The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร-2563-สาระวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Somza Jeed, 2022-09-11 01:19:07

หลักสูตรสาระวิทยาศาสตร์

หลักสูตร-2563-สาระวิทยาศาสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 4
ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลางและสาระการเรียนรูทองถิน่

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เขา ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพนั ธระหวางสิง่ ไมม ีชีวิตกับสง่ิ มชี วี ิตและ

ความสมั พนั ธร ะหวา งสิง่ มชี ีวติ กับสิ่งมชี ีวติ ตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงาน การ

เปล่ียนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปญหาและผลกระทบท่ีมีตอ

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและการ

แกไ ขปญหาสงิ่ แวดลอ มรวมท้งั นำความรไู ปใชป ระโยชน

ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรียนรทู อ งถนิ่

-- - -

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจสมบัตขิ องสิ่งมีชีวติ หนวยพื้นฐานของสงิ่ มีชีวิต การลำเลยี งสารผา นเซลล

ความสมั พันธข องโครงสรา ง และหนาท่ีของระบบตา ง ๆ ของสัตวแ ละมนษุ ยที่ทำงาน
สมั พนั ธก นั ความสมั พนั ธข องโครงสราง และหนา ท่ีของอวยั วะตาง ๆ ของพืชที่ทำงาน

สมั พันธกันรวมทั้งนำความรูไปใชป ระโยชน

ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรูทองถน่ิ

ป.4 ว 1.2 ป 4/1 บรรยายหนา ที่ของ - สวนตา ง ๆ ของพืชดอกทำหนาที่

ราก ลำตน ใบ และดอกของพืช แตกตา งกัน - พชื ท่พี บในบรเิ วณตาง

ดอกโดยใชขอมูลทรี่ วบรวมได - รากทำหนาที่ดูดนำ้ และแรธาตุข้นึ ๆ เชน ใกลโ รงเรียน รมิ

ไปยงั ลำตน ทะเล ฯลฯ ไดแ ก

- ลำตนทำหนา ทีล่ ำเลยี งนำ้ ตอไปยัง

สว นตา ง ๆ ของพืช

- ใบทำหนาทส่ี รางอาหาร อาหารท่ี

พืชสรา งข้นึ คือน้ำตาลซง่ึ จะ

เปลี่ยนเปน แปง

- ดอกทำหนาที่สืบพันธุ

ประกอบดวยสว นประกอบตาง ๆ

ไดแก กลบี เล้ยี ง กลีบดอก เกสรเพศ

ผู และเกสรเพศเมีย ซึ่งสว นประกอบ

แตละสว นของดอก ทำหนาท่ี

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรูทองถนิ่

แตกตางกนั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.3 เขา ใจกระบวนการและความสำคญั ของการถายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม สารพันธุกรรม

การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธกุ รรมที่มีผลตอ ส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและ

วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมท้งั นำความรูไปใชป ระโยชน

ช้นั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถิ่น

ป.4 ว 1.3 ป 4/1จำแนกส่งิ มีชีวติ โดยใช - สิ่งมชี วี ติ มหี ลายชนดิ สามารถ - สงิ่ มีชีวติ ที่พบ

ความเหมือนและ ความแตกตางของ จัดกลุมไดโดยใช ความเหมอื น บริเวณโรงเรียน

ลกั ษณะของสิ่งมีชวี ิตออกเปน กลุมพชื และความแตกตางของลักษณะ ชุมชนโดยรอบ

กลมุ สัตว และกลุมที่ไมใ ชพืชและสตั ว ตาง ๆ เชน กลุมพชื สรางอาหาร และอื่น ๆ

เองได และเคล่ือนท่ีดวยตนเอง

ไมไ ด กลมุ สัตวก นิ สง่ิ มีชีวติ อื่นเปน

อาหารและเคล่ือนทไี่ ด กลมุ ท่ี

ไมใ ชพชื และสตั ว เชน เห็ด รา

จุลนิ ทรีย

ว 1.3 ป 4/2 จำแนกพืชออกเปน พืช - การจำแนกพชื สามารถใชการ - ขอ มลู พืช และ

ดอกและพืชไมม ีดอก โดยใชการมดี อก มดี อกเปนเกณฑ ในการจำแนก สัตว ทพี่ บใน

เปนเกณฑ โดยใชข อมูล ท่รี วบรวมได ไดเ ปนพชื ดอกและพชื ไมม ีดอก บรเิ วณโรงเรียน

ว 1.3 ป 4/3จำแนกสัตวอ อกเปนสัตว -การจำแนกสัตว สามารถใชก ารมี ชมุ ชนโดยรอบ

มกี ระดูกสนั หลังและสัตวไมม ีกระดูก กระดูกสันหลัง เปนเกณฑในการ และอืน่ ๆ

สนั หลงั โดยใชการมกี ระดูกสันหลงั จำแนก ไดเ ปนสตั วม ีกระดกู สัน -

เปน เกณฑ โดยใชขอมูลท่ีรวบรวมได หลังและสัตวไ มม ีกระดูกสันหลัง

ว 1.3 ป 4/4บรรยายลักษณะเฉพาะท่ี - สตั วมกี ระดกู สนั หลงั มีหลาย

สังเกตไดของสัตวมกี ระดูกสันหลงั ใน กลมุ ไดแ ก กลมุ ปลา กลุมสตั ว

กลมุ ปลา กลุมสัตวสะเทินน้ำสะเทินบก สะเทินน้ำสะเทินบก กลมุ

กลุมสตั วเลอ้ื ยคลาน กลมุ นก และกลมุ สตั วเลอื้ ยคลาน กลมุ นก และ

สัตวเลีย้ งลกู ดวยน้ำนม และ กลมุ สัตวเ ล้ยี งลูกดวยนำ้ นม ซ่ึงแต

ยกตวั อยางส่งิ มชี วี ติ ในแตล ะกลุม ละกลุมจะมีลกั ษณะเฉพาะที่

สงั เกตได

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรกายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เขา ใจสมบตั ิของสสาร องคป ระกอบของสสาร ความสมั พันธระหวา งสมบตั ขิ องสสารกับ

โครงสรางและแรงยดึ เหน่ยี วระหวา งอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง

สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่ิน

ป.4 ว 2.1 ป 4/1 เปรียบเทยี บสมบัตทิ าง - วสั ดุแตละชนดิ มีสมบัตทิ าง - วสั ดุ/อุปกรณ

กายภาพดา นความแข็ง สภาพยดื หยนุ กายภาพแตกตางกนั วัสดุทม่ี ีความ ตาง ๆ

การนำความรอน และการนำไฟฟา ของ แขง็ จะทนตอ แรงขูดขีด วัสดุทม่ี ี

วัสดุโดยใชห ลักฐานเชงิ ประจกั ษจ าก สภาพยดื หยุน จะเปล่ียนแปลง

การทดลองและระบกุ ารนำสมบตั ิเรอ่ื ง รูปรางเม่อื มแี รงมากระทำและกลับ

ความแข็ง สภาพยืดหยุน การนำความ สภาพเดิมได วสั ดุทนี่ ำความรอนจะ

รอน และการนำไฟฟาของวสั ดไุ ปใชใ น รอ นไดเรว็ เม่ือไดรบั ความรอน และ

ชวี ติ ประจำวนั ผา นกระบวนกำรออก วสั ดุทนี่ ำไฟฟาได จะให

แบบช้นิ งาน กระแสไฟฟาไหลผา นได ดงั น้ันจงึ

ว 2.1 ป 4/2 แลกเปล่ียนความคิดกับ อาจนำสมบตั ติ า ง ๆ มาพจิ ารณา

ผูอ ืน่ โดยการอภปิ รายเกี่ยวกบั สมบตั ิ เพื่อใชใ นกระบวนการออกแบบ

ทางกายภาพของวัสดอุ ยางมเี หตุผล ชน้ิ งานเพอ่ื ใชประโยชนใน

จากการทดลอง ชวี ิตประจำวนั

ว 2.1 ป 4/3 เปรยี บเทยี บสมบตั ิของ - วัสดุเปน สสารเพราะมีมวลและ

สสารทงั้ 3 สถานะ จากขอ มูลที่ไดจ าก ตอ งการทีอ่ ยู สสารมสี ถานะเปน

การสังเกต มวล การตองการที่อยู ของแขง็ ของเหลว หรือแกส

รูปรางและปริมาตรของสสาร ของแขง็ มปี ริมาตรและรูปรางคงที่

ว 2.1 ป 4/4ใชเครือ่ งมือเพ่อื วัดมวล ของเหลวมปี ริมาตรคงท่ี แตม ี

และปริมาตรของสสารทั้ง 3 สถานะ รปู รา งเปลยี่ นไปตามภาชนะเฉพาะ

สว นทบ่ี รรจขุ องเหลว สวนแกสมี

ปริมาตรและรูปรา งเปลีย่ นไปตาม

ภาชนะที่บรรจุ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรกายภาพ

มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวิตประจำวนั ผลของแรงทกี่ ระทำตอ วัตถุ ลกั ษณะการ

เคลอ่ื นทแี่ บบตา ง ๆ ของวัตถุ รวมท้งั นำความรไู ปใชป ระโยชน

ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถน่ิ

ป.4 ว 2.2 ป 4/1ระบผุ ลของ - แรงโนม ถวงของโลกเปน แรงดึงดูดท่ี -

แรงโนมถวงทีม่ ีตอวตั ถจุ าก โลกกระทำตอวตั ถุ มีทิศทางเขา สู

หลักฐานเชงิ ประจกั ษ ศนู ยกลางโลก และเปนแรงไมสัมผัส แรง

ว 2.2 ป 4/2 ใชเ ครือ่ งชงั่ ดงึ ดดู ที่โลกกระทำกับวตั ถุหนึ่ง ๆ ทำให
สปรงิ ในการวัดน้ำหนัก วตั ถตุ กลงสูพ้นื โลก และทำใหวตั ถุมี
นำ้ หนัก วดั นำ้ หนกั ของวัตถุไดจ ากเครื่อง
ของวตั ถุ
ชง่ั สปริง นำ้ หนักของวตั ถขุ นึ้ กับมวลของ

วตั ถุ โดยวตั ถุท่ีมีมวลมากจะมีนำ้ หนกั

มาก วัตถุท่ีมีมวลนอยจะมีน้ำหนกั นอย

ว 2.2 ป 4/3บรรยายมวล - มวล คอื ปริมาณเนื้อของสารทัง้ หมดที่ -

ของวัตถุท่ีมผี ลตอ การ ประกอบกนั เปน วัตถุ ซึง่ มีผลตอความ

เปล่ยี นแปลงการเคลื่อนที่ ยากงา ยในการเปล่ยี นแปลง

ของวัตถจุ ากหลักฐานเชงิ การเคลื่อนทีข่ องวตั ถุ วตั ถุทมี่ ีมวลมาก

ประจักษ จะเปลยี่ นแปลงการเคลือ่ นที่ไดย ากกวา

วัตถุที่มีมวลนอย ดงั นั้น มวลของวัตถุ

นอกจากจะหมายถึงเน้ือท้ังหมดของวัตถุ

น้ันแลว ยังหมายถงึ การตา นการ

เปล่ยี นแปลง การเคลื่อนท่ีของวตั ถนุ ัน้

ดว ย

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถายโอนพลงั งาน ปฏสิ มั พันธ

ระหวา งสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณ

ที่เก่ียวของกับเสียง แสง และคลื่นแมเหลก็ ไฟฟา รวมท้งั นำความรูไปใชป ระโยชน

ช้นั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่ิน

ป.4 ว 2.3 ป 4/1 จำแนกวตั ถเุ ปน - เม่อื มองส่งิ ตา ง ๆ โดยมวี ตั ถุตา งชนดิ กันมา -

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ตวั กลางโปรงใส ตวั กลางโปรง กน้ั แสง จะทำใหลักษณะการมองเห็นส่งิ
แสง และวตั ถทุ บึ แสง จาก นั้นๆ ชัดเจนตางกัน จงึ จำแนกวัตถุทีม่ ากน้ั
ลกั ษณะ การมองเหน็ ส่งิ ตา ง ออกเปนตวั กลางโปรงใส ซ่งึ ทำใหม องเห็น
ๆ ผานวัตถนุ ั้นเปน เกณฑโ ดย สงิ่ ตาง ๆ ไดชดั เจน ตวั กลางโปรงแสงทำให
ใชห ลกั ฐานเชิงประจกั ษ มองเห็น ส่ิงตา ง ๆ ไดไมช ัดเจน และ วัตถุ

ทบึ แสงทำใหมองไมเ ห็นสิง่ ตาง ๆ น้ัน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแล็กซีดาวฤกษและระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะท่ี
สง ผลตอ ส่งิ มีชวี ิตและการประยุกตใช
เทคโนโลยอี วกาศ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถิ่น

ป.4 ว 3.1 ป 4/1 อธิบายแบบรูป - ดวงจนั ทรเ ปนบรวิ ารของโลก โดยดวงจนั ทร -

เสนทางการขนึ้ และตก ของ หมนุ รอบตัวเอง
ดวงจันทร โดยใชห ลักฐานเชิง ขณะโคจรรอบโลก ขณะท่โี ลกก็หมุน รอบตัว

ประจกั ษ เองดวยเชนกัน
การหมุนรอบตัวเองของโลกจากทศิ ตะวนั ตก
ไปทิศตะวันออกใน

ทศิ ทางทวนเข็มนากิ าเมื่อมองจากขั้วโลก
เหนอื ทำใหมองเห็น
ดวงจนั ทรป รากฏข้นึ ทางดา นทิศตะวนั ออก

และตกทางดา น
ทิศตะวันตกหมนุ เวียนเปนแบบรปู ซ้ำ ๆ

ว 3.1 ป 4/2 สราง - ดวงจนั ทรเปน วัตถุทเี่ ปน ทรงกลม แตร ูปรา ง -
แบบจำลองท่ีอธิบายแบบรปู ของดวงจนั ทรที่

การเปลีย่ นแปลงรปู รา ง มองเหน็ หรือรปู รา งปรากฏของดวงจันทรบน
ปรากฏของดวงจันทร และ ทองฟา แตกตางกนั ไป
พยากรณร ูปรา งปรากฏของ ในแตละวัน โดยในแตล ะวนั ดวงจนั ทรจะมี

