The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anuban65 Veerasilp, 2023-05-26 03:58:41

รายงาน SAR 2563

รายงาน SAR 2563

จากตารางและแผนภูมิ เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านขีดจ ากัดล่าง ดังนี้ ภาษาไทย นักเรียนผ่านขีดจ ากัดล่าง ปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 56.44) น้อยกว่าปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 73.74) และ 2562 (ร้อยละ 78.02) คณิตศาสตร์ นักเรียนผ่านขีดจ ากัดล่าง ปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 43.56) น้อยกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 58.59) และ ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 77.29) วิทยาศาสตร์นักเรียนผ่านขีดจ ากัดล่าง ปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 52.48) น้อยกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 59.60) และ ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 65.57) อังกฤษ ค่าเฉลี่ยร้อยละปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 47.52) มากกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 55.56) และปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 85.71) ตาราง เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่6 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ปี วิชา ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ภาษาไทย 152 54.09 154 52.56 151 55.31 คณิตศาสตร์ 150 53.38 129 44.03 131 47.99 วิทยาศาสตร์ 136 48.40 142 48.46 118 43.22 ภาษาอังกฤษ 131 46.62 133 45.39 156 57.14 จ านวนนักเรียน 281 293 273 แผนภูมิ เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ 54.09 53.38 48.40 46.62 52.56 44.03 48.46 45.39 55.31 47.99 43.22 57.14 ตารางเปรียบเทียบจ านักเรียนที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่50 (T- score) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2561 - 2563 2561 2562 2563


จากตารางและแผนภูมิ เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้น พื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านคะแนน มาตรฐานที่ 50 (T score 50) มีรายละเอียดดังนี้ ภาษาไทย ปีการศึกษา 2563 นักเรียนผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ร้อยละ 55.31 น้อย กว่าปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 54.09) แต่มากกว่า ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 52.26) คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 นักเรียนผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ร้อยละ 47.99 น้อยกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 53.38) แต่มากกว่า ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 44.03) วิทยาศาสตร์ปีการศึกษา 2563 นักเรียนผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ร้อยละ 43.22 น้อยกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 48.40) และ ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 48.46) อังกฤษ ปีการศึกษา 2563 นักเรียนผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ร้อยละ 57.14 มากกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 46.62) และปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 45.39) ตาราง เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ปี วิชา ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ภาษาไทย 52 52.53 63 47.01 56 55.45 คณิตศาสตร์ 37 37.37 62 46.27 44 43.56 วิทยาศาสตร์ 48 48.48 68 50.75 50 49.50 ภาษาอังกฤษ 50 50.51 59 44.03 38 37.62 จ านวนนักเรียน 99 134 101 แผนภูมิ เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50)


จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้น พื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านคะแนน มาตรฐานที่ 50 (T score 50) มีรายละเอียดดังนี้ ภาษาไทย ปีการศึกษา 2563 นักเรียนผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ร้อยละ 55.45 มากกว่าปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 52.53) และ ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 47.01) คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 นักเรียนผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ร้อยละ 43.56 มากกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 37.37) แต่น้อยกว่า ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 46.27) วิทยาศาสตร์ปีการศึกษา 2563 นักเรียนผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ร้อยละ 49.50 มากกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 48.48) แต่น้อยกว่า ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 50.75) อังกฤษ ปีการศึกษา 2563 นักเรียนผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ร้อยละ 37.62 น้อย กว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 50.51) และปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 44.03) ตาราง แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ตามระดับคะแนน วิชา ระดับคะแนน ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ 4.00=ดีเยี่ยม 14 5.13 5 1.83 2 0.73 86 31.50 3.50=ดีมาก 74 27.11 27 9.89 9 3.30 62 22.71 3.00=ดี 92 33.70 41 15.02 30 10.99 39 14.29 2.50=ค่อนข้างดี 53 19.41 56 20.51 58 21.25 32 11.72 2.00=ปานกลาง 27 9.89 82 30.04 89 32.60 39 14.29 1.50=พอใช้ 13 4.76 56 20.51 72 26.37 12 4.40 1.00=ควรปรับปรุง 0 4 1.47 13 4.76 3 1.10 0.00=ควรปรับปรุงอย่างยิ่ง 0 2 0.73 0 0 รวม 273 100 273 100 273 100 273 100 0.00 20.00 40.00 60.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ 52.53 37.37 48.48 50.51 47.01 46.27 50.75 44.03 55.45 43.56 49.50 37.62 เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) 2561 2562 2563


แผนภูมิ แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 ตามระดับคะแนน จากตารางและแผนภูมิ แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ตามระดับคะแนน มีรายละเอียดดังนี้ วิชาภาษาไทย นักเรียนได้ระดับ ดี จ านวน 92 คน คิดเป็นร้อยละ 33.70 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับดีมาก 74 คน คิดเป็นร้อยละ 27.11, ระดับค่อนข้างดี จ านวน 53 คน คิดเป็นร้อยละ 19.41,ระดับ ปานกลาง จ านวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 9.89, ระดับดีเยี่ยม จ านวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 5.13 และระดับ พอใช้ จ านวน 13คน คิดเป็นร้อยละ 4.76ตามล าดับ วิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนได้ระดับระดับปานกลาง จ านวน 82 คน คิดเป็นร้อยละ 30.04 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ค่อนข้างดี และระดับพอใช้ จ านวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 20.51 , ระดับดี จ านวน 41คน คิด เป็นร้อยละ 15.02, ระดับดีมาก จ านวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 9.89, ระดับดีเยี่ยม จ านวน 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 1.83,ควรปรับปรุงอย่างยิ่ง จ านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.47, และระดับควรปรับปรุง จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.73 ตามล าดับ วิชาวิทยาศาสตร์ นักเรียนได้ระดับปานกลาง จ านวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 32.60ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ พอใช้จ านวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 26.37,ระดับค่อนข้างดีจ านวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 21.25, ระดับดี จ านวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 10.99, ระดับควรปรับปรุง จ านวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 4.76, ระดับดีมาก จ านวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 3.30, ระดับดีเยี่ยม จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.73 ตามล าดับ วิชาภาษาอังกฤษ นักเรียนได้ ระดับดีเยี่ยมจ านวน 86 คน คิดเป็นร้อยละ 31.50 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับดีมาก จ านวน 62 คน คิดเป็นร้อยละ 22.71, ระดับดีและระดับปานกลางจ านวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29 ระดับค่อนข้างดี จ านวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 11.72,ระดับพอใช้ จ านวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 4.40 และควรปรับปรุง จ านวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.10ตามล าดับ 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยศาสตร์ อังกฤษ 5.13 1.83 0.73 31.50 27.11 9.89 3.30 22.71 33.70 15.02 10.99 14.29 19.41 20.51 21.25 11.72 9.89 30.04 32.60 14.29 4.76 20.51 26.37 4.40 1.47 4.76 0.73 1.10 ผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวีรศิลป์ ตามระดับคะแนน 4.00 3.50 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 ปรับปรุง


