The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anuban65 Veerasilp, 2023-05-26 03:58:41

รายงาน SAR 2563

รายงาน SAR 2563

สายสามัญ สายอาชีพ ภาษา ชื่อรายวิชา คาบ ชื่อรายวิชา คาบ ชื่อรายวิชา คาบ รายวิชาพื้นฐาน 26 รายวิชาพื้นฐาน 24 รายวิชาพื้นฐาน 26 ภาษาไทย 3 ภาษาไทย 2 ภาษาไทย 3 คณิตศาสตร์ 5 คณิตศาสตร์ 4 คณิตศาสตร์ 5 วิทยาศาสตร์ 4 วิทยาศาสตร์ 4 วิทยาศาสตร์ 4 วิทยาการค านวณ 1 วิทยาการค านวณ 2 วิทยาการค านวณ 1 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 3 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 3 เศรษฐศาสตร์และภูมิศาสตร์ 3 ประวัติศาสตร์ 1 ประวัติศาสตร์ 1 ประวัติศาสตร์ 1 สุขศึกษา 1 สุขศึกษา 1 สุขศึกษา 1 พลศึกษา 1 พลศึกษา 1 พลศึกษา 1 ทัศนศิลป์ 1 ทัศนศิลป์ 1 ทัศนศิลป์ 1 ดนตรี-นาฏศิลป์ 1 ดนตรี-นาฏศิลป์ 1 ดนตรี-นาฏศิลป์ 1 การงานอาชีพ 1 การงานอาชีพ 1 การงานอาชีพ 1 ภาษาอังกฤษ 4 ภาษาอังกฤษ 3 ภาษาอังกฤษ 4 รายวิชาเพิ่มเติม 4 รายวิชาเพิ่มเติม 6 รายวิชาเพิ่มเติม 4 คริสต์ศาสนา 1 คริสต์ศาสนา 1 คริสต์ศาสนา 1 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 หน้าที่พลเมือง หน้าที่พลเมือง หน้าที่พลเมือง คอมพิวเตอร์ 1 งานสายอาชีพ 3 คอมพิวเตอร์ 1 รวม 30 30 30 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3 กิจกรรมแนะแนว 1 กิจกรรมแนะแนว 1 กิจกรรมแนะแนว 1 กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรียน -ลส./นน./ยุวกาชาด 1 -ลส./นน./ยุวกาชาด 1 -ลส./นน./ยุวกาชาด 1 -ชมรม/ชุมนุม 1 -ชมรม/ชุมนุม 1 -ชมรม/ชุมนุม 1 กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ รวม รวม รวม รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 2 รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 2 รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 2 ดนตรีสากล 1 ดนตรีสากล 1 ดนตรีสากล 1 ดนตรีไทย ดนตรีไทย ดนตรีไทย ภาษาจีน 1 ภาษาจีน 1 ภาษาจีน 1 Iรวมชั่วโมง 35 35 35 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวีรศิลป์ 2564 (ฉบับปรับปรุง)


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ แผนคณิต วิทย์/ คณิต ภาษา ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา นก. ชม. รหัสวิชา ชื่อรายวิชา นก. ชม. รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ ๔๔๐ รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ ๔๔๐ ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๑.๕ ๖๐ ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๑.๕ ๖๐ ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๑.๕ ๖๐ ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ๑.๕ ๖๐ ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ๑.๕ ๖๐ ว๒๑๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๒ ๑.๕ ๖๐ ว๒๑๑๐๒ วิทยาการค านวณ ๑ ๐.๕ ๒๐ ว๒๑๑๐๔ วิทยาการค านวณ ๒ ๐.๕ ๒๐ ส๒๑๑๐๑ ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ๑ ๑.๕ ๖๐ ส๒๑๑๐๓ เศรษฐศาสตร์และภูมิศาสตร์ ๑ ๑.๕ ๖๐ ส๒๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑ ๐.๕ ๒๐ ส๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๒ ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา ๑ ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๓ สุขศึกษา ๒ ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๒ พลศึกษา ๑ ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๔ พลศึกษา ๒ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๑ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๑๑๐๓ ทัศนศิลป์ ๒ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๑๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๑ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๑๑๐๔ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๒ ๐.๕ ๒๐ ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๐.๕ ๒๐ ง๒๑๑๐3 การงานอาชีพ ๒ ๐.๕ ๒๐ อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๑.๕ ๖๐ อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพิ่มเติม 2.5 10๐ รายวิชาเพิ่มเติม 2.5 10๐ ส๒๑๒๐๑ คริสต์ศาสนา ๑ ๐.๕ ๒๐ ส๒๑๒๐๒ คริสต์ศาสนา ๒ ๐.๕ ๒๐ อ๒๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร๑ 1.0 4๐ อ๒๑๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 1.0 40 ส21231 หน้าที่พลเมือง 1 ๐.๕ ๒๐ ส21232 หน้าที่พลเมือง 2 ๐.๕ ๒๐ ว21205 คอมพิวเตอร์ 1 0.5 20 ว21206 คอมพิวเตอร์ 2 0.5 20 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรียน -ลส./นน./ยุวกาชาด ๒๐ -ลส./นน./ยุวกาชาด ๒๐ -ชมรม/ชุมนุม ๒๐ -ชมรม/ชุมนุม ๒๐ กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๑๐* กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๑๐* รวม ๖๐๐ รวม ๖๐๐ รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 60 รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 60 ศ21201 ดนตรีสากล 1 20 ศ21203 ดนตรีสากล 2 20 ศ21202 ดนตรีไทย 1 20 ศ21204 ดนตรีไทย 2 20 จ21201 ภาษาจีน 1 20 จ21202 ภาษาจีน 2 20 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวีรศิลป์ 2564 (ฉบับปรับปรุง)


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 แผนคณิต วิทย์/ คณิต ภาษา ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา นก. ชม. รหัสวิชา ชื่อรายวิชา นก. ชม. รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ ๔๔๐ รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ ๔๔๐ ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๑.๕ ๖๐ ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ๑.๕ ๖๐ ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๑.๕ ๖๐ ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ๑.๕ ๖๐ ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๑.๕ ๖๐ ว๒๒๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๔ ๑.๕ ๖๐ ว๒2๑๐๒ วิทยาการค านวณ ๓ ๐.๕ ๒๐ ว๒2๑๐๔ วิทยาการค านวณ ๔ ๐.๕ ๒๐ ส๒๒๑๐๑ ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ๒ ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๑๐๓ เศรษฐศาสตร์และภูมิศาสตร์ ๒ ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ ๐.๕ ๒๐ ส๒๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๔ ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๑ สุขศึกษา ๓ ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๓ สุขศึกษา ๔ ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๒ พลศึกษา ๓ ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๔ พลศึกษา ๔ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๒๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๓ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๒๑๐๓ ทัศนศิลป์ ๔ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๒๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๓ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๒๑๐๔ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๔ ๐.๕ ๒๐ ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ ๐.๕ ๒๐ ง๒๒๑๐3 การงานอาชีพ ๔ ๐.๕ ๒๐ อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๑.๕ ๖๐ อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพิ่มเติม 2.5 10๐ รายวิชาเพิ่มเติม 2.5 10๐ ส๒๒๒๐๑ คริสต์ศาสนา ๓ ๐.๕ ๒๐ ส๒๒๒๐๒ คริสต์ศาสนา ๔ ๐.๕ ๒๐ อ๒๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๓ 1.0 4๐ อ๒๒๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๔ 1.0 40 ส22233 หน้าที่พลเมือง 3 ๐.๕ ๒๐ ส22234 หน้าที่พลเมือง 4 ๐.๕ ๒๐ ว22205 คอมพิวเตอร์ 3 0.5 20 ว22206 คอมพิวเตอร์ 4 0.5 20 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรียน -ลส./นน./ยุวกาชาด ๒๐ -ลส./นน./ยุวกาชาด ๒๐ -ชมรม/ชุมนุม ๒๐ -ชมรม/ชุมนุม ๒๐ กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๑๐* กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๑๐* รวม ๖๐๐ รวม ๖๐๐ รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 60 รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 60 ศ22201 ดนตรีสากล 3 20 ศ22203 ดนตรีสากล 4 20 ศ22202 ดนตรีไทย 3 20 ศ22204 ดนตรีไทย 4 20 จ22201 ภาษาจีน 3 20 จ22202 ภาษาจีน 4 20 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวีรศิลป์ 2564 (ฉบับปรับปรุง)


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แผนคณิต วิทย์/ คณิต ภาษา ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา นก. ชม. รหัสวิชา ชื่อรายวิชา นก. ชม. รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ ๔๔๐ รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ ๔๔๐ ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑.๕ ๖๐ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๑.๕ ๖๐ ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๑.๕ ๖๐ ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ๑.๕ ๖๐ ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ๑.๕ ๖๐ ว๒๓๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๖ ๑.๕ ๖๐ ว๒3๑๐๒ วิทยาการค านวณ ๕ ๐.๕ ๒๐ ว๒3๑๐๔ วิทยาการค านวณ ๖ ๐.๕ ๒๐ ส๒๓๑๐๑ ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ๓ ๑.๕ ๖๐ ส๒๓๑๐๓ เศรษฐศาสตร์และภูมิศาสตร์ ๓ ๑.๕ ๖๐ ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๕ ๐.๕ ๒๐ ส๒๓๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๖ ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษา ๕ ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๓สุขศึกษา ๖ ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๒ พลศึกษา ๕ ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๔พลศึกษา ๖ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๓๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๕ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๓๑๐๓ ทัศนศิลป์ ๖ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๓๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๕ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๓๑๐๔ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๖ ๐.๕ ๒๐ ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๐.๕ ๒๐ ง๒๓๑๐3 การงานอาชีพ ๖ ๐.๕ ๒๐ อ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๑.๕ ๖๐ อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพิ่มเติม 2.5 10๐ รายวิชาเพิ่มเติม 2.5 10๐ ส๒๓๒๐๑ คริสต์ศาสนา ๕ ๐.๕ ๒๐ ส๒๓๒๐๒ คริสต์ศาสนา ๖ ๐.๕ ๒๐ อ๒๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร๕ 1.0 4๐ อ๒๓๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร๖ 1.0 4๐ ส23235 หน้าที่พลเมือง 5 ๐.๕ ๒๐ ส23236 หน้าที่พลเมือง 6 ๐.๕ ๒๐ ว23205 คอมพิวเตอร์ 5 0.5 20 ว23206 คอมพิวเตอร์ 6 0.5 20 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรียน -ลส./นน./ยุวกาชาด ๒๐ -ลส./นน./ยุวกาชาด ๒๐ -ชมรม/ชุมนุม ๒๐ -ชมรม/ชุมนุม ๒๐ กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๑๐* กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๑๐* รวม ๖๐๐ รวม ๖๐๐ รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 60 รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 60 ศ23201 ดนตรีสากล 5 20 ศ23203 ดนตรีสากล 6 20 ศ23202 ดนตรีไทย 5 20 ศ23204 ดนตรีไทย 6 20 จ23201 ภาษาจีน 5 20 จ23202 ภาษาจีน 6 20 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวีรศิลป์ 2564 (ฉบับปรับปรุง)


