The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร-2563-สาระวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Somza Jeed, 2022-09-11 01:19:07

หลักสูตรสาระวิทยาศาสตร์

หลักสูตร-2563-สาระวิทยาศาสตร์

ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถ่นิ

ว 2.3 ม 3/9 ตระหนกั ใน - วงจรไฟฟา ในบา นมีการตอ เครื่องใชไฟฟาแบบ

คุณคาของการเลือกใช ขนานเพ่ือใหความตา งศักยเ ทากนั การใช

เครอื่ งใชไฟฟา โดยนำเสนอ เครื่องใชไฟฟาในชีวิตประจำวันตองเลอื กใช

วธิ กี ารใชเครื่องใชไ ฟฟา เครอื่ งใชไฟฟาท่ีมีความตางศักยและกำลังไฟฟา

อยางประหยัดและ ใหเ หมาะกับการใชงาน และการใชเครอ่ื งใชไฟฟา

ปลอดภัย และอุปกรณไฟฟา ตองใชอยางถูกตอง ปลอดภยั

และประหยัด

ม.3 ว 2.3 ม 3/10สราง - คลน่ื เกดิ จากการสง ผา นพลงั งานโดยอาศัย

แบบจำลองท่ีอธิบายการ ตวั กลางและไมอาศัยตัวกลาง ในคลน่ื กล

เกิดคล่นื และบรรยาย พลังงานจะถกู ถายโอนผานตัวกลางโดยอนภุ าค

สวนประกอบของคลนื่ ของตวั กลางไมเคลื่อนท่ีไปกบั คลน่ื คล่นื ท่แี ผ

ออกมาจากแหลง กำเนิดคลืน่ อยางตอเน่ืองและมี

รปู แบบที่ซ้ำกนั บรรยายไดดว ยความยาวคลื่น

ความถี่แอมพลจิ ดู

ว 2.3 ม 3/11 อ ธิบ าย - คลื่นแมเ หล็กไฟฟาเปนคล่ืนทไี่ มอาศยั

คล่ืนแมเหล็กไฟฟาและ ตัวกลาง ในการเคลื่อนท่ี มีความถ่ตี อเนื่องเปน

สเปกตรัมคลื่นแมเหล็ก ชว งกวางมาก เคล่ือนทใี่ นสญุ ญากาศดว ย

ไฟฟาจากขอมูลท่ีรวบรวม อัตราเร็วเทา กัน แตจะเคล่ือนที่ดวยอตั ราเรว็

ได

ว 2.3 ม 3/12 ตระหนัก ตางกนั ในตวั กลางอน่ื คล่นื แมเหล็กไฟฟาแบง

ถึงประโยชนและอันตราย ออกเปน ชว งความถีต่ าง ๆ เรียกวา สเปกตรัมของ

จากคล่ืนแมเหล็กไฟฟา คลื่นแมเ หล็กไฟฟา แตละชว งความถม่ี ีช่ือเรียก

โ ด ย น ำ เส น อ ก า ร ใ ช ตางกัน ไดแก คลน่ื วิทยุ ไมโครเวฟ อินฟราเรด

ประโยชนในดานตาง ๆ แสงท่ีมองเห็น อลั ตราไวโอเลต รังสีเอกซแ ละรงั สี

แล ะอัน ตรายจากคล่ืน แกมมา ซึ่งสามารถนำไปใชป ระโยชนไ ด

แ ม เห ล็ ก ไฟ ฟ าใน ชี วิ ต - เลเซอรเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความยาว

ประจำวัน คล่ืนเดียว เปนลำแสงขนานและมีความเขมสูง

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถิ่น

นำไปใชประโยชนในดานตาง ๆ เชน ดานการ

สื่อสารมีการใชเลเซอรสำหรับสงสารสนเทศผาน

เสน ใยนำแสง โดยอาศัยหลักการการสะทอนกลับ

หมดของแสง ดา นการแพทยใ ชในการผาตัด

- คล่นื แมเหล็กไฟฟานอกจากจะสามารถนำไปใช

ประโยชนแ ลว ยงั มโี ทษตอมนุษยดว ย

เชน ถา มนุษยไ ดร ับรงั สีอัลตราไวโอเลตมาก

เกนิ ไป อาจจะทำใหเ กิดมะเร็งผวิ หนัง หรือถา ได

รงั สีแกมมาซึ่งเปน คลน่ื แมเหล็กไฟฟา ท่มี ีพลังงาน

สูงและสามารถทะลผุ านเซลลและอวัยวะได อาจ

ทำลายเนื้อเยื่อหรอื อาจทำใหเสียชีวติ ไดเ มอ่ื ไดรับ

รังสีแกมมาในปริมาณสงู

ม.3 ว 2.3 ม 3/13 ออกแบบ - เม่ือแสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะทอนซ่ึง

การทดลองและดำเนินการ เปนไปตามกฎการสะทอนของแสง โดยรังสีตก

ทดลองดวยวิธีที่เหมาะสม กระทบ เสนแนวฉาก รังสีสะทอนอยูในระนาบ

ใน ก ารอ ธิ บ าย ก ฎ ก าร เดียวกัน และมุมตกกระทบเทากับมุมสะทอน

สะทอนของแสง ภาพจากกระจกเงาเกิดจากรังสีสะทอนตัดกัน

หรือตอแนวรังสีสะทอนใหตัดกัน โดยถารังสี

สะทอนตัดกันจริง จะเกิดภาพจริง แตถาตอแนว

รงั สีสะทอนใหไ ปตดั กัน จะเกิดภาพเสมอื น

ว 2.3 ม 3/ 14 เ ขี ย น - เม่ือแสงเดนิ ทางผานตัวกลางโปรงใสที่ -

แผนภาพการเคลื่อนที่ของ แตกตา งกนั เชน อากาศและนำ้ อากาศและแกว

แสง แสดงการเกิดภาพ จะเกดิ การหักเห หรืออาจเกดิ การสะทอนกลบั

จากกระจกเงา หมดในตวั กลางที่แสงตกกระทบ การหักเหของ

แสงผานเลนสท ำใหเ กดิ ภาพท่ีมีชนดิ และขนาด

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถน่ิ

ว 2.3 ม 3/15 อธิบาย ตา ง ๆ
การหกั เหของแสงเม่อื ผา น
ตวั กลางโปรงใสท่ีแตกตาง
กัน และอธิบายการ
กระจายแสงของแสงขาว
เมือ่ ผา นปรซิ ึมจาก
หลกั ฐานเชิงประจักษ

ว 2.3 ม 3/16 .เขียน - แสงขาวประกอบดว ยแสงสีตาง ๆ เม่ือแสงขาว

แผนภาพการเคลื่อนท่ีของ ผานปรซิ ึมจะเกิดการกระจายแสงเปนแสงสตี าง

แสง แสดงการเกดิ ภาพ ๆ เรียกวา สเปกตรมั ของแสงขาว เม่ือเคล่ือนท่ีใน

จากเลนสบาง ตวั กลางใด ๆ ท่ไี มใ ชอ ากาศ จะมีอตั ราเรว็ ตา งกนั

จึงมกี ารหกั เหตา งกัน

ว 2.3 ม 3/17 อธิบาย - การสะทอ นและการหักเหของแสงนำไปใช -

ปรากฏการณที่เกี่ยวกบั อธบิ ายปรากฏการณทเี่ กยี่ วกับแสง เชน

แสง และการทำงานของ รุง มิราจ และอธิบายการทำงานของทัศนอปุ กรณ

ทศั นอุปกรณจากขอมลู ที่ เชน แวน ขยาย กระจกโคงจราจร กลอง

รวบรวมได โทรทรรศน กลองจุลทรรศน และแวน สายตา

ม.3 ว 2.3 ม 3/18 เขยี น - ในการมองวัตถุ เลนสตาจะถกู ปรบั โฟกัส

แผนภาพการเคล่ือนท่ีของ เพือ่ ใหเกิดภาพชดั ท่จี อตา ความบกพรองทาง

แสง แสดงการเกดิ ภาพ สายตา เชน สายตาสนั้ และสายตายาว เปน

ของทศั นอปุ กรณและ เพราะตำแหนง ท่เี กิดภาพไมไดอยทู ี่จอตาพอดี จงึ

เลนสตา ตองใชเ ลนสในการแกไขเพ่อื ชวยใหมองเห็น

เหมือนคนสายตาปกติ โดยคนสายตาส้ันใชเลนส

เวา สวนคนสายตายาวใชเ ลนสนูน

ว 2.3 ม 3/19 อธิบายผล - ความสวางของแสงมีผลตอดวงตามนุษย การใช

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่นิ

ของความสวางที่มีตอ สายตาในสภาพแวดลอมท่ีมีความสวางไม

ดวงตาจากขอมูลท่ีไดจ าก เหมาะสมจะเปนอันตรายตอดวงตา เชน การดู

การสืบคน วัตถุในที่มี ความสวางมากหรือนอยเกินไป การ

จองดูหนาจอภาพเปนเวลานาน ความสวางบน

พื้นท่ีรับแสงมีหนวยเปนลักซ ความรูเก่ียวกับ

ว 2.3 ม 3/20 วัดความ ความสวา งสามารถนำมาใชจัดความ -

ส ว า ง ข อ ง แ ส ง โด ย ใช สวางใหเหมาะสมกับการทำกิจกรรมตาง ๆ เชน

อุปกรณวัดความสวางของ การจัดความสวางท่ีเหมาะสมสำหรับการอาน

แสง หนงั สอื

ว 2.3 ม 3/21 ตระหนัก

ในคุณคาของความรู เรื่อง

ความสวางของแสงที่มีตอ

ด วงต า โด ย วิ เค ราะห

สถานการณ ปญหาและ

เสนอแนะ การจัดความ

สวางใหเหมาะสมในการทำ

กิจกรรมตา ง ๆ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เขา ใจองคป ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาว

ฤกษ และระบบสุริยะ รวมท้งั ปฏิสัมพันธภ ายในระบบสรุ ยิ ะทสี่ งผลตอ ส่งิ มชี ีวิต และการ

ประยุกตใชเ ทคโนโลยีอวกาศ

ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่นิ

ม.3 ว 3.1 ม 3/1 อธิบายการ - ในระบบสรุ ิยะมีดวงอาทติ ยเปน -

โคจรของดาวเคราะหร อบ ศูนยกลางโดยมีดาวเคราะหแ ละบรวิ าร

ดวงอาทติ ยด ว ยแรงโนมถว ง ดาวเคราะหแคระ ดาวเคราะหนอย ดาว

จากสมการ หาง และอื่น ๆ เชน วัตถุคอยเปอร โคจร

F = (Gm1m2)/r2 อยโู ดยรอบ ซง่ึ ดาวเคราะห และวตั ถุ

เหลานโ้ี คจรรอบดวงอาทติ ยด วยแรงโนม

ถว ง แรงโนมถวงเปน แรงดึงดูดระหวา ง

วัตถสุ องวัตถุ โดยเปน สดั สวนกบั ผลคูณ

ของมวลทัง้ สอง และเปน สดั สวนผกผนั

กบั กำลงั สองของระยะทางระหวางวตั ถุ

ทง้ั สอง แสดงไดโดยสมการ

F = (Gm1m2)/r2 เมื่อ F แทนความโนม

ถวงระหวางมวลท้งั สอง G แทนคานจิ

โนม ถวงสากล m1 แทนมวลของวัตถุ

แรก m2

แทนมวลของวัตถทุ ี่สอง และ r แทน

ระยะหา งระหวา งวัตถทุ ั้งสอง

ว 3.1 ม 3/2 สรา ง - การที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตยใน

แบบจำลองท่ีอธบิ ายการเกดิ ลักษณะท่ีแกนโลกเอียงกับแนวต้ังฉาก

ฤดู และการเคลื่อนที่ปรากฏ ของระนาบทางโคจร ทำใหสวนตางๆบน

ของดวงอาทติ ย โลกไดรับปริมาณแสงจากดวงอาทิตย

แตกตา งกันในรอบปเ กดิ เปน ฤดู กลางวนั

กลางคืนยาวไมเทากัน และตำแหนงการ

ข้ึนและตกของดวงอาทิตยท่ีขอบฟาและ

เสนทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย

เปล่ียนไปในรอบป ซึ่งสงผลตอการ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอดนำุบรงาชลหวี ติ้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรทู อ งถน่ิ