ตาราง แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ตามระดับคะแนน วิชา ระดับคะแนน ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ 4.00=ดีเยี่ยม 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 3.50=ดีมาก 4 3.96 0 0.00 0 0.00 4 3.96 3.00=ดี 28 27.72 0 0.00 0 0.00 1 0.99 2.50=ค่อนข้างดี 35 34.65 7 6.93 3 2.97 12 11.88 2.00=ปานกลาง 22 21.78 37 36.63 31 30.69 31 30.69 1.50=พอใช้ 10 9.90 53 52.48 59 58.42 47 46.53 1.00=ควรปรับปรุง 2 1.98 4 3.96 8 7.92 6 5.94 0.00=ควรปรับปรุงอย่างยิ่ง 0 0 0 0 รวม 99 100 99 100 99 100 99 100 แผนภูมิแสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ตามระดับคะแนน จากตารางและแผนภูมิ แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ตามระดับคะแนน พบว่า 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 ไทย คณิต วิทย์ อังกฤษ 0.00 0.00 0.00 0.00 3.96 0.00 0.00 3.96 27.72 0.00 0.00 0.99 34.65 6.93 2.97 11.88 21.78 36.63 30.69 30.69 9.90 52.48 58.42 46.53 1.98 3.96 7.92 5.94 ผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนวีรศิลป์ ตามระดับคะแนน 4.00 3.50 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00


วิชาภาษาไทย ค่อนข้างดี จ านวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 34.65, ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ระดับ ดี จ านวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 27.72, ระดับปานกลาง จ านวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 21.78,ระดับพอใช้ จ านวน 10คน คิดเป็นร้อยละ 9.90, ระดับระดับดีมาก จ านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.96 และควรปรับปรุง จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 1.98 ตามล าดับ วิชาคณิตศาสตร์ ระดับพอใช้ จ านวน 53 คน คิดเป็นร้อยละ 52.48 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับปานกลาง จ านวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 36.63, ระดับค่อนข้างดี จ านวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 6.93 และ ระดับควรปรับปรุง จ านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.96 ตามล าดับ วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับพอใช้ จ านวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 58.42 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับปานกลาง จ านวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 30.69, ระดับควรปรับปรุง จ านวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 7.92 และระดับค่อนข้างดี จ านวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.97 ตามล าดับ วิชาภาษาอังกฤษ ระดับพอใช้ จ านวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 46.53 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับปานกลาง จ านวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 30.69, ระดับค่อนข้างดี จ านวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 11.88, ระดับควรปรับปรุง จ านวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 5.94 ระดับดีมาก จ านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.96 และระดับดี จ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.99 ตามล าดับ ตาราง แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ตามระดับคุณภาพ "ระดับ คะแนน" ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ดีมาก (3 - 4 ) 180 65.93 73 26.74 41 15.02 187 68.50 ดี (2 - 2.5) 80 29.30 138 50.55 147 53.85 71 26.01 พอใช้ (1 - 1.5) 13 4.76 56 20.51 72 26.37 12 4.40 ปรับปรุง 0 0 6 2.20 13 4.76 3 1.10 รวม 273 100 273 100 273 100 273 100 แผนภูมิ แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น ระถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ตามระดับคุณภาพ


จากตารางและแผนภูมิ แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ตามระดับคุณภาพ พบว่า วิชาภาษาไทย นักเรียนได้ระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3 – 4) จ านวน 180 คน คิดเป็นร้อยละ 65.93 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ระดับดี (ระดับคะแนน 2 –2.5) จ านวน 80 คน ร้อยละ 29.30 และระดับพอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 13 คน ร้อยละ 4.76 วิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนได้ระดับดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 138 คน คิดเป็นร้อยละ 50.55 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3– 4) จ านวน 73 คน ร้อยละ 26.74 ระดับ พอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 20.51 และปรับปรุง (ระดับคะแนน 0 ) จ านวน 6คน คิดเป็นร้อยละ 2.20 ตามล าดับ วิชาวิทยาศาสตร์ นักเรียนได้ระดับ ดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 147คน ร้อยละ 53.85 ซึ่ง มากที่สุด รองลงมาได้แก่ พอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 26.37, ระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3 – 4) จ านวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 15.02, และปรับปรุง (ระดับคะแนน 0 ) จ านวน 13 คน คิดเป็นร้อย 4.76 ตามล าดับ วิชาภาษาอังกฤษ นักเรียนได้ระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3 – 4) จ านวน 187 คน คิดเป็นร้อยละ 68.50 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ระดับ ดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 71 คน ร้อยละ 26.01, พอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 4.40และปรับปรุง (ระดับคะแนน 0 ) จ านวน 3 คน คิดเป็นร้อย 1.10 ตามล าดับ 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยศาสตร์ อังกฤษ 65.93 26.74 15.02 68.50 29.30 50.55 53.85 26.01 4.76 20.51 26.37 4.40 2.20 4.76 1.10 ผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวีรศิลป์ ตามระดับคุณภาพ ดีมาก (3 - 4 ) ดี (2 - 2.5) พอใช้ (1 - 1.5) ปรับปรุง


