที่ระบายลงสู่แม่น้าอิงตอนบนและกว๊านพะเยาในฤดูฝนมี
มากกว่าฤดูแล้ง โดยคลองแม่ตุ้มมีค่าสูงสุดเท่ากับ 12,807.78±273.25 กิโลกรัมบีโอดีต่อวัน สาหรับโลหะหนักมีการปนเป้ือนใน
ปริมาณนอ้ ยและผ่านเกณฑม์ าตรฐานคณุ ภาพน้าในแหล่งน้าผิวดนิ

คา้ ส้าคญั : คณุ ภาพน้า; ลมุ่ นา้ อิงตอนบน; แหล่งกาเนิดนา้ เสยี

Abstract

The objectives of the research were to study pollution generated from the non-point sources and
water quality in the upper Ing watershed area. Water samples in 12 branchs of upper Ing river and Kwan
Phayao were collected including Khlong Mae Sai, Khlong Mae Tom, Khlong Mae Tum, Khlong Mae Tom,
Khlong Yain, Khlong Javar, Huai Luek, Khlong Chompu, Khlong Kua, Huai Bong, Khlong Pumae, and Khlong
Mae tume in dry season (March-April 2019) and rainy season (August-September 2019). It was found that,
there were non–point sources identified by land use as for paddy field 46%, community 22%, field crop 22%,
orchard 8% and livestock 2% of total area of the upper Ing watershed are. In addition, water quality in the
dry season was lower than that of rainy season and excessed surface water quality standard class 3. In the
dry season, the highest DO in Khlong Mae Tum was 0.56±0.09. The highest BOD in Khlong Chompu was
8.30±0.17 mg/l and the highest NH3 in Huai Bong was 41.57±0.21 mg/l. BOD loadings in the stream branch of
upper Ing river and Kwan Phayao in rainy season were more than that in dry season. The highest BOD loading
in Khlong Mae Tom was 12,807.78±273.25 kg BOD/day. For heavy metals, the rivers were slightly
contaminated and permitted the surface water quality standard.

Keywords : water quality; upper Ing watershed; sources of wastewater

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 561 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แ ห่งปร ะเทศ ไทย

 

บทนา้

ลมุ่ น้าองิ ตัง้ อยู่ในพืน้ ทีข่ องลุ่มน้าโขงท่ีเป็น 1 ใน 25 ลุ่มน้าหลักของประเทศไทย ครอบคลุม 2 จังหวัดภาคเหนือตอนบนคือ
พะเยาและเชียงราย พื้นที่ลุ่มน้าอิงตอนบนเป็นแหล่งกาเนิดของลาห้วย 12 สาย ที่ไหลลงสู่กว๊านพะเยา ประชาชนส่วนใหญ่ทา
การเกษตร รวมท้ังมีเขตชมุ ชนร้านอาหาร และทพี่ กั อาศยั ริมนา้ ซง่ึ ได้รับการปนเปือ้ นน้าเสียจากแหล่งกาเนิดต่างๆ โดยคุณภาพน้า
กว๊านพะเยาและลุ่มน้าอิงในปี 2561 อยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรม พารามิเตอร์ที่เป็นปัญหาสาคัญและมีค่าเกินมาตรฐานคุณภาพน้าใน
แหล่งน้าผิวดิน ประเภทที่ 3 สาหรับการใช้ประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรมได้แก่ ค่าความสกปรกในรูปของอินทรีย์สาร (BOD)
ปริมาณแบคทเี รยี กลุ่มโคลฟิ อร์มทงั้ หมด (TCB) ปรมิ าณแบคทเี รียกลุ่มฟคี อลโคลฟิ อร์ม (FCB) และค่าแอมโมเนีย (NH3) [1] แต่ไมม่ ี
รายงานของปริมาณโลหะหนักท่ีปนเป้ือนในแหล่งน้า จากปัญหาคุณภาพน้าเส่ือมโทรมจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ตามมา สาหรับงานวจิ ยั การปนเปอื้ นของโลหะหนักในแหล่งน้าสาหรับประเทศไทยได้แก่งานวิจัยของ วิสูตร สุกร และไพรัตน์ สีหัว
โทน (2553) [2] พบว่าปริมาณแคดเมียมในน้าของคลองท่าคา คลองบางแค และคลองแควอ้อม ซ่ึงเป็นคลองที่ไหลผ่านพ้ืนที่สวน
มะพร้าว มีค่าอยู่ในช่วงตั้งแต่ตรวจไม่พบถึง 0.0945 mg/l ตะก่ัวในน้ามีค่าอยู่ในช่วง 0.0031 ถึง 0.0671 mg/l ซ่ึงพบว่าปริมาณ
ของสารโลหะหนักท้ังสองชนิดมีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานของคุณภาพน้าผิวดินประเภทที่ 2 ส่วนงานวิจัยของต่างประเทศได้แก่
งานวจิ ัยของ Dash and Borah (2018) [3] พบการปนเปือ้ นโลหะหนักในทะเลสาบ Deepor Beel ประเทศอินเดยี สูงขึน้ ในช่วงฤดู
ฝน โดยพบ Mg, Cr, Cd, Fe, Mn, Cu และ Pb มีค่าเทา่ กับ 9974.73, 583.00, 89.80, 2769.00, 956.00, 980.00 และ 109.41
mg/l ตามลาดับ ในส่วนของการศึกษาอัตราภาระบรรทุกมลสารในแหล่งน้า พบงานวิจัยของวันชัย ศรีงาม และวิภารัตน์ สุขป้อม
(2559) [4] ที่ศึกษาอัตราภาระบรรทุกมลสาร BOD SS และ Nitrogen ในลาน้าแม่ต๋าที่ไหลผ่านชุมชนหน้ามหาวิทยาลัยพะเยา
พบว่าแหล่งน้ามีแนวโน้มของอัตราภาระบรรทุกมลสาร BOD, SS และ Nitrogen เพ่ิมข้ึนจากการผ่านแหล่งกาเนิดน้าเสียชุมชน
มากทสี่ ุดและมีอตั ราบรรทุกของมลสาร P เพิ่มข้นึ จากการผา่ นแหล่งกาเนิดดา้ นการเกษตรมากทสี่ ดุ โดยมีอัตราภาระบรรทุกสะสม
ในลาน้าของค่า BOD เท่ากับ 31,024 kg/year ค่า SS เท่ากับ 160,983 kg/year ค่า N เท่ากับ 59,430 kg/year และค่า P
เท่ากับ 12,706 kg/year ดงั นน้ั คณะผูว้ ิจัยจึงได้ศึกษาสารมลพิษจากแหล่งกาเนิดน้าเสียแบบไม่ทราบแหล่งท่ีมาท่ีแน่นอนในลาน้า
สาขาของแม่น้าองิ ตอนบนและกวา๊ นพะเยา เพื่อเป็นข้อมลู พ้นื ฐานในการสนับสนุนการดาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ
จดั การมลพษิ ทางนา้ ตอ่ ไป

อุปกรณแ์ ละวธิ ีการ

1. ศึกษาแหล่งกา้ เนิดที่ไมท่ ราบแหล่งทมี่ าที่แนน่ อน (Non-point source) ในพนื ท่ีลุ่มน้าอิงตอนบน
ศกึ ษาแหลง่ กาเนดิ ที่ไม่ทราบแหล่งท่มี าทีแ่ น่นอนในพน้ื ท่ลี ุม่ นา้ อิงตอนบน โดยครอบคลุมพ้ืนที่ของ อ.แม่ใจ จ.พะเยา จนถึงอ.

เมือง จ.พะเยา ทมี่ ีการไหลผ่านของแมน่ า้ องิ และพื้นทก่ี ว๊านพะเยา
2. ศกึ ษาคุณสมบัตินา้ ในลา้ น้าสาขาของแมน่ า้ อิงและกว๊านพะเยา

ศึกษาคุณสมบัติน้าและอัตราการไหลของน้าในลาน้าสาขาของแม่น้าอิงและกว๊านพะเยา 2 ฤดู ได้แก่ ฤดูแล้ง (เดือน
มีนาคม–เมษายน 2562) และฤดูฝน (เดือนสิงหาคม–กันยายน 2562) ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้าทั้งหมด 14 พารามิเตอร์ ได้แก่
ความเป็นกรด-ด่าง (pH) อุณหภูมิ (Temperature) การนาไฟฟ้า (Conductivity) ดีโอ (Dissolved Oxygen : DO) บีโอดี
(Biochemical Oxygen Demand : BOD) แอมโมเนีย (NH3) ไนเตรท (NO3-) ฟอสเฟต (PO43-) ตะกั่ว (Pb) ทองแดง (Cu)
โครเมียม (Cr) แคดมียม (Cd) สังกะสี (Zn) และเหล็ก (Fe) และตรวจวิเคราะห์ตามวิธีมาตรฐานของ APHA, AWA and WEF
(2012) [5] โดยจุดเก็บตัวอย่างคือบริเวณลาน้าสาขาไหลลงแม่น้าอิงและกว๊านพะเยาในพื้นที่ลุ่มน้าอิงตอนบน จานวน 12 ลาน้า
ได้แก่ คลองแม่ใส คลองแม่ต๋อม คลองแม่ต๊า คลองแม่ตุ้ม คลองเหยี่ยน คลองจว้า ห้วยลึก คลองชมพู คลองคือ ห้วยบง คลองปืม
และคลองแม่ตา๋ แสดงดังรูปท่ี 1

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 562 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเท ศไทย

  

รูปท่ี 1 ลาน้าสาขาและจดุ เก็บตัวอยา่ งน้าในพ้ืนทลี่ มุ่ น้าอิงตอนบน

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

1. แหลง่ ก้าเนิดน้าเสยี แบบไมท่ ราบแหลง่ ทม่ี าท่ีแนน่ อน
การสารวจแหล่งกาเนดิ น้าเสียแบบท่ีไม่ทราบแหล่งที่มาที่แน่นอนในพ้ืนท่ีลุ่มน้าอิงตอนบน พบว่าในพ้ืนท่ีลุ่มน้าอิงตอนบนมี

แหล่งกาเนิดน้าเสียแบบไม่ทราบแหล่งที่มาท่ีแน่นอน มีสัดส่วนการใช้ประโยชน์ที่ดินแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ พ้ืนท่ีนาข้าว
พ้ืนที่ชุมชน พ้ืนที่ปลูกพืชไร่ พื้นที่ปลูกไม้ผล และพื้นที่ปศุสัตว์ โดยมีพ้ืนที่นาข้าวเท่ากับ 46% พ้ืนท่ีชุมชนเท่ากับ 22% พ้ืนที่ปลูก
พืชไร่เท่ากบั 22% ไดแ้ ก่ ข้าวโพด ยาสูบ และมนั สาปะหลงั พ้นื ทปี่ ลูกไม้ผลเท่ากับ 8% ได้แก่ มะพร้าว ลาไย มะนาว ขนุน และส้ม
โอ และพื้นทปี่ ศุสตั ว์เทา่ กบั 2% ไดแ้ ก่ ววั และควาย
2. มลพษิ จากแหล่งก้าเนดิ นา้ เสบี แบบไม่ทราบแหล่งทมี่ าทแ่ี นน่ อน