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ แผนอาชีพ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา นก. ชม. รหัสวิชา ชื่อรายวิชา นก. ชม. รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ ๔๔๐ รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ ๔๔๐ ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๑.๕ ๖๐ ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๑.๕ ๖๐ ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๑.๕ ๖๐ ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ๑.๕ ๖๐ ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ๑.๕ ๖๐ ว๒๑๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๒ ๑.๕ ๖๐ ว๒๑๑๐๒ วิทยาการค านวณ ๑ ๐.๕ ๒๐ ว๒๑๑๐๔ วิทยาการค านวณ ๒ ๐.๕ ๒๐ ส๒๑๑๐๑ ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ๑ ๑.๕ ๖๐ ส๒๑๑๐๓ เศรษฐศาสตร์และภูมิศาสตร์ ๑ ๑.๕ ๖๐ ส๒๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑ ๐.๕ ๒๐ ส๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๒ ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา ๑ ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๓ สุขศึกษา ๒ ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๒ พลศึกษา ๑ ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๔ พลศึกษา ๒ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๑ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๑๑๐๓ ทัศนศิลป์ ๒ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๑๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๑ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๑๑๐๔ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๒ ๐.๕ ๒๐ ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๐.๕ ๒๐ ง๒๑๑๐3 การงานอาชีพ ๒ ๐.๕ ๒๐ อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๑.๕ ๖๐ อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพิ่มเติม 3.0 12๐ รายวิชาเพิ่มเติม 3.0 12๐ ส๒๑๒๐๑ คริสต์ศาสนา ๑ ๐.๕ ๒๐ ส๒๑๒๐๒ คริสต์ศาสนา ๒ ๐.๕ ๒๐ อ๒๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร๑ 1.0 4๐ อ๒๑๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 1.0 40 ส21231 หน้าที่พลเมือง 1 ๐.๕ ๒๐ ส21232 หน้าที่พลเมือง 2 ๐.๕ ๒๐ ว21205 คอมพิวเตอร์ 1 0.5 20 ว21206 คอมพิวเตอร์ 2 0.5 20 ง21201 งานช่าง 1 0.5 20 ง21203 งานช่าง 2 0.5 20 ง21202 งานประดิษฐ์ 1 0.5 20 ง21204 งานประดิษฐ์ 2 0.5 20 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรียน -ลส./นน./ยุวกาชาด ๒๐ -ลส./นน./ยุวกาชาด ๒๐ -ชมรม/ชุมนุม ๒๐ -ชมรม/ชุมนุม ๒๐ กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๑๐* กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๑๐* รวม ๖๐๐ รวม ๖๐๐ รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 60 รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 60 ศ21201 ดนตรีสากล 1 20 ศ21203 ดนตรีสากล 2 20 ศ21202 ดนตรีไทย 1 20 ศ21204 ดนตรีไทย 2 20 จ21201 ภาษาจีน 1 20 จ21202 ภาษาจีน 2 20 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวีรศิลป์ 2564 (ฉบับปรับปรุง)


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 แผนอาชีพ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา นก. ชม. รหัสวิชา ชื่อรายวิชา นก. ชม. รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ ๔๔๐ รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ ๔๔๐ ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๑.๕ ๖๐ ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ๑.๕ ๖๐ ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๑.๕ ๖๐ ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ๑.๕ ๖๐ ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๑.๕ ๖๐ ว๒๒๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๔ ๑.๕ ๖๐ ว๒2๑๐๒ วิทยาการค านวณ ๓ ๐.๕ ๒๐ ว๒2๑๐๔ วิทยาการค านวณ ๔ ๐.๕ ๒๐ ส๒๒๑๐๑ ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ๒ ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๑๐๓ เศรษฐศาสตร์และภูมิศาสตร์ ๒ ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ ๐.๕ ๒๐ ส๒๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๔ ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๑ สุขศึกษา ๓ ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๓ สุขศึกษา ๔ ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๒ พลศึกษา ๓ ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๔ พลศึกษา ๔ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๒๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๓ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๒๑๐๓ ทัศนศิลป์ ๔ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๒๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๓ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๒๑๐๔ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๔ ๐.๕ ๒๐ ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ ๐.๕ ๒๐ ง๒๒๑๐3 การงานอาชีพ ๔ ๐.๕ ๒๐ อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๑.๕ ๖๐ อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพิ่มเติม 3.0 12๐ รายวิชาเพิ่มเติม 3.0 12๐ ส๒๒๒๐๑ คริสต์ศาสนา ๓ ๐.๕ ๒๐ ส๒๒๒๐๒ คริสต์ศาสนา ๔ ๐.๕ ๒๐ อ๒๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๓ 1.0 4๐ อ๒๒๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๔ 1.0 40 ส22233 หน้าที่พลเมือง 3 ๐.๕ ๒๐ ส22234 หน้าที่พลเมือง 4 ๐.๕ ๒๐ ว22205 คอมพิวเตอร์ 3 0.5 20 ว22206 คอมพิวเตอร์ 4 0.5 20 ง22201 งานช่าง 3 ๐.๕ ๒๐ ง22203 งานช่าง 4 ๐.๕ ๒๐ ง22202 งานประดิษฐ์ 3 0.5 20 ง22204 งานประดิษฐ์ 4 0.5 20 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรียน -ลส./นน./ยุวกาชาด ๒๐ -ลส./นน./ยุวกาชาด ๒๐ -ชมรม/ชุมนุม ๒๐ -ชมรม/ชุมนุม ๒๐ กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๑๐* กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๑๐* รวม ๖๐๐ รวม ๖๐๐ รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 60 รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 60 ศ22201 ดนตรีสากล 3 20 ศ22203 ดนตรีสากล 4 20 ศ22202 ดนตรีไทย 3 20 ศ22204 ดนตรีไทย 4 20 จ22201 ภาษาจีน 3 20 จ22202 ภาษาจีน 4 20 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวีรศิลป์ 2564 (ฉบับปรับปรุง)


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แผนอาชีพ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา นก. ชม. รหัสวิชา ชื่อรายวิชา นก. ชม. รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ ๔๔๐ รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ ๔๔๐ ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑.๕ ๖๐ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๑.๕ ๖๐ ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๑.๕ ๖๐ ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ๑.๕ ๖๐ ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ๑.๕ ๖๐ ว๒๓๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๖ ๑.๕ ๖๐ ว๒3๑๐๒ วิทยาการค านวณ ๕ ๐.๕ ๒๐ ว๒3๑๐๔ วิทยาการค านวณ ๖ ๐.๕ ๒๐ ส๒๓๑๐๑ ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ๓ ๑.๕ ๖๐ ส๒๓๑๐๓ เศรษฐศาสตร์และภูมิศาสตร์ ๓ ๑.๕ ๖๐ ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๕ ๐.๕ ๒๐ ส๒๓๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๖ ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษา ๕ ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๓สุขศึกษา ๖ ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๒ พลศึกษา ๕ ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๔พลศึกษา ๖ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๓๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๕ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๓๑๐๓ ทัศนศิลป์ ๖ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๓๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๕ ๐.๕ ๒๐ ศ๒๓๑๐๔ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๖ ๐.๕ ๒๐ ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๐.๕ ๒๐ ง๒๓๑๐3 การงานอาชีพ ๖ ๐.๕ ๒๐ อ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๑.๕ ๖๐ อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพิ่มเติม 3.0 12๐ รายวิชาเพิ่มเติม 3.0 12๐ ส๒๓๒๐๑ คริสต์ศาสนา ๕ ๐.๕ ๒๐ ส๒๓๒๐๒ คริสต์ศาสนา ๖ ๐.๕ ๒๐ อ๒๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร๕ 1.0 4๐ อ๒๓๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร๖ 1.0 4๐ ส23235 หน้าที่พลเมือง 5 ๐.๕ ๒๐ ส23236 หน้าที่พลเมือง 6 ๐.๕ ๒๐ ว23205 คอมพิวเตอร์ 5 0.5 20 ว23206 คอมพิวเตอร์ 6 0.5 20 ง23201 งานช่าง 5 ๐.๕ ๒๐ ง23203 งานช่าง 6 ๐.๕ ๒๐ ง23202 งานประดิษฐ์ 5 0.5 20 ง23204 งานประดิษฐ์ 6 0.5 20 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรียน -ลส./นน./ยุวกาชาด ๒๐ -ลส./นน./ยุวกาชาด ๒๐ -ชมรม/ชุมนุม ๒๐ -ชมรม/ชุมนุม ๒๐ กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๑๐* กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๑๐* รวม ๖๐๐ รวม ๖๐๐ รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 60 รายวิชาเสริม ไม่คิดหน่วยกิต 60 ศ23201 ดนตรีสากล 5 20 ศ23203 ดนตรีสากล 6 20 ศ23202 ดนตรีไทย 5 20 ศ23204 ดนตรีไทย 6 20 จ23201 ภาษาจีน 5 20 จ23202 ภาษาจีน 6 20


เอกสารประกอบ (มาตรฐานเพ่ิมเติม ระดับการศึกษาปฐมวัย )


มาตรฐานเพิ่มเติม ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานที่4 การจัดการศึกษาคาทอลิก ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลส าเร็จ (ข้อ) ผลการประเมิน ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ คุณภาพที่ได้ 1 โรงเรียนด ำเนินกำรบริหำรจัดกำรศึกษำแบบคำทอลิก มี ฝ่ำยหรืองำนจิตตำภิบำล มีกำรบูรณำกำรคุณค่ำพระวรสำร และมีแผนพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำที่สอดคล้องกับแผน แม่บทของฝ่ำยอบรมศึกษำ มีกำรจัดบรรยำกำศคำทอลิก ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และสร้ำงขวัญก ำลังใจให้กับครู เด็กมีควำมสุขและมีควำมรู้เกี่ยวกับกิจกรรมที่จัดให้ 5 ยอดเยี่ยม 1.1 มีกำรด ำเนินงำนบริหำรและจัดกำรศึกษำแบบคำทอลิก √ - 1.2 มีฝ่ำยหรืองำนจิตตำภิบำลบูรณำกำรคุณค่ำพระวรสำร √ - 1.3 มีแผนพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำที่สอดคล้องกับแผน แม่บทของฝ่ำยอบรมศึกษำ √ - 1.4 มีกำรจัดบรรยำกำศคำทอลิก ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้เด็กมีควำมสุขและมีควำมรู้กับกิจกรรมที่ โรงเรียนจัด √ - 1.5 มีกำรสร้ำงขวัญก ำลังใจให้กับครู √ - สรุปผลการประเมิน = ผลรวมผลส ำเร็จทุกประเด็นพิจำรณำ จ ำนวนประเด็นพิจำรณำ 5 ยอดเยี่ยม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 4 โรงเรียนวีรศิลป์ เป็นโรงเรียนในสังกัดสังฆมณฑลรำชบุรี ก ำหนดรูปแบบกำรบริหำรจัดกำรกำรเรียนรู้ กำรท ำงำนและกำรด ำเนินชีวิตตำมจิตตำรมณ์พระวรสำร ในบรรยำกำศของโรงเรียนคำทอลิก ตำมแผน ปฏิบัติงำนอภิบำลและประกำศข่ำวดี ค.ศ.2016-2020 ของสังฆมณฑลรำชบุรี ที่เน้นเอกลักษณ์ของโรงเรียน คำทอลิก สถำนศึกษำที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สร้ำงเด็กให้เป็นคนดี อย่ำงเป็นระบบและต่อเนื่อง ท ำงำน แบบมีส่วนร่วม โดยใช้กระบวนกำร P-D-C-A และ TQM มีกำรก ำหนดแผนงำนอภิบำลเพื่อประกำศข่ำวดีที่ เป็นรูปธรรมชัดเจน จัดให้มีฝ่ำยจิตตำภิบำล งำนค ำสอน งำนพิธีกรรม งำนอภิบำลและแพร่ธรรม จัด กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน ที่เน้นอัตลักษณ์และเอกลักษณ์กำรศึกษำคำทอลิก บูรณำกำรแผนกำรเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับคุณค่ำพระวรสำร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็ก จัดกิจกรรมให้เด็กที่เน้นจิตอำสำ จัด กิจกรรมควำมสัมพันธ์ระหว่ำง บ้ำน วัด โรงเรียน (บวร) และสร้ำงขวัญ ก ำลังใจ เพื่อสร้ำงบรรยำกำศโรงเรียน คำทอลิก จัดกิจกรรมงำนอภิบำลดูแลเด็กด้วยควำมเอำใจใส่อย่ำงใกล้ชิด ในวิถีชีวิตของโรงเรียน เพื่อพัฒนำ ศักยภำพของเด็ก