ดวงจนั ทร รปู รา งปรากฏเปนเส้ียว
ที่มีขนาดเพิม่ ขึน้ อยางตอ เน่ืองจนเตม็ ดวง

จากน้นั รูปรางปรากฏ
ของดวงจนั ทรจ ะแหวงและมีขนาดลดลง
อยา งตอเนือ่ งจนมอง

ไมเ ห็นดวงจันทร จากนั้นรูปรางปรากฏของ
ดวงจันทรจะเปน
เสีย้ วใหญขึน้ จนเต็มดวงอีกครั้ง การ

เปลยี่ นแปลงเชน น้ีเปน แบบรูปซำ้ กัน
ทุกเดือน

ว 3.1 ป 4/3 สรา ง - ระบบสรุ ยิ ะเปน ระบบทม่ี ดี วงอาทิตยเปน -
แบบจำลองแสดง ศนู ยก ลางและมบี รวิ ารประกอบดว ย ดาว

องคป ระกอบของระบบสุรยิ ะ เคราะหแปดดวงและบริวาร ซ่ึงดาวเคราะห
และอธบิ ายเปรยี บเทยี บคาบ แตล ะดวงมีขนาดและระยะหางจากดวง
การโคจรของดาวเคราะหต า ง อาทิตยแ ตกตา งกัน และยังประกอบดว ย ดาว

ๆ จากแบบจำลอง เคราะหแ คระ ดาวเคราะหนอย
หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถน่ิ

ป.4 ดาวหาง และวตั ถุขนาดเล็กอ่ืนๆ

โคจรอยรู อบดวงอาทติ ย วัตถุขนาดเล็ก
อื่น ๆ เมื่อเขามาในชัน้

บรรยากาศเนื่องจากแรงโนมถวงของ
โลก ทำใหเกดิ เปน ดาวตก
หรอื ผีพุงไตและอุกกาบาต

สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เขา ใจองคประกอบ และความสัมพนั ธของระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลก

และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟาอากาศและภูมิอากาศโลก
รวมท้งั ผลตอสิ่งมชี ีวติ และสง่ิ แวดลอ ม

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรูทองถ่ิน

-- --

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยเี พือ่ การดำรงชวี ิตในสงั คมทมี่ ีการเปล่ยี นแปลงอยา ง

รวดเร็วใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอื่น ๆ เพ่ือ

แกปญหา หรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และ

สงิ่ แวดลอ ม

ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรียนรูทอ งถิ่น
-- - -

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เขา ใจและใชแ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแกปญ หาทพ่ี บในชวี ิตจริงอยางเปน ขนั้ ตอนและเปน

ระบบใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู การทำงาน และการแกปญหา
ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ รูเทาทนั และมจี รยิ ธรรม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่นิ

ป.4 ว 4.2 ป 4/1 ใชเหตผุ ล - การใชเ หตผุ ลเชิงตรรกะเปนการนำ -

เชงิ ตรรกะในการ กฎเกณฑ หรือเงื่อนไขท่ีครอบคลมุ ทกุ กรณมี า

แกปญหา การอธิบาย ใชพิจารณาในการแกปญ หา การอธบิ ายการ

การทำงาน การ ทำงาน หรอื การคาดการณผลลพั ธ

คาดการณผ ลลพั ธ จาก - สถานะเร่มิ ตนของการทำงานทีแ่ ตกตา งกนั

ปญ หาอยางงาย จะใหผ ลลพั ธที่แตกตางกัน

- ตวั อยางปญหา เชน เกม OX, โปรแกรมท่มี ี

การคำนวณ, โปรแกรมท่ีมตี ัวละครหลายตวั

และ มกี ารส่งั งานท่ีแตกตาง หรือมีการสื่อสาร

ระหวา งกัน, การเดนิ ทางไปโรงเรียนโดย

วิธกี ารตาง ๆ

ป.4 ว 4.2 ป 4/2 ออกแบบ - การออกแบบโปรแกรมอยางงาย เชน การ

และเขยี นโปรแกรม ออกแบบโดยใช storyboard หรือการ

อยางงา ย โดยใช ออกแบบอลั กอริทมึ

ซอฟตแ วร หรอื สื่อ - การเขยี นโปรแกรมเปนการสรางลำดับของ

และตรวจหา คำสั่ง ใหคอมพิวเตอรท ำงาน เพอื่ ใหได

ขอ ผดิ พลาดและแกไข ผลลพั ธตาม ความตองการ หากมขี อผิดพลาด

ใหต รวจสอบ การทำงานทลี ะคำส่งั เม่อื พบจดุ

ท่ที ำใหผ ลลัพธ ไมถูกตอง ใหทำการแกไ ข

จนกวาจะไดผ ลลัพธท่ีถกู ตอง

- ตวั อยางโปรแกรมท่ีมเี ร่อื งราว เชน นทิ านที่

มี การตอบโตกบั ผใู ช การตนู ส้นั เลากิจวตั ร

ประจำวัน ภาพเคล่ือนไหว

การฝกตรวจหาขอผดิ พลาดจากโปรแกรมของ

ผูอ ื่นจะชวยพัฒนาทักษะการหาสำเหตขุ อง

ปญ หาไดดยี ิ่งขน้ึ

-ซอฟตแวรท ใี่ ชใ นการเขยี นโปรแกรม เชน

Scratch, logo

ว 4.2 ป 4/3 ใช - การใชคำคนท่ีตรงประเด็น กระชบั จะทำให

อินเทอรเ นต็ คน หา ได ผลลพั ธท ่ีรวดเร็วและตรงตามความ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ช้นั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถิน่

ความรู และประเมิน ตองการ

ความนาเชือ่ ถือของ - การประเมนิ ความนา เชอื่ ถอื ของขอมลู เชน

ขอมูล พจิ ารณาประเภทของเวบ็ ไซต ผูเขียน วนั ท่ี

เผยแพรข อมลู การอางอิง

- เม่ือไดขอ มลู ทีต่ องการจากเวบ็ ไซตต าง ๆ

จะตองนำเนอ้ื หามาพจิ ารณา เปรยี บเทยี บ

แลว เลือกขอมูล ท่ีมีความสอดคลองและ

สัมพันธกนั

- การทำรายงานหรือการนำเสนอขอ มลู

จะตอง นำขอมูลมาเรียบเรยี ง สรุป เปนภาษา

ของตนเอง ทีเ่ หมาะสมกับกลุมเปา หมายและ

วิธีการนำเสนอ

(บูรณาการกับวชิ าภาษไทย)

ป.4 ว 4.2 ป 4/4 รวบรวม - การรวบรวมขอ มูล ทำไดโ ดยกำหนดหวั ขอ

ประเมนิ นำเสนอ ทต่ี อ งการ เตรียมอุปกรณในการจดบนั ทึก

ขอ มลู และสารสนเทศ - การประมวลผลอยางงาย เชน เปรยี บเทยี บ

โดยใชซอฟตแวรที่ จัดกลมุ เรียงลำดบั การหาผลรวม

หลากหลาย เพอื่ - วิเคราะหผลและสรางทางเลือกท่เี ปนไปได

แกป ญหาใน ประเมินทางเลือก (เปรียบเทียบ ตัดสนิ )

ชีวติ ประจำวนั - การนำเสนอขอมูลทำไดหลายลกั ษณะตาม

ความเหมาะสม เชน การบอกเลา

เอกสารรายงาน โปสเตอร โปรแกรมนำเสนอ

- การใชซ อฟตแ วรเพ่ือแกปญหาใน

ชีวติ ประจำวัน เชน การสำรวจเมนูอาหาร

กลางวนั โดยใชซ อฟตแวรส รา งแบบสอบถาม

และเกบ็ ขอมลู ใชซ อฟตแ วรต ารางทำงานเพื่อ

ประมวลผลขอมลู รวบรวมขอมลู เกย่ี วกับ

คณุ คาทางโภชนาการและสรางรายการอาหาร

สำหรบั 5 วัน ใชซ อฟตแวรนำเสนอผลการ

สำรวจ รายการอาหารทเี่ ปนทางเลือก และ

ขอ มูลดา นโภชนาการ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชั้น ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่ิน

ว 4.2 ป 4/5 ใช - การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภัย

เทคโนโลยีสารสนเทศ เขา ใจสิทธแิ ละหนาท่ขี องตน เคารพในสิทธิ

อยางปลอดภัย เขา ใจ ของผูอน่ื เชน ไมสรางขอความเทจ็ และสงให

สทิ ธแิ ละหนาทข่ี องตน ผูอน่ื ไมสราง ความเดือดรอนตอ ผอู น่ื โดยการ

เคารพในสิทธิของผูอน่ื สงสแปม ขอ ความลกู โซ สงตอโพสตท ่ีมีขอมูล

แจง ผเู ก่ยี วของเม่ือพบ สว นตวั ของผอู นื่ สง คำเชิญเลนเกม ไมเ ขาถึง

ขอมูล หรอื บุคคลท่ีไม ขอมลู สวนตวั หรือการบานของบุคคลอื่นโดย

เหมาะสม ไมไดรบั อนญุ าต ไมใชเครอ่ื งคอมพิวเตอร/ ช่ือ

บญั ชีของผูอ่ืน

- การสือ่ สารอยางมีมารยาทและรกู าลเทศะ

- การปกปองขอมลู สวนตวั เชน การออกจาก

ระบบเม่ือเลิกใชงาน ไมบอกรหสั ผาน ไมบอก

เลขประจำตวั ประชำชน

ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 5

ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลางและสาระการเรียนรทู องถิน่

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรชวี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เขา ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พนั ธร ะหวางส่ิงไมมชี ีวิตกบั สิ่งมชี ีวติ และ

ความสัมพนั ธระหวางส่ิงมีชีวติ กับสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงาน การ
เปล่ียนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปญหาและผลกระทบที่มีตอ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและการ
แกไขปญหาสิ่งแวดลอมรวมท้ังนำความรไู ปใชประโยชน

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถนิ่

ป.5 ว 1.1 ป 5/1 บรรยาย - สิ่งมีชวี ิตทั้งพืชและสัตวม ีโครงสราง -

โครงสรางและลักษณะของ และลักษณะ ที่เหมาะสมในแตละแหลง

ส่งิ มีชวี ติ ทเ่ี หมาะสมกับการ ทีอ่ ยู ซึ่งเปน ผลมาจาก การปรับตวั ของ

ดำรงชีวติ ซึง่ เปน ผลมาจากการ สง่ิ มชี ีวิต เพ่อื ใหดำรงชีวติ และอยรู อดได

ปรบั ตัวของสง่ิ มีชีวติ ในแตล ะ ในแตละแหลง ท่ีอยู เชน ผักตบชวามชี อ ง

แหลง ที่อยู อากาศในกานใบ ชวยใหลอยน้ำได ตน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถน่ิ

โกงกางท่ีขึน้ อยูใน ปาชายเลนมีรากคำ้

จุนทำใหล ำตน ไมล ม ปลามีครีบชว ยใน

การเคลื่อนทีใ่ นน้ำ

ว 1.1 ป 5/2 อธบิ าย - ในแหลงท่อี ยหู นงึ่ ๆ สิง่ มชี ีวิตจะมี - ส่ิงมีชีวติ ที่พบใน

ความสัมพันธร ะหวางสิง่ มีชวี ติ ความสัมพนั ธ ซึ่งกันและกนั และสัมพนั ธ โรงเรยี น และ

กบั ส่งิ มชี วี ิต และความสัมพันธ กับส่งิ ไมมชี ีวิต เพอื่ ประโยชนต อ การ บริเวณตาง ๆ

ระหวางส่ิงมชี วี ติ กบั ดำรงชวี ติ เชน ความสัมพนั ธกัน ดา น

ว 1.1 ป 5/3 เขยี นโซอ าหาร การกินกนั เปน อาหาร เปน แหลงทีอ่ ยู

และระบบุ ทบาทหนา ทข่ี อง อาศัย หลบภัยและเลย้ี งดลู ูกออน ใช

สง่ิ มีชวี ติ ทเ่ี ปน ผผู ลติ และ อากาศในการหายใจ

ผบู รโิ ภคในโซอาหาร - ส่ิงมีชวี ติ มีการกนิ กันเปนอาหารโดยกนิ

ว 1.1 ป 5/4 ตระหนกั ในคุณคา ตอ กนั เปน ทอด ๆ ในรปู แบบของโซ
ของสิง่ แวดลอมท่ีมตี อ การ อาหารทำใหส ามารถระบบุ ทบาทหนาท่ี
ดำรงชวี ิตของสิง่ มชี วี ิต โดยมี ของส่งิ มีชีวิตเปน ผูผลิตและผบู รโิ ภค

สวนรวม ในการดแู ลรักษา

สงิ่ แวดลอ ม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรชวี ภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เขา ใจสมบัตขิ องส่งิ มชี ีวติ หนวยพน้ื ฐานของสง่ิ มีชวี ติ การลำเลยี งสารผานเซลล

ความสมั พนั ธข องโครงสรา ง และหนาทข่ี องระบบตา ง ๆ ของสัตวและมนุษยทท่ี ำงาน

สัมพันธกัน ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของอวัยวะตาง ๆ ของพืชท่ีทำงาน

สมั พันธกันรวมท้ังนำความรไู ปใชประโยชน

ชั้น ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่ิน

-- --

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.3 เขาใจกระบวนการและความสำคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธกุ รรม สารพนั ธุกรรม

การเปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลตอ ส่งิ มีชีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและ
วิวฒั นาการของสง่ิ มชี ีวิต รวมทงั้ นำความรูไปใชประโยชน

ชนั้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถนิ่

ป.5 ว 1.2 ป 5/1 อธิบาย - สิง่ มีชีวติ ทั้งพืช สตั ว และมนษุ ย เมอ่ื โตเตม็ ทีจ่ ะมี ศึกษาลักษณะ

ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ี การสืบพันธุเพื่อเพม่ิ จำนวนและดำรงพนั ธุ โดยลกู ที่ การถายทอด

มกี ารถา ยทอดจากพอ แม เกดิ มาจะไดร บั การถายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม ทางพันธกุ รรม

สลู กู ของพืช สตั ว และ จากพอแมทำใหมีลักษณะทางพนั ธุกรรมท่ีเฉพาะ ของตนเองและ

มนษุ ย แตกตางจากสง่ิ มชี ีวติ ชนดิ อน่ื ครอบครวั

ว 1.2 ป 5/2 แสดงความ - พชื มกี ารถา ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม เชน -

อยากรูอยากเหน็ โดยการ ลกั ษณะของใบ สดี อก

ถามคำถามเกยี่ วกับ - สัตวมกี ารถา ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม เชน สี