พบว่าลาน้าสาขาท่ีมีน้าไหลลงแม่น้าอิงและกว๊านพะเยาในพื้นที่ลุ่มน้าอิงตอนบนของฤดูแล้งและฤดูฝน มีจานวนทั้งหมด 9
แหง่ และ 12 แห่ง ตามลาดบั พบวา่ คณุ ภาพน้าในภาพรวมของฤดูแล้งเสื่อมโทรมมากกว่าฤดูฝน โดยคุณสมบัติของน้าในแหล่งน้า
สาขาในฤดูแลง้ ไดแ้ ก่ ค่าความเป็นกรด-ด่างอยูใ่ นชว่ ง 6.53±0.06-7.33±0.15 ค่าอุณหภูมิอยู่ในช่วง 24.37±0.06-29.50±0.52 ˚C
ค่าการนาไฟฟ้าอยูใ่ นช่วง 198.67±1.15-781±0.00 µS/cm ค่า DO อยู่ในช่วง 0.56±0.09-9.76±0.06 mg/l ค่า BOD อยู่ในช่วง
2.37±0.01-8.30±0.17 mg/l ค่าแอมโมเนียอยู่ในช่วง 8.63±6.35-41.57±0.21 mg/l ค่าไนเตรทอยู่ในช่วง 0.05±0.00-
15.47±0.31 mg/l ค่าฟอสเฟตอยูใ่ นชว่ ง 0.03±0.00-0.08±0.00 mg/l ตะก่ัวอยู่ในช่วง ND-0.04±0.00 mg/l ทองแดงอยู่ในช่วง
ND-0.03±0.00 mg/l สังกะสีอยู่ในช่วง 0.004±0.00-0.08±0.00 mg/l เหล็กอยู่ในช่วง 0.19±0.00-0.68±0.00 mg/l และตรวจ
ไม่พบโครเมียมและแคดเมียม ซึ่งคุณภาพน้าในฤดูแล้งไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าในแหล่งน้าผิวดิน ประเภทท่ี 3 (สาหรับ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 563 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แ ห่งปร ะเทศ ไทย

 

การเกษตรกรรม) [6] ประกอบด้วยพารามิเตอร์ DO (ออกซิเจนละลายน้า), BOD (ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์) และ NH3
(แอมโมเนีย) ซึ่งในฤดูแล้งแหล่งน้าที่มีความเส่ือมโทรมมากเม่ือพิจารณาจากค่า DO, BOD และ NH3 แสดงดังรูปท่ี 2 3 และ 4
ตามลาดบั และแหล่งน้าที่มีความเสอื่ มโทรมมากในฤดูแลง้ ได้แก่ คลองแมต่ า๊ คลองจว้า คลองชมพู และห้วยบง

รูปท่ี 2 ค่า DO ในลา้ น้าสาขาของลุ่มน้าองิ ตอนบน

รูปท่ี 3 คา่ BOD ในลา้ น้าสาขาของลมุ่ นา้ อิงตอนบน

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 564 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเท ศไทย

  

รปู ที่ 4 คา่ NH3 ในล้าน้าสาขาของลมุ่ นา้ องิ ตอนบน

เน่ืองจากเปน็ พ้ืนท่ีการทาเกษตรและมีปริมาณน้าท่ีน้อยกว่าในฤดูฝน ซ่ึงมีสารอินทรีย์ท่ีเกิดจากวัชพืชท่ีเน่าเปื่อย เพราะลา
นา้ มีวชั พชื ปกคลุมปริมาณมากทาให้น้าขาดออกซิเจน [7] รวมทั้ง NH3 ท่ีพบในปริมาณสูงอาจเนื่องมาจากบริเวณห้วยบงมีการทา
ฟาร์มปศสุ ตั ว์ และคลองแม่ต๋ามีนา้ เสียชมุ ชนปนเปื้อนดว้ ย สอดคล้องกับงานวจิ ัยของศวิ พนั ธุ์ ชอู นิ ทร์ (2558) [8] ที่พบว่า NH3 ใน
แหล่งน้าของจ.สมุทรสงคราม มีค่าอยู่ในช่วง 0.1-9.8 mg/l และมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.03±0.49 mg/l สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
คณุ ภาพนา้ ผิวดินประเภทที่ 3 สาหรับโลหะหนักมีการปนเป้ือนในปริมาณน้อย และผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าในแหล่งน้าผิว
ดิน

3. ปริมาณการระบายมลพิษในรูปของ BOD loading
ฤดูแล้งและฤดูฝนลาน้าสาขาในลุ่มน้าอิงตอนบนมีค่า BOD Loading อยู่ในช่วง 74.31±0.50-2,013.32±39.63 และ

11.62±0.22-12,807.78±273.25 Kg BOD/day ตามลาดับ โดยปริมาณสารอินทรีย์ในรูปของ BOD ท่ีระบายลงสู่แม่น้าอิงและ
กวา๊ นพะเยาในฤดูแล้งสงู ทสี่ ุด 3 อนั ดบั แรก ได้แก่ คลองแม่ต๋า คลองปืม และคลองแม่ใส โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2,013.32±39.63,
1,525±6.44 และ 1,043.79±7.63 Kg BOD/day ตามลาดับ และปริมาณสารอินทรีย์ในรูปของ BOD ท่ีระบายลงสู่แม่น้าอิงและ
กว๊านพะเยาในฤดูฝนสูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ คลองแม่ตุ้ม ห้วยลึก และคลองแม่ต๋า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12,807.78±273.25,
8,664±46.84 และ 4,750.62±216.82 Kg BOD/day ซึ่งปริมาณสารมลพิษในรูปของ BOD ท่ีระบายลงสู่ลาน้าสาขาของลุ่มน้าอิง
ตอนบนในฤดูฝนมีมากกว่าฤดูแล้ง เนื่องจากชุมชนที่มีการซักล้าง ทาครัว อาบน้า และการท้ิงเศษอาหาร ที่ระบายลงสู่แหล่งน้า
สาขาโดยไมไ่ ดร้ ับการบาบดั พื้นทกี่ ารเกษตรที่มกี ารใชป้ ุ๋ยเคมีและสารกาจัดศัตรูพืช มีการตายของพืชในพื้นที่เกษตร เม่ือฝนตกจึง
ชะล้างหนา้ ดนิ ลงสู่แหลง่ นา้ ในช่วงฤดูฝน รวมถึงของเสียประเภทอ่ืนๆทอ่ี าจถูกระบายทิ้งปนเป้ือนลงสู่แหล่งน้าด้วย ประกอบกับใน
ฤดูฝนแหล่งน้ามีปริมาณน้าและอัตราการไหลท่ีมากกว่าฤดูแล้ง โดยปริมาณสารอินทรีย์ในรูปของ BOD ของงานวิจัยน้ีสูงกว่า
งานวิจัยของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2554) [9] ที่พบว่าน้าเสียชุมชนมีปริมาณสารอินทรีย์ที่ระบายลงสู่แม่น้าในพื้นท่ี
เทศบาลตาบลองครกั ษ์ จ.นครนายก มีคา่ ประมาณ 15 Kg BOD/day

สรุป

แหล่งกาเนิดนา้ เสยี ที่ไมท่ ราบแหลง่ ทมี่ าที่แน่นอนในพ้ืนที่ลุ่มน้าอิงตอนบนมากที่สุดได้แก่ การปลูกข้าว 46% คุณภาพน้าใน
แหล่งนา้ ในฤดูแล้งเสือ่ มโทรมมากกว่าฤดูฝน โดยคุณภาพน้าไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าในแหล่งน้าผิวดิน ประเภทท่ี 3 ซึ่ง
ประกอบด้วยพารามิเตอร์ DO, BOD และ NH3 และแหล่งนา้ ท่มี คี วามเสื่อมโทรมมากในฤดแู ล้ง ได้แก่ คลองแม่ต๊า คลองจวา้ คลอง
ชมพู และหว้ ยบง แต่ปรมิ าณสารมลพิษในรูปของ BOD ทรี่ ะบายลงสู่ลาน้าสาขาของล่มุ นา้ อิงตอนบนในฤดฝู นมมี ากกวา่ ฤดแู ล้ง

กิตตกิ รรมประกาศ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 565 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แ ห่งปร ะเทศ ไทย

 

งานวิจัยนไี้ ดร้ บั งบประมาณสนับสนุนจากมหาวทิ ยาลัยพะเยา งบประมาณแผ่นดนิ ประจาปี พ.ศ.2562 โดยการสนับสนุน
จากสานักงานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ

เอกสารอา้ งอิง

[1] สานกั งานสิ่งแวดลอ้ มภาคท่ี 2 ลาปาง. คุณภาพนา้ ผวิ ดิน ไตรมาศ 3/2561 [อนิ เทอรเ์ นต็ ]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 20 ก.ค.
2562]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.reo02.mnre.go.

[2] วิสตู ร สกุ ร และไพรตั น์ สหี ัวโทน. (2553). การศกึ ษาศึกษาคุณภาพดินและคณุ ภาพนา้ ในคลองทา่ คา คลองบางแค และคลอง
แควออ้ ม. มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา. กรุงเทพฯ

[3] Dash, S and Borah, S. S. 2018. A modifi indexing approach for assessment of heavy metal contamination
in Deepor Beel, India. Ecological Indicators. 106: 105444.

[4] วนั ชัย ศรีงาม และวภิ ารัตน์ สุขป้อม. 2559. การประเมนิ มลสารและการจดั การคณุ ภาพนา้ ในลาน้าแม่ต๊า. วทิ ยานพิ นธ์
ปรญิ ญาโท, มหาวทิ ยาลัยพะเยา. พะเยา.

[5] American Public Health Association, American Works Association and Water Environment Federation.
2012. Standard methods for examination of water and wastewater. 22nd ed. American Public Health
Association, Washington, DC.

[6] ประกาศคณะกรรมการส่งิ แวดล้อมแห่งชาต.ิ 2537. พระราชบัญญตั สิ ง่ เสริมและรักษาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ.
2535 เรือ่ ง กาหนดมาตรฐานคณุ ภาพน้าในแหลง่ นา้ ผิวดิน ตีพมิ พ์ในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ 111 ตอนท่ี 16 ง ลงวันที่ 24
กุมภาพนั ธ์ 2537. กรุงเทพฯ.

[7] ม่ันสิน ตณั ฑลุ เวศน์ และ มน่ั ลกั ษณ์ ตัณฑุลเวศม์. 2547. เคมีวิทยาของนา้ และน้าเสีย. พิมพค์ ร้ังท่ี 2. โรงพมิ พ์แหง่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , กรงุ เทพฯ.