เอกสารประกอบ (มาตรฐานเพ่ิมเติม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)


มาตรฐานเพิ่มเติม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมินคุณภาพที่ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ 1 มีฝ่ายหรืองานจิตตาภิบาล ดีเลิศ ยอดเยี่ยม 2 มีการบูรณาการคุณค่าพระวรสาร ดีเลิศ ยอดเยี่ยม 3 มีแผนพัฒนาฯที่สอดคล้องกับแผน แม่บทของฝ่ายการอบรมศึกษา ดีเลิศ ยอดเยี่ยม 4 มีการจัดบรรยากาศคาทอลิก ดีเลิศ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมิน ดีเลิศ ยอดเยี่ยม กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่เพิ่มเติม โรงเรียนวีรศิลป์ เป็นโรงเรียนในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี ก าหนดรูปแบบการบริหารจัดการ การ จัดการเรียนรู้ การท างานและการด าเนินชีวิตตามจิตตารมณ์พระวรสาร ในบรรยากาศของโรงเรียนคาทอลิก ที่เน้นเอกลักษณ์ของโรงเรียนคาทอลิก โรงเรียนที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สร้างเด็กให้เป็นคนดี อย่างเป็น ระบบและต่อเนื่อง ท างานแบบมีส่วนร่วม โดยใช้กระบวนการ P-D-C-A มีการก าหนดแผนงานอภิบาลเพื่อ ประกาศข่าวดีที่เป็นรูปธรรมชัดเจน พัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรียน ที่ใช้แปลงเพาะบ่มทาง การศึกษาของโรงเรียนเป็นสนามแห่งคุณธรรม จริยธรรม ที่เสริมสร้างประสบการณ์แห่งความเชื่อ ความ ศรัทธาในศาสนาที่นักเรียนแต่ละคนนับถือ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันค่านิยมตามประสาโลก ทั้งในด้านวัตถุนิยม บริโภคนิยม หรือสุขนิยม ให้ห่างไกลจากนักเรียน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายการจัดการศึกษาของโรงเรียนใน เครือสังฆมณฑลราชบุรี ปรัชญาการศึกษาคาทอลิก ที่อภิบาลดูแลนักเรียน ให้สามารถเลือกกระท าในสิ่งที่ ถูกต้อง อีกทั้งเป็นการพัฒนานักเรียนในทุกมิติทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ให้เป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งครบตามแบบอย่างพระคริสตเจ้า จัดให้มีฝ่ายจิตตาภิบาล งานค าสอน งานพิธีกรรม งานอภิบาล และแพร่ธรรม จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เน้นอัตลักษณ์และเอกลักษณ์การศึกษาคาทอลิก บูรณาการ แผนการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ และการสอนในวิชาคริสต์ศาสนา ให้สอดคล้องกับคุณค่าพระวรสาร 21 ประการ เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในช่วงการเรียนการสอนภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)


อัตลักษณ์โรงเรียนวีรศิลป์ “นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมตามแบบอย่างพระแม่มารี” (คุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ คุณธรรมทางศาสนา และคุณธรรมเทววิทยา) ปรัชญาของโรงเรียนวีรศิลป์ ที่ว่า “คุณธรรม น าวิชา พัฒนาสุข” (Morality Generates Wisdom and Happiness) ซึ่งโรงเรียนวีรศิลป์ เป็นโรงเรียนที่สังกิดในสังฆมณฑลราชบุรี เพื่อให้การสั่งสอน ฝึกฝน อบรมให้นักเรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง ชุมชน และประเทศชาติ (GE.2-3) 1 และให้โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านศาสนาคริสต์ ของชุมชน (The catholic School ข้อ 53-56) ซึ่งโรงเรียนมีแม่พระเป็นองค์อุปถัมภ์ จึงยึดแม่พระเป็น แบบอย่าง พระแม่มารีได้รับการเลือกสรรให้เป็นมารดาของพระมหาไถ่ เพราะพระแม่มารีเป็นคนดีและ เหมาะสมอย่างยิ่ง พระเป็นเจ้าได้ทรงส่งทูตสวรรค์มาแจ้งข่าวแก่พระแม่มารีกล่าวว่า “จงยินดีเถิด ท่านผู้ที่ พระเจ้าโปรดปราน พระเจ้าสถิตกับท่าน” (ลก. 1: 28) แสดงให้เห็นว่าแม่พระเป็นคนดีที่พระเจ้าทรง เลือกสรร เพราะพระนางมีคุณธรรมทั้ง 3 ระดับ คือคุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ คุณธรรมศาสนา และ คุณธรรมเทววิทยา คุณธรรม (Virtue) เปรียบเสมือนรากฐานของชีวิตมนุษย์ ซึ่งมีความจ าเป็นที่จะต้องได้รับการปลูกฝัง อบรม แนะน า และปฏิบัติอย่างสม่ าเสมอ ให้เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย เพื่อจะได้สามารถพัฒนาชีวิต ตนเองทั้งครบ คือร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม ซึ่งจะท าให้สามารถด าเนินชีวิตอย่างถูกต้องเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข คุณธรรมตามแบบอย่างของพระแม่มารี สามารถอธิบายรายละเอียดได้ ดังนี้ 1. คุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ : คือความดีที่มั่นคง แน่นอน ยั่งยืน ที่ต้องปรากฏอยู่ในมนุษย์ทุกคน ไม่ว่าเชื้อ ชาติ ภาษา เพศ วัยใด ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประการดังนี้ 1.1 ความรอบคอบ คือการรู้จักใช้ความรู้ เหตุผล ประสบการณ์ที่มีอยู่เดิมมาใช้ในการพิจารณาและ ตัดสินใจว่าจะกระท าพฤติกรรมหนึ่งพฤติกรรมใด ซึ่งพระแม่มารีทรงมีคุณธรรมความรอบคอบสูงมากดังที่ ปรากฎในเรื่องของความรอบคอบของพระแม่มารีดังนี้ 1.1.1 การป้องกัน พระแม่มารีจะใช้วิธีป้องกันในการคุ้มครอง พิทักษ์รักษาพระเยซูเจ้าให้พ้นจาก อันตราย ด้วยการน าประสบการณ์ สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ น ามาพิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วนและตัดสินใจด้วย ความรอบคอบ 1.1.2. การใช้เหตุผล พระแม่มารีใช้ความรู้ประกอบกับเหตุผลในการตัดสินใจ ด้วยเหตุผลและการ คิดอย่างรอบคอบและกล้ายืนหยัดในเหตุผลที่ถูกต้อง 1.2 ความมัธยัสถ์ คือการรู้จักควบคุมตนเองทั้งครบไม่ว่าร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ ความรู้สึกทาง สังคม โดยมุ่งมั่นและยึดมั่นในความดีและถูกต้อง ซึ่งพระแม่มารีได้ด าเนินชีวิตเป็นแบบอย่างดังนี้


1.2.1 ความรับผิดชอบ เมื่อยอมรับที่จะเป็นมารดาของพระมหาไถ่ พระนางรับผิดชอบเต็มที่แม้บางที จะไม่เข้าใจหรือมีความสงสัย พระแม่มารีสามารถควบคุมตนเองได้ดีและท าหน้าที่ของมารดาที่ดีสุดตลอดชีวิต ของพระนาง 1.2.2 ความสุภาพถ่อมตน เมื่อพระแม่มารีได้รับสาส์นจากทูตสวรรค์ให้เป็นมารดาของพระผู้ไถ่ พระ แม่มารีได้ประพฤติตนอย่างดีและเหมาะสมที่จะเป็นมารดาของพระเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ ทรงเคารพพระเยซูเจ้าใน ฐานะที่พระองค์ทรงเป็นบุตรพระเจ้า แม้ว่าพระนางจะรับหน้าที่เป็นมารดาก็ตาม 1.2.3 ความบริสุทธิ์ พระแม่มารีเป็นผู้บริสุทธิ์ทั้งกาย วาจา ใจ เพราะพระนางทรงคิดดี พูดดี และ ท าดีเสมอ 1.3 ความกล้าหาญ พระแม่มารีมั่นคง ยืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง และมั่นคงยืนหยัดในสิ่งที่ผิด สิ่งไม่ ถูกต้องแม้จะต้องเสียชีวิตก็ไม่ยอมปฏิบัติตาม พฤติกรรมบางเรื่องที่แสดงถึงความกล้าหาญของพระแม่มารี ได้แก่ 1.3.1 รับผิดชอบหน้าที่อย่างดีเสมอ เมื่อรับหน้าที่เป็นมารดาของพระเยซูเจ้าแล้ว ท่านได้ปกป้อง คุ้มครองพระเยซูเจ้าอย่างดีเท่าชีวิต 1.3.2 เสียสละ พระแม่มารีกล้าหาญ เสียสละยอมรับเป็นมารดาของพระเยซูเจ้า ซึ่งพระนางทราบดี ว่ามีความยากล าบากทั้งกายและจิตใจมากเพียงใดและพระนางยินดีสละตนทั้งครบและน้อมรับหน้าที่ด้วยความ กล้าหาญ 1.3.3 จิตอาสา พระแม่มารีพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้อื่นเสมอ มีความเมตตากรุณาต่อทุกคน พร้อมที่จะ มีชีวิตเพื่อผู้อื่นแม้ตนเองจะต้องล าบาก และไม่หวังผลตอบแทน เพียงขอให้ผู้อื่นมีความสุขเท่านั้นก็เพียงพอ 1.4 ความยุติธรรม คือการรู้จักคืนของพระเป็นเจ้าแก่พระเป็นเจ้าและคืนของซีซาร์แก่ซีซาร์ พฤติกรรมที่พระแม่มารีได้ปฏิบัติคือ 1.4.1 ความซื่อตรง ซื่อสัตย์ต่อค าสั่งและพระประสงค์ของพระเป็นเจ้าแม้ตนเองจะต้องล าบากก็ตาม 1.4.2 รับผิดชอบต่อหน้าที่ และปฏิบัติตามสิ่งที่ได้รับมอบหมายจนส าเร็จ 2. คุณธรรมทางศาสนา พระแม่มารีมีพฤติกรรมทางศาสนาที่เด่นชัดทั้งในการอบรมสั่งสอนและการปฏิบัติใน ชีวิตของตนซึ่งเราจะสามารถเข้าใจและพบรูปแบบชีวิตที่ดีของพระแม่มารีได้คือ 2.1 ภาวนา เพื่อเป็นการเชื่อมโยงตนเองกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ รับรู้ว่ามีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คุ้มครอง ปกปักรักษา มีพระเจ้ารู้เห็นการกระท าดีและไม่ดีของมนุษย์ ซึ่งจะท าให้มุ่งแต่จะกระท าความดี 2.2 การปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา 2.3 พิธีกรรม เป็นการแสดงออกของมนุษย์ต่อพระเป็นเจ้า พระแม่มารีทรงปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัด ในการร่วมปฏิบัติศาสนกิจอย่างสม่ าเสมอและเป็นนิสัย 3. คุณธรรมเทววิทยา คุณธรรมระดับนี้เป็นคุณธรรมชั้นสูง คุณธรรมระดับนี้มาจากคุณธรรมพื้นฐานของ มนุษย์และคุณธรรมทางศาสนา เมื่อเราแสดงออกมาเป็นพิธีกรรมทางศาสนา ไม่ว่าการภาวนา การร่วม


