The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anuban65 Veerasilp, 2023-05-26 03:58:41

รายงาน SAR 2563

รายงาน SAR 2563

ภาคผนวก Page 101 of 101


ประกาศโรงเรียน เรื่อง การกําหนดมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมายความสําเร็จของ โรงเรียนระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา)


มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา แนบท้ายประกาศโรงเรียนวีรศิลป์เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนวีรศิลป์ พุทธศักราช 2563 ……………………………………………………………………………………………………………………………………..................................... มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนวีรศิลป์พ.ศ. 2563 มีจ านวน 3 มาตรฐาน เพิ่มเติม 1 มาตรฐาน รวมเป็น 4 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 1.1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดีและดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 1.2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 1.3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 1.4 เด็กมีพัฒนาการด้านสิติปัญญา สื่อสารได้มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 โรงเรียนมีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 2.2 โรงเรียนจัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 2.3 โรงเรียนส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 2.4 โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัย และเพียงพอ 2.5 โรงเรียนให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ 2.6 โรงเรียนมีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ 3.1 ครูจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 3.2 ครูสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข 3.3 ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย 3.4 ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและน าผลประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก 4.1 โรงเรียนด าเนินการบริหารจัดการศึกษาแบบคาทอลิก มีฝ่ายหรืองานจิตตาภิบาล มีการบูรณาการคุณค่า พระวรสาร และมีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับแผนแม่บทของฝ่ายอบรมศึกษา มีการจัดบรรยากาศ คาทอลิก ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การประพฤติปฏิบัติตนตามแบบอย่าง พระแม่มารีย์ สร้างขวัญก าลังใจให้กับ ครู เด็กมีความสุขและมีความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมที่จัดให้


ประกาศโรงเรียน เรื่อง การกําหนดมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมายความสําเร็จของ โรงเรียนระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประกาศคาเปาหมาย)


ประกาศโรงเรียนวีรศิลป์ เรื่อง การก าหนดมาตรฐานและค่าเป้าหมายการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ------------------------------------------------------------------- เพื่อให้การพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนวีรศิลป์จึงได้ก าหนด มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียน และค่าเป้าหมายปีการศึกษา 2563 ไว้ดังต่อไปนี้ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ระดับดีเลิศ 1.1 เด็กร้อยละ 85 มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดีและดูแล ความปลอดภัยของตนเองได้ ยอดเยี่ยม 1.2 เด็กร้อยละ 85 มีพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุม และแสดงออก ทางอารมณ์ได้ ยอดเยี่ยม 1.3 เด็กร้อยละ 85 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิก ที่ดีของสังคม ยอดเยี่ยม 1.4 เด็กร้อยละ 85 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้มีทักษะการคิด พื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับดีเลิศ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของ ท้องถิ่น ยอดเยี่ยม 2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน ยอดเยี่ยม 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ยอดเยี่ยม 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ ยอดเยี่ยม 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการ จัดประสบการณ์ส าหรับครู ยอดเยี่ยม 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ ระดับดีเลิศ 3.1 ครูร้อยละ 85 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ยอดเยี่ยม 3.2 ครูร้อยละ 85 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และ ปฏิบัติอย่างมีความสุข ยอดเยี่ยม


มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ 3.3 ครูร้อยละ 85 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่ เหมาะสมกับวัย ยอดเยี่ยม 3.4 ครูร้อยละ 85 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และน าผลการ ประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก ระดับดีเลิศ 4.1 มีการจัดการศึกษาคาทอลิก ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การประพฤติ ปฏิบัติตนตามแบบอย่างพระแม่มารีย์ สร้างขวัญก าลังใจ เพื่อสร้าง บรรยากาศโรงเรียนคาทอลิก ยอดเยี่ยม ประกาศ ณ วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ) ผู้อ านวยการโรงเรียนวีรศิลป์


ประกาศโรงเรียน เรื่อง การกําหนดมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมายความสําเร็จของ โรงเรียนระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (มาตรฐานและการประกาศคาเปาหมาย ขั้นพื้นฐาน)