[8] ศิวพนั ธ์ุ ชูอินทร.์ 2558. แนวทางการจดั การทรพั ยากรน้าเพอื่ การอปุ โภคบริโภคอยา่ งย่ังยืน [อินเทอรเ์ น็ต]. [เข้าถึง
เมื่อ 10 ก.พ. 2563]. เข้าถงึ ได้จาก http://ssruir.ssru.ac.th/handle/ssruir/731

[9] มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. 2554. การประเมนิ ปริมาณมลพษิ จากน้าเสยี ในเขตเทศบาลตาบลองครกั ษ์ จงั หวัดนครนาย
[อนิ เทอรเ์ น็ต]. [เขา้ ถงึ เมื่อ 8 ก.พ. 2563]. เข้าถงึ ได้จากhttp://eng.swu.ac.th/other/ChanwitHtml/OnkSwmm
2html/OnkSwmm.html

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 566 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

066

การจดั การขยะมลู ฝอยอย่างมีส่วนร่วมของนักเรยี น:
กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านหัวดอย ตาบลท่าสาย
อาเภอเมืองเชยี งราย จังหวัดเชยี งราย

Student’s Participation in Solid Waste Management:
A Case Study of Ban Hua Doi School, Tha Sai Sub-
district, Mueang Chiang Rai District, Chiang Rai Province

กติ ติชัย จนั ธมิ า1* กฤตวิชญ์ สขุ อึง้ 2 สฤทธ์พิ ร วิทยผดงุ 3 และ สรุ นิ ทร์ ทองคา4
Kittichai Chantima1* Krittawit Suk-ueng1 Saritporn Vittayapadung1 and Surin Thongkham1
1*ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ; 2อาจารย์ ; 3อาจารย์ ; 4ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งราย เชียงราย 57100
*โทรศพั ท์ : 0-5377-6011, โทรสาร : 0-5377-6012, E-mail : [email protected]

บทคัดย่อ

การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีส่วนร่วมของนักเรียนในโรงเรียนบ้านหัวดอย
ตาบลท่าสาย อาเภอเมือง จงั หวัดเชยี งราย โดยหาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยใน
โรงเรียน เคร่ืองมือทใ่ี ชเ้ ปน็ แบบสอมถามจานวน 88 ชดุ โดยสอบถามนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 โดยตรวจสอบคุณภาพของ
เครือ่ งมือความตรงในดานเนื้อหาด้วยดัชนคี วามสอดคลอ้ งไดค้ า่ เทา่ กบั 0.66 – 1.00 วเิ คราะหห์ าคา่ ความเชื่อมนั่ ด้วยวธิ ีการคานวณ
สัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคของชุดคาถามได้เท่ากับ 0.73 และ 0.711 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐาน และค่าสมั ประสิทธิส์ หสัมพนั ธข์ องเพียรส์ ัน ผลการศึกษาพบวา่ ความรู้ และทัศนคตเิ กีย่ วกับการจัดการขยะมูล
ฝอยก่อนจดั กิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์ไปในทางบวกท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติ p<0.01 (r=
0.284) แต่ความรไู้ มม่ ีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียน แต่ความรู้ และพฤติกรรมใน
การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยหลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์ปานกลางไปใน
ทางบวกที่ระดับนยั สาคญั ทางสถติ ิ p<0.01 (r = 0.377) แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ผลของการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วน
รว่ มเป็นการกระตนุ้ ความรู้ และส่งผลตอ่ พฤติกรรมของนักเรียน

คาสาคญั : การจดั การ; ขยะมลู ฝอย; ความร;ู้ ทศั นคติ; พฤตกิ รรม; เชียงราย

Abstract

This study aimed to study student’s participation in solid waste management in Ban Hua Doi
School, Tha Sai Sub-district, Mueang Chiang Rai District, Chiang Rai Province. A level of knowledge, attitudes,
and behavior on solid waste management was studied by using participatory action research (PAR) of the
students. Eighty-eight questionnaires were used for interviewing the student of junior high school (grade 6-8).
The questionnaire had high content validity ranged from 0.66 - 1.00, and the Cronbach's alpha coefficient was
0.73 and 0.711. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation.
The results shown that there was a positive relationship between knowledge and attitudes on solid waste

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 567 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

management before PAR at a significant level of .01 (r = 0.284), but there was no relationship between
knowledge and behavior on solid waste management. There was, however, a medium positive relationship
between knowledge and behavior on solid waste management after PAR at a significant level of .01 (r =
0.377), resulting in, student’s PAR can stimulate knowledge and affect on behavior.

Keywords : management; solid waste; knowledge; attitudes; behavior; Chiang Rai

บทนา

ปรมิ าณขยะมลู ฝอยในจงั หวัดเชยี งรายมีรายงานมากถงึ 1,192 ตัน/วัน โดยปริมาณขยะเกิดขึ้นนั้นสูงสุดอยู่ที่อาเภอเมือง
ซ่งึ มีปรมิ าณขยะทเ่ี กิดขนึ้ 285 ตัน/วัน และมีปญั หาขยะสะสมตกคา้ งมากถึง 13,994 ตนั [1] ซ่ึงจงั หวัดเชียงรายได้ดาเนินการปลูก
จิตสานกึ ใหก้ บั เยาวชนได้มคี วามรแู้ ละมพี ฤติกรรมท่ชี ว่ ยลดปัญหาและเห็นคุณคา่ ของขยะมูลฝอย [2,3] โรงเรียนบา้ นหวั ดอย ตาบล
ท่าสาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เป็นหนง่ึ ในสถานศึกษาทยี่ งั ไมม่ กี ารศึกษาการจัดการขยะมลู ฝอยอย่างมีส่วนร่วมของนักเรียน
ดังน้ันการศึกษาครั้งน้ีจึงมุ่งเน้นการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีส่วนร่วมของนักเรียนโดยใช้วิธีการแบบกลุ่มเดียววัดสองครั้งเพื่อให้
ทราบถงึ ความรู้ ทศั นคติ และพฤตกิ รรมในการจดั การขยะมูลฝอยของนกั เรียนเพื่อให้สถานศึกษาสามารถดาเนินการจัดการขยะได้
เองโดยอาศัยการมสี ่วนรว่ มของเยาวชนอยา่ งเปน็ รปู ธรรม

อปุ กรณ์และวธิ กี าร

การศึกษาวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยแบบก่ึงทดลอง (Quasi Experimental Research) โดยมุ่งเน้นกิจกรรมเชิงปฏิบัติ
(Intervention activities) [4] โดยประชากรเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 - 3 โรงเรียนบ้านหัวดอย ตาบลท่าสาย อาเภอ
เมอื ง จังหวดั เชียงราย จานวน 88 คน (นกั เรียนชาย 39 คน และนักเรียนหญิง 49 คน) ซ่ึงคิดเป็นร้อยละ 26 ของนักเรียนทั้งหมด
โดยใชว้ ธิ ีการแบบกลมุ่ เดียววัดสองครั้งท้ังก่อนและหลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (รูปที่ 1)

รปู ท่ี 1 การทดสอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ก); การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เชิงปฏบิ ัตกิ ารอย่างมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ
มูลฝอย (ข)

แบบสอบถามท่ใี ช้วดั ความรู้ ทศั นคติ และพฤตกิ รรมการมสี ่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียนทั้งก่อนและหลัง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏบิ ัติการอยา่ งมีสว่ นรว่ มในการจัดการขยะมูลฝอยประกอบด้วย 4 ตอน [5] ดงั น้ี

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปสว่ นบุคคลแบบรายการตอบ (Check list) ประกอบด้วย เพศ อายุ และระดบั การศกึ ษา
ตอนที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับขยะมูลฝอย เป็นแบบคาถามทดสอบความรู้เก่ียวกับขยะมูลฝอย ซึ่งคาถามมีท้ังหมด
10 ข้อ เปน็ แบบเลอื กตอบใช่ และไม่ใช่ ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน
ตอนที่ 3 ทศั นคติของนักเรยี นเกี่ยวกับการจัดการขยะมลู ฝอยในโรงเรยี น แบบมาตรวัดลิเคอร์ท (Likert scale)
ลักษณะมาตรส่วนประมาณค่า (Rating scale) 3 ระดับ คือ เห็นด้วยมาก เห็นด้วยปานกลาง และเห็นด้วยน้อย ประกอบด้วย

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 568 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

คาถามทัง้ หมด 9 ข้อ โดยกาหนดคา่ คะแนน ไดแ้ ก่ ขอ้ คาถามเชงิ บวก (เห็นด้วยมาก ให้คะแนน 3 เห็นด้วยปานกลาง ให้คะแนน 2
และเห็นด้วยน้อย ให้คะแนน 1) และข้อคาถามเชิงลบ (เห็นด้วยมาก ให้คะแนน 1 เห็นด้วยปานกลาง ให้คะแนน 2 และเห็นด้วย
นอ้ ย ให้คะแนน 3)

ตอนท่ี 4 พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียน ข้อคาถามแบบเลือกตอบระหว่างทา
เปน็ ประจา ทาเป็นบางครั้ง และไมเ่ คยทาเลย ประกอบด้วยคาถามท้ังหมด 8 ข้อ โดยกาหนดค่าคะแนน ได้แก่ ข้อคาถามเชิงบวก
(ปฏิบัติเป็นประจา ให้คะแนน 3 ปฏิบัติเป็นบางคร้ัง ให้คะแนน 2 และไม่เคยปฏิบัติเลย ให้คะแนน 1) และข้อคาถามเชิงลบ
(ปฏิบัตเิ ป็นประจา ให้คะแนน 1 ปฏบิ ัตเิ ปน็ บางครง้ั ให้คะแนน 2 และไม่เคยปฏิบัตเิ ลย ให้คะแนน 3)

การตรวจสอบคุณภาพของเครือ่ งมอื โดยหาความเทย่ี งตรง (Validity) ตามบญุ ชม ศรสี ะอาด (2554) [6] และ (ธนกิติ์ ตัน
เจริญ, 2560) [7] โดยผลการตรวจสอบพบว่า แบบสอบถามทุกข้อมีค่า IOC ต้ังแต่ 0.66 – 1.00 แสดงว่าแบบสอบสามารถวัดได้
ตรงตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนด และหาความเชื่อมั่น (Reliability) โดยนาแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิไป
ทดลองใช้ (Try Out) กับกลุ่มตัวอย่างท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจริงที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มเป้าหมายที่จะศึกษา คือ นักเรียนใน
โรงเรยี นบา้ นโปง่ พระบาท ตาบลบ้านดู่ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย จานวน 30 คน จากนั้นคานวณสัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของครอ
นบาค (Cronbach Alpha Coefficient) ของชุดคาถาม ซึ่งพบว่าแบบสอบถามมีค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของครอนบาคในด้าน
ทัศนคติการจัดการขยะมูลฝอยของนักเรียนในโรงเรียน และพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยของนักเรียนของ
นักเรียน เท่ากบั 0.73 และ 0.711 ซ่งึ แสดงวา่ แบบสอบถามมคี วามน่าเชอ่ื ถอื สามารถนาไปเกบ็ ขอ้ มูลจรงิ ได้ [8]

การวเิ คราะหข์ อ้ มูลทวั่ ไป ความรู้ ทัศนคติ และพฤตกิ รรมใชส้ ถิติเชิงพรรณนาด้วยการวิเคราะห์ค่าเฉล่ียร้อยละ และส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐานแบบอิงเกณฑ์ [9] และใช้สถิติเชิงอนุมานเพ่ือทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร ได้แก่ ความรู้ ทัศนคติ และ
พฤติกรรมในการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียนโดยการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ( Pearson’s
correlation) [10]