พิธีกรรม การปฏิบัติตนตามหลักธรรมหรือบัญญัติของศาสนา เพราะเรามีความเชื่อ ความหวัง และความรัก ต่อพระเป็นเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เราเชื่อและเคารพบูชา 3.1 ความเชื่อ พระแม่มารีเชื่อในองค์พระผู้เป็นเจ้า กระท าทุกอย่างด้วยใจที่สงบ 3.2 ความหวัง พระแม่มารีวางใจในการน าของพระเจ้าเสมอ เราเป็นเพียงเครื่องมือของพระเจ้า เท่านั้น 3.3 ความรัก คนที่มีความรักต่อพระเจ้าเขาก็จะมีความรักต่อเพื่อนมนุษย์ คุณธรรมตามแบบอย่าง พระแม่มารีนี้ สามารถน ามาประพฤติปฏิบัติได้กับทุกคนไม่ว่าจะนับถือศาสนาใดก็ตาม ซึ่งการปฏิบัติตนจน เป็นผู้มีคุณธรรมนั้นจะท าให้ได้รับการพัฒนาตนทั้งครบและสามารถด าเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข สรุปผลการปฏิบัติตามอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของโรงเรียนวีรศิลป์ปีการศึกษา 2564 อัตลักษณ์ของโรงเรียน “คุณธรรม จริยธรรม ตามแบบอย่างพระแม่มารี” (คุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ คุณธรรมทางศาสนา และคุณธรรมเทววิทยา) 1.คุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ รายการประเมิน ครู นักเรียน ป.1 - ม.3 ป.1 - ม.3 1.1 ความรอบคอบ 96.60 97.79 1.2 ความมัธยัสถ์ 92.82 99.70 1.3 ความกล้าหาญ 95.83 99.98 1.4 ความยุติธรรม 95.24 99.60 2. คุณธรรมศาสนา รายการประเมิน ครู นักเรียน ป.1 - ม.3 ป.1 - ม.3 2.1 ภาวนา 93.30 99.79 2.2 พิธีกรรม 96.02 99.98 2.3 ปฏิบัติตนตามหลักธรรมศาสนา 95.83 99.97 3.คุณธรรมเทววิทยา รายการประเมิน ครู นักเรียน ป.1 - ม.3 ป.1 - ม.3 3.1 ความเชื่อ 92.52 98.39 3.2 ความหวัง 97.09 98.31 3.3 ความรัก 94.95 99.40


สรุปการประเมินคุณค่าพระวรสาร 21 ประการ ข้อ คุณค่าพระวรสาร ร้อยละ 1 ความเชื่อศรัทธา 98.48 2 ความจริง 94.92 3 การไตร่ตรอง และการภาวนา 94.22 4 การมีมโนธรรมเที่ยงตรง มีวิจารณญาณและความกล้าหาญเชิงศีลธรรม 99.15 5 อิสรภาพ 96.54 6 ความยินดี 95.44 7 ความเคารพ ความตระหนักในศักดิ์ศรีของมนุษย์ 98.30 8 ความสุภาพถ่อมตน 97.61 9 ความซื่อตรง 98.37 10 ความเรียบง่าย ความพอเพียง 96.48 11 ความรัก 97.93 12 ความเมตตา 98.09 13 ความกตัญญูรู้คุณ 96.58 14 การงาน / หน้าที่ 99.28 15 การรับใช้ 96.07 16 ความยุติธรรม 97.40 17 สันติ การคืนดี 98.75 18 การให้อภัย 97.84 19 ความเป็นหนึ่ง ความเป็นชุมชน 98.18 20 การพิศเพ่งสิ่งสร้าง / รักษ์ธรรมชาติ 99.90 21 ความหวัง 98.03 ค่าเฉลี่ย 97.50


เอกสารประกอบ (สารสนเทศ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)


สารสนเทศ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 จ านวนห้องเรียน/ผู้เรียนจ าแนกตามระดับที่เปิดสอน ระดับที่เปิดสอน จ านวน ห้องเรียน จ านวนผู้เรียน จ านวนผู้เรียนที่มี ความต้องการ พิเศษ รวมจ านวน ผู้เรียน ห้องปกติ EP ปกติ EP ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ระดับประถมศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 1 7 182 148 330 ประถมศึกษาปีที่ 2 7 194 143 337 ประถมศึกษาปีที่ 3 7 164 179 343 ประถมศึกษาปีที่ 4 6 148 157 305 ประถมศึกษาปีที่ 5 6 147 145 292 ประถมศึกษาปีที่ 6 6 128 167 295 รวมระดับประถมศึกษา 39 964 939 1,902 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 3 76 54 130 มัธยมศึกษาปีที่ 2 3 55 64 119 มัธยมศึกษาปีที่ 3 3 72 56 128 รวมระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 9 203 174 377 รวมรวมทั้งสิ้น 48 1,166 1,113 2,279 1.2 ข้อมูลบุคลากร 330 337 343 305 292 295 130 119 128 0 50 100 150 200 250 300 350 400 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 แผนภูมิแสดงจ านวนนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2563


1.2 จ านวนครูและบุคลากรทางการศึกษา (เฉพาะที่บรรจุ) 1.2.1 สรุปจ านวนครูและบุคลากรทางการศึกษา จ าแนกวุฒิการศึกษาและประเภท/ต าแหน่ง ประเภท/ต าแหน่ง จ านวนครูและบุคลากรทางการศึกษา รวม ต่ ากว่า ป. ตรี ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง 1. ผู้บริหารสถานศึกษา - ผู้รับใบอนุญาต/ผู้จัดการ/ ผู้อ านวยการ 1 1 รวม 1 1 2. ผู้สอนการศึกษาขั้น พื้นฐาน ระดับประถมศึกษา - ครูไทย 3 32 2 8 45 - ครูชาวต่างประเทศ 1 1 ระดับมัธยมศึกษา - ครูไทย 2 8 1 1 3 15 - ครูชาวต่างประเทศ รวม 4. บุคลากรทางการศึกษา - เจ้าหน้าที่ 6 1 7 5.อื่นๆ (ระบุ)... รวม รวมทั้งสิ้น 5 47 3 9 1 3 68 สรุปอัตราส่วน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา จ านวนผู้เรียนต่อครู ...40.... : …1…. จ านวนผู้เรียนต่อครู ..27..... : …1…. จ านวนผู้เรียนต่อห้อง ...49..... :…1.… จ านวนผู้เรียนต่อห้อง ...42.... :….1… 1.3.2 สรุปจ านวนครูผู้สอน จ าแนกตามระดับและกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูผู้สอน ระดับประถม, 45, 66% ครูผู้สอนระดับมัธยม, 15, 22% บุคลากรทางการศึกษา , 7, 10% ครูต่างประเทศ, 1, 2% แผนภูมิแสดงจ านวนครู (บรรจุ) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2563


1.2.2 สรุปจ านวนครูผู้สอน จ าแนกตามระดับและกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ครูสอนหลายระดับชั้นให้กรอกข้อมูลในระดับที่มีจ านวนชั่วโมงสอนมากที่สุด และ ครูที่จบวิชาเอกการประถมศึกษาถือว่าตรง เอกสามารถสอนได้ในทุกวิชา ในระดับประถมศึกษา) ระดับ/กลุ่มสาระการเรียนรู้ จ านวนครูผู้สอน ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตรงเอก ไม่ตรงเอก ตรงเอก ไม่ตรงเอก ตรงเอก ไม่ตรงเอก ภาษาไทย 4 4 1 0 คณิตศาสตร์ 4 2 2 0 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 2 2 2 สังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม 6 3 1 0 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 0 1 1 ศิลปะ 1 1 1 0 การงานอาชีพ 1 1 0 1 ภาษาต่างประเทศ 7 5 3 0 รวม 28 18 11 4 1.3.3 สรุปจ านวนครูผู้สอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ป.ตรี 45 11 7, 7, 87% ป.โท 45 4 1, 1, 13% แผนภูมิแสดงวุฒิการศึกษาของครูและบุคลากร ประจ าปีการศึกษา 2563 วิทย์, 9, 15% ไทย, 9, 15% สังคม, 10, 16% สุขศึกษา, 4, 6% การงาน, 3, 5% ศิลปะ, 3, 5% ภาษาต่างประเทศ, 15, 25% คณิต, 8, 13% แผนภูมิแสงจ านวนครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ครูบรรจุ) ปีการศึกษา 2563


กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จ านวนครูผู้สอน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือ 29 13 - เนตรนารี - ยุวกาชาด 10 - ผู้บ าเพ็ญประโยชน์ - รักษาดินแดน (ร.ด.) - กิจกรรมชุมนุม ชมรม 37 12 - อื่นๆ...ให้ระบุ กิจกรรมแนะแนว 22 1 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 1.2.3 สรุปจ านวนครูและบุคลากรทางการลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาดและผู้บ าเพ็ญประโยชน์ ลูกเสือ/เนตรนารี /ยุวกาชาด/ผู้บ าเพ็ญประโยชน์ จ านวน ผู้บังคับบัญชา จ านวนวุฒิทางลูกเสือ การจัดตั้งกองลูกเสือ มีวุฒิ ไม่มีวุฒิ จัดตั้ง ไม่จัดตั้ง ลูกเสือ เนตรนารี ส ารอง 20 14 6 ลูกเสือ เนตรนารี สามัญ 9 6 3 ลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ ลูกเสือ เนตรนารี วิสามัญ ยุวกาชาด 10 5 5 ผู้บ าเพ็ญประโยชน์ รวม 39 25 14


สารสนเทศ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ 1) ความสามารถในการอ่านเขียน การสื่อสารและการคิดค านวณ 2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ แก้ปัญหา ผลการประเมินการอ่าน,คิดวิเคราะห์ และเขียน ตารางแสดงผลการประเมินการอ่าน,คิดวิเคราะห์ และเขียน ชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2563 ชั้น จ านวน นักเรียน ผลการประเมิน ผ่าน ดี ดีเยี่ยม เกณฑ์โรงเรียน ร้อยละ “ดี”ขี้นไป จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ ป.1 330 15 4.55 145 43.94 170 51.52 84 ป.2 337 0 - 108 32.05 229 67.95 84 ป.3 343 9 2.62 116 33.82 218 63.56 84 ป.4 305 1 0.33 114 37.38 190 62.30 84 ป.5 292 0 - 74 25.34 218 74.66 84 ป.6 295 0 - 122 41.36 173 58.64 84 ม.1 130 - 34 26.15 96 73.85 84 ม.2 119 - 28 23.53 91 76.47 84 ม.3 128 - 61 47.66 67 52.34 84 รวม 2,279 25 1.10 802 35.19 1452 63.71 84 4.55 -2.62 0.33 - - - - - 43.94 32.05 33.82 37.38 25.34 41.36 26.15 23.53 47.66 51.52 67.95 63.56 62.30 74.66 58.64 73.85 76.47 52.34 84 84 84 84 84 84 84 84 84 - 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ร้อยละของจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่าน,คิดวิเคราะห์ และเขียน เทียบกับเกณฑ์โรงเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ผ่าน ดี ดีเยี่ยม เกณฑ์ ร.ร.


จากตารางและแผนภูมิแสดงผลการประเมินการอ่าน ,คิดวิเคราะห์ และเขียน ของนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 –มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ านวนนักเรียนทั้งสิ้น 2,279 คน พบว่า นักเรียน มีผลการประเมิน “ดีเยี่ยม” มากที่สุด จ านวน 1,452 คน คิดเป็นร้อยละ 63.71 รองลงมา “ดี” จ านวน 802 คน คิดเป็นร้อยละ 35.19 ผ่านการประเมิน จ านวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 1.10 สรุปจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมิน “ดี” ขึ้นไป จ านวน 2,254 คน คิดเป็นร้อยละ 98.90 มากกว่าเกณฑ์โรงเรียน ( ระดับดีเลิศ ร้อยละ 84) * สรุปคิดเป็นระดับคุณภาพ 5 ระดับ ยอดเยี่ยม** หมายเหตุ * เกณฑ์โรงเรียน ปีการศึกษา 2563 นักเรียนมีผลการประเมินการอ่าน ,คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับดีขึ้นไปคิดเป็น ร้อยละ 84 (ระดับดีเลิศ) ** ระดับคุณภาพ 1 ระดับก าลังพัฒนา นักเรียนมีผลการประเมินการอ่าน ,คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับ ดีขึ้นไป เยี่ยม ร้อยละ 0-49 2 ระดับปานกลาง นักเรียนมีผลการประเมินการอ่าน ,คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 50-59 3 ระดับดีนักเรียนมีผลการประเมินการอ่าน ,คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 60-74.99 4 ระดับดีเลิศ นักเรียนมีผลการประเมินการอ่าน ,คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 75-89.99 5 ระดับยอดเยี่ยม นักเรียนมีผลการประเมินการอ่าน ,คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับ ดีขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 90 ขึ้นไป 95.45 100.00 97.38 99.67 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 84 84 84 84 84 84 84 84 84 75.00 80.00 85.00 90.00 95.00 100.00 105.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ร้อยละของจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่าน,คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับดีเยี่ยม เทียบกับเกณฑ์โรงเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ดีขึนไป เกณฑ์ ร.ร.


