The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร-2563-สาระวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Somza Jeed, 2022-09-11 01:19:07

หลักสูตรสาระวิทยาศาสตร์

หลักสูตร-2563-สาระวิทยาศาสตร์

มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถายโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพันธ
ระหวา งสสาร และพลังงาน พลังงานในชวี ติ ประจำวัน ธรรมชาติของคลน่ื ปรากฏการณท่ี
เกย่ี วขอ งกบั เสยี ง แสง และคล่ืนแมเ หลก็ ไฟฟารวมท้งั นำความรูไ ปใชประโยชน

ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถนิ่

ม.1 ว 2.3 ม 1/1 - เมอ่ื สสารไดร ับหรือสญู เสยี ความรอ นอาจ -

วิเคราะห แปลความหมายขอมูล และ ทำใหส สารเปล่ียนอุณหภมู ิ เปล่ียนสถานะ

คำนวณปรมิ าณความรอนทีท่ ำใหส สาร หรือเปล่ียนรปู รา ง

เปล่ียนอณุ หภูมิและเปล่ยี นสถานะ - ปริมาณความรอนที่ทำใหสสารเปล่ยี น

โดยใชส มการ อณุ หภมู ขิ ้นึ กบั มวล ความรอนจำเพาะ และ

Q = mcΔt และ อุณหภูมิ ทเ่ี ปล่ยี นไป

Q = mL - ปรมิ าณความรอนที่ทำใหส สารเปลีย่ น

ว 2.3 ม 1/2ใชเ ทอรม อมเิ ตอรใ นการ สถานะข้ึนกบั มวลและความรอนแฝง
จำเพาะ โดยขณะทีส่ สารเปล่ยี นสถานะ
วัดอณุ หภูมขิ องสสาร อุณหภูมจิ ะไมเปลีย่ นแปลง

ว 2.3 ม 1/3สรางแบบจำลองท่ีอธิบาย - ความรอ นทำใหส สารขยายตัวหรอื หดตวั -

การขยายตวั หรอื หดตวั ของสสาร ได เนื่องจากเม่ือสสารไดรบั ความรอนจะทำ

เนอ่ื งจากไดรบั หรือสญู เสยี ความรอ น ใหอ นุภาคเคล่ือนท่ีเรว็ ขึ้น ทำใหเ กิดการ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถน่ิ

ม.1 ว 2.3 ม 1/4 ตระหนักถึง ขยายตัวแตเม่ือสสารคายความรอนจะทำให

ประโยชนข องความรูของการ อนุภาคเคลื่อนท่ชี า ลง ทำใหเกิดการหดตวั

หดและขยายตัวของสสาร - ความรเู ร่อื งการหดและขยายตัวของ

เนือ่ งจากความรอ น โดย สสารเนื่องจากความรอนนำไปใชประโยชน

วิเคราะหส ถานการณป ญหา ไดดา นตา ง ๆ เชน การสรางถนน การสราง

และเสนอแนะวิธกี ารนำความรู รางรถไฟ การทำเทอรม อมิเตอร

มาแกปญหาในชวี ิตประจำวัน

ว 2.3 ม 1/5 วิเคราะห - ความรอนถา ยโอนจากสสารท่ีมอี ุณหภมู ิ

สถานการณการถา ยโอนความ สูงกวา ไปยงั สสารทมี่ ีอุณหภูมิต่ำกวา

รอ นและคำนวณปรมิ าณความ จนกระทัง่ อณุ หภูมิของสสารทั้งสองเทากัน

รอ นทีถ่ า ยโอนระหวางสสารจน สภาพที่สสารท้ังสองมีอุณหภูมิเทา กัน

เกิดสมดุล เรยี กวา สมดลุ ความรอน

ความรอ นโดยใชสมการ - เมอ่ื มีการถา ยโอนความรอนจากสสารที่มี

Qสูญเสีย = Qไดร ับ อุณหภูมิตางกนั จนเกิดสมดุลความรอ น

ความรอ นท่เี พิ่มข้ึนของสสารหนึง่ จะเทากบั

ความรอ นทลี่ ดลงของอีกสสารหนึ่ง ซึ่ง

เปนไปตามกฎการอนรุ ักษพลังงาน

ว 2.3 ม 1/6สรางแบบจำลองที่ -การถายโอนความรอ นมี 3 แบบ คอื การ

อธิบายการถายโอนความรอน นำความรอน การพาความรอน และการแผ

โดยการนำความรอน การพา รงั สคี วามรอน การนำความรอนเปนการ

ความรอ น การแผรังสคี วามรอ น ถายโอนความรอนท่ีอาศยั ตัวกลาง โดยที่

ตวั กลางไมเ คลอ่ื นที่ การพาความรอนเปน

ว 2.3 ม 1/7ออกแบบ เลือกใช การถา ยโอนความรอนท่อี าศัยตวั กลาง โดย
แ ล ะ ส ร า ง อุ ป ก ร ณ เพื่ อ ที่ตวั กลางเคลื่อนท่ีไปดว ย สวนการแผร ังสี
แกปญหาในชีวิตประจำวันโดย ความรอนเปน การถา ยโอนความรอ นที่ไม
ใชความรูเกี่ยวกับการถายโอน ตองอาศยั ตัวกลาง
ความรอ น - ความรูเกย่ี วกบั การถา ยโอนความรอ น
สามารถนำไปใชป ระโยชนใ นชวี ิตประจำวนั

ได เชน การเลือกใชวสั ดเุ พื่อนำมาทำ

ภาชนะบรรจุอาหาร เพื่อเก็บความรอ น

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนหุบราลอื หก้วายรกอรอะกเจแาบบพุทระธบศกับรราะชบา๒ย๕ค๖วา๓มรอ นใน
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นอากั คงาานรเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจองคป ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี

ดาวฤกษ และระบบสุรยิ ะ รวมทัง้ ปฏสิ ัมพนั ธภ ายในระบบสุริยะทส่ี ง ผลตอสง่ิ มชี ีวติ และ

การประยุกตใชเทคโนโลยีอวกาศ

ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง สาระการเรยี นรทู องถน่ิ
-- - -

สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เขา ใจองคประกอบและความสัมพันธข องระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงภายใน

โลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟาอากาศและภูมิอากาศ

ชนั้ ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถน่ิ
ม.1 ว 3.2 ม 1/1 สราง - โลกมบี รรยากาศหอ หุม นกั วทิ ยาศาสตรใชส มบตั ิ
-

แบบจำลองที่อธบิ าย และองคประกอบของบรรยากาศในการแบง

การแบง ช้นั บรรยากาศ บรรยากาศของโลกออกเปนชั้น ซ่ึงแบงไดห ลาย

และเปรียบเทียบ รูปแบบตามเกณฑทแ่ี ตกตา งกัน โดยท่ัวไป

ประโยชนข อง นกั วิทยาศาสตรใชเกณฑการเปลีย่ นแปลงอณุ หภูมิ

บรรยากาศแตล ะชัน้ ตามความสงู แบงบรรยากาศไดเปน 5 ชัน้ ไดแ ก ชั้น

โทรโพสเฟยร ช้นั สตราโตสเฟย ร ชน้ั มโี ซสเฟยร ชนั้
เทอรโมสเฟยร และชน้ั เอกโซสเฟย ร
• บรรยากาศแตละชั้นมีประโยชนต อสง่ิ มชี วี ติ
แตกตา งกัน โดยชนั้ โทรโพสเฟยรมปี รากฏการณ ลม
ฟาอากาศท่สี ำคญั ตอ การดำรงชวี ติ ของสิง่ มชี วี ติ ชนั้

สตราโตสเฟยรชวยดดู กลนื รงั สอี ลั ตราไวโอเลตจาก

ดวงอาทติ ยไมใ หมายงั โลกมากเกินไป ช้ันมีโซสเฟยร
ชวยชะลอวตั ถุนอกโลกที่ผา นเขามา ใหเ กิดการเผา
ไหมก ลายเปนวตั ถุขนาดเล็ก ลดโอกาสทจ่ี ะทำความ
เสยี หายแกส ง่ิ มีชีวติ บนโลก ช้ันเทอรโ มสเฟยร
สามารถสะทอนคล่นื วทิ ยุ และช้ันเอกโซสเฟยร
เหมาะสำหรับการโคจรของดาวเทียมรอบโลกใน

ระดับตำ่

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถน่ิ

ว 3.2 ม 1/2อธิบาย - ลมฟา อากาศ เปน สภาวะของอากาศในเวลาหนงึ่

ปจ จัยทม่ี ผี ลตอ การ ของพืน้ ทีห่ นึ่งทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลาขึน้ อยู

เปลีย่ นแปลง กับองคประกอบลมฟาอากาศ ไดแ ก อุณหภูมิอากาศ

องคประกอบของลม ความกดอากาศ ลม ความชืน้ เมฆ และหยาดนำ้ ฟา

ฟา อากาศ จากขอมูล โดยหยาดน้ำฟา ท่ีพบบอยในประเทศไทยไดแก ฝน

ท่ีรวบรวมได องคป ระกอบลมฟา อากาศเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา

ขน้ึ อยกู ับปจ จัยตา ง ๆ เชน ปริมาณรงั สีจากดวง

อาทิตยแ ละลักษณะพน้ื ผิวโลกสงผลตอ อุณหภมู ิ

อากาศ อุณหภมู อิ ากาศและปรมิ าณไอน้ำสงผลตอ

ความชืน้ ความกดอากาศสง ผลตอลม ความช้นื และ

ลมสง ผลตอเมฆ

ม.1 ว 3.2 ม 1/3 - พายหุ มุนเขตรอนเกดิ เหนือมหาสมทุ รหรือทะเล ที่

เปรียบเทยี บ น้ำมีอณุ หภมู ิสูงต้ังแต 26-27 องศาเซลเซียส ขน้ึ ไป

กระบวนการเกดิ พายุ ทำใหอ ากาศท่ีมีอุณหภูมแิ ละความชน้ื สูงบริเวณนน้ั

ฝนฟาคะนองและพายุ เคลื่อนทส่ี งู ข้นึ อยา งรวดเร็วเปน บรเิ วณกวา ง อากาศ

หมนุ เขตรอน และผลที่ จากบริเวณอื่นเคลือ่ นเขา มาแทนทแี่ ละพัดเวียนเขา

มตี อสิง่ มีชีวติ และ หาศูนยก ลางของพายุ ยง่ิ ใกลศูนยกลาง อากาศจะ

ส่งิ แวดลอม รวมทั้ง เคลอื่ นท่ีพดั เวยี นเกือบเปน วงกลมและมีอตั ราเร็วสงู

นำเสนอแนวทางการ ทส่ี ดุ พายหุ มุนเขตรอ นทำใหเกิดคลน่ื พายซุ ัดฝง ฝน

ปฏิบัติตนใหเ หมาะสม ตกหนกั ซึ่งอาจกอใหเ กดิ อนั ตรายตอชวี ติ และ

และปลอดภยั ทรัพยสิน จงึ ควรปฏบิ ตั ติ นใหปลอดภยั โดยติดตาม

ขา วสาร การพยากรณอากาศ และไมเขาไปอยูใ น

พืน้ ทีท่ ี่เส่ยี งภัย

ว 3.2 ม 1/4อธิบาย - การพยากรณอากาศเปน การคาดการณล มฟา ขอ มูลการ

การพยากรณอากาศ อากาศ ท่จี ะเกดิ ข้ึนในอนาคต โดยมีการตรวจวดั พยากรณอ ากาศ

และพยากรณอากาศ องคประกอบลมฟาอากาศ การสื่อสารแลกเปลย่ี น ของทอ งถิ่นตนเอง

อยา งงายจากขอมูลที่ ขอ มูลองคป ระกอบลมฟา อากาศระหวา งพืน้ ที่ การ

รวบรวมได วิเคราะหขอมูลและสรางคำพยากรณอากาศ

ว 3.2 ม 1/5ตระหนัก - การพยากรณอากาศสามารถนำมาใชป ระโยชนดา น

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ช้ัน ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถนิ่

ถึงคณุ คา ของการ ตาง ๆ เชน การใชช ีวติ ประจำวนั การคมนาคม

พยากรณอากาศ โดย การเกษตร การปองกนั และเฝา ระวังภยั พบิ ตั ิ ทาง

นำเสนอแนวทางการ ธรรมชาติ

ปฏบิ ัตติ นและการใช

ประโยชนจากคำ

พยากรณอากาศ

ว 3.2 ม 1/6อธบิ าย - ภูมิอากาศโลกเกิดการเปลย่ี นแปลงอยา งตอเนื่อง

สถานการณและ โดยปจจัยทางธรรมชาติ แตปจจุบันการเปลีย่ นแปลง

ผลกระทบการ ภูมิอากาศเกิดขึน้ อยางรวดเร็วเน่อื งจากกจิ กรรมของ

เปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ มนษุ ยในการปลดปลอ ยแกส เรอื นกระจกสู

โลกจากขอมูลท่ี บรรยากาศ แกส เรอื นกระจกทถี่ กู ปลดปลอยมาก

รวบรวมได ท่สี ดุ ไดแ ก แกสคารบ อนไดออกไซดซ ง่ึ หมนุ เวยี นอยู

ในวัฏจกั รคารบ อน

ม.1 ว 3.2 ม 1/7ตระหนัก - การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศโลกกอ ใหเ กดิ ผลกระทบ

ถึงผลกระทบของการ ตอสิง่ มชี วี ติ และส่งิ แวดลอม เชน การหลอมเหลวของ

เปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศ นำ้ แข็งข้ัวโลก การเพิ่มข้นึ ของระดบั ทะเล การ

โลก โดยนำเสนอแนว เปล่ียนแปลงวฏั จักรน้ำ การเกิดโรคอบุ ัติใหมแ ละ

ทางการปฏบิ ตั ติ น อบุ ตั ิซำ้ และการเกิดภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติท่รี ุนแรง

ภายใตก าร ขึ้น มนษุ ยจ ึงควรเรียนรแู นวทางการปฏบิ ัตติ นภายใต

เปลย่ี นแปลงภูมิอากาศ สถานการณดังกลาว ทั้งแนวทางการปฏิบัตติ นให

โลก เหมาะสมและแนวทางการลดกจิ กรรมท่ีสง ผลตอการ

เปลย่ี นแปลงภมู ิอากาศโลก

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เขา ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยเี พ่ือการดำรงชีวติ ในสงั คมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยา ง

รวดเร็ว ใชค วามรูและทักษะทางดานวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอ่นื ๆ เพื่อ

แกปญหาหรือพัฒนางานอยา งมีความคดิ สรางสรรคด ว ยกระบวนการออกแบบเชงิ
วิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยา งเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และ

สงิ่ แวดลอม

ชัน้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรูทองถ่นิ
ม.1 ว 4.1 ม 1/1อธิบาย
- เทคโนโลยี เปนสิ่งท่มี นษุ ยส รา งหรือ -
แนวคดิ หลกั ของ
เทคโนโลยใี น พัฒนาข้ึน ซง่ึ อาจเปน ไดท ้ังช้ินงานหรอื วิธกี าร
ชวี ิตประจำวันและ
วิเคราะหส าเหตหุ รือ เพื่อใชแกป ญ หา สนองความตองการ หรือเพ่ิม
ปจจัยท่ีสงผลตอการ
เปล่ียนแปลงของ ความสามารถในการทำงานของมนุษย
เทคโนโลยี
- ระบบทางเทคโนโลยี เปนกลมุ ของสวนตาง