ผลการทดลองและวิจารณ์

จากการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมของเยาวชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนต้นแบบในจังหวัด
เชียงราย ซึ่งได้เลือกโรงเรียนบ้านหัวดอย ตาบลท่าสาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เป็นโรงเรียนเป้าหมาย ผลการศึกษาพบว่า
นักเรยี นส่วนใหญ่มีความรู้เก่ียวกับขยะมูลฝอยอยู่ในระดับสูงท้ังก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วน
ร่วมในการจดั การขยะมลู ฝอย โดยระดับความรู้หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูล
ฝอยอยใู่ นระดับสงู รอ้ ยละ 86.4 ซึง่ เพิ่มข้ึนจากกอ่ นการกิจกรรมการเรยี นรู้เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารอย่างมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย
(ร้อยละ 79.6) ทศั นคติของนกั เรียนเก่ยี วกับการจดั การขยะมูลฝอยในโรงเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านหัวดอย ก่อนและหลังการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย พบว่าทัศนคติเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยใน
โรงเรียนของนักเรียนบ้านหัวดอย ทั้งก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูล
ฝอย โดยรวมอยใู่ นระดับเห็นด้วยมาก (กอ่ นการจดั กจิ กรรม ̅ = 2.39, S.D. = 0.33, หลังการจัดกิจกรรม ̅ = 2.38, S.D. = 0.32)
และพฤติกรรมการมสี ่วนร่วมในการจดั การขยะมลู ฝอยของนกั เรียนในโรงเรียนบ้านหัวดอย ภายหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิง
ปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย โดยรวมอยู่ในระดับปฏิบัติเป็นประจา (̅ = 2.43, 0.32) ซึ่งเพ่ิมขึ้นมากกว่า
ก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย ซึ่งอยู่ในระดับปฏิบัติเป็นบางคร้ัง (̅ =
2.32, S.D. = 0.31) แสดงให้เห็นถึงผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยท่ี
กระตนุ้ การเรียนรู้ การปฏบิ ตั ิ และพฤติกรรมท่เี ป็นไปในทศิ ทางท่ดี ีขึ้น

ผลของการจัดการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย เป็นการกระตุ้นความรู้ และส่งผลต่อ
พฤติกรรมของนักเรียนได้ ซึ่งสอดคล้องกับผลของการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติเก่ียวกับการจัดการขยะ มูล
ฝอย และพฤตกิ รรมการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การขยะมูลฝอยในโรงเรียน โดยพบว่า ก่อนการจดั การเรียนรูเ้ ชงิ ปฏิบัติการอย่างมีส่วน
ร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย ความรู้ และทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยมีความสัมพันธ์ไปในทางบวกที่ระดับนัยสาคัญ
ทางสถิติ p<0.01 (r = 0.284) (ตารางท่ี 1) แตค่ วามรู้ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ มูลฝอยใน
โรงเรียนซ่ึงสะทอ้ นใหเ้ ห็นวา่ แม้วา่ จะมคี วามรู้ และทัศนคติในเรื่องของจดั การขยะที่ดี แต่ในทางปฏิบัติแล้วพฤติกรรมในการจัดการ
ขยะนัน้ อาจไม่สอดคลอ้ งกับความรู้ และทศั นคติทป่ี รากฏ ดงั น้ัน การรณรงคใ์ ห้เยาวชนเหน็ ถงึ ความสาคัญของพฤติกรรมการมีส่วน
ร่วมในการจัดการขยะมลู ฝอยเปน็ ส่งิ ทค่ี วรตระหนักอยา่ งย่ิง ดังเชน่ ขอ้ เสนอแนะของ ชมพนู ุช สงกลาง (2557) [11] ที่เสนอว่า การ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 569 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ปลูกจติ สานึก การให้ความรู้ ส่งเสรมิ ให้เกิดทศั นคติ และพฤตกิ รรมอนั พงึ ประสงค์แกน่ ักเรียนในเรอ่ื งการจดั การขยะมูลฝอยอันเป็น
ส่วนหน่งึ ท่ีทาให้นกั เรียนเกดิ การจดั การขยะมูลฝอยอย่างถกู ต้องและยง่ั ยนื ตอ่ ไป

อย่างไรก็ตาม ภายหลังการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย พบว่าความรู้ และ
พฤติกรรมในการมสี ่วนร่วมในการจดั การขยะมลู ฝอยในโรงเรียนมคี วามสัมพนั ธ์ปานกลางไปในทางบวกท่ีระดับนยั สาคัญทางสถติ ิ p
< 0.01 (r = 0.377) (ตารางที่ 2) สอดคล้องกับการศึกษาเร่ือง ความรู้ และพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในพ้ืนที่
เทศบาลตาบลเสมด็ อาเภอเมือง จงั หวัดชลบรุ ี ผลการศึกษาพบว่า ความรู้ของประชาชนมีความสมั พนั ธเ์ ชิงบวกแบบคอ่ นขา้ งตา่ กับ
พฤติกรรมการจัดการขยะท่ีระดับนยั สาคญั .05 กลา่ วคือ เมื่อประชาชนมีความรู้เพิ่มขึ้นจะมีพฤติกรรมการจัดการขยะในระดับท่ีดี
ขึ้น [12] เช่นเดียวกับผลการศึกษาท่ีสอดคล้องกับผลการศึกษาของ เอกนรินทร์ กล่ินหอม (2553) [13] ได้ศึกษาเรื่อง ความรู้
ทัศนคติ และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลตาบลจันจว้า อาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย พบว่า
ความรกู้ ารจัดการขยะมลู ฝอยของ ประชาชนมีความสมั พันธก์ ับพฤตกิ รรมในการจัดการขยะมูลฝอย เช่นเดียวกับผลการศึกษาของ
พัชรี ไกรแก้ว (2550) [14] ท่ีได้ศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะในครัวเรือนของแม่บ้าน กรณีศึกษา แม่บ้านเขตเทศบาลตาบล
บางปู อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ พบว่า ความรู้เก่ียวกับการจัดการขยะกับปัจจัยอ่ืน ๆ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม
การจัดการขยะอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ท้ังน้ี การส่งเสริมให้เยาวชนมีความรู้ และการรณรงค์ให้เยาวชนเห็นถึง
ความสาคัญของการมสี ่วนรว่ มในการจดั การขยะมูลฝอยเปน็ สิ่งที่ควรตระหนกั อยา่ งย่งิ [10] ดงั น้ันโรงเรียนบ้านหัวดอยควรส่งเสริม
การมีส่วนร่วมของนักเรียนในด้านการจัดการขยะมูลฝอยให้มากข้ึน เช่น มีการส่งเสริมให้นักเรียนเห็นประโยชน์ของการร่วม
กจิ กรรมการจดั การขยะ และรณรงค์ให้นักเรยี นมีส่วนรว่ มในการลดการผลติ ขยะในแต่ละวนั เปน็ ต้น [15,16]

ตารางท่ี 1 ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการมีสว่ นรว่ มในการจดั การขยะมูลฝอยก่อนการจัดกิจกรรม

การวิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม
.284** .143
Pearson Correlation 1 .007 .183
88
ความรู้ Sig. (2-tailed) - 88 .162
1 .132
N 88 - 88
88 1
Pearson Correlation .284** .162 -
.132 88
ทศั นคติ Sig. (2-tailed) .007 88

N 88

Pearson Correlation .143

พฤติกรรม Sig. (2-tailed) .183

N 88

** ทดสอบความแตกต่างทีร่ ะดับนยั สาคัญทางสถติ ิ p<0.01

ตารางท่ี 2 ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมในการมสี ว่ นร่วมในการจดั การขยะมลู ฝอยหลงั การจัดกิจกรรม

การวิเคราะห์ความสมั พันธ์ ความรู้ ทศั นคติ พฤติกรรม
.171 .377**
Pearson Correlation 1 .112 .000
88
ความรู้ Sig. (2-tailed) - 1 88
.178
N 88 - .097
88 88
Pearson Correlation .171 .178 1
.097
ทศั นคติ Sig. (2-tailed) .112 88 -
88
N 88

Pearson Correlation .377**

พฤติกรรม Sig. (2-tailed) .000

N 88

** ทดสอบความแตกตา่ งท่รี ะดับนยั สาคญั ทางสถิติ p<0.01

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 570 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

สรปุ

ความรู้ และพฤติกรรมในการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียนบ้านหัวดอยไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติ (p>0.01) แตภ่ ายหลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม พบว่าความรู้ และพฤติกรรมใน
การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียนมีความสัมพันธ์ไปในทางบวกที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ p<0.01 (r=0.377)
ดังนั้นผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ ชงิ ปฏิบัติการอยา่ งมีสว่ นร่วมเปน็ การกระตุน้ ความรู้ และส่งผลต่อพฤติกรรมของนักเรียน

กติ ติกรรมประกาศ

โครงการวิจัยนไ้ี ดร้ ับการสนับสนุนทุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย งบประมาณแผ่นดิน ปี พ.ศ. 2562 (สัญญา
เลขท่ี A620411) ขอขอบคุณ โปรแกรมวิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย เทศบาลตาบลท่าสาย และโรงเรียนบ้านหัวดอย ตาบลท่าสาย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ท่ีอานวยความสะดวก
ตลอดจนอนุเคราะห์สถานที่ในการดาเนินการวิจัย ขอขอบคุณคณะครู และนักเรียนโรงเรียนบ้านหัวดอย ตลอดจนนักศึกษา
สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม โปรแกรมวิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชยี งราย ที่ไดช้ ่วยเหลือและใหค้ วามรว่ มมอื ในการศกึ ษาในครั้งน้ี

เอกสารอ้างองิ

[1] สานักงานส่ิงแวดล้อมภาค 1. 2559. รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยปี 2559. กรมควบคุมมลพิษ,
กรุงเทพมหานคร.

[2] จิรพรรณ กองสุวรรณ. 2549. พฤติกรรมการท้ิงขยะมูลฝอยของนักเรียนช่วงช้ันที่ 3 สังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ี 1 จังหวัดกาญจนบุรี. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
สขุ ศึกษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ.

[3] สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมคุณภาพ. 2558. การวางแผนจัดการขยะมูลฝอยการมีประสิทธิภาพ. สานักงาน
กองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสริมสุขภาพ, กรงุ เทพมหานคร.

[4] โยธนิ แสวงดี. 2551. การวิจยั เชิงคุณภาพ. ศนู ย์ศึกษาและฝกึ อบรมการวจิ ัย, กรุงเทพมหานคร.
[5] กิตตชิ ยั จันธิมา และกฤตวิชญ์ สุขอึ้ง. 2562. การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมของเยาวชนในการบริหารจัดการขยะ

มูลฝอยของชมุ ชนตน้ แบบในจงั หวัดเชยี งราย. คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย.
[6] บุญชม ศรสี ะอาด. 2554. การวจิ ัยเบอ้ื งตน้ . สุรีวทิ ยาสาส์น, กรุงเทพมหานคร.
[7] ธนกิต์ิ ตันเจรญิ . 2560. การศกึ ษาความรู้ ความตระหนกั และการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านโป่งมอญ ตาบลป่าก่อ

ดา อาเภอแมล่ าว จงั หวัดเชยี งราย. ปริญญานิพนธ์วทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิทยาศาสตร์สิง่ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
เชยี งราย.
[8] เกียรตสิ ดุ า ศรสี ุข. 2552. ระเบียบวิธีวจิ ัย. โรงพิมพ์ครองชา่ ง, เชียงใหม.่
[9] Bloom, B.S. 1971. Handbook on Formative and Summative Evaluation of Student Learning. McGraw-Hill,
New York.
[10] บุญธรรม กจิ ปรีดาบริสทุ ธ.์ิ 2543. รวมบทความการวิจัย การวัด และประเมนิ ผล (พมิ พค์ รัง้ ท่ี 2). กรงุ เทพฯ: ศรีอนนั ต์.
[11] ชมพูนุช สงกลาง. 2557. พฤติกรรมในการจดั การขยะมูลฝอยของนักเรียนโรงเรียนบ้านนาดี – สรา้ งบง ตาบลผาสกุ อาเภอ
กมุ ภวาปี จงั หวัดอดุ รธานี. ใน พิสิฏฐ์ เจรญิ สุดใจ (บรรณาธิการ). การประชุมวิชาการการพัฒนาชนบทท่ีย่ังยืน (หน้า 532-
539), มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, ขอนแกน่ .
[12] นิตยา เพียรทรัพย์. 2552. ความรู้ และพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในพื้นท่ีเทศบาลตาบลเสม็ด อาเภอเมือง
จังหวดั ชลบุร.ี ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ สาขานโยบายสาธารณะวิทยาลยั การบริหารรฐั กิจ มหาวทิ ยาลัย
บูรพา.
[13] เอกนรินทร์ กลิ่นหอม. 2553. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลตาบล
จันจว้า อาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ส่ิงแวดล้อม
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงราย.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 571 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

[14] พัชรี ไกรแก้ว. 2550. พฤติกรรมการจดั การขยะมลู ฝอยในครวั เรอื นของแม่บ้าน กรณีศกึ ษา: แม่บ้านเขตเทศบาลตาลบางปู
อาภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์สังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาส่ิงแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหดิ ล.