ประกาศโรงเรียนวีรศิลป์ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนวีรศิลป์ พุทธศักราช 2564 เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการมีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่สองที่ก าหนดเป้าหมาย และ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต ประกอบ กับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบ การประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบ ต่อไป จึงจ าเป็นต้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องกัน จึงประกาศให้ใช้มาตรฐาน การศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ลง วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2561 ส าหรับสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับปฐมวัน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานการศึกษาพิเศษ โรงเรียนวีรศิลป์ จึงได้แต่งตั้งคณะท างานก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียน ผู้แทนครู ผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน เพื่อด าเนินการก าหนด มาตรฐานของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ข้อ 3 ที่ให้สถานศึกษา แต่ละแห่งจัดให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการก าหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ และประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการประกาศก าหนด ดังนั้น อาศัยอ านาจตามมาตรา 31(4) และมาตรา39แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ได้มีมติเห็นชอบให้ใช้ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนวีรศิลป์ 3 มาตรฐาน และก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา**เพิ่มเติม 1 มาตรฐาน รวมเป็น 4 มาตรฐาน เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2564 เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประเมิน ภายนอก ตามมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการศึกษาที่ต้องด าเนินการ อย่างต่อเนื่อง ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564 (บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ) ผู้อ านวยการโรงเรียนวีรศิลป์


มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. 2564 แนบท้ายประกาศโรงเรียนวีรศิลป์ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนวีรศิลป์ พุทธศักราช 2564 มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนวีรศิลป์ พ.ศ. 2564 มีจ านวน 3 มาตรฐาน เพิ่มเติม 1 มาตรฐาน รวมเป็น 4 มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสารและการคิดค านวณ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและแก้ปัญหา 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษาก าหนด 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาก าหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ด าเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุก กลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฎิบัติจริง และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน าผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้


มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก ระบบการจัดการจัดการศึกษาแบบคาทอลิก 1) มีฝ่ายหรืองานจิตตาภิบาล 2) มีการบูรณาการคุณค่าพระวรสาร 3) มีแผนพัฒนาฯที่สอดคล้องกับแผนแม่บทของฝ่ายการอบรมศึกษา 4) มีการจัดบรรยากาศคาทอลิก


ประกาศโรงเรียนวีรศิลป์ เรื่อง การก าหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ------------------------------------------------------------------- โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่ก าหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ อย่างชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต รวมทั้งอัตลักษณ์และจุดเน้นของ สถานศึกษาโรงเรียนวีรศิลป์จึงปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและได้ ก าหนดค่าเป้าหมายของการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร โรงเรียน และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน บุคลากร เพื่อน าไปสู่การพัฒนา คุณภาพมาตรฐานการศึกษาการประเมินคุณภาพภายในและเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนวีรศิลป์มีคุณภาพและได้มาตรฐาน โรงเรียนจึงได้ก าหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการประเมินคุณภาพภายใน ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564 (บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ) ผู้อ านวยการโรงเรียนวีรศิลป์


การก าหนดค่าเป้าหมาย แนบท้ายประกาศโรงเรียนวีรศิลป์ เรื่อง การก าหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ระดับดี 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1) ร้อยละ 86 ของนักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดค านวณ 2) ร้อยละ 86 ของนักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดและแก้ปัญหา 3) ร้อยละ 86 ของนักเรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) ร้อยละ 86 ของนักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสาร 5) ร้อยละ 66 ของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 6) ร้อยละ 84 ของนักเรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีงานอาชีพ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1) ร้อยละ 86 ของนักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษาก าหนด 2) ร้อยละ 86 ของนักเรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 3) ร้อยละ 86 ของนักเรียนมีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ หลากหลาย 4) ร้อยละ 86 ของนักเรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับยอดเยี่ยม 2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาก าหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ด าเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ระดับดี 3.1 ครูร้อยละ 86 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฎิบัติจริง และสามารถ น าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ครูร้อยละ 86 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 ครูร้อยละ 86 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 3.4 ครูร้อยละ 86 มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน าผลมา


มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ พัฒนาผู้เรียน 3.5 ครูร้อยละ 86 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก ระดับดีเลิศ 4.1 มีฝ่ายหรืองานจิตตาภิบาล ระดับ ดีเลิศ 4.2 มีการบูรณาการคุณค่าพระวรสาร ระดับ ดีเลิศ 4.3 มีแผนพัฒนาฯที่สอดคล้องกับแผนแม่บทของฝ่ายการอบรมศึกษา ระดับ ดีเลิศ 4.4 มีการจัดบรรยากาศคาทอลิก ระดับ ดีเลิศ