ๆ ต้ังแตส องสว นข้ึนไปประกอบเขาดวยกนั

และทำงานรวมกันเพอ่ื ใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค

โดยในการทำงานของระบบทางเทคโนโลยจี ะ

ประกอบไปดว ยตัวปอน (input) กระบวนการ

(process) และผลผลิต (output) ทสี่ ัมพันธ

กนั นอกจากน้ีระบบทางเทคโนโลยอี าจมี

ขอมลู ยอนกลบั (feedback) เพือ่ ใชปรบั ปรุง

การทำงาน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการ
เรยี นรูทองถน่ิ

ม.1 ไดต ามวัตถุประสงค ซ่งึ การวเิ คราะหร ะบบทาง

เทคโนโลยีชว ยใหเ ขาใจองคป ระกอบและการทำงานของ

เทคโนโลยี รวมถงึ สามารถปรับปรุงใหเ ทคโนโลยีทำงาน

ไดต ามตองการ

- เทคโนโลยมี กี ารเปลยี่ นแปลงตลอดเวลาต้งั แตอดตี จนถงึ

ปจ จุบนั ซง่ึ มสี าเหตุหรือปจ จัยมาจากหลายดา น เชน

ปญหา ความตอ งการ ความกาวหนาของศาสตรตาง ๆ

เศรษฐกิจ สงั คม

ว 4.1 ม 1/2 ระบุปญหา - ปญหาหรือความตอ งการในชีวติ ประจำวันพบไดจ าก -

หรอื ความตองการใน หลายบรบิ ทขน้ึ กบั สถานการณท ีป่ ระสบ เชน การเกษตร

ชีวติ ประจำวัน รวบรวม การอาหาร

วเิ คราะหขอมูลและ - การแกปญหาจำเปน ตอ งสบื คน รวบรวมขอ มลู ความรู

แนวคิดทีเ่ กี่ยวของกบั จากศาสตรตาง ๆ ท่ีเกยี่ วของ เพอื่ นำไปสู การออกแบบ

ปญ หา แนวทางการแกป ญหา

ว 4.1 ม 1/3ออกแบบ - การวเิ คราะห เปรียบเทียบ และตดั สนิ ใจเลอื กขอมูลท่ี -

วิธีการแกปญหา โดย จำเปน โดยคำนึงถึงเง่ือนไข และทรพั ยากรท่ีมีอยู ชว ย

วิเคราะหเปรียบเทียบ ใหไ ดแ นวทางการแกป ญหาที่เหมาะสม

และตดั สินใจเลอื กขอมูล - การออกแบบแนวทางการแกปญหาทำไดหลากหลาย

ที่จำเปน นำเสนอ วิธี เชน การรางภาพ การเขยี นแผนภาพ การเขยี นผงั

แนวทางการแกปญหาให งาน

ผูอ ืน่ เขาใจ วางแผนและ - การกำหนดขัน้ ตอนและระยะเวลาในการทำงานกอน

ดำเนินการแกปญ หา ดำเนนิ การแกปญหาจะชว ยใหทำงานสำเรจ็ ไดต าม

เปาหมายและลดขอ ผดิ พลาดของการทำงานที่อาจ

เกดิ ขน้ึ

ว 4.1 ม 1/4. ทดสอบ - การทดสอบ และประเมนิ ผลเปนการตรวจสอบช้นิ งาน -

ประเมนิ ผล และระบุ หรอื วธิ กี ารวา สามารถแกปญ หาไดต ามวตั ถปุ ระสงค

ขอบกพรองท่เี กิดขึน้ ภายใตกรอบของปญหา เพื่อหาขอ บกพรอง และ

พรอมทงั้ หาแนวทางการ ดำเนนิ การปรับปรงุ โดยอาจทดสอบซ้ำเพ่ือใหส ามารถ

ปรบั ปรุงแกไขและ แกปญ หาได

นำเสนอผลการแกปญ หา -การนำเสนอผลงานเปน การถายทอดแนวคิดเพ่ือใหผูอืน่

กลมุ่ สาระการเรียนหรู้วลิทกั ยสาูตศราสสถตารน์แศลึกะษเทาวรเคขาธิ โโายีกรนใงงาจโาเรลรเนทกียยนี่ย่ีไี กดวอสากนาํรซนับุบทึง่ กักาสำลงราแาหะมผน้วบานเยขรวนกตถนรำพทกะเน้ืสำเาจไทนราดท่ีกอห าำผพรลงลุทศาางธึกนยาศษวแนกัาธิลปรีกะารเชาชชะรนถ้ินจม๒งดักศา๕นานึก๖รษทิหเ๓ารขรกรืียอาศนญกจานรบรุ ี เขต ๒

การนำเสนอผา นสื่อออนไลน

ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู สาระการเรยี นรทู องถ่นิ
แกนกลาง

ม.1 ว 4.1 ม 1/5 ใชค วามรู - วัสดแุ ตล ะประเภทมี -

และทกั ษะเกยี่ วกบั วัสดุ สมบัตแิ ตกตา งกนั เชน

อุปกรณ เครื่องมือ กลไก ไม โลหะ พลาสตกิ จงึ

ไฟฟา หรือ ตอ งมีการวิเคราะห

อิเล็กทรอนิกส เพ่ือ สมบัติ เพ่ือเลือกใชให

แกปญ หาไดอยางถูกตอ ง เหมาะสมกบั ลกั ษณะ

เหมาะสมและปลอดภยั ของงาน

- การสรา งช้ินงานอาจใช

ความรู เร่อื งกลไก ไฟฟา

อเิ ล็กทรอนกิ ส เชน LED

บซั เซอร มอเตอร

วงจรไฟฟา

- อุปกรณและเคร่ืองมือ

ในการสรางชิน้ งานหรือ

พฒั นาวธิ กี ารมีหลาย

ประเภท ตองเลือกใชใ ห

ถูกตอง เหมาะสม และ

ปลอดภยั รวมทั้งรจู ัก

เกบ็ รกั ษา

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เขา ใจและใชแนวคดิ เชงิ คำนวณในการแกปญ หาท่พี บในชีวิตจรงิ อยา งเปน ขน้ั ตอนและ

เปน ระบบ ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู การทำงาน และการ
แกปญ หาไดอยางมีประสทิ ธิภาพ รเู ทาทนั และมีจรยิ ธรรม

ช้ัน ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถิ่น
ม.1 ว 4.2 ม1/1 ออกแบบ - แนวคิดเชิงนามธรรม เปนการประเมิน -

อลั กอริทมึ ท่ีใชแนวคิดเชงิ ความสำคัญของรายละเอียดของปญหา
นามธรรมเพ่ือแกปญหา แยกแยะสวนทีเ่ ปนสาระสำคัญออกจากสว น
หรืออธบิ ายการทำงานท่ี ท่ไี มใ ชสาระสำคญั
พบใน - ตวั อยา งปญหา เชน ตองการปูหญา ใน
ชีวิตจรงิ สนาม ตามพน้ื ที่ทีก่ ำหนด โดยหญาหนง่ึ ผืนมี
ความกวา ง 50 เซนตเิ มตร ยาว 50
เซนตเิ มตร จะใชห ญา ท้ังหมดกผี่ นื

ว 4.2 ม1/2ออกแบบและ - การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมกี ารใช
เขียนโปรแกรมอยางงาย ตัวแปร เงอ่ื นไข วนซ้ำ
เพื่อแกปญ หาทาง - การออกแบบอลั กอริทมึ เพ่ือแกปญหา
คณติ ศาสตรหรือ ทาง
วทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตรอ ยางงาย อาจใช
แนวคิดเชิงนามธรรมในการออกแบบ เพ่ือให
การแกปญหามีประสทิ ธิภาพ
- การแกป ญ หาอยางเปน ขั้นตอนจะชวยให
แกป ญหาได
อยางมีประสทิ ธภิ าพ
• ซอฟตแ วรท่ีใชในการเขยี นโปรแกรม เชน
Scratch, python, java, c
• ตวั อยา งโปรแกรม เชน โปรแกรมสมการ
การเคลอ่ื นที่ โปรแกรมคำนวณหาพืน้ ที่
โปรแกรมคำนวณดัชนมี วลกาย

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถิ่น
ม.1 ว 4.2 ม1/3 รวบรวม • การรวบรวมขอมลู จากแหลงขอ มลู ปฐมภมู ิ
ขอมลู ปฐมภูมิ ประมวลผล ประมวลผล สรา งทางเลือก ประเมนิ ผล จะทำ -

ประเมินผล นำเสนอขอมลู ใหไ ดสารสนเทศเพื่อใชใ นการแกปญหาหรือการ
และสารสนเทศ ตาม ตดั สินใจไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ
วตั ถุประสงคโ ดยใช • การประมวลผลเปน การกระทำกบั ขอมลู
ซอฟตแวร หรือบริการบน เพ่ือใหไดผ ลลัพธที่มคี วามหมายและมีประโยชน
อนิ เทอรเน็ตทหี่ ลากหลาย ตอการนำไปใชง าน สามารถทำไดห ลายวธิ ี เชน
คำนวณอตั ราสว น คำนวณคา เฉลีย่
• การใชซอฟตแวรห รอื บริการบนอินเทอรเ น็ต
ท่หี ลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สรา ง
ทางเลอื ก ประเมนิ ผล นำเสนอ จะชว ยให
แกป ญหาไดอ ยางรวดเร็ว ถูกตอง และแมน ยำ
• ตวั อยา งปญหา เนน การบูรณาการกบั วชิ าอ่ืน
เชน ตม ไขใ หตรงกับพฤติกรรมการบริโภค คา
ดัชนีมวลกายของคนในทองถิ่น การสรา งกราฟ
ผลการทดลองและวเิ คราะหแนวโนม
ว 4.2 ม1/4ใชเทคโนโลยี • ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งปลอดภัย เชน
สารสนเทศอยา งปลอดภัย การปกปองความเปน สวนตวั และอตั ลักษณ -

ใชส่อื และแหลง ขอ มลู ตาม • การจัดการอตั ลักษณ เชน การตง้ั รหัสผาน
ขอกำหนดและขอตกลง การปกปองขอมลู สว นตัว
• การพจิ ารณาความเหมาะสมของเนือ้ หา เชน
ละเมิดความเปนสวนตวั ผูอ่ืน อนาจาร วจิ ารณ
ผูอน่ื อยางหยาบคาย
• ขอตกลง ขอกำหนดในการใชสื่อหรอื
แหลงขอ มูลตา ง ๆ เชน Creative commons

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2
ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแกนกลางและสาระการเรยี นรทู อ งถิน่

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวา งสิง่ ไมมีชีวิตกับสง่ิ มีชีวิต และ

ความสมั พันธร ะหวางสง่ิ มชี ีวิตกับส่ิงมีชีวติ ตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลงั งาน การ
เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและผลกระทบท่ีมีตอ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและการ
แกไ ขปญ หาสง่ิ แวดลอม รวมทัง้ นำความรไู ปใชประโยชน

ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรยี นรูทองถ่ิน
-- - -

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช วี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจสมบตั ขิ องสิ่งมีชวี ติ หนว ยพ้นื ฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเขาและออกจาก

เซลล ความสัมพนั ธของโครงสรา งและหนาที่ของระบบตาง ๆ ของสัตวและมนุษยท่ีทำงาน

สัมพันธกัน ความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ของอวัยวะตาง ๆ ของพืชท่ีทำงาน
สมั พันธกัน รวมทงั้ นำความรูไ ปใชประโยชน

ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถนิ่

ม.2 ว 1.2 ม 2/1 ระบุอวยั วะและ - ระบบหายใจมีอวัยวะตา ง ๆ ที่เกี่ยวขอ ง -

บรรยายหนา ทข่ี องอวัยวะที่ ไดแ ก จมูก ทอลม ปอด กะบังลม และกระดูก

เกย่ี วขอ งในระบบหายใจ ซี่โครง

- มนษุ ยห ายใจเขา เพอ่ื นำแกสออกซิเจน

ว 1.2 ม 2/2 อธิบายกลไกการ เขาสูร างกายเพื่อนำไปใชในเซลล และหายใจ

หายใจเขาและออก โดยใช ออก เพ่ือกำจดั แกส คารบอนไดออกไซดออก

แบบจำลอง รวมทั้งอธบิ าย จากรางกาย

กระบวนการแลกเปล่ียนแกส - อากาศเคล่ือนที่เขาและออกจากปอดได

เน่อื งจากการเปลยี่ นแปลงปริมาตรและ

ความดันของอากาศภายในชอ งอกซ่ึง

เก่ยี วขอ งกบั การทำงานของกะบังลม และ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถิน่

กระดูกซี่โครง

- การแลกเปลย่ี นแกสออกซเิ จนกับแกส

คารบอนไดออกไซดใน

ม.2 ว 1.2 ม 2/3 ตระหนักถึง รา งกาย เกิดขึ้นบรเิ วณถุงลมในปอดกับหลอด -
-
ความสำคญั ของระบบหายใจ เลอื ดฝอยที่ถงุ ลม และระหวา งหลอดเลอื ด

โดยการบอกแนวทางในการ ฝอยกับเน้ือเยือ่

ดแู ลรักษาอวัยวะในระบบ - การสูบบหุ ร่ี การสดู อากาศทีม่ สี ารปนเปอ น

หายใจใหท ำงานเปนปกติ และการเปน โรคเกีย่ วกบั ระบบหายใจบางโรค

อาจทำใหเ กดิ โรคถุงลมโปงพอง ซึง่ มผี ลให

ความจุอากาศของปอดลดลง ดังนน้ั จึงควร

ดูแลรักษาระบบหายใจ ใหทำหนา ทีเ่ ปนปกติ

ว 1.2 ม 2/4 ระบอุ วัยวะและ ระบบขับถายมีอวัยวะทเ่ี กีย่ วขอ ง คือ ไต

บรรยายหนา ทขี่ องอวยั วะ ใน ทอไต กระเพาะปส สาวะ และทอปสสาวะ

ระบบขับถา ยในการกำจดั ของ โดยมไี ตทำหนาที่กำจัดของเสีย เชน ยเู รีย

เสยี ทางไต แอมโมเนีย กรดยรู ิก รวมทง้ั สารทรี่ างกายไม

ตองการออกจากเลอื ด และควบคุมสารที่มี

ว 1.2 ม 2/5 ตระหนักถงึ มากหรือนอยเกนิ ไป เชน น้ำ โดยขบั ออกมา

ความสำคญั ของระบบขับถา ย ในรปู ของปสสาวะ

ในการกำจดั ของเสียทางไต โดย • การเลอื กรบั ประทานอาหารที่เหมาะสม

การบอกแนวทางในการปฏบิ ัติ เชน รบั ประทานอาหารท่ไี มมีรสเค็มจัด การ

ตนท่ชี วยใหระบบขับถา ยทำ ดืม่ น้ำสะอาดใหเ พยี งพอ เปน แนวทางหน่งึ ที่

หนาที่ไดอยา งปกติ ชวยใหร ะบบขับถายทำหนา ท่ีไดอยา งปกติ

ว 1.2 ม 2/6บรรยายโครงสรา ง -ระบบหมุนเวียนเลอื ดประกอบดว ย หัวใจ -
และหนา ทีข่ องหวั ใจ หลอด หลอดเลอื ด และเลอื ด
เลือด และเลือด - หวั ใจของมนษุ ยแบง เปน 4 หอ ง ไดแ ก
หัวใจ หองบน 2 หอง และหองลาง 2 หอง
ระหวา งหัวใจหองบนและหัวใจหองลา งมีลนิ้

