The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bandonyanang3, 2021-11-09 01:41:30

หลักสูตรสถานศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษา

Keywords: ูหลักสูตรสถานศึกษา



หลกั สตู รสถานศึกษา

โรงเรียนบา้ นดอนยานาง

พทุ ธศักราช 2564

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
(พทุ ธศกั ราช 2561)

โรงเรยี นบ้านดอนยานาง
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

หลกั สตู รสถานศึกษา

โรงเรยี นบ้านดอนยานาง
พทุ ธศักราช 2564

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
(พุทธศกั ราช 2561)

ประกาศโรงเรยี นบ้านดอนยานาง
เร่อื ง ใหใ้ ช้หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นดอน พุทธศกั ราช 2564
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (พุทธศกั ราช 2561)

--------------------------------------------------------------

โรงเรยี นบา้ นดอนยานาง สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 ไดด้ าเนินการ
พฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านดอนยานาง พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น
พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (พทุ ธศกั ราช 2561) และเอกสารประกอบหลกั สูตรขึ้น เพ่อื กาหนดใช้เปน็ กรอบและ
ทศิ ทางในการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียนบ้านดอนยานาง

โดยโรงเรียนได้จัดทาและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน คือ กาหนดมาตรฐาน
การเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดในหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นทุกคนให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจติ สานึก
ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข มคี วามรู้และทกั ษะพนื้ ฐาน รวมทง้ั เจตคติท่จี าเป็นต่อการศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอด
ชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตาม
ศักยภาพ

ท้ังนี้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านดอนยานางได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พื้นฐาน เม่ือวันท่ี 19 เดอื นกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 จงึ ประกาศให้ใช้หลกั สตู รโรงเรียนต้งั แต่บดั นเี้ ปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 17 เดอื นพฤษภาคม 2564

(นายอสิ ระ เพชรกันหา) (นายวิทูร ศรีนุกลู )
ประธานกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐานโรงเรียนบา้ นดอนยานาง ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านดอนยานาง

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนดอนยานาง (พุทธศักราช ๒๕๖๔) ... ข

คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่
สพฐ.1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 แลคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่
30/2561 ลงวันที่ 5 มกราคม 2561 ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง 2560) โดยมีคาสั่งให้โรงเรียนดาเนินการใช้หลักสูตรใน
ปีการศึกษา 2561 โดยให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ ประถมศึกษาปีที่ 4 ตั้งแต่ปีการศึกษา2561
เป็นต้นมา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและ
กรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษท่ี ๒๑ เพื่อให้สอดคล้องกบั นโยบายและเปา้ หมายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

โรงเรียนบ้านดอนยานาง จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรของสถานศึกษาโรงเรียนบ้านดอนยานาง
(พุทธศักราช 256๔) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อ
นาไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสตู รของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดย
มีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์
จดุ หมาย สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ัด โครงสร้างเวลา
เรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาส ให้โรงเรียน
สามารถกาหนดทิศทางในการจดั ทาหลักสตู รการเรียนการสอนในแตล่ ะระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมกี รอบ
แกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพ่ือตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ 4.0 มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพมี
ความร้อู ยา่ งแท้จริง และมีทักษะในศตวรรษที่ 21

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ในเอกสารเล่มนี้ ช่วยทาให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในทุกระดับ
เห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้หน่วยงาน
ท่ีเก่ียวข้องในระดับท้องถ่ินและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสตู รได้อยา่ งมั่นใจ ทาให้การจัดทาหลักสูตรในระดับ
สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งข้ึน อีกท้ังยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังน้ันในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับต้ังแต่
ระดับชาติจนกระท่ังถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ีกาหนดไว้ใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม
ผ้เู รยี นทกุ กลมุ่ เปา้ หมายในระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

การจดั หลักสตู รการศึกษาข้ันพ้นื ฐานจะประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่ายท่เี กี่ยวข้อง
ทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคล ต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพ่ือพัฒนาเยาวชนของชาตไิ ปสู่
คุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ กี่ าหนดไว้

งานวชิ าการ
โรงเรียนบ้านดอนยานาง

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านดอนยานาง (พุทธศักราช ๒๕๖๔) ... ค

สารบัญ

เร่อื ง หนา้
ประกาศโรงเรียน ก
คานา ข
สารบญั ค
ส่วนท่ี ๑ ความนา ๑

วสิ ยั ทัศน์ของหลักสตู รสถานศกึ ษา ๓
หลกั การ ๔
จดุ มงุ่ หมาย ๔
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๖
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๗
หลักเศรษฐกิจพอเพียง ๘
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๑๓
หลกั สตู รต้านทจุ ริตศกึ ษา ๑๕
สว่ นท่ี ๒ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นบา้ นดอนยานาง ๒๓
ส่วนท่ี ๓ คาอธบิ ายรายวชิ า ๒๕
กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ๓๒
กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ๓๙
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๙
กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕๖
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ ๖๓
รายวิชาเพมิ่ เตมิ หน้าท่ีพลเมือง ๗๒
กลุ่มสาระการเรยี นสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ตา้ นทจุ ริต) ๗๙
กลุ่มสาระการเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา ๘๖
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ๙๘
กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ๑๐๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๑๑๒
รายวชิ าเพม่ิ เติม ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ๑๑๙
ส่วนที่ ๔ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ๑๒๐
กิจกรรมแนะแนว ๑๓๐
กิจกรรมนักเรยี น ๑๓๘
กิจกรรมชมุ นมุ

2 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนดอนยานาง (พุทธศักราช ๒๕๖๔) ... ๑๔๒
๑๔๔
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๕๓
สว่ นที่ ๔ เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา

ภาคผนวก



สว่ นที่ ๑

สว่ นนำ



ความนา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ.๒๕๖๐) ตาม หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาํ สั่งกระทรวงศึกษาธิการ
ที่ สพฐ.๑๒๓๔/ ๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาํ สั่งสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ท่ี
๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมีคําส่ังให้โรงเรียนดําเนินการใช้หลักสตู รในปี
การศึกษา ๒๕๖๐ โดยให้ใช้ในช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ และ ๔ ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็น
หลักสูตรแกนกลาง ของประเทศ โดยกําหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นร้เู ป็นเป้าหมายและกรอบทิศทาง
ในการพัฒนาคุณภาพ ผ้เู รียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกับ นโยบายและเปา้ หมายของสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

โรงเรียนบา้ นดอนยานาง จึงได้จดั ทําหลกั สูตรสถานศกึ ษา พุทธศักราช ๒๕๖๔ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ใช้
ในทุกระดับช้ัน เพื่อนําไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตร ของสถานศึกษาและ
จดั การเรยี นการสอน อีกทั้งในปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนบ้านดอนยานาง ไดจ้ ดั การเรียน การสอนโดยเน้นให้
ผู้เรียน เกิดความรู้ มีคุณธรรมและเสริมสร้างทักษะอาชีพ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ให้มี
กระบวนการนําหลักสูตรไป สู่การปฏิบัติ โดยมีการกําหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสําคัญ ของผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีวัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์ การวัด
ประเมินผล ให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกําหนดทิศทาง ในการ
จดั ทําหลักสูตรการเรียนการสอนในแตล่ ะระดับตามความพรอ้ มและจุดเนน้ โดยมกี รอบแกนกลาง เปน็ แนวทาง
ท่ชี ัดเจนเพอ่ื ตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวส่สู ังคมคุณภาพ มคี วามรู้ อย่างแทจ้ ริง
และมีทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑

การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสําเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ ทุกฝ่าย ท่ี
เก่ียวข้องทั้งระดับชาติ ชมุ ชน ครอบครัว และบุคคลตอ้ งร่วมรบั ผิดชอบ โดยร่วมกันทํางานอย่างเป็นระบบ และ
ตอ่ เนื่อง ในการวางแผน ดําเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา เยาวชน
ของชาติไปส่คู ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรูท้ กี่ ําหนดไว้



วิสัยทศั น์

โรงเรยี นบ้านดอนยานาง มุ่งให้ผเู้ รียนพฒั นาดา้ นความคิด ทกั ษะกระบวนการ ใหผ้ ู้เรียนพฒั นาตนเอง
ตามศกั ยภาพ มคี ุณธรรม จริยธรรม มีวินยั มคี วามรับผดิ ชอบต่อตนเองและสังคม ภูมิใจในความเปน็ ไทย และ
ใชช้ วี ติ แบบพอเพยี ง