ลักษณะทค่ี ลา ยคลึงกนั ขน ลกั ษณะของขน ลักษณะของหู

ของตนเองกับพอแม - มนุษยมกี ารถายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม เชน

เชงิ ผมทีห่ นา ผาก ลกั ยม้ิ ลกั ษณะหนังตำ การหอ

ลิน้ ลักษณะของตงิ่ หู

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพนั ธระหวา งสมบตั ขิ องสสารกบั

โครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลง
สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่ิน

ป.5 ว 2.1 ป 5/1 อธิบายการเปลี่ยน - การเปล่ียนสถานะของสสารเปน การ -

สถานะของสสาร เม่ือทำให เปลีย่ นแปลงทางกายภาพ เมื่อเพ่ิมความรอน

สสารรอนขึ้นหรือเยน็ ลง โดยใช ใหก บั สสารถึงระดบั หน่ึงจะทำใหสสารท่เี ปน

หลักฐานเชิงประจักษ ของแข็งเปลี่ยนสถานะเปนของเหลว เรยี กวา

การหลอมเหลว และเมื่อเพม่ิ ความรอ นตอไป

จนถึงอีกระดับหน่ึงของเหลวจะเปลี่ยนเปน แกส

เรียกวา การกลายเปนไอ แตเม่อื ลดความรอนลง

ถึงระดบั หนึง่ แกสจะเปล่ียนสถานะเปนของเหลว

เรยี กวา การควบแนน และถาลดความรอนตอไป

อีกจนถึงระดับหน่ึงของเหลวจะเปล่ยี นสถานะ

เปนของแข็ง เรียกวา การแข็งตวั สสารบางชนดิ

สามารถเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปน แกสโดย

ไมผ า นการเปน ของเหลว เรยี กวา การระเหิด

สวนแกสบางชนดิ สามารถเปลี่ยนสถานะเปน

ของแข็งโดยไมผาน การเปนของเหลว เรยี กวา

การะเหดิ กลบั

ป.5 ว 2.1 ป 5/2อธบิ ายการละลาย - เมื่อใสสารลงในน้ำแลว สารน้ันรวมเปน เน้ือ

ของสารในน้ำ โดยใชห ลักฐาน เดยี วกันกับนำ้ ท่ัวทุกสว น แสดงวา สารเกดิ การ

เชงิ ประจกั ษ ละลาย เรียกสารผสมทีไ่ ดวา สารละลาย

ว 2.1 ป 5/3วิเคราะหการ - เมอ่ื ผสมสาร 2 ชนิดข้ึนไปแลวมสี ารใหมเ กดิ ขน้ึ

เปลยี่ นแปลงของ เม่อื เกิดการ ซงึ่ มสี มบตั จิ ากสารเดมิ หรอื เมือ่ สารชนดิ เดียว

เปล่ยี นแปลงทางเคมี โดยใช เกิดการเปลยี่ นแปลงแลวมสี ารใหมเกดิ ขน้ึ การ

หลกั ฐานเชิงประจักษ เปลี่ยนแปลงน้ีเรียกวา การเปลี่ยนแปลงทางเคมี

ซ่ึงสงั เกตไดจากมสี ี หรอื กลิ่นตา งจากสารเดมิ

หรือ มีฟองแกส หรือมีตะกอนเกิดข้นึ หรือมกี าร

เพ่มิ ขน้ึ หรือลดลงของอุณหภมู ิ

ว 2.1 ป 5/4 วิเคราะหแ ละระบุ เม่อื สารเกิดการเปล่ียนแปลงแลว สารามารถ

การเปลี่ยนแปลงทผ่ี นั กลบั ได เปลยี่ นกลับเปน สารเดมิ ได เปนการปลี่ยนแปลงที่

และการเปล่ยี นแปลงท่ผี ันกลับ ผนั กลบั ได เชน การหลอมเหลว การกลายเปนไอ

ไมได การละลาย แตสารบางอยางเกดิ การเปลยี่ นแปลง

แลวไมสามารถเปลย่ี นกลบั เปนสารเดมิ ได เปน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถนิ่

การเปลย่ี นแปลงทผี่ ันกลบั ไมได เชน การเผาไหม

การเกิดสนิม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรกายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 เขา ใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจำวนั ผลของแรงที่กระทำตอวตั ถุ ลกั ษณะการเคลื่อนท่ี

แบบตาง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนำความรูไปใชประโยชน

ชั้น ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถนิ่

ป.5 ว 2.2 ป 5/1อธิบายวธิ กี ารหา - แรงลพั ธเปนผลรวมของแรงทก่ี ระทำตอวัตถุ โดย

แรงลัพธของแรงหลายแรงใน แรงลัพธของแรง 2 แรงท่ีกระทำตอ วตั ถุเดียวกนั จะ

แนวเดยี วกันท่ีกระทำตอวตั ถุใน มีขนาดเทากับผลรวมของแรงทั้งสองเมือ่ แรงทง้ั

กรณที ีว่ ตั ถุอยูน ิ่งจากหลกั ฐาน สอง อยูในแนวเดียวกนั และมีทศิ ทางเดยี วกัน แต

เชิงประจกั ษ จะมขี นาดเทากบั ผลตางของแรงทั้งสองเมือ่ แรงท้งั

ว 2.2 ป 5/2 เขียนแผนภาพ สอง อยใู นแนวเดียวกันแตมีทิศทางตรงขามกัน

แสดงแรงท่ีกระทำตอวตั ถุท่ีอยู สำหรบั วตั ถุที่อยนู งิ่ แรงลัพธที่กระทำตอวัตถมุ ีคา

ในแนวเดยี วกนั และแรงลัพธที่ เปน ศูนย

กระทำตอวตั ถุ - การเขยี นแผนภาพของแรงที่กระทำตอวตั ถุ

ว 2.2 ป 5/3 ใชเ คร่อื งชั่งสปรงิ สามารถเขยี นไดโดยใชล กู ศร โดยหัวลกู ศรแสดง
ในการวดั แรงท่ีกระทำตอวัตถุ ทศิ ทางของแรง และความยาวของลกู ศรแสดง
ขนาดของแรงทีก่ ระทำตอวตั ถุ

ว 2.2 ป 5/4 ระบุผลของแรง - แรงเสียดทานเปน แรงทีเ่ กดิ ขน้ึ ระหวา งผวิ สัมผสั

เสยี ดทานท่ีมตี อ การ ของวตั ถุ เพอ่ื ตานการเคล่อื นที่ของวัตถนุ น้ั โดยถา

เปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ขี อง ออกแรงกระทำตอวตั ถทุ ่อี ยูนิ่งบนพน้ื ผิวหนึ่งให

วัตถุจากหลักฐานเชงิ ประจักษ เคลอื่ นที่ แรงเสียดทานจากพื้นผวิ นนั้ กจ็ ะตา นการ

ว 2.2 ป 5/5 เขยี นแผนภาพ เคล่ือนที่ของวัตถุ แตถ า วตั ถกุ ำลงั เคลอื่ นที่ แรง

แสดงแรงเสียดทานและแรง ที่ เสยี ดทานกจ็ ะทำใหวตั ถนุ ้นั เคล่ือนท่ีชา ลง หรอื

อยใู นแนวเดยี วกันท่ีกระทำตอ หยุดน่งิ

วัตถุ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรกายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 เขา ใจความหมายของพลงั งาน การเปลย่ี นแปลงและการถา ยโอนพลังงาน ปฏสิ มั พนั ธ

ระหวางสสารและพลังงาน พลงั งานในชีวิตประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลื่น ปรากฏการณที่

เกีย่ วขอ งกบั เสยี ง แสง และคล่ืนแมเ หล็กไฟฟา รวมท้ังนำความรูไ ปใชประโยชน

ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถิ่น

ป.5 ว 2.3 ป 5/1 อธบิ ายการไดย ิน - การไดย ินเสียงน้ันตอ งอาศัยตวั กลางโดย -

เสียงผา นตัวกลาง จากหลกั ฐาน อาจเปนของแข็ง ของเหลว หรอื อากาศ เสยี ง

เชิงประจักษ จะสงผา นตัวกลางมายังหู

ว 2.3 ป 5/2 ระบุตวั แปร - เสียงทีไ่ ดย ินมรี ะดับสูงตำ่ ของเสยี งตา งกนั -

ทดลองและอธบิ าย ลกั ษณะ ขน้ึ กบั ความถ่ขี องการสน่ั ของแหลงกำเนดิ

และการเกดิ เสียงสงู เสยี งตำ่ เสียง โดยเมื่อแหลง กำเนิดเสยี งสนั่ ดว ยความถ่ี

ว 2.3 ป 5/3 ออกแบบกำรทดล ตำ่ จะเกิดเสียงตำ่ แตถาสนั่ ดว ยความถสี่ งู จะ

องและอธิบาย ลักษณะและการ เกิดเสยี งสงู สวนเสยี งดังคอยทีไ่ ดยนิ ข้ึนกบั

เกิดเสยี งดัง เสียงคอย พลังงานการสน่ั ของแหลง กำเนดิ เสยี ง โดยเมือ่

ว 2.3 ป 5/4 วัดระดบั เสียงโดย แหลงกำเนิดเสียงสน่ั พลังงานมากจะเกิดเสียง
ดงั แตถ าแหลง กำเนดิ เสยี งสน่ั ดวยพลงั งาน
ใชเ ครอ่ื งมือวัดระดบั เสยี ง
ว 2.3 ป 5/5 ตระหนักในคุณคา นอยจะเกดิ เสยี งคอย
ของความรเู รอ่ื งระดับเสียงโดย - เสียงดงั มาก ๆ เปน อนั ตรายตอการไดย ิน
และเสยี งที่กอ ใหเกิดความรำคาญเปน มลพษิ
เสนอแนะแนวทางในการ
หลกี เล่ยี งและลดมลพษิ ทาง ทางเสียง เดซเิ บลเปนหนว ยที่บอกถึงความดัง
เสยี ง ของเสยี ง

ว 3.2 ป 5/2ตระหนกั ถึงคุณคา - น้ำจดื ท่ีมนุษยนำมาใชไ ดมีปริมาณนอยมาก แหลงน้ำในชมุ ชน
ของน้ำโดยนำเสนอแนวทาง จงึ ควรใชน้ำอยางประหยัดและรวมกันอนรุ กั ษ
การใชน้ำอยา งประหยัดและ น้ำ
การอนรุ ักษน ำ้

ว 3.2 ป 5/3 สรางแบบจำลอง - วัฏจักรน้ำ เปนการหมุนเวียนของนำ้ ท่ีมี

ทอี่ ธิบายการหมุนเวียน แบบรปู ซำ้ เดิม และตอ เนื่องระหวา งน้ำใน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ของนำ้ ในวฏั จกั รน้ำ บรรยากาศ นำ้ ผิวดนิ และน้ำใตดนิ โดย
พฤติกรรมการดำรงชวี ิตของพืชและสตั วส ง ผล
ตอ วัฏจกั รนำ้

สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เขา ใจองคป ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซีดาว

ฤกษ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะท่ีสงผลตอส่ิงมีชีวิตและการ
ประยุกตใช เทคโนโลยีอวกาศ

ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถิน่
ป.5 ว 3.1 ป 5/1 เปรียบเทยี บ - ดาวที่มองเหน็ บนทองฟาอยูในอวกาศซึง่ -
ความแตกตางของดาว เปน บรเิ วณท่ีอยูนอกบรรยากาศของโลกมี
เคราะหแ ละดาวฤกษจ าก ท้ังดาวฤกษและดาวเคราะห ดาวฤกษเ ปน
แบบจำลอง แหลงกำเนดิ แสงจงึ สามารถมองเหน็ ได สว น
ดาวเคราะห ไมใชแ หลงกำเนิดแสง แต
สามารถมองเห็นไดเน่ืองจากแสงจากดวง
อาทิตยต กกระทบดาวเคราะหแลวสะทอน
เขาสูต ำ

ว 3.1 ป 5/2 ใชแ ผนท่ีดาว - การมองเห็นกลมุ ดาวฤกษม ีรปู รา งตา ง ๆ -
ระบตุ ำแหนงและเสนทาง เกดิ จากจนิ ตนาการของผสู งั เกต กลุมดาว
การขึน้ และตกของกลมุ ฤกษตาง ๆ ท่ีปรากฏในทอ งฟาแตละกลุมมี
ดาวฤกษบนทองฟา และ ดาวฤกษแตล ะดวงเรยี งกนั ที่ตำแหนงคงที่
อธบิ ายแบบรูปเสนทาง และมีเสนทางการขน้ึ และตกตามเสน ทาง
การขึ้นและตก ของกลุม เดิมทุกคืน ซึ่งจะปรากฏตำแหนง เดมิ การ
ดาวฤกษบ นทองฟา ในรอบ สังเกตตำแหนงและการขนึ้ และตกของดาว
ป ฤกษและกลุมดาวฤกษสามารถทำไดโ ดยใช
แผนทดี่ าว ซงึ่ ระบุมมุ ทิศและมมุ เงยท่ีกลุม
ดาวน้ันปรากฏ ผสู ังเกตสามารถใชม อื ในการ
ประมาณคาของมมุ เงยเมื่อสังเกตดาวใน
ทองฟา

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ ลก และอวกาศ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจองคป ระกอบ และความสมั พนั ธข องระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลก

และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟาอากาศและภูมิอากาศโลก

รวมทง้ั ผลตอสงิ่ มีชวี ติ และสิ่งแวดลอม

สาระการ

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง เรยี นรู

ทองถ่นิ

ป.5 ว 3.2 ป 5/1 เปรียบเทยี บ - โลกมที งั้ นำ้ จืดและนำ้ เค็มซ่ึงอยูในแหลงน้ำตาง ๆ ทีม่ ีทั้ง - แหลงนำ้

ปรมิ าณน้ำในแตล ะแหลง แหลงนำ้ ผิวดิน เชน ทะเล มหาสมุทร บงึ แมน้ำ และแหลง ตาง ๆ ใน

และระบปุ ริมาณน้ำทม่ี นุษย น้ำใตด นิ เชน น้ำในดิน และน้ำบาดาล น้ำทั้งหมดของโลก ทอ งถิ่น/

สามารถนำมาใชประโยชน แบงเปนน้ำเค็มประมาณรอยละ 97.5ซ่ึงอยูในมหาสมุทร จังหวัด

ได จากขอมูลท่รี วบรวมได และแหลง น้ำอื่น ๆ และท่ีเหลอื อีกประมาณรอยละ 2.5 - ขอ มูล