ตาราง แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ตามระดับคุณภาพ "ระดับ คะแนน" ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ดีมาก (3 - 4 ) 32 31.68 0 0.00 0 0.00 5 4.95 ดี (2 - 2.5) 57 56.44 44 43.56 34 33.66 43 42.57 พอใช้ (1 - 1.5) 10 9.90 53 52.48 59 58.42 47 46.53 ปรับปรุง 2 1.98 4 3.96 8 7.92 6 5.94 รวม 101 100 101 100 101 100 101 100 แผนภูมิ แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ตามระดับคุณภาพ จากตารางและแผนภูมิ แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ตามระดับคุณภาพ พบว่า วิชาภาษาไทย นักเรียนได้ระดับดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 57 คน ร้อยละ 56.44 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3 – 4) จ านวน 32คน คิดเป็นร้อยละ 31.68, ระดับพอใช้ (ระดับ คะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 9.90 และระดับปรับปรุง (ระดับคะแนน 0 ) จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 1.98 ตามล าดับ วิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนได้ระดับพอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 53 คน คิดเป็นร้อยละ 52.48 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 43.56 และ ระดับปรับปรุง (ระดับคะแนน 0 ) จ านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.96 ตามล าดับ 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 ไทย คณิต วิทย์ อังกฤษ 31.68 0.00 0.00 4.95 56.44 43.56 33.66 42.57 9.90 52.48 58.42 46.53 1.98 3.96 7.92 5.94 ผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวีรศิลป์ ตามระดับคุณภาพ ดีมาก (3 - 4 ) ดี (2 - 2.5) พอใช้ (1 - 1.5) ปรับปรุง


วิชาวิทยาศาสตร์ นักเรียนได้ระดับพอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 58.42 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ระดับ ดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 34 คน ร้อยละ 33.66 และระดับ ปรับปรุง (ระดับคะแนน 0 ) จ านวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 7.92 ตามล าดับ วิชาภาษาอังกฤษ นักเรียนได้ระดับพอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 47คน คิดเป็นร้อยละ 46.53 ซึ่ง มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 43 คน ร้อยละ 42.57 , ระดับปรับปรุง (ระดับคะแนน 0 ) จ านวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 5.94 และระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3 – 4) จ านวน 5คน คิด เป็นร้อยละ 4.95 ตามล าดับ 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ การศึกษาต่อ นักเรียนที่จบระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ระดับชั้น จ านวน นักเรียน ที่จบ จ านวนนักเรียนที่ศึกษาต่อ จ านวน นักเรียนที่ไม่ ศึกษาต่อ สายสามัญ สายอาชีพ สพฐ เอกชน เทศบาล อบจ รวม รัฐ เอกชน รวม ป.6 295 200 95 - - 295 - - - - ม.3 128 77 1 - - 78 48 12 50 - รายชื่อโรงเรียนที่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ศึกษาต่อ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่ รายชื่อโรงเรียน สังกัด จ านวน (คน) 1 โรงเรียนวิสุทธรังษี สพฐ 117 2 โรงเรียนวีรศิลป์ สช 92 3 โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ สพฐ 33 4 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สพฐ 15 5 โรงเรียนสาธิต มรภ.กาญจนบุรี อว. 15 6 โรงเรียนจุฬาภรณเพชรบุรี สพฐ 7 7 โรงเรียนท่าม่วงราษฎรบ ารุง สพฐ 3 8 โรงเรียนสาธิตราชภัฎนครปฐม อว. 2 9 โรงเรียนลาซาน สพฐ 1 10 โรงเรียนเซนต์คาเบียล สช 1 11 โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ สพฐ 1 12 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ สพฐ 1 13 โรงเรียนเทพมงคลรังษี สพฐ 1 14 โรงเรียนพังตรุราษฎร์รังสรรค์ สพฐ 1 15 โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย สพฐ 1 16 โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี สพฐ 1 17 โรงเรียนกีฬานครปฐม สพฐ 1


ที่ รายชื่อโรงเรียน สังกัด จ านวน (คน) 18 โรงเรียนบ้านเก่าวิทยาคม อบจ 1 295 นักเรียนที่จบการศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน 295 คน ศึกษาต่อในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 คิดเป็น ร้อยละ 100 ศึกษาต่อ โรงเรียน อื่น จ านวน 203 คน คิดเป็นร้อยละ 68.81 ศึกษา ต่อสถานศึกษาเดิม (โรงเรียนวีรศิลป์) จ านวน 92 คน คิดเป็นร้อยละ 31.19 รายชื่อโรงเรียนที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ศึกษาต่อ สายสามัญ ระดับมัธยมปลาย และ อาชีวศึกษา ระดับ ปวช. ที่ รายชื่อโรงเรียน ระดับ จ านวน (คน) 1 โรงเรียนวิสุทธรังษี สายสามัญ 34 2 โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ สายสามัญ 32 3 วิทยาลัยการอาชีพวังขนาย สายอาชีพ (ปวช) 26 4 วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี สายอาชีพ (ปวช) 13 5 วิทยาลัยอาชีวศึกษา สายอาชีพ (ปวช 9 6 โรงเรียนท่าม่วงราษฎร์บ ารุ่ง สายสามัญ 3 7 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สายสามัญ 2 8 โรงเรียนสาธิตเกษตรก าแพงแสน สายสามัญ 2 9 โรงเรียนสาธิตราชภัฎกาญจนบุรี สายสามัญ 2 10 วิทยาลัยคอมเทค สายอาชีพ (ปวช.) 2 11 โรงเรียนนารีวุฒิ สายสามัญ 1 12 โรงเรียนเทพศิรินทร์ ลาดหญ้า สายสามัญ 1 13 โรงเรียนกองทัพบกอุปถัมภ์ สายสามัญ 1 128 นักเรียนที่จบการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ านวน 128 คน ศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ 100 ศึกษาต่อ สายสามัญ จ านวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 60.94 ศึกษาต่อสายอาชีพ จ านวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 39.06