รายงานการประชุมหรือการใหความเห็นชอบ SAR ของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน (บันทึกการใหความเห็นชอบ SAR)


บันทึกการพิจารณาให้ความเห็นชอบเอกสาร รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 ของโรงเรียนวีรศิลป์ ............................................................................................................................................. ด้วยโรงเรียนวีรศิลป์ ได้ด ำเนินกำรจัดท ำรำยงำนประจ ำปีของสถำนศึกษำ ประจ ำปีกำรศึกษำ 2563 เพื่อเป็นไปตำมเจตนำรมณ์ของกำรจัดกำรศึกษำของพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ระบุให้สถำนศึกษำจัดให้มีระบบประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ และ ให้ถือว่ำกำรประกันคุณภำพภำยในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนกำรบริหำรกำรศึกษำ ที่ต้องด ำเนินกำรอย่ำง ต่อเนื่อง โดยมีกำรจัดท ำรำยงำนประจ ำปีเสนอต่อหน่วยงำนต้นสังกัด หน่วยงำน ที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อ สำธำรณชน รวมทั้งเพื่อรองรับกำรประกันคุณภำพจำกต้นสังกัด บัดนี้ โรงเรียนวีรศิลป์ด ำเนินกำรจัดท ำรำยงำนประจ ำปีของสถำนศึกษำ (SAR) ประจ ำปีกำรศึกษำ 2563 เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงน ำเสนอให้คณะกรรมกำรบริหำรโรงเรียนวีรศิลป์พิจำรณำให้ควำมเห็นชอบ โดยมีมติที่ประชุมเมื่อวันที่ 20 พฤษภำคม 2564 ด้วยมติเป็นเอกฉันท์ให้ใช้รำยงำนต่อหน่วยงำนต้นสังกัด และสำธำรณชนได้ จึงเรียนมำเพื่อโปรดพิจำรณำ ลงชื่อ (บำทหลวงเสกสิฐ เล้ำกิจเจริญ) ผู้อ ำนวยกำรโรงเรียนวีรศิลป์/ประธำนคณะกรรมกำรบริหำรโรงเรียน


คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานจัดทํา SAR (คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนวีรศิลป (ระดับ ปฐมวัย) )


ค ำสั่งโรงเรียนวีรศิลป์ อ.ท่ำม่วง จ.กำญจนบุรี ที่ 27 / 2563 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมกำรผู้ประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยในโรงเรียนวีรศิลป์ (ระดับปฐมวัย) ................................................................ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่ต้องแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 มาตรา 48 มาตรา 50 ระบุให้สถานศึกษามีระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดท ารายงานประจ าปีเสนอต่อ หน่วยต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน โรงเรียนวีรศิลป์ จึงได้ด าเนินการให้มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานในการด าเนินงานทุกด้านของโรงเรียน เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพจากต้นสังกัดและจากหน่วยงาน ภายนอก ดังนั้นเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวีรศิลป์ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ได้มาตรฐาน ตามที่ก าหนด จึงขอแต่งตั้งคณะกรรมการการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อด าเนินการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. คณะกรรมกำรที่ปรึกษำ 1. บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ ประธาน 2. นางพรทิพย์ พงษ์สมบูรณ์ กรรมการ 3. นางรัตนา วีระศิลป์ กรรมการ 4. นางกานดา ภมะราภา กรรมการ 5. สาวชมพูนุช ระดมกิจ กรรมการ 6. นางสาวจันทร์เพ็ญ บวงสวง กรรมการ มีหน้ำที่ 1) ก าหนดนโยบาย หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาด าเนินงาน เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา 2) เสนอแนวทางในการวางระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานในการประกัน คุณภาพภายใน 3) ให้ค าปรึกษาและเสนอแนะแนวทาง ก ากับ และติดตามเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในโรงเรียน 4) เสนอแนะและให้ความเห็นชอบอนุมัติรายงานการประเมินตนเอง (SAR) 5) สนับสนุนให้มีการพัฒนาคุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ และการประเมินตนเอง โดยถือว่า การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเนื่อง 2. คณะกรรมกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยในโรงเรียน มำตรฐำนที่ 1 คุณภำพเด็ก 1. นางกานดา ภมะราภา ประธาน