เปนน้ำจดื ถำ้ เรียงลำดบั ปริมาณนำ้ จืดจากมากไปนอยจะ แหลง นำ้ ใน

อยทู ี่ ธารนำ้ แข็งและพืดนำ้ แข็ง นำ้ ใตดนิ ช้ันดินเยอื กแขง็ ทอ งถ่ิน

คงตัวและนำ้ แข็งใตด ิน ทะเลสาบ ความชืน้ ในดิน ความชื้น ในจงั หวัด

ในบรรยากาศ บึง แมน ำ้ และน้ำในสิง่ มีชวี ิต และจงั หวัด

ใกลเคียง

ป.5 ว 3.2 ป 5/2 ตระหนักถึง - น้ำจืดท่ีมนษุ ยนำมาใชไ ดม ีปริมาณนอยมาก จงึ ควรใชน้ำ

คุณคาของน้ำโดยนำเสนอ อยางประหยัดและรวมกันอนุรกั ษนำ้

แนวทาง การใชน้ำอยา ง

ประหยดั และการอนุรักษน้ำ

ว 3.2 ป 5/3สราง - วัฏจักรน้ำ เปน การหมนุ เวียนของน้ำทม่ี ีแบบรูป ซ้ำเดิม

แบบจำลองท่ีอธิบายการ และตอ เน่ืองระหวา งนำ้ ในบรรยากาศ นำ้ ผวิ ดิน และน้ำใต

หมนุ เวยี น ของน้ำในวฏั จกั ร ดิน โดยพฤติกรรมการดำรงชีวติ ของพชื และสตั วส งผล

นำ้ ตอวฏั จกั รนำ้

ว 3.2 ป 5/4เปรียบเทยี บ - ไอนำ้ ในอากาศจะควบแนน เปนละอองนำ้ เล็ก ๆ โดยมี

กระบวนการเกดิ เมฆ หมอก ละอองลอย เชน เกลือ ฝนุ ละออง เกสรดอกไม เปน อนภุ าค

นำ้ คา ง และนำ้ คา งแข็ง จาก แกนกลาง เมอื่ ละอองน้ำจำนวนมากเกาะกลมุ รวมกนั ลอย

แบบจำลอง อยูสูงจากพน้ื ดินมาก เรียกวา เมฆ แตล ะอองนำ้ ท่ีเกาะกลมุ

รวมกันอยใู กลพ นื้ ดิน เรียกวา หมอก สวนไอนำ้ ที่ควบแนน

เปนละอองนำ้ เกาะอยบู นพื้นผิววตั ถุใกลพน้ื ดนิ เรียกวา

นำ้ คาง ถำ้ อณุ หภมู ิ ใกลพน้ื ดินตำ่ กวาจุดเยือกแข็ง นำ้ คา งก็

จะกลายเปน นำ้ คางแข็ง

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระการ

ชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง เรยี นรู

ทองถ่นิ

ว 3.2 ป 5/5 เปรยี บเทยี บ - ฝน หิมะ ลูกเหบ็ เปนหยาดนำ้ ฟาซ่งึ เปน น้ำท่มี ีสถานะตา ง

กระบวนการเกดิ ฝน หิมะ ๆ ทต่ี กจากฟา ถึงพนื้ ดนิ ฝน เกดิ จากละอองนำ้ ในเมฆที่

และลกู เห็บ จากขอมลู ท่ี รวมตวั กนั จนอากาศไมสามารถ

รวบรวมได

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เขา ใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชีวิตในสงั คมท่มี ีการเปลีย่ นแปลงอยาง

รวดเร็วใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอ่ืน ๆ เพ่ือ

แกปญหา หรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และ

ส่ิงแวดลอม

ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
-- - ทองถ่ิน

-

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เขา ใจและใชแ นวคิดเชิงคำนวณในการแกป ญ หาทีพ่ บในชีวติ จรงิ อยา งเปน ข้ันตอนและเปน

ระบบใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู การทำงาน และการแกปญ หา

ไดอ ยางมีประสิทธิภาพ รเู ทา ทนั และมีจรยิ ธรรม

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถ่นิ

ป.5 ว 4.2 ป 5/1 ใชเ หตผุ ลเชิง - การใชเ หตุผลเชิงตรรกะเปนการนำกฎเกณฑ หรือ -

ตรรกะในการแกปญ หา เงือ่ นไขท่ีครอบคลมุ ทุกกรณีมาใชพิจารณา ในการ

การอธิบายการทำงาน แกป ญหา การอธบิ ายการทำงาน หรือ การ

การคาดการณผ ลลัพธ คาดการณผ ลลพั ธ

จากปญ หาอยางงาย - สถานะเร่ิมตนของการทำงานทีแ่ ตกตางกนั จะให

ผลลัพธทีแ่ ตกตางกนั

- ตวั อยางปญ หา เชน เกม Sudoku , โปรแกรม

ทำนายตัวเลข, โปรแกรมสรา งรูปเรขาคณิตตามคา

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถน่ิ

ขอมูลเขา, การจัดลำดบั การทำงานบา นในชวง

วันหยุด, จดั วางของในครวั

ว 4.2 ป 5/2ออกแบบและ - การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโดยเขยี น เปน

เขยี นโปรแกรมท่ีมกี ารใช ขอความ หรอื ผังงาน

เหตผุ ลเชงิ ตรรกะอยางงา ย - การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการตรวจสอบ

ตรวจหาขอ ผดิ พลาดและ เง่อื นไขท่ีครอบคลมุ ทุกกรณีเพื่อใหไดผ ลลพั ธท ี่

แกไข ถกู ตองตรงตามความตองการ

- หากมีขอ ผดิ พลาดใหตรวจสอบการทำงาน ทีละ

คำสัง่ เม่ือพบจดุ ท่ีทำใหผ ลลพั ธไมถ กู ตอง ใหทำการ

แกไขจนกวา จะไดผ ลลัพธท ่ีถูกตอ ง

- การฝกตรวจหาขอ ผดิ พลาดจากโปรแกรมของผูอื่น

จะชวยพฒั นาทกั ษะการหาสาเหตุของปญหาไดดี

ย่ิงขึ้น

- ตวั อยา งโปรแกรม เชน โปรแกรมตรวจสอบเลขคู

เลขคี่ โปรแกรมรับขอ มูลน้ำหนกั หรือสวนสงู แลว

แสดงผลความสมสว นของรางกาย, โปรแกรมส่ังให

ตัวละครทำตามเงื่อนไขที่กำหนด

- ซอฟตแวรที่ใชในการเขียนโปรแกรม เชน Scratch,

logo

ป.5 ว 4.2 ป 5/3 ใช - การคน หาขอมูลในอนิ เทอรเ น็ต และการพจิ ารณา

อนิ เทอรเ น็ตคน หาขอ มลู ผลการคน หา

ติดตอ สื่อสารและทำงาน - การติดตอ สื่อสารผานอนิ เทอรเน็ต เชน อีเมล

รว มกัน ประเมินความ บล็อก โปรแกรมสนทนา

นาเช่ือถอื ของขอมูล - การเขยี นจดหมาย (บูรณาการกับวิชาภาษาไทย)

- การใชอ นิ เทอรเน็ตในการติดตอสอื่ สารและทำงาน

รว มกนั เชน ใชนัดหมายในการประชุมกลมุ ประชำ

สัมพนั ธกจิ กรรมในหองเรยี น การแลกเปลี่ยนความรู

ความคิดเหน็ ในการเรยี น ภายใตการดแู ลของครู

- การประเมินความนาเชื่อถือของขอ มูล เชน

เปรยี บเทียบความสอดคลอง สมบูรณของขอมูลจาก

หลายแหลง แหลงตนตอของขอมลู ผูเขยี น วนั ที่

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถนิ่

เผยแพรขอมูล

- ขอ มลู ทีด่ ตี องมรี ายละเอยี ดครบทุกดาน เชน ขอดี

และขอเสยี ประโยชนและโทษ

ว 4.2 ป 5/4 รวบรวม - การรวบรวมขอมูล ประมวลผล สรา งทางเลอื ก

ประเมนิ นำเสนอ ขอ มูล ประเมนิ ผล จะทำใหไดส ารสนเทศเพ่ือใชใ นการ

และสารสนเทศ ตาม แกปญ หาหรือการตดั สินใจไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

วตั ถปุ ระสงคโ ดยใช - การใชซ อฟตแวรหรอื บรกิ ารบนอนิ เทอรเ น็ต ท่ี

ซอฟตแ วรหรือบรกิ ารบน หลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สรา ง

อินเทอรเน็ตท่หี ลากหลาย ทางเลือก ประเมนิ ผล นำเสนอ จะชวยใหก าร

เพอื่ แกปญหาใน แกปญหาทำไดอยา งรวดเรว็ ถูกตอง และแมน ยำ

ชีวิตประจำวนั - ตัวอยางปญหา เชน ถายภาพและสำรวจแผนท่ี ใน

ทอ งถนิ่ เพ่ือนำเสนอแนวทางในการจัดการพื้นท่ีวาง

ใหเ กดิ ประโยชน ทำแบบสำรวจความคดิ เหน็

ออนไลน และวเิ คราะหขอมลู นำเสนอขอ มลู โดยการ

ใช Blog หรือ web page

ว 4.2 ป 5/5ใชเทคโนโลยี อนั ตรายจากการใชงานและอาชญากรรม ทาง

สารสนเทศอยางปลอดภยั อินเทอรเ นต็

มีมารยาท เขาใจสทิ ธแิ ละ - มารยาทในการติดตอส่ือสารผานอินเทอรเน็ต

หนา ทข่ี องตน เคารพใน (บรู ณาการกบั วิชาท่เี กีย่ วของ)

สทิ ธิของผูอื่น แจง

ผูเกยี่ วขอ งเม่ือพบขอมูล

หรือบคุ คลท่ีไมเหมาะสม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 6
ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแกนกลางและสาระการเรียนรทู องถ่ิน

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เขา ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธร ะหวา งส่ิงไมมชี ีวิตกับสิง่ มีชีวติ และ

ความสมั พันธระหวา งสงิ่ มชี วี ิตกบั สง่ิ มชี ีวิตตาง ๆ ในระบบนเิ วศ การถา ยทอดพลงั งาน การ

เปล่ยี นแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปญหาและผลกระทบท่ีมตี อ

ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาติและการ

แกไขปญหาส่งิ แวดลอมรวมทั้งนำความรไู ปใชประโยชน

ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรูท อ งถิน่

-- --

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เขา ใจสมบัตขิ องส่งิ มชี วี ิต หนว ยพื้นฐานของส่งิ มชี วี ติ การลาเลียงสารผานเซลล

ความสัมพันธของโครงสราง และหนาท่ีของระบบตาง ๆ ของสัตวและมนุษยที่ทำงาน

สัมพันธกันความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของอวัยวะตาง ๆ ของพืชท่ีทางาน
สัมพนั ธก นั รวมท้ังนำความรูไปใชป ระโยชน

ชนั้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถิน่

ป.6 ว 1.2 ป 6/1ระบสุ ารอาหาร - สารอาหารท่อี ยใู นอาหารมี 6 ประเภท อาหารทนี่ ักเรยี น
และบอกประโยชนข อง ไดแก คารโบไฮเดรต โปรตนี ไขมัน เกลือแร รับประทานท่ี
สารอาหารแตละประเภท วติ ามินและนำ้ โรงเรียน และ
จากอาหารที่ตนเอง - อาหารแตล ะชนิดประกอบดวยสารอาหาร ที่ อาหารประเภท
รบั ประทาน แตกตา งกนั อาหารบางอยางประกอบดว ย ตาง ๆ ในทองถนิ่
ว 1.2 ป 6/2บอกแนวทาง สารอาหารประเภทเดยี ว อาหารบางยาง -
ในการเลือกรับประทาน ประกอบดว ยสารอาหารมากกวาหนึง่ ประเภท -
อาหารใหไดส ารอาหาร - สารอาหารแตละประเภทมีประโยชนตอ
ครบถว นในสัดสว นท่ี รางกายแตกตา งกัน โดยคารโบไฮเดรต โปรตีน
เหมาะสมกบั เพศและวัย และไขมนั เปน สารอาหารท่ีใหพลงั งานแก
รวมทัง้ ความปลอดภยั ตอ รางกาย สว นเกลอื แร วิตามินและน้ำ เปน
สขุ ภาพ สารอาหารทไี่ มใหพลังงานแกรางกาย แตชว ย
ว 1.2 ป 6/3 ตระหนกั ถึง ใหร างกายทำงานไดเ ปนปกติ – การ
ความสำคัญของสารอาหาร รับประทานอาหารเพ่อื ใหรา งกายเจริญ เตบิ โต

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชัน้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถ่ิน

โดยการเลือกรบั ประทาน มกี ารเปลี่ยนแปลงของรางกายตามเพศและวัย
อาหารทม่ี ีสารอำหาร และ มสี ุขภาพดี จำเปนตอ งรบั ประทานใหได
ครบถวนในสดั สวนท่ี พลังงานเพียงพอกบั ความตองการของรางกาย
เหมาะสมกบั เพศและวัย และใหไ ดส ารอาหารครบถว นในสัดสว นท่ี
รวมทั้งปลอดภยั ตอสขุ ภาพ เหมาะสมกับเพศ และวัย รวมทงั้ ตอ งคำนึงถงึ
ชนิดและปรมิ าณของวัตถุ เจือปนในอาหารเพื่อ
ความปลอดภยั ตอสุขภาพ

