The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร-2563-สาระวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Somza Jeed, 2022-09-11 01:19:07

หลักสูตรสาระวิทยาศาสตร์

หลักสูตร-2563-สาระวิทยาศาสตร์

รายวชิ าเทคโนโลยีพ้ืนฐาน

คำอธิบายรายวชิ า

กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวชิ า เทคโนโลย(ี วทิ ยาการคำนวน)

รหัสวชิ า ว๒๑๑๐๔ ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ จำนวน ๐.๕ หนวยกิต

เวลาเรยี น ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห เวลา ๒๐ ช่วั โมง/ภาคเรยี น

ศกึ ษาแนวคิคเชงิ นามธรรม การคัดเลอื กคุณลักษณะที่จำเปนตอการแกป ญ หา ขั้นตอนการ

แกปญ หา การเขยี นรหสั ลำลองและผังงาน การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา งงายทีม่ ีการใชง านตวั

แปร เงือ่ นไข และการวนซ้ำ เพ่อื แกป ญ หาทางคณิตศาสตรหรือวทิ ยาศาสตรการรวบรวมขอมลู ปฐมภมู ิ การ

ประมวลผลขอ มูล การสรา งทางเลือกและประเมินผลเพื่อตัดสินใจซอฟตแวรแ ละบริการบนอนิ เทอรเ น็ตท่ใี ช

ในการจัดการขอมูล แนวทางการใชง านเทคโนโลยสี ารสนเทศใหปลอดภัย การจดั การอัตลกั ษณ การ

พจิ ารณาความเหมาะสมของเน้อื หา ขอ ตกลงและขอกำหนดการใชส อื่ และแหลง ขอมลู

โดยนำแนวคิดเชิงนามธรรมและขนั้ ตอนการแกป ญหา ไปประยกุ ตใชในการเขยี นโปรแกรม หรือการ

แกป ญหาในชีวิตจรงิ รวบรวมขอ มลู และสรา งทางเลือก ในการตัดสนิ ใจไดอยา งมีประสทิ ธิภาพและตระหนัก

ถงึ การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย เกิดประโยชนต อ การเรยี นรู และไมส รางความเสียหาย

ใหแ กผ ูอื่น

เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ การ

ออกแบบวิธีการแกปญหา การใชทักษะชีวิต การใชเทคโนโลยี การนำความรูไปใชในชีวิตประจำวัน ไดอ ยาง

ถูกตอง เหมาะสม และปลอดภยั มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคา นิยมทเี่ หมาะสม

ตวั ช้ีวดั
ว ๔.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔

รวม ๔ ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

รายวิชาเทคโนโลยพี ้ืนฐาน

คำอธิบายรายวชิ า

กลุมสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

รหัสวิชา ว๒๒๑๐๒ ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน ๐.๕ หนวยกิต

เวลาเรยี น ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห เวลา ๒๐ ชว่ั โมง/ภาคเรยี น

ศกึ ษาแนวโนม เทคโนโลยที ี่จะเกิดขึ้นโดยพจิ ารณาจากสาเหตุหรือปจจยั ตางๆเชนความกา วหนาของ

ศาสตรตางๆการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมทำใหเทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลง

ตลอดเวลาเทคโนโลยีแตละประเภทมีผลกระทบตอชีวิตสังคมและสิ่งแวดลอมที่แตกตางกันจึงตองวิเคราะห

เปรียบเทียบขอดีขอ เสียและตัดสินใจเลือกใชใหเ หมาะสมระบุปญหาหรือความตองการในชุมชนหรือทองถ่ิน

มีหลายอยางขนึ้ กบั บริบทหรือสถานการณทีป่ ระสบเชนดา นพลงั งานสง่ิ แวดลอมการเกษตรการอาหารปญหา

จำเปนตองมีการวิเคราะหสถานการณของปญหาเพ่ือสรุปกรอบของปญหาแลวดำเนินการสืบคนรวบรวม

ขอมูลความรูจากศาสตรตางๆท่ีเกี่ยวของเพื่อนำไปสูการออกแบบแนวทางการแกปญหา การออกแบบ

วิธกี ารแกปญ หา

โดยวิเคราะหเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกขอมูลท่ีจำเปนภายใตเงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู

นำเสนอแนวทางการแกปญหาใหผูอื่นเขาใจวางแผนข้ันตอนการทำงานและดำเนินการแกปญหาอยางเปน

ขั้นตอนทดสอบประเมินผลและอธิบายปญหาหรือขอบกพรองที่เกิดข้ึนภายใตกรอบเง่ือนไขพรอมท้ังหาแนว

ทางการปรบั ปรุงแกไขและนำเสนอผลการแกปญ หาใชความรูและทักษะเกี่ยวกับวัสดอุ ุปกรณเคร่อื งมือกลไก

ไฟฟาและอเิ ล็กทรอนกิ สเ พ่ือแกปญหาหรือพัฒนางานไดอยา งถูกตองเหมาะสมและปลอดภยั

เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ การ

ออกแบบวิธีการแกปญหา การใชทักษะชีวิต การใชเทคโนโลยี การนำความรูไปใชในชวี ิตประจำวัน ไดอยาง

ถูกตอง เหมาะสม และปลอดภยั มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคานิยมทีเ่ หมาะสม

ตัวชี้วดั
ว ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวม ๕ ตวั ชวี้ ดั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

รายวิชาเทคโนโลยพี ื้นฐาน

คำอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวชิ า เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวน)

รหัสวิชา ว๒๒๑๐๔ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ จำนวน ๐.๕ หนวยกติ

เวลาเรยี น ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห เวลา ๒๐ ช่วั โมง/ภาคเรียน

ศึกษาแนวคิดเชิงคำนวณการแกปญหาโดยใชแนวคิดเชิงคำนวณ ตัวอยางปญหาเชนการเขาแถว

ตามลำดับความสูงใหเร็วที่สุด จัดเรียงเสื้อใหหาไดงายที่สุด ตัวดำเนินการบูลีนฟงกชันการออกแบบและ

เขียนโปรแกรมท่ีมีการใชตรรกะและฟงกชันการออกแบบอัลกอริทึมเพื่อแกปญหาอาจใชแนวคิดเชิงคำนวณ

ในการออกแบบเพ่ือใหการแกปญหามีประสิทธิภาพการแกปญหาอยางเปนขั้นตอนจะชวยใหแกปญหาได

อยางมีประสิทธิภาพซอฟตแวรท่ีใชในการเขียนโปรแกรมองคประกอบและหลักการทำงานของระบบ

คอมพิวเตอรเทคโนโลยีการส่ือสารการประยุกตใชงานและการแกปญหาเบื้องตนใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

อยา งปลอดภยั

โดยเลือกแนวทางปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาท่ีไมเหมาะสมเชนแจงรายงานผูเก่ียวของปองกันการเขามา

ของขอมูลที่ไมเหมาะสมไมตอบโตไมเผยแพรการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีความรับผิดชอบเชน

ตระหนักถึงผลกระทบในการเผยแพรขอ มลู การสรางและแสดงสิทธิความเปนเจา ของผลงานการกำหนดสิทธิ

การใชขอ มูล

เพ่ือใหเกิดความตระหนัก ความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู มี

ความสามารถในการตัดสินใจ การออกแบบวิธีการแกปญหา การใชทักษะชีวิต การใชเทคโนโลยี การนำ

ความรูไปใชในชีวิตประจำวัน ไดอยางถูกตอง เหมาะสม และปลอดภัย มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม

คุณธรรม และคา นยิ มท่ีเหมาะสม

ตวั ช้ีวดั
ว ๔.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔

รวม ๔ ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

รายวิชาเทคโนโลยีพื้นฐาน

คำอธิบายรายวิชา

กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

รหสั วชิ า ว๒๓๑๐๒ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ จำนวน ๐.๕ หนว ยกติ

เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห เวลา ๒๐ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น

ศึกษาเทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันซง่ึ มสี าเหตุหรือปจจยั มาจาก

หลายดานเชนปญหาหรือความตองการของมนุษยความกาวหนาของศาสตรตางๆการเปลี่ยนแปลงทางดาน

เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมส่ิงแวดลอมเทคโนโลยีมีความสัมพันธกับศาสตรอ่ืนโดยเฉพาะวิทยาศาสตรโดย

วิทยาศาสตรเปนพื้นฐานความรูท่ีนำไปสูการพัฒนาเทคโนโลยีและเทคโนโลยีที่ไดสามารถเปนเครื่องมือท่ีใช

ในการศึกษาคนควาเพ่ือใหไดมาซ่ึงองคความรูใหมระบุปญหาหรือความตองการของชุมชนหรือทองถ่ินเพ่ือ

พัฒนางานอาชีพสรปุ กรอบของปญ หารวบรวมวิเคราะหขอมูลและแนวคดิ ที่เก่ยี วของกับปญหา

โดยคำนงึ ถึงความถูกตอ งดานทรพั ยส ินทางปญญาออกแบบวิธกี ารแกป ญ หาโดยวิเคราะห

เปรยี บเทยี บและตัดสินใจเลือกขอมลู ท่ีจำเปนภายใตเงอ่ื นไขและทรัพยากรทมี่ ีอยนู ำเสนอแนวทางการ

แกปญหาใหผ ูอืน่ เขา ใจดวยเทคนคิ หรือวิธกี ารทีห่ ลากหลายวางแผนขั้นตอนการทำงานและดำเนินการ

แกป ญหาอยา งเปนขัน้ ตอน

เพ่ือใหเ กิดความตระหนัก ความรู ความคดิ ความเขา ใจ สามารถสอ่ื สาร พฒั นา สงิ่ ทเี่ รียนรใู หมี

ความสามารถในการตดั สินใจ การแกปญหา การใชทักษะชีวติ การใชเ ทคโนโลยี การนำความรไู ปใชใน

ชีวติ ประจำวันมีจติ วทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคานยิ มที่เหมาะสม

