The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bandonyanang3, 2021-11-09 01:41:30

หลักสูตรสถานศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษา

Keywords: ูหลักสูตรสถานศึกษา

๑๔๕

กำรวัดและประเมนิ ผลกำรเรียนรู้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสองประการคือ การประเมิน
เพ่ือพัฒนาผู้เรียน และเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบผลสําเร็จนั้น
ผ้เู รียนจะต้องได้รบั การพัฒนาและประเมินตามตวั ชว้ี ัด เพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู้ สะทอ้ นสมรรถนะ
สําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซ่ึงเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ใน
ทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและ
สารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสําเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็น
ประโยชนต์ ่อการส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการพฒั นา และเรียนรู้อย่างเต็มตามศกั ยภาพ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ประกอบด้วย ระดับชั้นเรียน ระดับ
สถานศึกษา ระดับเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา และระดับชาติ โดยมรี ายละเอียดดังนี้

๑. กำรประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้
ครูผู้สอนดําเนินการเป็นปกติและสมํ่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่าง
หลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินช้ินงาน/ภาระ
งาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมิน
ตนเอง เพอื่ นประเมินเพอ่ื น ผปู้ กครองร่วมประเมนิ ในกรณที ี่ไม่ผา่ นตัวช้วี ัดใหม้ กี ารสอนซ่อมเสริม

การประเมินระดับช้ันเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้อันเป็น
ผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนหรอื ไม่ และมากน้อยเพียงใด มสี ิ่งท่ีจะต้องไดร้ ับการพัฒนาปรบั ปรุง
และส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ท้ังน้ีโดย
สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวช้วี ดั

๒. กำรประเมินระดับสถำนศึกษำ เป็นการประเมินท่ีสถานศึกษาดําเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียน
ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพ่ือให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมท้ังสามารถนําผลการเรียนของผู้เรียนใน
สถานศึกษาเปรยี บเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือ
การปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทําแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และการรายงานผลการจัด
การศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน ผ้ปู กครองและชมุ ชน

๓. กำรประเมินระดับเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดําเนินการโดย
ประเมินคุณภาพผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทํา และดําเนินการโดยเขตพื้นท่ีการศึกษา

๑๔๖

หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัดในการดําเนินการจัดสอบ นอกจากน้ียังได้จากการตรวจสอบ
ทบทวนข้อมลู จากการประเมนิ ระดับสถานศึกษาในเขตพ้ืนที่การศึกษา

๔. กำรประเมินระดับชำติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปีท่ี
๓ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพ
การศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อนําไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็น
ข้อมูลสนับสนุนการตดั สินใจในระดับนโยบายของประเทศ

ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวน
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุง
แก้ไข ส่งเสริมสนับสนุน เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐานความแตกต่างระหว่างบุคคล ที่
จําแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียน
ทีม่ ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผูเ้ รียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่ม
ผเู้ รียนท่ีมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมิน
จึงเป็นหัวใจของสถานศึกษา ในการดําเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับ
การพัฒนาและประสบความสําเร็จในการเรียน

สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทําระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
การเรียนของสถานศกึ ษา ให้สอดคล้องและเปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และแนวปฏบิ ตั ิ ท่ีเปน็ ข้อกําหนดของหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน เพ่ือใหบ้ คุ ลากรท่ีเกยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายถือปฏิบตั ิร่วมกนั

เกณฑก์ ำรวดั และประเมินผลกำรเรียน

๑. กำรตดั สิน กำรใหร้ ะดบั และกำรรำยงำนผลกำรเรียน
๑.๑ กำรตดั สนิ ผลกำรเรยี น
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนน้ัน ผู้สอนต้องคํานึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็น
หลัก และต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อม
เสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ

ระดับประถมศกึ ษำ
(๑) ผู้เรียนตอ้ งมีเวลาเรยี นไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทงั้ หมด
(๒) ผู้เรียนต้องไดร้ บั การประเมนิ ทุกตวั ชี้วัด และผา่ นตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากําหนด
(๓) ผู้เรียนตอ้ งได้รบั การตดั สนิ ผลการเรยี นทกุ รายวชิ า
(๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กําหนด ในการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน

๑๔๗

การพิจารณาเลื่อนชั้น ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กนอ้ ย และสถานศึกษาพิจารณาเหน็ ว่า
สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หาก
ผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจํานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับช้ันที่สูงขึ้น สถานศึกษา
อาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซํ้าช้ันได้ ท้ังนี้ให้คํานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียน
เป็นสําคญั

๑.๒ กำรใหร้ ะดับผลกำรเรียน
ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพ่ือให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้

ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ และ
ระบบทีใ่ ช้คาํ สําคญั สะทอ้ นมาตรฐาน

การประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์นนั้ ให้ระดับผล
การประเมินเป็น “ดเี ยยี่ ม ดี และ ผ่าน”

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กจิ กรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากําหนด และใหผ้ ลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็น “ผา่ น และ
ไมผ่ ่าน”

๑.๓ กำรรำยงำนผลกำรเรียน
การรายงานผลการเรียน เป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการ

เรียนรู้ของผู้เรียน ซ่งึ สถานศกึ ษาตอ้ งสรปุ ผลการประเมนิ และจัดทําเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ
ๆ หรืออย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ ๑ ครั้ง

การรายงานผลการเรียน สามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อน
มาตรฐานการเรยี นรู้กล่มุ สาระการเรยี นรู้

๒. เกณฑก์ ำรจบกำรศึกษำ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน กําหนดเกณฑ์กลางสําหรับการจบการศึกษาเป็น ๑

ระดบั คือ ระดับประถมศกึ ษา
๒.๑ เกณฑก์ ำรจบระดับประถมศึกษำ
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติม ตามโครงสร้างเวลาเรียนที่

หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานกําหนด
(๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพ้ืนฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ีสถานศึกษา

กาํ หนด
(๓) ผู้เรยี นมีผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามที่สถานศกึ ษากําหนด
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามทสี่ ถานศกึ ษากาํ หนด

๑๔๘

(๕) ผู้เรียนเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาํ หนด

สําหรับการจบการศึกษาสําหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษา
สําหรับผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสําหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให้
คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ดําเนินการวัดและประเมินผลการ
เรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน สาํ หรบั กลุม่ เป้าหมายเฉพาะ

เอกสารหลักฐานการศึกษา

เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสําคัญที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูล และสารสนเทศที่
เก่ียวข้องกบั พัฒนาการของผู้เรยี นในด้านตา่ ง ๆ แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท ดงั น้ี

๑. เอกสำรหลกั ฐำนกำรศึกษำที่กระทรวงศกึ ษำธิกำรกำหนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลกำรเรยี น เป็นเอกสารแสดงผลการเรยี นและรับรองผลการเรียนของผ้เู รยี น

ตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
สถานศึกษาและผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารน้ีให้ผูเ้ รียน
เป็นรายบุคคล เมอ่ื ผู้เรยี นจบการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา (ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖)

๑.๒ แบบรำยงำนผู้สำเร็จกำรศึกษำ เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตร โดยบันทึกรายช่ือและ
ขอ้ มลู ของผู้จบการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา (ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖)

๒. เอกสำรหลกั ฐำนกำรศึกษำท่ีสถำนศึกษำกำหนด
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทําขึ้นเพ่ือบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสําคัญเก่ียวกับ

ผเู้ รยี น เชน่ แบบรายงานประจําตัวนักเรียน แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นประจํารายวชิ า ระเบียนสะสม ใบรับรองผล
การเรียน และเอกสารอื่น ๆ ตามวัตถุประสงคข์ องการนําเอกสารไปใช้

การเทียบโอนผลการเรยี น

สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การ
เปล่ียนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจาก
ต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากน้ี ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จาก
แหล่งการเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษา
โดยครอบครัว

การเทียบโอนผลการเรียน ควรดําเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรกที่
สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ท้ังนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเน่ืองใน

๑๔๙

สถานศึกษาท่ีรับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกําหนด
รายวิชา/จาํ นวนหนว่ ยกติ ที่จะรบั เทียบโอนตามความเหมาะสม

การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดาํ เนนิ การไดด้ ังน้ี
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอ่ืน ๆ ท่ีให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของ
ผูเ้ รยี น
๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียน โดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ท้ังภาคความรู้
และภาคปฏิบตั ิ
๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัติในสภาพจรงิ
การเทยี บโอนผลการเรียนให้เปน็ ไปตามประกาศ หรือแนวปฏบิ ตั ขิ องกระทรวงศึกษาธกิ าร

การบริหารจดั การหลกั สตู ร

ในระบบการศกึ ษาท่ีมีการกระจายอํานาจให้ทอ้ งถิน่ และสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลกั สตู ร
น้ัน หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับ ต้ังแต่ระดับชาติ ระดับท้องถิ่น จนถึงระดับสถานศึกษา มี
บทบาทหนา้ ท่ี และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนนุ สง่ เสรมิ การใช้ และพฒั นาหลักสูตรให้เป็นไปอย่าง
มปี ระสิทธิภาพ เพอื่ ให้การดําเนินการจัดทําหลักสูตรสถานศกึ ษา และการจัดการเรียนการสอนของสถานศกึ ษา
มีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กําหนดไว้ใน
ระดบั ชาติ