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถน่ิ

หวั ใจก้ัน

- หลอดเลือด แบง เปน หลอดเลือด

อารเตอรี หลอดเลอื ดเวน หลอดเลือดฝอย ซง่ึ

มีโครงสรางตางกัน

- เลอื ด ประกอบดว ย เซลลเม็ดเลอื ด เพลต

เลต และพลาสมา

ม.2 ว 1.2 ม 2/7 อธบิ ายการ - การบีบและคลายตัวของหัวใจทำใหเลือด

ทำงานของระบบหมุนเวยี น หมุนเวียนและลำเลียงสารอาหารแกส ของ

เลอื ด โดยใชแบบจำลอง เสีย และสารอ่ืน ๆ ไปยังอวัยวะและเซลลตาง

ๆ ท่ัวรางกาย

- เลือดท่ีมีปริมาณแกสออกซิเจนสูงจะออก

จากหัวใจไปยังเซลลตาง ๆ ทั่วรางกาย

ขณะเดียวกันแกสคารบอนไดออกไซดจาก

เซลลจะแพรเขาสูเลือดและลำเลียงกลับเขาสู

หวั ใจและถกู สง ไปแลกเปลีย่ นแกสทีป่ อด

ว 1.2 ม 2/8อ อ ก แ บ บ ก า ร ชีพจรบอกถึงจังหวะการเตนของหัวใจ ซ่ึง -

ทดลองและทดลอง ในการ อัตราการเตนของหัวใจในขณะปกติและ

เปรียบเทียบอัตราการเตนของ หลังจากทำกิจกรรมตาง ๆ จะแตกตางกัน

หัวใจ ขณะปกติและหลังทำ สวนความดันเลือด ระบบหมุนเวียนเลือดเกิด

กจิ กรรม จากการทำงานของหัวใจและหลอดเลอื ด

- อตั ราการเตน ของหัวใจมีความแตกตางกัน

ว 1.2 ม 2/9 ตระหนกั ถึง ในแตละบุคคล คนที่เปนโรคหัวใจและหลอด

ความสำคญั ของระบบ เลอื ดจะสง ผลทำใหหวั ใจสูบฉีดเลอื ดไมเปน

หมุนเวยี นเลอื ด โดยการบอก ปกติ

แนวทางในการดแู ลรกั ษา - การออกกำลังกาย การเลือกรับประทาน

อวัยวะในระบบหมุนเวยี นเลอื ด อาหาร การพักผอน และการรักษาภาวะ

ใหทำงานเปน ปกติ อารมณใหเปนปกติ จึงเปนทางเลือกหน่ึงใน

การดูแลรักษาระบบหมุนเวียนเลือดใหเปน

ปกติ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถิน่

ว 1.2 ม 2/10ระบุอวัยวะและ - ระบบประสาทสว นกลาง ประกอบดว ย

บรรยายหนาทขี่ องอวัยวะใน สมองและไขสันหลัง จะทำหนาทร่ี ว มกับ

ระบบประสาทสว นกลางในการ เสน ประสาท

ควบคมุ การทำงานตาง ๆ ของ ซงึ่ เปน ระบบประสาทรอบนอก ในการควบคมุ

รา งกาย การทำงานของอวัยวะตา ง ๆ รวมถงึ การแสดง

พฤติกรรม เพื่อการตอบสนองตอ สงิ่ เรา

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถน่ิ

ม.2 ว 1.2 ม 2/11 ตระหนกั ถึง - เม่ือมสี งิ่ เรา มากระตนุ หนว ยรบั

ความสำคญั ของระบบประสาท ความรูส ึก จะเกิดกระแสประสาทสงไป

โดยการบอกแนวทางในการ ตามเซลลประสาทรับความรสู ึก ไปยัง

ดูแลรักษา รวมถงึ การปองกนั ระบบประสาทสวนกลาง แลวสง กระแส

การกระทบกระเทือนและ ประสาทมาตามเซลลป ระสาทส่ังการ ไป

อนั ตรายตอสมองและไขสนั ยงั หนว ยปฏบิ ตั ิงาน เชน กลามเน้ือ

หลัง - ระบบประสาทเปนระบบท่ีมีความ

ซับซอ นและมีความสมั พันธกับทุกระบบ

ในรา งกาย ดังนัน้ จงึ ควรปองกนั การเกิด

อุบตั เิ หตุที่กระทบกระเทือนตอสมอง

หลีกเลี่ยงการใชสารเสพตดิ หลีกเลย่ี ง

ภาวะเครยี ด และรบั ประทานอาหารทม่ี ี

ประโยชนเพอ่ื ดูแลรักษาระบบประสาท

ใหท ำงานเปนปกติ

ว 1.2 ม 2/12 ระบอุ วัยวะ • มนุษยมีระบบสืบพันธุท่ีประกอบดวย

และบรรยายหนาที่ของอวยั วะ อวัยวะตาง ๆ ที่ทำหนาที่เฉพาะ โดยรัง

ในระบบสืบพนั ธุของเพศชาย ไขในเพศหญิงจะทำหนาที่ผลิตเซลลไข

และเพศหญงิ โดยใช สวนอัณฑะในเพศชายจะทำหนาท่ีสราง

แบบจำลอง เซลลอ สจุ ิ

ว 1.2 ม 2/13 อธบิ ายผลของ • ฮอรโมนเพศทำหนาท่ีควบคุมการ

ฮอรโมนเพศชายและเพศหญงิ แส ด งออ กขอ งลัก ษ ณ ะท างเพ ศ ท่ี

ทคี่ วบคมุ การเปลีย่ นแปลงของ แตกตางกัน เมื่อเขาสูวัยหนุมสาว จะมี

รางกาย เมื่อเขา สูว ยั หนมุ สาว การสรางเซลลไขและเซลลอสุจิ การตก

ไข การมีรอบเดือน และถามีการปฏิสนธิ

ของเซลลไขและเซลลอสุจิจะทำใหเกิด

การต้ังครรภ

ว 1.2 ม 2/14ตระหนักถงึ การ • การมปี ระจำเดือน มีความสมั พันธกับ

เปลี่ยนแปลงของรางกายเมือ่ การตกไข โดยเปน ผลจากการ

เขาสวู ัยหนมุ สาว โดยการดแู ล เปลย่ี นแปลงของระดับฮอรโ มนเพศหญิง

รกั ษารางกายและจิตใจของ

ตนเองในหชลว กั งสทูต่มี รีกสาถรานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระเกปาลรเย่ี รนียนแรปู้วลิทงยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชัน้ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถิ่น

ม.2 ว 1.2 ม 2/15อธิบายการตกไข • เมอื่ เพศหญิงมีการตกไขและเซลลไ ขไดร บั

การมีประจำเดอื น การปฏสิ นธิ การปฏิสนธกิ บั เซลลอสุจิจะทำใหไดไซโกต ไซ

และการพฒั นาของไซโกต จน โกตจะเจรญิ เปน เอม็ บริโอและฟตสั จนกระท่งั

คลอดเปน ทารก คลอดเปน ทารก แตถาไมม ีการปฏสิ นธิ เซลล

ไขจ ะสลายตัว ผนงั ดานในมดลูกรวมทั้งหลอด

เลือดจะสลายตวั และหลดุ ลอกออก เรียกวา

ประจำเดือน

ว 1.2 ม 2/16 เลือกวิธีการ • การคมุ กำเนิดเปน วธิ ีปอ งกนั ไมใ หเกดิ การ

คุมกำเนิดทีเ่ หมาะสมกบั ตั้งครรภ โดยปองกนั ไมใหเ กดิ การปฏิสนธหิ รือ

สถานการณท่กี ำหนด ไมใหม ีการฝงตวั ของเอ็มบริโอ ซึง่ มีหลายวิธี

เชน การใชถ ุงยางอนามยั การกินยาคุมกำเนิด

ว 1.2 ม 2/17ตระหนกั ถงึ

ผลกระทบของการต้ังครรภ กอ นวยั

อันควร โดยการประพฤติตนให

เหมาะสม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.3 เขาใจกระบวนการและความสำคญั ของการถายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมสาร

พันธุกรรม การเปลยี่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมท่มี ีผลตอ สง่ิ มชี ีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพ

และวัฒนาการของสิง่ มชี วี ิต รวมทงั้ นำความรูไปใชประโยชน

ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรูท อ งถน่ิ
-- - -

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรกายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เขา ใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสมั พันธระหวางสมบตั ขิ องสสารกับ

โครงสรางและแรงยึดเหนยี่ วระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลง

สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

ช้นั ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถน่ิ

ม.2 ว 2.1 ม 2/1 อธบิ ายการแยก ตัวละลายและตัวทำละลายที่เปนของเหลวที่ -

สารผสมโดยการระเหยแหง มีจุดเดือดตางกันมาก วิธีนี้จะแยกของเหลว

การตกผลึก การกลน่ั อยางงาย บรสิ ุทธิ์ออกจากสารละลายโดยใหค วามรอน

โครมาโทกราฟแบบกระดาษ กับสารละลาย ของเหลวจะเดือดและ

การสกดั ดวยตัวทำละลาย โดย กลายเปนไอแยกจากสารละลายแลว

ใชหลกั ฐานเชงิ ประจักษ ควบแนนกลับเปนของเหลวอีกครั้ง ขณะที่

ของเหลวเดือด อุณหภูมิของไอจะคงที่ โคร

ว 2.1 ม 2/2 แยกสารโดยการ มาโทกราฟแบบกระดาษเปนวิธีการแยกสาร

ระเหยแหง การตกผลกึ การ ผสมทีม่ ี

กลนั่ อยางงาย โครมาโทกราฟ ปรมิ าณนอยโดยใชแ ยกสารที่มสี มบตั ิการ

แบบกระดาษ การสกดั ดวยตวั ละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับ

ทำละลาย ดวย

ตัวดูดซับแตกตางกัน ทำใหสารแตละชนิด

เคล่ือนที่ไปบนตัวดูดซับไดตางกัน สารจึง

แยกออกจากกันได อัตราสวนระหวาง

ระยะทางที่สารองคประกอบแตละชนิด

เคลื่อนท่ีไดบนตัวดูดซับ กับระยะทางที่ตัว

ทำละลายเคล่ือนที่ได เปนคาเฉพาะตัวของ

สารแตละชนิดในตัวทำละลายและตัวดูดซับ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถ่นิ

หน่ึง ๆ การสกัดดวยตัวทำละลาย เปน

วิธีการแยกสารผสมที่มีสมบัติการละลายใน

ตัวทำละลายท่ีตางกันโดยชนิดของตัวทำ

ละลายมีผลตอชนิดและปริมาณของสารท่ี

สกดั ได การสกดั โดยการกลั่นดวยไอนำ้

ม.2 ใชแยกสารทร่ี ะเหยงาย ไมละลายนำ้ และไม

ทำปฏิกิริยากับนำ้ ออกจากสารท่ีระเหยยาก

โดยใชไอน้ำเปน ตวั พา

ว 2.1 ม 2/3 • ความรูดา นวทิ ยาศาสตรเกยี่ วกบั การแยก -

นำวิธีการแยกสารไปใช สาร บูรณาการกับคณติ ศาสตร เทคโนโลยี

แกปญหาในชีวติ ประจำวนั โดย โดยใชกระบวนการทางวิศวกรรม สามารถ

บูรณาการวิทยาศาสตร นำไปใชแกปญหาในชวี ิตประจำวนั หรอื

คณิตศาสตร เทคโนโลยี และ ปญหาที่พบในชมุ ชนหรอื สรา งนวตั กรรม

วศิ วกรรมศาสตร โดยมขี ั้นตอน ดงั นี้

- ระบุปญ หาในชีวติ ประจำวันทีเ่ กีย่ วกบั การ

แยกสารโดยใชส มบัติทางกายภาพ หรอื

นวตั กรรมทตี่ องการพฒั นา โดยใชหลักการ

ดงั กลา ว

- รวบรวมขอ มูลและแนวคิดเกย่ี วกบั การแยก

สาร โดยใชสมบัตทิ างกายภาพท่สี อดคลอง

กับปญหาทีร่ ะบุ หรอื นำไปสูการพฒั นา

นวตั กรรมน้ัน

- ออกแบบวธิ ีการแกป ญหา หรือพัฒนา

นวตั กรรมทเ่ี กย่ี วกับการแยกสารในสารผสม

โดยใชส มบตั ิทางกายภาพ โดยเชื่อมโยง

ความรดู านวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร

เทคโนโลยี และกระบวนการทางวศิ วกรรม

รวมทง้ั กำหนดและควบคุมตัวแปรอยาง

เหมาะสม ครอบคลุม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถน่ิ

- วางแผนและดำเนนิ การแกป ญหา หรือ

พฒั นานวตั กรรม รวบรวมขอมลู จดั กระทำ

ขอ มูลและเลือกวิธีการส่ือความหมายท่ี

เหมาะสมในการนำเสนอผล

- ทดสอบ ประเมินผล ปรบั ปรุงวธิ ีการ

แกป ญหา หรือนวัตกรรมที่พัฒนาข้ึน โดยใช

หลกั ฐานเชงิ ประจักษท่รี วบรวมได

- นำเสนอวิธีการแกป ญ หา หรือผลของ

นวตั กรรมทีพ่ ัฒนาขน้ึ และผลทีไ่ ด โดยใช

วิธกี ารสอื่ สารทเี่ หมาะสมและนา สนใจ

ม.2 ว 2.1 ม 2/4 - สารละลายอาจมีสถานะเปน ของแขง็ -

ออกแบ บ การท ดล องแล ะ ของเหลว และแกส สารละลาย

ทดลองในการอธิบายผลของ ประกอบดวยตวั ทำละลาย และตัวละลาย

ชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทำ กรณีสารละลายเกดิ จากสารที่มสี ถานะ

ละลาย อุณหภูมิท่ีมีตอสภาพ เดียวกนั สารทมี่ ีปริมาณมากท่สี ุดจดั เปนตวั

ละลายไดของสาร รวมทั้ ง ทำละลาย กรณสี ารละลายเกิดจากสารท่มี ี

อธิบายผลของความดันท่ีมีตอ สถานะตา งกัน สารท่มี สี ถานะเดยี วกนั กบั

สภาพละลายไดของสาร โดย สารละลายจัดเปนตวั ทำละลาย

ใชส ารสนเทศ - สารละลายท่ีตัวละลายไมสามารถละลาย

ในตวั ทำละลายไดอีกท่ีอณุ หภูมิหน่งึ ๆ

เรยี กวา สารละลายอิม่ ตวั

- สภาพละลายไดข องสารในตัวทำละลาย

เปนคาทบี่ อกปริมาณของสารที่ละลายไดใน

ตวั ทำละลาย 100 กรัม จนไดสารละลาย

อิม่ ตัว ณ อุณหภมู ิและความดันหนง่ึ ๆ

สภาพละลายไดของสารบงบอก

ความสามารถในการละลายไดของตัว

ละลาย ในตัวทำละลาย ซึง่ ความสามารถใน

การละลายของสารขน้ึ อยูกับชนดิ ของตวั ทำ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถิ่น

ละลายและตัวละลาย อณุ หภูมิ และความ

ดัน

- สารชนิดหนง่ึ ๆ มีสภาพละลายได

แตกตางกันในตวั ทำละลายที่แตกตา งกัน

และสารตางชนิดกัน มสี ภาพละลายไดในตัว

ทำละลายหนึง่ ๆ ไมเทากัน

- เมอ่ื อุณหภมู สิ งู ขึน้ สารสวนมาก สภาพ

ละลายไดข องสารจะเพ่ิมขึน้ ยกเวนแกส เม่ือ

อณุ หภูมิสูงข้นึ สภาพการละลายไดจะลดลง

สว นความดนั มีผลตอแกส โดยเมือ่ ความดัน

เพิม่ ขนึ้ สภาพละลายไดจะสงู ขึ้น

- ความรเู กย่ี วกับสภาพละลายไดข องสาร

เม่อื เปลย่ี นแปลงชนิดตัวละลาย ตัวทำ

ละลาย และอุณหภมู ิ สามารถนำไปใช

ประโยชนในชวี ิตประจำวนั เชน การทำ

น้ำเชอื่ มเขมขน การสกดั สารออกจาก

สมุนไพรใหไดป รมิ าณมากที่สุด

ม.2 ว 2.1 ม 2/5 ระบปุ รมิ าณตวั - ความเขมขนของสารละลาย เปนการระบุ -

ละลายในสารละลาย ในหนวย ปริมาณ ตัวละลายในสารละลาย หนวย

ความเขมขน เปน รอยละ ความเขมขนมีหลายหนวย ที่นิยมระบุเปน

ปริมาตรตอ ปริมาตร มวลตอ หนวยเปนรอยละ ปริมาตรตอปริมาตร มวล

มวล และมวลตอ ปรมิ าตร ตอมวล และมวลตอ ปริมาตร

- รอยละโดยปริมาตรตอปริมาตร เปนการ

ระบุปริมาตรตัวละลายในสารละลาย 100

ห น ว ย ป ริ ม าต รเดี ย ว กั น นิ ย ม ใช กั บ

สารละลายท่เี ปน ของเหลวหรือแกส

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชน้ั ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถน่ิ