ป.6 ว 1.2 ป 6/4 สรา ง - ระบบยอ ยอาหารประกอบดวยอวยั วะตา ง ๆ -
แบบจำลองระบบยอ ย ไดแก ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
อาหาร และบรรยายหนาที่ ลำไสเ ล็ก ลำไสใหญ ทวารหนัก ตบั และตบั
ของอวัยวะในระบบยอ ย ออ น ซ่ึงทำหนา ทรี่ ว มกนั ในการยอยและดูดซมึ
อาหาร รวมทงั้ อธิบายการ สารอาหาร
ยอ ยอาหารและการดดู ซมึ - ปาก มฟี น ชว ยบดเคย้ี วอำหารใหมีขนาดเล็ก
สารอาหาร ลงและมลี ิ้นชวยคลุกเคลาอาหารกบั นำ้ ลาย ใน
ว 1.2 ป 6/5 ตระหนักถงึ นำ้ ลาย มเี อนไซมย อยแปง ใหเ ปน นำ้ ตาล
ความสำคญั ของระบบยอย – หลอดอาหาร ทำหนาทีล่ ำเลยี งอาหารจาก
อาหาร โดยการบอก ปาก ไปยังกระเพาะอาหาร ภายในกระเพาะ
แนวทางในการดูแลรกั ษา อาหารมีการยอยโปรตีนโดยกรดและเอนไซมท่ี
อวัยวะในระบบยอ ยอาหาร สรา งจากกระเพาะอาหาร
ใหทำงานเปน ปกติ - ลำไสเ ล็กมีเอนไซมท สี่ รางจากผนังลำไสเ ล็ก
เองและจากตับออนทช่ี วยยอ ยโปรตีน
คารโ บไฮเดรต และไขมนั โดยโปรตีน
คารโบไฮเดรต และไขมัน ที่ผานการยอยจนเปน
สารอาหารขนาดเล็กพอทจ่ี ะ ดูดซึมได รวมถงึ
นำ้ เกลือแร และวติ ามิน จะ
ถูกดดู ซึม ท่ีผนงั ลำไสเล็กเขา สูกระแสเลือด เพื่อ
ลำเลียงไปยังสวนตาง ๆ ของรางกาย ซ่ึงโปรตีน
คารโ บไฮเดรต และไขมัน จะถูกนำไปใชเปน
แหลง พลังงานสำหรับใชในกิจกรรมตาง ๆ สวน
นำ้ เกลอื แร และวิตามนิ จะชวยใหรางกาย
ทำงานไดเปน ปกติ
- ตับสรา งนำ้ ดแี ลว สง มายังลำไสเ ล็กชว ยให

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถน่ิ

ไขมันแตกตวั
- ลำไสใหญทำหนา ท่ีดดู นำ้ และเกลอื แร เปน
บริเวณที่มอี าหารที่ยอยไมได หรือยอยไมห มด
เปนกากอาหาร ซงึ่ จะถูกกำจัดออกทางทวาร
หนัก
- อวัยวะตา ง ๆ ในระบบยอยอาหาร
มคี วามสำคัญ จงึ ควรปฏบิ ตั ติ น ดแู ลรกั ษา
อวัยวะใหทำงานเปนปกติ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระที่ 1 วิทยาศาสตรชวี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.3 เขาใจกระบวนการและความสำคัญของการถา ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม สารพนั ธุกรรม
การเปล่ียนแปลงทางพนั ธกุ รรมที่มผี ลตอส่ิงมีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพและ
ววิ ฒั นาการของสิ่งมชี วี ติ รวมทง้ั นำความรูไปใชป ระโยชน

ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถิน่
-- --

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรกายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสมบตั ิของสสาร องคประกอบของสสาร ความสมั พันธร ะหวางสมบตั ิของสสารกับ
โครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ
เกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถ่ิน
ป.6 ว 2.1 ป 6/1อธิบายและ - สารผสมประกอบดวยสารตั้งแต 2 ชนดิ ขึ้นไป
เปรยี บเทียบการแยกสาร ผสมกนั เชน น้ำมนั ผสมน้ำ ขาวสารปนกรวด
ผสม โดยการหยิบออก การ ทราย วิธกี าร ท่เี หมาะสมในการแยกสารผสม
รอน การใชแ มเ หล็กดึงดดู ขึ้นอยกู ับลักษณะและสมบัติของสารทผี่ สมกนั ถา
การรินออก การกรอง และ องคประกอบของสารผสมเปนของแขง็ กบั
การตกตะกอน โดยใช ของแข็งท่ีมขี นาดแตกตางกันอยางชัดเจน อาจใช
หลักฐานเชิงประจกั ษ วธิ กี ารหยบิ ออกหรือการรอนผา นวสั ดุ ที่มรี ู ถำ้ มี
รวมทัง้ ระบวุ ิธแี กปญหาใน สารใดสารหนึ่งเปน สารแมเ หล็กอาจใชว ธิ ี การใช
ชีวติ ประจำวันเก่ียวกบั การ แมเ หลก็ ดงึ ดดู ถ้ำองคประกอบเปนของแข็ง
แยกสาร ทไ่ี มละลายในของเหลว อาจใชวิธกี ารรนิ ออก
การกรอง หรอื การตกตะกอน ซ่ึงวิธกี ารแยกสาร
สามารถนำไปใชประโยชนใ นชีวติ ประจำวันได

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรกายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 เขา ใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวนั ผลของแรงทกี่ ระทาตอวตั ถุ ลักษณะการ
เคลื่อนท่แี บบตาง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรูไปใชป ระโยชน

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถ่นิ
ป.6 ว 2.2 ป 6/1 อธบิ ายการเกดิ - วัตถุ 2 ชนิดที่ผานการขัดถูแลว เม่ือ -
และผลของแรงไฟฟาซงึ่ เกดิ จาก นำเขา ใกลกนั อาจดึงดดู หรือผลกั กนั แรง

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

วัตถทุ ผี่ านการขัดถูโดยใช ท่ีเกิดขึน้ นเ้ี ปนแรงไฟฟา ซ่งึ เปนแรงไม
หลักฐานเชิงประจกั ษ สมั ผัส เกิดขึน้ ระหวางวตั ถุที่มีประจไุ ฟฟา
ซึง่ ประจุไฟฟามี 2 ชนิด คือ ประจไุ ฟฟา
บวกและประจุไฟฟาลบ วตั ถุท่มี ปี ระจุ
ไฟฟาชนิดเดียวกันผลกั กนั ชนิดตรงขาม
กนั ดงึ ดูดกัน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก ายภาพ

มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลย่ี นแปลงและการถา ยโอนพลังงาน ปฏสิ มั พันธ

ระหวางสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณท่ี

เกย่ี วของกับเสียง แสง และคลื่นแมเ หลก็ ไฟฟา รวมทงั้ นำความรูไปใชประโยชน

ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการ
เรียนรูทองถ่ิน
ป.6 ว 2.3 ป 6/1 ระบุสว นประกอบ - วงจรไฟฟา อยางงายประกอบดว ย
และบรรยายหนาที่ ของแตล ะ แหลง กำเนดิ ไฟฟา สายไฟฟา และ -

สว นประกอบของวงจรไฟฟา อยา ง เครอื่ งใชไฟฟาหรืออุปกรณไฟฟา
งายจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ แหลง กำเนิดไฟฟา เชน ถานไฟฉาย หรอื
ว 2.3 ป 6/2 เขียนแผนภาพและ แบตเตอรี่ ทำหนาทีใ่ หพลงั งานไฟฟา
ตอ วงจรไฟฟา อยางงาย สายไฟฟาเปน ตัวนำไฟฟาทำหนา ทเ่ี ช่อื มตอ
ระหวางแหลงกำเนิดไฟฟา และเคร่ืองใชไฟฟา
เขา ดว ยกนั เคร่ืองใชไ ฟฟามีหนาท่เี ปลยี่ น
พลงั งานไฟฟาเปน
พลงั งานอืน่

ว 2.3 ป 6/3 ออกแบบกำรทดลอง - เมอื่ นำเซลลไ ฟฟาหลายเซลลมาตอ
และทดลองดวยวธิ ที ี่เหมาะสมใน เรยี งกัน โดยใหข ้วั บวกของเซลลไ ฟฟา เซลล
การอธิบายวิธกี ารและผลของการ หนงึ่ ตอกับข้วั ลบของอีกเซลลหน่ึงเปน การตอ
ตอ เซลลไ ฟฟาแบบอนกุ รม แบบอนุกรม ทำใหมพี ลงั งานไฟฟาเหมาะสม
ว 2.3ป 6/4 ตระหนกั ถึงประโยชน กบั เคร่ืองใชไฟฟา ซ่ึงการตอเซลลไฟฟา แบบ
ของความรูของการตอ เซลลไฟฟา อนกุ รมสามารถนำไปใชประโยชนใน
แบบอนกุ รมโดยบอกประโยชนแ ละ ชีวิตประจำวัน เชน การตอ เซลลไฟฟาในไฟ
การประยุกตใชใ นชวี ติ ประจำวนั ฉาย

ว 2.3ป 6/5 ออกแบบการทดลอง - การตอ หลอดไฟฟาแบบอนุกรมเม่ือ
และทดลองดว ยวิธที ่เี หมาะสมใน ถอดหลอดไฟฟาดวงใดดวงหนง่ึ ออกทำให
การอธบิ ายการตอหลอดไฟฟาแบบ หลอดไฟฟา ท่ีเหลือดับท้งั หมด สวนการตอ
อนกุ รมและแบบขนาน หลอดไฟฟาแบบขนาน เมือ่ ถอดลอดไฟฟา
ดวงใดดวงหนึ่งออก หลอดไฟฟาท่เี หลอื ก็ยงั
ว 2.3 ป 6/6 ตระหนกั ถงึ
ประโยชนข องความรขู องการตอ สวา งได การตอหลอดไฟฟาแตล ะแบบ
หลอดไฟฟา แบบอนุกรมและแบบ สามารถนำไปใชประโยชนไ ด เชน การตอ
ขนาน โดยบอกประโยชน ขอ จำกัด หลอดไฟฟาหลายดวงในบา นจึงตอ งตอหลอด
ไฟฟา แบบขนานเพอื่ เลือกใชห ลอดไฟฟา ดวง
และการประยุกตใชใน ใดดวงหน่ึงไดตามตองการ

ชวี ิตประจำวัน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการ
เรียนรทู องถ่นิ
ว 2.3 ป 6/7 อธบิ ายการเกดิ เงามืด - เม่ือนำวตั ถทุ บึ แสงมาก้นั แสงจะเกิดเงาบน
เงามัวจากหลกั ฐานเชิงประจักษ ฉากรับแสงที่อยดู า นหลังวัตถุ โดยเงามรี ูปราง
ว 2.3 ป 6/8เขียนแผนภาพรงั สี คลายวตั ถุทีท่ ำใหเ กิดเงา เงามัวเปน บรเิ วณท่มี ี
ของแสงแสดงการเกดิ เงามืดเงามัว แสงบางสวนตกลงบนฉาก สว นเงามดื เปน
บริเวณท่ไี มมีแสงตกลงบนฉากเลย

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เขา ใจองคป ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซีดาว
ฤกษ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะที่สงผลตอสิ่งมีชีวิตและการ
ประยกุ ตใชเทคโนโลยีอวกาศ

ชนั้ ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถิน่
ป.6 ว 3.1 ป 6/1 สรา ง - เมอ่ื โลกและดวงจันทร โคจรมาอยใู นแนว -
แบบจำลองท่ีอธบิ ายการเกดิ เสน ตรงเดียวกนั กบั ดวงอาทติ ยในระยะทางท่ี
และเปรยี บเทียบ เหมาะสม ทำใหด วงจนั ทรบ ังดวงอาทติ ย เงา
ปรากฏการณสรุ ิยุปราคา ของดวงจนั ทรทอดมายงั โลก ผูส ังเกตที่อยู
และจนั ทรุปราคา บรเิ วณเงาจะมองเห็น ดวงอาทติ ยม ืดไป เกดิ
ปรากฏการณส ุรยิ ปุ รำคำ ซึง่ มีทง้ั สรุ ิยุปราคาเต็ม
ดวง สุริยุปราคาบางสว น และสรุ ยิ ุปราคาวง
แหวน
หากดวงจนั ทรแ ละโลกโคจรมาอยใู นแนว
เสน ตรงเดยี วกนั กบั ดวงอาทติ ย แลวดวงจันทร
เคลือ่ นที่ผา นเงาของโลก จะมองเหน็ ดวงจนั ทร
มืดไป เกิดปรากฏการณจ ันทรุปราคา ซ่งึ มีทั้ง
จันทรปุ ราคาเต็มดวง และจันทรปุ ราคาบางสว น

ว 3.1 ป 6/2 อธิบาย - เทคโนโลยอี วกาศเร่มิ จากความตองการของ -
พัฒนาการของเทคโนโลยี มนุษยในการสำรวจวัตถทุ อ งฟาโดยใชต าเปลา
อวกาศ และยกตัวอยางการ กลอ ง-โทรทรรศน และไดพ ัฒนาไปสกู ารขนสง
นำเทคโนโลยอี วกาศมาใช เพ่ือสำรวจอวกาศดวยจรวดและยานขนสง
ประโยชนในชวี ติ ประจำวัน อวกาศ และยังคงพัฒนาอยา งตอ เนอ่ื ง ปจจุบนั
จากขอมลู ท่ีรวบรวมได มกี ารนำเทคโนโลยอี วกาศบางประเภทมา
ประยุกตใ ชในชวี ิตประจำวัน เชน การใช
ดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร การพยากรณอ ากาศ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถิน่
หรือการสำรวจทรัพยากรธรรมชำติ การใช
อุปกรณวัดชีพจรและการเตนของหวั ใจ หมวก
นิรภยั ชดุ กฬี า

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เขา ใจองคป ระกอบ และความสัมพนั ธข องระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลก

และบนผิวโลก ธรณีพบิ ตั ิภัย กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา อากาศและภมู อิ ากาศโลก

รวมท้งั ผลตอ ส่ิงมชี ีวติ และสิง่ แวดลอม

ชัน้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถิน่

ป.6 ว 3.2 ป 6/1เปรยี บเทียบ - หินเปนวัสดุแขง็ เกดิ ขน้ึ เองตามธรรมชำติ - หินท่ีพบในทองถ่ิน