[15] วัลลีย์ กาญจนกิจสกุล. 2545. การฝึกอบรมอย่างมีส่วนร่วมเพ่ือการจัดการขยะมูลฝอยในกลุ่มเยาวชนโรงเรียนมัธยมต้น.
วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหดิ ล.

[16] เตอื นจิต สุดสวาท. 2547. การศกึ ษาพฤติกรรมการจดั การขยะมูลฝอย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนในเขต
เทศบาล ตาบลท่าเรือพระแท่น อาเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 572 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

076

การประเมินคุณภาพนา้ อา่ งเกบ็ น้าสามัคคีธรรม หมทู่ ี่ 5
บา้ นสามัคคีธรรม ตา้ บลลุ่มสมุ่ อ้าเภอไทรโยค จงั หวดั กาญจนบรุ ี
Water Quality Evaluation at Samakkhitham Reservoir,
Village No. 5, Samakkhitham House, Lum Sum Sub-

District, Sai Yok District, Kanchanaburi Province

อัมพา เอกจติ ต์1 และ พีรตา ขุนโอษฐ1์ *
Ampha Eakkachit1 and Phirata khunoad1*
1 นกั วิทยาศาสตร์ งานปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล วิทยาเขตกาญจนบุรี กาญจนบุรี 71150
* โทรศพั ท์ : 034-585058 ต่อ 2512, E-mail : [email protected]

บทคัดยอ่

งานวจิ ัยน้ีได้ศกึ ษาคณุ ภาพน้าด้านกายภาพ เคมี และชีววิทยา บริเวณอ่างเก็บน้าสามัคคีธรรม หมู่ท่ี 5 บ้านสามัคคีธรรม
ต.ล่มุ สมุ่ อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี โดยศึกษาการผันแปรในรอบปีโดยเก็บตัวอย่างในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว และแบ่งจุดเก็บ
ตวั อย่างทง้ั หมด 8 จุด ครอบคลุมบรเิ วณโดยรอบของอ่างเกบ็ นา้ โดยศึกษาพารามิเตอร์ดังต่อไปนี้ สี กลิ่น อุณหภูมิ ความเป็นกรด
และด่าง ออกซิเจนละลาย ค่าการน้าไฟฟ้า ความขุ่น บีโอดี แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม ไน
เทรต (NO3-) แอมโมเนีย (NH3) วเิ คราะหโ์ ลหะหนัก ได้แก่ ทองแดง (Cu) นิเกิล (Ni) แมงกานีส (Mn) สงั กะสี (Zn) แคดเมียม (Cd)
ตะก่วั (Pb) นอกจากนีย้ งั วิเคราะหเ์ ชิงคณุ ภาพหาสารฆ่าศตั รูพืช ชนดิ ท่มี คี ลอรีนทัง้ หมด (Total Organochlorine Pesticides) คือ
ดีดีที (DDT) บีเอชซี ชนิดแอลฟา (Alpha-BHC) ดิลดริน (Dieldrin) อัลดริน (Aldrin) เฮปตาคลอร์ และเฮปตาคลออีปอกไซด์
(Heptachor & Heptachlorepoxide) เอนดรนิ (Endrin) จากผลการศกึ ษาพบว่าดัชนคี ุณภาพน้าท่ีอย่ใู นเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ
น้าผิวดิน ได้แก่ สี กล่ิน อุณหภูมิ ความเป็นกรดและด่าง ออกซิเจนละลาย ความขุ่น บีโอดี แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด
แบคทีเรียกลมุ่ ฟคี อลโคลิฟอร์ม ไนเทรต (NO-3) แอมโมเนยี (NH3) และโลหะหนกั แคดเมียม (Cd) ส่วนดัชนีคุณภาพน้าท่ีไม่เป็นไป
ตามมาตรฐาน คือ ค่าการน้าไฟฟ้า และโลหะหนักได้แก่ ทองแดง (Cu) นิเกิล (Ni) แมงกานีส (Mn) สังกะสี (Zn) แคดเมียม (Cd)
ตะก่ัว (Pb) ท้ัง 3 ฤดูกาล และประเมินคุณภาพน้าจากค่าดัชนีคุณภาพน้า (Water Quality Index, WQI) ที่ค้านวณจาก 5
พารามิเตอร์ พบว่าคุณภาพน้าท้ัง 3 ฤดูกาลโดยรวมอยู่ในเกณฑ์พอใช้ (WQI score: 70) และอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าผิว
ดนิ ประเภทที่ 3 ซงึ่ ข้อมลู คุณภาพน้าที่ได้เป็นประโยชน์ให้ชมุ ชนเฝา้ ระวงั ติดตามคณุ ภาพนา้ และใชป้ ระโยชนเ์ พื่อการบริหารจัดการ
แหล่งน้าใหม้ คี วามยง่ั ยนื ต่อไป

คา้ สา้ คัญ : วิเคราะห์คณุ ภาพน้า อา่ งเกบ็ นา้ สามคั คธี รรม อา้ เภอไทรโยค จงั หวัดกาญจนบรุ ี

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 573 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

Abstract

This study aimed to investigate water quality of physical, chemical and biological conditions of
Samakkhitham reservoir, Village no. 5, Samakkhitham village, Lumsum subdistrict, Saiyok district, Kanchanaburi
province. The investigation was seasonally carried out by sampling 8 sites covering the area around the
reservoir in summer, rainy and winter. The following parameters, colour, odour, temperature, pH, dissolved
oxygen, conductivity, turbidity, BOD, total coliform bacteria, fecal coliform bacteria, nitrate-nitrogen (NO-3- N),
ammonia–nitrogen (NH3- N), heavy metals including copper (Cu), nickel (Ni), manganese (Mn), zinc (Zn),
cadmium (Cd) and lead (Pb) were quantitatively and qualitatively analyzed. In addition, qualitative analysis of
total organochlorine pesticides, DDT, alpha-bhc, dieldrin, aldrin, heptachor & heptachlorepoxide, endrin was
studied to confirm the hazardous quality of raw water. Based on the study results, colour, odour,
temperature, pH, dissolved oxygen, turbidity, BOD, total coliform bacteria, fecal coliform bacteria, nitrate-
nitrogen (NO-3- N), ammonia–nitrogen (NH3- N) and cadmium (Cd) were complied with the standard surface
water quality. On the other hands, conductivity, copper (Cu), nickel (Ni), manganese (Mn), zinc (Zn), cadmium
(Cd) and lead (Pb) were not complied with the standard surface water quality of all 3 seasons. The Water
Quality Index (WQI) calculated from 5 parameters, found that the water quality in all 3 seasons is in the
moderate level (WQI score: 70) based on the standard of surface water of type 3. This water quality data is
useful for monitoring and use in the management of water resources for sustainability.

Keywords : Water quality analysis, Samakkhitham reservoir, Saiyok district, Kanchanaburi province

บทนา้

อ่างเก็บน้าสามัคคีธรรม เป็นอ่างเก็บน้าท่ีมีความส้าคัญ ใช้ในการอุปโภคและบริโภค ของชาวบ้านหมู่ท่ี 5 บ้านสามัคคี
ธรรม ต.ลมุ่ สุ่ม อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี โดยมีตน้ นา้ อยูบ่ รเิ วณท่เี รียกวา่ พนุ ้าร้อน มหี ้วยต่าง ๆ ไหลลงมารวมเป็นหนองน้าหรือแอ่ง
น้า จนกระทง่ั ไหลรวมมาเปน็ อา่ งเก็บน้าสามัคคีธรรม ประกอบกบั การสะสมของน้าฝนท่ีตกลงมาตามฤดูกาล ซ่ึงอ่างเก็บน้าสามัคคี
ธรรมมพี น้ื ท่รี ับน้า 12.50 ตารางกิโลเมตร ความจุ 0.725 ล้านลูกบาศก์เมตร บริเวณตั้งแต่ต้นน้าจนถึงอ่างเก็บน้า และปลายน้า มี
ชาวบา้ นอาศัยอยโู่ ดยรอบประมาณ 245 ครัวเรอื น [1] ชาวบ้านส่วนใหญ่มอี าชีพท้าเกษตรกรรม และพบว่ามีการใช้ยาฆ่าแมลง ยา
ปราบวชั พืช อกี ทั้งมีการเลี้ยงสัตวเ์ ศรษฐกิจ เช่น แพะ สุกร และโค ซ่ึงมีโอกาสท่ีส่ิงปฏิกูลต่าง ๆ จะไหลรวมกันไปยังหนองน้าหรือ
แอ่งน้า ชุมชนบ้านสามัคคีธรรมเคยประสบปัญหาพบปลาตายเป็นจ้านวนมากท้ังขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ท่ัวบริเวณอ่างเก็บน้า
สามัคคีธรรมในครง้ั เดียวกัน โดยไม่ทราบสาเหตุ และในช่วงฤดูฝน เมื่อน้ามีปริมาณมากสูงท่วมต้นหญ้าและพืชต่าง ๆ บริเวณขอบ
อ่างเก็บน้าเป็นเวลานานจนถึงฤดูหนาว ส่งผลให้ต้นไม้ต่าง ๆ ตายและย่อยสลาย จึงท้าให้น้าท่ีปล่อยไปจากอ่างเก็บน้าส่งถึง
บา้ นเรือนตดิ กนั ตา่ ง ๆ น้ันมกี ลิ่นเนา่ เหม็นจากซากพชื ท่ีถกู น้าทว่ ม ทา้ ใหช้ าวบ้านเกิดความไม่ม่ันใจในการใช้น้าดิบเพ่ืออุปโภคและ
บริโภค และต้องการให้มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรีตรวจสอบคุณภาพน้า ทางทีมผู้วิจัยจึงเล็งเห็นความส้าคัญของ
ปัญหาท่ีเกิดข้ึน และประสงค์ขอท้าวิจัยในครั้งน้ี โดยอิงตามเกณฑ์มาตรฐานน้าผิวดินตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ ฉบับที่ 8 [2] และจะได้เป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการพัฒนาระบบผลิตน้าประปาเพื่อใช้ในการอุปโภคและบริโภค ของ
หม่บู า้ นต่อไป