2. นางนุชรา ไทยถานันดร์ กรรมการและเลขานุการ มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร 1. นางพรทิพย์ พงษ์สมบูรณ์ ประธาน 2. นางรัตนา วีระศิลป์ กรรมการ มำตรฐำนที่ 3 กำรจัดประสบกำรณ์ที่เน้นเด็กเป็นส ำคัญ 1. นางนัยนา แปลงกิริยา ประธาน 2. นางสาวจันทร์เพ็ญ บวงสวง กรรมการ มำตรฐำนที่ 4 กำรจัดกำรศึกษำคำทอลิก 1. นางสาวชมพูนุช ระดมกิจ ประธาน 2. นางนิภา วัฒนารมย์ กรรมการ มีหน้ำที่ 1) ประเมินคุณภาพการศึกษาด้วยตนเอง และจัดท าข้อมูลตามมาตรฐานการศึกษาที่กระทรวงและ โรงเรียนก าหนด 4 มาตรฐาน เก็บรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล 2) บันทึกข้อมูลจากการตรวจสอบ และน าเสนอผู้จัดท าเอกสารการประเมินคุณภาพการศึกษา 3. คณะกรรมกำรจัดท ำรำยงำนกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำ 1. นางพรทิพย์ พงษ์สมบูรณ์ ประธาน 2. นางรัตนา วีระศิลป์ กรรมการ 3. นางกานดา ภมะราภา กรรมการ 4. นางสาวชมพูนุช ระดมกิจ กรรมการ 5. นางนัยนา แปลงกิริยา กรรมการและเลขานุการ ทั้งนี้ขอให้บุคลากรที่ได้รับการแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรอบคอบ เต็มความสามารถ เพื่อให้เกิดผล ส าเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ และเพื่อผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนต่อไป สั่ง ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2563 ลงชื่อ ( บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ ) ผู้อ านวยการโรงเรียนวีรศิลป์


คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานจัดทํา SAR (คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการจัดทํารายงานตนเองขั้นพื้นฐาน)


ค ำสั่งโรงเรียนวีรศิลป์ อ.ท่ำม่วง จ.กำญจนบุรี ที่ 4/2563 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมกำรจัดท ำรำยงำนตนเองประจ ำปีกำรศึกษำ 2563 ------------------------------------------------------ อาศัยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 ความว่า “ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา” และ มาตรา 48 ที่ก าหนดให้“สถานศึกษาต้องมีการประกันคุณภาพภายในและให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร สถานศึกษา” ซึ่งขั้นตอนหนึ่งของระบบประกันคุณภาพภายใน คือ การจัดท ารายงานประจ าปี (SAR) เพื่อให้ สถานศึกษามีข้อมูลในการน าไปใช้ประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในปีถัดไป และ น าเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด ต่อสาธารณชน และเตรียมความพร้อมในการประเมินคุณภาพภายนอก ดังนั้น โรงเรียนวีรศิลป์ จึงได้ก าหนดมาตรฐานและด าเนินการตามมาตรฐานการจัดการศึกษาอย่างเป็น ระบบ มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการด้านการศึกษาในทุกๆ ด้าน เพื่อให้การด าเนินการ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามแผนงาน และเกิดคุณภาพเป็นที่ประจักษ์สอดคล้องตามนโยบาย จึงขอแต่งตั้ง คณะกรรมการจัดท าเอกสารรายงานประจ าปี (SAR) ประจ าปีการศึกษา 2563 ดังนี้ 1. คณะกรรมกำรที่ปรึกษำ 1.1 บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ ผู้อ านวยการโรงเรียน 1.2 นางวรรณี ดีประชา หัวหน้ากลุ่มงานบริหารวิชาการ 1.3 นางจอมขวัญ ศักดิ์สุนทร หัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานบุคคล 1.4 นางศุลิษา มุกดาแสงสว่าง หัวหน้ากลุ่มงานบริหารงบประมาณ 1.5 น.ส.ฉวีวรรณ ตั้นสกุล หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป 1.6 นางชรฎ โสนน้อย หัวหน้ากลุ่มงานจิตตาภิบาล 1.7 นายวิสุทธิ์ พงชุบ หัวหน้างานกิจการนักเรียนมัธยม 1.8 นางศศิวิมล ทองมา หัวหน้างานกิจการนักเรียนประถม 1.9 นายชาติชาย ชั้นกาญจนอัมพร หัวหน้างานอาคารสถานที่ 1.10 นายพิเชษฐ ทองนุ่ม หัวหน้างานเทคโนโลยีและสารสนเทศ 1.11 นางวรางค์ ก าจรกิตติคุณ หัวหน้างานธุรการ มีหน้ำที่ ให้ค าปรึกษาและเสนอแนะแนวทาง ก ากับ และติดตามเกี่ยวกับการเตรียมข้อมูล หลักฐาน เอกสาร เพื่อจัดท ารายงานประเมินตนเอง 2. คณะกรรมกำรประกันคุณภำพภำยใน 2.1 นางวรรณี ดีประชา ประธาน 2.2 นางเมตตา ถิ่นทุ่งทอง รองประธาน 2.3 นางจอมขวัญ ศักดิ์สุนทร กรรมการ 2.4 น.ส.ฉวีวรรณ ตั้นสกุล กรรมการ 2.5 นางศุลิษา มุกดาแสงสว่าง กรรมการ 2.6 นายวิสุทธิ์ พงชุบ กรรมการ 2.7 นายพิเชษฐ ทองนุ่ม กรรมการ 2.8 นางชรฎ โสนน้อย กรรมการ 2.9 นางสุรีย์พร เลิศไชย กรรมการ 2.10 นางชนัญญา ประสิทธิ์พรพงศ์ กรรมการ 2.11 น.ส.วรานุช กิจเจริญ กรรมการ 2.12 นางนานา ไกรปราบ กรรมการ