1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน 1) คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษาก าหนด 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 3) การยอมรับที่อยู่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตารางแสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ชั้น จ านวน นักเรียน ผลการประเมิน ผ่าน ดี ดีเยี่ยม เกณฑ์โรงเรียน ร้อยละ “ดี”ขึ้นไป จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ ป.1 330 1 0.30 58 17.58 271 82.12 84 ป.2 337 0 0.00 42 12.46 295 87.54 84 ป.3 343 3 0.87 54 15.74 286 83.38 84 ป.4 305 0 0.00 79 25.90 226 74.10 84 ป.5 292 0 0.00 26 8.90 266 91.10 84 ป.6 295 5 1.69 67 22.71 223 75.59 84 ม.1 130 0 0.00 22 16.92 108 83.08 84 ม.2 119 1 0.84 27 22.69 91 76.47 84 ม.3 128 3 2.34 25 19.53 100 78.13 84 รวม 2,279 13 0.57 400 17.55 1866 81.88 84


จากตารางและแผนภูมิแสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 –มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ านวนนักเรียนทั้งสิ้น 2,279 คน พบว่านักเรียน มีผลการประเมิน “ดีเยี่ยม” มากที่สุด จ านวน 1,866 คน คิดเป็นร้อยละ 81.88 รองลงมา “ดี” จ านวน 400 คน คิดเป็นร้อยละ 17.55 ผ่าน จ านวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 0.57 สรุปจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมิน “ดี” ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 99.43 มากกว่าเกณฑ์โรงเรียน (ระดับดีเลิศ ร้อยละ 64) * สรุปคิดเป็นระดับคุณภาพ 5 ระดับ ยอดเยี่ยม** หมายเหตุ * เกณฑ์โรงเรียน ปีการศึกษา 2563 นักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 84 (ระดับดีเลิศ) ** ระดับคุณภาพ 1 ระดับก าลังพัฒนา นักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 0-49 2 ระดับปานกลาง นักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 50-59 3 ระดับดีนักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 60-74.99 4 ระดับดีเลิศ นักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 75.89.99 5 ระดับยอดเยี่ยม นักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 90 ขึ้นไป 0.30 0.00 0.87 0.00 0.00 1.69 0.00 0.84 2.34 17.58 12.46 15.74 25.90 8.90 22.71 16.92 22.69 19.53 82.12 87.54 83.38 74.10 91.10 75.59 83.08 76.47 78.13 84 84 84 84 84 84 84 84 84 0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ร้อยละของจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เทียบกับเกณฑ์ โรงเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ผ่าน ดี ดีเยี่ยม เกณฑ์ ร.ร.


4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ผลการตรวจสอบระดับภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับชั้น ป.1-ม.3 ปีการศึกษา 2563 ระดับ ชั้น จ านวน นักเรียน (คน) ระดับภาวะโภชนาการของนักเรียน ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนที่ 2 ค่าเฉลี่ย ปกติ อ้วน ผอม ปกติ อ้วน ผอม ปกติ อ้วน ผอม ป.1 330 50.91 21.21 27.88 64.44 21.28 14.29 57.67 21.24 21.08 ป.2 337 46.88 30.27 22.85 52.23 31.45 16.32 49.55 30.86 19.58 ป.3 343 52.89 30.64 16.47 52.48 30.90 16.62 52.68 30.77 16.55 ป.4 305 52.13 33.11 14.75 52.46 31.48 16.07 52.30 32.30 15.41 ป.5 292 57.88 18.49 23.63 58.56 22.60 18.84 58.22 20.55 21.23 ป.6 295 61.69 24.07 14.24 57.97 27.46 14.58 59.83 25.76 14.41 ม.1 130 51.15 27.48 21.37 55.73 27.48 16.79 53.44 27.48 19.08 ม.2 119 59.66 24.37 15.97 59.66 22.69 17.65 59.66 23.53 16.81 ม.3 128 45.74 34.88 19.38 44.53 33.59 21.88 45.13 34.24 20.63 รวม 2,279 53.21 27.17 19.62 55.34 27.66 17.00 54.28 27.41 18.31 ผลการตรวจสอบระดับภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับชั้น ป.1-ม.3 ปีการศึกษา 2563 พบว่า นักเรียนมีระดับภาวะโภชนาการปกติเฉลี่ยเป็นร้อยละ 54.28 นักเรียนมีระดับภาวะโภชนาการสูงกว่าเกณฑ์ (อ้วน ) เฉลี่ยร้อยละ 27.41 และนักเรียนมีระดับภาวะโภชนาการต่ ากว่าเกณฑ์ (ผอม) เฉลี่ยร้อยละ 18.31 อ้วน, 27.41 ปกติ, 54.28 ผอม, 18.31 แผนภูมิแสดงค่าเฉลี่ยระดับภาวะโภชนาการของนักเรียนโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2563 ปกติ อ้วน ผอม