- ว 3.1 ม 3/3 สราง - ดวงจันทรโคจรรอบโลก โลกและดวง

แบบจำลองที่อธิบายการ จันทรโคจรรอบดวงอาทิตย ดวงจันทร

เกดิ ขางขนึ้ ขา งแรม การ รับ แ ส งจ าก ด ว งอ าทิ ต ย ค ร่ึงด ว ง

เปลย่ี นแปลงเวลาการ ตลอดเวลา เม่ือดวงจันทรโคจรรอบ

ข้ึนและตกของดวงจันทร โลกไดหันสวนสวางมายังโลกแตกตาง

และการเกดิ นำ้ ขึ้นน้ำลง กัน จึงทำใหค นบนโลกสังเกตสวนสวา ง

ของดวงจันทรแตกตางไปในแตละวัน

เกิดเปนขา งข้นึ ขางแรม

- ดวงจนั ทรโ คจรรอบโลกในทิศทาง

เดียวกันกับที่โลกหมนุ รอบตวั เอง จงึ

ทำใหเ หน็ ดวงจนั ทรขนึ้ ชาไปประมาณ

วันละ 50 นาที

- แรงโนมถวงที่ดวงจันทร ดวงอาทิตย

กระทำตอโลกทำใหเกิดปรากฏการณ

น้ำขึ้นน้ำลง ซึ่งสงผลตอส่ิงแวดลอม

และส่ิงมีชีวิตบนโลก วันที่น้ำมีระดับ

การข้ึนสูงสุดและลงต่ำสุดเรียก วันน้ำ

เกิด สวนวันที่ระดับน้ำมีการขึ้นและลง

นอยเรยี ก วันน้ำตาย โดยวันน้ำเกิด น้ำ

ตาย มคี วามสมั พันธกบั ขา งข้นึ ขางแรม

ว 3.1 ม 3/4 อธิบาย - เทคโนโลยีอวกาศไดมีบทบาทตอการ -

การใชป ระโยชนข อง ด ำรงชี วิต ข อ งม นุ ษ ย ใน ป จ จุ บั น

เทคโนโลยอี วกาศ และ มากมาย มนุษยไดใชประโยชนจาก

ยกตัวอยาง เทคโนโลยีอวกาศ เชน ระบบนำทาง

ความกาวหนาของ ดวยดาวเทียม (GNSS) การติดตาม

โครงการสำรวจอวกาศ พายุ สถานการณไฟปา

จากขอมลู ทร่ี วบรวมได -ดาวเทียมชวยภัยแลง การตรวจคราบ

- น้ำมันในทะเล

- โครงการสำรวจอวกาศตา ง ๆ ได

พฒั นาเพิ่มพนู ความรูความเขาใจตอ

โลก ระบบสุรยิ ะและเอกภพมากขนึ้

เปน ลำดบั ตวั อยา งโครงการสำรวจ

กลมุ่ สาระการเรียนหรู้วลิทกั ยสาูตศราสสถตารน์แศลึกะษเทาคโโรนงโเลรโสอีลยยรุวนีกิยกอสะากนาศํ ากนุบรเากัาชสรลงนำสาหนรำ้วกวเรยขจาวกตรดจรพสาะดน้ืำวเาจรทเวาคว่ีกอรจาพงั ารสคุทะศ่งิ าหธึกมรศษนชี กัแาีอวปรลิตการะนชระะอถบม๒กบศ๕ึก๖ษ๓ากาญจนบรุ ี เขต ๒

บริวารอ่นื ของดวงอาทิตย

สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจองคป ระกอบและความสัมพันธข องระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลง

ภายใน โลกและบนผวิ โลก ธรณพี ิบตั ิภัย กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟาอากาศและภูมิอากาศ โลก รวมทัง้

ผลตอ ส่งิ มีชวี ิตและสิง่ แวดลอม

ช้ัน ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง สาระการเรียนรู
-- ทองถิ่น
-
-

สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เขา ใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพอ่ื การดำรงชีวิตในสังคมทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงอยาง

รวดเรว็ ใชความรูและทกั ษะทางดา นวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอนื่ ๆ เพ่ือ

แกปญ หาหรือพฒั นางานอยา งมีความคิดสรา งสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชงิ

วิศวกรรม เลอื กใชเทคโนโลยีอยา งเหมาะสมโดยคำนึงถงึ ผลกระทบตอชวี ิต สงั คม และ

ส่งิ แวดลอ ม

ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถิน่

ม.3 ว 4.1 ม 3/1 - เทคโนโลยมี ีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลาตั้งแต -

วเิ คราะหส าเหตุ หรือปจจยั อดีตจนถึงปจจบุ ัน ซ่ึงมีสาเหตุหรือปจจัยมาจาก

ทีส่ งผลตอการเปลย่ี นแปลง หลายดาน เชน ปญหาหรือความตองการของ

ของเทคโนโลยี และ มนุษย ความกา วหนา ของศาสตรต า ง ๆ การ

ความสมั พนั ธของเทคโนโลยี เปลยี่ นแปลงทางดานเศรษฐกิจ สงั คม

กบั ศาสตรอนื่ โดยเฉพาะ วฒั นธรรม ส่ิงแวดลอ ม

วิทยาศาสตร หรือ - เทคโนโลยีมีความสัมพันธกับศาสตรอ่ืน

คณิตศาสตร เพื่อเปนแนว โดยเฉพาะวิทยาศาสตร โดยวิทยาศาสตรเปน

ทางการแกปญ หาหรือ พ้ืนฐานความรู ท่ีนำไปสูการพัฒนาเทคโนโลยี

พัฒนางาน และเทคโนโลยที ่ีไดสามารถเปนเครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ น

การศึกษา คนควา เพ่ือใหไดมาซึ่งองคความรู

ใหม

ว 4.1 ม 3/2 . ระบุปญ หา - ปญหาหรือความตองการอาจพบไดในงาน -

หรอื ความตองการของ อาชีพของชุมชนหรือทองถ่ิน ซึ่งอาจมีหลาย

ชมุ ชนหรือทอ งถิ่น เพ่ือ ดา น เชน ดานการเกษตร อาหาร พลังงาน การ

พัฒนางานอาชีพ สรปุ กรอบ ขนสง

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถน่ิ

ของปญ หา รวบรวม - การวิเคราะหสถานการณปญหาชวยใหเขาใจ

วเิ คราะหขอมูลและแนวคดิ เงื่อนไขและกรอบของปญหาไดชัดเจน จากนั้น

ทเ่ี ก่ียวของกับปญหา โดย ดำเนินการสืบคน รวบรวมขอมูล ความรูจาก

คำนงึ ถึงความถูกตองดาน ศาสตรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อนำไปสูการ

ทรพั ยส ินทางปญญา ออกแบบแนวทางการแกป ญหา

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

รหัส ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ตวั ช้ีวดั ทอ งถน่ิ

ม.3 ว 4.1 ม 3/ 3 - การวเิ คราะห เปรียบเทียบ และตัดสินใจ -

อ อ ก แ บ บ วิ ธี ก า ร เลือกขอมลู ที่จำเปน โดยคำนึงถึงทรัพยสิน

แ ก ป ญ ห า โ ด ย ทางปญ ญา เงื่อนไขและทรัพยากร เชน

วิเคราะหเปรียบเทียบ งบประมาณ เวลา ขอ มลู และสารสนเทศ วสั ดุ

แ ล ะตั ด สิ น ใจ เลื อ ก เครอื่ งมอื และอุปกรณ ชวยใหไดแนวทางการ

ขอมูลที่จำเปนภายใต แกป ญ หาที่เหมาะสม

เงื่อนไขและทรัพยากร - การออกแบบแนวทางการแกปญหาทำได

ท่ี มี อ ยู น ำ เ ส น อ หลากหลายวธิ ี เชน การรางภาพ การเขียน

แนวทางการแกปญหา แผนภาพ การเขียนผังงาน

ให ผู อ่ื น เข า ใจ ด ว ย - เทคนิคหรอื วธิ กี ารในการนำเสนอแนวทาง

เทคนิคหรือวิธีการที่ การแกป ญหามหี ลากหลาย เชน การใช

หลากหลาย วางแผน แผนภูมิ ตาราง ภาพเคล่ือนไหว

ขั้นตอน การทำงาน - การกำหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการ

แ ล ะ ด ำ เ นิ น ก า ร ทำงานกอนดำเนินการแกป ญหาจะชวยให

แกปญ หาอยางเป น การทำงานสำเรจ็ ไดตามเปาหมาย และลด

ขนั้ ตอน ขอผิดพลาดของการทำงานที่อาจเกิดขน้ึ

ว 4.1 ม 3/4 ทดสอบ - การทดสอบและประเมนิ ผลเปนการ

ประเมนิ ผล วิเคราะห ตรวจสอบชิ้นงานหรือวธิ ีการวา สามารถ

และใหเ หตผุ ลของ แกปญหาไดตามวตั ถุประสงคภายใตกรอบ

ปญหาหรอื ขอบกพรอง ของปญ หา เพ่ือหาขอบกพรอง และ

ทเี่ กิดขน้ึ ภายใต กรอบ ดำเนนิ การปรบั ปรงุ โดยอาจทดสอบซ้ำ

เงอื่ นไข พรอมทั้งหา เพอ่ื ใหส ามารถแกไขปญหาได

แนวทางการปรับปรงุ - การนำเสนอผลงานเปนการถายทอดแนวคิด

แกไข และนำเสนอผล เพอื่ ใหผูอนื่ เขา ใจเกีย่ วกับกระบวนการทำงาน

การแกป ญหา และชิ้นงานหรือวิธกี ารที่ได ซึ่งสามารถทำได

หลายวิธี เชน การเขยี นรายงาน การทำแผน

นำเสนอผลงาน การจดั นทิ รรศการ การ

นำเสนอผา นส่อื ออนไลน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่นิ

ว 4.1 ม 3/5 ใช - วสั ดุแตล ะประเภทมสี มบัติแตกตา งกนั เชน ไม

ความรู และทักษะ โลหะ พลาสติก เซรามิก จึงตองมีการวิเคราะห

เกี่ยวกบั วัสดุ อุปกรณ สมบัติเพ่ือเลือกใชใหเ หมาะสมกบั ลกั ษณะของงาน

เคร่ืองมือ กลไก - การสรางชนิ้ งานอาจใชค วามรู เรื่องกลไก ไฟฟา

ไฟฟาและ อิเล็กทรอนกิ ส เชน LED LDR มอเตอร เฟอง คาน

อิเล็กทรอนิกสใ ห รอก ลอ เพลา

ถูกตองกับลักษณะ - อปุ กรณและเครื่องมือในการสรางช้ินงานหรอื

ของงาน และ พัฒนาวธิ ีการมีหลายประเภท ตอ งเลือกใชให

ปลอดภัย เพอื่ ถูกตอง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทง้ั รจู ักเกบ็

แกปญหาหรือพัฒนา รกั ษา

งาน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจและใชแนวคดิ เชิงคำนวณในการแกป ญ หาทพี่ บในชีวติ จริงอยา งเปนขน้ั ตอนและเปน

ระบบ ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู การทำงาน และการแกปญ หา
ไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ รูเ ทา ทัน และมีจรยิ ธรรม

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถนิ่

ม.3 ว 4.2 ม3/1 พัฒนาแอป - ข้ันตอนการพฒั นาแอปพลิเคชัน -

พลิเคชนั ท่มี ีการบูรณาการ - Internet of Things (IoT)

กับวิชาอื่นอยา งสรา งสรรค - ซอฟตแ วรท ่ีใชในการพฒั นาแอปพลิเคชัน

เชน Scratch, python, java, c,

AppInventor

- ตัวอยา งแอปพลเิ คชนั เชน โปรแกรมแปลง

สกลุ เงนิ โปรแกรมผนั เสียงวรรณยกุ ต

โปรแกรมจำลองการแบงเซลล ระบบรดนำ้

อตั โนมตั ิ

ว 4.2 ม3/2 รวบรวมขอ มูล - การรวบรวมขอ มลู จากแหลงขอมลู ปฐมภูมิ

ประมวลผล ประเมนิ ผล และทตุ ิยภมู ิ ประมวลผล สรางทางเลือก

นำเสนอขอมลู และ ประเมินผล จะทำใหไดส ารสนเทศเพื่อใชใ น

สารสนเทศตามวัตถุประสงค การแกปญหาหรอื การตัดสนิ ใจไดอยางมี

โดยใชซอฟตแวรหรือบรกิ าร ประสิทธิภาพ

บนอนิ เทอรเน็ตท่ี

หลากหลาย

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชัน้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถนิ่

ม.3 - การประมวลผลเปน การกระทำกบั ขอมูล

เพอ่ื ใหไ ดผลลัพธที่มีความหมายและมี

ประโยชนตอ การนำไปใชงาน

- การใชซอฟตแวรห รือบริการบน

อนิ เทอรเ นต็ ทีห่ ลากหลายในการรวบรวม

ประมวลผล สรางทางเลือก ประเมนิ ผล

นำเสนอ จะชว ยใหแ กปญหาไดอ ยา งรวดเรว็

ถูกตอง และแมนยำ

- ตัวอยางปญหา เชน การเลือกโปรโมชนั

โทรศพั ทใหเหมาะกบั พฤติกรรมการใชง าน

สินคา เกษตร ที่ตอ งการและสามารถปลกู ได

ในสภาพดินของทองถ่นิ

ว 4.2 ม3/3 ประเมิน - การประเมินความนาเชือ่ ถอื ของขอมลู เชน

ความนาเชอื่ ถือของ ตรวจสอบและยนื ยนั ขอมลู โดยเทยี บเคยี ง

ขอ มลู วเิ คราะหส่ือและ จากขอมูลหลายแหลง แยกแยะขอมูลท่เี ปน

ผลกระทบจากการให ขอเทจ็ จรงิ และขอคดิ เหน็ หรอื ใช PROMPT

ขาวสารทผ่ี ิด เพื่อการใช - การสบื คน หาแหลงตนตอของขอมูล

งานอยา งรเู ทาทนั - เหตผุ ลวิบัติ (logical fallacy)