ตวั ช้ีวัด
ว ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวม ๕ ตัวช้ีวดั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

รายวชิ าเทคโนโลยพี ื้นฐาน

คำอธิบายรายวชิ า

กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชา เทคโนโลย(ี วทิ ยาการคำนวน)

รหัสวิชา ว๒๓๑๐๔ ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ จำนวน ๐.๕ หนวยกิต

เวลาเรยี น ๑ ช่ัวโมง/สปั ดาห เวลา ๒๐ ช่วั โมง/ภาคเรียน

ศกึ ษาขั้นตอนการพฒั นาแอปพลิเคชัน Internet of Things (IoT) ซอฟตแ วรท ่ีใชในการพฒั นาแอป

พลิเคชันท่ีมีการบูรณาการกับวชิ าอื่นอยา งสรางสรรคการรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมลู ปฐมภูมิและทุติยภูมิ

ประมวลผลสรางทางเลือกประเมินผลจะทำใหไดสารสนเทศเพ่ือใชในการแกปญ หาหรอื การตัดสินใจไดอยา ง

มีประสิทธิภาพการประมวลผลเปนการกระทำกับขอมูลเพื่อใหไดผลลัพธที่มีความหมายและมีประโยชนตอ

การนำไปใชงานการใชซอฟตแวรหรือบริการบนอินเทอรเน็ตที่หลากหลายในการรวบรวมประมวลผลสราง

ทางเลือกประเมินผลนำเสนอจะชวยใหแกปญหาไดอยางรวดเร็วถูกตองและแมนยำตัวอยางปญหาเชนการ

เลือกโปรโมชันโทรศัพทใหเหมาะกับพฤติกรรม การใชงานสินคาเกษตรท่ีตองการและสามารถปลูกไดใน

สภาพดินของทองถิ่นประเมินความนาเชื่อถือของขอมูลวิเคราะหส่ือและผลกระทบจากการใหขาวสารท่ีผิด

เพ่ือการใชงานอยางรูเทาทันใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยและมีความรับผิดชอบตอสังคมปฏิบัติ

ตามกฎหมายเกยี่ วกับคอมพิวเตอรใชลิขสทิ ธขิ์ องผูอนื่ โดยชอบธรรม

โดยใชกระบวนการอธิบาย เปรียบเทียบ อภิปราย การสืบเสาะหาความรู การสบื คนและรวบรวม

ขอมูล การสำรวจตรวจสอบ การออกแบบ การเขียนแผนภาพและกราฟ การคำนวณ การใชทักษะ

กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะการเรียนรูใ นศตวรรษท่ี 21

เพ่ือใหเกิดความตระหนัก ความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสาร พัฒนา สิ่งที่เรียนรู ใหมี

ความสามารถในการตัดสินใจ การแกปญหา การใชทักษะชีวิต การใชเทคโนโลยี การนำความรูไปใชใน

ชวี ิตประจำวนั มจี ิตวทิ ยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคา นยิ มที่เหมาะสม

ตวั ช้ีวดั
ว ๔.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวม ๔ ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

หนวยการเรยี นรู
กลมุ สาระการเรียนรู
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ - ๖

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 1

เวลาเรียน 80 ช่ัวโมง / ป โรงเรียนอนบุ าลหวยกระเจา

ช่ือหนวยการเรียนรู มาตรฐาน/ เนื้อหา จำนวน น้ำหนัก
ตวั ชว้ี ัด (ชั่วโมง) คะแนน

1. ตวั เรา พชื และสตั ว ว 1.1 ป1/1 -พืชและสตั วท อี่ าศัยอยูบรเิ วณตา งๆ 12 10
10
ว 1.1 ป1/2 -สภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมกับการดำรงชีวิตของสตั ว
10
ในบรเิ วณที่อาศยั อยู
10
2. พืชและสตั วใ น ว 1.2 ป1/1 -ลกั ษณะและหนาทีข่ องสวนตางๆ ของรางกาย 12
20
ทอ งถนิ่ มนษุ ย สัตวแ ละพืช
60
-การทำหนาท่รี วมกันของสว นตา งๆของรางกาย

มนษุ ยในการทำกจิ กรรมตา งๆ

ว 1.2 ป1/2 -ความสำคญั ของสวนตา งๆของรา งกายตนเอง และ

การดูแลสว นตางๆอยา งถูกตอ งใหป ลอดภัย

3. วัสดุและการเกิด ว 2.1 ป1/1 -สมบัตทิ ่ีสงั เกตไดของวสั ดทุ ใ่ี ชทำวัตถุ ซง่ึ ทำจากวัสดุ 18

เสียง ชนดิ เดยี วหรือหลายชนิดประกอบกัน

ว 2.1 ป1/2 -ชนดิ ของวสั ดุและจัดกลุมวัสดุตามสมบตั ทิ สี่ งั เกตได

-การเกิดเสยี งและทิศทางการเคลอ่ื นที่ของเสยี ง

ว 2.3 ป1/1

4. หินและทอ งฟา ว 3.1 ป1/1 -ดาวทป่ี รากฏบนทอ งฟา ในเวลากลางวนั และ 18

กลางคืน

ว 3.1 ป1/2 -สาเหตุทีม่ องไมเ หน็ ดาวสวนใหญในเวลากลางวนั

-ลักษณะภายนอกของหนิ

ว 3.2 ป1/1

5. วทิ ยาการคำนวณ ว 4.2 ป1/1 -การแกป ญ หาอยางงา ยโดยใชการลองผิดลองถูก 20

การเปรยี บเทียบ

ว 4.2 ป1/2 -ขัน้ ตอนการทำงานหรือการแกปญหาอยางงายโดย

ใชภาพ สัญลักษณ หรือขอความ

ว 4.2 ป1/3 -การเขียนโปรแกรมอยางงา ย โดยใชซ อฟตแ วร

หรอื สือ่

ว 4.2 ป1/4 -การใชเ ทคโนโลยีในการสราง จดั เก็บ เรียกใชขอมลู

-การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย และ

ว 4.2 ป1/5 ดแู ลรักษาอุปกรณเ บื้องตน

รวม 15 80

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

คะแนนระหวางเรยี น 60
คะแนนสอบกลางป 10
คะแนนสอบปลายป 30
รวมคะแนนทง้ั ป 100

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

กลุม สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 2
เวลาเรยี น 80 ชั่วโมง / ป โรงเรียนอนุบาลหวยกระเจา

ช่อื หนวยการเรยี นรู มาตรฐาน/ เนื้อหา จำนวน นำ้ หนัก
1. วฏั จักรชวี ิตของพชื ตัวชี้วดั (ชัว่ โมง) คะแนน
ดอก ว 1.2 ป2/1 -พืชตองการแสงและน้ำเพื่อการเจริญเตบิ โต
2. สง่ิ มชี ีวิตและ ว 1.2 ป2/2 -ความจำเปน ท่ีพชื ตองไดร บั น้ำและแสงเพ่อื 14 14
ส่งิ ไมมชี ีวติ ว 1.2 ป2/3 การเจรญิ เติบโต 8 5
3. ธรรมชาตขิ องสสาร ว 1.3 ป2/1 -วฎั จักรชวี ติ ของพืชดอก 18 15
ว 2.1 ป2/1 -ลกั ษณะของส่ิงมชี ีวิตและสิง่ ไมมชี ีวิต
4. แสงและการเคล่ือนที่ 10 8
ว 2.1 ป2/2 -สมบตั กิ ารดดู ซบั นำ้ ของวสั ดุ และการนำ 10 8
5. ดนิ ว 2.1 ป2/3 สมบตั ิการดดู ซับน้ำของวัสดุไปประยกุ ตใช
ในการทำวตั ถุในชีวติ ประจำวัน
ว 2.1 ป2/4 -สมบตั ทิ ส่ี งั เกตไดของวัสดทุ ี่เกดิ จากการนำ
ว 2.3 ป2/1 วสั ดุมาผสมกนั
ว 2.3 ป2/2 -สมบตั ิทีส่ งั เกตไดข องวสั ดุเพื่อนำมาทำเปน
ว 3.2 ป2/1 วตั ถุในการใชงาน และการนำวสั ดุทใ่ี ชแลว
ว 3.2 ป2/2 กลบั มาใชใหม
-ประโยชนของการนำวัสดุท่ใี ชแ ลว กลับมา
ใชใหม
แสงและการเคล่อื นทขี่ องแสงจาก
แหลง กำเนดิ แสง
-การมองเห็นวตั ถแุ ละอันตรายจากการมอง
วัตถุท่ีอยใู นบริเวณท่ีมีแสงสวา งไมเหมาะสม
-สวนประกอบของดิน และจำแนกชนิดของ
ดนิ โดยใชล กั ษณะเนื้อดนิ และการจบั ตัวเปน
เกณฑ
-การใชป ระโยชนจากดิน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชอ่ื หนวยการเรียนรู มาตรฐาน/ เนือ้ หา จำนวน นำ้ หนัก
6. วิทยาการคำนวณ ตวั ชี้วดั (ชว่ั โมง) คะแนน

รวม ว 4.2 ป2/1 -ขัน้ ตอนการทำงานหรือการแกปญ หาอยางงาย 20 10

โดยใชภาพ สัญลกั ษณ หรอื ขอความ 80 60
60
ว 4.2 ป2/2 -การเขียนโปรแกรมอยา งงาย โดยใชซอฟตแวร 10
30
หรอื ส่ือ 100