ดมีาก ดีพอใช้ตา ่ตา ่มาก ดมีาก ดีพอใช้ตา ่ตา ่มาก ดมีาก ดีพอใช้ตา ่ตา ่มาก ป.1 330 0.00 1.52 38.79 57.88 1.82 0.00 4.85 60.00 34.85 0.30 0.00 3.18 49.39 46.36 1.06 ป.2 337 0.00 3.26 39.76 52.23 4.75 0.00 9.50 52.23 37.39 0.89 0.00 6.38 45.99 44.81 2.82 ป.3 343 0.00 4.05 49.71 43.93 2.31 0.00 16.91 75.51 7.58 0.00 0.00 10.48 62.61 25.76 1.16 ป.4 305 0.00 0.33 66.23 33.44 0.00 0.00 19.67 78.03 2.30 0.00 0.00 10.00 72.13 17.87 0.00 ป.5 292 0.00 0.00 56.85 42.15 0.00 0.00 0.00 73.29 26.71 0.00 0.00 0.00 65.07 34.93 0.00 ป.6 295 0.00 0.68 69.49 29.49 0.34 0.00 2.37 65.08 32.54 0.00 0.00 1.53 67.29 31.02 0.17 ม.1 130 0.00 2.29 26.72 66.41 4.58 0.00 3.05 28.24 65.65 3.05 0.00 2.67 27.48 66.03 3.82 ม.2 119 0.00 8.40 24.37 63.87 3.36 0.84 12.61 42.02 39.50 5.04 0.00 10.50 33.19 51.68 4.20 ม.3 128 0.00 3.10 17.83 63.57 15.50 0.00 6.25 23.44 59.38 10.94 0.00 4.68 20.63 61.47 13.22 รวม 2279 0.00 2.63 43.31 50.33 3.63 0.09 8.36 55.32 33.99 2.25 0.00 5.49 49.31 42.21 2.02 ระดบัชั้น จา่นวน นักเรียน (คน) ระดบัสมรรภาพนักเรียน ภาคเรียนที 1 ภาคเรียนที 2 คา่เฉลยี การทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2563 การทดสอบสมรรถภาพ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ทดสอบสมรถภาพ 5 รายการ คือ นั่งงอตัว, ยืนกระโดดไกล, ลุกนั่ง, วิ่งเก็บของ และวิ่ง 50 เมตร ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใช้ แบบทดสอบและสมรรถภาพทางกายของ (ICSPFT) ผลการทดสอบสมรถภาพทางกายของนักเรียนระดับชั้น ป.1-ม.3 ปีการศึกษา 2563 พบว่า นักเรียนมี ระดับสมรรถภาพที่ดีมากเฉลี่ยเป็นร้อยละ 0.05 ระดับดี เฉลี่ยร้อยละ 5.49 ระดับพอใช้ เฉลี่ยร้อยละ 49.31 ระดับต่ า เฉลี่ยร้อยละ 2.94 และระดับต่ ามาก เฉลี่ยร้อยละ 2.94 (ผลการประเมินสมรรถภาพทางกายเฉลี่ย ระดับ "พอใช้" ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 54.80 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 3.18 6.38 10.48 10.00 0.00 1.53 2.67 10.50 4.68 49.39 45.99 62.61 72.13 65.07 67.29 27.48 33.19 20.63 46.36 44.81 25.76 17.87 34.93 31.02 66.03 51.68 61.47 1.06 2.82 1.16 0.00 0.00 0.17 3.82 4.20 13.22 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 แผนภูมิ แสดงผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประจ าปีการศึกษา 2563 ดีมาก ดี พอใช้ ต่ า ต่ ามาก


สารสนเทศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ผลการประเมินความพึงพอใจ ของผู้ปกครอง ครู และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ที่มีต่อการจัดการ เรียนการสอนของโรงเรียนวีรศิลป์ ประจ าปีการศึกษา 2563 (จากผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 538 คน) ด้านการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา รายการ ระดับความพึงพอใจ คะแนนเฉลี่ย (ร้อยละ) 1. มีสิ่งอ านวยความสะดวกในการเรียนรู้ สื่อการเรียนเหมาะสม มีการน า เทคโนโลยี มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน 88.81 2. มีอาคารเรียน อาคารประกอบ และห้องน้ าเพียงพอกับนักเรียน 89.85 3. มีการดูแลรักษาความสะอาดของอาคารเรียน และบริเวณโรงเรียน 91.30 4. มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เป็นประโยชน์แก่นักเรียน และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 89.81 5. มีการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม 87.58 6. มีการบริหารจัดการโรงเรียนอย่างมีคุณภาพ 91.12 7. มีความเชื่อมั่นต่อการจัดการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน 92.34 88.81 89.85 91.30 89.81 87.58 91.12 92.34 85.00 86.00 87.00 88.00 89.00 90.00 91.00 92.00 93.00 1. มีสิ่งอ านวยความสะดวกในการเรียนรู้ สื่อการเรียนเหมาะสม มี การน าเทคโนโลยี มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน 2. มีอาคารเรียน อาคารประกอบ และห้องน้ าเพียงพอกับนักเรียน 3. มีการดูแลรักษาความสะอาดของอาคารเรียน และบริเวณโรงเรียน 4. มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เป็นประโยชน์แก่ นักเรียนและสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 5. มีการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม 6. มีการบริหารจัดการโรงเรียนอย่างมีคุณภาพ 7. มีความเชื่อมั่นต่อการจัดการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพของ โรงเรียน แผนภูมิ แสดงร้อยละความพึงพอใจด้านการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา


ด้านการจัดการเรียนการสอนของครู รายการ ระดับความพึงพอใจ คะแนนเฉลี่ย (ร้อยละ) 1. ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถในวิชาที่สอน 92.49 2. ครูมีการจัดระบบดูแลและช่วยเหลือนักเรียนอย่างสม่ าเสมอและ ต่อเนื่อง 92.12 3. ครูประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียนและบุคคลอื่น 92.45 4. ครูตรวจการบ้าน ตรวจสมุด ชิ้นงาน นักเรียนอย่างสม่ าเสมอ 92.23 5. ครูมีกระบวนการเรียนการสอนที่เหมาะสม มีคุณภาพและทันต่อ เหตุการณ์ 92.40 6. ครูมีการประเมินความรู้นักเรียนอย่างสม่ าเสมอ และรายงานผล การเรียนอย่างชัดเจน 92.42 92.49 92.12 92.45 92.23 92.40 92.42 91.90 92.00 92.10 92.20 92.30 92.40 92.50 92.60 1. ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถในวิชา ที่สอน 2. ครูมีการจัดระบบดูแลและช่วยเหลือนักเรียนอย่าง สม่ าเสมอและต่อเนื่อง 3. ครูประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียนและ บุคคลอื่น 4. ครูตรวจการบ้าน ตรวจสมุด ชิ้นงาน นักเรียนอย่าง สม่ าเสมอ 5. ครูมีกระบวนการเรียนการสอนที่เหมาะสม มีคุณภาพ และทันต่อเหตุการณ์ 6. ครูมีการประเมินความรู้นักเรียนอย่างสม่ าเสมอ และ รายงานผลการเรียนอย่างชัดเจน แผนภูมิแสดงร้อยละความพึงพอใจด้านการจัดการเรียนการสอนของครู