หลักกำร

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน มีหลกั การทสี่ าํ คัญ ดงั นี้
๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจดุ หมายและมาตรฐานการ

เรียนรู้ เป็นเป้าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของ
ความเปน็ ไทยควบคกู่ บั ความเป็นสากล

๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมคี ณุ ภาพ

๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้
สอดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน

๔. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาท่ีมีโครงสรา้ งยดื หยนุ่ ทั้งด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้
๕. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สําคญั
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม ทุก

กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์



จดุ มงุ่ หมำย

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มี
ศกั ยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกําหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศกึ ษาขั้น
พนื้ ฐาน ดงั นี้

๑. มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน ตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถือ ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

๒. มีความรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมที กั ษะ
ชวี ติ

๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี มสี ุขนิสยั และรักการออกก าลงั กาย
๔. มีความรกั ชาติ มจี ิตสาํ นึกในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ มน่ั ในวิถีชีวติ และ การ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๕. มีจติ สาํ นึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนรุ ักษ์และพัฒนาส่งิ แวดล้อม มีจิต
สาธารณะที่มุ่งทาํ ประโยชนแ์ ละสรา้ งสิง่ ทีด่ ีงามในสงั คม และอยูร่ ว่ มกันในสังคมอยา่ งมีความสุข

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ในการพฒั นาผเู้ รียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านดอนยานาง มุ่งเนน้ พัฒนาผู้เรยี นให้
มีคุณภาพตามมาตรฐานทก่ี ําหนด ซึ่งจะช่วยให้ผเู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาํ คัญและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ดงั นี้



สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านดอนยานางมุง่ เน้นใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสาํ คัญ ๕ ประการ
ดงั นี้

๑. ควำมสำมำรถในกำรส่อื สำร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและ ลด
ปัญหาความขัดแย้งต่างๆการเลือกรับหรือไม่รบั ข้อมูล ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใชว้ ิธกี ารสือ่ สาร ทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพโดยคํานึงถงึ ผลกระทบท่มี ตี ่อตนเองและสังคม

๒. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณและการคิดเปน็ ระบบ เพื่อนาํ ไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศ
เพ่ือการตดั สินใจเก่ยี วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม

๓. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ี
เผชญิ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสมั พันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน การป้องกันและ
แก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและ
สง่ิ แวดลอ้ ม

๔. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทํางานและการอยู่ร่วมกันใน สังคม
ดว้ ยการสร้างเสรมิ ความสมั พันธ์อันดรี ะหว่างบุคคล การจดั การปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พึง
ประสงคท์ ส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อน่ื

๕. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทั กษะกระบวนการท างเท คโนโลยี เพื่ อการพั ฒ นาตน เองและสังคม ในด้าน การเรียน รู้
การสอ่ื สาร การทํางาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม



คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้
สามารถอย่รู ว่ มกบั ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซอ่ื สตั ย์สุจริต
๓. มวี นิ ัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อย่อู ย่างพอเพยี ง
๖. มุง่ ม่นั ในการทาํ งาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ



หลกั เศรษฐกิจพอเพียง

๓ ห่วง ๒ เง่อื นไข

 ห่วงที่ ๑ คือ พอประมำณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มากหรือวา่ น้อยจนเกนิ ไปโดย
ตอ้ งไม่ เบียดเบียนตนเองหรือผอู้ ่านให้เดือดร้อน

 ห่วงที่ ๒ คือ มเี หตผุ ล หมายถึง การตดั สินใจเกย่ี วกับ ระดับของความพอเพียงนน้ั จะต้องเป็นไปอยา่ งมี
เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจั จัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนคํานงึ ถงึ ผลที่คาดวา่ จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทํานั้นๆ
อยา่ งรอบคอบ

 หว่ งท่ี ๓ คอื มภี ูมคิ ุ้มกนั ท่ดี ีในตัวเอง หมายถึง การเตรียม ตัวให้พรอ้ มรับผลกระทบและการเปลีย่ นแปลง
ด้านการ ต่างๆ ที่จะเกิดขน้ึ โดยคาํ นงึ ถึงความเป็นไปได้ของ สถานการณ์ต่างๆ ที่คาดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต
ทั้งใกล้และไกล



สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานกาํ หนดมาตรฐานการเรียนรใู้ น ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จํานวน
๓๑ สาระ ๕๕ มาตรฐาน ดังนี้
กลุ่มสำระกำรเรียนรูภ้ ำษำไทย (๕ สาระ ๕ มาตรฐาน)

สำระท่ี ๑ กำรอำ่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคิดเพอื่ นําไปใช้ แกป้ ัญหา ในการดําเนนิ
ชีวติ และมนี สิ ยั รกั การอา่ น
สำระท่ี ๒ กำรเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี น เรอื่ งราวใน
รปู แบบต่างๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอย่างมปี ระสิทธิภาพ
สำระที่ ๓ กำรฟัง กำรดแู ละกำรพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ ึกในโอกาส
ต่างๆ อย่างมวี จิ ารณญาณ และสร้างสรรค์
สำระท่ี ๔ หลกั กำรใช้ภำษำไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา
ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิ ของชาติ
สำระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณคา่ และ
นาํ มาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง

กลุ่มสำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์ (๓ สาระการเรียนรู้ ๗ มาตรฐานการเรยี นรู้)
สำระท่ี ๑ จำนวนและพชี คณติ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจํานวน ระบบจํานวน การดําเนนิ การ ของ

จํานวน ผลทเี่ กดิ ข้ึนจากการดําเนนิ การสมบตั ิของการดําเนินการและนาํ ไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะหแ์ บบรูป ความสมั พันธ์ ฟังก์ชัน ลาํ ดับและอนกุ รม และนาํ ไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชน้ พิ จน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสมั พนั ธ์หรือช่วยแกป้ ัญหา ที่

กําหนดให้
สำระที่ ๒ กำรวัดและเรขำคณติ

มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพื้นฐานเกยี่ วกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงทต่ี ้องการวดั และนําไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ิของรปู เรขาคณิต ความสมั พันธ์ระหวา่ ง รปู เรขาคณติ
และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนาํ ไปใช้



สำระที่ ๓ สถิตแิ ละควำมนำ่ จะเป็น

มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติและใช้ความรู้ทางสถิตใิ นการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค ๓.๒
เข้าใจหลักการนับเบ้ืองตน้ ความน่าจะเปน็ และนําไปใช้

กล่มุ สำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี (๔ สาระ ๑๐ มาตรฐาน)

สำระท่ี ๑ วิทยำศำสตรช์ ีวภำพ

มำตรฐำน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพนั ธ์ระหว่างสงิ่ ไม่มีชีวิตกบั
สิ่งมีชวี ติ และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสงิ่ มชี วี ติ กับสิง่ มีชีวิตตา่ งๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงานการ
เปลย่ี นแปลง แทนท่ใี นระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หา และผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสงิ่ แวดล้อม รวมทั้งนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์

มำตรฐำน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัติของสิง่ มีชวี ติ หน่วยพนื้ ฐานของสิ่งมีชวี ิต การลําเลยี งสารเข้าและออก

จากเซลล์ ความสมั พนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ขี องระบบต่างๆ ของสัตวแ์ ละมนุษยท์ ่ีทาํ งานสมั พันธก์ นั
ความสมั พันธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ท่ีของอวัยวะต่างๆ ของพชื ที่ทาํ งานสมั พันธ์กนั รวมทงั้ นําความรู้ไปใช้
ประโยชน์

มำตรฐำน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาํ คัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม สาร
พันธุกรรม การเปลยี่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมทมี่ ีผลตอ่ สงิ่ มชี ีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ฒั นาการของ
สิ่งมีชีวิต รวมทงั้ นําความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สำระท่ี ๒ วิทยำศำสตรก์ ำยภำพ

มำตรฐำน ว ๒.๑ เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมบตั ขิ อง
สสารกบั โครงสร้างและแรงยึดเหน่ยี วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี

มำตรฐำน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจาํ วัน ผลของแรงทก่ี ระทาํ ต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคล่อื นทีแ่ บบตา่ งๆ ของวตั ถุ รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏิสมั พันธ์ระหว่าง
สสารและพลังงาน พลงั งานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณ์ท่เี กยี่ วข้องกบั เสียง แสง และ
คล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมท้ังนาํ ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สำระที่ ๓ วิทยำศำสตรโ์ ลกและอวกำศ