ว 4.2 ป2/3 -การใชเ ทคโนโลยใี นการสราง จัดหมวดหมู

คน หา จัดเก็บ และเรียกใชขอมลู

ว 4.2 ป/4 -การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภัย

และดูแลรกั ษาอุปกรณเบ้ืองตน

15

คะแนนระหวา งเรียน

คะแนนสอบกลางป

คะแนนสอบปลายป

รวมคะแนนทงั้ ป

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 3

เวลาเรยี น 80 ชั่วโมง / ป โรงเรยี นอนบุ าลหวยกระเจา

ช่อื หนวยการเรียนรู มาตรฐาน/ เนอื้ หา จำนวน นำ้ หนัก
ตัวชีว้ ัด (ชวั่ โมง) คะแนน

1. วฏั จกั รชีวิตของ ว 1.2 ป.3/1 -สิ่งทีจ่ ำเปนตอการดำรงชวี ิตและ 10 9

สตั ว ว 1.2 ป.3/2 การเจริญเตบิ โตของมนุษยแ ละสตั ว

ว 1.2 ป.3/3 -ประโยชนของนำ้ และอาหาร

ว 1.2 ป.3/4 -วัฏจักรชีวิตสัตว คุณคา ของสตั ว

2. วัสดุรอบตวั ว 2.1 ป3/1 -สวนประกอบของวตั ถุ 85

ว 2.1 ป3/2 -การเปลยี่ นแปลงของวสั ดุ

3. ธรรมชาติของแรง ว 2.2 ป3/1 -แรงทม่ี ีตอการเปลยี่ นแปลง 10 8

ว 2.2 ป3/2 -การเคลอ่ื นทขี่ องวัตถุ

ว 2.2 ป3/3 -การดงึ ดดู กบั แมเ หลก็

ว 2.2 ป3/4 -ขว้ั แมเหลก็

4. พลงั งานและไฟฟา ว 2.3 ป3/1 -การเปลี่ยนแปลงพลงั งาน 10 10

ว 2.3 ป3/2, -เคร่อื งกำเนดิ ไฟฟา

ว 2.3 ป3/3 -แหลง พลังงานไฟฟา

-ประโยชนและโทษของไฟฟา

-วิธีการใชไฟฟา อยา งประหยัด

5. ปรากฏการณ ว 3.1 ป3/1 -การขน้ึ และตกของดวงอาทติ ย 10 8

ธรรมชาติ ว 3.1 ป3/2 -การเกิดกลาวนั กลางคนื

ว 3.1 ป3/3 -การกำหนดทิศ

6. อากาศ ว 3.2 ป3/1 -สว นประกอบของอากาศ 12 10

ว 3.2 ป3/2 -ตวามสำคัญของอากาศ

ว 3.2 ป3/3 -ผลกระทบของมลพษิ

ว 3.2 ป3/4 -การเกิดลม

-ประโยชนแ ละโทษของลม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ช่ือหนวยการเรียนรู มาตรฐาน/ เนื้อหา จำนวน น้ำหนกั
7. วทิ ยาการคำนวณ ตัวชีว้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
ว 4.2 ป3/1 -แสดงอลั กอริทมึ ในการทำงานแกป ญ หา
-เขียนโปรแกรมอยางงาย 20 10
ว 4.2 ป3/2, -การใชอินเทอรเน็ต
ว 4.2 ป3/3 -การใชซอฟแวรนำเสนอขอมลู
-การใชเ ทคโนโลยีอยา งปลอดภัย
ว 4.2 ป3/4

ว 4.2 ป3/5

รวม 25 80 60
คะแนนระหวา งเรียน 60
คะแนนสอบกลางป 10
คะแนนสอบปลายป 30
รวมคะแนนทัง้ ป 100

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 4

เวลาเรียน 120 ช่วั โมง / ป โรงเรยี นอนุบาลหวยกระเจา

ช่ือหนวยการเรียนรู มาตรฐาน/ เนือ้ หา จำนวน นำ้ หนัก
ตวั ชีว้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน

1. สว นตางๆของพืช ว.1.2 ป.4/1 -หนาที่ของราก ลำตน ใบ และดอกของพชื ดอก 7 5

2. พืชและสัตว ว.1.3 ป.4/1, -ความเหมือนและความตา งของส่งิ มีชวี ติ 18 12
ว.1.3 ป.4/2, -พชื ดอก พชื ไมมีดอก 18 12
3. สมบตั ิทาง ว.1.3 ป.4/3, -สัตวมกี ระดูก สัตวไมมกี ระดูก 15 8
กายภาพ ว.1.3 ป4/4 -สัตวมีกระดกู สนั หลัง 75
ว.2.1 ป.4/1, 15 8
4. แรงโนม ถว งของ ว.2.1 ป.4/2, -สมบตั ทิ างกายภาพของวัสดุ
โลก ว.2.1 ป.4/3, -การนำวสั ดไุ ปใชใ นชีวติ ประจำวัน
5. ตวั กลางของแสง ว.2.1 ป4/4 -สถานะของสาร
ว.2.2 ป.4/1, การใชเคร่อื งมือวัดมวล ปริมาตร
6. ดวงจันทรและ ว.2.2 ป.4/2,
ระบบสุรยิ ะ ป4/3 -แรงโนม ถวง
ว.2.3 ป.4/1 -เคร่อื งชัง่ สปริง
-ผลการเปล่ยี นแปลงการเคล่ือนทข่ี องวตั ถุ
ว 3.1 ป4/1,
ว 3.1 ป4/2, -ตัวกลางโปรง ใส
ว 3.1 ป4/3 -ตวั กลางโปรง แสง
-วัตถุทึบแสง

-การขึ้นและการตกของดวงจันทร
-การเปลย่ี นแปลงรกู รางของดวงจนั ทร
-พยากรณร ูปรางปรากฏของดวงจนั ทร
-ระบบสรุ ยิ ะ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ช่อื หนวยการเรยี นรู มาตรฐาน/ เนือ้ หา จำนวน น้ำหนัก
ตัวชี้วัด (ชวั่ โมง) คะแนน

7. วิทยาการคำนวณ ว 4.2 ป4/1, -ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยางงา ย 40 10

ว 4.2 ป4/2, -การใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญ หา 120 60
60
ว 4.2 ป4/3, และการทำงาน ตรวจหาขอผดิ พลาด 10
30
ว 4.2 ป4/4, -ใชอินเทอรเน็ตในการหาขอ มูล 100

ว 4.2 ป4/5 -นำเสนอขอมูลโดยใชซอฟแวร

-ใชเ ทคโนโลยอี ยา งปลอดภัย

-สทิ ธิหนาที่ของตน และผูอ ่นื

รวม 21

คะแนนระหวา งเรียน

คะแนนสอบกลางป

คะแนนสอบปลายป

รวมคะแนนท้ังป

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

กลมุ สาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปที่ 5

เวลาเรียน 120 ชว่ั โมง / ป โรงเรยี นอนุบาลหวยกระเจา

ชอ่ื หนวยการเรยี นรู มาตรฐาน/ เน้ือหา จำนวน น้ำหนัก
ตัวช้ีวดั (ชั่วโมง) คะแนน

1. ส่งิ มีชวี ิตและ ว 1.1 ป.5/1 -โครงสรา งและลกั ษณะของสง่ิ มชี วี ติ 11 5

ส่งิ ไมมชี ีวติ ว 1.1 ป.5/2 -ความสัมพันธร ะหวา งส่ิงมชี ีวติ กับส่งิ มีชวี ิต/

ส่ิงไมมีชวี ติ

ว 1.1 ป.5/3 -โซอาหาร

ว 1.1 ป.5/4 -สิ่งแวดลอมท่มี ผี ลตอการดำรงชีวิต

2. พนั ธกุ รรมของพืช ว 1.3 ป.5/1 -ลักษณะทางพนั ธุกรรม 84

และสัตว ว 1.3 ป 5/2 -ลักษณะที่คลายคลึงกันของตนเองกับพอแม

3. สถานะของสาร ว 2.1 ป.5/1 -การเปลย่ี นสถานะของสสาร 11 4

ว 2.1 ป.5/2 -การละลายของสารในนำ้

ว 2.1 ป.5/3 -การเปลย่ี นแปลงทางเคมี

ว 2.1 ป 5/4 -การเปลย่ี นแปลงทีผ่ นั กลบั ได/ผันกลบั ไมได

4. แรง ว 2.2 ป.5/1 -การหาแรงลพั ธ 15 10
5. เสยี ง ว 2.2 ป.5/2 -แรงทกี่ ระทำตอวัตถทุ ่ีอยูใ นแนวเดยี วกนั 11 6
6. ดาว ว 2.2 ป.5/3 -การวัดแรงทก่ี ระทำตอวตั ถุ 9 5
ว 2.2 ป.5/4 แรงเสยี ดทานท่ีมีตอ การเปล่ียนแปลงการ
เคล่ือนท่ีของวัตถุ
ว 2.2 ป.5/5 -แรงเสยี ดทานและแรงที่อยใู นแนวเดยี วกนั ที่
กระทำตอ วัตถุ
ว 2.3 ป.5/1
ว 2.3 ป 5/2 -การไดยินเสียงผานตัวกลาง
ว 2.3 ป 5/3 -ลักษณะและการเกดิ เสยี งสูงเสียงต่ำ
ว 2.3 ป 5/4 -ลักษณะและการเกิดเสยี งดงั เสยี งคอ ย
ว 2.3 5/5 -การใชเครอ่ื งมอื วดั ระดับเสยี ง
ว 3.1 ป.5/1 แนวทางในการหลีกเล่ียงและลดมลพิษทางเสียง
ว 3.1 ป 5/2
-ดาวเคราะหและดาวฤกษ
-ตำแหนงและเสน ทางการข้ึนและตกของกลุม
ดาวฤกษ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชือ่ หนวยการเรยี นรู มาตรฐาน/ เนื้อหา จำนวน น้ำหนัก
7. น้ำและการเปลย่ี นแปลง ตัวช้ีวัด (ชว่ั โมง) คะแนน