ด้านคุณภาพผู้เรียน รายการ ระดับความพึงพอใจ คะแนนเฉลี่ย (ร้อยละ) 1. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ความประพฤติมารยาท ระเบียบวินัย ของนักเรียน) 86.80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 85.43 3. นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์และการน าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวัน 85.50 4. นักเรียนมีความสามารถในการอ่านและการเขียน 86.58 5. นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อการเรียนของตนเอง 84.98 6. นักเรียนมีสุขภาพ อนามัย สุขภาพจิต การแสดงออก และมี ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น 89.44 86.80 85.43 85.50 86.58 84.98 89.44 82.00 83.00 84.00 85.00 86.00 87.00 88.00 89.00 90.00 1. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ความประพฤติ มารยาท ระเบียบวินัยของนักเรียน) 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 3. นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์และการ น าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน 4. นักเรียนมีความสามารถในการอ่านและการเขียน 5. นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อการเรียนของตนเอง 6. นักเรียนมีสุขภาพ อนามัย สุขภาพจิต การแสดงออก และมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น แผนภูมิ แสดงร้อยละความพึงพอใจด้านคุณภาพผู้เรียน


สรุปผลการประเมินความพึงพอใจรวมทุกด้าน รายการ ระดับความพึงพอใจ คะแนนเฉลี่ย (ร้อยละ) ด้านการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา 90.12 ด้านการจัดการเรียนการสอนของครู 92.29 ด้านคุณภาพผู้เรียน 86.46 รวมทุกด้าน 89.62 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครอง ครู และกรรมการบริหารโรงเรียน มีความพึงพอใจใน การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2563 ด้านการจัดการเรียนการสอนของครู เฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ92.29 (คะแนนเฉลี่ย 4.61) ความพึงพอใจอยู่ระดับ มากที่สุด รองลงมาด้านการบริหารจัดการ ภายในสถานศึกษา เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 90.12 (คะแนนเฉลี่ย 4.51) ความพึงพอใจอยู่ระดับ มากที่สุด และ ด้านคุณภาพผู้เรียน เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 86.46 (คะแนนเฉลี่ย 4.32) ความพึงพอใจอยู่ระดับ ปานกลาง รวมทุกด้าน เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 89.62 (คะแนนเฉลี่ย 4.48) ดังนั้น ความพึงพอใจของผู้ปกครอง ครู และกรรมการบริหารโรงเรียน มีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2563 อยู่ระดับ มาก 82 84 86 88 90 92 94 ด้านการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอนของครู ด้านคุณภาพผู้เรียน 90.12 92.29 86.46 แผนภูมิ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจรวมทุกด้าน


สารสนเทศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ แผนภูมิแสดงผลการประเมินการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ จ านวนครู ตามระดับคุณภาพ จากตาราง แผนภูมิ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ จากจ านวนครู พบว่า 1. ครูมีการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฎิบัติจริงและสามารถน าไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน จ านวนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 59.29 อยู่ในระดับคุณภาพ 3 (มีการปฏิบัติ ในระดับปาน กลาง) และจ านวนครูที่อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป (มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง ถึง ระดับมากที่สุด) คิดเป็น ร้อยละ 89.80 2. ครูมีการใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จ านวนมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 38.25 อยู่ในระดับคุณภาพ 2 (มีการปฏิบัติ ในระดับน้อย) และจ านวนครูที่อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป (มี การปฏิบัติ ในระดับปานกลาง ถึง ระดับมากที่สุด) คิดเป็นร้อยละ 89.80 ระดับคุณภาพ 1 มีการปฎิบัติ ในระดับน้อยที่สุด 2 มีการปฏิบัติ ในระดับน้อย 3 มีการปฏิบัติ ในระดับ ปานกลาง 4 มีการปฎิบัติ ในระดับมาก 5 มีการปฏิบัติในระดับ มากที่สุด การจัดการ เรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิด และปฎิบัติจริง และสามารถ น าไป ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตได้ การใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ และ แหล่งเรียนรู้ที่ เอื้อต่อการ เรียนรู้ การบริหารชั้น เรียนเชิงบวก การตรวจสอบ และประเมิน นักเรียนอย่าง เป็นระบบ และ ผลมาพัฒนา ผู้เรียน ผลที่เกิดกับ นักเรียนในการ จัดการเรียนรู้ ผ่าน กระบวนการคิด และปฎิบัติจริง ผลที่เกิดกับ นักเรียนในการ ใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ และ แหล่งเรียนรู้ของ ครู ผลที่เกิดกับ ผู้เรียนในการ ตรวจสอบและ ประเมินผู้เรียน อย่างเป็นระบบ ของครู ผลที่เกิดกับ ผู้เรียนในการ แลกเปลี่ยน เรียนรู้และให้ ข้อมูลสะท้อน กลับของครู 5 7.65 2.19 8.20 19.67 7.38 - 16.39 1.64 4 22.95 16.94 42.62 16.39 16.12 20.77 31.69 31.15 3 59.29 37.16 49.18 51.37 55.19 50.82 49.18 65.57 2 10.11 38.25 - 12.57 4.64 28.42 2.73 1.64 1 - 5.46 - - - - - - 7.65 2.19 8.20 19.67 7.38 - 16.39 1.64 22.95 16.94 42.62 16.39 16.12 20.77 31.69 31.15 59.29 37.16 49.18 51.37 55.19 50.82 49.18 65.57 10.11 38.25 - 12.57 4.64 28.42 2.73 1.64 - 5.46 - - - - - - - 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 5 4 3 2 1