มำตรฐำน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี
ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้งั ปฏิสมั พันธ์ภายในระบบสุริยะทสี่ ่งผลต่อส่งิ มีชีวิตและการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีอวกาศ

๑๐

มำตรฐำน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณีพบิ ตั ภิ ยั กระบวนการเปล่ยี นแปลงลม ฟา้ อากาศ และภูมอิ ากาศโลก รวมทงั้
ผลต่อ ส่งิ มีชวี ิตและสิง่ แวดลอ้ ม

สำระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มำตรฐำน ว ๔.๑ เขา้ ใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพอ่ื การดาํ รงชวี ิตในสังคมที่มีการเปลยี่ นแปลง
อย่างรวดเรว็ ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อ่นื ๆ เพอ่ื แก้ปญั หาหรือพัฒนา
งานอย่างมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดย
คํานงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ติ สงั คม และสง่ิ แวดล้อม

มำตรฐำน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชิงคํานวณในการแก้ปัญหาท่พี บในชวี ติ จรงิ อย่างเปน็ ข้นั ตอน
และเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการเรียนรู้ การทํางาน และการแก้ปญั หาได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ รู้เทา่ ทัน และมีจริยธรรม

กลมุ่ สำระกำรเรียนรสู้ ังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม (๕ สาระ ๑๑ มาตรฐาน)

สำระท่ี ๑ ศำสนำ ศลี ธรรม จริยธรรม

มำตรฐำน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวตั ิ ความสําคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ท่ตี นนบั ถือและศาสนาอ่ืน มีศรทั ธาทถี่ ูกต้อง ยดึ ม่ัน และปฏิบตั ิตามหลกั ธรรม เพื่ออย่รู ่วมกนั อยา่ งสนั ตสิ ุข

มำตรฐำน สด.๒ เขา้ ใจ ตระหนักและปฏิบัตติ นเปน็ ศาสนิกชนท่ดี ี และธาํ รงรักษาพระพุทธศาสนา
หรอื ศาสนาท่ีตนนับถือ

สำระท่ี ๒ หน้ำทพ่ี ลเมอื งวัฒนธรรมและกำรดำเนนิ ชีวิตในสังคม

มำตรฐำน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ที่ของการเป็นพลเมอื งดี มีค่านิยมทีด่ ีงามและธํารง
รกั ษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดาํ รงชีวิตอยู่รว่ มกนั ในสังคมไทยและสงั คมโลกอยา่ งสนั ตสิ ุข

มำตรฐำน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจั จุบนั ยดึ มนั่ ศรัทธา และธํารงรกั ษา ไว้
ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข

สำระท่ี ๓ เศรษฐศำสตร์

มำตรฐำน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจดั การทรพั ยากรในการผลติ และการบริโภคการใช้
ทรพั ยากรที่มีอยู่จํากัดได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและคุ้มคา่ รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือการ
ดาํ รงชีวติ อย่างมดี ุลยภาพ

มำตรฐำน ส ๓.๒ เขา้ ใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสมั พันธ์ทางเศรษฐกิจ และ
ความจําเปน็ ของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก

๑๑

สำระที่ ๔ ประวตั ิศำสตร์

มำตรฐำน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถ ใช้
วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อยา่ งเป็นระบบ

มำตรฐำน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในดา้ นความสัมพนั ธ์และ
การเปลีย่ นแปลงของเหตุการณอ์ ยา่ งต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสาํ คัญและสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบท่ีเกิดขึ้น

มำตรฐำน ส ๔.๓ เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาไทยมคี วามรัก ความภมู ใิ จ
และธาํ รงความเปน็ ไทย

สาระที่ ๕ ภมู ศิ าสตร์

มำตรฐำน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพนั ธข์ องสรรพสิง่ ซงึ่ มี ผลตอ่ กัน ใช้
แผนท่ีและเคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตร์ในการคน้ หา วิเคราะห์ และสรปุ ข้อมลู ตามกระบวนการทาง ภูมศิ าสตร์
ตลอดจนใชภ้ ูมิสารสนเทศอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

มำตรฐำน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างมนุษยก์ บั สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดการ
สร้างสรรค์วิถกี ารดาเนินชีวิต มจี ิตสาํ นึกและมสี ่วนร่วมในการจดั การทรัพยากร และสงิ่ แวดลอ้ มเพ่ือการพฒั นา
ที่ ย่ังยืน

กลุ่มสำระกำรเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ (๕ สำระ ๖ มำตรฐำน)

สำระที่ ๑ กำรเจริญเตบิ โตและพัฒนำกำรของมนษุ ย์

มำตรฐำน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ ๒ ชีวติ และ
ครอบครัว

มำตรฐำน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครวั เพศศึกษาและมีทักษะในการดําเนินชวี ิต
สาระท่ี ๓ การเคล่ือนไหว การออกกาํ ลงั กาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล

มำตรฐำน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มีทักษะในการเคลอ่ื นไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา

มำตรฐำน พ ๓.๒ รกั การออกกาํ ลงั กาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาปฏบิ ัติเป็นประจํา อย่าง
สํมา่ เสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มํนี ้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสนุ ทรยี ภาพ
ของการกีฬา

สำระท่ี ๔ กำรสร้ำงเสริมสุขภำพ สมรรถภำพและกำรปอ้ งกนั โรค

มำตรฐำน พ ๔.๑ เห็นคณุ ค่าและมีทักษะในการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ การดาํ รงสุขภาพ การปอ้ งกนั โรค
และการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสขุ ภาพ

สำระที่ ๕ ควำมปลอดภัยในชวี ติ

มำตรฐำน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลย่ี งปัจจัยเสีย่ ง พฤติกรรมเส่ยี งต่อสขุ ภาพ อบุ ัติเหตุ การใช้ยา
สารเสพตดิ และความรนุ แรง

๑๒

สำระกำรเรียนรู้ศลิ ปะ (๓ สาระ ๖ มาตรฐาน)

สำระที่ ๑ ทัศนศลิ ป์

มำตรฐำน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลปต์ ามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์
วจิ ารณค์ ุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดต่องานศิลปะอยา่ งอสิ ระช่ืนชมและประยกุ ต์ใช้ ใน
ชีวติ ประจาํ วนั

มำตรฐำน ศ. ๑.๒ เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหว่างทัศนศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรมเห็นคุณค่างาน
ทัศนศิลปท์ เ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรมภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ภูมิปญั ญาไทยและสากล

สำระท่ี ๒ ดนตรี

มำตรฐำน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณค์ ุณคา่
ดนตรี ถ่ายทอดความร้สู กึ ความคิดต่อดนตรีอยา่ งอสิ ระ ช่นื ชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาํ วนั

มำตรฐำน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของ
ดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น ภูมปิ ัญญาไทยและสากล

สำระที่ ๓ นำฏศิลป์

มำตรฐำน ศ. ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์
คณุ คา่ นาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ความคิดอยา่ งอิสระชน่ื ชมและประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาํ วัน

มำตรฐำน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เหน็ คณุ ค่า ของ
นาฏศลิ ปท์ เี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ภูมปิ ัญญาไทยและสากล

กลุ่มสำระกำรเรียนรกู้ ำรงำนอำชีพ (๒ สำระ ๒ มำตรฐำน)

สำระที่ ๑ กำรดำรงชีวิตและครอบครวั

มำตรฐำน ง ๑.๑ เขา้ ใจการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะ การ
จดั การ ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา ทักษะการทํางานรว่ มกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลกั ษณะนิสัยในการทํางาน มีจติ สํานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอ้ ม เพื่อการดาํ รงชีวิต และ
ครอบครัว

สำระที่ ๒ กำรอำชีพ

มำตรฐำน ง ๒.๑ เขา้ ใจ มีทกั ษะที่จาํ เป็น มปี ระสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชพี ใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือ
พัฒนาอาชีพมีคุณธรรมและมีเจตคติทด่ี ีต่ออาชีพ

สำระกำรเรยี นรู้ภำษำต่ำงประเทศ (๔ สำระ ๘ มำตรฐำน)

สำระที่ ๑ ภำษำเพ่อื กำรสื่อสำร

มำตรฐำน ต ๑.๑ เขา้ ใจและตคี วามเร่อื งที่ฟังและอา่ นจากสือ่ ประเภทตา่ ง ๆ และแสดงความคดิ เห็น
อย่างมีเหตุผล