ว 2.1 ม 2/6 - รอยละโดยมวลตอมวล เปนการระบุมวล

ตระหนักถึงความสำคัญของ ตัวละลายในสารละลาย 100 หนวยมวล
ก ารน ำค ว าม รู เรื่อ งค ว าม เดียวกัน นิยมใชกับสารละลายที่มีสถานะ
เขม ขน ของส ารไป ใช โด ย เปน ของแขง็
ยกตัวอยางการใชสารละลาย - รอยละโดยมวลตอปริมาตร เปนการระบุ
ในชีวิตประจำวันอยางถูกตอง มวล ตัวละลายในสารละลาย 100 หนวย
ปรมิ าตร นิยมใชกับสารละลายท่ีมตี ัวละลาย
และปลอดภยั
เปนของแขง็ ในตวั ทำละลายที่เปน ของเหลว

- การใชสารละลาย ในชีวิตประจำวัน ควร

พิจารณาจากความเขมขนของสารละลาย

ขึ้นอยูกับจุดประสงคของการใชงาน และ

ผลกระทบตอสง่ิ ชวี ติ และสง่ิ แวดลอ ม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรกายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 เขา ใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจำวนั ผลของแรงทีก่ ระทำตอ วัตถุ ลักษณะการเคล่อื นท่ี

แบบตาง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรูไปใชป ระโยชน

ชัน้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถิ่น

ม.2 ว 2.2 ม 2/1พยากรณการเคลอื่ นท่ี - แรงเปนปรมิ าณเวกเตอร เม่อื มีแรง -

ของวัตถุท่เี ปน ผลของแรงลัพธท ่ีเกดิ หลาย ๆ แรงกระทำตอวัตถุ แลวแรง -

จากแรงหลายแรงทกี่ ระทำตอวัตถุ ลัพธ

ในแนวเดยี วกนั จากหลกั ฐานเชิง ที่กระทำตอวตั ถุมคี า เปนศนู ย

ประจกั ษ วตั ถุจะไมเ ปลยี่ นแปลงการเคลอื่ นท่ี

ว 2.2 ม 2/2 เขยี นแผนภาพแสดง แตถาแรงลพั ธที่กระทำตอ วตั ถุ

แรงและแรงลัพธที่เกิดจากแรงหลาย มีคาไมเ ปน ศูนย วัตถุจะเปล่ยี นแปลง

แรงที่กระทำตอวัตถใุ นแนวเดียวกัน การเคล่ือนท่ี

ว 2.2 ม 2/3 ออกแบบการทดลอง - เมอ่ื วตั ถอุ ยใู นของเหลวจะมแี รงที่ -

และทดลองดวยวิธี ท่เี หมาะสมใน ของเหลวกระทำตอวตั ถใุ นทุกทิศทาง

การอธิบายปจ จยั ท่ีมีผลตอความดนั โดยแรงท่ขี องเหลวกระทำต้งั ฉากกับ

ของของเหลว ผวิ วตั ถตุ อหนึง่ หนวยพื้นที่ เรียกวา

ความดนั ของของเหลว

- ความดันของของเหลวมี

ความสัมพันธก ับความลกึ จากระดับ

ผิวหนาของของเหลว โดยบริเวณทลี่ กึ

ลงไปจากระดบั ผิวหนา ของของเหลว

มากขนึ้ ความดันของของเหลวจะ

เพ่ิมข้ึน เน่ืองจากของเหลวที่อยูล กึ

กวา จะมีนำ้ หนักของของเหลว

ดา นบนกระทำมากกวา

ว 2.2 ม 2/4 วิเคราะหแ รงพยุงและ - เมอ่ื วตั ถอุ ยูใ นของเหลว จะมีแรงพยุง -

การจม การลอยของวัตถุใน เน่อื งจากของเหลวกระทำตอวัตถุ โดย

ของเหลวจากหลกั ฐานเชิงประจักษ มีทศิ ขนึ้ ในแนวด่ิง การจมหรอื การ

ลอยของวัตถุข้นึ กบั น้ำหนกั ของวัตถุ

และ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถน่ิ

ม.2 ว 2.2 ม 2/5 เขียนแผนภาพ แรงพยุง ถาน้ำหนักของวตั ถุและแรง

แสดงแรงที่กระทำตอ วตั ถุ ใน พยุงของของเหลวมีคาเทา กนั วตั ถุ

ของเหลว จะลอยน่งิ อยูในของเหลว แตถา

น้ำหนกั ของวัตถมุ ีคา มากกวา แรง

พยงุ ของของเหลววตั ถุจะจม

ว 2.2 ม 2/6 อธิบายแรงเสียด - แรงเสียดทานเปนแรงท่ีเกิดข้ึน -

ทานสถติ และแรงเสยี ดทานจลน ระหวางผิวสัมผัสของวัตถุ เพ่ือตาน

จากหลกั ฐานเชิงประจักษ การเคลอ่ื นที่ของวัตถุนน้ั โดยถาออก

แรงกระทำตอวัตถุท่ีอยูนิ่งบนพื้นผิว

ใหเคลื่อนท่ี แรงเสียดทานก็จะตาน

การเคลื่อนท่ีของวัตถุ แรงเสียดทาน

ทเ่ี กิดขึ้นในขณะที่วัตถยุ ังไมเคล่ือนที่

เรียก แรงเสียดทานสถิต แตถาวัตถุ

กำลังเคล่ือนที่ แรงเสียดทานก็จะทำ

ใหวัตถุน้ันเคล่ือนท่ีชา ลงหรือหยดุ น่ิง

เรยี ก แรงเสยี ดทานจลน

ว 2.2 ม 2/7 ออกแบบการ - ขนาดของแรงเสยี ดทานระหวาง -

ทดลองและทดลองดวยวธิ ที ี่ ผวิ สมั ผสั ของวัตถขุ ้ึนกับลกั ษณะ

เหมาะสมในการอธบิ ายปจ จยั ท่ี ผวิ สมั ผสั และขนาดของแรงปฏิกริ ยิ า

มผี ลตอ ขนาดของแรงเสียดทาน ต้งั ฉากระหวางผวิ สัมผัส

- กจิ กรรมในชีวิตประจำวันบาง

กจิ กรรมตองการ แรงเสยี ดทาน เชน

ว 2.2 ม 2/8 เขยี นแผนภาพ การเปด ฝาเกลยี วขวดน้ำ การใชแผน

แสดงแรงเสยี ดทานและแรงอ่ืน กนั ล่ืนในหองนำ้ บางกจิ กรรมไม

ๆ ทก่ี ระทำตอวตั ถุ ตอ งการแรงเสยี ดทาน เชน การลาก

วัตถุบนพืน้ การใชน ้ำมนั หลอ ลน่ื ใน

ว 2.2 ม 2/9 ตระหนักถึง เครอ่ื งยนต
ประโยชนข องความรูเร่ืองแรง - ความรเู รือ่ งแรงเสียดทานสามารถ
นำไปใชประโยชนในชีวิตประจำวัน
เสียดทานโดยวิเคราะห
ได
สถานการณปญหาและ

กล่มุ สาระการเเกเรสสีายนยี รนดอทหรทูแ้วลำทิกนากั นยสิจะาูตทกวศริธร่เีาปสีกรสมถนาตารใรปนนล์แรศดละึกะหโษเยทราชือคนเโโพรนตง่ิมโอ เลรแียยรนีงอสนาํ นุบกัาลงาหนว้ เยขกตรพะ้นืเจทา่ีกาพรทุศธึกศษกัาปรารชะถม๒ศ๕ึก๖ษ๓ากาญจนบุรี เขต ๒

ชีวติ ประจำวนั

สาระการ

ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง เรียนรู

ทอ งถ่นิ

ม.2 ว 2.2 ม 2/10 ออกแบบการ - เมอ่ื มีแรงที่กระทำตอวตั ถโุ ดยไมผ านศูนยกลาง

ทดลองและทดลองดวยวิธี ท่ี มวลของวตั ถุ จะเกิดโมเมนตของแรง ทำใหวตั ถุ

เหมาะสมในการอธบิ าย หมุนรอบศนู ยกลางมวลของวัตถุนน้ั

โมเมนตข องแรง เม่ือวตั ถุอยใู น - โมเมนตข องแรงเปนผลคูณของแรงที่กระทำตอ

สภาพสมดุลตอ การหมนุ และ วตั ถกุ บั ระยะทางจากจุดหมุนไปตงั้ ฉากกบั แนว

คำนวณโดยใชสมการ แรง เมอื่ ผลรวมของโมเมนตของแรงมีคาเปน

M = Fl ศนู ย วตั ถจุ ะอยูในสภาพสมดุลตอ การหมนุ โดย

โมเมนตของแรงในทศิ ทวนเข็มนากิ าจะมีขนาด

เทากับโมเมนตของแรงในทิศตามเข็มนาิกา

- ของเลน หลายชนดิ ประกอบดวยอปุ กรณ

หลายสวนทใี่ ชหลกั การโมเมนตข องแรง ความรู

เรือ่ งโมเมนตของแรงสามารถนำไปใชออกแบบ

และประดิษฐข องเลน ได

ว 2.2 ม 2/11 เปรียบเทยี บ - วัตถทุ มี่ ีมวลจะมสี นามโนม ถวงอยโู ดยรอบ แรง -

แหลง ของสนามแมเ หล็ก โนมถว งทกี่ ระทำตอวัตถุที่อยูในสนามโนมถวง

สนามไฟฟา และสนามโนมถว ง จะมที ิศพงุ เขา หาวัตถุทเ่ี ปนแหลงของสนามโนม

และทิศทางของแรงท่ีกระทำ ถวง

ตอ วตั ถทุ ่ีอยใู นแตล ะสนามจาก - วตั ถทุ ่ีมปี ระจุไฟฟาจะมสี นามไฟฟา อยโู ดยรอบ

ขอมลู ทรี่ วบรวมได แรงไฟฟาทีก่ ระทำตอวตั ถทุ ี่มีประจจุ ะมีทศิ พุง

เขา หาหรอื ออกจากวัตถทุ ่มี ีประจุท่ีเปนแหลง

ว 2.2 ม 2/12 เขยี นแผนภาพ ของสนามไฟฟา

แสดงแรงแมเ หล็ก แรงไฟฟา - วตั ถทุ เ่ี ปนแมเหลก็ จะมสี นามแมเ หลก็ อยู

และแรงโนม ถว งท่กี ระทำตอ โดยรอบ แรงแมเหลก็ ทีก่ ระทำตอ ข้ัวแมเหล็กจะ

วตั ถุ มที ศิ พงุ เขาหาหรอื ออกจากข้ัวแมเ หลก็ ทเี่ ปน

แหลงของสนามแมเหล็ก

ว 2.2 ม 2/13 วเิ คราะห - ขนาดของแรงโนมถว ง แรงไฟฟา และแรง -

ความสัมพันธร ะหวา งขนาด แมเหล็กที่กระทำตอวัตถุท่ีอยูในสนามนน้ั ๆ จะ

ของแรงแมเหลก็ แรงไฟฟา มคี าลดลง เมื่อวตั ถอุ ยูหางจากแหลงของสนาม

และแรงโนม ถวงที่กระทำตอ นน้ั ๆ มากขนึ้

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

วตั ถทุ ่อี ยใู นสนามนั้น ๆ กบั
ระยะหา ง
จากแหลงของสนามถงึ วตั ถจุ าก
ขอมูลท่ีรวบรวมได

ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการ
เรยี นรู
ม.2 ว 2.2 ม 2/14 อธิบายและ - การเคลอื่ นท่ีของวตั ถเุ ปน การเปลย่ี นตำแหนง ทองถน่ิ

-

คำนวณอตั ราเรว็ และความเร็ว ของวัตถเุ ทียบกับตำแหนงอา งอิง โดยมีปริมาณ

ของการเคล่ือนทขี่ องวัตถุ โดย ที่เกย่ี วของกบั การเคลื่อนทซี่ ่งึ มที ง้ั ปริมาณส

ใชสมการ จากหลกั ฐานเชงิ เกลารแ ละปรมิ าณเวกเตอร เชน ระยะทาง

ประจกั ษ อตั ราเร็ว การกระจัด ความเร็ว ปรมิ าณสเกลาร

ว 2.2 ม 2/15 เขียนแผนภาพ เปนปรมิ าณท่ีมีขนาด เชน ระยะทาง อตั ราเร็ว
แสดงการกระจดั และความเร็ว ปริมาณ

เวกเตอรเปน ปรมิ าณที่มีทั้งขนาดและ

ทิศทาง เชน การกระจัด ความเรว็

- เขยี นแผนภาพแทนปริมาณเวกเตอรไดดวย

ลกู ศร โดยความยาวของลูกศรแสดง

ขนาดและหัวลูกศรแสดงทศิ ทางของเวกเตอรน ้ัน

- ระยะทางเปนปริมาณสเกลาร โดยระยะทาง
เปนความยาวของเสนทางทีเ่ คล่อื นทไี่ ด
- การกระจัดเปนปริมาณเวกเตอร โดยการ
กระจัดมีทิศชี้จากตำแหนงเริ่มตนไปยังตำแหนง
สุดทาย และมีขนาดเทากับระยะท่ีส้ันที่สุด
ระหวา งสองตำแหนง น้นั
- อัตราเรว็ เปนปริมาณสเกลาร โดยอัตราเร็วเปน
อตั ราสว นของระยะทางตอเวลา
- ความเร็วปริมาณเวกเตอรมีทิศเดียวกับทิศของ
การกระจัด โดยความเร็วเปนอัตราสวนของการ
กระจดั ตอ เวลา

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก ายภาพ

มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลยี่ นแปลงและการถา ยโอนพลงั งาน ปฏิสัมพันธ

ระหวางสสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ิตประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลนื่ ปรากฏการณที่

เกีย่ วของกับเสยี ง แสง และคลื่นแมเหล็กไฟฟารวมทัง้ นำความรูไปใชประโยชน

สาระการ

ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง เรียนรู

ทอ งถิ่น

ม.2 ว 2.3 ม 2/1 วิเคราะหสถานการณ - เมอื่ ออกแรงกระทำตอวัตถุ แลว ทำให -

และคำนวณเกี่ยวกับงานและกำลงั ท่ี วตั ถเุ คล่อื นที่ โดยแรงอยูในแนวเดียวกบั

เกิดจากแรงท่กี ระทำตอวัตถุ การเคลือ่ นทจ่ี ะเกดิ งาน งานจะมคี ามาก

โดยใชส มการ หรือนอ ยข้ึนกับขนาดของแรงและ

และ ระยะทางในแนวเดยี วกับแรง
- งานที่ทำในหนงึ่ หนวยเวลาเรียกวา
จากขอมูลท่รี วบรวมได กำลงั หลกั การของงานนำไปอธบิ ายการ
ทำงานของ
ว 2.3 ม 2/2 วเิ คราะหหลกั การทำงาน
ของเครื่องกลอยางงา ยจากขอมลู ที่