8. วทิ ยาการคำนวณ ว 3.2 ป.5/1 -ปริมาณนำ้ ในแตล ะแหลง 15 10

รวม ว 3.2 ป.5/2 -คุณคาของน้ำ/แนวทางการใชน ำ้ 40 16

อยา งประหยดั /การอนรุ ักษน้ำ 120 60
60
ว 3.2 ป.5/3 -การหมนุ เวยี นของน้ำในวัฏจักรนำ้ 10
30
ว 3.2 ป.5/4 -กระบวนการเกดิ เมฆ หมอก นำ้ คาง 100

และน้ำคา งแขง็

ว 3.2 ป.5/5 -กระบวนการเกดิ ฝน หิมะ และลกู เหบ็

ว 4.2 ป.5/1 -เหตุผลเชิงตรรกะ

ว 4.2 ป.5/2 -เหตุผลเชิงตรรกะอยา งงา ย

ว 4.2 ป5/3 -การใชอ นิ เตอรเนต็

ว 4.2 ป5/4 -ขอ มูลและสารสนเทศตามวัตถปุ ระสงค

ว 4.2 ป5/5 -เทคโนโลยีสารสนเทศ/สิทธิและหนาทขี่ องตน

และผอู ่นื

32

คะแนนระหวางเรียน

คะแนนสอบกลางป

คะแนนสอบปลายป

รวมคะแนนทัง้ ป

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 6
โรงเรยี นอนบุ าลหวยกระเจา
เวลาเรียน 120 ช่ัวโมง / ป
จำนวน น้ำหนกั
ชือ่ หนวยการเรยี นรู มาตรฐาน/ เนอื้ หา (ชั่วโมง) คะแนน
ตวั ชวี้ ดั

1. สารอาหารและ ว 1.2 ป6/1 -สารอาหาร 13 5
ระบบยอ ยอาหาร ว 1.2 ป6/2 -การเลอื กรบั ประทานอาหาร 74
ว 1.2 ป6/3 -ความสำคัญของสารอาหาร
2. การแยกสาร ว 1.2 ป6/4 -ระบบยอ ยอาหาร
ว 1.2 ป6/5 -การดแู ลรักษาอวัยวะในระบบยอยอาหาร

ว 2.1 ป6/1 -การแยกสาร

3. แรงไฟฟา ว 2.2 ป6/1 -การเกิดและผลของแรงไฟฟา 7 4
4. วงจรไฟฟา 22 15
ว 2.3 ป6/1 -วงจรไฟฟาอยา งงาย
5. สรุ ยิ ปุ ราคา ว 2.3 ป6/2 -การตอ วงจรไฟฟา อยางงา ย 9 5
จนั ทรปุ ราคาและ ว 2.3 ป6/3 -การตอ เซลลไ ฟฟา แบบอนกุ รม 22 15
เทคโนโลยอี วกาศ ว 2.3 ป6/4 -การประยกุ ตใชใ นชีวิตประจำวัน
6. โลกและการ ว 2.3 ป6/5 -การตอ หลอดไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน
เปลย่ี นแปลง ว 2.3 ป6/6 -การประยุกตใ ชในชีวิตประจำวนั
ว 2.3 ป6/7 -การเกิดเงามืดเงามวั
ว 2.3 ป6/8 -รงั สีของแสงแสดงการเกดิ เงามืดเงามวั

ว 3.1 ป6/1 -ปรากฏการณสรุ ยิ ุปราคาและจนั ทรปุ ราคา
ว 3.1 ป6/2 เทคโนโลยีอวกาศ

ว 3.2 ป6/1 -การเกดิ หนิ อคั นี หินตะกอน และหินแปร
ว 3.2 ป6/2 -การใชป ระโยชนข องหินและแรใน
ชีวิตประจำวัน
ว 3.2 ป6/3 -การเกิดซากดกึ ดำบรรพ
ว 3.2 ป6/4 -การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม
ว 3.2 ป6/5 -ผลของมรสมุ ตอการเกิดฤดูของประเทศไทย
ว 3.2 ป6/6 -ลกั ษณะและผลกระทบของน้ำทวม
ว 3.2 ป6/7 -ผลกระทบของภัยธรรมชาตแิ ละธรณพี ิบตั ภิ ยั
ว 3.2 ป6/8 -การเกดิ ปรากฏการณเรือนกระจก
ว 3.2 ป6/9 -ผลกระทบของปรากฏการณเ รือนกระจก

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชอื่ หนวยการเรยี นรู มาตรฐาน/ เนอ้ื หา จำนวน น้ำหนัก
7. วทิ ยาการคำนวณ ตวั ชี้วดั (ชั่วโมง) คะแนน

รวม ว 4.2 ป6/1, -การใชเ หตุผลเชงิ ตรรกะ 40 12

ว 4.2 ป6/2, -การเขยี นโปรแกรมอยา งงาย

ว 4.2 ป6/3, -การคนหาขอมูล

ว 4.2 ป6/4 การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ

30 120 60
60
คะแนนระหวา งเรียน 10
30
คะแนนสอบกลางป 100

คะแนนสอบปลายป

รวมคะแนนท้ังป

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

หนวยการเรยี นรรู ายวชิ าวิทยาศาสตรพ ้ืนฐาน
กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร
ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๑ – ๓

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

โครงสรางรายวิชา

กลมุ สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 80 ชว่ั โมง จำนวน 2.0 หนวยกติ

ชอ่ื หนวยการเรียนรู มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด เนอ้ื หา เวลา น้ำหนัก
(ชว่ั โมง) คะแนน

1. สารรอบตัวเรา มฐ.ว 2.1 - ธาตุ 25 20

ม.1/1-3 - สารบริสุทธิ์และสาร

ม.1/4-6 ผสม

ม.1/7-10 - อะตอมธาตแุ ละ

สารประกอบ

2. หนว ยพนื้ ฐานของสงิ่ มีชวี ิต มฐ.ว 1.2 - เซลลพชื เซลลส ตั ว 38 20

ม.1/1-4 - การแพรแ ละออสโมซิส

ว 1.2 ม.1/5 - การสังเคราะหดว ยแสง

ว 1.2 ม.1/6-8 - การลำเลยี งนำ้ และ

ว 1.2 ม.1/9-10 อาหาร

- การสบื พันธุของพืช

ว 1.2 ม.1/11-18

3. การออกแบบเทคโนโลยี ว 4.1 ม.1/1 - เทคโนโลยี 15 10
ว 4.1 ม.1/2 - การแกป ญ หา
ว 4.1 ม.1/3 - วสั ดุอุปกรณ เครื่องมือ
ว 4.1 ม.1/4
ว 4.1 ม.1/5

คะแนนระหวา งเรียน หนวยการเรยี นรู 78 50
สอบระหวางภาค 1 20
คะแนนปลายภาค 1 30
รวมท้ังสนิ้ ตลอดภาคเรยี น สอบปลายภาค 80 100

หมายเหตุ - อัตราสว นคะแนนระหวางเรียนกบั การสอบปลายภาค 70/30

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

โครงสรา งรายวชิ า

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 80 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หนว ยกิต

ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐาน/ตัวชี้วดั เนอ้ื หา เวลา นำ้ หนัก
(ชว่ั โมง) คะแนน
1. แรงในชวี ติ ประจำวัน ว2.2 ม.1/1 -ความดนั อากาศ
2. พลงั งานความรอน 22

ว 2.3 ม.1/1-2 - ปริมาณความรอน 38 20
ว 2.3 ม.1/3-4 - การขยายตัวหรือหดตวั ของสสาร
- การถา ยโอนความรอน
ว 2.3 ม.1/5-7

3. กระบวนการเปลยี่ นแปลง ว 3.2 ม.1/1 - บรรยากาศ 20 18
ลม ฟา อากาศ
ว 3.2 ม.1/2 - ลม ฟา อากาศ 18 10
4. การออกแบบเทคโนโลยี
ว 3.2 ม.1/3-7 78 50
คะแนนระหวา งเรยี น 1 20
คะแนนปลายภาค ว 4.2 ม.1/1 - ออกแบบอัลกอรทิ ึม 1 30
80 100
ว 4.2 ม.1/2 - โปรแกรมอยางงาย

ว 4.2 ม.1/3 - ขอ มลู สารสนเทศ

ว 4.2 ม.1/4

คะแนนหนว ยการเรยี นรู

สอบระหวา งภาค

สอบปลายภาค

รวมทั้งสิน้ ตลอดภาคเรยี น

หมายเหตุ - อัตราสว นคะแนนระหวางเรียนกบั การสอบปลายภาค 70/30

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรางรายวชิ า

กลมุ สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 80 ช่วั โมง จำนวน 2.0 หนว ยกิต

ช่ือหนวยการเรียนรู มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด เน้อื หา เวลา นำ้ หนัก
1. รางกายของเรา (ชว่ั โมง) คะแนน
ว 1.2 ม.2/1-3 - ระบบหายใจ
2. สารและสมบัตขิ องสาร 38 20
3. การใชเทคโนโลยี ว 1.2 ม.2/4-5 - การกำจดั ของเสยี ทางไต
20 20
คะแนนระหวา งเรยี น ว 1.2 ม.2/6-9 - ระบบหมนุ เวียนเลือด
คะแนนปลายภาค 20 10
ว 1.2 ม.2/10-11 - ระบบประสาท
78 50
ว 1.2 ม.2/12-17 - ระบบสืบพันธุ 1 20
1 30
ว 2.1 ม.2/1-3 - การแยกสาร 80 100

ว 2.1 ม.2/4 - สารละลาย

ม.2/3, ม.2/5-6 - ความเขม ขน ของสารละลาย

ว 4.1 ม.2/1-4 - การใชเ ทคโนโลยเี พอ่ื การ

แกปญ หา

ว 4.1 ม.2/5 - วสั ดุ อุปกรณ เครอื่ งมือ

กลไก ไฟฟา และ

อิเล็กทรอนกิ ส

หนวยการเรยี นรู

สอบระหวา งภาค

สอบปลายภาค

รวมท้ังสิ้นตลอดภาคเรยี น

หมายเหตุ - อัตราสว นคะแนนระหวางเรียนกับการสอบปลายภาค 70/30

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรางรายวชิ า

กลุม สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 80 ช่วั โมง จำนวน 2.0 หนว ยกติ