๑๓

มำตรฐำน ต ๑.๒ มที กั ษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปลย่ี นขอ้ มูลข่าวสาร แสดงความรสู้ กึ และ
ความคดิ เหน็ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

มำตรฐำน ต ๑.๓ นาํ เสนอข้อมูลขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเร่ืองต่าง ๆ โดยการ
พดู และการเขียน
สำระที่ ๒ ภำษำและวัฒนธรรม

มำตรฐำน ต ๒.๑ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา และนําไปใชไ้ ด้
อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ

มำตรฐำน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมอื นและความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาและวฒั นธรรมของเจา้ ของ
ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนํามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สำระที่ ๓ ภำษำกับควำมสมั พันธ์กบั กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้อน่ื

มำตรฐำน ต ๓.๑ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กบั กลุม่ สาระการเรยี นรูอ้ ่ืน และเปน็
พนื้ ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทศั นข์ องตน

สำระที่ ๔ ภำษำกบั ควำมสัมพนั ธก์ บั ชุมชนและโลก
มำตรฐำน ต ๔.๑ ใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆทงั้ ในสถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม
มำตรฐำน ต ๔.๒ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และ
การแลกเปลี่ยนเรยี นร้กู ับสงั คมโลก

๑๔

หลกั สตู รต้ำนทจุ ริตศกึ ษำ

กรอบการจดั ทาํ หลกั สูตรหรือชดุ การเรียนรแู้ ละสอ่ื ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกนั การทจุ รติ โดย
ทปี่ ระชมุ ได้ เห็นชอบรว่ มกนั ในการจดั ทาํ หลักสตู รหรอื ชดุ การเรยี นรู้และสื่อประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการ
ป้องกันการทุจรติ หัวข้อวชิ า ๔ วชิ า ประกอบด้วย

๑) การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม

๒) ความอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ

๓) STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจริต

๔) พลเมอื งและความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม

เน้ือหาหลักสตู รหรอื ชดุ การเรียนรู้ดา้ นการป้องกนั การทจุ ริต หลักสตู รการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (ระดับ
ปฐมวัย และป.๑ - ม.๖) มชี อ่ื หลักสูตรว่า หลักสูตรตา้ นทุจรติ ศึกษาเปน็ รายวิชาบูรณาการรว่ มกับกจิ กรรม
พัฒนาผเู้ รยี นในรายวชิ าแนะแนวระดับปฐมวยั ระดบั ประถมศึกษา ชนั้ ปีที่ ๑ – ๖ หลกั สตู รการศึกษาข้นั
พืน้ ฐาน ดาํ เนินการจดั ทาํ เปน็ แผนการจดั การเรียนรูโ้ ดยแยกเป็น ๑๓ ระดับชั้นปี ได้แก่ ระดบั ปฐมวยั ระดบั
ประถมศกึ ษาชัน้ ปที ี่ ๑ - ๖ และระดบั มธั ยมศึกษาช้นั ปีที่ ๑ - ๖ ในแต่ละระดบั ชั้นปี จะใช้เวลาเรยี นทัง้ ปี
จาํ นวน ๔๐ ชวั่ โมง ตอ้ งจดั ทาํ เน้ือหาและกจิ กรรมการเรยี นการสอนใหแ้ ตกตา่ งกัน ตามความเหมาะสมและการ
เรียนรูใ้ น แตล่ ะชว่ งวัย

หลกั สูตรตำ้ นทุจริตศกึ ษำ ระดับหลกั สตู รกำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำน

๑. ชอ่ื หลกั สตู ร “หลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษาเป็นรายวชิ าบรู ณาการรว่ มกับกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนใน
รายวชิ าแนะแนวระดบั ประถมศึกษา”

ตามท่ีสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ร่วมกับสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ดําเนินการจัดทําหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้แ ละสื่อ
ประกอบการ เรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต สําหรับใช้เป็นเน้ือหามาตรฐานกลางให้สถาบันการศึกษาหรือ
หน่วยงานที่ เก่ยี วข้องนําไปใช้ในการเรียนการสอนใหก้ ับกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมทุกระดบั ชั้นเรียน เพ่ือปลูกฝัง
จิตสํานึกในการ แยกประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม จิตพอเพียง การไม่ยอมรับและไม่ทนต่อการ
ทุจริต โดยใช้ช่ือว่า หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) หลักสูตรที่ ๑ หลักสูตร
การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน โดยมีแนว ทางการนําไปใชต้ ามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียน ดังนี้

๑.นําไปจัดเปน็ บรู ณาการในกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนของโรงเรียน
๒.นําไปจดั ในช่ัวโมงลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารู้
๓.นําไปบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม (สาระหนา้ ท่พี ลเมอื ง) หรอื นาํ ไปบรู ณาการกับกล่มุ สาระการเรยี นรอู้ ่ืน ๆ

๑๕

๒. จดุ มุ่งหมำยของรำยวชิ ำ เพอ่ื ให้นกั เรียน
๒.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม
๒.๒ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริต
๒.๓ มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ตา้ นการทจุ รติ
๒.๔ มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสงั คม
๒.๕ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวมได้
๒.๖ ปฏิบตั ติ นเป็นผลู้ ะอายและไม่ทนตอ่ การทจุ ริตทุกรูปแบบ
๒.๗ ปฏิบัติตนเปน็ ผูท้ ี่ STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทจุ รติ ๒.๘ ปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ทพี่ ลเมือง
และมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม
๓. คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
ศึกษาเกีย่ วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวม ความละอายและ
ความไม่ทนตอ่ การทุจริต STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ต้านการทุจริต รหู้ นา้ ที่ของพลเมอื งและรบั ผดิ ชอบต่อ
สังคมในการต่อต้าน การทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วเิ คราะห์ จําแนก แยกแยะ การฝึกปฏบิ ตั จิ ริง การทาํ
โครงงานกระบวนการเรยี นรู้ ๕ ขนั้ ตอน (๕ STEPs) การอภปิ ราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทกั ษะการอา่ น
และการเขียน เพื่อใหม้ ีความตระหนัก และเห็นความสาํ คัญของการตอ่ ตา้ นและการป้องกันการทจุ รติ
๔.ผลกำรเรียนรู้
๑. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒. มีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ
๓. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับ STRONG / จติ พอเพียงต่อตา้ นการทจุ ริต
๔. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
๕. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
๖. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผูล้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรูปแบบ
๗. ปฏบิ ตั ิตนเป็นผ้ทู ี่ STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ต้านการทุจรติ
๘. ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ที่พลเมืองและมคี วามรับผดิ ชอบต่อสังคม
๙. ตระหนักและเห็นความสาํ คัญของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ รติ
รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรยี นรู้

๑๖

ส่วนที่ 2

โครงสรำ้ ง
หลกั สูตรสถำนศึกษำ

โครงสร้ำงหลกั สตู รสถำนศึกษำโรงเรียนบำ้ นดอนยำนำง พุทธศกั รำช ๒๕๖๓ ๑๗
๒.๑ โครงสร้ำงเวลำเรยี นระดบั ประถมศกึ ษำ
ป. ๖
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นดอนยานาง กาํ หนดกรอบโครงสร้างเวลาเรยี น ดังน้ี ๑๖๐
๑๖๐
เวลำเรยี น ๑๒๐
(๑๒๐)
กลมุ่ สำระกำรเรยี นร/ู้ กจิ กรรม ระดบั ประถมศึกษำ
๘๐
 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕
ภำษำไทย ๔๐
คณติ ศำสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐
วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐
สงั คมศึกษำ ศำสนำ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๔๐
และวัฒนธรรม (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๑๒๐) (๑๒๐) ๘๐
 ศาสนา ศีลธรรม ๘๔๐
 จริยธรรมหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐
(๑๒๐)
วฒั นธรรมและการ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ดําเนินชวี ติ ในสังคม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐
 เศรษฐศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๓๐
 ภูมศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๐
 ประวัตศิ าสตร์ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐
สขุ ศกึ ษำและพลศกึ ษำ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
ศิลปะ ป.๑ – ป.๖ วชิ า หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ปีละ ๔๐ ชั่วโมง
กำรงำนอำชพี ป.๑-ป.๖ วชิ าภาษาองั กฤษเพอื่ การสือ่ สาร ปีละ ๔๐ ช่ัวโมง (๑๒๐)
ภำษำต่ำงประเทศ (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) ๔๐
รวมเวลำเรยี น (พน้ื ฐำน) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รำยวิชำ / กจิ กรรมท่ีสถานศกึ ษาจัดเพ่มิ เติม ๔๐
ตามความพร้อมและจดุ เนน้ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๓๐
 กิจกรรมพฒั นำผู้เรยี น ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๑๐
- กจิ กรรมแนะแนว ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
(ต้านทจุ รติ ศกึ ษา)
- กจิ กรรมนกั เรยี น ๑,๐๔๐ ชัว่ โมง/ปี
* ลกู เสอื /เนตรนารี
* ชุมนุม,ชมรม
- กิจกรรมเพอื่ สงั คมและ
สาธารณะฯ
รวมเวลำเรียนทั้งหมด