รวบรวมได

ว 2.3 ม 2/3 ตระหนักถงึ ประโยชน - เคร่ืองกลอยา งงาย ไดแก คาน พื้น

ของความรูของเครื่องกลอยา งงา ย โดย เอยี ง รอกเด่ียว ลมิ่ สกรู ลอและเพลา

บอกประโยชนและการประยุกตใชใ น ซึง่ นำไปใชประโยชนด านตา ง ๆ ใน

ชีวติ ประจำวนั ชวี ติ ประจำวัน

ว 2.3 ม 2/4 ออกแบบและทดลอง - พลงั งานจลนเ ปน พลงั งานของวัตถทุ ี่

ดวยวธิ ีทีเ่ หมาะสมในการอธบิ ายปจ จยั เคลือ่ นท่ี พลงั งานจลนจะมีคามากหรือ

ทม่ี ผี ลตอพลังงานจลน และพลงั งาน นอยข้ึนกับมวลและอัตราเร็ว สวน

ศักยโนม ถว ง พลังงานศักยโ นมถว งเกย่ี วของกับ

ตำแหนงของวัตถุ จะมีคามากหรอื นอย

ขึ้นกับมวลและตำแหนงของวัตถุ เมอ่ื

วัตถอุ ยูใ นสนามโนมถว ง วัตถุจะมี

พลังงานศักยโ นม ถว ง พลังงานจลนและ

พลงั งานศักยโ นม ถว งเปน พลงั งานกล

ว 2.3 ม 2/5 แปลความหมายขอ มลู - ผลรวมของพลังงานศกั ยโ นมถวงและ

และอธิบายการเปลี่ยนพลังงาน พลงั งานจลนเ ปนพลังงานกล พลังงาน

ระหวางพลังงานศกั ยโนม ถว งและ ศักยโนม ถว งและพลงั งานจลนข องวตั ถุ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

พลังงานจลนของวัตถโุ ดยพลงั งานกล หนึ่ง ๆ สามารถเปล่ียนกลบั ไปมาได

ของวัตถุ มีคาคงตัวจากขอมูลที่ โดยผลรวมของพลังงานศกั ยโนมถว ง

รวบรวมได และ

พลังงานจลนม ีคาคงตวั น่นั คือพลงั งาน

กลของวตั ถุมีคาคงตวั

สาระการ

ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง เรียนรู

ทองถนิ่

ม.2 ว 2.3 ม 2/6 - พลงั งานรวมของระบบมคี าคงตวั ซงึ่ -

วเิ คราะหส ถานการณและอธิบายการ อาจเปลีย่ นจากพลังงานหนง่ึ เปน อกี

เปลีย่ นและการถายโอนพลงั งานโดยใช พลังงานหนึ่ง เชน พลังงานกล

กฎการอนรุ ักษพลังงาน เปล่ียนเปน พลังงานไฟฟา พลังงานจลน

เปล่ยี นเปน พลังงานความรอ น พลงั งาน

เสียง พลังงานแสง เน่ืองมาจากแรง

เสยี ดทาน พลังงานเคมีในอาหาร

เปลย่ี นเปน พลงั งานท่ีไปใชในการทำงาน

ของส่งิ มชี ีวิต

- นอกจากน้ีพลงั งานยังสามารถถาย

โอนไปยงั อกี ระบบหน่งึ หรือไดรบั

พลังงานจากระบบอนื่ ได เชน การถา ย

โอนความรอนระหวา งสสาร การถาย

โอนพลังงานของการสนั่ ของ

แหลงกำเนดิ เสยี งไปยังผูฟง ท้ังการ

เปลย่ี นพลงั งานและการถาย

โอนพลงั งาน พลงั งานรวมทัง้ หมดมคี า

เทา เดมิ ตามกฎการอนรุ ักษพ ลังงาน

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เขา ใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว

ฤกษ และระบบสรุ ิยะ รวมทั้งปฏิสัมพนั ธภายในระบบสุริยะทส่ี งผลตอส่งิ มชี วี ิต และการ
ประยุกตใชเ ทคโนโลยีอวกาศ

รหสั ตวั ชว้ี ัด ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรยี นรทู องถิน่

- หลกั สูตรส-ถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระ-เจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ -

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เขา ใจองคป ระกอบและความสัมพันธข องระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลก

และบนผิวโลก ธรณีพบิ ัติภยั กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา อากาศและภมู ิอากาศ โลก

รวมทัง้ ผลตอ สิง่ มีชีวิตและสิ่งแวดลอ ม

ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถิน่

ม.2 ว 3.2 ม 2/1 - เช้ือเพลงิ ซากดึกดำบรรพ เกิดจากการ แหลงเรียนรูเร่ือง

เปรียบเทียบ เปลีย่ นแปลงสภาพของซากสงิ่ มชี วี ติ ในอดตี โดย ซากดึกดำบรรพใน

กระบวนการเกดิ สมบตั ิ กระบวนการ ทางเคมแี ละธรณีวทิ ยา เช้ือเพลงิ ชุมชน

และการใชป ระโยชน ซากดึกดำบรรพ ไดแก ถานหิน หินน้ำมนั และ

รวมทัง้ อธิบาย ปโตรเลียม ซง่ึ เกิดจากวตั ถุตนกำเนิด และสภาพ

ผลกระทบจากการใช แวดลอมการเกิดท่ีแตกตางกนั ทำใหไดชนดิ ของ

เชื้อเพลงิ ซากดกึ ดำ เชื้อเพลงิ ซากดกึ ดำบรรพทม่ี ีลักษณะ สมบัติ

บรรพ จากขอมลู ที่ และการนำไปใชป ระโยชนแตกตางกนั สำหรบั

รวบรวมได ปโตรเลยี มจะตอ งมกี ารผานการกล่นั ลำดบั สว น

กอ นการใชงานเพ่อื ใหไดผ ลติ ภัณฑที่เหมาะสม

ตอ การใชป ระโยชน เชือ้ เพลิงซากดึกดำบรรพ

เปน ทรพั ยากรทีใ่ ชแลวหมดไป เนอื่ งจากตองใช

เวลานานหลายลา นปจงึ จะเกิดข้ึนใหมได

ว 3.2 ม 2/2 - การเผาไหมเ ชื้อเพลงิ ซากดกึ ดำบรรพใน

แสดงความตระหนกั ถึง กิจกรรม ตา ง ๆ ของมนุษยจะทำใหเกิดมลพิษ

ผลจากการใชเชอื้ เพลงิ ทางอากาศ ซ่ึงสง ผลกระทบตอสิง่ มชี ีวติ และ

ซากดกึ ดำบรรพ โดย สิ่งแวดลอมนอกจากน้ีแกส

นำเสนอแนวทางการใช บางชนิดท่ีเกิดจากการเผาไหมเ ช้ือเพลงิ ซากดึก

เชอ้ื เพลงิ ซากดกึ ดำ ดำบรรพ เชน แกส คารบ อนไดออกไซด และไน

บรรพ ตรัสออกไซด ยงั เปน แกสเรือนกระจกซ่ึงสง ผล

ใหเ กิดการเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศของโลก

รุนแรงขนึ้ ดงั น้ันจงึ ควรใชเ ชื้อเพลิงซากดึกดำ

บรรพ โดยคำนึงถึงผลท่ีเกิดข้ึนตอสง่ิ มชี วี ติ และ

สง่ิ แวดลอ ม เชน เลอื กใชพลังงานทดแทน หรือ

เลอื กใชเทคโนโลยีทีล่ ดการใชเ ชอ้ื เพลงิ ซากดึก

ดำบรรพ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถน่ิ

ม.2 ว 3.2 ม 2/3 • เชอ้ื เพลิงซากดกึ ดำบรรพเ ปนแหลงพลงั งานที่

เปรียบเทียบขอดีและ สำคญั ในกจิ กรรมตา ง ๆ ของมนษุ ย เน่ืองจาก

ขอจำกัดของพลงั งาน เชือ้ เพลงิ ซากดึกดำบรรพมปี ริมาณจำกัดและมกั

ทดแทนแตล ะประเภท เพิม่ มลภาวะในบรรยากาศมากข้นึ จึงมีการใช

จากการรวบรวมขอมลู พลงั งานทดแทนมากข้ึน เชน พลังงาน

และนำเสนอแนว แสงอาทิตย พลังงานลม พลงั งานนำ้ พลงั งาน

ทางการใชพลงั งาน ชวี มวล พลังงานคลน่ื พลังงานความรอ นใต

ทดแทน ทเี่ หมาะสมใน พภิ พ พลงั งานไฮโดรเจน ซ่งึ พลงั งานทดแทนแต

ทองถ่นิ ละชนิดจะมขี อดีและขอจำกัดทแี่ ตกตา งกนั

ว 3.2 ม 2/4 • โครงสรา งภายในโลกแบงออกเปนช้ันตาม

สรางแบบจำลองที่ องคประกอบทางเคมี ไดแก เปลอื กโลก ซง่ึ อยู

อธิบายโครงสรา งภายใน นอกสุด ประกอบดวยสารประกอบของซิลิกอน

โลกตามองคประกอบ และอะลมู ิเนยี มเปนหลัก เน้ือโลกคอื สวนทอ่ี ยูใต

ทางเคมจี ากขอมูลท่ี เปลอื กโลกลงไปจนถึงแกนโลก มอี งคประกอบ

รวบรวมได หลักเปนสารประกอบของซิลิกอน แมกนีเซยี ม

และเหล็ก และแกนโลกคือสวนทีอ่ ยใู จกลางของ

โลก มีองคประกอบหลกั เปนเหลก็ และนกิ เกลิ

ซึ่งแตล ะชั้นมีลกั ษณะแตกตางกนั

ว 3.2 ม 2/5 อธิบาย - การผุพังอยูกบั ท่ี การกรอน และการสะสมตัว

กระบวนการผุพงั อยูก บั ของตะกอน เปนกระบวนการเปลย่ี นแปลงทาง

ท่ี การกรอน และการ ธรณวี ิทยา ทีท่ ำใหผ วิ โลกเกดิ การเปลีย่ นแปลง

สะสมตวั ของตะกอน เปน ภูมิลักษณแ บบ

จากแบบจำลอง รวมทัง้ ตา ง ๆ โดยมีปจ จัยสำคญั คือน้ำ ลม

ยกตวั อยา งผลของ ธารนำ้ แข็ง แรงโนม ถวงของโลก สิ่งมชี วี ิต สภาพ

กระบวนการดังกลาวที่ อากาศ และปฏิกริ ิยาเคมี

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทำใหผวิ โลกเกิดการ ทองถิ่น
เปลี่ยนแปลง - การผุพงั อยูกบั ท่ี คือ การที่หนิ ผพุ งั ทำลายลง
ดวยกระบวนการตาง ๆ ไดแก ลมฟา
ม.2 อากาศกบั น้ำฝน และรวมทัง้ การกระทำของ
ตนไมก ับแบคทเี รีย ตลอดจนการแตกตวั ทาง
กลศาสตรซ ึง่ มีการเพ่ิมและลดอณุ หภูมิสลบั กัน
เปน ตน
- การกรอน คือ กระบวนการหนงึ่ หรือหลาย
กระบวนการท่ที ำใหสารเปลือกโลกหลดุ ไป
ละลายไปหรอื กรอนไปโดยมีตัวนำพาธรรมชาติ
คือ ลม น้ำ และธารนำ้ แขง็ รวมกับปจ จยั อนื่ ๆ
ไดแ ก ลมฟา อากาศ สารละลาย การครดู ถู การ
นำพา ทั้งนี้ไมร วมถึงการพังทลายเปนกลุมกอน
เชน แผน ดนิ ถลม ภเู ขาไฟระเบิด
- การสะสมตัวของตะกอน คอื การสะสมตัวของ
วตั ถุจากการนำพาของนำ้ ลม หรือธารนำ้ แข็ง

ว 3.2 ม 2/6 อธิบาย - ดนิ เกิดจากหินทีผ่ ุพงั ตามธรรมชาติผสม ตัวอยางดินใน

ลักษณะของชนั้ หนาตดั คลุกเคลา กบั อนิ ทรยี วตั ถทุ ่ีไดจากการเนา เปอย ทองถนิ่

ดินและกระบวนการเกิด ของซากพชื ซากสตั วท บั ถมเปนชัน้ ๆ บนผวิ โลก

ดิน จากแบบจำลอง ช้นั ดินแบงออกเปนหลายชั้น ขนานหรอื เกอื บ

รวมท้งั ระบปุ จจัยท่ีทำ ขนานไปกบั ผวิ หนา ดิน แตล ะชน้ั มีลกั ษณะ

ใหด ินมีลักษณะและ แตกตางกนั เนอื่ งจากสมบัตทิ างกายภาพ เคมี

สมบัตแิ ตกตางกัน ชวี ภาพ และลกั ษณะอนื่ ๆ เชน สี โครงสรา ง

เนอ้ื ดิน การยดึ ตัว ความเปนกรด-เบส สามารถ

สังเกตไดจ ากการสำรวจภาคสนาม การเรียกชื่อ

ชั้นดินหลักจะใชอ ักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ

ไดแ ก O, A, E, B, C, R

- ชนั้ หนาตดั ดนิ เปน ชัน้ ดินท่ีมีลกั ษณะปรากฏใหเหน็

เรยี งลำดบั เปนชน้ั จากช้นั บนสุดถงึ ช้ันลา งสุด

- ปจจยั ทีท่ ำใหดินแตล ะทอ งถิ่นมีลกั ษณะและ

สมบตั แิ ตกตา งกนั ไดแ ก วตั ถุตน กำเนดิ ดนิ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชั้น ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถิ่น

ภูมอิ ากาศ สง่ิ มชี วี ติ ในดนิ สภาพภมู ปิ ระเทศ

และระยะเวลา ในการเกดิ ดนิ

ว 3.2 ม 2/7 ตรวจวดั - สมบตั ิบางประการของดนิ เชน เนอ้ื ดิน

สมบัตบิ างประการของ ความชน้ื ดนิ คา ความเปน กรด-เบส ธาตอุ าหาร

ดิน โดยใชเ ครอ่ื งมือที่ ในดิน สามารถนำไปใชใ นการตดั สินใจถงึ แนว

เหมาะสมและนำเสนอ ทางการใชประโยชนท่ดี นิ โดยอาจนำไปใช

แนวทางการใช ประโยชน ทางการเกษตรหรืออน่ื ๆ ซง่ึ ดนิ ท่ีไม

ประโยชนด นิ จากขอมลู เหมาะสมตอการทำการเกษตร เชน ดินจดื ดนิ

สมบัตขิ องดิน เปรยี้ ว ดนิ เค็ม และดินดาน อาจเกิดจากสภาพ

ดนิ ตามธรรมชาติหรือการใชป ระโยชนจ ะตอ ง

ปรับปรุงใหมีสภาพเหมาะสม เพอื่ นำไปใช

ประโยชน

ม.2 ว 3.2 ม 2/8 อธิบาย - แหลง นำ้ ผิวดินเกิดจากนำ้ ฝนทตี่ กลงบนพ้ืน

ปจ จยั และกระบวนการ โลก ไหลจากทสี่ งู ลงสูทตี่ ำ่ ดว ยแรงโนม ถวง การ

เกิดแหลง นำ้ ผวิ ดินและ ไหลของน้ำทำใหพน้ื โลกเกิดการกัดเซาะเปน รอง

แหลงน้ำใตดนิ จาก นำ้ เชน ลำธาร คลอง และแมน้ำ ซง่ึ รอ งนำ้ จะมี

แบบจำลอง ขนาดและรูปรางแตกตา งกัน ขน้ึ อยูกับปรมิ าณ

น้ำฝน ระยะเวลาในการกดั เซาะ ชนิดดนิ และ

หนิ และลักษณะภูมิประเทศ เชน ความลาดชัน

ความสูงต่ำของพื้นท่ี เม่ือน้ำไหลไปยังบรเิ วณที่

เปนแอง จะเกดิ การสะสมตัวเปนแหลง นำ้ เชน

บงึ ทะเลสาบ ทะเล และมหาสมุทร

- แหลง นำ้ ใตดินเกิดจากการซึมของนำ้ ผวิ ดนิ ลง

ไปสะสมตัวใตพืน้ โลก ซ่งึ แบงเปน นำ้ ในดินและ

นำ้ บาดาล นำ้ ในดินเปน น้ำท่ีอยรู วมกบั อากาศ

ตามชอ งวางระหวางเม็ดดิน สวนน้ำบาดาลเปน

น้ำที่ไหลซมึ ลึกลงไปและถูกกักเก็บไวในชั้นหนิ

หรอื ช้ันดนิ จนอ่ิมตัวไปดวยน้ำ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถิ่น