- ผลกระทบจากขา วสารทผ่ี ดิ พลาด

- การรูเ ทาทนั สื่อ เชน การวิเคราะหถ ึง

จดุ ประสงคของขอ มูลและผูใหข อ มูล ตีความ

แยกแยะเน้ือหาสาระของสอ่ื เลือกแนว

ปฏบิ ตั ไิ ดอยา งเหมาะสม เมื่อพบขอมูลตา ง



ว 4.2 ม3/4 ใช - การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา งปลอดภัย

เทคโนโลยสี ารสนเทศ เชน การทำธรุ กรรมออนไลน การซ้อื สินคา

อยางปลอดภัย และมี ซื้อซอฟตแวร คาบริการสมาชิก ซ้ือไอเทม็

ความรบั ผดิ ชอบตอ - การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา งมีความ

สงั คม ปฏบิ ัตติ าม รับผิดชอบ เชน ไมสรา งขาวลวง ไมแ ชร

กฎหมายเกยี่ วกับ ขอ มูลโดยไมต รวจสอบขอเท็จจรงิ

คอหมลพกั สวิ ูเตตรอสรถ าในชศล ึกขิ ษสาิทโธริ์ งเร-ียกนฎอนหุบมาาลยหเกว้ ย่ยี กวรกะบั เจคาอมพพทุ ิวธเศตกั อรราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียขนอรูง้วผทิ ูอยานื่ ศโาดสยตชรอ์แลบะธเรทรคมโนโล-ยกี าสราํ ในชกัลงขิ าสนิทเขธตขิ์ พอน้ื งทผ่ีกูอา่ืนรศโดึกยษชาปอรบะธถรมรศมึกษ(fาaกirาญจนบุรี เขต ๒

use)

โครงสรางเวลาเรียนของสถานศึกษา
พุทธศักราช ๒๕๖๓

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

โครงสรา งเวลาเรยี นหลักสตู รสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖๓
โรงเรยี นอนุบาลหวยกระเจา สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ระดบั ชน้ั ประถมศึกษา

กลุมสาระการเรียนรู/ เวลาเรยี น ป. ๕ ป. ๖
กิจกรรม ระดับประถมศกึ ษา
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ๑๖๐ ๑๖๐
กลุม สาระการเรยี นรู ๑๖๐ ๑๖๐
ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๒๐
คณิตศาสตร ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๒๐
วิทยาศาสตรและ ๑๒๐
๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐
เทคโนโลยี ๘๐
สังคมศกึ ษา ศาสนาและ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๔๐
วัฒนธรรม ๘๐ ๘๐
สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๔๐ ๘๔๐
ศิลปะ ๘๐
การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๔๐ ๔๐
ภาษาตางประเทศ
รวมเวลาเรยี น (พนื้ ฐาน) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐
รายวชิ าเพมิ่ เติม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐
ภาษาองั กฤษเพื่อ ๔๐
๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
การส่อื สาร
กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐
กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพ่ิม
เวลารู ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๒. ลกู เสอื – เนตรนารี
๓. กจิ กรรมเพ่ือสังคม ไมนอยกวา ๑,๐๐๐ ชวั่ โมง/ป

และ
สาธารณประโยชน
รวมเวลาเรียนทงั้ หมดตาม

หลกั สูตรกำหนด

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรา งเวลาเรียนหลกั สูตรสถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๖๓
โรงเรียนอนบุ าลหวยกระเจา สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต ๒

ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน

เวลาเรยี น

กลุม สาระการเรียนร/ู กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓

กลุมสาระการเรียนรู

ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)

คณติ ศาสตร ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.)

สังคมศึกษา ศาสนา และ ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.)
วัฒนธรรม

สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)

ศิลปะ ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)

การงานอาชพี ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.)

ภาษาตา งประเทศ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)

รวมเวลาเรยี น (พ้ืนฐาน) ๘๘๐ (๒๒นก.) ๘๘๐ (๒๒นก.) ๘๘๐ (๒๒นก.)

กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู

๑. กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐

๒. ลกู เสือ – เนตรนาร/ี เพ่อื ๔๐ ๔๐ ๔๐

สังคม

๓. กิจกรรมชมุ นุม ๔๐ ๔๐ ๔๐

รายวิชาเพ่ิมเติม ปละไมน อ ยกวา ๒๐๐ ช่ัวโมง

๑ .......................... ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.)

๒.......................... ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.)

๓........................... ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.)

๔.......................... ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒นก.)

รวมเวลาเรียนทงั้ หมด ไมนอ ยกวา ๑,๒๐๐ ชัว่ โมง/ป

*หมายเหตุ ๑.ผูเ รียนทำกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนในกจิ กรรมชุมนุม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

๒.กิจกรรมพัฒนาผูเรียนจัดเปน กิจกรรม” ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู” บังคับตามหลกั สตู ร
ประกอบดวยกิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรียนและกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารประโยชน

๓.วิชาหนาท่พี ลเมือง จัดเปนรายวชิ าเพิ่มเติมแตจ ัดการเรยี นการสอนใหบรู ณาการลงสู
กจิ กรรมโรงเรียนดำเนินการอยแู ลว โดยไมเพม่ิ ชว่ั โมง ไดแกก จิ กรรมหนา เสาธง กจิ กรรมวันสำคัญตา งๆ
กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี เพื่อปลูกฝงใหเ กิดการปฏบิ ตั ิและเปนพฤตกิ รรมในชีวติ ประจำวัน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรางหลักสตู รสถานศึกษา
พทุ ธศักราช ๒๕๖๓

ระดับช้นั ป.๑ – ป.๖ และ ม.๑ – ม.๓
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

โครงสรางหลักสตู รสถานศึกษา ระดบั ชั้นประถมศกึ ษา

ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๑

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./ป)

รายวชิ าพืน้ ฐาน ๘๔๐

ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร ๒๐๐
ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๘๐
ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร ๔๐
พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและ พลศึกษา ๔๐
ศ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐
รายวิชาเพมิ่ เตมิ ๘๐

อ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ ๘๐
กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน ๑๒๐

กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู” ๔๐
๔๐
๑. แนะแนว ๓๐
๒. ลูกเสือ-เนตรนารี ๑๐
๓. ชมุ นุม ๑,๐๔๐
๔. กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน

รวมเวลาเรยี นทั้งสิ้น

*หมายเหตุ ๑.ผูเรียนทำกิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชนใ นกิจกรรมชมุ นุม
๒.กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นจดั เปน กิจกรรม” ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู” บังคบั ตามหลกั สตู ร

ประกอบดวยกจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียนและกจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารประโยชน

๓.วชิ าหนาท่พี ลเมือง จัดเปน รายวิชาเพิ่มเติมแตจ ัดการเรียนการสอนใหบรู ณาการลงสู
กิจกรรมโรงเรียนดำเนนิ การอยูแลว โดยไมเพ่มิ ชัว่ โมง ไดแกก ิจกรรมหนาเสาธง กจิ กรรมวนั สำคัญตางๆ
กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี เพ่ือปลกู ฝง ใหเ กิดการปฏบิ ตั ิและเปนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรา งหลักสูตรสถานศกึ ษา ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา
ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๒

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ป)

รายวชิ าพื้นฐาน ๘๔๐

ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๒๐๐
ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ๘๐
ส๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร ๔๐
พ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและ พลศึกษา ๔๐
ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐

รายวิชาเพมิ่ เติม ๘๐

อ๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอ่ื สาร ๒ ๘๐

กจิ กรรมพัฒนาผูเ รียน ๑๒๐

๑. แนะแนว ๔๐
๒. ลกู เสอื -เนตรนารี ๔๐
๓. ชุมนมุ ๓๐
๔.กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน ๑๐

รวมเวลาเรยี น ๑,๐๔๐

*หมายเหตุ ๑.ผเู รยี นทำกิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชนใ นกิจกรรมชมุ นุม
๒.กิจกรรมพัฒนาผูเรยี นจัดเปนกจิ กรรม” ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู” บังคับตามหลักสตู ร

ประกอบดว ยกจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียนและกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารประโยชน
๓.วิชาหนา ท่พี ลเมือง จัดเปน รายวิชาเพ่ิมเตมิ แตจดั การเรียนการสอนใหบูรณาการลงสู

กิจกรรมโรงเรยี นดำเนนิ การอยแู ลว โดยไมเ พมิ่ ชวั่ โมง ไดแกก ิจกรรมหนาเสาธง กิจกรรมวนั สำคญั ตา งๆ
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เพ่ือปลูกฝง ใหเกดิ การปฏบิ ัติและเปนพฤติกรรมในชีวติ ประจำวัน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรา งหลกั สตู รสถานศึกษา ระดบั ชั้นประถมศกึ ษา

ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๓

รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./ป)

รายวิชาพ้ืนฐาน ๘๔๐

ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร ๒๐๐
ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ๘๐
ส๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๔๐
พ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและ พลศึกษา ๔๐
ศ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ง๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐
รายวชิ าเพิม่ เติม ๘๐

อ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร ๓ ๘๐
กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น ๑๒๐

๑. แนะแนว ๔๐
๒. ลกู เสอื -เนตรนารี ๔๐
๓. ชุมนุม ๓๐
๔. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน ๑๐
๑,๐๔๐
รวมเวลาเรยี น

*หมายเหตุ ๑.ผูเรียนทำกิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชนในกจิ กรรมชมุ นุม
๒.กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นจดั เปน กจิ กรรม” ลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู” บงั คับตามหลกั สูตร

ประกอบดวยกิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรียนและกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารประโยชน

๓.วิชาหนา ทพ่ี ลเมือง จัดเปนรายวิชาเพิ่มเตมิ แตจัดการเรียนการสอนใหบรู ณาการลงสู
กจิ กรรมโรงเรยี นดำเนินการอยูแลว โดยไมเ พิม่ ชว่ั โมง ไดแกก ิจกรรมหนา เสาธง กจิ กรรมวนั สำคัญตา งๆ
กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี เพื่อปลกู ฝง ใหเกดิ การปฏบิ ัติและเปน พฤติกรรมในชวี ิตประจำวนั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรางหลกั สูตรสถานศึกษา ระดับชน้ั ประถมศกึ ษา

ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๔

รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./ป)

รายวชิ าพ้นื ฐาน ๘๔๐

ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร ๑๖๐
ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๑๒๐
ส๑๔๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๘๐
ส๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร ๔๐
พ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาและ พลศกึ ษา ๘๐
ศ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐

รายวิชาเพม่ิ เติม ๔๐

อ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สาร ๔ ๔๐

กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น ๑๒๐

๑. แนะแนว ๔๐
๒. ลูกเสือ-เนตรนารี และ กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน ๔๐
๓. ชุมนมุ ๔๐

รวมเวลาเรียน ๑,๐๐๐

*หมายเหตุ ๑.ผูเ รียนทำกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนในกจิ กรรมชุมนุม
๒.กิจกรรมพัฒนาผเู รียนจดั เปน กิจกรรม” ลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู” บังคบั ตามหลกั สูตร

ประกอบดว ยกจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรยี นและกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารประโยชน

๓.วิชาหนาท่พี ลเมือง จดั เปน รายวชิ าเพ่ิมเตมิ แตจัดการเรยี นการสอนใหบ รู ณาการลงสู
กิจกรรมโรงเรียนดำเนนิ การอยูแลว โดยไมเ พมิ่ ชว่ั โมง ไดแกกจิ กรรมหนาเสาธง กิจกรรมวันสำคญั ตา งๆ
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เพ่ือปลกู ฝง ใหเกิดการปฏบิ ัติและเปนพฤตกิ รรมในชีวติ ประจำวัน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรางหลักสูตรสถานศกึ ษา ระดับช้ันประถมศึกษา

ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๕

รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./ป)

รายวชิ าพน้ื ฐาน ๘๔๐

ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร ๑๖๐
ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๑๒๐
ส๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ๘๐
ส๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร ๔๐
พ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและ พลศกึ ษา ๘๐
ศ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๘๐

รายวชิ าเพมิ่ เติม ๔๐

อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร ๕ ๔๐

กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน ๑๒๐

๑. แนะแนว ๔๐
๒. ลูกเสือ-เนตรนารี และ กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน ๔๐
๓. ชุมนมุ ๔๐

รวมเวลาเรยี น ๑,๐๐๐

*หมายเหตุ ๑.ผูเ รียนทำกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนในกจิ กรรมชุมนุม
๒.กิจกรรมพัฒนาผูเรียนจัดเปน กจิ กรรม” ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลาร”ู บงั คบั ตามหลักสตู ร

ประกอบดว ยกจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรยี นและกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารประโยชน

๓.วิชาหนาท่ีพลเมือง จดั เปนรายวชิ าเพิ่มเติมแตจ ัดการเรียนการสอนใหบรู ณาการลงสู

กจิ กรรมโรงเรยี นดำเนินการอยูแลว โดยไมเ พ่ิมชวั่ โมง ไดแกกจิ กรรมหนาเสาธง กิจกรรมวันสำคัญตางๆ
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เพื่อปลูกฝงใหเกดิ การปฏบิ ตั ิและเปนพฤติกรรมในชวี ิตประจำวั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรางหลกั สตู รสถานศึกษา ระดบั ชัน้ ประถมศึกษา

ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./ป)

รายวชิ าพ้นื ฐาน ๘๔๐

ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑๖๐
ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๑๒๐
ส๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๘๐
ส๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๔๐
พ๑๖๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและ พลศกึ ษา ๘๐
ศ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐

รายวิชาเพม่ิ เติม ๔๐

อ๑๖๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร ๖ ๔๐

กิจกรรมพฒั นาผูเรียน ๑๒๐

๑. แนะแนว ๔๐
๒. ลูกเสือ-เนตรนารี และ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน ๔๐
๓. ชุมนมุ ๔๐

รวมเวลาเรียน ๑,๐๐๐

*หมายเหตุ ๑.ผูเรียนทำกจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชนในกจิ กรรมชมุ นุม
๒.กจิ กรรมพัฒนาผูเรียนจัดเปน กิจกรรม” ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลาร”ู บังคับตามหลกั สูตร

ประกอบดว ยกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียนและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารประโยชน

๓.วชิ าหนา ทพ่ี ลเมือง จัดเปนรายวชิ าเพิ่มเตมิ แตจ ัดการเรียนการสอนใหบรู ณาการลงสู

กิจกรรมโรงเรียนดำเนนิ การอยูแลว โดยไมเ พ่มิ ชั่วโมง ไดแกกิจกรรมหนา เสาธง กจิ กรรมวนั สำคัญตา งๆ
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เพื่อปลกู ฝงใหเกิดการปฏิบัติและเปน พฤตกิ รรมในชวี ติ ประจำวัน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

รายวิชาเพม่ิ เติมในระดบั ช้นั ประถมศกึ ษา

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นอนบุ าลหวยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๑

อ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพือ่ การสอ่ื สาร ๑ เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง/ป

ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๒

อ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร ๒ เวลาเรยี น ๔๐ ชวั่ โมง/ป

ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๓

อ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ๓ เวลาเรยี น ๔๐ ชวั่ โมง/ป

ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๔

อ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร ๔ เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง/ป

ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๕

อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร ๕ เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง/ป

ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖

อ๑๖๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ๖ เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง/ป

ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๔

ว๑๔๒๐๑ สมุนไพรรอบตวั เวลาเรยี น ๔๐ ชัว่ โมง/ป

ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๕

ว๑๕๒๐๑ พชื ดอกในทอ งถิ่น เวลาเรยี น ๔๐ ช่ัวโมง/ป

ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖

ว๑๖๒๐๑ พืชไรดอกในทองถนิ่ เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง/ป

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรา งหลักสตู รสถานศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษา
ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๑

ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี ๑ ( ภาคเรยี นที่ ๑ ) ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๑ ( ภาคเรียนท่ี ๒ )

รหสั วิชา รายวชิ าพ้นื ฐาน นก. ชม. ชม/สป. รหัสวิชา รายวชิ าพน้ื ฐาน นก. ชม. ชม/สป.

ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ๓ ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ๓

ค๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑.๕ ๖๐ ๓ ค๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร ๑.๕ ๖๐ ๓

ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร ๑.๕ ๖๐ ๓ ว๒๑๑๐๓ วิทยาศาสตร ๑.๕ ๖๐ ๓

ว๒๑๑๐๒ เทคโนโลยี ๐.๕ ๒๐ ๑ ว๒๑๑๐๔ เทคโนโลยี ๐.๕ ๒๐ ๑

ส๒๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ๑.๕ ๖๐ ๓ ส๒๑๑๐๓ สงั คมศกึ ษา ๑.๕ ๖๐ ๓

ส๒๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร ๐.๕ ๒๐ ๑ ส๒๑๑๐๔ ประวัตศิ าสตร ๐.๕ ๒๐ ๑

พ๒๑๑๐๑ สุขศกึ ษา ๑.๐ ๔๐ ๒ พ๒๑๑๐๒ สขุ ศกึ ษา ๑.๐ ๔๐ ๒
และพลศึกษา และพลศึกษา

ศ๒๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑.๐ ๔๐ ๒ ศ๒๑๑๐๒ ศลิ ปะ ๑.๐ ๔๐ ๒

ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐ ๑ ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐ ๑

อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ ๓ อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ ๓

รวม ๑๑.๐ ๔๔๐ ๒๒ รวม ๑๑.๐ ๔๔๐ ๒๒

รหสั วชิ า รายวชิ าเพิม่ เติม นก. ชม. ชม./ รหัสวชิ า รายวชิ าเพิ่มเติม นก. ชม. ชม./

สป. สป.

ท๒๐๒๐๑ การเขียนการ ๐.๕ ๒๐ ๑ ท๒๐๒๐๒ การเขียนการ ๐.๕ ๒๐ ๑
สรางสรรค๑ สรางสรรค๒

ค๒๐๒๐๑ คณิตในชวี ติ ๐.๕ ๒๐ ๑ ค๒๐๒๐๒ คณติ ในชีวติ ๐.๕ ๒๐ ๑
ประจำวนั ๑ ประจำวัน๒

ส๒๐๒๐๓ วถิ ีสหกรณพ อเพียง ๐.๕ ๒๐ ๑ ท๒๐๒๐๓ การเลา นทิ าน ๑ ๐.๕ ๒๐ ๑

ง๒๐๒๐๒ งานประดษิ ฐฯ ๑.๐ ๔๐ ๒ ว๒๐๒๐๕ Power point ๑.๐ ๔๐ ๒

รวม ๒.๕ ๑๐๐ ๕ รวม ๒.๕ ๑๐๐ ๕

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน นก. ชม. ชม./ กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น นก. ชม. ชม./

สป. สป.

กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู

กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐ ๑ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐ ๑

กจิ กรรมลูกเสือ/เนตรนารี - ๒๐ ๑ กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี - ๒๐ ๑

กิจกรรมเพอื่ สงั คม/ชุมนุม - ๒๐ ๑ กิจกรรมเพื่อสังคม/ชุมนมุ - ๒๐ ๑

รวม - ๖๐ ๓ รวม - ๖๐ ๓

รวมจำนวน ๑๓.๕ ๖๐๐ ๓๐ รวมจำนวน ๑๓.๕ ๖๐๐ ๓๐
/หนว ยกจิ /ชั่วโมง/ภาค /หนวยกิจ/ช่ัวโมง/ภาค

รวมทัง้ หมดจำนวนชัง่ โมง / ป ๒๗.๐ ๑,๒๐๐

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรางหลกั สตู รสถานศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา

ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๒ ( ภาคเรยี นท่ี ๑ ) ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี ๒ ( ภาคเรยี นท่ี ๒ )

รหัสวชิ า รายวิชาพ้นื ฐาน นก. ชม. ชม/สป. รหัสวิชา รายวิชาพน้ื ฐาน นก. ชม. ชม/สป.

ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ๓ ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ๓

ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๑.๕ ๖๐ ๓ ค๒๒๑๐๒ คณติ ศาสตร ๑.๕ ๖๐ ๑

ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร ๑.๕ ๖๐ ๓ ว๒๒๑๐๓ วทิ ยาศาสตร ๑.๕ ๖๐ ๑

ว๒๒๑๐๒ เทคโนโลยี ๐.๕ ๒๐ ๑ ว๒๒๑๐๔ เทคโนโลยี ๐.๕ ๒๐ ๒

ส๒๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๑.๕ ๖๐ ๓ ส๒๒๑๐๓ สงั คมศกึ ษา ๑.๕ ๖๐ ๒

ส๒๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร ๐.๕ ๒๐ ๑ ส๒๒๑๐๔ ประวัตศิ าสตร ๐.๕ ๒๐ ๓
๒๒
พ๒๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๑.๐ ๔๐ ๒ พ๒๒๑๐๒ สุขศกึ ษา ๑.๐ ๔๐ ชม./สป.
และพลศกึ ษา และพลศึกษา

ศ๒๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๑.๐ ๔๐ ๒ ศ๒๒๑๐๒ ศลิ ปะ ๑.๐ ๔๐

ง๒๒๑๐๑ การงานอาชพี ๐.๕ ๒๐ ๑ ง๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐

อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ ๓ อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐

รวม ๑๑.๐ ๔๔๐ ๒๒ รวม ๑๑.๐ ๔๔๐

รหัสวชิ า รายวชิ าเพิม่ เติม นก. ชม. ชม./สป. รหัสวิชา รายวชิ าเพิม่ เติม นก. ชม.

ง๒๐๒๐๑ หอ งสมุดและเทคโนฯ ๐.๕ ๒๐ ๑ อ๒๐๒๐๓ ภาษาองั กฤษ ๐.๕ ๒๐
เพื่อการทองเทยี่ ว ๑

ค๒๐๒๐๓ กระบวนการคดิ ๐.๕ ๒๐ ๑ ค๒๐๒๐๔ กระบวนการคดิ ๐.๕ ๒๐
ทางคณิต ๑ ทางคณติ ๒

ว๒๐๒๐๑ การทำโครงงาน ๐.๕ ๒๐ ๑ ว๒๐๒๐๒ พนั ธุกรรม ๐.๕ ๒๐ ๑
วทิ ยาศาสตร

ว๒๐๒๐๓ การจัดทำหนงั สือ ๑.๐ ๔๐ ๒ ว๒๐๒๐๔ โครงงาน ๑.๐ ๔๐ ๒
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส คอมพวิ เตอร
๒.๕ ๑๐๐ ๕ ๒.๕ ๑๐๐ ๕
รวม นก. ชม. ชม./สป. รวม นก. ชม. ชม./สป.

กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน - ๒๐ ๑ กิจกรรมพัฒนาผเู รียน
- ๒๐ ๑
กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู - ๒๐ ๑ กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู
- ๖๐ ๓
กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐ ๑
๑๓.๕ ๖๐๐ ๓๐ - ๒๐ ๑
กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี - ๒๐ ๑
รวมท้งั หมดจำนวนชัง่ โมง / ป - ๖๐ ๓
กิจกรรมเพอ่ื สงั คม/ชุมนุม กจิ กรรมเพอ่ื สงั คม/ชมุ นุม

รวม รวม

รวมจำนวน รวมจำนวน ๑๓.๕ ๖๐๐ ๓๐

/หนว ยกิจ/ชั่วโมง/ภาค /หนว ยกจิ /ชว่ั โมง/ภาค

๒๗.๐ ๑,๒๐๐

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรางหลักสตู รสถานศึกษา ระดับมัธยมศกึ ษา
ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๓

ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ ( ภาคเรียนที่ ๑ ) ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ ( ภาคเรียนท่ี ๒ )

รหสั วิชา รายวชิ าพื้นฐาน นก. ชม. ชม/สป. รหสั วชิ า รายวชิ าพื้นฐาน นก. ชม. ชม/สป.

ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ๓ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ๓

ค๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑.๕ ๖๐ ๓ ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร ๑.๕ ๖๐ ๓

ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร ๑.๕ ๖๐ ๓ ว๒๓๑๐๓ วทิ ยาศาสตร ๑.๕ ๖๐ ๓

ว๒๓๑๐๒ เทคโนโลยี ๐.๕ ๒๐ ๑ ว๒๓๑๐๔ เทคโนโลยี ๐.๕ ๒๐ ๑

ส๒๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๑.๕ ๖๐ ๓ ส๒๓๑๐๓ สังคมศกึ ษา ๑.๕ ๖๐ ๓

ส๒๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๐.๕ ๒๐ ๑ ส๒๓๑๐๔ ประวัตศิ าสตร ๐.๕ ๒๐ ๑

พ๒๓๑๐๑ สขุ ศึกษา ๑.๐ ๔๐ ๒ พ๒๓๑๐๒ สขุ ศกึ ษา ๑.๐ ๔๐ ๒
และพลศกึ ษา และพลศึกษา

ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐ ๒ ศ๒๓๑๐๒ ศลิ ปะ ๑.๐ ๔๐ ๒

ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐ ๑ ง๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๐.๕ ๒๐ ๑

อ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ ๖๐ ๓ อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ ๓

รวม ๑๑.๐ ๔๔๐ ๒๒ รวม ๑๑.๐ ๔๔๐ ๒๒

รหสั วชิ า รายวิชาเพิ่มเตมิ นก. ชม. ชม./สป. รหัสวชิ า รายวชิ าเพิม่ เตมิ นก. ชม. ชม./สป.

ส๒๐๒๐๒ กาญจนบุรี ๐.๕ ๒๐ ๑ อ๒๐๒๐๔ ภาษาอังกฤษ ๐.๕ ๒๐ ๑
เพ่ือการทองเที่ยว ๒

ส๒๐๒๐๔ กรุงรัตนโกสินทร ๐.๕ ๒๐ ๑ ส๒๐๒๐๕ โครงงานสังคมศึกษา ๐.๕ ๒๐ ๑
๐.๕ ๒๐ ๑
ค๒๐๒๐๕ คณติ คดิ สรา งสรรค ๑ ๑.๐ ๔๐ ๒ ค๒๐๒๐๖ คณติ คดิ สรางสรรค ๒ ๐.๕ ๒๐ ๑
๒.๕ ๑๐๐ ๕
ศ๒๐๒๐๑ พ้ืนฐานการรายรำ นก. ชม. ชม./สป. ง๒๐๒๐๓ งานเยบ็ ปก ถกั รอย ๑.๐ ๔๐ ๒
รวม
รวม ๒.๕ ๑๐๐ ๕
กิจกรรมพฒั นาผเู รียน
กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น นก. ชม. ชม./สป.

กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู

กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี - ๒๐ ๑ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐ ๑
- ๒๐ ๑
กิจกรรมเพือ่ สงั คม/ชมุ นมุ - ๒๐ ๑ กจิ กรรมลูกเสือ/เนตรนารี - ๒๐ ๑
รวม - ๖๐ ๓
กิจกรรมเพอ่ื สังคม/ชมุ นมุ - ๒๐ ๑
รวมจำนวน
/หนว ยกจิ /ชว่ั โมง/ภาค รวม - ๖๐ ๓

๑๓.๕ ๖๐๐ ๓๐ รวมจำนวน ๑๓.๕ ๖๐๐ ๓๐
/หนวยกิจ/ชว่ั โมง/ภาค

รวมทั้งหมดจำนวนชัง่ โมง / ป ๒๗.๐ ๑,๒๐๐

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

รายวิชาเพิ่มเติมในระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษา
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลหว ยกระเจา พทุ ธศักราช ๒๕๖๓

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ท๒๐๒๐๑ การเขยี นการสรา งสรรค ๑ เวลาเรียน ๒๐ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น

ท๒๐๒๐๒ การเขยี นการสรางสรรค ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรยี น

ท๒๐๒๐๓ การเลา นิทาน ๑ เวลาเรียน ๒๐ ช่วั โมง/ภาคเรียน

ท๒๐๒๐๔ การเลานทิ าน ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชัว่ โมง/ภาคเรยี น

ค๒๐๒๐๑ คณิตในชีวติ ประจำวัน ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน

ค๒๐๒๐๒ คณติ ในชีวติ ประจำวนั ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง/ภาคเรยี น

ค๒๐๒๐๓ กระบวนการคดิ ทางคณิต ๑ เวลาเรียน ๒๐ ช่วั โมง/ภาคเรยี น

ค๒๐๒๐๔ กระบวนการคดิ ทางคณติ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน

ค๒๐๒๐๕ คณิตคิดสรางสรรค ๑ เวลาเรียน ๒๐ ช่วั โมง/ภาคเรียน

ค๒๐๒๐๖ คณติ คดิ สรา งสรรค ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น

ว๒๐๒๐๑ การทำโครงงานวทิ ยาศาสตร เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น

ว๒๐๒๐๒ พนั ธุกรรม เวลาเรยี น ๒๐ ชว่ั โมง/ภาคเรยี น

ว๒๐๒๐๓ การจดั ทำหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง/ภาคเรียน

ว๒๐๒๐๔ โครงงานคอมพิวเตอร เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ภาคเรยี น

ว๒๐๒๐๕ การใชโ ปรแกรม Microsoft Powerpoint เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น

ส๒๐๒๐๑ ประวัติศาสตรการตัง้ ถิน่ ฐานไทย เวลาเรียน ๒๐ ช่วั โมง/ภาคเรียน

ส๒๐๒๐๒ กาญจนบุรี เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน

ส๒๐๒๐๓ วถิ สี หกรณพ อเพียง เวลาเรยี น ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน

ส๒๐๒๐๔ กรงุ รตั นโกสนิ ทร เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น

ส๒๐๒๐๕ โครงงานสงั คมศกึ ษา เวลาเรยี น ๒๐ ชว่ั โมง/ภาคเรยี น

ศ๒๐๒๐๑ พนื้ ฐานการรายรำ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ภาคเรยี น

ง๒๐๒๐๑ หองสมุดและเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาคนควา เวลาเรยี น ๒๐ ชัว่ โมง/ภาคเรยี น

ง๒๐๒๐๒ งานประดิษฐจากเศษวสั ดุเหลอื ใช เวลาเรยี น ๔๐ ช่วั โมง/ภาคเรียน

ง๒๐๒๐๓ งานเยบ็ ปก ถักรอย เวลาเรยี น ๔๐ ชวั่ โมง/ภาคเรยี น

อ๒๐๒๐๑ การฟง พูด ภาษาอังกฤษ ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง/ภาคเรียน

อ๒๐๒๐๒ การฟง พูด ภาษาอังกฤษ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง/ภาคเรยี น

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

อ๒๐๒๐๓ ภาษาองั กฤษเพ่ือการทอ งเทย่ี ว ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
อ๒๐๒๐๔ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การทอ งเท่ยี ว ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชว่ั โมง/ภาคเรยี น

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

โครงสรา งรายวชิ า
รายวิชาตามโครงสรา งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนอนบุ าลหวยกระเจา พทุ ธศักราช ๒๕๖๓

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี

ระดบั ประถมศกึ ษา

รายวชิ าวิทยาศาสตรและเทคโนโลยพี ื้นฐาน

ระดบั ชน้ั รหสั ชอื่ รายวชิ า เวลาเรยี นรายป

ชนั้ ป. ๑ ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๒ ชั่วโมง/สปั ดาห (๘๐ชวั่ โมง/ป)

ชน้ั ป. ๒ ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร ๒ ช่ัวโมง/สปั ดาห (๘๐ชวั่ โมง/ป)

ช้นั ป. ๓ ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห (๘๐ชวั่ โมง/ป)

ชนั้ ป. ๔ ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร ๓ ช่ัวโมง/สปั ดาห (๑๒๐ชวั่ โมง/ป)

ชั้น ป. ๕ ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร ๓ ชัว่ โมง/สปั ดาห (๑๒๐ชวั่ โมง/ป)

ชน้ั ป. ๖ ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร ๓ ชั่วโมง/สัปดาห (๑๒๐ชว่ั โมง/ป)

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

รายวชิ าวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยพี ้ืนฐาน

ระดบั ช้นั รหสั ช่อื รายวชิ า เวลาเรียนรายภาค
ช้นั ม. ๑
ชน้ั ม. ๒ ว๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห (๑.๕ หนว ยกติ )
ชั้น ม. ๓ ว๒๑๑๐๒ เทคโนโลยี ๑ ชว่ั โมง/สปั ดาห (๐.๕ หนวยกิต)
ว๒๑๑๐๓ วิทยาศาสตร ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห (๑.๕ หนวยกติ )
ว๒๑๑๐๔ เทคโนโลยี ๑ ช่วั โมง/สัปดาห (๐.๕ หนว ยกติ )
ว๒๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห (๑.๕ หนวยกติ )
ว๒๒๑๐๒ เทคโนโลยี ๑ ชว่ั โมง/สปั ดาห (๐.๕ หนวยกติ )
ว๒๒๑๐๓ วทิ ยาศาสตร ๓ ช่วั โมง/สัปดาห (๑.๕ หนวยกิต)
ว๒๒๑๐๔ เทคโนโลยี ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห (๐.๕ หนว ยกติ )
ว๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๓ ช่ัวโมง/สปั ดาห (๑.๕ หนวยกิต)
ว๒๓๑๐๒ เทคโนโลยี ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห (๐.๕ หนว ยกิต)
ว๒๓๑๐๓ วทิ ยาศาสตร ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห (๑.๕ หนวยกติ )
ว๒๓๑๐๔ เทคโนโลยี ๑ ชั่วโมง/สัปดาห (๐.๕ หนวยกิต)

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

คำอธิบายรายวิชา
กลุมสาระการเรยี นรู
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๑ - ๖

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ระดบั ประถมศกึ ษา

รายวชิ าวิทยาศาสตรและเทคโนโลยพี นื้ ฐาน

คำอธบิ ายรายวิชา

กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑
เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
รหัสวชิ า ว๑๑๑๐๑ เวลาเรียน ๒ ชว่ั โมง/สปั ดาห

ศึกษา คน ควา ทดลอง ระบุชือ่ พชื และสตั วทอ่ี าศยั อยูบ ริเวณทอ งถิน่ รวบรวมขอมูลเกี่ยวกบั ความ
แตกตางของแหลงท่ีอยูอาศัยของพืชและสัตวที่พบเห็นในบริเวณโรงเรียนหรือชุมชนบอกสภาพแวดลอมที่
เหมาะสมกับการดำรงชีวิต ของสัตวในบริเวณที่อาศัยอยูลักษณะหนาท่ีของอวัยวะภายนอกของมนุษย
ตลอดจนการปองกันดูแลรักษาอวัยวะตางๆของสัตวท่ีมีลักษณะและหนาที่แตกตางกัน สวนประกอบของพืช
และหนาท่ี อธิบายลักษณะท่ีปรากฏหรือสมบัติของวัสดุท่ีสังเกตได การจําแนกวัสดุท่ีใชท ําของเลนของใช
ตามลักษณะที่ปรากฏหรือสมบัติ บรรยายการเกิดเสียง ชนิดของแหลงกำเนิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนท่ี
ของเสียงดาวท่ีปรากฏใหเห็นในทองฟาเวลากลางวันและกลางคืนลักษณะภายนอกของหินจากลักษณะ
เฉพาะตวั ทีส่ งั เกตได

โดยใชก ระบวนการแกปญหาอยางงาย ไดแก การลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ แสดงลำดับ
ขัน้ ตอนการทำงานหรือการแกปญหาอยางงายโดยใชภาพ สัญลักษณหรือขอความ เขียนโปรแกรมอยางงาย
โดยใชซอฟตแวรหรือสื่อ ใชเทคโนโลยีในการสราง จัดเก็บ เรียกใชขอมูลตามวัตถุประสงค และใช
เทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชคอมพิวเตอร รวมกันดูแลรักษาอุปกรณ
เบื้องตน ใชงานอยางเหมาะสม

เพ่ือใหเ กิดความรูค วามคิดความเขา ใจหลักการ ทฤษฎี และกฎท่ีเปนพ้ืนฐานในวิชาวิทยาศาสตรมี
ทักษะท่ีสำคัญในการศึกษาคนควาและคิดคนทางเทคโนโลยีนำความรูความเขาใจไปใชใหเกิดประโยชนตอ
สังคมและการดำรงชีวิตพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกปญหาและการ
จดั การ ทักษะในการส่ือสาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจมีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และ
คานิยมในการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางสรางสรรควัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ดวย
วิธีการท่ีหลากหลายและตอเนื่อง ไดแก การทดสอบ การสัมภาษณ การตรวจช้ินงาน สังเกตพฤติกรม
และคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค พรอมทั้งเจตคติในการทำงาน
ตวั ชี้วัด

ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
รวม ๑๕ ตวั ช้ีวดั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

รายวชิ าวิทยาศาสตรและเทคโนโลยพี ื้นฐาน

คำอธิบายรายวชิ า

กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๒

รหัสวิชา ว๑๒๑๐๑ เวลาเรียน ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห เวลา ๘๐ ช่วั โมง

ระบุวาพืชตองการแสงและน้ำเพ่ือการเจริญเติบโตโดยใชขอมูลจากหลักฐานเชิงประจักษตระหนัก
ถึงความจำเปนที่พืชตองการไดรับน้ำและแสงเพ่ือการเจริญเติบโตโดยดูแลพืชใหไดรับสิ่งดังกลาวอยาง
เหมาะสม สรา งแบบจำลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก เปรยี บเทียบลักษณะส่ิงมีชีวิตและสิง่ ไมมีชีวิต
จากขอมูลท่ีรวบรวมได เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุไปประยุกตใชในการทำวัสดุใน
ชีวิตประจำวัน อธิบายสมบัติท่ีนำวสั ดุมาผสมกันโดยใชห ลักฐานเชิงประจักษการนำมาทำเปนวัสดใุ นการใช
งานการนำกลับมาใชใหมตระหนักถึงประโยชนของการนำวัสดุท่ีใชแลวกลับมาใชใหม บรรยายแนวทางการ
เคลื่อนท่ีของแสงจากแหลงกำเนิดแสงและอธิบายการมองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ ตระหนักใน
การเห็นคุณคาของความรูของการมองเห็นโดยเสนอแนะแนวทางการปองกันอันตรายจากการมองเห็นวัตถุ
ในท่ีมีแสงสวางไมเหมาะสม ระบุสวนประกอบของดินและจำแนกชนิดของดินโดยใชลักษณะเนื้อดินและ
การจบั ตวั เปนเกณฑ อธิบายการใชป ระโยชนจ ากดนิ จากขอ มูลทร่ี วบรวมได

โดยใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตร สืบเสาะ หาความรู สำรวจ ตรวจสอบ สืบคนขอมูลและ
อภิปรายเพ่ือใหเ กิดความรู ความคดิ ความเขา ใจ สามารถสื่อสารสงิ่ ที่เรยี นรูมีความสามารถในการตัดสนิ ใจ
นำความรไู ปใชในชวี ติ ประจำวัน มจี ติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานยิ มทเ่ี หมาะสม