๑๘

๒.๒ โครงสรำ้ งหลักสูตรช้นั ปี
โครงสร้ำงหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ ระดบั ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

รหสั วิชำ รำยวิชำ/กิจกรรม เวลำเรียน (ชม./ป)ี
(๘๔๐)
รำยวิชำพน้ื ฐำน ๒๐๐
๒๐๐
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย๑ ๘๐
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์๑ ๔๐
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี๑ ๔๐
๔๐
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม๑ ๔๐
๔๐
ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์๑ ๑๖๐
(๑๒๐)
พ ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา๑ ๔๐
๔๐
ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ๑ (๑๒๐)
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ ๔๐
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ๑
๔๐
รำยวชิ ำเพ่ิมเติม ๓๐
๑๐
ส ๑๑๒๐๑ หนา้ ทพ่ี ลเมือง๑
๑,๐๔๐
อ ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร๑

กิจกรรมพัฒนำผ้เู รียน

๑. กิจกรรมแนะแนว

(ตา้ นทุจริตศึกษา)

๒. กิจกรรมนักเรยี น

 ลูกเสือ เนตรนารี

 ชุมนมุ ,ชมรม

๓. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลำเรยี นทง้ั สิน้

๑๙

โครงสรำ้ งหลักสตู รชนั้ ปี

โครงสรำ้ งหลักสตู รสถำนศึกษำ ระดับชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๖๓

รหัสวชิ ำ รำยวชิ ำ/กจิ กรรม เวลำเรียน (ชม./ป)ี

รำยวชิ ำพน้ื ฐำน (๘๔๐)

ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย๒ ๒๐๐

ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์๒ ๒๐๐

ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี๒ ๘๐

ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม๒ ๔๐

ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์๒ ๔๐

พ ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา๒ ๔๐

ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ๒ ๔๐

ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ๒ ๔๐

อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ๒ ๑๖๐

รำยวชิ ำเพมิ่ เติม (๑๒๐)

ส ๑๒๒๐๑ หน้าทพ่ี ลเมือง๒ ๔๐

อ ๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร๒ ๔๐

กิจกรรมพัฒนำผู้เรยี น (๑๒๐)

๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐

(ตา้ นทจุ ริตศึกษา)

๒. กิจกรรมนักเรยี น ๔๐

 ลกู เสือ เนตรนารี ๓๐

 ชุมนมุ ,ชมรม ๑๐

๓. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลำเรียนทงั้ ส้นิ ๑,๐๔๐

๒๐

โครงสร้ำงหลักสตู รช้ันปี

โครงสรำ้ งหลกั สตู รสถำนศึกษำ ระดับชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๓ พ.ศ.๒๕๖๓

รหัสวิชำ รำยวิชำ/กจิ กรรม เวลำเรยี น (ชม./ป)ี

รำยวชิ ำพน้ื ฐำน (๘๔๐)

ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย๓ ๒๐๐

ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์๓ ๒๐๐

ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี๓ ๘๐

ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม๓ ๔๐

ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์๓ ๔๐

พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา๓ ๔๐

ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ๓ ๔๐

ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๓ ๔๐

อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ๓ ๑๖๐

รำยวชิ ำเพมิ่ เติม (๑๒๐)

ส ๑๓๒๐๑ หนา้ ทพี่ ลเมือง๓ ๔๐

อ ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร๓ ๔๐

กิจกรรมพัฒนำผเู้ รียน (๑๒๐)

๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐

(ต้านทุจริตศึกษา)

๒. กจิ กรรมนักเรยี น ๔๐

 ลูกเสือ เนตรนารี ๓๐

 ชุมนมุ ,ชมรม ๑๐

๓. กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลำเรียนทง้ั ส้ิน ๑,๐๔๐

๒๑

โครงสร้ำงหลกั สูตรชน้ั ปี
โครงสร้ำงหลักสตู รสถำนศึกษำ ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๔ พ.ศ.๒๕๖๓

รหัสวิชา รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน (ชม./ป)ี
(๘๔๐)
รำยวชิ ำพน้ื ฐำน ๑๖๐
๑๖๐
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย๔ ๑๒๐
ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์๔ ๘๐
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี๔ ๔๐
๘๐
ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม๔ ๘๐
๔๐
ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์๔ ๘๐
(๑๒๐)
พ ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา๔ ๔๐
๔๐
ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ๔ (๑๒๐)
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔ ๔๐
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ๔
๔๐
รำยวิชำเพ่มิ เติม ๓๐
๑๐
ส ๑๔๒๐๑ หนา้ ที่พลเมือง๔
๑,๐๔๐
อ ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร๔

กิจกรรมพัฒนำผู้เรยี น

๑. กิจกรรมแนะแนว

(ตา้ นทุจริตศกึ ษา)

๒. กจิ กรรมนักเรียน

 ลกู เสอื เนตรนารี

 ชมุ นุม,ชมรม

๓. กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลำเรียนทง้ั ส้นิ

๒๒

โครงสร้ำงหลกั สตู รชั้นปี

โครงสร้ำงหลักสตู รสถำนศึกษำ ระดบั ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๓

รหสั วชิ า รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./ป)ี

รำยวิชำพน้ื ฐำน (๘๔๐)

ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย๕ ๑๖๐

ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์๕ ๑๖๐

ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี๕ ๑๒๐

ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม๕ ๘๐

ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์๕ ๔๐

พ ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา๕ ๘๐

ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ๕ ๘๐

ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๕ ๔๐

อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ๕ ๘๐

รำยวิชำเพมิ่ เติม (๑๒๐)

ส ๑๕๒๐๑ หน้าทีพ่ ลเมือง๕ ๔๐

อ ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร๕ ๔๐

กิจกรรมพัฒนำผู้เรยี น (๑๒๐)

๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐

(ตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา)

๒. กิจกรรมนักเรยี น ๔๐

 ลูกเสือ เนตรนารี ๓๐

 ชมุ นุม,ชมรม ๑๐

๓. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลำเรียนทั้งสน้ิ ๑,๐๔๐

๒๓

โครงสร้ำงหลกั สูตรชน้ั ปี

โครงสรำ้ งหลกั สตู รสถำนศึกษำ ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๖ พ.ศ.๒๕๖๓

รหสั วิชา รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน (ชม./ป)ี

รำยวิชำพ้นื ฐำน (๘๔๐)

ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย๖ ๑๖๐

ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์๖ ๑๖๐

ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี๖ ๑๒๐

ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม๖ ๘๐

ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์๖ ๔๐

พ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา๖ ๘๐

ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ๖ ๘๐

ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๖ ๔๐

อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ๖ ๘๐

รำยวิชำเพิม่ เติม (๑๒๐)

ส ๑๖๒๐๑ หนา้ ทพี่ ลเมือง๖ ๔๐

อ ๑๖๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร๖ ๔๐

กิจกรรมพัฒนำผเู้ รียน (๑๒๐)

๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐

(ต้านทุจริตศกึ ษา)

๒. กจิ กรรมนักเรียน ๔๐

 ลูกเสอื เนตรนารี ๓๐

 ชุมนุม,ชมรม ๑๐

๓. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลำเรียนทง้ั ส้นิ ๑,๐๔๐

๒๔

ส่วนที่ 3

คาอธิบายรายวชิ า

๒๕

คาอธิบายรายวชิ า

คําอธิบายรายวิชา ประกอบด้วย รหัสวิชา ช่ือรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นปี จํานวนเวลาเรียน
และ/หรือหนว่ ยกิตที่สอนตลอดปีหรอื ตลอดภาคเรียน การเขียนคําอธิบายรายวชิ าเขยี นเป็นความเรียง ระบอุ งค์
ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นภาพรวมท่ีต้องการให้เกิดกับผู้เรียนและสะท้อน
ตวั ช้ีวดั ในรายวิชาพืน้ ฐานหรือผลการเรียนรู้ของรายวชิ านั้นๆ การเขียนคาํ อธิบายรายวชิ าแต่ละระดับการศึกษา
ควรเขียนภาพรวมของรายวิชาพื้นฐานและเพม่ิ เติมแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้ว่ามีการจัดการเรียนการสอนวิชา
อะไรบา้ ง(สรุปคาํ อธบิ ายรายวิชาแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้)