ว 3.2 ม 2/9 สรา ง - แหลงน้ำผวิ ดินและแหลงนำ้ ใตด นิ ถูกนำมาใช การใชประโยชน

แบบจำลองที่อธิบาย ในกจิ กรรมตาง ๆ ของมนุษย สง ผลตอ การ จากแหลงนำ้ ใตด นิ

การใชน้ำ และนำเสนอ จดั การการใชประโยชนน ้ำและคณุ ภาพของ และแหลงน้ำผวิ ดนิ

แนวทางการใชน ำ้ อยาง แหลง น้ำ เน่ืองจากการเพิ่มขึ้นของจำนวน ภายในชุมชน

ยง่ั ยืนในทองถิน่ ของ ประชากร การใชประโยชนพื้นที่ในดานตา ง ๆ

ตนเอง เชน ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และ

การเปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศ ทำใหเกดิ การ

เปลย่ี นแปลงปรมิ าณนำ้ ฝนในพ้ืนที่ลมุ นำ้ และ

แหลง นำ้ ผวิ ดนิ ไมเ พียงพอสำหรับกิจกรรมของ

มนษุ ย นำ้ จากแหลง น้ำใตดินจึงถกู นำมาใชมาก

ข้ึน สง ผลใหป รมิ าณน้ำใตดินลดลงมาก

จึงตองมีการจดั การใชน ำ้ อยา งเหมาะสมและ

ย่งั ยนื ซง่ึ อาจทำไดโ ดยการจดั หาแหลงนำ้ เพื่อให

มแี หลง น้ำเพียงพอสำหรบั การดำรงชวี ิต

การจดั สรรและการใชนำ้ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

การอนุรักษแ ละฟนฟแู หลงนำ้ การปอ งกันและ

แกไขปญหาคุณภาพน้ำ

ม.2 ว 3.2ม 2/10 สรา ง - นำ้ ทว ม การกดั เซาะชายฝง ดินถลม หลุมยุบ ภัยพบิ ัติทเ่ี กิดข้ึนใน
แบบจำลองท่ีอธบิ าย แผนดินทรุด มกี ระบวนการเกิดและผลกระทบ ทองถ่นิ /จังหวดั
กระบวนการเกิดและ ท่แี ตกตางกัน ซ่งึ อาจสรา งความเสียหายรา ยแรง
ผลกระทบของน้ำทวม แกช ีวิต และทรัพยส ิน
การกัดเซาะชายฝง ดนิ - นำ้ ทว ม เกดิ จากพื้นที่หน่งึ ไดรบั ปรมิ าณน้ำเกิน
ถลม หลมุ ยบุ แผน ดิน กวาทีจ่ ะกักเก็บได ทำใหแ ผน ดินจมอยูใตน้ำ
ทรดุ โดยขน้ึ อยกู บั ปริมาณน้ำและสภาพทาง
ธรณวี ิทยาของพน้ื ที่
- การกดั เซาะชายฝง เปน กระบวนการ
เปลย่ี นแปลงของชายฝง ทะเลทเ่ี กิดข้นึ
ตลอดเวลาจากการกดั เซาะของคลืน่ หรอื ลม ทำ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่ิน

ใหต ะกอนจากที่หน่งึ ไปตกทับถมในอกี บริเวณ

หนึ่ง แนวของชายฝง เดมิ จึงเปล่ยี นแปลงไป

บริเวณที่มตี ะกอนเคล่ือนเขา มานอ ยกวา ปริมาณ

ท่ตี ะกอนเคล่อื นออกไป ถือวา เปนบรเิ วณท่มี ี

การกดั เซาะชายฝง

- ดินถลม เปน การเคล่ือนทข่ี องมวลดินหรอื หิน

จำนวนมากลงตามลาดเขา เนื่องจากแรงโนม

ถวงของโลกเปนหลัก ซง่ึ เกิดจากปจจยั สำคญั

ไดแก ความลาดชันของพน้ื ที่ สภาพธรณวี ิทยา

ปรมิ าณนำ้ ฝน พชื ปกคลมุ ดนิ และการใช

ประโยชนพน้ื ท่ี

- หลุมยุบ คือ แอง หรือหลมุ บนแผน ดินขนาด

ตาง ๆ ที่อาจเกิดจากการถลมของโพรงถำ้

หนิ ปนู เกลอื หินใตด นิ หรือเกิดจากนำ้ พัดพา

ตะกอนลงไปในโพรงถ้ำหรือธารนำ้ ใตดิน

แผน ดินทรุดเกดิ จากการยบุ ตัวของชัน้ ดนิ หรือ

หินรว น เมื่อมวลของแขง็ หรือของเหลวปริมาณ

มาก ทรี่ องรับอยูใตช ั้นดินบริเวณนน้ั ถกู

เคลือ่ นยา ยออกไปโดยธรรมชาตหิ รือโดยการ

กระทำของมนุษย

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยเี พอื่ การดำรงชวี ิตในสังคมทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลงอยาง

รวดเรว็ ใชค วามรแู ละทกั ษะทางดานวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และศาสตรอ่ืน ๆ เพ่ือ

แกปญ หาหรือพฒั นางานอยางมคี วามคิดสรางสรรคดว ยกระบวนการออกแบบเชิง

วศิ วกรรม เลอื กใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอชวี ิต สังคม และ

สง่ิ แวดลอม

สาระการ

ช้ัน ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง เรยี นรู

ทอ งถน่ิ

ม.2 ว 4.1 ม.2/1 คาดการณแนวโนม - สาเหตุหรอื ปจ จยั ตาง ๆ เชน ความกาวหนา -

เทคโนโลยที จ่ี ะเกดิ ขึน้ โดย ของศาสตรตาง ๆ การเปลย่ี นแปลงทางดาน

พจิ ารณาจากสาเหตุหรือปจจัยท่ี เศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ทำใหเทคโนโลยมี ี

สง ผลตอการเปล่ยี นแปลงของ การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

เทคโนโลยี และวิเคราะห - เทคโนโลยแี ตละประเภทมผี ลกระทบตอ

เปรียบเทียบ ตดั สนิ ใจเลอื กใช ชวี ติ สังคม และส่ิงแวดลอ มที่แตกตางกัน จึง

เทคโนโลยี โดยคำนงึ ถงึ ตองวเิ คราะหเ ปรียบเทียบขอดี ขอเสยี และ

ผลกระทบทีเ่ กดิ ขน้ึ ตอชวี ิต สังคม ตัดสินใจเลอื กใชใ หเ หมาะสม

และสิ่งแวดลอม

ว 4.1 ม2/2 - ปญ หาหรอื ความตองการในชุมชนหรอื

ระบุปญหาหรอื ความตองการใน ทองถน่ิ มีหลายอยาง ขนึ้ กบั บริบทหรอื

ชมุ ชนหรือทองถน่ิ สรปุ กรอบ สถานการณทปี่ ระสบ เชน ดา นพลงั งาน

ของปญหา รวบรวม วิเคราะห สงิ่ แวดลอ ม การเกษตร การอาหาร

ขอมูลและแนวคิดท่ีเกีย่ วของกับ - การระบุปญหาจำเปนตองมีการวเิ คราะห

ปญ หา สถานการณของปญหาเพอ่ื สรุปกรอบของ

ปญ หา แลว ดำเนนิ การสืบคน รวบรวมขอมลู

ความรูจากศาสตรต าง ๆ ท่ีเกี่ยวของ เพื่อ

นำไปสูการออกแบบแนวทางการแกปญหา

ว 4.1ม 2/3 - การวิเคราะห เปรยี บเทยี บ และตดั สินใจ

ออกแบบวิธกี ารแกป ญ หา โดย เลอื กขอมูลที่จำเปน โดยคำนึงถงึ เงื่อนไขและ

วเิ คราะหเปรียบเทยี บ และ ทรพั ยากร เชน งบประมาณ เวลา ขอมลู และ

ตดั สนิ ใจเลือกขอมูลทจ่ี ำเปน สารสนเทศ วัสดุ เคร่ืองมือและอปุ กรณ ชว ย

ภายใตเงอ่ื นไขและทรัพยากรท่ีมี ใหไ ดแ นวทางการแกปญหาที่เหมาะสม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

อยู นำเสนอแนวทางการ - การออกแบบแนวทางการแกปญหาทำได

แกปญ หาใหผูอ่นื เขา ใจ วางแผน หลากหลายวธิ ี เชน การรา งภาพ การเขยี น

ขนั้ ตอนการทำงานและ แผนภาพ การเขียนผงั งาน

ดำเนนิ การแกปญ หาอยา งเปน - การกำหนดข้นั ตอนระยะเวลาในการทำงาน

ขัน้ ตอน กอ น

สาระการ

ชั้น ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง เรยี นรู

ทอ งถนิ่

ม.2 ว 4.1ม 2/4 ทดสอบ - การทดสอบและประเมนิ ผลเปน การ

ประเมินผล และอธบิ ายปญ หา ตรวจสอบชิน้ งาน หรอื วิธกี ารวา สามารถ

หรือขอ บกพรองทเ่ี กดิ ข้นึ ภายใต แกปญ หาไดตามวตั ถปุ ระสงคภายใตกรอบ

กรอบเงื่อนไข พรอมท้ังหาแนว ของปญ หา เพ่ือหาขอบกพรอง และ

ทางการปรบั ปรงุ แกไข และ ดำเนนิ การปรับปรงุ ใหส ามารถแกไขปญ หาได

นำเสนอผลการแกป ญหา - การนำเสนอผลงานเปน การถา ยทอดแนวคิด

เพอื่ ใหผูอ่นื เขา ใจเก่ยี วกับกระบวนการทำงาน

และช้นิ งานหรอื วธิ กี ารที่ได ซึ่งสามารถทำได

หลายวธิ ี เชน การเขียนรายงาน การทำแผน

นำเสนอผลงาน การจัดนิทรรศการการ

นำเสนอผานสื่อออนไลน

ว 4.1ม 2/5 ใชค วามรู และ - วสั ดุแตละประเภทมสี มบตั ิแตกตา งกัน เชน

ทกั ษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ ไม โลหะ พลาสติก จึงตองมกี ารวิเคราะห

เครอื่ งมอื กลไก ไฟฟา และ สมบัติ เพ่อื เลือกใชใหเหมาะสมกับลกั ษณะ

อิเลก็ ทรอนกิ ส เพอ่ื แกป ญ หา ของงาน

หรือพัฒนางานไดอยา งถกู ตอง - การสรางช้นิ งานอาจใชค วามรู เรือ่ งกลไก

เหมาะสม และปลอดภยั ไฟฟา อิเล็กทรอนิกส เชน LED มอเตอร บซั

เซอร เฟอง รอก ลอ เพลา

- อปุ กรณและเคร่ืองมือในการสรา งชน้ิ งาน

หรอื พฒั นาวิธีการมีหลายประเภท ตอ ง

เลือกใชใ หถ ูกตอง เหมาะสม และปลอดภยั

รวมทั้งรูจักเกบ็ รักษา

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจและใชแ นวคิดเชิงคำนวณในการแกป ญ หาท่พี บในชวี ิตจรงิ อยา งเปน ขนั้ ตอนและเปน

ระบบ ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู การทำงาน และการแกปญ หา

ไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ รูเ ทาทนั และมีจรยิ ธรรม

ช้ัน ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทองถ่ิน

ม.2 ว 4.2 ม 2/1 ออกแบบ - แนวคดิ เชิงคำนวณ

อลั กอริทมึ ที่ใชแนวคิดเชงิ - การแกปญหาโดยใชแ นวคดิ เชงิ คำนวณ

คำนวณในการแกป ญ หา หรือ - ตัวอยา งปญหา เชน การเขาแถวตามลำดับ

การทำงานทีพ่ บในชีวติ จรงิ ความสูงใหเ ร็วที่สุด จดั เรียงเสื้อใหหาไดงา ย

ทีส่ ดุ

- ตัวดำเนินการบลู นี

ม.2 ว 4.2 ม 2/2 ออกแบบและ - ฟงกชนั

เขยี นโปรแกรมที่ใชตรรกะและ - การออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีมกี ารใช

ฟง กชนั ในการแกปญหา ตรรกะ และฟงกชนั

- การออกแบบอัลกอริทึม เพื่อแกป ญหา

อาจใชแ นวคิดเชิงคำนวณในการออกแบบ

เพือ่ ให การแกปญ หามีประสิทธภิ าพ

- การแกป ญหาอยางเปนข้ันตอนจะชว ยให

แกป ญหาไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

- ซอฟตแ วรท่ีใชใ นการเขยี นโปรแกรม เชน

Scratch, python, java, c

- ตวั อยา งโปรแกรม เชน โปรแกรมตัดเกรด

หาคำตอบทงั้ หมดของอสมการหลายตัวแปร

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถ่ิน

ว 4.2 ม 2/3 อภปิ ราย - ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภยั

องคประกอบและหลกั การ โดยเลอื กแนวทางปฏบิ ัตเิ มื่อพบเน้ือหาท่ีไม

ทำงานของระบบคอมพวิ เตอร เหมาะสม เชน แจงรายงานผเู กย่ี วขอ ง

และเทคโนโลยกี ารสอื่ สาร เพื่อ ปองกันการเขามาของขอ มลู ที่ไมเหมาะสม

ประยุกตใชง านหรือแกป ญ หา ไมต อบโต ไมเผยแพร

เบอื้ งตน - การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งมีความ

รับผดิ ชอบ เชน ตระหนกั ถงึ ผลกระทบใน

การเผยแพรขอมูล

- การสรา งและแสดงสิทธิความเปนเจา ของ

ผลงาน

- การกำหนดสิทธิการใชขอ มูล

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 3
ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแกนกลางและสาระการเรยี นรทู อ งถนิ่

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวา งสิ่งไมมีชีวิตกับสงิ่ มีชีวิต และ

ความสมั พันธระหวางสิง่ มีชีวิตกับส่ิงมชี ีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถา ยทอดพลังงาน การ

เปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและผลกระทบที่มีตอ

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและการ

แกไ ขปญหาส่งิ แวดลอ ม รวมทั้งนำความรูไ ปใชประโยชน

ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถนิ่

ม.3 ว 1.1 ม3/1อธบิ ายปฏสิ ัมพนั ธ - ระบบนิเวศประกอบดวยองคประกอบที่มีชีวิต สวน

ขององคป ระกอบของระบบ เชน พืช สัตว จุลินทรีย และองคประกอบที่ไมมี พฤกษศาสตร

นิเวศที่ไดจ ากการสำรวจ ชีวิต เชน แสง น้ำ อุณ ห ภูมิ แรธาตุ แกส สวนปา ในโรงเรียน

องคประกอบเหลาน้ีมีปฏิสัมพันธกัน เชน พืช และชุมชน

ตองการแสง น้ำ และแกสคารบอนไดออกไซด ใน

การสรางอาหาร สัตวตองการอาหาร และ

สภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมในการดำรงชีวิต เชน

อุณหภูมิ ความช้ืน องคประกอบทั้งสองสวนนี้

จะตองมีความสัมพันธกันอยางเหมาะสม ระบบ

นิเวศจึงจะสามารถคงอยตู อไปได

ว 1.1 ม3/2 อธิบายรูปแบบ - ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธกันใน

ความ สัมพันธร ะหวาง รูปแบบตาง ๆ เชน ภาวะพง่ึ พากนั ภาวะอิงอาศัย

สงิ่ มีชวี ติ กับสงิ่ มชี ีวิตรปู แบบ ภาวะเหยือ่ กบั ผลู า ภาวะปรสิต

ตา ง ๆ ในแหลง ท่ีอยเู ดียวกัน - ส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยูรวมกันในแหลง

ทไ่ี ดจ ากการสำรวจ ท่ีอยูเดียวกัน ในชวงเวลาเดียวกัน เรียกวา

ประชากร

- กลุมสิ่งมีชีวิตประกอบดวยประชากรของ

สิ่งมีชีวิตหลาย ๆ ชนิด อาศัยอยูรวมกันในแหลง

ท่ีอยูเดยี วกัน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ว 1.1 ม3/3 สรา งแบบจำลอง - กลุมส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศแบงตามหนาที่ได
ในการอธบิ ายการถา ยทอด เปน 3 กลุม ไดแก ผูผลิต ผูบริโภค และผูยอย
พลังงานในสายใยอาหาร สลายสารอินทรีย ส่ิงมีชีวิตทั้ง 3 กลุมนี้ มี