กระบวนการเกิดหนิ อัคนี หิน ประกอบ ดว ยแรต ้ังแตห นึง่ ชนิดขึน้ ไป และท่ัว ๆ ไป

ตะกอน และหินแปรและ สามารถจำแนกหนิ ตำมกระบวนการเกิดได

อธิบายวัฏจักรหนิ จาก เปน 3 ประเภท ไดแก หินอัคนี หิน

แบบจำลอง ตะกอน และหนิ แปร

- หินอัคนเี กิดจากการเยน็ ตัวของแมกมา

เน้อื หิน มีลกั ษณะเปนผลึก ท้ังผลึกขนาด

ใหญแ ละขนาดเล็ก บางชนดิ อาจเปน เนอื้

แกว หรือมีรูพรนุ

- หนิ ตะกอน เกดิ จากการทบั ถมของ

ตะกอนเมื่อถูกแรงกดทบั และมสี ารเชอื่ ม

ประสานจงึ เกดิ เปนหิน เนอื้ หินกลมุ นส้ี ว น

ใหญมีลกั ษณะเปนเม็ดตะกอน มีท้งั เนื้อ

หยาบและเนื้อละเอยี ด บางชนิดเปนเนอื้

ผลึกทยี่ ดึ เกาะกนั เกดิ จากการตกผลกึ หรอื

ตกตะกอนจากนำ้ โดยเฉพาะน้ำทะเล บาง

ชนิดมลี กั ษณะเปน ชน้ั ๆ จงึ เรียกอีกช่อื วา

หนิ ช้นั

- หนิ แปร เกดิ จากการแปรสภาพของหนิ

เดมิ ซึง่ อาจเปนหนิ อัคนี หนิ ตะกอน หรอื

หนิ แปร โดยการกระทำของความรอ น

ความดัน และปฏกิ ิรยิ าเคมี เน้ือหินของหิน

แปรบางชนดิ ผลกึ ของแรเ รียงตวั ขนานกนั

เปนแถบ บางชนดิ แซะออกเปนแผน ได

บางชนิด เปน เนื้อผลึกที่มคี วามแข็งมาก

- หนิ ในธรรมชาตทิ ง้ั ประเภท มีการ

เปล่ยี นแปลงจากประเภทหนึ่งไปเปนอีก

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถ่ิน

ประเภทหนงึ่ หรอื ประเภทเดิมได โดยมี

แบบรปู การเปลี่ยนแปลงคงท่ีและตอเนื่อง

เปน วฏั จักร

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถิน่

ป.6 ว 3.2 ป 6/2 บรรยายและ หินและแรแตละชนิดมลี กั ษณะและสมบัติ - หนิ และแรที่มใี น

ยกตัวอยา งการใชประโยชน แตกตา งกนั มนษุ ยใชป ระโยชนจากแรใ น ทองถ่นิ และใน

ของหินและแรใ น ชวี ติ ประจำวนั ในลักษณะตา ง ๆ เชน นำแร จังหวดั

ชวี ติ ประจำวนั จากขอ มูล ที่ มาทำเคร่ืองสำอาง ยำสีฟน เครอ่ื งประดับ

รวบรวมได อปุ กรณทางการแพทย และนำหินมาใชในงาน

กอสรางตา ง ๆ เปนตน

ว 3.2 ป 6/3สราง - ซากดึกดำบรรพเกิดจากการทบั ถม หรือการ - ซากดกึ ดำบรรพท ่ี

แบบจำลองท่ีอธิบายการเกิด ประทับรอยของสิง่ มีชวี ติ ในอดตี จนเกิดเปน มีในทองถน่ิ และ

ซากดึกดำบรรพและ โครงสรางของซากหรือรอ งรอยของสิง่ มีชวี ติ ที่ สถานทตี่ าง ๆ ใน

คาดคะเนสภาพแวดลอ มใน ปรากฏอยใู นหนิ ในประเทศไทยพบซากดกึ ดำ จงั หวดั

อดตี ของซากดึกดำบรรพ บรรพ ทีห่ ลากหลาย เชน พืช ปะกำรัง หอย

ปลา เตา ไดโนเสาร และรอยตีนสัตว

- ซากดกึ ดำบรรพสามารถใชเ ปน หลักฐานหน่ึง

ที่ชว ยอธบิ ายภาพแวดลอ มของพื้นทใี่ นอดตี

ขณะเกิดส่งิ มชี ีวิตนัน้ เชน หากพบซากดึกดำ

บรรพของ หอยน้ำจดื สภาพแวดลอมบรเิ วณ

นน้ั อาจเคยเปน แหลงนำ้ จดื มากอน และหาก

พบซากดกึ ดำบรรพของพืช สภาพแวดลอ ม

บรเิ วณนัน้ อาจเคยเปน ปา มากอน นอกจากนี้

ซากดกึ ดำบรรพย ังสามารถใชระบุอายุของหนิ

และเปน ขอมลู ในการศึกษาวิวัฒนาการของ

สงิ่ มชี วี ติ

ว 3.2 ป 6/5 อธบิ ายผลของ - มรสมุ เปนลมประจำฤดเู กดิ บรเิ วณเขตรอน -

มรสุมตอการเกดิ ฤดูของ ของโลก ซ่งึ เปนบริเวณกวางระดับภมู ิภาค

ประเทศไทย จากขอมลู ท่ี ประเทศไทยไดรบั ผลจากมรสุม

รวบรวมได ตะวันออกเฉียงเหนือในชวงประมาณ

กลางเดอื นตลุ ำคมจนถงึ เดือนกมุ ภาพันธท ำให

เกดิ ฤดูหนาว และไดร ับผลจากมรสุม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชน้ั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถน่ิ

ตะวันตกเฉียงใตใ นชวงประมาณกลางเดือน

พฤษภาคมจนถงึ กลางเดือนตุลำคมทำใหเกดิ

ฤดฝู น สวนชว งประมาณกลางเดือน

กุมภาพนั ธจ นถึงกลางเดือนพฤษภาคมเปน

ชวงเปล่ียนมรสุมและประเทศไทยอยูใกลเสน

ศนู ยส ตู ร แสงอาทิตยเกือบต้ังตรงและตั้งตรง

ประเทศไทย ในเวลาเที่ยงวันทำใหไ ดร ับความ

รอนจำกดวงอาทติ ยอยางเต็มท่อี ากาศจึงรอน

อบอาวทำใหเกดิ ฤดูรอน

ป.6 ว 3.2 ป 6/6 - น้ำทว ม การกัดเซาะชายฝง ดินถลม - ภยั ธรรมชาตแิ ละ

บรรยายลกั ษณะและ แผนดนิ ไหว และ สึนามิ มีผลกระทบตอชีวิต ธรณีพบิ ัติภัยทอ่ี าจ

ผลกระทบของ น้ำทวม การ และสงิ่ แวดลอมแตกตางกัน เกิดในทองถ่นิ หรือ

กัดเซาะชายฝง ดนิ ถลม - มนษุ ยควรเรียนรูวธิ ปี ฏิบตั ติ นใหป ลอดภัย จงั หวดั ใกลเ คยี ง
แผน ดินไหว สนึ ามิ เชน ติดตามขา วสารอยา งสมำ่ เสมอ เตรียมถุง

ว 3.2 ป 6/7ตระหนกั ถึง ยังชพี ใหพ รอมใชตลอดเวลา และปฏิบัตติ าม
ผลกระทบของภยั ธรรมชำติ คำส่งั ของผูปกครองและเจา หนา ที่อยา ง
เครงครดั เมื่อเกดิ ภยั ทางธรรมชำติและธรณี
และธรณพี ิบัติภัย โดย
นำเสนอแนวทางในการเฝา พิบัตภิ ัย

ระวงั และปฏบิ ตั ิตนให

ปลอดภัยจากภยั ธรรมชาติ

และธรณพี ิบัติภยั ท่ีอาจเกดิ

ในทอ งถ่นิ

ว 3.2 ป 6/8 - ปรากฏการณเ รอื นกระจกเกิดจากแกสเรือน - สภาพหรอื เหตู

สรางแบบจำลองท่ีอธิบาย กระจกในชั้นบรรยากาศของโลก กกั เก็บความ การณในทองถ่นิ ที่

การเกิดปรากฏการณเรอื น รอนแลว คายความรอนบางสวนกลบั สูผ ิวโลก เกดิ จากผล

กระจกและผลของ ทำใหอากาศ บนโลกมอี ุณหภมู ิเหมะสมตอ ผลกระทบของ

ปรากฏการณเรือนกระจก การดำรงชวี ติ ปรากฏการณเรือน

ตอส่งิ มีชีวิต - หากปรากฏการณเรือนกระจกรนุ แรงมาก กระจก

ว 3.2 ป 6/9ตระหนักถึง ข้ึน จะมีผลตอการเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศโลก

ผลกระทบของปรากฏการณ มนษุ ย จึงควรรว มกันลดกิจกรรมทก่ี อใหเ กิด

เรอื นกระจกโดยนำเสนอ แกสเรอื นกระจก

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชนั้ ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถิ่น
แนวทางการปฏิบตั ติ นเพ่ือ
ลดกิจกรรมที่กอใหเ กิดแกส
เรอื นกระจก

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยเี พอ่ื การดำรงชีวติ ในสงั คมที่มีการเปล่ยี นแปลงอยา ง

รวดเร็วใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอื่น ๆ เพ่ือ
แกปญหา หรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และ
ส่ิงแวดลอ ม

ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรู

ทอ งถ่ิน

-- --

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เขา ใจและใชแ นวคิดเชิงคำนวณในการแกป ญ หาที่พบในชวี ติ จริงอยางเปน ขนั้ ตอนและเปน

ระบบใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู การทางาน และการแกปญหา

ไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ รูเทา ทนั และมีจริยธรรม

ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถน่ิ

ป.6 ว 4.2 ป 6/1ใชเหตผุ ลเชงิ ตรรกะ - การแกปญหาอยางเปนขัน้ ตอนจะชวยให -

ในการอธิบายและออกแบบ แกปญหาไดอยางมีประสทิ ธิภาพ

วิธกี ารแกปญหาท่ีพบใน - การใชเหตผุ ลเชิงตรรกะเปน

ชวี ิตประจำวนั การนำกฎเกณฑ หรือเงื่อนไขท่ีครอบคลุมทุก

กรณีมาใชพ ิจารณา

ในการแกป ญหา

- แนวคดิ ของการทำงานแบบวนซ้ำ และ

เง่ือนไข

- กำรพิจารณากระบวนการทำงานทมี่ ีการ

ทำงานแบบวนซ้ำ หรือเงอ่ื นไขเปนวิธีการทจี่ ะ

ชว ยใหก ารออกแบบวิธีการแกปญหาเปน ไป

อยา งมปี ระสิทธภิ าพ

- ตัวอยางปญหา เชน การคนหาเลขหนา ที่

ตอ งการใหเรว็ ทสี่ ดุ

การทายเลข 1 – 1,000,000 โดยตอบใหถ กู

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่นิ

ภายใน 20 คำถาม, การคำนวณเวลาในการ

เดนิ ทาง โดยคำนงึ ถงึ ระยะทาง เวลา

จุดหยดุ พกั

ว 4.2 ป 6/2ออกแบบและเขียน - การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโ ดย
โปรแกรมอยา งงา ย เพ่ือแกป ญหา เขยี น เปนขอความ หรอื ผงั งาน
ในชวี ติ ประจำวนั ตรวจหาขอ ผิด - การออกแบบและเขียนโปรแกรม
พลาด ของโปรแกรมและแกไข ทมี่ กี ารใชตัวแปร การวนซ้ำ

การตรวจสอบเงื่อนไข
– หากมขี อผิดพลาดใหต รวจสอบ
การทำงาน ทีละคำส่ัง เมอื่ พบจดุ ทีท่ ำใหผล
ลพั ธไมถ ูกตอง ใหท ำการแกไขจนกวา จะได
ผลลพั ธท่ีถูกตอง
- การฝก ตรวจหำขอ ผดิ พลาดจากโปรแกรม
ของผูอนื่ จะชว ยพฒั นาทักษะการหาสาเหตุ
ของปญ หาไดดยี ิ่งข้นึ
- ตวั อยา งปญ หา เชน โปรแกรมเกม
โปรแกรมหาคา ค.ร.น เกมฝกพมิ พ
- ซอฟตแ วรท ่ีใชในการเขยี นโปรแกรม เชน
Scratch, logo

ป.6 ว 4.2 ป 6/3 ใชอินเทอรเ น็ตใน - การคนหาอยางมีประสทิ ธิภาพ เปน การ

การคนหาขอมูลอยา งมี คนหาขอ มลู ท่ไี ดตรงตามความตองการในเวลา

ประสทิ ธิภาพ ทีร่ วดเรว็ จากแหลงขอมูลท่นี าเชื่อถือหลาย

แหลง และขอมูล มีความสอดคลองกนั – การ

ใชเทคนิคการคนหาข้นั สูง เชน การใช ตัว

ดำเนินการ การระบรุ ปู แบบของขอมลู หรอื

ชนิดของไฟล

- การจดั ลำดับผลลพั ธจากกาคนหาของ

โปรแกรมคน หา

- การเรียบเรียง สรุปสำระสำคัญ (บรู ณาการ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่ิน

กบั วชิ าภาษาไทย)

ว 4.2 ป 6/4 ใชเ ทคโนโลยี - อันตรายจากการใชง านและอาชญากรรม

สารสนเทศทำงานรวมกนั อยาง ทางอนิ เทอรเ นต็ แนวทางในการปอ งกนั

ปลอดภยั เขาใจสทิ ธิและหนาท่ี - วธิ กี ำหนดรหสั ผา น

ของตน เคารพในสิทธขิ องผูอื่น - การกำหนดสิทธก์ิ ารใชง าน (สิทธิ์ในการ

แจง ผเู ก่ยี วของเม่ือพบขอมลู หรือ เขา ถึง)

บุคคลท่ีไมเหมาะสม - แนวทางการตรวจสอบและปอ งกัน

มลั แวร – อันตรายจากการติดตั้งซอฟตแ วรท ่ี

อยบู นอนิ เทอรเน็ต

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1
ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรแู กนกลางและสาระการเรียนรทู องถิ่น

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เขา ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพนั ธร ะหวา งสิง่ ไมมีชวี ิตกบั ส่ิงมชี วี ติ

และความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอด
พลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปญหาและ
ผลกระทบที่มีตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและการแกไขปญหาสง่ิ แวดลอมรวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน

ชัน้ ตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรทู อ งถนิ่

-- - -

สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เขา ใจสมบัติของสิ่งมชี วี ิต หนว ยพื้นฐานของสง่ิ มีชีวิต การลำเลียงสารเขาและออกจาก

เซลล ความสัมพนั ธของโครงสรางและหนา ท่ีของระบบตา ง ๆ ของสัตวและมนุษยท่ที ำงาน

สัมพันธกัน ความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ของอวัยวะตาง ๆ ของพืชที่ทำงาน

สมั พนั ธก ัน รวมทั้งนำความรไู ปใชป ระโยชน

ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถ่ิน

ม.1 ว 1.2 ม1/1เปรยี บเทยี บ - เซลลเ ปนหนวยพนื้ ฐานของสงิ่ มีชีวิต - สวนพฤกษศาสตร

รปู ราง ลกั ษณะ และ สง่ิ มีชีวติ บางชนิดมเี ซลลเพียงเซลลเ ดียว เชน สวนปา

โครงสรา งของเซลลพ ืชและ อะมีบา พารามีเซยี ม ยีสต บางชนิดมีหลาย - สระนำ้ ในโรงเรยี น