๒๖

รายวิชาพนื้ ฐานระดบั ประถมศกึ ษา
กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

รำยวิชำพน้ื ฐำน ภาษาไทย จาํ นวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จํานวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย จาํ นวน ๒๐๐ ชัว่ โมง
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย จาํ นวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย จํานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย จํานวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
ท๑๖๑๐๑

๒๗

คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝึกอา่ นออกเสยี งคํา คาํ คล้องจองและข้อความสัน้ ๆบอกความหมายของคําและข้อความ ตอบคาํ ถาม
เล่าเรือ่ งย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสอื ตามความสนใจอย่างสม่าํ เสมอ นําเสนอเรอื่ งท่ีอา่ น บอก
ความหมายของเคร่ืองหมายหรือสัญลกั ษณ์สําคัญที่มกั พบเหน็ ในชวี ิตประจาํ วนั มมี ารยาทในการอ่าน คดั
ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั เขยี นสื่อสารด้วยคําและประโยคงา่ ยๆ มมี ารยาทในการเขียน ฟงั คาํ แนะนาํ คาํ สง่ั
งา่ ยๆ และปฏิบัตติ าม ตอบคาํ ถามและเลา่ เร่ืองท่ีฟงั และดู ทง้ั ท่ีเป็นความรู้และความบันเทิง พูดแสดงความ
คดิ เหน็ และความรู้สึกจากเรือ่ งท่ีฟังและดู พดู สอื่ สารไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ มมี ารยาทในการฟัง การดูและการพูด
บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย เขียนสะกดคําและบอกความหมาย ของคํา เรียบเรยี งคาํ
เป็นประโยคงา่ ยๆ ตอ่ คําคล้องจองงา่ ยๆ บอกข้อคิดที่ได้จากการอา่ นหรือการฟังวรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อย
กรองสาํ หรับเด็กท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้ การคิดวิเคราะห์ การส่ือความ การแก้ปัญหา
การฝึกปฏิบัติ การอธบิ าย การบนั ทึก การต้ังคาํ ถาม การตอบคําถาม ทกั ษะการฟัง การดูและการพดู พูดแสดง
ความคดิ เหน็ การสรา้ งความคดิ รวบยอดและกระบวนการกลมุ่

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจําวันได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม

ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
รวมท้ังหมด ๒๒ ตัวช้วี ัด

๒๘

คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน

ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝึกอ่านออกเสียงคํา คําคล้องจอง ข้อความและบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคําและ
ข้อความที่อ่าน ต้ังคําถาม ตอบคําถาม ระบุใจความสําคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน
เหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมาํ่ เสมอและนําเสนอเร่ืองท่ีอ่าน อ่านข้อเขยี นเชิงอธิบายและ
ปฏิบัติตามคําสั่งหรือข้อแนะนํา มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเรื่องสั้นๆ
เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเร่ืองส้ันๆ ตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง ฟังคําแนะนํา
คําส่ังที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเร่ือง บอกสาระสําคัญของเร่ือง ต้ังคําถาม ตอบคําถาม พูดแสดงความ
คิดเห็น ความรู้สึก พูดส่ือสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกทักษะ
การเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา เรยี บเรียงคําเป็น
ประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสาร บอกลกั ษณะคําคล้องจอง เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน
ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ฝึกจับใจความสําคัญจากเร่ือง ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรม
สําหรับเด็ก เพ่ือนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน ร้องบทร้องเล่นสําหรับเด็กในท้องถ่ิน ท่องจําบทอาขยานตามท่ี
กาํ หนดและบทรอ้ ยกรองทมี่ คี ณุ คา่ ตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้ การคิดวิเคราะห์ การส่ือความ การแกป้ ัญหา
การฝึกปฏิบัติ การอธิบาย การบันทึก การตั้งคําถาม การตอบคําถาม ทักษะการฟัง การดูและการพูด การ
พดู แสดงความคดิ เห็น การสรา้ งความคิดรวบยอดและกระบวนการกลุ่ม

เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคา่ ของการ
อนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิต ประจําวันได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม

ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวมท้ังหมด ๒๗ ตัวช้วี ัด

๒๙

คำอธบิ ำยรำยวิชำพืน้ ฐำน

ท๑๓๑๐๑ ภำษำไทย กล่มุ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย
ช้นั ประถมศึกษำปีที่ ๓ เวลำ ๒๐๐ ชวั่ โมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝึกอ่านออกเสียงคํา ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคําและ
ขอ้ ความท่ีอ่านตั้งคําถาม ตอบคําถามเชิงเหตุผล ลําดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ข้อคิดจาก
เร่ืองที่อ่าน เพ่ือนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ําเสมอและนําเสนอเร่ืองท่ี
อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคําสั่งหรือข้อแนะนํา อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ
แผนที่และแผนภูมิ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึก
ประจําวัน เขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอยี ด
บอกสาระสําคัญ ต้ังคําถาม ตอบคําถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดส่ือสารได้ชัดเจนตรงตาม
วัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคําและบอก
ความหมายของคํา ระบุชนิด หน้าท่ีของคํา ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคํา แต่งประโยคง่ายๆแต่งคํา
คล้องจองและคําขวัญ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ระบุข้อคิดที่ได้จาก
การอ่านวรรณกรรม เพ่ือนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน รู้จักเพลงพ้ืนบ้าน เพลงกล่อมเด็กเพ่ือปลูกฝังความช่ืนชม
วัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั วรรณคดีทอี่ ่าน ท่องจําบทอาขยานตามทีก่ าํ หนดและบทรอ้ ยกรอง
ทม่ี ีคณุ ค่าตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดวเิ คราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทกึ การ
ตง้ั คําถาม ตอบคําถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิด
รวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของ
การอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวติ ประจําวันได้อยา่ งถกู ต้อง
เหมาะสม

๓๐

ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
รวมท้ังหมด ๓๑ ตัวช้ีวดั

๓๑

คำอธิบำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน

ท๑๔๑๐๑ ภำษำไทย กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้ภู ำษำไทย

ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๔ เวลำ ๑๖๐ ชัว่ โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคํา ประโยคและสํานวนจาก
เรอื่ งทอ่ี า่ น อ่านเร่ืองส้ันๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบคาํ ถามจากเรื่องที่อา่ น แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเห็นจาก
เรอื่ งที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรือ่ งที่อา่ น โดยระบุเหตผุ ลประกอบ สรุปความร้แู ละข้อคิดจากเร่อื งที่อ่าน
เพอื่ นําไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั เลือกอา่ นหนังสอื ท่ีมคี ณุ คา่ ตามความสนใจอย่างสมา่ํ เสมอและแสดงความคดิ เห็น
เก่ียวกับเร่ืองท่ีอ่าน มีมารยาทในการอ่านฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสาร
โดยใช้คําได้ถูกตอ้ ง ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคดิ เพ่อื ใช้พฒั นางานเขยี น
เขียนย่อความจากเร่ืองสั้นๆ เขียนจดหมายถึงเพ่ือนและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษา
คน้ คว้า เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด จําแนกข้อ เท็จ
จริงและข้อคิดเห็นเร่ืองที่ฟังและดู พูดสรุปจากการฟังและดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก
เกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่
ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการ
เขียน เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคําในบริบทต่าง ๆ ระบุชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค ใช้
พจนานุกรมค้นหาความหมายของคํา แตง่ ประโยคได้ถูกตอ้ งตามหลักภาษา แต่งบทรอ้ ยกรองและคําขวัญ บอก
ความหมายของสํานวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได้ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือ
นิทานคติธรรม อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพ่ือนําไปใช้ในชีวิตจริง ร้องเพลงพ้ืนบ้าน ท่องจําบทอาขยานตามที่
กาํ หนดและบทร้อยกรองทมี่ คี ณุ คา่ ตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ
กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคําถาม ตอบคําถาม ใช้ทักษะการฟัง การดู
และการพดู พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของ
การอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวติ ประจําวันได้อยา่ งถกู ต้อง
เหมาะสม