ความสัมพันธกัน ผูผลิตเปนส่ิงมีชีวิตที่สราง
อาหารไดเ อง โดยกระบวนการ

ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถนิ่

ม.3 ว 1.1 ม3/4 อธิบาย สงั เคราะหดว ยแสง ผบู รโิ ภค เปนสงิ่ มชี ีวติ ที่ไม

ความสัมพนั ธข องผผู ลติ สามารถสรางอาหารไดเ อง และตองกนิ ผผู ลิต

ผูบ รโิ ภค และผูยอยสลาย หรือสงิ่ มชี ีวิตอ่นื เปน อาหาร เมื่อผูผ ลติ และ

สารอินทรยี ใ นระบบนเิ วศ ผบู ริโภคตายลง จะถูกยอยโดยผยู อยสลาย

สารอนิ ทรียซึง่ จะเปลย่ี นสารอินทรียเ ปนสารอนิ

ว 1.1 ม3/5 อธิบายการสะสม นทรยี กลับคนื สสู ่ิงแวดลอ ม ทำใหเกดิ การ -

สารพิษในสง่ิ มีชีวติ ในโซ หมุนเวียนสารเปนวัฏจักร จำนวนผูผ ลติ ผูบรโิ ภค

อาหาร และผูยอ ยสลายสารอินทรีย จะตอ งมีความ

เหมาะสม จึงทำใหกลุมส่ิงมชี วี ติ อยไู ดอยา งสมดลุ

- พลงั งานถูกถา ยทอดจากผผู ลติ ไปยงั ผูบรโิ ภค

ลำดบั ตาง ๆ รวมทัง้ ผูยอยสลายสารอินทรยี  ใน

รูปแบบสายใยอาหาร ทีป่ ระกอบดว ย โซอ าหาร

หลายโซท่ีสมั พันธกนั ในการถายทอดพลังงานใน

โซอ าหาร พลังงานทถี่ ูกถายทอดไปจะลดลงเรอื่ ย

ว 1.1 ม3/6 ตระหนักถึง ๆ ตามลำดบั ของการบรโิ ภค
ความสมั พนั ธของสง่ิ มีชวี ติ และ - การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ อาจทำให มี
ส่งิ แวดลอมในระบบนเิ วศ โดย สารพิษสะสมอยูในสงิ่ มชี ีวติ ได จนอาจกอใหเกิด
ไมทำลายสมดุลของระบบ อันตรายตอสง่ิ มชี ีวติ และทำลายสมดลุ ในระบบ
นิเวศ นิเวศ ดังน้นั การดูแลรักษาระบบนิเวศใหเ กดิ
ความสมดุล และคงอยตู ลอดไปจึงเปนส่ิงสำคญั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนวยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลำเลียงสารเขาและออกจาก

เซลล ความสัมพนั ธของโครงสรางและหนา ท่ีของระบบตา ง ๆ ของสัตวแ ละมนษุ ยที่ทำงาน

สัมพันธกัน ความสัมพันธของโครงสรางและหนาท่ีของอวัยวะตาง ๆ ของพืชท่ีทำงาน
สมั พนั ธกัน รวมทั้งนำความรไู ปใชป ระโยชน

ชัน้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรียนรทู อ งถ่ิน

- -- -

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.3 เขา ใจกระบวนการและความสำคัญของการถายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมสารพนั ธุกรรม

การเปลยี่ นแปลงทางพันธกุ รรมท่มี ีผลตอ ส่ิงมชี วี ติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและ

วิวัฒนาการของสิง่ มชี ีวติ รวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน

ช้ัน ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถิ่น

ม.3 ว 1.3 ม3/1 - ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตสามารถถายทอดจาก -

อธิบาย รุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่งได โดยมียีนเปนหนวยควบคุม

ความสัมพนั ธ ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม

ระหวา ง ยนี ดีเอน็ - โครโมโซมประกอบดวย ดีเอ็นเอ และโปรตีน ขดอยูใน

เอ และโครโมโซม นิวเคลียส ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซมมีความสัมพันธกัน

โดยใชแบบจำลอง โดยบางสวนของดีเอ็นเอทำหนาท่ีเปนยีนท่ีกำหนดลักษณะ

ของส่งิ มีชวี ิต

- สิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซม 2 ชุด โครโมโซมท่ีเปนคูกันมีการ

เรียงลำดับของยีนบนโครโมโซมเหมือนกัน เรียกวา

ฮอมอโลกัสโครโมโซม ยีนหน่ึงที่อยูบนคูฮอมอโลกัส

โครโมโซม อาจมีรูปแบบแตกตางกัน เรียกแตละรูปแบบ

ของยีนท่ีตางกันนี้วาแอลลีล ซ่ึงการเขาคูกันของแอลลีลตาง

ๆ อาจสงผลทำใหสิง่ มีชีวิตมลี ักษณะทแี่ ตกตางกันได

- สงิ่ มีชีวติ แตล ะชนิดมีจำนวนโครโมโซมคงท่ี มนุษยมีจำนวน

โครโมโซม 23 คู เปนออโตโซม 22 คู และโครโมโซมเพศ 1

คู เพศหญิง

มโี ครโมโซมเพศเปน XX เพศชายมีโครโมโซมเพศเปน XY

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถ่นิ

ม.3 ว 1.3 ม3/2 -เมนเดลไดศึกษาการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของ

อธบิ ายการ ตนถั่วชนิดหนึ่ง และนำมาสูหลักการพ้ืนฐานของการ

ถา ยทอดลกั ษณะ ถายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมของส่ิงมีชีวติ

ทางพันธกุ รรมจาก - สิ่งมีชวี ิตทม่ี ีโครโมโซมเปน 2 ชดุ ยนี แตล ะ

การผสมโดย ตำแหนงบนฮอมอโลกัสโครโมโซมมี 2 แอลลลี โดยแอล

พิจารณาลักษณะ ลลี หนึ่งมาจากพอ และอีกแอลลีลมาจากแม ซ่ึงอาจมี

เดียวท่แี อลลลี เดน รูปแบบเดียวกนั หรือแตกตา งกนั แอลลลี ทแี่ ตกตางกันน้ี

ขม แอลลลี ดอ ย แอลลีลหนงึ่ อาจมีการแสดงออกขมอีกแอลลีล

อยางสมบรู ณ

ว 1.3 ม3/3 หนึ่งได เรียกแอลลีลนั้นวา เปนแอลลีลเดน สวนแอลลีลท่ี -

อธิบายการเกดิ จโี น ถูกขม อยางสมบรู ณเรยี กวาเปน แอลลีลดอ ย

ไทปแ ละฟโ นไทป - เมื่อมีการสรา งเซลลสืบพันธุ แอลลีลที่เปนคูกัน ในแตละฮ

ของลูก และ อมอโลกัสโครโมโซมจะแยกจากกันไปสูเซลลสืบพันธุแตละ

คำนวณอตั ราสว น เซลล โดยแตละเซลลสืบพันธุจะไดรับเพียง 1 แอลลีล และ

การเกิดจีโนไทป จะมาเขาคูกับแอลลีลที่ตำแหนงเดียวกันของอีกเซลล

และฟโ นไทปของ สืบพันธุหนึ่งเม่ือเกิดการปฏิสนธิ จนเกิดเปนจีโนไทปและ

รนุ ลกู แสดงฟโนไทปใ นรุนลูก

ว 1.3 ม3/4 - กระบวนการแบงเซลลของส่ิงมีชีวิตมี 2 แบบ คือ ไมโทซิส

อธิบายความ และไมโอซสิ

แตกตางของการ - ไมโทซิส เปนการแบงเซลลเพ่ือเพิ่มจำนวนเซลลรางกาย

แบง เซลลแ บบไมโท ผลจากการแบงจะไดเซลลใหม 2 เซลล ที่มีลักษณะและ

ซสิ และไมโอซสิ จำนวนโครโมโซมเหมอื นเซลลตัง้ ตน

- ไมโอซิส เปนการแบงเซลลเพื่อสรางเซลลสืบพันธุ ผลจาก

การแบงจะไดเซลลใหม 4 เซลล ท่ีมีจำนวนโครโมโซมเปน

คร่ึงหนึ่งของเซลลตั้งตน เม่ือเกิดการปฏิสนธิของเซลล

สืบพันธุ ลูกจะไดรับการถายทอดโครโมโซมชุดหนึ่งจากพอ

และอีกชุดหนึ่งจากแม จึงเปนผลใหรุนลูกมีจำนวน

โครโมโซมเทา กบั รุนพอแมแ ละจะคงทใ่ี นทุกๆ รนุ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถนิ่

ม.3 ว 1.3 ม3/5 บอก - การเปล่ยี นแปลงของยีนหรือโครโมโซม สง ผลใหเ กิดการ

ไดว าการเปลยี่ น เปลีย่ นแปลงลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของส่งิ มชี ีวิต เชน

แปลงของยีนหรือ โรคธาลัสซีเมยี เกิดจากการเปล่ยี นแปลงของยีน กลมุ อาการ

โครโมโซมอาจทำให ดาวนเกดิ จากการเปลี่ยนแปลงจำนวนโครโมโซม

เกิดโรคทาง - โรคทางพันธกุ รรมสามารถถายทอดจากพอแมไ ปสลู กู ได

พันธุกรรม พรอมท้ัง ดังน้ันกอ นแตง งานและมบี ุตรจึงควรปอ งกันโดยการตรวจ

ยกตัวอยางโรคทาง และวนิ จิ ฉัยภาวะเส่ยี งจากการถายทอดโรคทางพนั ธุกรรม

พันธุกรรม

ว 1.3 ม3/6

ตระหนกั ถึง

ประโยชนข อง

ความรเู ร่อื งโรคทาง

พันธกุ รรม โดยรวู า

กอ นแตงงานควร

ปรกึ ษาแพทย เพอื่

ตรวจและวินจิ ฉัย

ภาวะเส่ียงของลูกที่

อาจเกิดโรคทาง

พันธกุ รรม

ว 1.3 ม3/7 - มนุษยเ ปลีย่ นแปลงพนั ธกุ รรมของส่ิงมีชวี ิตตามธรรมชาติ -

อธบิ ายการใช เพือ่ ใหไ ดส่งิ มชี วี ติ ที่มลี กั ษณะตามตองการ เรียกสิ่งมีชีวติ นี้

ประโยชนจาก วา สิง่ มีชวี ติ ดดั แปรพนั ธกุ รรม

ส่ิงมชี ีวิตดัดแปร - ในปจจบุ ันมนุษยมกี ารใชประโยชนจากส่ิงมีชีวติ ดดั แปร

พันธุกรรม และ พนั ธุกรรมเปนจำนวนมาก เชน การผลติ อาหาร การผลิตยา

ผลกระทบท่ีอาจมี รกั ษาโรค การเกษตร อยา งไรกด็ ี สังคมยังมคี วาม

ตอ มนุษยและ กังวลเกยี่ วกับผลกระทบของส่ิงมีชีวิตดดั แปรพนั ธุกรรมที่มี

ส่ิงแวดลอม โดยใช ตอ สิ่งมชี ีวติ และสงิ่ แวดลอ ม ซ่ึงยงั ทำการตดิ ตามศกึ ษา

ขอมลู ท่รี วบรวมได ผลกระทบดงั กลาว

- ความหลากหลายทางชีวภาพ มี 3 ระดับ ไดแ ก ความ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ว 1.3 ม3/8 หลากหลายของระบบนิเวศ

ตระหนักถึง

ประโยชนแ ละ

ผลกระทบของ

ส่งิ มีชวี ติ ดดั แปร

พนั ธุกรรมท่ีอาจมี

ตอ มนษุ ยและ

สิง่ แวดลอม โดย

การเผยแพรความรู

ท่ีไดจากการโตแยง

ทางวิทยาศาสตร

ซงึ่ มีขอมลู สนับสนุน

ช้ัน ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถนิ่

ม.3 ว 1.3 ม3/9 เปรยี บเทยี บความ ความหลากหลายของชนดิ สง่ิ มชี ีวติ และ

หลากหลายทางชีวภาพ ในระดบั ความหลากหลายทางพันธุกรรม ความ

ชนิดส่งิ มชี ีวิตในระบบนิเวศตา ง ๆ หลากหลายทางชีวภาพนม้ี คี วามสำคญั ตอ

ว 1.3 ม3/10 อธบิ าย การรกั ษาสมดุลของระบบนิเวศ ระบบ

ความสำคัญของความหลากหลาย นิเวศท่ีมคี วามหลากหลายทางชวี ภาพสูง

ทางชีวภาพที่มีตอการรักษาสมดุล จะรกั ษาสมดลุ ไดด ีกวาระบบนเิ วศที่มี

ของระบบนิเวศ และตอมนุษย ความหลากหลายทางชวี ภาพต่ำกวา

ว 1.3 ม3/11 แสดงความ นอกจากน้ีความหลากหลายทางชวี ภาพยัง

ตระหนกั ในคุณคา และ มคี วามสำคัญตอมนุษยใ นดานตาง ๆ เชน

ความสำคัญของความหลากหลาย ใชเ ปน อาหาร ยารกั ษาโรค วัตถุดบิ ใน

ทางชีวภาพ โดยมสี ว นรวมในการ อตุ สาหกรรมตาง ๆ ดงั นั้น จึงเปน หนา ที่

ดูแลรกั ษาความหลากหลายทาง ของทุกคนในการดูแลรกั ษา ความ

ชวี ภาพ หลากหลายทางชวี ภาพใหค งอยู

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก ายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เขา ใจสมบตั ิของสสาร องคประกอบของสสาร ความสมั พนั ธร ะหวา งสมบตั ขิ องสสารกบั

โครงสรา งและแรงยดึ เหน่ียวระหวา งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลง

สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี

ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถิ่น

ม.3 ว 2.1 ม3/1 ระบุสมบัติทาง - พอลิเมอร เซรามิกส และวัสดุผสม เปนวัสดุท่ีใชมาก

กายภาพและการใช ในชวี ติ ประจำวัน

ประโยชนว สั ดปุ ระเภทพอลิ - พอลิเมอรเปนสารประกอบโมเลกุลใหญท่ีเกิดจาก

เมอร เซรามิกส และวัสดุ โมเลกุลจำนวนมากรวมตัวกันทางเคมี เชน พลาสติก

ผสม โดยใชหลักฐานเชิง ยาง เสน ใย ซึ่งเปนพอลเิ มอรท ีม่ ีสมบัติแตกตางกัน โดย

ประจักษ และสารสนเทศ พลาสติกเปนพอลิเมอรท่ีขึ้นรูปเปนรูปทรงตาง ๆ ได

ยางยืดหยุนได สวนเสนใยเปนพอลิเมอรที่สามารถดึง

เปน เสน ยาวได พอลิเมอรจงึ ใชประโยชนไ ดแตกตา งกนั

- เซรามิกสเ ปนวสั ดุทผ่ี ลิตจาก ดิน หิน ทราย และแร

ธาตุตา ง ๆ จากธรรมชาติ และสว นมากจะผานการเผา

ท่อี ณุ หภูมิสูง เพื่อใหเ คร่ืองปนดนิ เผา

ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทอ งถิ่น

ม.3 ว 2.1 ม3/2 ตระหนกั ถึง ช้ินสวนอิเล็กทรอนิกสไดเนื้อสารท่ีแข็งแรงเซรามิกส วัสดุท่ใี ชใ น