สารสนเทศ มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก อัตลักษณ์โรงเรียนวีรศิลป์ “นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมตามแบบอย่างพระแม่มารี” (คุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ คุณธรรมทางศาสนา และคุณธรรมเทววิทยา) ปรัชญาของโรงเรียนวีรศิลป์ ที่ว่า “คุณธรรม น าวิชา พัฒนาสุข” (Morality Generates Wisdom and Happiness) ซึ่งโรงเรียนวีรศิลป์ เป็นโรงเรียนที่สังกิดในสังฆมณฑลราชบุรี เพื่อให้การสั่งสอน ฝึกฝน อบรมให้นักเรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง ชุมชน และประเทศชาติ (GE.2-3) 1 และให้โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านศาสนาคริสต์ ของชุมชน (The catholic School ข้อ 53-56) ซึ่งโรงเรียนมีแม่พระเป็นองค์อุปถัมภ์ จึงยึดแม่พระเป็น แบบอย่าง พระแม่มารีได้รับการเลือกสรรให้เป็นมารดาของพระมหาไถ่ เพราะพระแม่มารีเป็นคนดีและ เหมาะสมอย่างยิ่ง พระเป็นเจ้าได้ทรงส่งทูตสวรรค์มาแจ้งข่าวแก่พระแม่มารีกล่าวว่า “จงยินดีเถิด ท่านผู้ที่ พระเจ้าโปรดปราน พระเจ้าสถิตกับท่าน” (ลก. 1: 28) แสดงให้เห็นว่าแม่พระเป็นคนดีที่พระเจ้าทรง เลือกสรร เพราะพระนางมีคุณธรรมทั้ง 3 ระดับ คือคุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ คุณธรรมศาสนา และ คุณธรรมเทววิทยา คุณธรรม (Virtue) เปรียบเสมือนรากฐานของชีวิตมนุษย์ ซึ่งมีความจ าเป็นที่จะต้องได้รับการปลูกฝัง อบรม แนะน า และปฏิบัติอย่างสม่ าเสมอ ให้เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย เพื่อจะได้สามารถพัฒนาชีวิต ตนเองทั้งครบ คือร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม ซึ่งจะท าให้สามารถด าเนินชีวิตอย่างถูกต้องเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข คุณธรรมตามแบบอย่างของพระแม่มารี สามารถอธิบายรายละเอียดได้ ดังนี้ 1. คุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ : คือความดีที่มั่นคง แน่นอน ยั่งยืน ที่ต้องปรากฏอยู่ในมนุษย์ทุกคน ไม่ว่าเชื้อชาติ ภาษา เพศ วัยใด ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประการดังนี้ 1.1 ความรอบคอบ คือการรู้จักใช้ความรู้ เหตุผล ประสบการณ์ที่มีอยู่เดิมมาใช้ในการพิจารณาและ ตัดสินใจว่าจะกระท าพฤติกรรมหนึ่งพฤติกรรมใด ซึ่งพระแม่มารีทรงมีคุณธรรมความรอบคอบสูงมากดังที่ ปรากฎในเรื่องของความรอบคอบของพระแม่มารีดังนี้ 1.1.1 การป้องกัน พระแม่มารีจะใช้วิธีป้องกันในการคุ้มครอง พิทักษ์รักษาพระเยซูเจ้าให้พ้นจาก อันตราย ด้วยการน าประสบการณ์ สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ น ามาพิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วนและตัดสินใจด้วย ความรอบคอบ 1.1.2. การใช้เหตุผล พระแม่มารีใช้ความรู้ประกอบกับเหตุผลในการตัดสินใจ ด้วยเหตุผลและการ คิดอย่างรอบคอบและกล้ายืนหยัดในเหตุผลที่ถูกต้อง 1.2 ความมัธยัสถ์ คือการรู้จักควบคุมตนเองทั้งครบไม่ว่าร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ ความรู้สึกทาง สังคม โดยมุ่งมั่นและยึดมั่นในความดีและถูกต้อง ซึ่งพระแม่มารีได้ด าเนินชีวิตเป็นแบบอย่างดังนี้