อุปกรณแ์ ละวธิ ีการ

1. การส้ารวจพนื้ ท่ีและกา้ หนดจดุ เก็บตัวอย่าง ดงั ภาพถา่ ยดาวเทียมรปู ท่ี 1 และมีรายละเอยี ดดงั นี้
กอ่ นเขา้ อ่างเก็บน้า (ต้นน้า)
จดุ ท่ี 1 บรเิ วณพนุ า้ รอ้ น
จดุ ที่ 2 แอ่งน้าทางเข้าส้านักสงฆ์ไผเ่ วฬุวณั
จดุ ท่ี 3 แอ่งน้า (น้าไหลมาจากป่าชุมชน)

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 574 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ในอ่างเกบ็ น้า (กลางนา้ )
จุดท่ี 4 สา้ นกั สงฆไ์ ผ่เวฬวุ ณั (ทิศเหนอื ของอา่ งเกบ็ น้า)
จดุ ท่ี 5 กอ่ นส่งขน้ึ ถังสูงสง่ น้าประปาหมบู่ ้าน (ทิศใตฝ้ งั่ ตะวันตกของอา่ งเกบ็ น้า)
จดุ ที่ 6 กอ่ นไหลเข้าท่อเกษตร (ทศิ ใต้)
จุดที่ 7 กอ่ นไหลเขา้ ท่อ spring way (ทิศใต้ฝัง่ ตะวันออกของอา่ งเก็บนา้ )
ไหลออกจากอ่างเกบ็ น้า (ปลายนา้ )
จดุ ที่ 8 ตัวแทนบ้านในชมุ ชน

รปู ท่ี 1 ภาพถา่ ยดาวเทียมแสดงจดุ ตรวจวดั คณุ ภาพนา้ ภาคสนามและจุดเกบ็ ตัวอยา่ งน้าทั้ง 8 จุดของอา่ งเก็บน้าสามัคคีธรรม
หมทู่ ่ี 5 ต.ล่มุ สมุ่ อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี ทมี่ า: www.Google Earth.com

2. การวางแผนด้าเนนิ การตรวจวดั คุณภาพน้าและเกบ็ ตวั อยา่ ง
ด้าเนินการตรวจวดั คณุ ภาพนา้ ทางภาคสนาม และเก็บตวั อยา่ งเพอ่ื ทดสอบคณุ ภาพนา้ ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ พารามเิ ตอร์ที่ได้

ตรวจวัดและทดสอบดงั แสดงในตารางที่ 1 มีการด้าเนนิ การทัง้ หมด 3 ครงั้ คือฤดูหนาวเก็บข้อมูลในช่วงเดือนธันวาคม ฤดูร้อนเก็บ
ขอ้ มูลในชว่ งเดอื นเมษายน และฤดฝู นเก็บขอ้ มูลในชว่ งเดือนสิงหาคม
3. วธิ ีการเก็บตัวอยา่ งน้า

ด้าเนินการเก็บตัวอย่างนา้ โดยวิธีแบบจ้วงเนื่องจากเป็นแหล่งน้าผิวดิน ในจุดเก็บตัวอย่างที่เป็นน้านิ่งมีความลึกไม่เกิน 2
เมตร ใชก้ ารจ่มุ ขวดเกบ็ ตวั อย่างเกบ็ ตวั อยา่ งโดยตรง ส่วนบรเิ วณทล่ี ึกเกิน 2 เมตรใช้อุปกรณ์เก็บตัวอย่างน้าแบบแนวตั้ง (Vertical
Sampler Water) เก็บตัวอย่าง จดุ เก็บตัวอย่างท่ีเป็นล้าธารจะเก็บก่ึงกลางความกว้างและความลึกของจุดน้ัน ๆ การเก็บตัวอย่าง
เพ่ือวิเคราะห์ค่าแบคทีเรียเก็บน้าลึกจากผิวน้าประมาณ 20-30 เซนติเมตรโดยเปิดและปิดฝาใต้น้า มีการเติมสารเคมีเพื่อรักษา
สภาพน้าตวั อยา่ งบางพารามิเตอร์ที่จ้าเป็น และแช่เย็นเพื่อรักษาอุณหภูมิของตัวอย่างก่อนน้าไปห้องปฏิบัติการ อ้างอิงวิธีการจาก
ค่มู ือการปฏิบตั งิ านกรณีเหตกุ ารณ์ฉุกเฉนิ ดา้ นน้าเสีย กรมควบคมุ มลพษิ พ.ศ. 2556 [4]
4. วธิ กี ารตรวจวดั และทดสอบ

พารามเิ ตอรใ์ นการตรวจวัดและทดสอบคุณภาพน้าแหล่งน้าผิวดิน (ตารางท่ี 1) ตามท่ีก้าหนดไว้ในมาตรฐานคุณภาพน้า
ในแหลง่ น้าผิวดนิ (ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับท่ี 8 พ.ศ.2537) พารามิเตอร์ที่ต้องตรวจวัดภาคสนามด้าเนิน
ตามวิธีการจากค่มู อื การปฏิบตั ิงานกรณีเหตุการณ์ฉุกเฉินด้านน้าเสยี [4] การทดสอบตัวอยา่ งน้าในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารดา้ เนินการตามวิธี
Standard methods for the examination of water and wastewater. 23rd, 2017 [9]

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 575 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

ตารางที่ 1 พารามิเตอร์การตรวจวัดและทดสอบคณุ ภาพน้าในแหล่งนา้ ผิวดิน
สถานทตี่ รวจสอบ/ทดสอบ1
พารามเิ ตอร์ ภาคสนาม หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร การตรวจวัด/การทดสอบ

1 สี กลิ่น (colour, odour) * - สังเกต และดมกลนิ่
2 อณุ หภมู ิ (temperature) - oC * - Thermometer

3 ความเป็นกรดและดา่ ง (pH) * - pH meter

4 ออกซิเจนละลาย (DO) - mg/L * - DO meter

5 ความขุน่ - NTU * - Nephelometric

6 ค่าการน้าไฟฟา้ - s/cm * - Conductivity meter

7 บโี อดี (BOD) - mg/L - * Azide modification

8 แบคทีเรยี กลมุ่ โคลฟิ อรม์ ทง้ั หมด (Total Coliform Bacteria) - - * MPN
M.P.N/100 mL

9 แบคทีเรยี กลุม่ ฟีคอลโคลฟิ อรม์ (Fecal Coliform Bacteria) - - * MPN

M.P.N/100 mL - * UV-Visible
10 ไนเทรต (NO3-) ในหนว่ ยไนโตรเจน - mg NO3--N/L - * UV-Visible
11 แอมโมเนยี (NH3) ในหน่วยไนโตรเจน - mg NH4-N/L - * Flame Atomic Absorption
12 โลหะหนัก (Cu, Ni, Mn, Zn, Cd, Pb) - mg/L

13 สารฆา่ ศัตรพู ืชและสัตวช์ นิดทมี่ คี ลอรีนทั้งหมด (Total - * Gas Chromatography Mass
Spectrometer2
Organochlorine Pesticides) - g/L
(DDT, Alpha-BHC,Dieldrin, Aldrin, Heptachor &

Heptachlorepoxide, Endrin)
1 - = ไมต่ รวจวัด/ไม่ทดสอบ 1 * = ตรวจวัด/ทดสอบ 2 = ทดสอบเชิงคุณภาพ

5. การประเมนิ ผลการตรวจวดั และทดสอบ
ด้าเนินการน้าผลการตรวจวัดและทดสอบคุณภาพน้ามาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานคุณภาพน้าในแหล่งน้าผิวดิน

(ประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 8 พ.ศ.2537) และเปรยี บเทียบความแตกตา่ งของคุณภาพน้าทั้ง 3 ฤดูกาลโดย
วธิ ีการทางสถติ ิ กา้ หนดระดับนยั สา้ คัญทางสถิตเิ ทา่ กับ 0.05

ค้านวณคุณภาพน้าในภาพรวมทั้ง 3 ฤดูกาล คือค้านวณดัชนีคุณภาพน้า (Water Quality Index, WQI) ด้วยสูตรของ
กรมควบคุมมลพิษ (2559) [11] ท่ีได้มาจากคะแนนรวมดัชนีคุณภาพน้า 5 พารามิเตอร์ ได้แก่ DO, BOD, Total Coliform
Bacteria, Fecal Coliform Bacteria และ ammonia–nitrogen (NH3- N) ค่า WQI ท่ีได้น้ามาเปรยี บเทียบกับมาตรฐานแหล่งน้า
ผวิ ดิน

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

ผลการศึกษาคณุ ภาพนา้ อ่างเกบ็ นา้ สามัคคีธรรม มีดงั ต่อไปน้ี
สี (colour) สขี องน้าตามจุดต่าง ๆ ทไ่ี ด้ท้าการตรวจสอบโดยการสงั เกตท้งั 3 ฤดูกาล ในฤดกู าลท่มี ปี รมิ าณน้ามากแหล่ง
น้าจะมลี กั ษณะใส บางจุดมสี ีเหลอื งจาง ๆ แตม่ ีลกั ษณะใส บางจดุ มีตะกอนแขวนลอยของเศษใบไม้ ดินและหญ้า ซงึ่ เป็นลักษณะสี
ตามธรรมชาตขิ องแหลง่ น้า ซงึ่ จากขอ้ มลู อา้ งองิ สีของน้าเกิดจากการสะท้อนแสงของสารทแ่ี ขวนลอยอยูใ่ นนา้ เช่นน้าตามแหลง่ น้า
ธรรมชาติจะมสี เี หลอื งเกดิ จากกรดอนิ ทรยี ์ทอ่ี ย่ใู นน้า [3]
กล่ิน (odour) กล่ินของน้าตามจุดต่าง ๆ ทท่ี า้ การตรวจวัดโดยการสูดดมกล่นิ [4] พบวา่ ในฤดหู นาวมีปริมาณนา้ มาก
สะสมจากฤดฝู นซึ่งฝนตกชา้ กว่าปที ่ผี ่านมา และนา้ มรี ะดบั สูงจนทว่ มตน้ หญา้ และต้นไมต้ า่ ง ๆ เน่าตายบรเิ วณรอบขอบอ่างเก็บนา้
ทา้ ให้แหลง่ น้ามกี ล่นิ ของซากพชื ทีเ่ นา่ เปอื่ ย ซงึ่ แตกต่างกบั ฤดรู อ้ นและฤดฝู นแหล่งน้าไม่พบมกี ล่ินทีไ่ มพ่ ึงประสงค์ ซึ่งจากข้อมูล
อ้างอิงพบว่ากลนิ่ ของน้าจะข้นึ อยกู่ ับปรมิ าณสารอนิ ทรีย์ เช่น ซากพชื หรือซากสตั ว์ทเ่ี นา่ เป่ือยและสะสมในน้า [3]
อณุ หภูมิ (temperature) พบว่าฤดูร้อน ฤดูฝนและฤดูหนาวมีค่าเฉลี่ยอุณหภูมิอยู่ที่ 32.08 oC, 28.83 oC และ 27.07
oC ตามลา้ ดบั ซึ่งเป็นอุณหภมู ิที่เป็นไปตามธรรมชาติสอดคล้องกบั มาตรฐานคุณภาพน้าในแหลง่ น้าผิวดิน และผลวเิ คราะห์ทางสถิติ
พบวา่ อุณหภมู ิท้งั 3 ฤดูกาลมคี า่ ที่แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั ส้าคัญทางสถิติ