ผลการประเมินการอ่าน,คิดวิเคราะห์ และเขียน ตารางแสดงผลการประเมินการอ่าน,คิดวิเคราะห์ และเขียน แยกตามหัวข้อ ชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 หัวข้อการประเมิน จ านวน นักเรียน ผลการประเมิน ผ่าน ดี ดีเยี่ยม จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ ข้อ 1 การอ่าน 2,279 40 1.76 732 32.12 1,507 66.13 ข้อ 2 การจับประเด็นส าคัญของเรื่อง 2,279 14 0.61 847 37.17 1,418 62.22 ข้อ 3 การเปรียบเทียบข้อดีและ ข้อเสีย 2,279 30 1.32 825 36.20 1,424 62.48 ข้อ 4 การแสดงความคิดเห็น 2,279 7 0.31 781 34.27 1,491 65.42 ข้อ 5 การถ่ายทอดความคิดเห็น 2,279 31 1.36 826 36.24 1,422 62.40 1.76 0.61 1.32 0.31 1.36 32.12 37.17 36.20 34.27 36.24 66.13 62.22 62.48 65.42 62.40 - 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 แผนภูมิแสดงร้อยละของจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่านคิดวิเคาะห์และเขียน แยกตามหัวข้อ ระดับชั้น ป.1-ม.3 ปีการศึกษา 2563 ผ่าน ดี ดีเยี่ยม


3) ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ผลการประเมินนักเรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม (โครงงาน/ชิ้นงาน/ผลงาน) ชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 หัวข้อ การประเมิน ผลการประเมิน ไม่สามารถปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้พอใช้ ปฏิบัติได้ค่อนข้างดี ปฏิบัติได้ดีถูกต้อง เหมาะสม จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ มีความสามารถในการ รวบรวมความรู้ ในการ ท างาน ผลงาน ชิ้นงาน ได้ ด้วยตนเอง 2 0.09 204 8.95 941 41.29 1,132 49.67 ความร่วมมือในกลุ่ม สามารถท างานเป็นทีมได้ 2 0.09 63 2.76 831 36.46 1,383 60.68 สามารถอธิบาย หลักการ ขั้นตอนการท างานได้ 7 0.31 169 7.42 912 40.02 1,191 52.26 สามารถน าความรู้มาผลิต เป็นงาน ชิ้นงาน ผลงานได้ หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้ 11 0.48 193 8.47 922 40.46 1,153 50.59 รวมทุกหัวข้อ 6 0.24 157 6.90 901 39.56 1,215 53.30 90.96 97.15 92.28 91.05 87.00 88.00 89.00 90.00 91.00 92.00 93.00 94.00 95.00 96.00 97.00 98.00 แผนภูมิแสดงร้อยละการประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ปีการศึกษา 2563 (ป.1-ม.3) ระดับดีขึ้นไป ข้อ 1 มีความสามารถในการรวบรวมความรู้ ในการท า โครงงานได้ด้วยตนเอง ข้อ 2 ความร่วมมือในกลุ่ม สามารถท างานเป็นทีมได้ ข้อ 3 สามารถอธิบาย หลักการขั้นตอนการท างานได้ ข้อ 4 สามารถน าความรู้ที่ได้จากการท าโครงงานมาผลิต เป็นชิ้นงาน ผลงานได้ หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้


4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผลการประเมินสมรรถนะ ปีการศึกษา 2563 ตารางแสดงผลการประเมินสมรรถนะ ชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 สมรรถนะ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 รวม จ านวน คน ร้อย ละ จ านวน คน ร้อย ละ จ านว นคน ร้อยละ จ านวน คน ร้อยละ ข้อ 1 ความสามารถในการสื่อสาร 1,539 67.53 736 32.29 4 0.18 2,279 100 ข้อ 2 ความสามารถในการคิด 1,404 61.61 869 38.13 6 0.26 2,279 100 ข้อ 3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 1,523 66.83 750 32.91 6 0.26 2,279 100 ข้อ 4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 1,681 73.76 595 26.11 3 0.13 2,279 100 ข้อ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 1,892 83.02 382 16.76 5 0.22 2,279 100 จากตารางและแผนภูมิแสดงผลการประเมินสมรรถนะ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ านวนนักเรียนทั้งสิ้น 2,279 คน พบว่า ข้อ 1 ความสามารถในการสื่อสาร จ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมิน ระดับ ดีเยี่ยม จ านวนทั้งสิ้น 1,539 คน คิดเป็นร้อยละ 67.53 ระดับ ดี จ านวน 736 คน คิดเป็นร้อยละ 32.29 ผ่าน จ านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 0.18 (ระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 99.82) ข้อ 2 ความสามารถในการคิดจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมิน ระดับ ดีเยี่ยม จ านวนทั้งสิ้น 1,404 คน คิดเป็นร้อยละ 61.61ระดับ ดี จ านวน 869 คน คิดเป็นร้อยละ 38.13 ผ่าน จ านวน 6 คน คิดเป็นร้อย ละ 0.26 (ระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 99.74) 99.82 99.74 99.74 99.87 99.78 99.65 99.70 99.75 99.80 99.85 99.90 ระดับดีขึ้นไป แผนภูมิแสดงร้อยละจ านวนนักเรียนที่มีสมรรถนะ ระดับ ดี ขึ้นไป แยกตามหัวข้อ ข้อ 1 ความสามารถในการสื่อสาร ข้อ 2 ความสามารถในการคิด ข้อ 3 ความสามารถในการแก้ปัญหา ข้อ 4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ข้อ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


ข้อ 3 ความสามารถในการแก้ปัญหา จ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมิน ระดับ ดีเยี่ยม จ านวนทั้งสิ้น 1,523 คน คิดเป็นร้อยละ 66.83 ระดับ ดี จ านวน 750 คน คิดเป็นร้อยละ 32.19 ผ่าน จ านวน 6 คน คิด เป็นร้อยละ 0.26 (ระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 99.74) ข้อ 4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต จ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมิน ระดับ ดีเยี่ยม จ านวน ทั้งสิ้น 1,681 คน คิดเป็นร้อยละ 73.76 ระดับ ดี จ านวน 595 คน คิดเป็นร้อยละ 26.11 ผ่าน จ านวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.13 (ระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 99.87) ข้อ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมิน ระดับ ดีเยี่ยม จ านวน ทั้งสิ้น 1,892 คน คิดเป็นร้อยละ 83.02 ระดับ ดี จ านวน 382 คน คิดเป็นร้อยละ 16.76 ผ่าน จ านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 0.22 (ระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 99.78) สรุปจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมิน “ดี”ขึ้นไป ทุกรายข้อ มากกว่าเกณฑ์โรงเรียน ( ระดับดี เลิศ ร้อยละ 84) * สรุปคิดเป็นระดับคุณภาพ 5 ระดับ ยอดเยี่ยม** หมายเหตุ * เกณฑ์โรงเรียน ปีการศึกษา 2563 นักเรียนมีผลการประเมินสมรรถนะ ในระดับดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 84 (ระดับดี เลิศ) ** ระดับคุณภาพ 1 ระดับก าลังพัฒนา นักเรียนมีผลการประเมินสมรรถนะ ในระดับ ดี ขึ้นไป ร้อยละ 0-49 2 ระดับปานกลาง นักเรียนมีผลการประเมินสมรรถนะ ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 50-59 3 ระดับดีนักเรียนมีผลการประเมินสมรรถนะ ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 60-74 4 ระดับดีเลิศ นักเรียนมีผลการประเมินสมรรถนะ ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 75-89 5 ระดับยอดเยี่ยม นักเรียนมีผลการประเมินสมรรถนะในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 90 ขึ้นไป


5) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา รวมทั้งมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ หรือผลการทดสอบอื่น ๆ ตารางแสดงจ านวนและร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระ การเรียนรู้/ รายวิชา ระดับผลการเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จ านวน นักเรียน จ านวน นักเรียน ที่มีผล ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จ านวน นักเรียน จ านวน นักเรียน ที่มีผล ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จ านวน นักเรียน จ านวน นักเรียน ที่มีผล ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จ านวน นักเรียน จ านวน นักเรียน ที่มีผล ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จ านวน นักเรียน จ านวน นักเรียน ที่มีผล ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จ านวน นักเรียน จ านวน นักเรียน ที่มีผล ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ ภาษาไทย 330 302 91.52 337 313 92.88 343 311 90.67 305 274 89.84 292 271 92.81 295 218 73.90 คณิตศาสตร์ 330 318 96.36 337 288 85.46 343 275 80.17 305 212 69.51 292 176 60.27 295 163 55.25 วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี 330 321 97.27 337 320 94.96 343 324 94.46 305 244 80.00 292 267 91.44 295 212 71.86 สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม 330 303 91.82 337 309 91.69 343 308 89.80 305 287 94.10 292 245 83.90 295 278 94.24 ประวัติศาสตร์ 330 296 89.70 337 309 91.69 343 287 83.67 305 212 69.51 292 163 55.82 295 244 82.71 สุขศึกษาและ พลศึกษา 330 320 96.97 337 330 97.92 343 341 99.42 305 304 99.67 292 292 100.00 295 295 100.00 ศิลปะ 330 327 99.09 337 295 87.54 343 296 86.30 305 294 96.39 292 276 94.52 295 294 99.66 การงานอาชีพ 330 314 95.15 337 306 90.80 343 324 94.46 305 298 97.70 292 253 86.64 295 272 92.20 ภาษาอังกฤษ 330 266 80.61 337 213 63.20 343 230 67.06 305 264 86.56 292 176 60.27 295 210 71.19 ภาษาอังกฤษ สื่อสาร 330 268 81.21 337 274 81.31 343 282 82.22 305 261 85.57 292 231 79.11 295 233 78.98 คริสต์ศาสนา 330 325 98.48 337 329 97.63 343 330 96.21 305 304 99.67 292 283 96.92 295 292 98.98 หน้าที่ พลเมือง 330 329 99.70 337 337 100.00 343 334 97.38 305 305 100.00 292 288 98.63 295 285 96.61 ดนตรี 330 330 100.00 337 337 100.00 343 343 100.00 305 299 98.03 292 290 99.32 295 295 100.00 ภาษาจีน 330 303 91.82 337 279 82.79 343 200 58.31 305 262 85.90 292 222 76.03 295 240 81.36 - 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 120.00 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนระดับประถมศกึษาท่ีมีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ปี การศึกษา 2563 ป.1 ร้อยละ ป.2 ร้อยละ ป.3 ร้อยละ ป.4 ร้อยละ ป.5 ร้อยละ ป.6 ร้อยละ