๓๒

ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
รวมท้ังหมด ๓๓ ตัวชว้ี ดั

๓๓

คำอธิบำยรำยวิชำพ้ืนฐำน

ท๑๕๑๐๑ ภำษำไทย กลุ่มสำระกำรเรยี นร้ภู ำษำไทย
ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ ๕ เวลำ ๑๖๐ ชว่ั โมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝกึ อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคํา ประโยคและข้อความท่ีเป็น
การบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ แสดงความ
คิดเห็น อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ข้อแนะนําและปฏิบัติตาม เลือกอ่านหนังสือท่ีมีคุณค่าตามความ
สนใจ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสาร เขียน
แผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดง
ความรู้สึกและความคิดเห็น กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเร่ืองตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึก
ทักษะการฟัง การดแู ละการพดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สกึ ตั้งคําถาม ตอบคําถาม วิเคราะห์
ความ พูดรายงาน มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ระบุชนิดและหน้าท่ีของคําในประโยค จําแนก
ส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน ใช้คําราชาศัพท์ บอกคํา
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แต่งบทร้อยกรอง ใช้สาํ นวนได้ถูกตอ้ ง สรุปเรือ่ งจากวรรณคดีหรอื วรรณกรรมท่ี
อ่าน ระบุความรู้ ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนําไปใช้ในชีวิตจริงอธิบายคุณค่าของ
วรรณคดแี ละวรรณกรรม ท่องจาํ บทอาขยานตามที่กาํ หนดและบทร้อยกรองทม่ี ีคุณคา่ ตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ
กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคําถาม ตอบคําถาม ใช้ทักษะการฟัง การดู
และการพูด พดู แสดงความคิดเห็น กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของ
การอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในชีวติ ประจําวันได้อย่างถกู ต้อง
เหมาะสม

ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวมท้ังหมด ๓๓ ตัวชีว้ ัด

๓๔

คำอธิบำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน

ท๑๖๑๐๑ ภำษำไทย กลุม่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย
ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ี่ ๖ เวลำ ๑๖๐ ช่ัวโมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝกึ อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคํา ประโยคและขอ้ ความท่ีเป็น
โวหาร อ่านเรื่องส้ัน ๆอย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ีอ่าน วิเคราะห์และแสดง
ความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั เรื่องท่ีอ่านเพื่อนาํ ไปใช้ในการดําเนนิ ชีวิต อ่านงานเขียนเชิงอธบิ าย คาํ ส่ัง ข้อแนะนําและ
ปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและกราฟ เลือกอ่านหนังสือ
ตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและ
คร่ึงบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คําได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ
ความคิดเพ่ือใช้พัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ เขียนย่อความจากเรื่องอ่าน เขียนจดส่วนตัว กรอกแบบ
รายการต่าง ๆ เขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มีมารยาทในการเขยี น ฝกึ ทักษะการฟัง การดูและการ
พูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจดุ ประสงค์ของเร่ืองทีฟ่ ังและดู ตงั้ คาํ ถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเร่ือง
ทีฟ่ ังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเร่ืองทฟี่ ังและดูสื่อโฆษณาอยา่ งมีเหตุผล พูดรายงานเรื่องหรือประเด็น
ท่ีศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเช่ือถือ มีมารยาทในการ
ฟงั การดูและการพูด ฝกึ วิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ีของคําในประโยค ใช้คําได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
รวบรวมและบอกความหมายของคําภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อย
กรอง วิเคราะห์เปรียบเทียบสํานวนท่ีเป็นคําพังเพยและสุภาษิต ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือ
วรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและนิทานพ้ืนบ้านของท้องถิ่นอ่ืน อธิบายคุณค่าของ
วรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่านและนาํ ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจาํ บทอาขยานตามท่กี าํ หนดและบทร้อย

โดยใช้กระบวนการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้ การคิดวิเคราะห์และสรุปความ การคิด
อย่างมีวิจารณญาณ การสื่อความ การแก้ปัญหา กระบวนการสังเกต กระบวนกรแยกข้อเท็จจริง
กระบวนการค้นคว้า กระบวนการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร กระบวนการใชท้ ักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ
อธิบาย บันทึก การต้ังคําถาม ตอบคําถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น
กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด กระบวนการกลมุ่

เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถกู ตอ้ ง รักการเรยี นภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจําวันได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม

๓๕

ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวมทั้งหมด ๓๔ ตัวชี้วัด

๓๖

รายวิชาพ้นื ฐานระดบั ประถมศกึ ษา
กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์

รำยวชิ ำพืน้ ฐำน คณิตศาสตร์ จาํ นวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ จํานวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ค๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จาํ นวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ จาํ นวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ค๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จาํ นวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ จาํ นวน ๑๖๐ ชัว่ โมง
ค๑๖๑๐๑

๓๗

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพื้นฐำน

ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศำสตร์๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรคู้ ณติ ศำสตร์

ช้นั ประถมศึกษำปที ี่ ๑ เวลำ ๒๐๐ ช่วั โมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

ศกึ ษา ฝกึ ทักษะการคิดคํานวณและฝกึ แก้ปญั หา จํานวนนบั ๑ ถงึ ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจํานวน

สิ่งต่าง ๆ ตามจํานวนที่กําหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับท่ีหลัก ค่าของเลข

โดดในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจํานวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้

เครื่องหมาย = ≠ > < เรียงลําดับจํานวนตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จํานวน และหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค

สัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐

ความยาวและน้ําหนัก สร้างโจทย์ปัญหาพร้อมท้ังแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของ

จํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ระบุจํานวนท่ีหายไปในแบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ๑ ทีละ

๑๐ รูปที่หายไปในแบบรูปซํ้าของรูปเรขาคณิตและรูปอ่ืน ๆ ที่สมาชิกใน แต่ละชุดท่ีซ้ํามี ๒ รูป วัดและ

เปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร นํ้าหนักเป็นกิโลกรัมเป็นขีด และใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วย

มาตรฐาน จําแนกรูปสามเหล่ยี ม รูปสีเ่ หลีย่ ม วงกลม วงรี ทรงสเ่ี หลย่ี มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย

ใชข้ ้อมลู จากแผนภูมริ ปู ภาพในการหาคําตอบของโจทยป์ ัญหา เมือ่ กาํ หนดรปู ๑ รปู แทน ๑ หน่วย

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑

รวม ๕ มำตรฐำน ๑๐ ตัวช้ีวัด

๓๘

คำอธิบำยรำยวชิ ำพื้นฐำน

ค ๑๒๑๐๑ คณิตศำสตร์๒ กล่มุ สำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๒ เวลำ ๒๐๐ ช่ัวโมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คำอธิบำยรำยวิชำ

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคํานวณและฝึกแก้ปัญหา จํานวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดง

จํานวนสิ่งต่าง ๆ ตามจํานวนที่กําหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับที่หลัก ค่า

ของเลขโดดในแต่ละหลกั และเขียนแสดงจํานวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจํานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐

โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > < เรยี งลําดับจาํ นวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตง้ั แต่ ๓ ถึง ๕ จํานวน และหา

ค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบของ

จํานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจํานวน ๑

หลักกับจํานวนไม่เกิน ๒ หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตัวต้ังไม่เกิน ๒ หลัก ตวั หาร ๑ หลัก โดย

ที่ผลหารมี ๑ หลัก ทั้งหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจํานวนนับไม่เกิน

๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจํานวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธี

หาคําตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลาที่มีหน่วยเด่ียวและเป็นหน่วยเดียว วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็น

เมตรและเซนติเมตร พร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบความยาวที่มีหน่วยเป็น

เมตรและเซนตเิ มตร วัดและเปรียบเทยี บนาํ้ หนกั เป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขดี พร้อมทั้งแสดงวิธีการหา

คําตอบของโจทย์ปัญหาการบวกการลบเกี่ยวกับนํ้าหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรมั กโิ ลกรมั และขีด วัดและ

เปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นลิตร จําแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยมและวงกลม ใช้ข้อมูล

จากแผนภูมิรูปภาพในการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา เม่ือกําหนดรูป ๑ รูปแทน ๒ หน่วย ๕ หน่วยหรือ ๑๐

หนว่ ย

มำตรฐำน/ตวั ช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวม ๔ มำตรฐำน ๑๖ ตวั ชว้ี ัด