ช่ือหนวยการเรียนรู มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด เนื้อหา เวลา นำ้ หนัก
(ช่วั โมง) คะแนน

1. แรงและการเคลื่อนท่ี ว 2.2 ม.2/1 - การเคล่ือนที่ของวตั ถุ 24 15

ว 2.2 ม.2/2 - แรงและแรงลัพธ 10

ว 2.2 ม.2/3 - ความดันของของเหลว 15

ว 2.2 ม.2/4-5 - แรงพยงุ การจม การลอย 10

ว 2.2 ม.2/6-9 - แรงเสียดทาน 50
20
ว 2.2 ม.2/10 - โมเมนตข องแรง 30

ว 2.2 ม.2/11-13 - แรงแมเหล็ก แรงไฟฟาและพลงั งาน

โนม ถวง

ว 2.2 ม.2/14-15 - อตั ราเร็ว ความเรว็ และการกระจัด

2. งานและพลงั งาน ว 2.3 ม.2/1 - งานและกำลัง 15

ว 2.3 ม.2/2-3 - เคร่ืองกลอยา งงาย

ว 2.3 ม.2/4-5 - พลังงานจลนและพลังงานศักยโนมถวง

ว 2.3 ม.2/6 - กฎการอนรุ ักษพ ลังงาน

3. กระบวนการ ว 3.2 ม.2/1-2, - พลงั งานเชอ้ื เพลงิ จากซากดึกดำบรรพ 24

เปลย่ี นแปลงของโลก ว 3.2 ม.2/3 - พลังงานทดแทน

ว 3.2 ม.2/4 - โครงสรางของโลก

ว 3.2 ม.2/5 - การเปลย่ี นแปลงของผวิ โลก

ว 3.2 ม.2/6-7 - ดิน

ว 3.2 ม.2/8-10 - น้ำ

4. การใชเทคโนโลยี ว 4.2 ม.2/1 - อลั กอริทึม 15

ว 4.2 ม.2/2 - ตรรกะและฟง กชัน

ว 4.2 ม.2/3 - การประยุกตใชง านหรือการแกปญหา

ว 4.2 ม.2/4 - การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ

คะแนนระหวางเรยี น หนว ยการเรยี นรู 78

สอบระหวางภาค 1

คะแนนปลายภาค สอบปลายภาค 1

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

รวมทัง้ สน้ิ ตลอดภาคเรียน 80 100
หมายเหตุ - อัตราสว นคะแนนระหวา งเรียนกบั การสอบปลายภาค 70/30

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรา งรายวิชา

กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 80 ชัว่ โมง จำนวน 2.0 หนวยกติ

ชอ่ื หนวยการเรียนรู มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เนอ้ื หา เวลา น้ำหนกั
1. ไฟฟาและวงจรไฟฟา (ชัว่ โมง) คะแนน
ว 2.3 ม.3/1-4 - ปรมิ าณทางไฟฟา
ว 2.3 ม.3/-7 - วงจรไฟฟา 40 30
ว 2.3 ม.3/8-9 - พลังงานไฟฟา
ว 2.3 ม.3/10-12 - แมเหล็กไฟฟา
ว 2.3 ม.3/13-21 - สมบตั ิของแสง

2. ปรากฏการณบนทองฟา ว 3.1ม.3/1-3 - ดวงอาทิตย โลก ดวงจนั ทร 20 10
และเทคโนโลยอี วกาศ ว 3.1ม.3/4 - เทคโนโลยีอวกาศ

3. การใชเ ทคโนโลยี ว 4.1 ม.3/1 - เทคโนโลยีกบั ศาสตรตางๆ 18 10
ว 4.1 ม.3/2-4 - การแกป ญหาผานเทคโนโลยี
- วัสดุอุปกรณ เคร่ืองมือ

ว 4.1 ม.3/5

คะแนนระหวา งเรียน หนว ยการเรียนรู 78 50
สอบระหวา งภาค 1 20
คะแนนปลายภาค 1 30
รวมท้งั สน้ิ ตลอดภาคเรียน สอบปลายภาค 80 100

หมายเหตุ - อตั ราสว นคะแนนระหวางเรียนกับการสอบปลายภาค 70/30

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรา งรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 80 ช่ัวโมง จำนวน 2.0 หนว ยกติ

ชื่อหนวยการเรยี นรู มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด เน้ือหา เวลา น้ำหนกั
1. ระบบนเิ วศและสงิ่ มชี ีวิต (ช่ัวโมง) คะแนน
ว1.1 ม.3/1 - ระบบนิเวศ
ว1.1 ม.3/2 - ความสัมพันธส ิ่งมชี วี ติ 18 10
ว1.1 ม.3/3-6 - การถายทอดพลังงาน

2. วสั ดแุ ละปฏกิ ริ ิยาเคมี ว2.1 ม.3/1-2 - สมบตั ิทางกายภาพของวัสดุ 20 10
3. พันธกุ รรม - ปฏิกิริยาเคมี 20
ว2.1 ม.3/3-8
ว1.3 ม.3/1 - ยีน ดเี อน็ เอ โครโมโซม 25
ว1.3 ม.3/2-3 - การถายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม
ว1.3 ม.3/4 - การแบง เซลล
ว1.3 ม.3/5-6 - โรคทางพันธกุ รรม
ว1.3 ม.3/7-8 - สง่ิ มีชีวติ ดัดแปรพนั ธุกรรม
- ความหลากหลายทาง
ว1.3 ม.3/9-11 ชวี ภาพ

4. เทคโนโลยี ว4.2 ม.3/1 - แอปพลเิ คชน่ั 15 10
ว4.2 ม.3/2 - ขอมูลและสารสนเทศ
ว4.2 ม.3/3-4 - การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

คะแนนระหวางเรยี น หนว ยการเรยี นรู 78 50
สอบระหวางภาค 1 20
คะแนนปลายภาค 1 30
รวมทั้งส้ินตลอดภาคเรยี น สอบปลายภาค 80 100

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

หมายเหตุ - อัตราสว นคะแนนระหวา งเรียนกบั การสอบปลายภาค 70/30

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

แนวการจดั การเรยี นรู

การจัดการเรียนรูเปนกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสูการปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน เปนหลักสูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค
ของผเู รยี น เปนเปาหมายสำหรบั พัฒนาเด็กและเยาวชน

ในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณสมบัติตามเปาหมายหลักสูตร ผูสอนพยายามคัดสรรกระบวนการ
เรียนรู จัดการเรียนรูโดยชวยใหผูเรียนเรียนรูผานสาระที่กำหนดไวในหลักสูตร 8 กลุมสาระการเรียนรู
รวมทั้งปลูกฝงเสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงค พัฒนาทักษะตางๆ อันเปนสมรรถนะสำคัญใหผูเรียน
บรรลุตามเปาหมาย

1. หลักการจัดการเรียนรู
การจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนมีความรูความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสำคัญ

และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามที่กำหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยยึดหลักวา
ผูเรียนมีความสำคัญท่ีสุด เชื่อวาทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได ยึดประโยชนที่เกิดกับ
ผูเรยี น กระบวนการจัดการเรียนรตู องสงเสริมใหผูเรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
คำนงึ ถงึ ความแตกตางระหวางบุคคลและพฒั นาการทางสมอง เนน ใหค วามสำคญั ทั้งความรู และคณุ ธรรม

2. กระบวนการเรียนรู
การจัดการเรยี นรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ผูเรยี นจะตองอาศัยกระบวนการเรียนรูท่ีหลากหลาย

เปนเคร่ืองมือท่ีจะนำพาตนเองไปสูเปาหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรูท่ีจำเปนสำหรับผูเรียน อาทิ
กระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ กระบวนการสรางความรู กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม
กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญ หา กระบวนการเรียนรู จากประสบการณจ รงิ กระบวนการปฏิบัติ
ลงมือทำจริงกระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรูการเรียนรูของตนเอง
กระบวนการพฒั นาลกั ษณะนสิ ยั

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรเปนทักษะทางสติปญญา (Intellectual) ท่ีนักวิทยาศาสตร
และผูท่ีนำวธิ ีการทางวิทยาศาสตรมาแกปญหา ใชในการศึกษาคนควา สืบเสาะหาความรู และแกปญหาตาง
ๆ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแบงออกไดเปน 13 ทักษะ ทกั ษะท่ี 1-8 เปนทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตรข้ันพน้ื ฐาน และทักษะท่ี 9-13 เปนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข นั้ สงู หรอื ข้ันผสมหรือ
ขั้นบูรณาการ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท ้ัง 13 ทักษะ มีดังนี้

1. การสังเกต (Observing) หมายถึง การใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่งหรือหลาย
อยางรวมกัน ไดแก ตา หู จมูก ล้ิน ผิวกาย เขาไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ เพ่ือคนหาขอมูลซึ่ง
เปนรายละเอียดของส่ิงนั้น โดยไมใสความเห็นของผูสังเกตลงไป ขอมูลที่ไดจากการสังเกตประกอบดวย
ขอมูลเชิงคุณภาพ ขอมูลเชิงปริมาณ และขอมูลที่เก่ียวกับการเปล่ียนแปลงที่สังเกตเห็นไดจากวัตถุหรือ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

เหตุการณน้ัน ความสามารถท่ีแสดงใหเห็นวาเกิดทักษะนี้ประกอบดวยการชี้บงและการบรรยายสมบัติของ
วตั ถุไดโ ดยการกะประมาณและการบรรยายการเปลยี่ นแปลงของส่ิงท่ีสงั เกตได

2. การลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) หมายถงึ การเพ่ิมความคิดเห็นใหกับขอมูลที่ได
จากการสังเกตอยางมีเหตุผล โดยอาศัยความรูและประสบการณเดิมมาชวย ความสามารถท่ีแสดงใหเห็นวา
เกิดทักษะนี้ คือ การอธิบายหรอื สรุป โดยเพิ่มความคิดเห็นใหกับขอมูลโดยใชความรูหรือประสบการณเดิม
มาชวย

3. การจำแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การแบง พวกหรือเรยี งลำดบั วตั ถหุ รือสิง่ ที่มี
อยูในปรากฏการณโดยมีเกณฑ และเกณฑดังกลาวอาจใชความเหมือน ความแตกตาง หรือความสัมพันธ
อยางใดอยางหน่งึ ก็ได ความสามารถที่แสดงวาเกิดทักษะน้ีแลว ไดแก การแบงพวกของสิ่งตาง ๆ จากเกณฑ
ทผี่ ูอ่ืนกำหนดใหไ ด นอกจากน้ันสามารถเรียงลำดับสิ่งของดวยเกณฑของตวั เองพรอมกับบอกไดวาผูอ่ืนแบง
พวกของสิง่ ของน้นั โดยใชอะไรเปน เกณฑ

4. การวัด (Measuring) หมายถึง การเลือกใชเคร่ืองมือและการใชเคร่ืองมือน้ันทำการวัด
หาปริมาณของสง่ิ ตาง ๆ ออกมาเปนตัวเลขที่แนนอนไดอยางเหมาะสมกับสิ่งท่ีวัด แสดงวิธีใชเคร่ืองมอื อยาง
ถูกตอ ง พรอ มท้ังบอกเหตุผลในการเลอื กใชเครือ่ งมอื รวมทั้งระบหุ นวยของตวั เลขท่ีไดจ ากการวัดได

5. การใชตัวเลข (Using Numbers) หมายถึง การนับจำนวนของวัตถุและการนำตัวเลข
ที่แสดงจำนวนท่ีนับไดมาคิดคำนวณโดยการบวก ลบ คูณ หาร หรือการหาคาเฉล่ีย ความสามารถท่ีแสดงให
เห็นวาเกิดทักษะนี้ ไดแก การนับจำนวนส่ิงของไดถูกตอง เชน ใชตัวเลขแทนจำนวนการนับได ตัดสินไดวา
วัตถุ ในแตละกลุมมีจำนวนเทากันหรือแตกตางกัน เปนตน การคำนวณ เชน บอกวิธีคำนวณ คิดคำนวณ
และแสดงวิธีคำนวณไดอยางถูกตอง และประการสุดทายคือ การหาคาเฉล่ีย เชน การบอกและแสดงวิธีการ
หาคา เฉลีย่ ไดถ ูกตอง

6. การหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา(Using Space/Time
Relationships)

สเปสของวัตถุ หมายถึง ที่วางที่วัตถุนั้นครองท่ีอยู ซ่ึงมีรูปรางลักษะเชนเดียวกับวัตถุน้ัน
โดยท่ัวไปแลวสเปสของวตั ถุจะมี 3 มิติ คือ ความกวาง ความยาว และความสูง

ความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปสของวัตถุ ไดแก ความสัมพันธระหวาง 3 มิติ กับ 2 มิติ
ความสัมพันธระหวางตำแหนงที่ของวัตถุหน่ึงกับอีกวัตถุหน่ึง ความสามารถท่ีแสดงใหเห็นวาเกิดทักษะการ
หาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส ไดแก การชี้บงรูป 2 มิติ และ 3 มิติได สามารถวาดภาพ 2 มิติ จาก
วัตถหุ รอื จากภาพ 3 มติ ิ ได

ความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลา ไดแก ความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนตำแหนงท่ีอยูของ
วตั ถกุ ับเวลา หรือความสมั พันธระหวางสเปสของวัตถุท่ีเปล่ียนไปกับเวลาความสามารถท่ีแสดงใหเห็นวาเกิด
ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลา ไดแก การบอกตำแหนงและทิศทางของวัตถุโดยใชตัวเอง
หรอื วัตถุอ่ืนเปนเกณฑ บอกความสัมพันธระหวางการเปลีย่ นตำแหนง เปล่ียนขนาด หรือปรมิ าณของวัตถกุ ับ
เวลาได

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

7. การสื่อความหมายขอมูล (Communicating) หมายถึง การนำขอมูลที่ไดจาการสังเกต
การวัด การทดลอง และจากแหลงอ่ืน ๆ มาจดั กระทำเสียใหมโดยการหาความถี่ เรยี งลำดับ จดั แยกประเภท
หรือคำนวณหาคาใหม เพ่ือใหผูอื่นเขาใจความหมายไดดีขึ้น โดยอาจเสนอในรูปของตาราง แผนภูมิ
แผนภาพ ไดอะแกรม กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เปนตน ความสามารถท่ีแสดงใหเห็นวาเกิดทักษะน้ี
แลว คือการเปล่ียนแปลงขอมูลใหอยูในรูปใหมท่ีเขาใจดีขึ้น โดยจะตองรูจักเลือกรูปแบบท่ีใชในการเสนอ
ขอมลู ไดอยา งเหมาะสม บอกเหตุผลในการเสนอขอมูลในการเลอื กแบบแสนอขอมลู น้ัน การเสนอขอ มูลอาจ
กระทำไดหลายแบบดังท่ีกลาวมาแลว โดยเฉพาะการเสนอขอมูลในรูปของตาราง การบรรจุขอมูลใหอยูใน
รูปของตารางปกติจะใสคาของตัวแปรอิสระไวทางซายมือของตาราง และคาของตัวแปรตามไวทางขวามือ
ของตารางโดยเขียนคาของตัวแปรอิสระไวใหเรียงลำดับจากคานอยไปหาคามาก หรือจากคามากไปหาคา
นอ ย

8. การพยากรณ (Predicting) หมายถึง การคาดคะเนคำตอบลวงหนากอนการทดลอง
โดยอาศัยปรากฏการณท่ีเกิดซ้ำ หลักการ กฎ หรือ ทฤษฏีท่ีมีอยูแลวในเรื่องน้ันมาชวยสรุป เชน การ
พยากรณขอมูลเก่ียวกับตัวเลข ไดแก ขอมูลท่ีเปนตารางหรือกราฟ ซึ่งทำไดสองแบบ คือ การพยากรณ
ภายในขอบเขตของขอมูลท่มี ีอยู กับการพยากรณนอกขอบของขอมูลทม่ี ีอยู เชน การพยากรณผลของขอ มูล
เชงิ ปรมิ าณ เปนตน

9. การช้ีบงและการควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables) หมายถึง
การชีบ้ ง ตวั แปรตน ตวั แปรตาม และตัวแปรทตี่ องควบคมุ ใหคงท่ใี นสมมุตฐิ าน หนงึ่ ๆ

ตัวแปรตน หมายถึง สิ่งที่เปนสาเหตุท่ีทำใหเกิดผลตาง ๆ หรือส่ิงท่ีเราตองการทดลองดูวาเปน
สาเหตุทก่ี อใหเ กดิ ผลเชน น้ันจริงหรือไม

ตัวแปรตาม หมายถึง ส่ิงที่เปนผลเน่ืองมาจากตัวแปรตน เม่ือตัวแปรตนหรือสิ่งที่เปนสาเหตุ
เปลย่ี นไป ตวั แปรตามหรือสิ่งท่ีเปนผลจะแปรตามไปดว ย

ตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงที่ หมายถึง ส่ิงอ่ืน ๆ นอกเหนือจากตัวแปรตนท่ีจะทำใหผลการ
ทดลองคลาดเคลอ่ื น ถา หากวา ไมม ีการควบคุมใหเหมือนกนั

10. การตง้ั สมมตุ ิฐาน (Formulating Hypotheses) หมายถงึ การคิดหาคำตอบลวงหนา
กอนทำการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต อาศัยความรูหรือประสบการณเดิมเปนพื้นฐาน คำตอบท่ีคิด
ลวงหนานี้ ยังไมทราบ หรอื ยังไมเปนทางการ กฎหรือทฤษฏมี ากอ น สมมุติฐาน คือคำตอบท่ีคิดไวลวงหนามี
กลาวไวเปนขอ ความที่บอกความสัมพันธระหวางตัวแปรตน กับตัวแปรตามสมมตุ ฐิ านทต่ี ั้งข้นึ อาจถูกหรอื ผดิ ก็
ไดซ่ึงทราบไดภายหลังการทดลองหาคำตอบเพ่ือสนับสนุนสมมุติฐานหรือคัดคานสมมุติฐานท่ีตั้งไว ส่ิงที่ควร
คำนึงถึงในการตั้งสมมุติฐาน คือ การบอกช่ือตัวแปรตนซึ่งอาจมีผลตอตัวแปรตามและในการต้ังสมมุติฐาน
ตองทราบตัวแปรจากปญหาและสภาพแวดลอมของตัวแปรน้ัน สมมุติฐานที่ต้ังขึ้นสามารถบอกใหทราบถึง
การออกแบบการทดลอง ซึ่งตองทราบวาตัวแปรไหนเปนตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุม
ใหคงที่

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

11. การกำหนดนิยามเชงิ ปฏิบัติการของตัวแปร (Defining Variables Operationally)
หมายถึง การกำหนดความหมายและขอบเขตของคา ตาง ๆ ท่ีอยูในสมมุติฐานที่ตองการทดลองและบอกวิธี
วัดตัวแปรที่เกี่ยวกบั การทดลองนน้ั

12. การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติการเพ่ือหาคำตอบจาก
สมมุติฐานท่ีตัง้ ไว ในการทดลองจะประกอบไปดว ยกิจกรรม 3 ขั้นคอื