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 576 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

ความเป็นกรดและด่าง (pH) พบว่าฤดูร้อน ฤดูฝนและฤดูหนาว มีค่า pH เฉลี่ยอยู่ท่ี 7.38, 7.15 และ 7.56 ตามล้าดับ

ซึ่งสอดคล้องเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าผิวดิน ก้าหนดให้อยู่ในช่วง 5.0-9.0 และค่า pH ท่ีเหมาะสมกับการด้ารงชีวิต

ของส่ิงมีชีวติ ในนา้ คอื 6.0-8.0 [5] และผลวิเคราะหท์ างสถิติพบว่าค่า pH ในฤดูฝนต่้ากว่าฤดูร้อนและฤดูหนาวโดยแตกต่างอย่างมี

นัยส้าคัญทางสถิติ อาจเนอ่ื งจากในฤดฝู นนา้ ฝนที่ตกจะละลายกา๊ ซ CO2 ในอากาศเป็นกรดคาร์บอนิกตกลงสู่แหล่งน้าท้าให้มีความ
เป็นกรดข้นึ เล็กน้อย [10]

ออกซเิ จนละลาย (DO) พบวา่ ฤดูรอ้ น ฤดูฝนและฤดหู นาว มคี า่ DO เฉลีย่ อยทู่ ี่ 6.93, 5.36 และ 5.35 mg/L ตามล้าดับ

เทียบกบั มาตรฐานคณุ ภาพน้าผวิ ดินอยใู่ นประเภทที่ 2 และผลวเิ คราะหท์ างสถิตพิ บว่าคา่ DO ในฤดูรอ้ นสูงกวา่ ฤดูฝนและฤดูหนาว

โดยแตกตา่ งอย่างมีนยั ส้าคญั ทางสถิติ

ความขุ่น (Turbidity) พบว่าฤดูร้อน ฤดูฝนและฤดูหนาวมีค่าค่าความขุ่นเฉลี่ยอยู่ที่ 16.32, 18.71 และ 7.44 NTU

ตามล้าดับ พบรายงานอ้างอิงความขุ่นของแหล่งน้าตามธรรมชาติในประเทศไทยโดยท่ัวไปจะอยู่ในช่วง 25-75 NTU [6] ซ่ึงความ

ขนุ่ ทั้ง 3 ฤดกู าลมคี ่าค่อนขา้ งต่า้ กว่า อาจเน่อื งจากเปน็ แหลง่ นา้ ตามธรรมชาติทนี่ ้ามกี ารไหลผา่ นชั้นหินและมตี ะกอนแขวนลอยนอ้ ย

กว่า และผลวเิ คราะห์ทางสถิติพบวา่ คา่ ความขุน่ ท้งั 3 ฤดูกาลไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถติ ิ

ค่าการน้าไฟฟ้า (Conductivity) พบว่าฤดูร้อน ฤดูฝนและฤดูหนาว มีค่าการน้าไฟฟ้าเฉล่ียอยู่ที่ 621, 463 และ 578

s/cm ตามลา้ ดบั ซ่งึ คา่ การนา้ ไฟฟ้ามคี วามแปรผันตามปริมาณความเข้มข้นของสารละลายท่ีมีอยู่ในน้า ไมตรีและจารุวรรณ [7]

ได้รายงานไว้ว่าแหล่งน้าตามธรรมชาติโดยท่ัวไปจะมีค่าน้าไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 150-300 s/cm ซึ่งค่าการน้าไฟฟ้าท้ัง 3 ฤดูกาลมี

ปรมิ าณทส่ี งู กว่าอาจเนือ่ งมาจากแหล่งนา้ มปี ริมาณเกลอื แร่ปะปนอยู่สงู กวา่ แหลง่ นา้ ทั่วไป และผลวเิ คราะห์ทางสถิติพบวา่ คา่ การน้า

ไฟฟ้าในฤดูฝนมคี า่ ต่้ากว่าฤดรู อ้ นและฤดูหนาวโดยแตกต่างอยา่ งมีนัยส้าคัญทางสถิติ

บีโอดี (BOD) พบว่าฤดูร้อน ฤดูฝนและฤดูหนาว มีค่า BOD เฉลี่ยอยู่ที่ 1.53, 1.26 และ 1.30 mg/L ตามล้าดับ เมื่อ

เทยี บกับมาตรฐานคุณภาพนา้ ผิวดินอย่ใู นประเภทท่ี 2 และผลวเิ คราะห์ทางสถิตพิ บว่าค่า BOD ทั้ง 3 ฤดูกาลไม่แตกต่างกันอย่างมี

นยั สา้ คญั ทางสถติ ิ

แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform Bacteria) พบว่าฤดูร้อน ฤดูฝนและฤดูหนาว มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่

1,093, 1,034 และ 494 M.P.N/100 mL ตามล้าดับ จากค่าเฉลี่ยของน้าท้ัง 3 ฤดูกาล เทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้าผิวดินอยู่ใน

ประเภทท่ี 2 มีค่าไม่เกิน 5,000 M.P.N/100 mL และผลวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าทั้ง 3 ฤดูกาลไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทาง

สถิติ

แบคทีเรียกลมุ่ ฟีคอลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria) พบว่าฤดูร้อน ฤดูฝนและฤดูหนาว มีค่าเฉล่ียอยู่ท่ี 601,

814 และ 304 M.P.N/100 mL ตามลา้ ดับ จากค่าเฉลยี่ ของน้าท้ัง 3 ฤดูกาลเทียบกบั มาตรฐานคุณภาพนา้ ผิวดินอยู่ในประเภทท่ี 2

มคี ่าไม่เกนิ 1,000 M.P.N/100 mL และจากผลวเิ คราะห์ทางสถติ พิ บว่าทงั้ 3 ฤดูกาลไม่แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สา้ คัญทางสถิติ
ไนเทรต (NO3-)
0.502, 0.110 และ 0.245 ในหน่วยไนโตรเจน จากผลการทดสอบพบว่าไนเทรต ฤดูร้อน ฤดูฝนและฤดูหนาว มีค่าเฉล่ียอยู่ท่ี
mg NO3--N/L ตามล้าดับ จากค่าเฉลี่ยของน้าทั้ง 3 ฤดูกาลพบว่าค่าไม่เกินมาตรฐานคุณภาพน้าผิวดิน
คือ 5 mg NO3--N/L และผลวเิ คราะห์ทางสถติ พิ บวา่ ไนเทรตในฤดฝู นมคี า่ ต่า้ กวา่ ฤดูร้อนและฤดหู นาวโดยแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญ
ทางสถิติ

แอมโมเนีย (NH3) ในหนว่ ยไนโตรเจน จากผลการทดสอบพบว่าแอมโมเนียฤดูร้อน ฤดูฝนและฤดูหนาว มีค่าเฉลี่ยอยู่ท่ี
0.073, 0.124 และ 0.069 mg NH4-N/L ตามล้าดับ จากค่าเฉล่ียของน้าท้ัง 3 ฤดูกาลพบว่าค่าไม่เกินมาตรฐานคุณภาพน้าผิวดิน
คือ 5 mg NH4-N/L และผลวิเคราะห์ทางสถิตพิ บว่าทัง้ 3 ฤดูกาลไม่แตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสา้ คญั ทางสถิติ

โลหะหนัก (Heavy metal) จากผลวิเคราะห์พบว่าปริมาณทองแดงทั้ง 3 ฤดูกาลมีค่าเกินมาตรฐานคือ 0.1 mg/L โดย

ในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาวมีค่าเฉล่ียอยู่ที่ 0.364, 0.249, 0.112 mg/L ตามล้าดับ และผลวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าปริมาณ

ทองแดงท้ัง 3 ฤดูกาลมคี า่ ท่แี ตกตา่ งกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยฤดูร้อนจะมีปริมาณทองแดงมากที่สุด ปริมาณแมงกานีส ใน

ฤดูร้อน และฤดูฝน มีค่าเฉล่ียอยู่ท่ี 0.375, 0.151 mg/L ตามล้าดับ ซึ่งมีค่าเกินมาตรฐาน (มาตรฐานก้าหนดไม่เกิน 0.1 mg/L)

สว่ นฤดหู นาวมีปริมาณปกติมคี ่าเฉลี่ยอย่ทู ่ี 0.058 mg/L ผลวิเคราะหท์ างสถิติพบว่าปริมาณแมงกานีสในฤดูร้อนมีปริมาณท่ีสูงกว่า

ฤดูฝนและฤดูหนาวโดยแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ ปริมาณสังกะสีพบฤดูร้อนมีค่าเกินมาตรฐาน (มาตรฐานก้าหนดไม่เกิน

0.1 mg/L) โดยมคี ่าเฉลี่ยอยู่ที่ 0.138 mg/L ส่วนฤดูฝนและฤดูหนาวมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 0.061 และ 0.030 mg/L ตามล้าดับ และผล

วิเคราะห์ทางสถิติพบว่าปริมาณสังกะสีในฤดูร้อนมีปริมาณท่ีสูงกว่าฤดูฝนและฤดูหนาวโดยแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ

ปริมาณตะก่วั พบฤดูรอ้ นมคี า่ เกนิ มาตรฐาน (มาตรฐานกา้ หนดไมเ่ กนิ 0.05 mg/L) โดยมีค่าเฉล่ยี อยู่ท่ี 0.071 mg/L ส่วนฤดูฝนและ

ฤดหู นาวมคี า่ เฉล่ียอยูท่ ี่ 0.026 และ 0.025 mg/L ตามล้าดบั และผลวเิ คราะห์ทางสถติ พิ บว่าปรมิ าณตะก่ัวในฤดูร้อนมีปริมาณท่ีสูง

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 577 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สมาคมวิศวกรรม ส่ ิงแว ดล้อม แห่งปร ะเทศ ไทย

 

กว่าฤดูฝนและฤดหู นาวโดยแตกต่างอย่างมีนัยสา้ คัญทางสถติ ิ ปรมิ าณของนิเกลท่ีตรวจพบเฉพาะฤดูฝนและฤดูหนาว มีค่าเฉล่ียอยู่
ท่ี 0.002 และ 0.006 mg/L ตามล้าดับ และผลวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าปริมาณนิเกลในฤดูฝนและหนาวไม่แตกต่างกันอย่างมี
นยั ส้าคัญทางสถิติ และปรมิ าณของแคดเมียมไม่สามารถตรวจพบในท้ัง 3 ฤดูกาล อาจเน่ืองมาจากในธรรมชาติมีปริมาณน้อยมาก
เป็นท่นี ่าสงั เกตผลการวเิ คราะหป์ รมิ าณโลหะหนักในฤดูร้อนพบว่าปริมาณทองแดง แมงกานีส สังกะสี และตะก่ัว มีค่ามากกว่าฤดู
ฝนและฤดหู นาวอาจเน่อื งมาจากปรมิ าณนา้ ทีล่ ดน้อยลง

สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ชนิดที่มีคลอรีนทั้งหมด (Total Organochlorine Pesticides) วิเคราะห์เชิงคุณภาพด้วย
เทคนิค Gas Chromatography Mass Spectrometry โดยอ้างอิงและปรับปรุงวิธีการทดสอบตัวอย่างน้าตาม [8] จากผลการ
วิเคราะหไ์ ม่ปรากฎหลกั ฐานการปนเป้อื นของสารประกอบกลมุ่ ดงั กล่าว อาจเนื่องมาจากทางชุมชนไดร้ ณรงค์ให้งดการใช้สารเคมใี น
การท้าการเกษตร