เซลลสัตว รวมทง้ั บรรยาย เซลล เชน พชื สตั ว และชมุ ชน

หนา ทข่ี องผนังเซลล เยื่อหุม - โครงสรา งพนื้ ฐานท่พี บทง้ั ในเซลลพืชและ

เซลล ไซโทพลาซมึ นิวเคลียส เซลลสัตว และสามารถสังเกตไดด ว ยกลอง

แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี จุลทรรศนใชแสง ไดแก เยอ่ื หุมเซลล ไซ

และคลอโรพลาสต โทพลาซมึ และนวิ เคลยี ส โครงสรา งทพี่ บใน

ว 1.2 ม1/2ใชก ลอ ง เซลลพืชแตไ มพบในเซลลสัตว ไดแก ผนงั

จลุ ทรรศนใชแสงศึกษาเซลล เซลลและคลอโรพลาสต

และโครงสรางตาง ๆ ภายใน - โครงสรา งตา ง ๆ ของเซลลมีหนาที่

เซลล แตกตา งกนั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

- ผนังเซลล ทำหนา ทใี่ หค วามแข็งแรงแก

เซลล

- เยื่อหุมเซลล ทำหนา ทีห่ อหุมเซลลและ

ควบคุมการลำเลียงสารเขา และออกจากเซลล

- นิวเคลยี ส ทำหนา ท่คี วบคมุ การทำงานของ

เซลล

- ไซโทพลาซมึ มีออรแ กเนลลทที่ ำหนาท่ี

แตกตา งกัน- แวควิ โอล ทำหนาท่เี กบ็ นำ้ และ

สารตา ง ๆ

- ไมโทคอนเดรีย ทำหนาท่ีเก่ียวกับการสลาย

สารอาหารเพื่อใหไดพ ลงั งานแกเซลล

- คลอโรพลาสต เปน แหลง ท่ีเกดิ การสงั เคราะห

ดวยแสง

ว 1.2 ม1/3 อธิบาย - เซลลข องสิง่ มีชวี ติ มรี ปู ราง ลักษณะ ที่ -

ความสมั พันธระหวางรูปราง หลากหลาย และมคี วามเหมาะสมกบั หนาที่

กับการทำหนา ทขี่ องเซลล ของเซลลน ัน้ เชน เซลลป ระสาทสว นใหญ มี

เสน ใยประสาทเปน แขนงยาว นำกระแส

ประสาทไปยังเซลลอ่ืน ๆ ท่ีอยไู กลออกไป

เซลลข นราก เปนเซลลผวิ ของรากทมี่ ผี นงั

เซลลและเยือ่ หุมเซลลย นื่ ยาวออกมา ลักษณะ

คลา ยขนเสน เล็ก ๆ เพื่อเพ่ิมพ้ืนท่ีผิวในการดดู

น้ำและธาตอุ าหาร

ว 1.2 ม1/4อธบิ ายการ - พชื และสัตวเ ปนสิ่งมีชวี ิตหลายเซลลม ีการ -

จดั ระบบของสิ่งมชี ีวิต โดยเรมิ่ จดั ระบบ โดยเร่ิมจากเซลลไปเปนเน้อื เยื่อ

จากเซลล เนื้อเย่ือ อวยั วะ อวัยวะ ระบบอวัยวะ และสิ่งมชี ีวิตตามลำดบั

ระบบอวัยวะ จนเปน สง่ิ มีชวี ติ เซลลห ลายเซลลม ารวมกันเปนเนือ้ เย่ือ

เนือ้ เยอ่ื หลายชนิดมารวมกนั และทำงาน

รว มกนั เปนอวยั วะ อวยั วะตาง ๆ ทำงาน

รว มกนั เปนระบบอวัยวะ ระบบอวัยวะทุก

ระบบทำงานรว มกนั เปน สงิ่ มีชีวิต

ว 1.2 ม1/5อธิบาย - เซลลมกี ารนำสารเขา สเู ซลล เพอื่ ใชใ น วสั ดุ อุปกรณก าร

กระบวนการแพรแ ละออสโม กระบวนการตาง ๆ ของเซลล และมกี ารขจัด ทดลองท่ีอยูใน

ซิสจากหลักฐานเชิงประจักษ สารบางอยา งทีเ่ ซลลไ มต องการออกนอกเซลล ชวี ติ ประจำวัน เชน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

และยกตัวอยา งการแพรและ การนำสารเขาและออกจากเซลลมีหลายวิธี ไขไก ไขเ ปด เปนตน
ออสโมซสิ ในชีวติ ประจำวัน เชน การแพรเ ปนการเคลอ่ื นท่ีของสารจาก
บริเวณทีม่ ีความเขม ขนของสารสูงไปสบู ริเวณ
ทม่ี คี วามเขมขน ของสารตำ่ สวนออสโมซสิ
เปน การแพรข องนำ้ ผา นเยือ่ หุมเซลล จาก
ดา นทมี่ ีความเขมขน ของสารละลายตำ่ ไปยัง
ดานทม่ี คี วามเขม ขน ของสารละลายสงู กวา

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถ่นิ

ม.1 ว 1.2 ม1/6 - กระบวนการสงั เคราะหด ว ยแสงของพืช ใ บ พื ช ท่ี มี ใ น

ระบุปจจัยที่จำเปนใน ทีเ่ กิดข้ึนในคลอโรพลาสต จำเปน ตองใช บ ริเวณ โรงเรียน

การสังเคราะหดวยแสง แสง แกสคารบอนได-ออกไซด คลอโรฟล ล แ ล ะ ชุ ม ช น เช น

และผลผลิตที่เกิดขึ้นจาก และน้ำ ผลผลติ ท่ไี ดจ าก ชบาดาง และใบ

การสังเคราะหดวยแสง การสังเคราะหด ว ยแสง ไดแ ก น้ำตาลและ พชื ตา งๆที่มสี เี ขยี ว

โด ย ใช ห ลั ก ฐ า น เชิ ง แกส ออกซิเจน

ประจักษ

ว 1.2 ม1/7 - การสังเคราะหด ว ยแสง เปน

อธิบายความสำคัญของ กระบวนการทีส่ ำคญั ตอส่งิ มีชีวติ เพราะ

การสงั เคราะหด วยแสง เปน กระบวนการเดียว ที่สามารถนำ

ของพชื ตอ สิง่ มชี วี ิตและ พลังงานแสงมาเปลีย่ นเปนพลังงานในรูป

ส่งิ แวดลอ ม สารประกอบอนิ ทรียและเกบ็ สะสมใน

รปู แบบตาง ๆ ในโครงสรา งของพชื พืชจึง

ว 1.2 ม1/8 เปนแหลง อาหารและพลงั งานท่สี ำคญั ของ

ตระหนกั ในคุณคา ของ สง่ิ มีชีวิตอนื่ นอกจากน้ีกระบวนการ

พืชทมี่ ตี อสิ่งมชี วี ิตและ สังเคราะหด วยแสงยงั เปน กระบวนการ

ส่งิ แวดลอ ม โดยการ หลกั ในการสรา งแกส ออกซเิ จนใหกับ

รวมกันปลูกและดแู ล บรรยากาศเพ่อื ใหส ่งิ มีชวี ิตอืน่ ใชใ น

รักษาตนไมในโรงเรียน กระบวนการหายใจ

และชุมชน

ว 1.2 ม1/9 บรรยาย - พืชมีไซเลม็ และโฟลเอ็ม ซึง่ เปน เนอ้ื เย่อื มี พชื ท่มี ีอยูใน

ลกั ษณะและหนาทีข่ อง ลักษณะคลายทอ เรยี งตวั กันเปน กลมุ ทองถนิ่ เชน ผกั

ไซเล็มและโฟลเอ็ม เฉพาะท่ี โดยไซเล็มทำหนา ท่ีลำเลยี งนำ้ กระสัง ตนเทียน

และธาตอุ าหาร มที ศิ ทางลำเลยี งจากราก หรอื พชื ท่มี ลี ำตน

ว 1.2 ม1/10 ไปสลู ำตน ใบ และสว นตาง ๆ ของพชื เพ่อื ลักษณะใส

เขยี นแผนภาพท่ี ใชใ นการสังเคราะหดวยแสงรวมถึง

บรรยายทศิ ทางการ กระบวนการอนื่ ๆ สวนโฟลเอ็มทำหนา ที่

ลำเลยี งสารในไซเล็ม ลำเลียงอาหารท่ีไดจ ากการสังเคราะหดว ย

และโฟลเอ็มของพืช แสง มที ศิ ทางลำเลยี งจากบริเวณท่ีมีการ

สังเคราะหดวยแสงไปสูสว นตาง ๆ ของพืช

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถิ่น

ม.1 ว 1.2 ม1/11 - พืชดอกทุกชนิดสามารถสบื พนั ธุแบบอาศัยเพศ พชื ดอกในชุมชน

อธิบายการสืบพันธุแบบ ได และบางชนดิ สามารถสืบพันธแุ บบไมอาศัยเพศ

อาศยั เพศ และไมอ าศัย ได

เพศของพืชดอก

ว 1.2 ม1/12 - การสบื พันธุแบบอาศยั เพศเปน การสบื พนั ธุทมี่ ี

อธิบายลักษณะโครงสรา ง การผสมกันของสเปร มกบั เซลลไข การสืบพนั ธุ

ของดอกทีม่ ีสวนทำใหเ กดิ แบบอาศัยเพศของพชื ดอกเกิดขน้ึ ทีด่ อก โดย

การถายเรณู รวมทงั้ ภายในอับเรณูของสวนเกสรเพศผมู ีเรณู ซ่งึ ทำ

บรรยาย การปฏสิ นธขิ อง หนาทสี่ รา งสเปร ม ภายในออวุลของสว นเกสรเพศ

พชื ดอก การเกดิ ผลและ เมีย มถี งุ เอ็มบรโิ อ ทำหนา ทสี่ รา งเซลลไ ข

เมลด็ การกระจายเมลด็ - การสืบพนั ธุแ บบไมอาศยั เพศ เปนการสบื พนั ธทุ ่ี

และการงอกของเมล็ด พชื ตนใหมไ มไ ดเกดิ จากการปฏสิ นธิระหวา งสเปรม

กบั เซลลไข แตเกิดจากสว นตา ง ๆ ของพชื เชน

ว 1.2 ม1/13 ราก ลำตน ใบ มกี ารเจริญเติบโตและพัฒนาขน้ึ มา

ตระหนักถึงความสำคัญ เปนตนใหมได

ของสตั วท ่ชี วยในการถา ย - การถายเรณู คือ การเคลอ่ื นยา ยของเรณจู ากอับ

เรณขู องพืชดอก โดยการ เรณูไปยงั ยอดเกสรเพศเมยี ซึ่งเกย่ี วของกบั

ไมท ำลายชวี ติ ของสัตวท่ี ลักษณะและโครงสรา งของดอก เชน สีของกลีบ

ชวยในการถา ยเรณู ดอก ตำแหนงของเกสรเพศผูและเกสรเพศเมยี

โดยมสี ิ่งทชี่ ว ยในการถายเรณู เชน แมลง ลม

- การถายเรณูจะนำไปสูการปฏิสนธิ ซึง่ จะเกิดขน้ึ ท่ี

ถงุ เอ็มบริโอภายในออวุล หลงั การปฏสิ นธจิ ะไดไซ

โกต และเอนโดสเปรม ไซโกตจะพฒั นาตอไปเปน

เอ็มบริโอ ออวุลพัฒนาไปเปนเมลด็ และรังไข

พฒั นาไปเปน ผล

- การถายเรณจู ะนำไปสูการปฏิสนธิ ซึ่งจะเกิดขนึ้

ทีถ่ งุ เอ็มบรโิ อภายในออวลุ หลังการปฏิสนธิจะได

ไซโกต และเอนโดสเปร ม ไซโกตจะพฒั นาตอไป

เปนเอม็ บริโอ ออวลุ พัฒนาไปเปนเมล็ด และรังไข

พัฒนาไปเปนผล

- ผลและเมล็ดมกี ารกระจายออกจากตนเดมิ โดย

วธิ กี ารตา ง ๆ เมือ่ เมลด็ ไปตกในสภาพแวดลอมที่

เหมาะสมจะเกดิ การงอกของเมลด็ โดยเอ็มบรโิ อ

ภายในเมลด็ จะเจรญิ ออกมา โดยระยะแรกจะ

กลุม่ สาระการเรียนหรู้วลิทกั ยสาูตศราสสถตารน์แศลึกะษเทาคโโรนงโเลรียยนีอแพอลาสัฒนศะาํ นนุยับสากัอราลงาาจาหงหนนอ้วาสเายขรากหตทมราพส่ี ะารน้ืะเรไจทสดถาี่กมสเอาภพังรงเุทาศคตยธึกราใศษามนกัะาปเปรหมการดลชตะว็ดถิ ยม๒จแศ๕นสึก๖กงษไ๓ราดกะเาทตญั่ง็มจใทบน่ีแบทรุ ี  เขต ๒

ชั้น ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง สาระการเรียนรทู อ งถน่ิ

ม.1 ว 1.2 ม1/14 อธิบาย - พืชตอ งการธาตุอาหารทจ่ี ำเปน หลาย -

ความสำคัญของธาตุอาหาร ชนิดในการเจริญเติบโตและการ

บางชนิดท่มี ผี ลตอ การ ดำรงชวี ิต

เจริญเตบิ โตและการ - พืชตอ งการธาตุอาหารบางชนดิ ใน

ดำรงชีวติ ของพืช ปริมาณมาก ไดแก ไนโตรเจน

ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม แคลเซยี ม

ว 1.2 ม1/15 เลือกใชป ยุ ทีม่ ี แมกนเี ซียม และกำมะถนั ซง่ึ ในดนิ อาจ

ธาตอุ าหารเหมาะสมกับพชื มไี มเพยี งพอ สำหรบั การเจรญิ เตบิ โต

ในสถานการณท ี่กำหนด ของพืช จงึ ตองมกี ารใหธ าตอุ าหารใน

รูปของปุย กบั พชื อยา งเหมาะสม

ว 1.2 ม1/16 เลอื กวธิ ีการ - มนษุ ยสามารถนำความรูเรื่องการ การขยายพนั ธุพ ชื โดย
ขยายพันธพุ ชื ใหเ หมาะสม สบื พนั ธุ แบบอาศยั เพศและไมอาศยั ใชพ ืชในโรงเรยี นและ
กับความตองการของมนุษย เพศ มาใชใ นการขยายพนั ธุเพ่ือเพิ่ม ชุมชน
โดยใชความรเู กย่ี วกบั การ จำนวนพชื เชน การใชเ มล็ดที่ไดจาก
สืบพันธขุ องพืช การสบื พันธแุ บบอาศยั เพศมาเพาะเล้ยี ง
วิธกี ารน้จี ะไดพืชในปรมิ าณมาก แต
ว 1.2 ม1/17 อธบิ าย อาจมีลักษณะทแี่ ตกตางไป
ความสำคัญของเทคโนโลยี จากพอแม สวนการตอนกิ่ง การปก ชำ
การเพาะเลย้ี งเน้ือเย่ือพชื ใน การตอ กง่ิ การติดตา การทาบก่งิ การ
การใชประโยชนดานตา ง ๆ เพาะเล้ียงเนื้อเยื่อ เปน การนำความรู
เรื่องการสืบพนั ธุแบบไมอาศยั เพศของ
พชื มาใชในการขยายพันธุ เพื่อใหไ ดพืช
ที่มีลกั ษณะเหมอื นตนเดมิ ซง่ึ การ
ขยายพนั ธุแ ตล ะวิธี มขี ้นั ตอนแตกตา ง
กัน จงึ ควรเลือกใหเ หมาะสมกับความ
ตอ งการของมนษุ ย