12.1 ออกแบบการทดลอง หมายถงึ การวางแผนการทดลองกอ นลงมือทดสอบจริง
12.2 ปฏิบัติการทดลอง หมายถึง การลงมือปฏิบัติจริงและใหอุปกรณไดอยางถูกตอง
และเหมาะสม
12.3 การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกขอมูลท่ีไดจากการทดลองซึ่ง
อาจเปน ผลจากการสงั เกต การวดั และอื่น ๆ ไดอยา งคลองแคลวและถูกตอง การบันทกึ ผลการทดลอง อาจ
อยูใ นรปู ตารางหรือการเขยี นกราฟ ซึ่งโดยทวั่ ไปจะแสดงคา ของตัวแปรตนหรอื ตวั แปรอสิ ระบนแกนนอนและ
คาของตัวแปรบนแกนต้ัง โดยเฉพาะในแตละแกนตองใชสเกลที่เหมาะสม พรอมทั้งแสดงใหเห็นถึงตำแหนง
ของคา ของตวั แปรทง้ั สองบนกราฟดวย
ในการทดลองแตละคร้ังจำเปนอาศัยการวิเคราะหตัวแปรตาง ๆ ที่เก่ียวของ คือสามารถที่จะ
บอกชนิดของตวั แปรในการทดลองวา ตัวแปรน้ันเปนตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม หรอื ตัวแปรทตี่ องควบคุม ใน
การทดลองหน่ึง ๆตองมีตัวแปรตัวหนึ่งเทานั้นท่ีมีผลตอการทดลอง และเพ่ือใหแนใจวาผลท่ีไดเกิดจากตัว
แปรนั้นจริง ๆ จำเปนตองควบคุมตัวแปรอ่ืนไมใหมีผลตอการทดลอง ซึ่งเรียกตัวแปรน้ีวาตัวแปรที่ตอง
ควบคุมใหค งท่ี
13. การตีความหมายขอมูลและการลงขอสรุป (Interpreting Data and Making
Conlusion) การตีความหมายขอมูล หมายถึง การแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะขอมูลท่ีมีอยู การ
ตคี วามหมายขอมูล ในบางคร้งั อาจตองใชทักษะอื่นๆ ดวย เชน การสังเกต การคำนวณ เปนตน และการลง
ขอสรุป หมายถึง การสรุปความสัมพันธของขอมูลท้ังหมด ความสามารถท่ีแสดงใหเห็นวาเกิดทักษะการลง
ขอสรุปคือบอกความสัมพันธของขอมูลได เชน การอธิบายความสัมพันธระหวางตัวแปรบนกราฟ ถากราฟ
เปนเสนตรงก็สามารถอธิบายไดวาเกิดอะไรขึ้นกับตัวแปรตามขณะท่ีตัวแปรอิสระเปลี่ยนแปลงหรือถาลาก
กราฟเปนเสนโคงใหอธิบายความสัมพันธระหวางตัวแปรกอนที่กราฟเสนโคงจะเปล่ียนทิศทางและอธิบาย
ความสัมพนั ธ ระหวางตวั แปรหลังจากที่กราฟเสนโคงเปลี่ยนทิศทางแลว.

กระบวนการเหลานี้เปนแนวทางในการจัดการเรียนรูที่ผูเรียนควรไดรับการฝกฝนพัฒนา เพราะจะ
สามารถชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดี บรรลุเปาหมายของหลักสูตร ดังน้ันผูสอนจึงจำเปนตองศึกษาทำ
ความเขาใจในกระบวนการเรียนรูตาง ๆ เพื่อใหสามารถเลือกใชในการจัดกระบวนการเรียนรูไดอยางมี
ประสิทธภิ าพ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

3. การออกแบบการจดั การเรยี นรู
ผูสอนตองศึกษาหลักสตู รสถานศึกษาใหเขาใจถงึ มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด สมรรถนะสำคัญ

ของผูเรียน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค และสาระการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับผูเรียน แลวจงึ พิจารณาออกแบบ
การจัดการเรียนรูโดยเลือกใชวิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหลงเรียนรู การวัดและประเมินผล เพื่อให
ผูเ รยี นไดพฒั นาเต็มตามศักยภาพและบรรลตุ ามเปาหมายที่กำหนด

4. บทบาทของผสู อนและผูเรยี น
การจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนมีคุณภาพตามเปาหมายของหลักสูตร ทั้งผูสอนและผูเรียนควรมี

บทบาท ดงั น้ี

4.1 บทบาทของผูส อน
1) ศกึ ษาวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคลแลวนำขอมูลมาใชใ นการวางแผนการจัดการ

เรยี นรู ทีท่ าทายความสามารถของผูเ รียน
2) กำหนดเปาหมายท่ีตองการใหเกิดขึ้นกับผูเรียน ดานความรูและทักษะ

กระบวนการทเ่ี ปน ความคดิ รวบยอด หลกั การ และความสมั พนั ธ รวมทั้งคุณลักษณะอันพงึ ประสงค
3) ออกแบบการเรียนรูและจัดการเรียนรูท่ีตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล

และพฒั นาการทางสมอง เพื่อนำผูเรียนไปสูเปา หมาย
4) จัดบรรยากาศที่เออื้ ตอการเรียนรู และดแู ลชวยเหลือผูเรียนใหเ กิดการเรียนรู
5) จัดเตรียมและเลือกใชสื่อใหเหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปญญาทองถิ่น

เทคโนโลยที ่เี หมาะสมมาประยกุ ตใชใ นการจดั การเรยี นการสอน
6) ประเมินความกาวหนาของผูเรยี นดว ยวิธีการทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติ

ของวชิ าและระดบั พฒั นาการของผูเ รยี น
7) วิเคราะหผลการประเมินมาใชในการซอมเสริมและพัฒนาผูเรียน รวมทั้งปรับปรุง

การจดั การเรยี นการสอนของตนเอง

4.2 บทบาทของผูเรียน
1) กำหนดเปาหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรขู องตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู เขาถึงแหลงการเรียนรู วิเคราะห สังเคราะหขอความรู ต้ัง

คำถามคดิ หาคำตอบหรือหาแนวทางแกปญหาดว ยวธิ กี ารตาง ๆ
3) ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ไดเรียนรูดวยตนเองและนำความรูไปประยุกตใชใน

สถานการณตา งๆ
4) มีปฏิสัมพนั ธ ทำงาน ทำกิจกรรมรว มกบั กลุมและครู
5) ประเมนิ และพฒั นากระบวนการเรยี นรูข องตนเองอยา งตอ เนอ่ื ง

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักการพ้ืนฐานสองประการคือ การ
ประเมินเพ่ือพัฒนาผูเรียนและเพื่อตัดสินผลการเรยี น ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรขู องผูเรียน ใหประสบ
ผลสำเร็จนั้น ผูเรียนจะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัดเพ่ือใหบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู
สะทอนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนซ่ึงเปนเปาหมายหลักในการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรูในทุกระดับไมวาจะเปนระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปนกระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยใชผลการ
ประเมินเปนขอมูลและสารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการ ความกาวหนา และความสำเร็จทางการเรียนของ
ผูเรียน ตลอดจนขอมูลท่ีเปนประโยชนตอการสงเสริมใหผูเรียนเกิด การพัฒนาและเรียนรูอยางเต็มตาม
ศักยภาพ

การวัดและประเมินผลของการจัดการเรียนรูตองใหครอบคลุมทั้ง 3 ดาน คือ ความรู ทักษะ
ความสามารถและคณุ ลักษณะ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู แบงออกเปน 4 ระดับ ไดแก ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา
ระดับเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา และระดบั ชาติ มีรายละเอยี ด ดังน้ี

1. การประเมนิ ระดับชั้นเรยี น
เปนการวัดและประเมินผลที่อยูในกระบวนการจัดการเรียนรู ผูสอนดำเนินการเปนปกติ

และสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใชเทคนิคการประเมินอยางหลากหลาย เชน การซักถาม การ
สังเกต การตรวจการบาน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แฟมสะสมงาน การใช
แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูสอนเปนผูประเมินเองหรือเปดโอกาส ใหผูเรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมิน
เพื่อน ผูปกครองรวมประเมนิ ในกรณีทไี่ มผ านตัวช้วี ดั ใหม กี ารสอนซอ มเสรมิ

การประเมินระดับช้ันเรียนเปนการตรวจสอบวา ผูเรียนมีพัฒนาการความกาวหนาในการ
เรียนรู อันเปนผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนหรอื ไม และมากนอยเพียงใด มีสิ่งท่ีจะตองไดรับ
การพัฒนาปรับปรุงและสงเสริมในดานใด นอกจากน้ียังเปนขอมูลใหผูสอนใชปรับปรุงการเรียนการสอนของ
ตนดว ย ทงั้ น้ีโดยสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตวั ช้วี ดั

2. การประเมินระดับสถานศึกษา
เปนการประเมนิ ท่สี ถานศึกษาดำเนินการเพ่อื ตดั สนิ ผล การเรียนของผูเรยี นเปน รายป/ราย

ภาค ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
นอกจากน้ีเพ่ือใหไดขอมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาวาสงผลตอการเรียนรูของผูเรียนตาม
เปาหมายหรือไม ผูเรียนมีจุดพัฒนาในดานใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของผูเรียนในสถานศึกษา
เปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเปนขอมูลและสารสนเทศเพ่ือการ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพ่ือการจัดทำแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัด
การศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขน้ั พื้นฐาน ผูปกครองและชุมชน

3. การประเมนิ ระดับเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา
เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรูตาม

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือใชเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขต
พ้ืนที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธ์ิของผูเรียน
ดวยขอสอบมาตรฐานที่จัดทำและดำเนินการโดยเขตพื้นท่ีการศึกษา หรือดว ยความรวมมือกับหนวยงานตน
สังกัด ในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังไดจากการตรวจสอบทบทวนขอมูลจากการประเมินระดับ
สถานศึกษาในเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา

4 การประเมนิ ระดับชาติ
เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกคนที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ชั้น
ประถมศึกษาปที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 เขารับการประเมิน ผลจากการ
ประเมนิ ใชเปนขอมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับตางๆ เพื่อนำไปใชในการวางแผนยกระดับ
คุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเปน ขอมลู สนบั สนนุ การตัดสินใจในระดบั นโยบายของประเทศ

ขอมูลการประเมินในระดับตางๆขางตน เปนประโยชนตอสถานศึกษาในการตรวจสอบ
ทบทวนพัฒนาคุณภาพผูเรยี น ถือเปนภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะตอ งจัดระบบดูแลชวยเหลือ
ปรับปรุงแกไข สงเสริมสนับสนุนเพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกตางระหวาง
บุคคลที่จำแนกตามสภาพปญหาและความตองการ ไดแก กลุมผูเรียนท่ัวไป กลุมผูเรียนท่ีมีความสามารถ
พเิ ศษ กลุมผเู รียนท่มี ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุมผูเรียนท่ีมีปญหาดานวินยั และพฤตกิ รรม กลมุ ผูเรยี น
ท่ีปฏิเสธโรงเรียน กลุมผูเรียนท่ีมีปญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุมพิการทางรางกายและสติปญญา เปน
ตน ขอมูลจากการประเมินจึงเปนหัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการชวยเหลือผูเรียนไดทันทวงที ปด
โอกาสใหผูเ รียนไดรบั การพฒั นาและประสบความสำเรจ็ ในการเรียน

สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัดการศึกษา จะตองจัดทำระเบียบวาดวยการวัดและ
ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาใหส อดคลองและเปนไปตามหลกั เกณฑและแนวปฏิบัตทิ ่ีเปนขอ กำหนด
ของหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน เพ่อื ใหบคุ ลากรท่เี กยี่ วของทกุ ฝา ยถือปฏิบตั ิรว มกนั

5 การตัดสินผลการเรยี น

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ในการตัดสินผลการเรียนของกลุมสาระการเรียนรูการอาน คิดวิเคราะหและเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงคและกิจกรรมพัฒนาผูเรียนนั้น ผูสอนตองคำนึงถึงการพัฒนาผูเรียนแตละคนเปน
หลัก และตองเก็บขอมูลของผูเรียนทุกดานอยางสม่ำเสมอและตอเนื่องในแตละภาคเรียน รวมทั้งสอนซอม
เสริมผเู รียนใหพัฒนาจนเตม็ ตามศักยภาพ

ระดบั ประถมศึกษา
(1) ผูเ รยี นตอ งมเี วลาเรยี นไมน อ ยกวารอ ยละ 80 ของเวลาเรยี นทง้ั หมด
(2) ผเู รียนตอ งไดรับการประเมินทุกตวั ช้วี ัด และผา นตามเกณฑท่สี ถานศกึ ษากำหนด
(3) ผเู รยี นตองไดรับการตดั สนิ ผลการเรยี นทกุ รายวชิ า
(4) ผูเรียนตองไดรับการประเมิน และมีผลการประเมินผานตามเกณฑท่ีสถานศึกษา

กำหนด ในการอา น คดิ วเิ คราะหและเขยี น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเ รียน

ระดับมัธยมศกึ ษา
(1) ตดั สนิ ผลการเรยี นเปนรายวิชา ผเู รียนตองมีเวลาเรียนตลอดภาคเรยี นไมน อย

กวารอยละ 80 ของเวลาเรยี นทั้งหมดในรายวชิ าน้ัน ๆ
(2) ผูเรยี นตองไดร ับการประเมินทกุ ตัวช้ีวดั และผานตามเกณฑท ี่สถานศึกษากำหนด
(3) ผเู รยี นตองไดร ับการตัดสนิ ผลการเรยี นทกุ รายวิชา
(4) ผูเรียนตองไดรับการประเมิน และมีผลการประเมินผานตามเกณฑที่สถานศึกษา

กำหนด ในการอา นคดิ วิเคราะหแ ละเขยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค และกจิ กรรมพฒั นาผูเ รียน
การพิจารณาเลื่อนช้ันท้ังระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถาผูเรียนมีขอบกพรองเพียงเล็กนอย

และสถานศึกษาพิจารณาเห็นวาสามารถพัฒนาและสอนซอมเสริมได ใหอยูในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะ
ผอนผันใหเลื่อนชั้นได แตหากผูเรียนไมผานรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโนมวาจะเปนปญหาตอการเรียน
ในระดับชั้นท่ีสูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาใหเรียนซ้ำช้ันได ทั้งนี้ใหคำนึงถึงวุฒิภาวะ
และความรคู วามสามารถของผเู รียนเปนสำคญั

6. การใหร ะดับผลการเรียน
ระดับประถมศกึ ษา ในการตัดสินเพ่ือใหระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถ

ใหระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผูเรียน เปนระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบ
รอยละ และระบบท่ใี ชคำสำคญั สะทอนมาตรฐาน

การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคนั้น ใหระดับ
ผลการประเมนิ เปน ดเี ยีย่ ม ดี และผาน

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จะตองพิจารณาทั้งเวลาการเขารวมกิจกรรม การ
ปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผูเรียน ตามเกณฑที่สถานศึกษากำหนด และใหผลการเขารวมกิจกรรมเปน
ผา น และไมผ าน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสินเพ่ือใหระดับผลการเรียนรายวิชา ใหใชตัวเลขแสดง
ระดับผลการเรียนเปน 8 ระดับ

การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคน้ัน ใหระดับ
ผลการประเมนิ เปน ดีเย่ียม ดี และผา น

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จะตองพิจารณาท้ังเวลาการเขารวมกิจกรรม
การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผูเรียน ตามเกณฑท่ีสถานศึกษากำหนด และใหผลการเขารวมกิจกรรม
เปนผา น และไมผ าน
7. การรายงานผลการเรียน

การรายงานผลการเรยี นเปน การสือ่ สารใหผูป กครองและผูเรยี นทราบความกา วหนา
ในการเรียนรูของผูเรยี น ซง่ึ สถานศึกษาตองสรุปผลการประเมนิ และจัดทำเอกสารรายงานใหผูปกครองทราบ
เปนระยะ ๆ หรืออยางนอยภาคเรยี นละ 1 ครง้ั

การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเปน ระดับคณุ ภาพการปฏบิ ตั ิของผเู รียนท่ีสะทอน
มาตรฐานการเรยี นรูก ลุมสาระการเรียนรู

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สอ่ื การเรียนรู แหลง เรียนรู

ส่ือการเรียนรูเปนเครื่องมือสงเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู ใหผูเรียนเขาถึง
ความรู ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรไดอยางมีประสิทธิภาพ ส่ือการ
เรียนรูมหี ลากหลายประเภท ทง้ั สอื่ ธรรมชาติ สื่อสงิ่ พมิ พ สือ่ เทคโนโลยี และเครือขา ยการเรยี นรูตา งๆ ทมี่ ีใน
ทองถิ่น การเลือกใชส่ือควรเลือกใหมีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการและลีลาการเรียนรูที่หลากหลาย
ของผูเ รียน

การจดั หาสอ่ื การเรยี นรู ผูเ รียนและผูสอนสามารถจดั ทำและพฒั นาขน้ึ เอง หรือปรบั ปรงุ เลอื กใช
อยางมีคุณภาพจากสื่อตางๆ ท่ีมีอยูรอบตัวเพ่ือนำมาใชประกอบในการจัดการเรียนรูที่สามารถสงเสริมและ
ส่ือสารใหผูเรยี นเกิดการเรยี นรูโดยสถานศึกษาควรจัดใหมีอยางพอเพียง เพ่ือพฒั นาใหผูเรยี นเกิดการเรียนรู
อยางแทจริง สถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หนวยงานท่ีเกี่ยวของและผูมีหนาท่ีจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ควรดำเนินการดงั นี้

1. จัดใหมีแหลงการเรียนรู ศูนยสื่อการเรียนรู ระบบสารสนเทศการเรียนรู และ
เครือขายการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพท้ังในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาคนควาและการ
แลกเปลยี่ นประสบการณก ารเรยี นรู ระหวา งสถานศึกษา ทอ งถนิ่ ชมุ ชน สงั คมโลก

2. จัดทำและจดั หาสื่อการเรียนรสู ำหรบั การศึกษาคน ควาของผูเรียนเสริมความรูใหผสู อน
รวมท้ังจดั หาสิ่งที่มีอยใู นทองถิ่นมาประยกุ ตใชเ ปนสือ่ การเรยี นรู

3. เลือกและใชส่ือการเรียนรูท่ีมีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย
สอดคลองกับวธิ ีการเรยี นรูธ รรมชาตขิ องสาระการเรียนรูแ ละความแตกตา งระหวางบุคคลของผเู รียน

4. ประเมนิ คุณภาพของสื่อการเรียนรทู ีเ่ ลอื กใชอ ยางเปน ระบบ
5. ศึกษาคนควา วิจัย เพื่อพัฒนาส่ือการเรียนรูใหสอดคลองกับกระบวนการเรียนรูของ
ผูเรียน
6. จัดใหมีการกำกบั ติดตาม ประเมนิ คุณภาพและประสิทธิภาพเก่ียวกับสื่อและการใชส่ือ
การเรียนรเู ปนระยะๆ และสมำ่ เสมอ
ในการจัดทำ การเลือกใช และการประเมินคุณภาพส่ือการเรียนรูท่ีใชในสถานศึกษา ควร
คำนึงถึงหลักการสำคัญของสื่อการเรียนรู เชน ความสอดคลองกับหลักสูตร วัตถุประสงคการเรียนรู การ
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู การจัดประสบการณใหผูเรียน เน้ือหามีความถูกตองและทันสมัยไมกระทบ
ความมั่นคงของชาติ ไมขัดตอศีลธรรม มีการใชภาษาท่ีถูกตอง รูปแบบการนำเสนอที่เขาใจงาย และ
นา สนใจ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒


Click to View FlipBook Version