ดชั นคี ุณภาพน้า (Water Quality Index, WQI) ค่า WQI ในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาวมีคะแนนอยู่ที่ 65, 61 และ
85 ตามลา้ ดบั คณุ ภาพน้าโดยรวมอย่ใู นเกณฑพ์ อใชโ้ ดยคะแนนเฉลี่ยรวมทง้ั 3 ฤดูกาลอยทู่ ่ี 70 และเทียบไดก้ บั มาตรฐานแหล่งน้า
ผิวดนิ ประเภทท่ี 3

ตารางที่ 2 ผลการตรวจวดั และทดสอบคณุ ภาพนา้ อา่ งเกบ็ นา้ สามัคคธี รรม ในแตล่ ะฤดูกาล

พารามิเตอร์ ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดหู นาว
Range Range
1. อณุ หภูมิ (temperature) (oC) Range Mean 20.60-33.00 Mean 26.00-28.00 Mean
2. ความเป็นกรดและด่าง (pH) 30.00-33.00 32.08a 6.08-7.50 28.83b 6.25-7.85 27.07c
3. ออกซเิ จนละลาย (DO) (mg/L) 6.67-7.75 7.38a 2.23-7.12 7.15b 2.03-7.39 7.56a
4. ความขนุ่ (NTU) 5.06-8.15 6.93b 0.51-123.00 5.36a 0.84-31.70 5.35a
0.44-40.60 16.32a 334-697 18.71a 430-769 7.44a
5. ค่าการน้าไฟฟา้ (s/cm) 621a 463b 578a
6. บโี อดี (BOD) (mg/L) 531-813 0.30-2.75 1.26a 0.58-2.22 1.30a
7. Total Coliform Bacteria 170-1,600 1034a 20-1,600 494a
(M.P.N/100 mL) 0.40-2.50 1.53a
8. Fecal Coliform Bacteria 17-1,600 1093a
(M.P.N/100 mL)
9. ไนเทรต (NO3-) (mg NO3--N/L) 7.8-1,600 601a 79-1,600 814a 1.8-1,600 304a
10. แอมโมเนยี (NH3) (mg NH4-N/L)
11. โลหะหนกั 0.031-0.836 0.502a nd-0.215 0.110b nd-0.669 0.245a
Cu (mg/L) nd-0.073 0.073a nd-0.173 0.124a nd-0.124 0.069a
Ni (mg/L)
Mn (mg/L) 0.318-0.416 0.364a 0.185-0.341 0.249b 0.047-0.203 0.112c
Zn (mg/L) nd nd nd-0.003 0.002a nd-0.008 0.006a
nd-0.530 0.151a nd-0.134 0.058a
nd-1.13 0.375b 0.005-0.262 0.061a 0.008-0.048 0.030a
0.030-0.276 0.138b
nd nd
Cd (mg/L) nd nd nd nd 0.002-0.053 0.025a
Pb (mg/L) 0.031-0.129 0.071b 0.001-0.068 0.026a n/a
n/a
12. Total Organochlorine Pesticides n/a n/a n/a n/a

- g/L

nd = not detectable n/a = not available

สรุป

คณุ ภาพของน้าจากอ่างเกบ็ นา้ สามคั คีธรรม หมู่ 5 บ้านสามคั คธี รรม ต.ลุ่มสุ่ม อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี มีคุณภาพดังน้ีคือ
สขี องนา้ ทง้ั 3 ฤดกู าลมลี ักษณะใส บางจดุ เกบ็ มีสีเหลืองใส ซ่ึงมีลักษณะท่ีเป็นไปตามสภาพของแหล่งน้าตามธรรมชาติ กลิ่นพบว่า
ฤดูหนาวน้าจะมีกล่ินรุนแรงท่ีเกิดจากซากหญ้าที่เน่าเป่ือยในบางจุดท่ีเก็บตัวอย่าง ส่วนฤดูร้อนและฤดูฝนพบกล่ินจาง ๆ ค่าเฉลี่ย
ของอณุ หภมู ิท้งั 3 ฤดู มีค่าตามสภาพของแหลง่ นา้ ตามธรรมชาติ ความขุ่นของนา้ มีค่าที่ค่อนข้างต้่ากว่าข้อมูลที่อ้างอิง [6] ในแหล่ง
นา้ ผิวดินทั่วไป แสดงไดว้ า่ แหล่งน้ามีปริมาณสารแขวนลอยต่้าซ่ึงเป็นข้อดีในการปรับปรุงคุณภาพน้าได้ง่ายก่อนน้ามาใช้ประโยชน์

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 578 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563

สม าคมวิศว กร รมส่ ิงแวดล้อมแห่งปร ะเทศไทย

  

แต่ค่าการน้าไฟฟ้าของแหล่งน้าทั้ง 3 ฤดูกาลมีค่าเฉลี่ยท่ีค่อนข้างสูงกว่าข้อมูลอ้างอิงของแหล่งน้าตามธรรมชาติ [7] แสดงได้ว่า
แหล่งน้ามีความเขม้ ขน้ ของสารที่มปี ระจทุ ่ีละลายอยู่ในน้าคอ่ นข้างสูง ค่าความเป็นกรดด่าง ค่า DO มีค่าท่ีเป็นไปตามสภาพแหล่ง
น้าตามธรรมชาติ ส่วนค่า BOD เฉล่ียท้ัง 3 ฤดูกาลพบว่าอยู่ในเกณฑ์ประเภทที่ 2 เทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้าผิวดิน ปริมาณไน
เทรตและแอมโมเนีย เฉลี่ยทั้ง 3 ฤดูกาลพบว่าไม่เกินที่มาตรฐานก้าหนด ปริมาณโลหะหนัก ในฤดูร้อนพบว่า ทองแดง แมงกานีส
สงั กะสี และตะกว่ั เกนิ มาตรฐานก้าหนด ฤดูฝนพบปริมาณทองแดง และแมงกานีส มีคา่ เกินมาตรฐานกา้ หนด ส่วนฤดูหนาวพบว่า
ทองแดงเกนิ ค่าทม่ี าตรฐาน คา่ แบคทีเรียกล่มุ โคลิฟอร์มทงั้ หมดและกลุ่มฟีคอลโคลิฟอรม์ ท้ัง 3 ฤดูกาลจัดอย่ใู นคณุ ภาพน้าประเภท
ที่ 2 และไม่พบการปนเป้ือนของสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ชนิดที่มีคลอรีนท้ังหมดให้แหล่งน้าน้ี ค่าดัชนีคุณภาพน้าโดยรวม (WQI)
สรุปได้วา่ คณุ ภาพน้าอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐานคุณภาพนา้ ผวิ ดนิ ประเภทท่ี 3

กติ ติกรรมประกาศ

การทา้ วิจัยในครง้ั นสี้ า้ เร็จลลุ ่วงไปไดด้ ้วยดี ทางทีมผู้วิจัยขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยมหิดล ที่มอบทุนอุดหนุนในการท้า
วิจัย ขอขอบพระคุณกองทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล ที่คอยสนับสนุนในการขอทุนท้าวิจัย และขอขอบพระคุณงาน
ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษา มหาวิทยาลยั มหดิ ล วิทยาเขตกาญจนบุรี ที่สนับสนุนการท้าวิจัย สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ และ
เคร่ืองมอื ต่าง ๆ

เอกสารอา้ งองิ

[1] องคก์ ารบริหารสว่ นตา้ บลล่มุ สมุ่ . (2558). ขอ้ มลู หมูบ่ ้านและประชากร. จาก
http://www.loomsoom.go.th/about สบื ค้นเมอื่ 28 พฤศจกิ ายน 2562

[2] คณะกรรมการส่ิงแวดลอ้ มแหง่ ชาติ. (2547). ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 8.
จาก http://www.pcd.go.th/info_serv/reg_std_water05.html. สบื ค้นเมอื่ 27 มกราคม 2557

[3] สถาบันนวตั กรรมการเรยี นรู้ มหาวิทยาลยั มหดิ ล. E-media. นิเวศวทิ ยาและส่ิงแวดลอ้ ม. จาก
https://il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter3/chapter3_water2.htm สืบคน้ เม่ือ 28 พฤศจกิ ายน 2562

[4] เชาวน์ นกอยู่, ทพิ ย์อาภา ยลธรรมธ์ รรม. (2556). การสงั เกตกลิน่ ของน้า. ใน ค่มู อื การปฏิบัติงานกรณีเหตุ
ฉกุ เฉนิ ด้านน้าเสีย. หนา้ 3. กรงุ เทพฯ: สว่ นแหลง่ น้าจืด สา้ นักจัดการคณุ ภาพนา้ กรมควบคมุ มลพิษ กระทรวง
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม.

[5] นนั ทนา คชเสน.ี 2536. คมู่ ือปฏบิ ัตกิ ารนิเวศวิทยานา้ จืด. สา้ นักพมิ พ์จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , กรุงเทพฯ.
[6] เกษม จนั ทรแ์ กว้ . 2530. วทิ ยาศาสตรส์ ่งิ แวดลอ้ ม. โครงการบัณฑติ ศกึ ษา สาขาวทิ ยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อม บณั ฑติ

วิทยาลัย มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร,์ กรงุ เทพฯ.
[7] ไมตรี ดวงสวสั ด,์ิ จารุวรรณ สมศิร.ิ (2529). คุณสมบัตขิ องนา้ และวธิ ีการวิเคราะห์สา้ หรับการวจิ ยั ทางการประมง.

สถาบนั ประมงนา้ จดื แห่งชาติ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรงุ เทพฯ.
[8] N. Sadao, Y. Takashi. (2001, September). Determination of organochlorine pesticides in river water by

gas chromatography-negative-ion chemical-ionization mass spectrometry using large volume injection.
Analyst. 2001, 126: 1658–166.
[9] Baird, R.B., Eaton, A.D., Rice, E.W. 2017. Standard methods for the examination of water and
wastewater. 23rd. American Public Health Association, Washington, DC.
[10] พรรณวดี ธา้ รงหวงั , สุวัฒน์ จันทิวงศ์, วารนิ ทร์ จิระสุขทวีกุล, บุญสง่ ไกรสรพรสรร, “คณุ ภาพทางกายภาพและเคมีของน้า
บรเิ วณลมุ่ นา้ ทะเลสาบสงขลา,” วารสารวชิ าการปา่ ไม้ 1 (มกราคม-มิถนุ ายน 2542). จาก
http://www.dnp.go.th/research/Journal/Vol1_No1/QualitieWater.htm สืบคน้ เมอื่ 10 เมษายน 2563
[11] สว่ นแหลง่ น้าจดื สา้ นักจดั การคณุ ภาพน้า กรมควบคมุ มลพิษ. ค่าคะแนนรวมของคณุ ภาพนา้ 5 พารามิเตอร์ (การคา้ นวณ
ค่า WQI แบบใหม)่ . จาก http://iwis.pcd.go.th/module/wqi_calculate/wqi.pdf สบื คน้ เมอื่ 20 พฤษภาคม 2563

การประชุมวิชาการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติครั้งท่ ี 19 579 วันท่ ี 27-29 พฤษภาคม 2563


Click to View FlipBook Version