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถน่ิ

ม.1 ว 1.2 ม1/18ตระหนกั ถงึ โดยตองคำนึงถงึ ชนิดของพืชและ -

ประโยชนข องการ ลักษณะการสบื พันธขุ องพืช

ขยายพันธพุ ชื โดยการนำ - เทคโนโลยกี ารเพาะเลีย้ งเน้ือเยอ่ื พืช

ความรไู ปใชใ น เปนการนำความรเู กี่ยวกับปจ จัยท่ีจำเปน

ชวี ติ ประจำวัน ตอ การเจริญเติบโตของพชื มาใชในการ

เพ่มิ จำนวนพชื และทำใหพชื สามารถ

เจริญเติบโตไดใ นหลอดทดลอง ซ่งึ จะได

พืชจำนวนมากในระยะเวลาสั้น และ

สามารถนำเทคโนโลยกี ารเพาะเล้ยี ง

เนอ้ื เยือ่ มาประยุกต เพอ่ื การอนรุ กั ษ

พนั ธุกรรมพืช ปรับปรงุ พันธุพืชที่มี

ความสำคัญทางเศรษฐกิจ การผลติ ยา

และสาระสำคัญในพืช และอื่น ๆ

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.3 เขา ใจกระบวนการและความสำคัญของการถา ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมสาร

พนั ธกุ รรม การเปล่ยี นแปลงทางพันธุกรรมทมี่ ผี ลตอ ส่งิ มชี วี ติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ
และววิ ฒั นาการของสิง่ มชี วี ิต รวมทัง้ นำความรูไปใชป ระโยชน

ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
-- - ทองถน่ิ

-

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก ายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสมบัติของสสาร องคป ระกอบของสสาร ความสัมพันธร ะหวา งสมบัตขิ องสสารกับ

โครงสรางและแรงยึดเหนย่ี วระหวา งอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลง

สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถน่ิ

ม.1 ว 2.1 ม1/1 - ธาตแุ ตละชนิดมสี มบัติเฉพาะตวั และมสี มบตั ิ -

อธิบายสมบตั ิทางกายภาพบาง ทางกายภาพบางประการเหมือนกันและบาง

ประการของธาตุโลหะ อโลหะ และ ประการตา งกัน ซง่ึ สามารถนำมาจัดกลุมธาตุ

ก่งึ โลหะ โดยใชห ลักฐานเชิง เปน โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ธาตุโลหะมจี ุด

ประจักษทไี่ ดจากการสังเกตและ เดือด จุดหลอมเหลวสูง มผี ิวมนั วาว นำความ

การทดสอบ และใชสารสนเทศท่ไี ด รอนนำไฟฟา ดึงเปน เสน หรอื ตีเปน แผน บาง ๆ

จากแหลงขอมูลตา ง ๆ รวมทั้งจดั ได และมีความหนาแนนทัง้

กลมุ ธาตุเปนโลหะ อโลหะ กงึ่ โลหะ สงู และต่ำ ธาตุอโลหะ มีจุดเดือด จดุ

หลอมเหลวตำ่ มผี ิวไมม นั วาว ไมนำความรอ น

ไมนำไฟฟา เปราะ แตกหักงา ย และมคี วาม

หนาแนนตำ่ ธาตุก่งึ โลหะมสี มบัตบิ างประการ

เหมอื นโลหะ และสมบัตบิ างประการเหมือน

อโลหะ

ว 2.1 ม1/2 วิเคราะหผ ลจากการ - ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ที่

ใชธาตุโลหะ อโลหะ กง่ึ โลหะ และ สามารถแผร ังสีได จัดเปน ธาตุกัมมันตรงั สี

ธาตุกัมมันตรงั สี ที่มตี อสิง่ มีชวี ิต - ธาตมุ ที งั้ ประโยชนและโทษ การใชธ าตโุ ลหะ

สงิ่ แวดลอ ม เศรษฐกิจและสังคม อโลหะ กง่ึ โลหะ ธาตกุ ัมมันตรังสี ควรคำนึงถึง

จากขอมลู ทรี่ วบรวมได ผลกระทบตอสงิ่ มีชวี ิต สิ่งแวดลอ ม เศรษฐกิจ

ว 2.1 ม1/3 ตระหนักถงึ คุณคาของ และสงั คม

การใชธาตุโลหะ อโลหะ กง่ึ โลหะ

ธาตกุ มั มันตรงั สี โดยเสนอแนว

ทางการใชธ าตุอยา งปลอดภัย

คมุ คา

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถนิ่

ว 2.1 ม1/4 เปรยี บเทยี บจุดเดอื ด - สารบริสุทธ์ปิ ระกอบดวยสารเพยี งชนิดเดยี ว

จดุ หลอมเหลวของสารบริสุทธ์ิและ สว นสารผสมประกอบดว ยสารตงั้ แต 2 ชนิดขน้ึ

สารผสม โดยการวดั อณุ หภมู ิ เขียน ไป สารบริสทุ ธแิ์ ตล ะชนดิ มสี มบตั บิ างประการที่

กราฟ แปลความหมายขอมูลจาก เปนคา เฉพาะตวั เชน จุดเดอื ดและจุด

กราฟ หรอื สารสนเทศ หลอมเหลวคงที่ แตสารผสมมีจุดเดือดและจุด

หลอมเหลวไมค งท่ี ขน้ึ อยกู บั ชนิดและสดั สว น

ของสารทผี่ สมอยูด วยกัน

ม.1 ว 2.1 ม1/5อธิบายและ - สารบรสิ ทุ ธิ์แตล ะชนดิ มีความหนาแนน หรือ
เปรียบเทียบความหนาแนนของ มวลตอหน่ึงหนว ยปรมิ าตรคงท่ี เปน คาเฉพาะ
สารบริสุทธแ์ิ ละสารผสม ของสารนน้ั ณ สถานะและอุณหภูมิหนงึ่ แต
สารผสมมคี วามหนาแนน ไมค งทขี่ ึ้นอยกู บั ชนิด
และสดั สวนของสารทผี่ สมอยูดวยกัน

ว 2.1 ม1/6ใชเ คร่ืองมือเพื่อวัดมวล

และปริมาตรของสารบรสิ ุทธิ์และ

สารผสม

ว 2.1 ม1/7อธบิ ายเกย่ี วกับ - สารบรสิ ทุ ธ์แิ บงออกเปนธาตแุ ละสารประกอบ

ความสัมพนั ธร ะหวา งอะตอม ธาตุ ธาตุประกอบดว ยอนุภาคทเ่ี ล็กทีส่ ุดที่ยงั แสดง

และสารประกอบ โดยใช สมบตั ิของธาตุน้ันเรียกวา อะตอม ธาตแุ ตล ะ

แบบจำลองและสารสนเทศ ชนดิ ประกอบดว ยอะตอมเพยี งชนิดเดยี วและไม

สามารถแยกสลายเปน สารอ่นื ไดด วยวิธีทางเคมี

ธาตุเขยี นแทนดว ยสญั ลกั ษณธาตุ สารประกอบ

เกิดจากอะตอมของธาตตุ ั้งแต 2 ชนิดขึน้ ไป

รวมตวั กันทางเคมใี นอัตราสวนคงท่ี มสี มบัติ

แตกตา งจากธาตุท่ีเปนองคประกอบ สามารถ

แยกเปน ธาตุไดดว ยวธิ ีทางเคมี ธาตแุ ละ

สารประกอบสามารถเขยี นแทนไดด ว ยสตู รเคมี

- อะตอมประกอบดวยโปรตอน นวิ ตรอน และ

อิเล็กตรอน โปรตอนมีประจุไฟฟา บวก ธาตุ

ชนดิ เดียวกันมีจำนวนโปรตอนเทากันและเปน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชัน้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถนิ่

คา เฉพาะของธาตุน้ัน นวิ ตรอนเปน กลางทาง

ไฟฟา สวนอิเล็กตรอนมปี ระจุไฟฟา ลบ เมื่อ

ว 2.1 ม1/8อธิบายโครงสรา ง อะตอมมีจำนวนโปรตอนเทากับจำนวน ตัวอยา ง

อะตอมท่ีประกอบดวยโปรตอน อเิ ลก็ ตรอน จะเปน กลางทางไฟฟา โปรตอน องคป ระกอบของ

นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอน โดยใช และนวิ ตรอนรวมกันตรงกลางอะตอมเรียกวา สารใน

แบบจำลอง นวิ เคลยี ส สวนอเิ ลก็ ตรอนเคล่ือนทีอ่ ยูในทว่ี า ง ชวี ติ ประจำวนั

รอบนิวเคลียส

ว 2.1 ม 1/ 9 อ ธิ บ า ย แ ล ะ -สสารทกุ ชนดิ ประกอบดว ยอนภุ าค โดยสาร วตั ถุทม่ี อี ยูรอบๆตวั

เปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาค ชนิดเดียวกันท่มี สี ถานะของแขง็ ของเหลว แกส

แรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค และ จะมกี ารจัดเรียงอนภุ าค แรงยึดเหนยี่ วระหวาง

การเคลื่อนท่ีของอนุภาคของสสาร อนุภาค การเคลอื่ นที่ของอนุภาคแตกตา งกัน

ชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ซ่งึ มผี ลตอรูปรา งและปริมาตรของสสาร

ข อ ง เห ล ว แ ล ะ แ ก ส โด ย ใช - อนภุ าคของของแข็งเรยี งชดิ กัน มีแรงยึด

แบบจำลอง เหนยี่ วระหวา งอนุภาคมากท่สี ุด อนภุ าคสั่นอยู

กบั ท่ี ทำใหมรี ปู รา งและปรมิ าตรคงท่ี

- อนุภาคของของเหลวอยูใกลกัน มแี รงยึด

เหน่ียวระหวางอนุภาคนอยกวาของแขง็ แต

มากกวา แกส อนภุ าคเคลอ่ื นท่ีไดแ ตไมเปน

อสิ ระเทาแกส ทำใหมรี ปู รา งไมคงที่ แต

ปริมาตรคงที่

- อนุภาคของแกส อยูหางกนั มาก มีแรงยึด

เหนี่ยวระหวา งอนภุ าคนอยที่สดุ อนุภาค

เคล่ือนที่ไดอยางอิสระทุกทิศทาง ทำใหม ีรปู ราง

และปรมิ าตรไมคงท่ี

ม.1 ว 2.1 ม1/10อธิบายความสัมพันธ • เมือ่ ใหค วามรอนแกของเหลว อนุภาคของ สารใกลต ัว

ระหวางพลังงานความรอนกับการ ของเหลวจะมพี ลังงานและอุณหภมู เิ พิ่มขึน้

เปล่ียนสถานะของสสาร โดยใช จนถึงระดบั หนงึ่ ซึ่งของเหลวจะใชความรอนใน

ห ลั ก ฐ า น เชิ ง ป ร ะ จั ก ษ แ ล ะ การเปล่ยี นสถานะเปน แกส เรียกความรอนท่ใี ช

แบบจำลอง ในการเปลย่ี นสถานะจากของเหลวเปนแกสวา

ความรอ นแฝงของการกลายเปน ไอ และ

อุณหภมู ิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงที่ เรียก

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชนั้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถ่นิ

อุณหภูมนิ ี้วา จุดเดอื ด

• เมื่อทำใหอุณหภูมิของแกสลดลงจนถึงระดับ

หน่งึ แกสจะเปลีย่ นสถานะเปนของเหลว เรียก

อณุ หภูมินีว้ า จุดควบแนน ซึ่งมีอุณหภูมิ

เดียวกบั จุดเดอื ดของของเหลวน้ัน

• เม่ือทำใหอุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถงึ

ระดับหน่ึง ของเหลวจะเปลีย่ นสถานะเปน

ของแข็ง เรียกอณุ หภูมิน้ีวา จุดเยอื กแขง็ ซึ่งมี

อุณหภูมิเดยี วกับจุดหลอมเหลวของของแข็งนัน้

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 เขา ใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวิตประจำวนั ผลของแรงทีก่ ระทำตอวัตถุ ลักษณะการเคล่ือนท่ี

แบบตา ง ๆ ของวตั ถุ รวมทง้ั นำความรูไปใชประโยชน

ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรูแ กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถิ่น

ม.1 ว 2.2 ม 1/1สรา งแบบจำลองท่ี - เมื่อวตั ถอุ ยูในอากาศจะมีแรงทีอ่ ากาศกระทำ -

อธิบายความสมั พนั ธระหวา ง ตอ วตั ถใุ นทกุ ทิศทาง แรงที่อากาศกระทำตอ

ความดันอากาศกบั ความสูงจาก วัตถุขึน้ อยูกบั ขนาดพ้ืนท่ีของวัตถนุ น้ั แรงท่ี

พ้ืนโลก อากาศกระทำต้ังฉากกับผิววัตถุตอ หนงึ่

หนวยพื้นที่ เรยี กวาความดันอากาศ

-ความดันอากาศมคี วามสมั พันธก ับความสูง

จากพนื้ โลก โดยบริเวณท่ีสูงจากพ้ืนโลกขึ้น

ไป อากาศเบาบางลง มวลอากาศนอยลง

ความดนั อากาศก็จะลดลง

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรกายภาพ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒


Click to View FlipBook Version