๓๙

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพืน้ ฐำน

ค ๑๓๑๐๑ คณิตศำสตร์๓ กลุ่มสำระกำรเรียนร้คู ณิตศำสตร์

ช้ันประถมศกึ ษำปีท่ี ๓ เวลำ ๒๐๐ ชัว่ โมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คำอธิบำยรำยวิชำ

อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียน

เศษส่วนที่แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามเศษส่วนที่กําหนด เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษ

เท่ากัน โดยท่ีตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก

และการลบของจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการ

คูณของจํานวน ๑ หลักกับจํานวนไม่เกิน ๔ หลักและจํานวน ๒ หลักกับจํานวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบ

ค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวต้ังไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ

หารระคนและแสดงวิธีการหาคําตอบของโจทย์ปญั หา ๒ ขั้นตอนของจํานวนนับไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หา

ผลบวกและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวกของเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑

และหาผลลบพรอ้ มทั้งแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหารการลบของเสษส่วนที่มตี ัวส่วนเท่ากัน ระบุจํานวนที่

หายไปในแบบรูปของจาํ นวนที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงทลี ะเท่า ๆ กนั แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน

เวลาและระยะเวลา เลือกใช้เครอ่ื งมือความยาวที่เหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่งต่าง ๆ เป็นเซนติเมตร

และมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาว

และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับระหว่างเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตร

กบั เมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เคร่ืองชง่ั ท่ีเหมาะสม วัดและบอกน้ําหนักเป็นกิโลกรมั และขีด กโิ ลกรัม

และกรัม คาดคะเนน้ําหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบนํ้าหนักและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์

ปัญหาเก่ียวกับนํ้าหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้

เครื่องตวงท่ีเหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหา

คําตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิเมตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติท่ีมีแกน

สมมาตรและจํานวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพและใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรปู ภาพในการหาคําตอบของ

โจทยป์ ัญหา เขยี นตารางทางเดียวจากข้อมูลทเี่ ป็นจาํ นวนนับและใช้ข้อมูลจากตารางทางเดียวในการหาคําตอบ

ของโจทยป์ ัญหา

๔๐

มำตรฐำน/ตัวช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ ,
ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐,
ป.๓/๑๑,ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวม ๕ มำตรฐำน ๒๘ ตัวชว้ี ัด

๔๑

คำอธิบำยรำยวชิ ำพื้นฐำน

ค ๑๔๑๐๑ คณิตศำสตร์๔ กลุ่มสำระกำรเรยี นรูค้ ณิตศำสตร์

ชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี ๔ เวลำ ๑๖๐ ช่วั โมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

ศึกษา ฝึกทักษะการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวนนับท่ี

มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมทั้งเปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์

ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียนเศษส่วน จํานวนคละแสดงปริมาณส่ิงต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วน

จํานวนคละท่ีกําหนด เปรียบเทียบ เรียงลําดับเศษส่วนและจํานวนคละท่ีตัวส่วนตัวหน่ึงเป็นพหูคูณของอีกตัว

หนึ่ง อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ตามทศนิยมท่ีกําหนด เปรียบเทียบ

และเรียงลําดับทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง และประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบการคูณ การหาร จาก

สถานการณ์ตา่ ง ๆ อย่างสมเหตุสมผล หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบของ

จํานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจํานวนหลายหลัก ๒ จํานวน ที่มีผลคูณไม่เกิน ๖

หลัก และแสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกิน ๒ หลัก หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน

ของจํานวนนับ และ ๐ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจํานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐

และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจํานวนนับ และ ๐ พร้อมทั้งหาคําตอบ หาคําตอบและแสดงวิธีหา

คําตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก การลบของเศษส่วนและจํานวนคละท่ตี ัวส่วนตวั หนงึ่ เปน็ พหูคณู ของอีกตัวหน่ึง

หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ ๒

ข้นั ตอนของทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตําแหนง่

แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธีหา

คําตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปส่ีเหลี่ยมมุมฉาก จําแนกชนิดของมมุ บอกชื่อ

มุม ส่วนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม สร้างรูปสี่เหล่ียมมุมฉากเม่ือกําหนดความยาวของด้าน

และใชข้ อ้ มูลจากแผนภมู แิ ท่ง ตารางสองทางในการหาคาํ ตอบของโจทย์ปญั หา

มำตรฐำน/ตวั ช้ีวัด

ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/

๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖

ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓

ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒

ค ๓.๑ ป.๔/๑

รวม ๔ มำตรฐำน ๒๒ ตวั ชี้วัด

๔๒

คำอธิบำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน

ค ๑๕๑๐๑ คณิตศำสตร์๕ กลุม่ สำระกำรเรยี นร้คู ณติ ศำสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๕ เวลำ ๑๖๐ ชัว่ โมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธีหา

คําตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจํานวนคละ

แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ข้ันตอน หาผลคูณของ

ทศนิยม ที่ผลคูณเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง หาผลหารท่ีตัวตั้งเป็นจํานวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน ๓

ตําแหน่ง และตัวหารเปน็ จํานวนนับ ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง แสดงวิธหี าคําตอบของโจทย์ปัญหา

การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๒ ขั้นตอน และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปญั หาร้อยละไม่เกิน ๒

ขน้ั ตอน

แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว นํ้าหนัก ที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูป

ทศนิยม แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหล่ียมมุมฉากและความจุของภาชนะ

ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปส่ีเหลี่ยมและพ้ืนที่ของรปู สี่เหล่ียมด้านขนานและรูปสี่เหล่ียมขนม

เปียกปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กําหนดให้ จําแนกรูป

สี่เหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสี่เหล่ียมชนิดต่าง ๆ เมื่อกําหนดความยาวของด้านและขนาด

ของมุมหรอื เมอ่ื กาํ หนดความยาวของเสน้ ทแยงมุม และบอกลกั ษณะของปริซมึ

ใชข้ ้อมลู จากกราฟเส้นในการหาคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา และเขยี นแผนภูมิแท่งจากข้อมลู ทเ่ี ป็นจํานวน

นบั

มำตรฐำน/ตวั ช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวม ๔ มำตรฐำน ๑๙ ตัวชี้วัด

๔๓

คำอธิบำยรำยวิชำพืน้ ฐำน

ค ๑๖๑๐๑ คณิตศำสตร์๖ กล่มุ สำระกำรเรียนรูค้ ณิตศำสตร์

ชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๖ เวลำ ๑๖๐ ชวั่ โมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

เปรียบเทียบ เรียงลําดับ เศษส่วนและจํานวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ

เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจํานวนนับ หา

อัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กําหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับไม่เกิน ๓ จํานวน แสดงวิธีหา

คําตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน

ของเศษส่วนและจํานวนคละ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจํานวนคละ ๒ – ๓ ขั้นตอน หา

ผลหารของทศนยิ มที่ตัวหารและผลหารเป็นทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตําแหน่ง แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการ

บวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ขั้นตอน แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาอัตราสว่ น ปัญหารอ้ ยละ

๒ – ๓ ขั้นตอน แสดงวธิ ีคดิ และหาคาํ ตอบของปญั หาเกี่ยวกบั แบบรปู

แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกบั ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงสี่เหล่ียม

มุมฉาก และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปหลายเหลี่ยม ความ

ยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของวงกลม จําแนกรูปสามเหล่ียมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสามเหลี่ยมเม่ือ

กําหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ระบุรูป

เรขาคณติ สามมิตทิ ป่ี ระกอบจากรูปคล่ีและระบรุ ูปคลขี่ องรูปเรขาคณิตสามมติ ิ

ใช้ขอ้ มูลจากแผนภูมริ ปู วงกลมในการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐,
ป.๖/๑๑
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑
รวม ๕ มำตรฐำน ๒๐ ตวั ชว้ี ดั

๔๔

รำยวชิ ำพนื้ ฐำนระดบั ประถมศกึ ษำ
กลุ่มสำระกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

รำยวิชำพ้นื ฐำน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาํ นวน ๘๐ ชัว่ โมง
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จํานวน ๘๐ ชั่วโมง
ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จาํ นวน ๘๐ ชวั่ โมง
ว๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จํานวน ๑๒๐ ชัว่ โมง
ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จํานวน ๑๒๐ ชัว่ โมง
ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาํ นวน ๑๒๐ ช่วั โมง
ว๑๕๑๐๑
ว๑๖๑๐๑


Click to View FlipBook Version