ตารางแสดงจ านวนและร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสาระ การเรียนรู้/รายวิชา ระดับผลการเรียน (เทอม1) ม.1 ม.2 ม.3 จ านวน นักเรียน จ านวน นักเรียนที่มี ผลระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จ านวน นักเรียน จ านวน นักเรียนที่มีผล ระดับ 3ขึ้นไป ร้อยละ จ านวน นักเรียน จ านวน นักเรียนที่มี ผลระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ ภาษาไทย 131 91 69.47 119 64 53.78 129 121 93.80 คณิตศาสตร์ 131 30 22.90 119 24 20.17 129 13 10.08 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 131 67 51.15 119 95 79.83 129 61 47.29 วิทยาการค านวณ 131 90 68.70 119 104 87.39 129 113 87.60 สังคมศึกษา 131 91 69.47 119 98 82.35 129 55 42.64 ประวัติศาสตร์ 131 76 58.02 119 65 54.62 129 58 44.96 หน้าที่พลเมือง 131 131 100.00 119 119 100.00 129 126 97.67 คริสต์ศาสนา 131 123 93.89 119 119 100.00 129 121 93.80 ภาษาอังกฤษ 131 85 64.89 119 46 38.66 129 15 11.63 อังกฤษเพิ่ม 131 60 45.80 119 57 47.90 129 55 42.64 สุขศึกษา 131 77 58.78 119 64 53.78 129 47 36.43 พลศึกษา 131 89 67.94 119 97 81.51 129 86 66.67 ศิลปะ 131 95 72.52 119 113 94.96 129 101 78.29 ดนตรี 131 131 100.00 119 116 97.48 129 98 75.97 การงาน 131 114 87.02 119 119 100.00 129 121 93.80 คอมพิวเตอร์ 131 128 97.71 119 101 84.87 129 105 81.40 ดนตรีสากล/ไทย 131 89 67.94 119 101 84.87 129 94 72.87 ภาษาจีน 131 124 94.66 119 118 99.16 129 108 83.72 ภาษาไทย 131 91 69.47 119 64 53.78 129 121 93.80 - 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 120.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ …วิทยาการค านวณ สังคมศึกษา ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง คริสต์ศาสนา ภาษาอังกฤษ อังกฤษเพิ่ม สุขศึกษา พลศึกษา ศิลปะ ดนตรี การงาน คอมพิวเตอร์ ดนตรีสากล/ไทย ภาษาจีน แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ภาคเรียนที่ 1 ที่มีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ม.1 ร้อยละ ม.2 ร้อยละ ม.3 ร้อยละ


ตารางแสดงจ านวนและร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ต่อ) กลุ่มสาระ การเรียนรู้/รายวิชา ระดับผลการเรียน (เทอม2) ม.1 ม.2 ม.3 จ านวน นักเรียน จ านวน นักเรียนที่มี ผลระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จ านวน นักเรียน จ านวน นักเรียนที่มี ผลระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จ านวน นักเรียน จ านวน นักเรียนที่มี ผลระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ ภาษาไทย 130 92 70.77 119 106 89.08 128 96 75.00 คณิตศาสตร์ 130 45 34.62 119 28 23.53 128 9 7.03 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 130 94 72.31 119 75 63.03 128 93 72.66 วิทยาการค านวณ 130 113 86.92 119 75 63.03 128 113 88.28 สังคมศึกษา 130 92 70.77 119 91 76.47 128 71 55.47 ประวัติศาสตร์ 130 74 56.92 119 80 67.23 128 47 36.72 หน้าที่พลเมือง 130 130 100.00 119 119 100.00 128 121 94.53 คริสต์ศาสนา 130 109 83.85 119 119 100.00 128 100 78.13 ภาษาอังกฤษ 130 67 51.54 119 44 36.97 128 21 16.41 อังกฤษเพิ่ม 130 71 54.62 119 82 68.91 128 72 56.25 สุขศึกษา 130 87 66.92 119 72 60.50 128 88 68.75 พลศึกษา 130 114 87.69 119 73 61.34 128 79 61.72 ศิลปะ 130 108 83.08 119 102 85.71 128 103 80.47 ดนตรี 130 119 91.54 119 119 100.00 128 128 100.00 การงาน 130 116 89.23 119 98 82.35 128 102 79.69 คอมพิวเตอร์ 130 130 100.00 119 104 87.39 128 114 89.06 ดนตรีสากล/ไทย 130 66 50.77 119 94 78.99 128 98 76.56 ภาษาจีน 130 101 77.69 119 108 90.76 128 97 75.78 - 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 120.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ …วิทยาการค านวณ สังคมศึกษา ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง คริสต์ศาสนา ภาษาอังกฤษ อังกฤษเพิ่ม สุขศึกษา พลศึกษา ศิลปะ ดนตรี การงาน คอมพิวเตอร์ ดนตรีสากล/ไทย ภาษาจีน แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ภาคเรียนที่ 2 ที่มีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ม.1 ร้อยละ ม.2 ร้อยละ ม.3 ร้อยละ


นักเรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 –ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 จ านวนทั้งสิ้น 1,902 คน จ านวนนักเรียนที่มากที่สุด ได้เกรดเฉลี่ย 3 ขึ้นไป จ านวน 1,621 คน คิดเป็นร้อยละ 85.23 รองลงมา เกรดเฉลี่ย 2.50-2.99 จ านวน 174 คน คิดเป็นร้อยละ 9.15 เกรดเฉลี่ย 2.00-2.49 จ านวน 89 คน คิดเป็น ร้อยละ 4.68 และจ านวนนักเรียนน้อยที่สุด ได้เกรดเฉลี่ย 1.50-1.99 จ านวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 0.95 ระดับชั้นที่ได้เกรดเฉลี่ย 3 ขึ้นไป มากที่สุด ได้แก่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จ านวน 302 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.52 และชันที่ได้เกรดเฉลี่ย 3 ขั้นไป น้อยที่สุด ได้แก่ ชั้นประถมศึกษาปีที 6 จ านวน 224 คน คิดเป็นร้อยละ 75.93 0 - - 0 - - 0 - - 0 - - 0 - - - - - 1.21 4.15 5.54 3.93 5.14 6.36 8.47 5.64 10.50 8.52 9.59 14.92 7.58 12.46 12.24 26.56 25.00 21.69 83.94 76.26 71.14 60.66 58.56 54.24 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนที่ได้เกรดเฉลี่ย ระดับประถมศึกษา ปีการศึกษา 2563 เกรด 0.00-0.99 เกรด 1.00-1.49 เกรด 1.50-1.99 เกรด 2.00-2.49 เกรด 2.50-2.99 เกรด 3.00-3.49 เกรด 3.50-4.00 91.52 88.72 83.38 87.21 83.56 75.93 - 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00 100.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 แผนภูมิแสดงจ านวนนักเรียนระดับประถมศึกษา ปีการศึกษา 2563 ที่ได้เกรดเฉลี่ย 3 ขึ้นไป


ระดับชั้นที่ได้เกรดเฉลี่ย 3 ขึ้นไป มากที่สุด ได้แก่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1จ านวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 58.82 ภาคเรียนที่ จ านวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 56.30 และชั้นที่ได้เกรดเฉลี่ย 3 ขั้นไป น้อยที่สุด ได้แก่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที 3 ภาคเรียนที่ 1 จ านวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 30.43 ภาคเรียนที่ 2 จ านวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 35.16 48.46 58.82 30.47 53.08 56.30 35.16 - 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 ม.1 ม.2 ม.3 แผนภฺมิแสดงร้อยละของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่ได้เกรดเฉลี่ย 3 ขึ้นไป เกรด 3.00 ขึ้นไป ภาคเรียนที่ 1 เกรด 3.00 ขึ้นไป ภาคเรียนที่ 2 2.31 - 10.94 17.69 15.13 25.00 29.23 38.66 20.31 1 0 10 20 30 40 50 ม.1 ม.2 ม.3 กราฟแสดงร้อยละของนักเรียนที่ได้เกรดเฉลี่ย ระดับมัธยมศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 เกรด 0.00-0.99 เกรด 1.00-1.49 เกรด 1.50-1.99 เกรด 2.00-2.49 เกรด 3.00-3.49 เกรด 3.50-4.00 2.31 1.68 7.03 14.62 20.17 23.44 27.69 24.37 25.38 25.78 31.93 9.38 0 5 10 15 20 25 30 35 ม.1 ม.2 ม.3 กราฟแสดงร้อยละของนักเรียนที่ได้เกรดเฉลี่ย ระดับมัธยมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เกรด 0.00-0.99 เกรด 1.00-1.49 เกรด 1.50-1.99 เกรด 2.00-2.49 เกรด 3.00-3.49 เกรด 3.50-4.00


การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สามารถอ่าน ออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง ตั้งแต่วัยเริ่มต้น จะเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น และใช้ ภาษาไทยในการสื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งนับเป็นการพัฒนาคุณลักษณะของนักเรียนอีกประการหนึ่ง และเป็นการวางรากฐาน ที่มั่นคงของการศึกษาชาติต่อไป ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย ส านักทดสอบทางการศึกษา จัดให้มีการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยมอบให้ศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี เป็นผู้ด าเนินการ โดยมีการประเมินนักเรียนในวันที่ 18 มีนาคม 2564 ซึ่งมีผลการประเมินดังนี้ ตาราง แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของ ผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จ าแนกตามหน่วยงาน ระดับ ด้าน โรงเรียน จังหวัด ศึกษาธิการจังหวัด ระดับ ประเทศ ด้านการอ่านออกเสียง 90.19 77.24 79.36 74.46 74.14 การอ่านรู้เรื่อง 80.40 75.56 75.84 70.93 71.86 เฉลี่ยทั้ง 2 ด้าน 85.30 76.40 77.61 72.72 73.02 แผนภูมิ แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจ าปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามหน่วยงาน 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ด้านอ่านออกเสียง ด้านการอ่านรู้เรื่อง เฉลี่ยทั ้ง 2 ด้าน 90.19 80.4 85.3 77.24 75.56 76.4 79.36 75.84 77.61 74.46 70.93 72.72 74.14 71.86 73.02 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจ าปีการศึกษา 2563 จ าแนก ตามหน่วยงาน คะแนนเฉลี่ยร้อยละของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับศึกษาธิการจังหวัด คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับสังกัด


จากตารางและแผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินความสามารถด้าน การอ่าน ของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจ าปีการศึกษา 2563 จ าแนกตาม หน่วยงาน ผลการประเมิน พบว่า คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนด้านการอ่านออกเสียง ด้านการอ่านรู้เรื่อง และ ค่าเฉลี่ยทั้ง 2 ด้าน ของโรงเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด ระดับศึกษาธิการจังวัดระดับระดับ และระดับประเทศ ตาราง แสดงจ านวนและร้อยละของนักเรียนจากผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จ าแนกตามระดับคุณภาพ ด้าน ระดับคุณภาพ ด้านการอ่านออกเสียง การอ่านรู้เรื่อง เฉลี่ยทั้ง 2 ด้าน จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ดีมาก 288 87.27 243 73.64 283 85.76 ดี 24 7.27 68 20.61 27 8.18 พอใช้ 11 3.33 16 4.85 18 5.45 ปรับปรุง 7 2.12 3 0.91 2 0.61 รวม 330 100 330 100 330 100 แผนภูมิแสดงจ านวนและร้อยละของนักเรียนจากผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจ าปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามระดับคุณภาพ 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00 ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 87.27 7.27 3.33 2.12 73.64 20.61 4.85 0.91 85.76 8.18 5.45 0.61 จ านวนและร้อยละของนักเรียนจากผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน(Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจ าปีการศึกษา 2562 จ าแนกตามระดับคุณภาพ ด้านการอ่านออกเสียง การอ่านรู้เรื่อง เฉลี่ยทั้ง 2 ด้าน