เพอ่ื ใหรกั การเรียนรวู ิทยาศาสตร มที ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เกิดความรู ความคิด ความ
เขาใจ มีจิตวิทยาศาสตร สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู สามารถตัดสินใจ มีทักษะในการดำรงชีวิต และนำ
ความรูวิทยาศาสตรเปนเครื่องมือในการเรียนรูวิชาอื่นและนำไปใชในชีวิตประจำวันไดอยางถูกตองและ
เหมาะสม

ตัวชว้ี ัด
ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔

รวม ๑๖ ตัวชี้วัด

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

รายวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยพี ื้นฐาน

คำอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓

รหสั วิชา ว๑๓๑๐๑ เวลาเรยี น ๒ ช่วั โมง/สัปดาห เวลา ๘๐ ชั่วโมง

บรรยายส่ิงที่จำเปน ตอการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตโดยใชขอมูลจากท่ีรวบรวมได ตระหนักถึง

ประโยชนของอาหาร น้ำและอากาศโดยการดูแลตนเองและสัตวใหไดรับส่ิงเหลาน้ีอยางเหมาะสม สราง

แบบจำลองที่บรรยายวัฏจกั รชีวิตของสัตวและเปรียบเทียบวัฏจกั รชวี ิตของสัตวบางชนดิ คุณคาของชีวิตสัตว

โดยไมทำใหวัฏจักรชีวิตของสัตวเปล่ียนแปลง อธิบายวาวัตถุประกอบกันเปนวัตถุชิ้นใหมไดโดยใชหลักฐาน

เชงิ ประจักษ อธบิ ายการเปลย่ี นแปลงของวัสดุเมอ่ื ทำใหร อนข้ึนหรือทำใหเ ย็นลงโดยใชหลักฐานเชิงประจกั ษ

ระบุผลของแรงเปลี่ยนแปลงการเคลอื่ นท่ีของวตั ถุจากหลักฐานเชงิ ประจักษ เปรียบเทียบและยกตวั อยางแรง

สัมผัสและแรงสัมผัสที่มีผลตอการเคล่ือนที่การจำแนกวัตถุโดยใชการดึงดูดกับแมเหล็กเปนเกณฑระบุ

ข้ัวแมเหล็กและพยากรณผลท่ีเกิดข้ึนระหวางข้ัวแมเหล็กเมื่อนำมาเขาใกลกันจากหลักฐานเชิงประจักษ

ยกตัวอยา งการเปล่ียนพลังงานหนึ่งไปเปน อีกพลังงานหน่ึง การทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟาและระบแุ หลง

พลังงานในการผลิตไฟฟาประโยชนข องไฟฟาโดยการนำเสนอวิธกี ารใชอยา งประหยดั และปลอดภัย อธิบาย

แบบรูปเสนทางการขึน้ ละตกของดวงอาทิตยก ารเกิดกลางวนั กลางคืนและการกำหนดทิศโดยใชแบบจำลอง

ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของดวงอาทิตยป ระโยชนข องดวงอาทติ ยตอส่งิ มีชีวิต

โดยมุงหวังใหผูเรียนไดเรียนรูวิทยาศาสตรท่ีสามารถนำไปใชอธิบาย แกไ ขปญหา หรือสรางสรรค

พัฒนางานในชีวิตจริงได ซึ่งเนนการเช่ือมโยงความรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี กับ

กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร และใหมีทักษะสำคัญในการคนควาและสรางองคความรูโดยใช

กระบวนการสืบเสาะหาความรแู ละการแกป ญ หาท่ีหลากหลาย

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ มีทักษะการคิด และมีสวนรวมในการเรียนรูทุกขั้นตอน

รวมท้งั สงเสริมใหผเู รยี นเกิดจิตวทิ ยาศาสตรและมีเจตคติท่ีดตี อ การเรยี นวิทยาศาสตร

ตัวชว้ี ัด
ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕

รวม ๒๕ ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

รายวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยพี ืน้ ฐาน

คำอธิบายรายวิชา

กลุม สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๔

รหัสวชิ า ว๑๔๑๐๑ เวลาเรียน ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง

บรรยายหนาท่ีของราก ลำตน ใบและดอกของพืชดอกโดยใชขอมูลท่ีรวบรวมได จำแนกสิ่งมีชีวิต
โดย ใชความเหมือนและความแตกตางของลักษณะของสิ่งมีชีวิต ออกเปนกลุมพืช กลุมสัตวและกลุมที่ไมใช
พืชและสัตว จำแนกพืชออกเปนพืชดอกและพืชไมมีดอกโดยใชการมีดอกเปนเกณฑ โดยใชขอมูลที่รวบรวม
ได จำแนกสัตวออกเปนสัตวมีกระดูกสันหลังและสัตวไมมีกระดูกสันหลัง โดยใชการมีกระดูกสันหลังเปน
เกณฑ โดยใชขอมูลที่รวบรวมได บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตไดของสัตวมีกระดูกสันหลังในกลุมปลา
กลุมสัตวสะเทินน้ำสะเทินบก กลุมสัตวเลื้อยคลาน กลุมนก และกลุมสัตวเลียงลูกดวยนม และตัวอยาง
สงิ่ มชี ีวิตในแตละกลมุ เปรียบเทียบสมบตั ิ ทางกายภาพ ดานความแขง็ สภาพยดื หยนุ การนำความรอ นและ
การนำไฟฟาของวัสดุโดยใชหลักฐานเชิงประจักษจากการทดลองและระบุการนำสมบัติเร่อื งความแข็งสภาพ
ยดื หยุนการนำความรอนและการนำไฟฟา ของวัสดุไปใช ในชีวิตประจำวนั ผา นกระบวนการออกแบบช้ินงาน
แลกเปลี่ยนความคิดกับผูอื่นโดยการอภิปรายเก่ียวกับสมบัติ ทางกายภาพของวัสดุอยางมีเหตุผลจากการ
ทดลอง เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง ๓ สถานะ จากขอมูลที่ไดจากการสังเกตมวล การตองการท่ีอยู
รปู รางและปริมาตรของสสาร ใชเครื่องมือเพ่ือวัดมวล และปริมาตรของสสารทั้ง ๓ สถานะ ระบุผลของแรง
โนมถวงที่มีตอวตั ถจุ ากหลักฐานเชิงประจักษ ใชเครอื่ งช่ังสปริงในการวัดนำ้ หนักของวัตถุ บรรยายมวลของ
วัตถุท่ีมีผลตอการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ จำแนกวัตถุเปนตัวกลาง
โปรงใส ตัวกลางโปรงแสงและวัตถุทึบแสงโดยใชลักษณะการมองเห็นสิ่งตางๆผานวัตถุน้ันเปนเกณฑจาก
หลักฐานเชิงประจักษ อธิบายแบบรูปเสนทางการข้ึนและตกของดวงจันทร โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ
สรางแบบจำลองทีอ่ ธิบายแบบรูปการเปล่ียนแปลงรูปรางปรากฏของดวงจันทรและพยากรณรูปรางของดวง
จันทร สรางแบบจำลองแสดงองคประกอบของระบบสุริยะและอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาว
เคราะหต า งๆจากแบบจำลอง

ศึกษาการใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหาการอธิบายการทำงานการคาดการณผลลัพธจาก
ปญหาอยางงายออกแบบและเขียนโปรแกรมอยางงายโดยใชซอฟตแวรหรือส่ือและตรวจหาขอผิดพลาด
ปรับปรุงแกไขสามารถใชอินเทอรเน็ตคนหาความรูและประเมินความนาเชื่อถือของขอมูลรวบรวมประเมิน
นำเสนอขอมูลและสารสนเทศโดยใชซอฟตแ วรที่หลากหลายเพอื่ แกป ญหาในชีวิตประจำวันและใชเทคโนโลยี
สารสนเทศอยางปลอดภัยเขาใจสิทธิและหนาที่ของตนเคารพในสิทธิของผูอื่นแจงผูเก่ียวของเมื่อพบขอมูล
หรอื บุคคลที่ไมเหมาะสม

เพื่อใหเกิดความรูความคิดความเขาใจหลักการ ทฤษฎี และกฎที่เปนพื้นฐานในวิชาวิทยาศาสตรมี
ทักษะ ที่สำคัญในการศึกษาคนควาและคิดคนทางเทคโนโลยีนำความรูความเขาใจไปใชใหเกิดประโยชนตอ
สังคมและการดำรงชีวิตพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกปญหาและการ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

จดั การ ทักษะในการส่ือสาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจมีจิตวทิ ยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และ
คานิยมในการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางสรางสรรควัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ดวย
วธิ ีการที่หลากหลายและตอเน่ือง ไดแก การทดสอบ การสัมภาษณ การตรวจช้ินงาน สังเกตพฤติกรมและ
คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค พรอ มทง้ั เจตคติใน การทำงาน
ตัวชวี้ ัด

ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวม ๒๑ ตัวชว้ี ัด

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

รายวชิ าวิทยาศาสตรและเทคโนโลยพี ื้นฐาน

คำอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๕

รหสั วิชา ว๑๕๑๐๑ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง

บรรยายโครงสรางและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตซึ่งเปนผลมาจากการ
ปรับตัวของสิ่งมีชีวติ ในแตละแหลง ที่อยู อธิบายความสมั พันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวติ และความสัมพันธ
ระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไมมีชีวิตเพ่ือประโยชนตอการดำรงชีวิต เขียนโซอาหารและระบุบทบาทหนาท่ีของ
สิ่งมีชีวิตท่ีเปนผูผลิตและผูบริโภคในโซอาหาร ตระหนักในคุณคาของส่ิงแวดลอมท่ีมีตอการดำรงชีวิตของ
สิ่งมีชีวิตโดยมีสวนรวมในการดูแลรักษาส่ิงแวดลอม อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการถายทอดจากพอ
แมสูลูกของ พืช สัตว และมนุษย แสดงความอยากรูอยากเห็นโดยการถามคำถามเกี่ยวกับลักษณะท่ี
คลา ยคลงึ กนั ของตนเองกบั พอแม อธิบายการเปลยี่ นสถานะของสสารเมอื่ ทำใหสสารรอนขึน้ หรอื เย็นลง โดย
ใชหลักฐานเชิงประจักษ อธิบายการละลายของสารในน้ำ โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ วิเคราะหการ
เปล่ียนแปลงของสารเม่ือเกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมี โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ วิเคราะหและระบุการ
เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดและการเปลี่ยนแปลงท่ีผันกลับไมได อธิบายวิธีการหาแรงลัพธของแรงหลายแรง
ในแนวเดียวกันที่กระทำตอวัตถุในกรณีที่วัตถุอยูน่ิงจากหลักฐานเชิงประจักษ เขียนแผนภาพแสดงแรงที่
กระทำตอวัตถุที่อยูในแนวเดียวกันและแรงลัพธท่ีกระทำตอวัตถุ ใชเครื่องชงั่ สปริงในการวัดแรงท่ีกระทำตอ
วัตถุ ระบุผลของ แรงเสียดทานท่ีมีตอการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ
เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงท่ีอยูในแนวเดียวกันท่ีกระทำตอวัตถุ อธิบายการไดยินเสียงผาน
ตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจักษ ระบุตัวแปรทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ
ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียงคอย วัดระดับเสียงโดยใชเครื่องมือวัด
ระดับเสยี ง ตระหนักในคุณคา ของความรูเรื่องระดับเสียงโดยเสนอ แนะแนวทางในการหลีกเล่ียงและ
ลดมลพิษทางเสียง เปรียบเทียบความแตกตางของดาวเคราะหและดาวฤกษจากแบบจำลอง ใชแผนที่ดาว
ระบตุ ำแหนงและเสนทางการขึน้ และตกของกลมุ ดาวฤกษบนทองฟาและอธิบายแบบรูปเสนทางการขนึ้ และ
ตกของกลุมดาวฤกษบนทองฟาในรอบป เปรียบเทียบปริมาณน้ำในแตละแหลงและระบุปริมาณน้ำที่มนุษย
สามารถนำมาใชป ระโยชนไ ดจากขอมูลท่รี วบรวมได ตระหนกั ถึงคณุ คาของนำ้ โดยนำเสนอแนวทางการใชน้ำ
อยางประหยัดและการอนุรกั ษนำ้ สรางแบบจำลองทีอ่ ธิบายการหมุนเวียนของน้ำในวฏั จักรนำ้ เปรียบเทียบ
กระบวนการเกดิ เมฆ หมอก น้ำคา ง และน้ำคางแขง็ จากแบบจำลอง เปรยี บเทียบกระบวนการเกิด ฝน หิมะ
และลูกเห็บ จากขอมูลที่รวบรวมได บุคคลและชุมชนสามารถเตรียมความพรอมสำหรับภัยพิบัติทาง
ธรรมชาตทิ อี่ าจเกิดขึ้นได

ศึกษาการใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหาการอธิบายการทำงานการคาดการณผลลัพธจาก
ปญหาอยางงายออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใชเหตุผลเชิงตรรกะอยางงายตรวจหาขอผิดพลาดและ
แกไขใชอนิ เทอรเน็ตคนหาขอมูลติดตอส่ือสารและทำงานรวมกันประเมินความนาเชื่อถือของขอมูลรวบรวม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ประเมินนำเสนอขอมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงคโดยใชซอฟตแวรหรือบริการบนอินเทอรเน็ตท่ี
หลากหลายเพ่ือแกปญหาในชีวิตประจำวันสามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยมีมารยาทเขาใจ
สทิ ธแิ ละหนา ทีข่ องตนเคารพในสิทธิของผอู ืน่ แจง ผูเกีย่ วขอ งเมื่อพบขอ มลู หรือบุคคลทไ่ี มเ หมาะสม

เพ่ือใหเกิดความรูความคิดความเขาใจหลักการ ทฤษฎี และกฎท่ีเปนพ้ืนฐานในวิชาวิทยาศาสตรมี
ทักษะ ท่ีสำคัญในการศึกษาคนควาและคิดคนทางเทคโนโลยีนำความรูความเขาใจไปใชใหเกิดประโยชนตอ
สังคมและ การดำรงชีวิตพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกปญหาและการ
จดั การ ทกั ษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจมีจิตวทิ ยาศาสตร มีคณุ ธรรม จริยธรรม และ
คานิยมในการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางสรางสรรควัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ดวย
วิธกี ารท่ีหลากหลายและตอเนอ่ื ง ไดแก การทดสอบ การสัมภาษณ การตรวจช้ินงาน สงั เกตพฤติกรมและ
คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค พรอ มท้ังเจตคตใิ นการทำงาน

ตวั ชวี้ ดั
ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕

รวม ๓๒ ตัวช้ีวดั

ผลการเรยี นรูอาเซยี น
บุคคลและชุมชนสามารถเตรยี มความพรอ มสำหรบั ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติท่ีอาจเกิดข้ึนได

รวม ๑ ผลการเรียนรู

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

รายวิชาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยพี ้นื ฐาน

คำอธิบายรายวชิ า

กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖

รหัสวชิ า ว๑๖๑๐๑ เวลาเรยี น ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห เวลา ๑๒๐ ช่วั โมง

ระบุสารอาหารและบอกประโยชนของสารอาหารแตละประเภทจากอาหารที่ตนเองรับประทาน
บอกแนวทางในการเลือกรับประทานอาหารใหไดสารอาหารครบถวนในสัดสวนท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย
รวมทงั้ ความปลอดภัยตอสุขภาพ ตระหนักถึงความสำคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารที่
มีสารอาหารครบถวนในสัดสวนที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวมท้ังความปลอดภัยตอสุขภาพ สราง
แบบจำลองระบบยอยอาหารและบรรยายหนาท่ีของอวัยวะในระบบยอยอาหาร รวมท้ังอธิบายการยอย
อาหารและการดูดซึมสารอาหาร ตระหนักถงึ ความสำคัญของระบบยอยอาหาร โดยการบอก แนวทางในการ
ดูแลรักษาอวัยวะในระบบยอยอาหารใหทำงานเปนปกติ อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสมโดยการ
หยิบออก การรอน การใชแมเหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และ การตกตะกอน โดยใชหลักฐานเชิง
ประจักษ รวมทั้งระบุวิธีแกปญหาในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับการแยกสาร อธิบายการเกิดและผลของแรง
ไฟฟาซึ่งเกิดจากวตั ถุทีผ่ านการขดั ถูโดยใชหลกั ฐานเชงิ ประจักษ ระบุสว นประกอบและบรรยายหนาทข่ี องแต
ละสวนประกอบของวงจรไฟฟาอยางงายจากหลักฐานเชิงประจักษ เขียนแผนภาพและตอวงจรไฟฟาอยาง
งา ย ออกแบบการทดลองดวยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายวิธีการและผลของการตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรม
ตระหนักถึงประโยชนข องความรูของการตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรมโดยบอกประโยชนแ ละการประยกุ ตใชใ น
ชีวิตประจำวัน ออกแบบการทดลองและทดลองดวยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายการตอหลอดไฟฟาแบบ
อนุกรมและแบบขนาน ตระหนักถึงประโยชนของความรูของการตอไฟฟาแบบอนุกรม แบบขนาน อธิบาย
การเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิงประจักษ เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว สราง
แบบจำลองที่อธิบายการเกิดและเปรียบเทียบปรากฏการณสุริยุปราคาและจันทรุปราคา อธิบายพัฒนาการ
ของเทคโนโลยีอวกาศ และการใชประโยชนในชีวิตประจำวันจากขอมูลท่ีรวบรวมได เปรียบเทียบ
กระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร สรางแบบจำลองท่ีอธิบายการเกิดซากดึกดำบรรพและ
คาดคะเนสภาพแวดลอมในอดีตของซากดึกดำบรรพ ลักษณะตาง ๆ ทางภูมิศาสตรมีสวนเช่ือมโยงและ
แบงแยกชุมชนตางๆ ออกจากโลก การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุมรวมทั้งอธิบายผลท่ีมีตอส่ิงมีชีวิตและ
ส่ิงแวดลอมจากแบบจำลอง อธิบายผลของมรสุมตอการเกิดฤดูของประเทศไทย จากขอมูลท่ีรวบรวม
บรรยายลักษณะและผลกระทบของน้ำทวม การกัดเซาะชายฝงดินถลม แผนดินไหว ตระหนักถึง
ผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบตั ิภยั โดยนำเสนอแนวทางในการเฝาระวงั และปฏิบัติตนใหปลอดภัย
จากภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย ท่ีอาจเกิดในทองถ่ิน บุคคลและชุมชนสามารถเตรยี มความพรอมสำหรับ
ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นได การกระทำของเราในแตละวันสามารถสรางความย่ังยืนในอนาคตได
การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติรูจักภัยและการเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัติ กอน ระหวาง และหลังภัยพิบัติ
อธิบายการเกิดปรากฏการณเรือนกระจกและผลของปรากฏการณเรือนกระจกตอสิ่งมีชีวิต ตระหนักถึง

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ผลกระทบองปรากฏการณเรือนกระจกโดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลดกิจกรรมที่กอใหเกิดแกส
เรอื นกระจก

ศึกษาการใชเหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแกปญหาที่พบในชีวิตประจำวัน
การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโดยเขียนเปนขอความหรือผังงานการออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมี
การใชตัวแปรการวนซ้ำการตรวจสอบเงื่อนไขหากมีขอผดิ พลาดใหตรวจสอบการทำงานทีละคำสัง่ เมอ่ื พบจุด
ท่ีทำใหผลลัพธไมถูกตองใหทำการแกไขจนกวาจะไดผลลัพธท่ีถูกตองการฝกตรวจหาขอผิดพลาดจาก
โปรแกรมของผูอ่ืนจะชวยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปญหาไดดีย่ิงขึ้นเพื่อแกปญหาในชีวิตประจำวัน
ตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรมและแกไขใชอินเทอรเน็ตในการคนหาขอมูลอยางมีประสิทธิภาพเปนการ
คนหาขอมูลท่ีไดตรงตามความตองการในเวลาท่ีรวดเรว็ จากแหลงขอมูลที่นาเช่ือถือหลายแหลงและขอมูลมี
ความสอดคลองกันการใชเทคนิคการคนหาขน้ั สูงใชเทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรวมกันอยางปลอดภัยเขาใจ
สทิ ธิและหนาท่ขี องตนเคารพในสิทธขิ องผอู ื่นแจง ผเู กย่ี วของเมื่อพบขอ มลู หรือบคุ คลทไี่ มเหมาะสม

เพื่อใหเกิดความรูความคิดความเขาใจหลักการ ทฤษฎี และกฎท่ีเปนพ้ืนฐานในวิชาวิทยาศาสตรมี
ทักษะท่ีสำคัญในการศึกษาคนควาและคิดคนทางเทคโนโลยีนำความรูความเขาใจไปใชใหเกิดประโยชนตอ
สังคมและการดำรงชีวิตพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกปญหาและการ
จัดการ ทักษะในการส่ือสาร และความสามารถในการตัดสินใจมีจิตวทิ ยาศาสตร มีคณุ ธรรม จริยธรรม และ
คานิยมในการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางสรางสรรควัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ดวย
วิธีการท่ีหลากหลายและตอเนื่อง ไดแก การทดสอบ การสัมภาษณ การตรวจชิ้นงาน สังเกตพฤติกรม
และคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค พรอ มทั้งเจตคติในการทำงาน

ตัวชี้วัด
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวม ๓๐ ตวั ชี้วัด

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

คำอธบิ ายรายวชิ า
กลุมสาระการเรียนรู
วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี ๑ - ๓

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ระดบั มธั ยมศกึ ษา
รายวิชาวทิ ยาศาสตรพ ้นื ฐาน
คำอธิบายรายวิชา
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร รหัสวชิ า ว๒๑๑๐๑
ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน ๑.๕ หนว ยกติ
เวลาเรียน ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
การศึกษาวิเคราะหการเรียนรูวิทยาศาสตร สมบัติของสารบริสุทธ์ิ การจำแนกและองคประกอบ
ของสารบริสุทธ์ิ เซลล โดยใชกลองจุลทรรศน การลำเลียงสารเขาออกจากเซลล การสืบพันธุและ
ขยายพนั ธพุ ืชดอก การสงั เคราะหด ว ยแสง การลำเลียงนำ้ ธาตอุ าการ และอาหารของพืช
โดยใชการสืบเสาะหาความรู การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และทักษะ
การเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 การสืบคนขอมูลและการอภิปราย และวเิ คราะหสาเหตุหรือปจจัยที่สงผลตอ
ปญหาหรือความตองการ รวบรวม วิเคราะหขอมูลและแนวคิดที่เก่ียวของกับปญหา ออกแบบวิธีการ
แกปญหา โดยวิเคราะห เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลอื กขอมูลที่จำเปน นำเสนอแนวทางการแกปญหาให
ผูอ่ืนเขาใจ วางแผนและดำเนินการแกปญหา ทดสอบ ประเมินผล และระบุขอบกพรอง ท่ีเกิดข้ึน พรอม
ทั้งหาแนวทางการปรบั ปรงุ แกไข
เพือ่ แกปญ หา และใชเทคโนโลยีไดอ ยา งถูกตอ ง เหมาะสม และปลอดภัยเพ่ือใหเ กิดความรู ความคิด
ความเขาใจ สามารถส่อื สารสิง่ ท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ การแกปญหา การนำความรไู ปใช
ในชีวิตประจำวนั มจี ิตวิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานิยมท่เี หมาะสม

ตัวช้ีวัด
ว๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙, ม.๑/๑๐,
ม.๑/๑๑, ม.๑/๑๒, ม.๑/๑๓, ม.๑/๑๔, ม.๑/๑๕, ม.๑/๑๖, ม.๑/๑๗, ม.๑/๑๘
ว๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘

รวม ๒๖ ตัวช้ีวดั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

รายวิชาวิทยาศาสตรพืน้ ฐาน
คำอธิบายรายวิชา
กลุม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร รหสั วชิ า ว๒๑๑๐๓
ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ จำนวน ๑.๕ หนวยกติ
เวลาเรยี น ๓ ชั่วโมง/สัปดาห เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษาวิเคราะหความรอนกับการเปล่ยี นแปลงของสสาร การถายโอนความรอน ลมฟา อากาศรอบตัว
มนุษยกับการเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศ ทั้งนี้โดยใช โดยใชการสืบเสาะหาความรู การสำรวจตรวจสอบ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 การสืบคนขอมูลและการ
อภิปราย และวิเคราะหสาเหตุหรือปจจัยที่สงผลตอ ปญหาหรือความตองการ รวบรวม วิเคราะหขอมูลและ
แนวคิดทเี่ ก่ยี วขอ ง กับปญหา ออกแบบวิธีการแกปญหา

โดยวิเคราะห เปรยี บเทียบ และตัดสนิ ใจเลือกขอมลู ท่ีจำเปน นำเสนอแนวทางการแกป ญหาใหผูอื่น
เขาใจ วางแผนและดำเนินการแกปญหา ทดสอบ ประเมินผล และระบุขอบกพรอง ท่ีเกิดข้ึน พรอมท้ังหา
แนวทางการปรับปรงุ แกไ ข เพือ่ แกปญหา และใชเทคโนโลยไี ดอยางถกู ตอง เหมาะสม และปลอดภยั

เพื่อใหเ กดิ ความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ
การแกปญหา การนำความรูไปใชในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ี
เหมาะสม

ตัวช้วี ดั
ว๒.๑ ม.๑/๙, ม.๑/๑๐
ว๒.๒ ม.๑/๑
ว๒.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗
ว๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗

รวม ๑๗ ตัวชี้วดั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

รายวชิ าวิทยาศาสตรพ ้ืนฐาน
คำอธิบายรายวิชา
กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร รหสั วชิ า ว๒๒๑๐๑
ช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ จำนวน ๑.๕ หนว ยกติ
เวลาเรยี น ๓ ชั่วโมง/สัปดาห เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
ศกึ ษาวเิ คราะห การแยกสารผสมโดยการระเหยแหง การตกผลึก การกลัน่ อยา งงาย โครมาโทรก
ราฟแ บบกระดาษ การสกัดดวยตัวทำละลาย ตระหนักถึงความสำคญั ของการนำความรเู รอ่ื งความเขมขน
ของสารไปใช โดยยกตัวอยา งการใชสารละลายในชวี ติ ประจำวนั อยางถูกตองและปลอดภยั การเคลื่อนท่ี
ของวตั ถุที่เปน ผลของแรงลัพธท ่ีเกดิ จากแรงหลายแรงทีก่ ระทำตอ วัตถุในแนวเดยี วกัน วิเคราะหแ รงพยุง
และการจม การลอยของวัตถุในของเหลว แรงเสียดทานสถิตและแรงเสยี ดทานจลน โมเมนตข องแรง
สนามแมเหลก็ สนามไฟฟา และสนามโนม ถวงและทศิ ทางของแรงที่กระทำตอวัตถุ คำนวณอัตราเร็วและ
ความเรว็ ของการเคล่ือนท่ีของวตั ถโุ ดยใช สมการ v= s/t
โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร วัสดุ อุปกรณ เครื่องมอื กลไก ไฟฟา และอิเลก็ ทรอนิกสเพื่อ
แกปญหาหรือพัฒนางานไดอยา งถูกตองเหมาะสม และปลอดภัย
เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ การ
ออกแบบวิธีการแกปญหา การใชทักษะชีวิต การใชเทคโนโลยี การนำความรูไปใชในชวี ิตประจำวัน ไดอ ยาง
ถกู ตอ ง เหมาะสม และปลอดภัย มจี ิตวิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา นิยมทีเ่ หมาะสม

ตวั ชวี้ ดั
ว๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐,
ม.๒/๑๑,ม.๒/๑๒, ม.๒/๑๓, ม.๒/๑๔, ม.๒/๑๕, ม.๒/๑๖, ม.๒/๑๗
ว๒.๑ ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ว๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐,
ม.๒/๑๑,ม.๒/๑๒, ม.๒/๑๓, ม.๒/๑๔, ม.๒/๑๕

รวม ๓๕ ตัวชี้วดั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

รายวชิ าวิทยาศาสตรพ ้นื ฐาน
คำอธิบายรายวิชา
กลุม สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร รหสั วิชา ว๒๒๑๐๓
ช้ันมธั ยมศึกษาปที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ จำนวน ๑.๕ หนวยกติ
เวลาเรียน ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห เวลา ๖๐ ชัว่ โมง/ภาคเรียน
ศึกษาวเิ คราะห หนาท่ขี องอวัยวะที่เกี่ยวของในระบบหายใจ กลไกการหายใจเขา และออก อวัยวะ
ในระบบขับถายในการกำจัดของเสียทางไต โครงสรางและหนาท่ีของหัวใจ หลอดเลือดและเลือด การ
ทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด หนาที่ของอวัยวะในระบบประสาทสวนกลางในการควบคุมการทำงาน
ตาง ๆ ของรางกาย ความสำคัญของระบบประสาทสมองและไขสันหลังหนาที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ
ของเพศชายและเพศหญิง ฮอรโ มนเพศชายและเพศหญิง การตกไข การมปี ระจำเดอื น การปฏิสนธิ และการ
พัฒนาของไซโกตจนคลอดเปนทารกกระบวนการเกิดสมบัติ การใชประโยชนรวมท้ังอธิบายผลกระทบจาก
การใชเช้ือเพลิงซากดึกดำบรรพ โครงสรางภายในโลก การผุพังอยูกับท่ี การกรอน และการสะสมตัวของ
ตะกอน ชั้นหนาตัดดินและกระบวนการเกิดดิน ตรวจวัดสมบัติของดิน การเกิดแหลงน้ำผิวดินและแหลงน้ำ
ใตดิน
โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร เพื่อฝกทักษะเปรียบเทียบ ทดลอง เขียนแผนภาพ นำเสนอ
แนวทางแกไ ข วเิ คราะห สรปุ ผล และการใชห ลักฐานเชงิ ประจกั ษ
เพื่อใหเกิดความตระหนัก ความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู มี
ความสามารถในการตัดสินใจ การออกแบบวิธีการแกปญหา การใชทักษะชีวิต การใชเทคโนโลยี การนำ
ความรูไปใชในชีวิตประจำวัน ไดอยางถูกตอง เหมาะสม และปลอดภัย มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม
คณุ ธรรม และคานิยมทเ่ี หมาะสม

ตวั ชีว้ ดั
ว๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓
ว๒.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ว๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐

รวม ๑๙ ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

รายวชิ าวทิ ยาศาสตรพ ้ืนฐาน
คำอธิบายรายวชิ า
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร รหัสวิชา ว๒๓๑๐๑
ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน ๑.๕ หนวยกติ
เวลาเรยี น ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น
ศกึ ษาวิเคราะหป ฏสิ ัมพนั ธข ององคประกอบของระบบนเิ วศน รปู แบบความสมั พนั ธร ะหวาง
สิง่ มชี วี ติ กับสงิ่ มีชีวติ รปู แบบตางๆในแหลงท่ีอยูเ ดยี วกัน การถายทอดพลังงานสายใยอาหาร ความสัมพนั ธ
ของผผู ลิต ผบู ริโภค และผยู อ ยสลายอนิ ทรียสารในระบบนิเวศน การสะสมสารพิษของส่ิงมีชีวิตในหว งโซ
อาหาร ความสัมพันธของสิง่ มีชีวิต และส่งิ แวดลอมในระบบนเิ วศนโ ดยไมทำลายสมดลุ ในระบบนเิ วศน
ความสัมพันธระหวางยีนส ดีเอน็ เอ และโครโมโซม การถา ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมจากการผสมลักษณะ
เดยี วท่แี อลลนี เดน ขมแอลลีนดอยอยา งสมบูรณ การเกดิ จีโนไทปแ ละฟโ นไทปของลกู การแบงเซลลแบบไม
โทรซีสและไมโอซสี การเปลี่ยนแปลงของยนี หรือโครโมโซมทที่ ำใหเ กิดโรคทางพันธุกรรม ประโยชนของ
ความรูเรอื่ งโรคทางพันธกุ รรม การใชป ระโยชนจ ากส่งิ มีชวี ติ ดัดแปลงพนั ธกุ รรม และผลกระทบที่อาจมตี อ
มนุษยและสงิ่ แวดลอม ความหลากหลายทางชวี ภาพ ความสำคญั ของความหลากหลายทางชีวภาพท่มี ตี อ
การรักษาสมดุลของระบบนิเวศนแ ละตอมนุษย การดแู ลรักษาความหลากหลายทางชวี ภาพ การโคจรของ
ดาวเคราะหร อบดวงอาทติ ยด วยแรงโนม ถว ง การเกดิ ฤดแู ละการเคล่ือนท่ีปรากฏของดวงอาทติ ย การเกิด
ขางข้ึนขางแรม การเปล่ียนแปลงเวลาการข้นึ และตกของดวงจันทร และการเกดิ น้ำขนึ้ น้ำลง เทคโนโลยี
อวกาศ และความกา วหนา ของโครงการสำรวจอวกาศ
โดยใชก ระบวนการอธบิ าย เปรยี บเทยี บ อภิปราย การสืบเสาะหาความรู การสบื คน และรวบรวม
ขอมลู การสำรวจตรวจสอบ การออกแบบ การเขยี นแผนภาพและกราฟ การคำนวณ การใชท ักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะการเรยี นรใู นศตวรรษท่ี 21
เพือ่ ใหเกดิ ความตระหนัก ความรู ความคดิ ความเขาใจ สามารถสื่อสาร พฒั นา สิง่ ทเี่ รียนรู ใหมี
ความสามารถในการตดั สนิ ใจ การแกป ญ หา การใชท ักษะชวี ติ การใชเทคโนโลยี การนำความรูไปใชใน
ชวี ติ ประจำวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคานิยมทเี่ หมาะสม

ตวั ชีว้ ดั
ว๑.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘
ว๒.๓ ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑, ม.๓/๑๒, ม.๓/๑๓, ม.๓/๑๔, ม.๓/๑๕, ม.๓/๑๖, ม.๓/๑๗, ม.๓/๑๘,
ม.๓/๑๙,ม.๓/๒๐, ม.๓/๒๑
ว๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวม ๒๔ ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

รายวชิ าวทิ ยาศาสตรพื้นฐาน
คำอธิบายรายวิชา
กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร รหัสวิชา ว๒๓๑๐๓
ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ จำนวน ๑.๕ หนว ยกิต
เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห เวลา ๖๐ ชวั่ โมง/ภาคเรยี น
ศึกษาวิเคราะห การเรียนรูวิทยาศาสตร สมบตั ทิ างกายภาพและการใชประโยชน วัสดุประเภทพอ
ลิเมอรเซรามิกสและวัสดุผสม การเกิดปฏิกิริยาเคมี กฎทรงมวลของสาร ปฏิกิริยาดูดความรอน และ
ปฏิกิริยาคายความรอน จากการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน ประโยชนและโทษ
ของปฏิกิริยาเคมีท่ีมีตอส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา และ
ความตานทาน ความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟา และความตางศักยไฟฟา การวัดปริมาณทางไฟฟา
พลังงานไฟฟา การตอตัวตานทาน แบบอนุกรมและขนานในวงจรไฟฟา การทำงานของช้ินสวน
อิเล็กทรอนิกส อยางงาย คล่ืนแมเหล็กไฟฟา กฎการสะทอนของแสง การเคล่ือนที่ของแสง การเกิดภาพ
จากกระจกเงา การเกิดภาพจากเลนส การหักเหของแสงการกระจายแสงของแสงขาว ปรากฏการณที่
เก่ียวกบั แสง และการทำงานของทศั นอุปกรณความสวา งของแสง
โดยใชกระบวนการอธิบาย เปรียบเทียบ อภิปราย การสืบเสาะหาความรู การสืบคนและรวบรวม
ขอมูลการสำรวจตรวจสอบ การออกแบบ การเขียนแผนภาพและกราฟ การคำนวณ การใชทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะการเรยี นรูในศตวรรษท่ี 21
เพื่อใหเกิดความตระหนัก ความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสาร พัฒนา ส่ิงที่เรียนรู ใหมี
ความสามารถในการตัดสินใจ การแกปญหา การใชทักษะชีวิต การใชเทคโนโลยี การนำความรูไปใชใน
ชวี ิตประจำวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา นิยมที่เหมาะสม

ตวั ชี้วดั
ว๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ว๑.๓ ม.๓/๙, ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑
ว๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘
ว๒.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙

รวม ๒๖ ตัวช้วี ดั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

รายวิชาเทคโนโลยีพ้ืนฐาน

คำอธิบายรายวชิ า

กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

รหสั วชิ า ว๒๑๑๐๒ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน ๐.๕ หนว ยกิต

เวลาเรยี น ๑ ช่วั โมง/สัปดาห เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ใช

ความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและศาสตรอื่นๆ เพื่อแกปญหาหรือพัฒนางาน

อยางมีความคิดสรางสรรค ดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสม

โดยคำนึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และส่ิงแวดลอม สามารถรางภาพ เขียนแผนภาพ ผังงาน กำหนด

ข้ันตอนและระยะเวลาในการทำงานไดตามวัตถุประสงคภายใตกรอบของปญหา เพื่อหาขอบกพรอง และ

ดำเนนิ การปรบั ปรงุ สามารถรางภาพ เขยี นแผนภาพ ผังงาน

โดยถายทอดแนวคิด เพื่อใหผ ูอ่ืนเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการทำงาน ทัง้ ในรูป การเขียนรายงาน การ

ทำแผนนำเสนอ ผลงาน การจัดนิทรรศการ การนำเสนอผาน ส่ือออนไลนวิเคราะหสมบัติของวัสดุแตละ

ประเภท เพ่ือเลือกใชใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน สรางช้ินงานโดยใชความรู เรื่อง กลไก ไฟฟา

อเิ ล็กทรอนกิ ส โดยพฒั นาเครื่องมือในการสรางชิ้นงานหรือพฒั นาวิธีการใหถูกตอง เหมาะสมและปลอดภัย

รวมท้ังรูจักเกบ็ รักษา

เพอ่ื ใหผ ูเรียนมคี วามรูความเขาใจ การนำขอมลู ปฐมภมู เิ ขา สรู ะบบคอมพวิ เตอร วเิ คราะห ประเมิน

นำเสนอขอมลู และสารสนเทศ ไดต ามวตั ถุประสงค ใชท ักษะการคิดเชงิ คำนวณในการแกปญหาทีพ่ บในชีวิต

จริง และเขียนโปรแกรมอยางงา ย เพอ่ื ชว ยในการแกปญหา ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารอยาง

รูเ ทา ทนั และรับผดิ ชอบตอสังคม ตลอดจนนำความรคู วามเขาใจในวชิ าวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีไปใชให

เกดิ ประโยชนต อสังคม และการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจนิ ตนาการ ความสามารถ

ในการแกปญ หาและการจดั การทักษะในการสอ่ื สาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจ และเปน ผทู ่ีมี

จติ วิทยาศาสตร มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยอี ยา งสรางสรรค

ตัวช้วี ัด
ว๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕

รวม ๕ ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒


Click to View FlipBook Version