ระดับท้องถิ่น ได้แก่ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอื่น ๆ เป็นหน่วยงานที่มี
บทบาทในการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางท่ีจะเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พ้ืนฐานท่ีกําหนดในระดับชาติ ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน เพ่ือนําไปสู่การจัดทํา
หลักสูตรของสถานศึกษา ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบความสําเร็จ โดยมี
ภารกิจสําคัญคือ กําหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับท้องถิ่น โดยพิจารณาให้สอดคล้อง
กับสิ่งท่ีเป็นความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับ
ท้องถนิ่ รวมทง้ั เพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและการพัฒนาบุคลากร สนบั สนุน ส่งเสริม ตดิ ตาม
ผล ประเมนิ ผล วิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผู้เรียน

สถานศึกษามีหน้าท่ีสําคญั ในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา การวางแผนและดาํ เนนิ การใชห้ ลักสูตร
การเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัย และพัฒนาการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร จัดทําระเบียบ
การวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และรายละเอียดที่เขตพื้นท่ีการศึกษา หรือหน่วยงานสังกัดอ่ืน ๆ ในระดับท้องถ่ินได้จัดทํา
เพม่ิ เตมิ รวมท้ังสถานศกึ ษาสามารถเพิ่มเติมในส่วนที่เกยี่ วกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน
และความตอ้ งการของผู้เรยี น โดยทกุ ภาคส่วนเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา

๑๕๐

บรรณานกุ รม

สํานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๕๒). แนวทำงกำรตรวจสอบองค์ประกอบ

หลกั สูตรสถำนศึกษำ ตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร :

ชมุ ชนสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จํากัด.

. ตัวช้ีวัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้กู ำรงำนอำชพี และเทศโนโลยี.

กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จาํ กดั , ๒๕๕๑.

. ตัวช้ีวดั และสำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ตำ่ งประเทศ.กรุงเทพมหานคร:

โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จาํ กดั , ๒๕๕๑.

. ตวั ชี้วดั และสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง กลุ่มสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์

ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากดั , ๒๕๕๑.

. ตัวชี้วัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้คณติ ศำสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.

๒๕๖๐) ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศกึ ำขนั้ พ้นื ฐำน พทุ ธศกั รำช ๒๕๕๑.กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชุมนุม

สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จํากดั , ๒๕๖๐.

. ตัวช้ีวดั และสำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.

๒๕๖๐) ตำมหลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกำข้นั พน้ื ฐำน พุทธศกั รำช ๒๕๕๑.กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช์ มุ นุม

สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จาํ กดั , ๒๕๖๐.

. ตัวชี้วดั และสำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง สำระภมู ศิ ำสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) กลมุ่ สำระ

กำรเรียนรสู้ งั คมศกึ ษำ ศำสนำและวฒั นธรรม ตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศกึ ำขัน้ พนื้ ฐำน พุทธศักรำช

๒๕๕๑ และแนวกำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้.กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศ

ไทย จํากัด, ๒๕๖๐.

. ตัวช้ีวัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง กลุม่ สำระกำรเรียนรูศ้ ิลปะ. กรงุ เทพมหานคร: โรง

พมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จํากัด, ๒๕๕๑.

. ตวั ช้ีวดั และสำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง กลุม่ สำระกำรเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม.

กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากดั , ๒๕๕๑.

. ตัวช้ีวดั และสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จํากดั , ๒๕๕๑.

. แนวทำงกำรบรหิ ำรจัดกำรหลักสูตร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑.

. แนวปฏบิ ตั กิ ำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตร

แหง่ ประเทศไทย จาํ กัด, ๒๕๕๑.

. หลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน พทุ ธศักรำช ๒๕๕๑. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช์ ุมนุม

สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จาํ กัด, ๒๕๕๑.

๑๕๑

ภาคผนวก

๑๕๒

คำสั่งโรงเรยี นบ้ำนดอนยำนำง
ท่ี ๒๔/๒๕๖๔

เรอ่ื ง แต่งต้ังคณะกรรมกำรปรบั ปรงุ และพัฒนำหลกั สูตรโรงเรยี นบ้ำนดอนยำนำง
พทุ ธศกั รำช ๒๕๖๔ ตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำขั้นพนื้ ฐำน พุทธศกั รำช ๒๕๕๑

(พุทธศกั รำช ๒๕๖๑)
-----------------------------------
เพ่ื อให้ การบ ริห ารห ลั กสูต รแล ะงาน วิชาก ารสถาน ศึ กษ าข้ั น พื้ น ฐาน เป็ น ไป อย่างมี ป ระสิ ทธิภ าพ
สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนดอนยานาง ต้องดําเนินการจัด
การศึกษาตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ จึงมคี วามจําเปน็ ต้องดาเนินการปรับปรุงหลักสตู รสถานศึกษา
ใหส้ อดคล้องกบั นโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร
อาศยั อํานาจตามมาตรา ๓๗ แหง่ พระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. ๒๕๔๖ และมาตรา ๒๗(๑) แห่งพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการครแู ละบุคลากรทาง
การศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ และแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ.๒๕๕๑ และพ.ศ.๒๕๕๓ จึงแต่งตั้งครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาทําหน้าท่ีปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านดอนยานาง พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔) ดงั ต่อไปน้ี