จากตารางและแผนภูมิ แสดงจ านวนและร้อยละของนักเรียนจากผลการประเมินความสามารถด้านการ อ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจ าปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามระดับ คุณภาพ พบว่า ด้านการอ่านออกเสียง นักเรียนได้ระดับดีมาก จ านวน 288 คน คิดเป็นร้อยละ 87.27 ซึ่งมี ค่าเฉลี่ยร้อยละสูงที่สุด รองลงมาระดับ ดี จ านวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 7.27 , ระดับพอใช้ จ านวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 และระดับปรับปรุง จ านวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 2.12 ตามล าดับ ด้านการอ่านรู้เรื่อง นักเรียนได้ระดับดีมาก จ านวน 243คน คิดเป็นร้อยละ 73.64 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยร้อย ละสูงที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับดี จ านวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 20.61, ระดับพอใช้ จ านวน 16 คน คิดเป็น ร้อยละ 4.85, และระดับปรับปรุง จ านวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.91 ตามล าดับ เฉลี่ยรวมทั้ง 2 ด้าน นักเรียนได้ระดับดีมาก จ านวน 283 คน คิดเป็นร้อยละ 85.76 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยร้อย ละสูงที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับดี จ านวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 8.18 , ระดับพอใช้ จ านวน 18 คน คิดเป็น ร้อยละ 5.45, และระดับปรับปรุง จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.61 ตามล าดับ ตาราง แสดงจ านวนและร้อยละของนักเรียนจากผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2562 – 2563 ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ปี วิชา ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ด้านภาษาไทย 234 70.69 242 73.33 ด้านคณิตศาสตร์ 221 66.77 185 56.06 รวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน 228 68.88 227 68.79 จ านวนนักเรียน 331 330 แผนภูมิ แสดงจ านวนและร้อยละของนักเรียนจากผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 – 2563 ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) - 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 70.69 73.33 66.77 56.06 68.88 68.79 เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลด้านการอ่าน (RT) ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T-Score 50) ในแต่ละด้าน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจ าปีการศึกษา 2562 - 2563 ด้านภาษาไทย ด้านคณิตศาสตร์ รวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน


จากตารางและแผนภูมิ การเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 - 2563 ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (score 50) ปรากฏว่า ด้านภาษาไทย ปีการศึกษา 2563 มีจ านวนนักเรียนผ่านคะแนนมาตรฐานมากกว่าปี การศึกษา 2562 แต่ด้านคณิตศาสตร์ และรวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน พบว่า ปีการศึกษา 2563 มีจ านวนที่ ผ่านน้อยกว่าปีการศึกษา 2562


การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การสอบประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (NT: National Test) เป็นการทดสอบที่มุ่งวัด คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 เพื่อตรวจสอบ ความสามารถพื้นฐานในด้านการอ่าน การเขียน และการคิดค านวณ จัดโดยส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)โดยส านักทดสอบทางการศึกษา จัดให้มีการประเมินผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และมอบให้ศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี เป็นผู้ด าเนินการ โดยมีการประเมินนักเรียนในวันที่ 24 มีนาคม 2564 ซึ่งมีผลการประเมินดังนี้ ตาราง แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละการประเมินการประเมินผู้เรียน (National Test: NT) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามหน่วยงาน ด้าน ระดับ ด้านภาษาไทย ด้านคณิตศาสตร์ เฉลี่ยทั้ง 2 ด้าน โรงเรียน 54.03 61.77 57.90 จังหวัด 40.96 48.55 44.76 ศึกษาธิการจังหวัด 43.14 50.96 47.05 ระดับสังกัด 39.91 47.60 43.76 ประเทศ 40.47 47.46 43.97 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละการประเมินการประเมินผู้เรียน (National Test: NT) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามหน่วยงาน 0 10 20 30 40 50 60 70 ด้านภาษาไทย ด้านคณิตศาสตร์ รวมความสามารถทั ้ง 2 ด้าน 54.03 61.77 57.9 40.96 48.55 44.76 43.14 50.96 47.05 39.91 47.6 43.76 40.47 47.46 43.97 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ในแต่ละด้าน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประจ าปีการศึกษา 2563 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับศึกษาธิการจังหวัด คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับสังกัด คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับประเทศ


จากตารางและแผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละการประเมินคุณภาพผู้เรียน (National Test: NT) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามหน่วยงาน ผลการ ประเมิน พบว่า คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน ด้านภาษาไทย ด้านคณิตศาสตร์ และรวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด ระดับศึกษาธิการจังวัด ระดับสังกัด และระดับประเทศ ตาราง แสดงจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 แยกตามระดับคุณภาพ ด้าน ระดับคุณภาพ ด้านภาษาไทย ด้านคณิตศาสตร์ รวมความสามารถ ทั้ง 2 ด้าน จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ดีมาก 118 34.40 145 42.27 116 33.82 ดี 79 23.03 123 35.86 115 33.53 พอใช้ 104 30.32 59 17.20 95 27.70 ปรับปรุง 42 12.24 16 4.66 17 4.96 รวม 343 100 343 100 343 100 แผนภูมิแสดงจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามระดับคุณภาพ จากตารางและแผนภูมิแสดงจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามระดับคุณภาพ พบว่า - 5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 40.00 45.00 ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 34.40 23.03 30.32 12.24 42.27 35.86 17.20 4.66 33.82 33.53 27.70 4.96 จ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประจ าปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามระดับคุณภาพ ด้านภาษาไทย ด้านคณิตศาสตร์ รวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน


ความสามารถด้านภาษาไทย นักเรียนได้ระดับดีมาก จ านวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ 34.40 ซึ่งมี ค่าเฉลี่ยร้อยละสูงที่สุด รองลงมาได้แก่ระดับพอใช้ จ านวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 30.32 , ระดับ ดีจ านวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 23.03 และระดับปรับปรุง จ านวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 12.24 ตามล าดับ ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ นักเรียนได้ระดับดีมาก จ านวน 145 คน คิดเป็นร้อยละ 42.27 ซึ่งมี ค่าเฉลี่ยร้อยละสูงที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับดี จ านวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ 35.86, ระดับพอใช้ จ านวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 17.20, และระดับปรับปรุง จ านวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 4.66 ตามล าดับ รวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน นักเรียนได้ระดับดีมาก จ านวน 116 คน คิดเป็นร้อยละ 33.82 ซึ่งมี ค่าเฉลี่ยร้อยละสูงที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับดี จ านวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 33.53, ระดับพอใช้ จ านวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 27.70 และระดับปรับปรุง จ านวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 4.96 ตามล าดับ ตารางที่ เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ได้ร้อยละ 50 ขึ้นไป ปี วิชา ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ด้านภาษาไทย 248 85.22 239 79.40 264 76.97 ด้านคณิตศาสตร์ 213 73.20 216 71.76 187 54.52 รวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน 234 80.41 233 77.41 216 62.97 จ านวนนักเรียน 291 301 343 แผนภูมิ แสดงการเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ได้ร้อยละ 50 ขึ้นไป - 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00 ด้านภาษาไทย ด้านคณิตศาสตร์ รวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน 85.22 73.20 79.40 80.41 71.76 77.41 76.97 54.5262.97 เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ได้ร้อยละ 50 ขึ้นไป ในแต่ละด้านของชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประจ าปีการศึกษา 2561 - 2563 ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563


จากตารางและแผนภูมิ การเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ได้ร้อยละ 50 ขึ้นไป ปรากฏว่า จ านวนนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ในปีการศึกษา 2563 มีจ านวนน้อยกว่าปีที่ผ่านมา อย่างต่อเนื่อง ตาราง เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561–2563 ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ปี วิชา ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ด้านภาษาไทย 170 58.42 178 59.14 191 55.69 ด้านคณิตศาสตร์ 155 53.26 163 54.15 169 49.27 รวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน 165 56.70 167 55.48 178 51.90 จ านวนนักเรียน 291 301 343 แผนภูมิ แสดงการเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 – 2563 ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) - 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 ด้านภาษาไทย ด้านคณิตศาสตร์ รวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน 58.42 53.26 56.70 59.14 54.15 55.69 55.48 49.27 51.90 เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T-Score 50) ในแต่ละด้านของชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประจ าปีการศึกษา 2561 - 2563 ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563


จากตารางและแผนภูมิการเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) ปรากฏว่า ด้านภาษาไทย ปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 49.27) มีจ านวนนักเรียนที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 น้อยกว่าปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 58.42) และ 2562 (ร้อยละ59.14) แต่ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 59.14) มีจ านวนนักเรียนผ่านมากกว่าปีการศึกษา 2561(ร้อยละ 58.42) และ ปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 49.27) ด้านคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 49.27) มีจ านวนนักเรียนที่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 น้อยกว่าปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 53.26) และ 2562 (ร้อยละ 54.15) แต่ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 54.15) มีจ านวนนักเรียนผ่านคะแนนมาตรฐานมากกว่าปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 53.26) และปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 49.27) รวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน พบว่า ปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 51.90) มีจ านวนนักเรียนที่ผ่าน คะแนนมาตรฐานที่ 50 น้อยกว่าปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 56.70) และ 2562 (ร้อยละ 55.48) แต่ปี การศึกษา 2561 (ร้อยละ 56.70) มีจ านวนที่ผ่านมากกว่าปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 55.48 และ 2563 (ร้อยละ 51.90)


การสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจ า ปีการศึกษา 2563 การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test) เป็นการ ทดสอบเพื่อวัดความรู้และความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ประเมินตามมาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยสถาบัน ทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ(องคการมหาชน) เป็นผู้รับผิดชอบ และมอบให้ศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี เป็นผู้ด าเนินการ โดยมีการประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในวันที่ 13 มีนาคม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในวันที่ 13 – 14 มีนาคม 2564 ซึ่งมีผลการประเมินดังนี้ ตาราง การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามหน่วยงาน วิชา ระดับ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ โรงเรียน 67.45 44.08 46.13 71.78 จังหวัด 54.77 29.12 37.23 40.67 ระดับ 59.62 33.98 41.99 55.83 ศธ.ภาค 55.36 29.54 38.28 42.29 ประเทศ 56.20 29.99 38.78 43.55 แผนภูมิ แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน(O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามหน่วยงาน จากตารางและแผนภูมิ ที่ 8 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้น พื้นฐาน(O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามหน่วยงาน พบว่า ค่าเฉลี่ยร้อยละทุกรายของวิชาโรงเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าทุกหน่วยงาน ตารางที่ 9 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามหน่วยงาน วิชา ระดับ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ โรงเรียน 55.28 25.54 30.74 35.40 จังหวัด 53.29 23.77 29.62 32.32 ระดับ 52.94 25.48 29.63 37.01 ภาค 54.68 25.32 30.09 33.74 ประเทศ 54.29 25.46 29.89 34.38 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ 67.45 44.08 46.13 71.78 54.77 29.12 37.23 40.67 59.62 33.98 41.99 55.36 55.83 29.54 38.28 42.29 56.20 29.99 38.78 43.55 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามหน่วยงาน โรงเรียน จังหวัด สังกัด ศธ.ภาค ประเทศ


แผนภูมิ แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามหน่วยงาน จากตารางและแผนภูมิ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้น พื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามหน่วยงาน พบว่า ค่าเฉลี่ยร้อยละทุกรายของวิชาโรงเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าทุกหน่วยงาน ตาราง การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ปีการศึกษา วิชา 2561 2562 2563 ภาษาไทย 68.89 60.37 67.45 คณิตศาสตร์ 63.27 47.27 44.08 วิทยาศาสตร์ 52.79 45.07 46.13 ภาษาอังกฤษ 64.26 56.95 71.18 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ 55.28 25.54 30.74 35.40 53.29 23.77 29.62 32.32 52.94 25.48 29.63 37.01 54.68 25.32 30.09 33.74 54.29 25.46 29.89 34.38 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2563 จ าแนกตามหน่วยงาน โรงเรียน จังหวัด สังกัด ภาค ประเทศ


แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 - 2563 จากตารางและแผนภูมิ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้น พื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 - 2563 มีรายละเอียดดังนี้ ภาษาไทย ค่าเฉลี่ยร้อยละปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 67.45) มีค่าเฉลี่ยร้อยละมากกว่า ปี การศึกษา 2562 (ร้อยละ 60.37) แต่มีค่าเฉลี่ยร้อยละน้อยกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 68.89) คณิตศาสตร์ ค่าเฉลี่ยร้อยละปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 44.08) มีค่าเฉลี่ยร้อยละน้อยกว่า ปี การศึกษา 2561 และ 2562 วิทยาศาสตร์ ค่าเฉลี่ยร้อยละปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 46.13) มีค่าเฉลี่ยร้อยละมากกว่า ปี การศึกษา 2562 (ร้อยละ 45.07) แต่มีค่าเฉลี่ยร้อยละน้อยกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 52.79) อังกฤษ ค่าเฉลี่ยร้อยละปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 71.18) มีค่าเฉลี่ยร้อยละมากกว่า ปีการศึกษา 2561 และ 2562 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ 68.89 63.27 52.79 64.26 60.37 47.27 45.07 56.95 67.45 44.08 46.13 71.18 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563


ตารางการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา ปีการศึกษา 2561 - 2563 ปีการศึกษา วิชา 2561 2562 2563 ภาษาไทย 62.94 60.23 55.28 คณิตศาสตร์ 38.67 33.07 25.54 วิทยาศาสตร์ 42.20 30.34 30.74 ภาษาอังกฤษ 32.75 37.63 35.40 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา ปีการศึกษา 2561 - 2563 จากตารางและแผนภูมิ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้น พื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 มีรายละเอียดดังนี้ ภาษาไทย ค่าเฉลี่ยร้อยละปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 55.28) มีค่าเฉลี่ยร้อยละน้อยกว่า ปี การศึกษา 2561 (ร้อยละ 62.94) และปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 60.23) คณิตศาสตร์ ค่าเฉลี่ยร้อยละปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 25.54) มีค่าเฉลี่ยร้อยละน้อยกว่า ปี การศึกษา 2561 (ร้อยละ 38.67) และปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 33.07) 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ 62.94 38.67 42.20 32.75 60.23 33.07 30.34 37.63 55.28 25.54 30.74 35.4 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563


วิทยาศาสตร์ ค่าเฉลี่ยร้อยละปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 30.70) มีค่าเฉลี่ยร้อยละมากกว่า ปี การศึกษา 2562 (ร้อยละ 30.34) แต่มีค่าเฉลี่ยร้อยละน้อยกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 42.20) อังกฤษ ค่าเฉลี่ยร้อยละปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 35.40) มีค่าเฉลี่ยร้อยละน้อยกว่า ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 37.63) แต่มีค่าเฉลี่ยร้อยละมากกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 32.75) ตาราง เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านขีดจ ากัดล่าง วิชา เกณฑ์ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ นักเรียนผ่าน 213 78.02 211 77.29 179 65.57 234 85.71 นักเรียนไม่ผ่าน 60 21.98 62 22.71 94 34.43 39 14.29 รวม 273 100.00 273 100.00 273 100.00 273 100.00 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านขีดจ ากัดล่าง จากตารางและแผนภูมิ แสดงการเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านขีดจ ากัด ล่าง (ขีดจ ากัดล่าง หมายถึง คะแนนต่ าสุดของคะแนนเฉลี่ย แต่ละชั้นและกลุ่มสาระการเรียนรู้) ปรากฏว่า ภาษาอังกฤษมีจ านวนนักเรียนผ่านขีดจ ากัดล่างจ านวน 234 คน คิดเป็นร้อยละ 85.71 ซึ่งสูงที่สุด รองลงมาคือ 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ 78.02 77.29 65.57 85.71 21.98 22.71 34.43 14.29 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านขีดจ ากัดล่าง ผ่าน ไม่ผ่าน


, ภาษาไทย จ านวน 213 คน คิดเป็นร้อยละ 78.02, คณิตศาสตร์ จ านวน 211 คน คิดเป็นร้อยละ 77.29 และวิทยาศาสตร์ จ านวน 179 คน คิดเป็นร้อยละ 65.57 ตามล าดับ และจ านวนนักเรียนไม่ผ่านขีดจ ากัดล่าง สูงสุด คือ วิทยาศาสตร์ จ านวน 94 คน คิดเป็นร้อยละ 34.43 รองมาคือ คณิตศาสตร์ จ านวน 62 คน คิด เป็นร้อยละ 22.71, ภาษาไทย จ านวน 60 คน ,คิดเป็นร้อยละ 21.98 และภาษาอังกฤษ จ านวน 39 คน คิด เป็นร้อยละ 14.29 ตามล าดับ ตาราง เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านขีดจ ากัดล่าง วิชา เกณฑ์ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ นักเรียนผ่าน 57 56.44 44 43.56 53 52.48 48 47.52 นักเรียนไม่ผ่าน 44 43.56 57 56.44 48 47.52 53 52.48 รวม 101 100.00 101 100.00 101 100.00 101 100.00 แผนภูมิ แสดงการเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน(O-NET)ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านขีดจ ากัดล่าง จากตารางและแผนภูมิ แสดงการเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านขีดจ ากัด ล่าง (ขีดจ ากัดล่าง หมายถึง คะแนนต่ าสุดของคะแนนเฉลี่ย แต่ละชั้นและกลุ่มสาระการเรียนรู้) ปรากฏว่า 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ 56.44 43.56 52.48 47.52 43.56 56.44 47.52 52.48 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านขีดจ ากัดล่าง ผ่าน ไม่ผ่าน


ภาษาไทย จ านวน 57 คน มีจ านวนนักเรียนผ่านขีดจ ากัดล่าง คิดเป็นร้อยละ 56.44 ซึ่งสูงที่สุด รองลงมา ได้แก่วิทยาศาสตร์ จ านวน 53 คน คิดเป็นร้อยละ 52.48, ภาษาอังกฤษ จ านวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 47.52 และ คณิตศาสตร์ จ านวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 43.56 ตามล าดับ จ านวนนักเรียนไม่ผ่านขีดจ ากัดล่างสูงสุด คือ คณิตศาสตร์ จ านวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 56.44 รองลงมา คือ ภาษาอังกฤษ จ านวน 53 คน คิดเป็นร้อย ละ 52.48, วิทยาศาสตร์ จ านวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 47.52 และ ภาษาไทย จ านวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 43.56 ตามล าดับ ตาราง เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) วิชา เกณฑ์ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ นักเรียนผ่าน 151 55.31 131 47.99 118 43.22 156 57.14 นักเรียนไม่ผ่าน 122 44.69 142 52.01 155 56.78 117 42.86 รวม 273 100.00 273 100.00 273 100.00 273 100.00 แผนภูมิ แสดงการเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านคะแนน มาตรฐานที่ 50 (T score 50) จากตารางและแผนภูมิ การเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้น พื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านคะแนน มาตรฐานที่ 50 (T score 50) พบว่า จ านวนนักเรียนผ่าน T Score 50 มีจ านวนมากที่สุด ได้แก่ 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ 55.31 47.99 43.22 57.14 44.69 52.01 56.78 42.86 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่าน T score 50 ผ่าน ไม่ผ่าน


ภาษาอังกฤษ จ านวน 156คน คิดเป็นร้อยละ 57.14 ซึ่งสูงสุด รองลงมา ได้แก่ ภาษาไทย จ านวน 151 คิดเป็น ร้อยละ 55.31 , คณิตศาสตร์ จ านวน 131 คน คิดเป็นร้อยละ 47.99 และวิทยาศาสตร์ จ านวน 118 คน คิด เป็นร้อยละ 43.22 ตามล าดับ ส าหรับจ านวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน T Score 50 มีจ านวนมากที่สุด ได้แก่ วิทยาศาสตร์ จ านวน 155 คน คิดเป็นร้อยละ 56.78 รองลงมา คือ คณิตศาสตร์ จ านวน 142 คน คิดเป็นร้อย ละ 52.01, ภาษาไทย จ านวน 122 คน คิดเป็นร้อยละ 44.69 และภาษาอังกฤษ จ านวน 117 คน คิดเป็นร้อย ละ 42.86 ตามล าดับ ตาราง เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านคะแนนมาตรฐานที่ 50 (T score 50) วิชา เกณฑ์ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ นักเรียนผ่าน 56 55.45 44 43.56 50 49.50 38 37.62 นักเรียนไม่ผ่าน 45 44.55 57 56.44 51 50.50 63 62.38 รวม 101 100.00 101 100.00 101 100.00 101 100.00 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านคะแนน มาตรฐานที่ 50 (T score 50) 0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ 55.45 43.56 49.50 37.62 44.55 56.44 50.50 62.38 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่าน T score 50 ผ่าน ไม่ผ่าน


จากตารางและแผนภูมิ แสดงการเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้น พื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านและไม่ผ่านคะแนน มาตรฐานที่ 50 (T score 50) พบว่า จ านวนนักเรียนที่ผ่าน T Score 50 มีจ านวนมากที่สุด ได้แก่ ภาษาไทย จ านวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 55.45 รองลงมา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ จ านวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 49.50, คณิตศาสตร์ จ านวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 43.56 และ ภาษาอังกฤษ จ านวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 37.62 ตามล าดับ ส าหรับนักเรียนที่ไม่ผ่าน T Score 50 มีจ านวนมากที่สุด ได้แก่ ภาษาอังกฤษ จ านวน 63 คน คิด เป็นร้อยละ 62.38 รองลงมา ได้แก่ คณิตศาสตร์ จ านวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 56.44, วิทยาศาสตร์ จ านวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 50.50 และภาษาไทย จ านวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 44.55ตามล าดับ ตาราง เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านขีดจ ากัดล่าง ปี วิชา ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ภาษาไทย 264 93.95 227 77.47 213 78.02 คณิตศาสตร์ 254 90.39 233 79.52 211 77.29 วิทยาศาสตร์ 253 90.04 206 70.31 179 65.57 ภาษาอังกฤษ 266 94.66 239 81.57 234 85.71 จ านวนนักเรียน 281 293 273 แผนภูมิ แสดงเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านขีดจ ากัดล่าง 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00 100.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ 93.95 90.39 90.04 94.66 77.47 79.52 70.31 81.57 78.02 77.29 65.57 85.71 เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 - 2562 ที่ผ่านขีดจ ากัดล่าง 2561 2562 2563


จากตารางและแผนภูมิ เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านขีดจ ากัดล่าง ดังนี้ ภาษาไทย นักเรียนผ่านขีดจ ากัดล่าง ปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 78.02) มากกว่าปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 77.47) คณิตศาสตร์นักเรียนผ่านขีดจ ากัดล่าง ปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 77.29) น้อยกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 90.39) และ ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 79.52) วิทยาศาสตร์นักเรียนผ่านขีดจ ากัดล่าง ปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 65.57) น้อยกว่า ปีการศึกษา 2561 (ร้อยละ 90.04) และ ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 70.31) อังกฤษ ค่าเฉลี่ยร้อยละปีการศึกษา 2563 (ร้อยละ 85.71) มากกว่า ปีการศึกษา 2562 (ร้อยละ 81.57 แต่น้อยกว่า ปีการศึกษา 256 (ร้อยละ 94.66) ตาราง เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2562 ที่ผ่านขีดจ ากัดล่าง ปี วิชา ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ภาษาไทย 73 73.74 213 78.02 57 56.44 คณิตศาสตร์ 58 58.59 211 77.29 44 43.56 วิทยาศาสตร์ 59 59.60 179 65.57 53 52.48 ภาษาอังกฤษ 55 55.56 234 85.71 48 47.52 จ านวนนักเรียน 99 273 101 แผนภูมิ แสดงเปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านขีดจ ากัดล่าง 0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ 73.74 58.59 59.60 55.56 64.93 67.16 50.75 61.94 56.44 43.56 52.48 47.52 เปรียบเทียบจ านวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563 ที่ผ่านขีดจ ากัดล่าง 2561 2562 2563


Click to View FlipBook Version