คุณคา ของการใชว ัสดุ สามารถทำเปน รปู ทรงตาง ๆ ได สมบตั ิทว่ั ไปของ ชีวิตประจำวัน

ประเภทพอลิเมอร เซรา เซรามิกสจะแข็ง ทนตอการสึกกรอน และเปราะ

มกิ ส และวัสดุผสม โดย สามารถนำไปใชป ระโยชนไ ด เชน ภาชนะทเี่ ปน

เสนอ แนะแนวทางการใช - วัสดผุ สมเปน วสั ดทุ เี่ กิดจากวัสดตุ ั้งแต 2 ประเภท ทมี่ ี

วัสดอุ ยางประหยัดและ สมบัติแตกตางกันมารวมตัวกัน เพื่อนำไปใชประโยชน

คุม คา ไดมากข้ึน เชน เส้ือกันฝนบางชนิด เปนวัสดุผสม

ระหวางผากับยาง คอนกรีตเสริมเหล็ก เปนวัสดุผสม

ระหวา งคอนกรีตกบั เหล็ก

- วัสดุบางชนิดสลายตัวยาก เชน พลาสติก การใช

วัสดุอยางฟุมเฟอยและไมระมัดระวังอาจกอปญหาตอ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สง่ิ แวดลอ ม

ว 2.1 ม3/3 อธิบายการ - การเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือการเปล่ียนแปลงทางเคมี

เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี รวมถงึ การ ของสาร เปนการเปล่ียนแปลงที่ทำใหเกิดสารใหม

จัดเรยี งตัวใหมข องอะตอม โดยสารท่ีเขาทำปฏิกิริยา เรียกวา สารต้ังตน สารใหม

เม่ือเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี โดยใช ที่เกิดข้ึนจากปฏิกิริยา เรียกวา ผลิตภัณ ฑ การ

แบบจำลองและสมการ เกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถเขียนแทนไดดวยสมการ

ขอ ความ ขอ ความ

- การเกิดปฏิกิริยาเคมี อะตอมของสารต้ังตนจะมีการ

จัดเรียงตัวใหม ไดเปนผลิตภัณฑ ซึ่งมีสมบัติแตกตาง

จากสารตั้งตน โดยอะตอมแตละชนิดกอนและหลัง

เกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมมี ีจำนวนเทา กนั

ว 2.1 ม3/4 อธบิ ายกฎทรง - เมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี มวลรวมของสารตั้งตนเทากับ

มวล โดยใชห ลกั ฐานเชิง มวลรวมของผลิตภณั ฑ ซ่ึงเปนไปตามกฎทรงมวล

ประจกั ษ

ว 2.1 ม3/5 วิเคราะห • เม่ือเกิดปฏิกิริยาเคมี มีการถายโอนความรอนควบคู

ปฏิกิริยาดูดความรอน และ ไปกับการจัดเรียงตัวใหมของอะตอมของสาร ปฏิกิริยา

ปฏิกิริยาคายความรอน จาก ท่ีมีการถายโอนความรอนจากส่ิงแวดลอมเขาสูระบบ

การเปลย่ี นแปลงพลังงาน เปนปฏิกิริยาดูดความรอน ปฏิกิริยาที่มีการถายโอน

ความรอ นของปฏิกิริยา ความรอนจากระบบออกสูสิ่งแวดลอมเปนปฏิกิริยา

คายความรอน โดยใชเคร่ืองมือที่เหมาะสมในการวัด

อุณ หภูมิ เชน เทอรมอมิเตอร หัววัดที่สามารถ

ต ร ว จ ส อ บ ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง อุ ณ ห ภู มิ ได อ ย า ง

ตอเนือ่ ง

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง สาระการเรยี นรู
ทอ งถิ่น

ม.3 ว 2.1 ม3/6 อธิบาย - ปฏกิ ิรยิ าเคมที ี่พบในชีวติ ประจำวันมีหลายชนดิ เชน ตัวอยาง

ปฏกิ ิริยาการเกิดสนิมของ ปฏิกริ ิยาการเผาไหม การเกดิ สนิมของเหล็ก ปฏิกิรยิ า ปฏกิ ริ ิยาใน

เหล็ก ปฏิกริ ยิ าของกรดกบั ของกรดกบั โลหะ ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกับเบส ปฏิกิรยิ า ชีวติ ประจำวนั

โลหะ ปฏิกริ ิยาของกรดกบั ของเบสกบั โลหะ การเกดิ ฝนกรด การสังเคราะหด ว ย

เบส และปฏิกิรยิ าของเบส แสง ปฏกิ ิรยิ าเคมีสามารถเขียนแทนไดด ว ยสมการ

กบั โลหะ โดยใชหลักฐานเชงิ ขอความ ซ่ึงแสดงชื่อของสารตง้ั ตนและผลติ ภัณฑ เชน

ประจกั ษ และอธิบาย เชอื้ เพลงิ + ออกซเิ จน → คารบ อนไดออกไซด +

ปฏกิ ริ ิยาการเผาไหม การ น้ำ
เกดิ ฝนกรด การสังเคราะห ปฏกิ ริ ยิ าการเผาไหมเปนปฏกิ ิริยาระหวางสารกับ
ดวยแสง โดยใชส ารสนเทศ ออกซเิ จน สารท่เี กิดปฏิกริ ิยาการเผาไหมส วนใหญเปน
รวมทง้ั เขยี นสมการขอความ สารประกอบทีม่ ีคารบ อนและไฮโดรเจนเปน
แสดงปฏิกริ ยิ าดังกลาว องคป ระกอบ ซ่งึ ถา เกิดการเผาไหมอยา งสมบรู ณ จะ

ไดผ ลิตภณั ฑเ ปน คารบ อนไดออกไซดแ ละน้ำ

- การเกิดสนิมของเหล็ก เกดิ จากปฏิกิรยิ าเคมรี ะหวาง

เหลก็ นำ้ และออกซิเจน ไดผลติ ภัณฑ เปนสนมิ ของ

เหลก็

- ปฏิกริ ยิ าการเผาไหมและการเกิดสนมิ ของเหลก็ เปน

ปฏิกริ ยิ าระหวางสารตา ง ๆ กับออกซเิ จน

- ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกบั โลหะ กรดทำปฏิกริ ยิ ากับโลหะ

ไดห ลายชนดิ ไดผลติ ภัณฑเ ปนเกลอื ของโลหะและแกส

ไฮโดรเจน

- ปฏกิ ิริยาของกรดกับสารประกอบคารบอเนต ได

ผลติ ภัณฑเ ปนแกส คารบอนไดออกไซด เกลือของโลหะ

และน้ำ

- ปฏกิ ิรยิ าของกรดกับเบส ไดผลิตภณั ฑเ ปนเกลอื ของ

โลหะและน้ำ หรืออาจไดเพยี งเกลือของโลหะ

- ปฏิกิรยิ าของเบสกบั โลหะบางชนิด ไดผลิตภณั ฑเปน

เกลอื ของเบสและแกส ไฮโดรเจน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหว้ ยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๒

- การเกิดฝนกรด เปน ผลจากปฏิกิริยาระหวา งนำ้ ฝน
กบั ออกไซดข องไนโตรเจน หรอื ออกไซดของซลั เฟอร
ทำใหน ำ้ ฝนมสี มบัติเปนกรด
- การสงั เคราะหด วยแสงของพืช เปนปฏกิ ริ ยิ าระหวาง
แกสคารบอนไดออกไซดกบั น้ำ โดยมแี สงชวยในการ
เกิดปฏกิ ริ ยิ า ไดผลติ ภัณฑเ ปนน้ำตาลกลูโคสและ
ออกซิเจน

ช้นั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถ่ิน

ม.3 ว 2.1 ม3/7 ระบปุ ระโยชน - ปฏิกิริยาเคมีท่ีพบในชีวิตประจำวันมีทั้งประโยชน

และโทษของปฏิกริ ิยาเคมีท่ี แล ะโท ษ ตอสิ่งมี ชีวิตแล ะส่ิงแวดล อม จึงตอ ง

มตี อสิ่งมีชีวติ และ ระมัดระวังผลจากปฏิกิริยาเคมี ตลอดจนรูจักวิธี

สง่ิ แวดลอม และยกตัวอยาง ปองกันและแกปญหาท่ีเกิดจากปฏิกิริยาเคมีท่ีพบ ใน

วธิ ีการปองกันและแกป ญหา ชีวติ ประจำวนั

ทีเ่ กิดจากปฏกิ ริ ิยาเคมีท่ีพบ - ความรูเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี สามารถนำไปใช

ในชีวิตประจำวนั จากการ ประโยชนในชวี ิตประจำวนั และ

สบื คนขอมลู

ว 2.1 ม3/8 ออกแบบวธิ ี สามารถบรู ณาการกบั คณิตศาสตร เทคโนโลยี และ

แกป ญหาในชวี ิตประจำวัน วิศวกรรมศาสตร เพื่อใชป รับปรงุ ผลติ ภัณฑใ หมี

โดยใชความรู เกี่ยวกบั คณุ ภาพตามตองการหรืออาจสรางนวตั กรรมเพ่ือ

ปฏกิ ิริยาเคมี โดยบูรณาการ ปองกนั และแกปญ หาท่ีเกิดข้ึนจากปฏิกริ ิยาเคมี โดยใช

วิทยาศาสตร คณิตศาสตร ความรเู ก่ยี วกบั ปฏกิ ริ ิยาเคมี เชน การเปล่ยี นแปลง

เทคโนโลยีและ พลังงานความรอนอันเนอื่ งมาจากปฏิกิรยิ าเคมี การ

วศิ วกรรมศาสตร เพิม่ ปริมาณผลผลิต

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 เขา ใจธรรมชาติของแรงในชวี ติ ประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำตอวัตถุ ลกั ษณะการเคลื่อนท่ี

แบบตาง ๆ ของวัตถุ รวมทงั้ นำความรูไปใชประโยชน

ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรูท องถน่ิ
-- - -

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรกายภาพ

มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงและการถายโอนพลงั งาน ปฏสิ มั พนั ธ

ระหวางสสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ติ ประจำวัน ธรรมชาติของคล่นื ปรากฏการณที่

เกี่ยวของกับเสยี ง แสง และคลน่ื แมเหลก็ ไฟฟารวมทง้ั นำความรไู ปใชประโยชน

ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรู
ทองถนิ่

ม.3 ว 2.3 ม 3/1 วิเคราะห เม่อื ตอวงจรไฟฟา ครบวงจรจะมีกระแสไฟฟา -

ความสัมพันธระหวาง ออกจากขว้ั บวกผานวงจรไฟฟาไปยังขวั้ ลบของ

ความตา งศักย แหลงกำเนิดไฟฟา ซึ่งวดั คาไดจากแอมมเิ ตอร

กระแสไฟฟา และความ - คาทีบ่ อกความแตกตา งของพลงั งานไฟฟาตอ

ตา นทาน และคำนวณ หนว ยประจุระหวางจุด 2 จดุ เรียกวา ความตา ง

ปรมิ าณท่เี กีย่ วขอ งโดยใช ศกั ย ซ่งึ วดั คา ไดจ ากโวลตม เิ ตอร

สมการ V = IR

จากหลักฐานเชิงประจักษ

ว 2.3 ม 3/2 เขียนกราฟ - ขนาดของกระแสไฟฟามีคา แปรผันตรงกับความ
ความ สัมพนั ธร ะหวา ง ตา งศักยระหวา งปลายท้งั สองของตวั นำ โดย
กระแส ไฟฟา และความ อตั ราสว นระหวางความตางศักยและกระแสไฟฟา
ตา งศกั ย ไฟฟา มคี าคงท่ี เรียกคาคงท่ีน้ีวา ความตานทาน

ว 2.3 ม 3/3 ใชโ วลต

มิเตอร แอมมเิ ตอรใ นการ

วดั ปริมาณทางไฟฟา

ว 2.3 ม 3/4 วิเคราะห - ในวงจรไฟฟา ประกอบดวยแหลง กำเนดิ ไฟฟา

ความตางศักยไ ฟฟา และ สายไฟฟา และอุปกรณไฟฟา โดยอุปกรณไฟฟา

กระแสไฟฟาในวงจรไฟฟา แตละชิ้นมีความตานทาน ในการตอตวั ตา นทาน

เม่ือตอตัวตานทานหลาย หลายตัว มที ้งั ตอ แบบอนุกรมและแบบขนาน

ตัว แบบอนกุ รมและแบบ - การตอ ตัวตา นทานหลายตัวแบบอนุกรมใน

ขนานจากหลักฐานเชงิ วงจรไฟฟา ความตา งศกั ยท่คี รอ มตัวตา นทาน

ประจกั ษ แตละตวั มีคาเทา กับผลรวมของความตางศักยท ่ี

ครอมตัวตานทานแตล ะตัว

ว 2.3 ม 3/5 เขยี น โดยกระแสไฟฟาท่ผี านตวั ตานทานแตล ะตัวมีคา

แผนภาพวงจรไฟฟาแสดง เทากัน

การตอ ตวั ตานทานแบบ - การตอตัวตา นทานหลายตวั แบบขนานใน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรยี นรู
อนุกรมและขนาน วงจรไฟฟา กระแสไฟฟาที่ผา นวงจรมีคา ทองถ่นิ

ม.3 ว 2.3 ม 3/6 บรรยาย เทา กบั ผลรวมของกระแสไฟฟาท่ผี านตัวตา นทาน

การทำงานของช้นิ สวน แตล ะตวั โดยความตางศกั ยท่คี รอ มตวั ตา นทานแต

อิเล็กทรอนิกสอยางงา ยใน ละตวั มีคาเทากนั

วงจรจากขอ มูลทร่ี วบรวม - ชนิ้ สวนอเิ ล็กทรอนกิ สม ีหลายชนดิ เชน ตวั

ได ตา นทาน ไดโอด ทรานซสิ เตอร ตวั เกบ็ ประจุ โดย

ชิน้ สว นแตล ะชนดิ ทำหนา ที่แตกตางกันเพื่อให

ว 2.3 ม 3/7 เขยี น วงจรทำงานไดตามตองการ

แผนภาพและตอชิน้ สวน - ตัวตา นทานทำหนา ท่คี วบคุมปริมาณ

อเิ ลก็ ทรอนกิ สอยา งงายใน กระแสไฟฟา ในวงจรไฟฟา ไดโอดทำหนาทใี่ ห

วงจรไฟฟา กระแสไฟฟา ผานทางเดยี ว ทรานซิสเตอรทำ

หนา ทีเ่ ปนสวิตชป ดหรือเปด วงจรไฟฟาและ

ควบคมุ ปรมิ าณกระแสไฟฟา ตวั เก็บประจุทำ

หนาท่ีเก็บและคายประจไุ ฟฟา

- เคร่ืองใชไฟฟาอยางงา ยประกอบดว ย

ชน้ิ สว นอิเลก็ ทรอนิกสห ลายชนิดทท่ี ำงานรวมกนั

การตอวงจรอิเล็กทรอนิกสโดยเลือกใชชิ้นสวน

อิเลก็ ทรอนิกสท ี่เหมาะสมตามหนา ทขี่ องชิ้นสว น

น้ัน ๆ จะสามารถทำใหว งจรไฟฟาทำงานไดตาม

ตองการ

ว 2.3 ม 3/8 อธบิ ายและ - เครื่องใชไฟฟาจะมีคากำลังไฟฟาและความตาง การคำนวณการใช

คำนวณพลังงานไฟฟา โดย ศักยกำกับไว กำลังไฟฟามีหนวยเปนวัตต ความ พลงั งานไฟฟา

ใชส มการ W = Pt รวมทั้ง ตางศักย มีหนวยเปนโวลต คาไฟฟาสวนใหญคิด บานของตนเอง

คำนวณคา ไฟฟา ของ จากพลังงานไฟฟาท่ีใชทั้งหมด ซึ่งหาไดจากผล

เครอื่ งใชไฟฟา ในบาน คูณของกำลังไฟฟา ในหนวยกิโลวัตต กับเวลาใน

หนวยช่ัวโมง พลังงานไฟฟามีหนวยเปน กิโลวัตต

ช่วั โมง หรือหนว ย

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลห้วยกระเจา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒


Click to View FlipBook Version