1.2.1 ความรับผิดชอบ เมื่อยอมรับที่จะเป็นมารดาของพระมหาไถ่ พระนางรับผิดชอบเต็มที่แม้บางที จะไม่เข้าใจหรือมีความสงสัย พระแม่มารีสามารถควบคุมตนเองได้ดีและท าหน้าที่ของมารดาที่ดีสุดตลอดชีวิต ของพระนาง 1.2.2 ความสุภาพถ่อมตน เมื่อพระแม่มารีได้รับสาส์นจากทูตสวรรค์ให้เป็นมารดาของพระผู้ไถ่ พระ แม่มารีได้ประพฤติตนอย่างดีและเหมาะสมที่จะเป็นมารดาของพระเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ ทรงเคารพพระเยซูเจ้าใน ฐานะที่พระองค์ทรงเป็นบุตรพระเจ้า แม้ว่าพระนางจะรับหน้าที่เป็นมารดาก็ตาม 1.2.3 ความบริสุทธิ์ พระแม่มารีเป็นผู้บริสุทธิ์ทั้งกาย วาจา ใจ เพราะพระนางทรงคิดดี พูดดี และ ท าดีเสมอ 1.3 ความกล้าหาญ พระแม่มารีมั่นคง ยืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง และมั่นคงยืนหยัดในสิ่งที่ผิด สิ่งไม่ ถูกต้องแม้จะต้องเสียชีวิตก็ไม่ยอมปฏิบัติตาม พฤติกรรมบางเรื่องที่แสดงถึงความกล้าหาญของพระแม่มารี ได้แก่ 1.3.1 รับผิดชอบหน้าที่อย่างดีเสมอ เมื่อรับหน้าที่เป็นมารดาของพระเยซูเจ้าแล้ว ท่านได้ปกป้อง คุ้มครองพระเยซูเจ้าอย่างดีเท่าชีวิต 1.3.2 เสียสละ พระแม่มารีกล้าหาญ เสียสละยอมรับเป็นมารดาของพระเยซูเจ้า ซึ่งพระนางทราบดี ว่ามีความยากล าบากทั้งกายและจิตใจมากเพียงใดและพระนางยินดีสละตนทั้งครบและน้อมรับหน้าที่ด้วยความ กล้าหาญ 1.3.3 จิตอาสา พระแม่มารีพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้อื่นเสมอ มีความเมตตากรุณาต่อทุกคน พร้อมที่จะ มีชีวิตเพื่อผู้อื่นแม้ตนเองจะต้องล าบาก และไม่หวังผลตอบแทน เพียงขอให้ผู้อื่นมีความสุขเท่านั้นก็เพียงพอ 1.4 ความยุติธรรม คือการรู้จักคืนของพระเป็นเจ้าแก่พระเป็นเจ้าและคืนของซีซาร์แก่ซีซาร์ พฤติกรรมที่พระแม่มารีได้ปฏิบัติคือ 1.4.1 ความซื่อตรง ซื่อสัตย์ต่อค าสั่งและพระประสงค์ของพระเป็นเจ้าแม้ตนเองจะต้องล าบากก็ตาม 1.4.2 รับผิดชอบต่อหน้าที่ และปฏิบัติตามสิ่งที่ได้รับมอบหมายจนส าเร็จ 2. คุณธรรมทางศาสนา พระแม่มารีมีพฤติกรรมทางศาสนาที่เด่นชัดทั้งในการอบรมสั่งสอนและการปฏิบัติใน ชีวิตของตนซึ่งเราจะสามารถเข้าใจและพบรูปแบบชีวิตที่ดีของพระแม่มารีได้คือ 2.1 ภาวนา เพื่อเป็นการเชื่อมโยงตนเองกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ รับรู้ว่ามีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คุ้มครอง ปกปักรักษา มีพระเจ้ารู้เห็นการกระท าดีและไม่ดีของมนุษย์ ซึ่งจะท าให้มุ่งแต่จะกระท าความดี 2.2 การปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา 2.3 พิธีกรรม เป็นการแสดงออกของมนุษย์ต่อพระเป็นเจ้า พระแม่มารีทรงปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัด ในการร่วมปฏิบัติศาสนกิจอย่างสม่ าเสมอและเป็นนิสัย 3. คุณธรรมเทววิทยา คุณธรรมระดับนี้เป็นคุณธรรมชั้นสูง คุณธรรมระดับนี้มาจากคุณธรรมพื้นฐานของ มนุษย์และคุณธรรมทางศาสนา เมื่อเราแสดงออกมาเป็นพิธีกรรมทางศาสนา ไม่ว่าการภาวนา การร่วม พิธีกรรม การปฏิบัติตนตามหลักธรรมหรือบัญญัติของศาสนา เพราะเรามีความเชื่อ ความหวัง และความรัก ต่อพระเป็นเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เราเชื่อและเคารพบูชา


3.1 ความเชื่อ พระแม่มารีเชื่อในองค์พระผู้เป็นเจ้า กระท าทุกอย่างด้วยใจที่สงบ 3.2 ความหวัง พระแม่มารีวางใจในการน าของพระเจ้าเสมอ เราเป็นเพียงเครื่องมือของพระเจ้า เท่านั้น 3.3 ความรัก คนที่มีความรักต่อพระเจ้าเขาก็จะมีความรักต่อเพื่อนมนุษย์ คุณธรรมตามแบบอย่าง พระแม่มารีนี้ สามารถน ามาประพฤติปฏิบัติได้กับทุกคนไม่ว่าจะนับถือศาสนาใดก็ตาม ซึ่งการปฏิบัติตนจน เป็นผู้มีคุณธรรมนั้นจะท าให้ได้รับการพัฒนาตนทั้งครบและสามารถด าเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข สรุปผลการปฏิบัติตามอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของโรงเรียนวีรศิลป์ อัตลักษณ์ของโรงเรียน “คุณธรรม จริยธรรม ตามแบบอย่างพระแม่มารี” (คุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ คุณธรรมทางศาสนา และคุณธรรมเทววิทยา) 1.คุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ รายการประเมิน ครู นักเรียน ป.1 - ม.3 ป.1 - ม.3 1.1 ความรอบคอบ 90.19 86.15 1.2 ความมัธยัสถ์ 91.18 87.68 1.3 ความกล้าหาญ 93.56 88.69 1.4 ความยุติธรรม 94.35 90.62 2. คุณธรรมศาสนา รายการประเมิน ครู นักเรียน ป.1 - ม.3 ป.1 - ม.3 2.1 ภาวนา 91.28 93.35 2.2 พิธีกรรม 94.45 93.80 2.3 ปฏิบัติตนตามหลักธรรมศาสนา 93.8 93.70 3.คุณธรรมเทววิทยา รายการประเมิน ครู นักเรียน ป.1 - ม.3 ป.1 - ม.3 3.1 ความเชื่อ 95.14 92.63 3.2 ความหวัง 93.36 92.03 3.3 ความรัก 93.86 92.48


สรุปการประเมินคุณค่าพระวรสาร 21 ประการ ข้อ คุณค่าพระวรสาร ร้อยละ 1 ความเชื่อศรัทธา 92.53 2 ความจริง 87.53 3 การไตร่ตรอง และการภาวนา 87.24 4 การมีมโนธรรมเที่ยงตรง มีวิจารณญาณและความกล้าหาญเชิงศีลธรรม 96.96 5 อิสรภาพ 90.15 6 ความยินดี 87.31 7 ความเคารพ ความตระหนักในศักดิ์ศรีของมนุษย์ 92.08 8 ความสุภาพถ่อมตน 89.64 9 ความซื่อตรง 91.41 10 ความเรียบง่าย ความพอเพียง 89.02 11 ความรัก 92.18 12 ความเมตตา 90.97 13 ความกตัญญูรู้คุณ 92.18 14 การงาน / หน้าที่ 90.05 15 การรับใช้ 95.42 16 ความยุติธรรม 90.16 17 สันติ การคืนดี 92.14 18 การให้อภัย 93.18 19 ความเป็นหนึ่ง ความเป็นชุมชน 92.32 20 การพิศเพ่งสิ่งสร้าง / รักษ์ธรรมชาติ 91.66 21 ความหวัง 90.34


Click to View FlipBook Version