๑.นายวทิ รู ศรีนกุ ูล ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านดอนยานาง ประธานกรรมการ

๒.นายอสิ ระ เพชรกนั หา ประธานกรรมการสถานศึกษาฯ ทีป่ รกึ ษา

๓.นายประนอม วงศค์ ําจนั ทร์ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ กรรมการ

๔.นางสุพตั รา แขกวนั วงค์ ครชู ํานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๕.นางสาวเสาวนี พลขันธ์ ครูชํานาญการพิเศษ กรรมการ

๖.นางสาวกญั ญาภรณ์ โอระนนั ท์ ครอู ัตราจา้ ง กรรมการ

๗.นางสาวอนิสา กํา่ จาํ ปา ครอู ตั ราจา้ ง กรรมการ

๘.นางนงครกั ษ์ ธุระนนท์ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร

๙.นางสาวจิภาพร ทงึ อวน เจา้ หน้าท่ีธุรการ กรรมการและเลขานกุ าร

มหี น้าท่ี
๑.วางแผนการดําเนนิ งานวิชาการ กําหนดสาระรายละเอยี ดของหลักสูตรระดบั สถานศึกษาและ

แนวทางการจัดสดั สว่ นสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นของสถานศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับหลกั สตู ร
การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน สภาพเศรษฐกิจ สงั คม ศิลปวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาของท้องถ่ิน

๑๕๓

๒.จดั ทาํ คู่มือการบริหารหลกั สูตรและงานวชิ าการของสถานศึกษา นิเทศ กํากับ ติดตาม
๓.ให้คําปรกึ ษาเกย่ี วกับการพัฒนาหลกั สตู ร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
และการแนะแนวให้สอดคล้องและเป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
๔.ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการพฒั นาบุคลากรเกย่ี วกับการพฒั นาหลักสูตร การจัดกระบวนการ
เรียนรู้ การวัดและประเมินผลและการแนะแนวให้เป็นไปตามจดุ หมายและแนวทางการดาํ เนินการของ
หลกั สตู ร

๕.ประสานความร่วมมือจากบุคคล หนว่ ยงาน องค์กรตา่ ง ๆ และชุมชน เพ่ือให้การใช้หลกั สตู ร
เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและมีคุณภาพ

๖.ประชาสัมพนั ธห์ ลกั สตู รและการใช้หลกั สูตรแก่นักเรียน ผู้ปกครอง ชมุ ชน และผู้ท่ีเกยี่ วขอ้ ง
และนาํ ข้อมลู ป้อนกลับจากฝา่ ยตา่ ง ๆ มาพจิ ารณาเพ่ือการปรับปรงุ และพฒั นาหลักสตู รของสถานศกึ ษา

๗.สง่ เสริมและสนับสนุนการวิจัยเก่ยี วกับการพฒั นาหลักสตู รและกระบวนการเรยี นรู้
๘.ตดิ ตามผลการเรียนของนักเรียนรายบคุ คล ระดับชน้ั ระดับช่วงชน้ั และระดับกลุ่มสาระการ
เรียนรใู้ นแต่ละปีการศึกษา เพอื่ ปรบั ปรุงและพัฒนาการดาํ เนินงานด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษา
๙.ตรวจสอบ ทบทวน ประเมนิ มาตรฐานการปฏิบตั งิ านของครูและการบริหารหลกั สูตรระดบั
สถานศกึ ษาในรอบปที ่ีผ่านมา แลว้ ใช้ผลการประเมินเพ่ือวางแผนพฒั นาการปฏบิ ัติงานของครูและการบริหาร
หลกั สูตรปกี ารศึกษาต่อไป
๑๐.รายงานผลการปฏิบตั ิงานและผลการบรหิ ารหลักสูตรสถานศกึ ษา โดยเนน้ ผลการพัฒนา
คณุ ภาพนักเรียนตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รระดบั เหนอื
สถานศึกษา สาธารณชนและผ้เู กย่ี วขอ้ ง
๑๑.ใหด้ ําเนินการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย ภาคเรียนละ ๒ ครงั้

ทั้งนี้ ให้ผู้ได้รับการแต่งตั้งปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุตาม
วัตถปุ ระสงคท์ ต่ี ั้งไว้ ตัง้ แตบ่ ดั นเี้ ปน็ ตน้ ไป

สงั่ ณ วนั ท่ี ๒๖ เดือน มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายวทิ รู ศรนี ุกลู )
ผอู้ ํานวยการโรงเรยี นบ้านดอนยานาง


Click to View FlipBook Version