มีหน้ำที่ 1. ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและมาตรฐานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สังกัดสังฆมณฑลราชบุรี 2. จัดระบบข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน 3. จัดเตรียมเครื่องมือในการประเมินตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพภายในฯ 4. จัดห้องส าหรับการรวบรวมข้อมูลการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน 5. ประสานงานข้อมูลกับครูผู้รับผิดชอบตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้เพื่อรวบรวมเป็นระบบประกัน คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน 3. คณะกรรมกำรจัดท ำรำยงำนตนเองตำมมำตรฐำนของโรงเรียน 3.1 มำตรฐำนด้ำนคุณภำพผู้เรียน 3.1.1 นางจอมขวัญ ศักดิ์สุนทร 3.1.2นายวิสุทธิ์ พงชุบ 3.1.3 น.ส.ฉวีวรรณ ตั้นสกุล 3.1.4 นายพิเชษฐ ทองนุ่ม 3.1.5 นายดนัย บัวสถาพร 3.1.6 นางวรางค์ ก าจรกิตติคุณ 3.1.7 น.ส.วรานุช กิจเจริญ 3.1.8 นางศศิวิมล ทองมา 3.1.9 นางลดารัตน์ วารีศรี 3.1.10 น.ส.วิยะดา แสงภิรมย์ 3.1.11 น.ส.วรินทร์ โฉมกอง 3.1.12 นางจันทร์ดี ภู่สุวรรณ 3.1.13 นางรัตนา จันทร์พันธ์ 3.1.14 นางสมใจ พงษพัว 3.1.15 น.ส.ปิยภรณ์ มังกรทอง 3.1.16 นางสายทิพย์ เชี่ยวชาญพัชรกุล 3.1.17 นางพัชนีย์ ค าแดง 3.1.18 นายวรนนท์ เจนวิชชุ 3.1.19 นางชบา แสงพุ่ม 3.1.20 นางจุรี สุทธการี 3.1.21 น.ส.สุปรียา สุขสวัสดิ์ 3.1.22 นางนันทมน ล้วนอุดมศิริ 3.1.23 นางสมพร อ่วมกรุด 3.1.24 น.ส.ธนพร พรหมจันทร์ดา 3.1.25 นางรัตนา บัวสถาพร 3.1.26 น.ส.กาญจนา ครุฑศิริ 3.1.27 น.ส.กฤตพร บุญญาลัย 3.2 มำตรฐำนด้ำนกระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำรของผู้บริหำรสถำนศึกษำ 3.2.1 นางวรรณีดีประชา 3.2.2 นางเมตตา ถิ่นทุ่งทอง 3.2.3 นายชาติชาย ชั้นกาญจนอัมพร 3.2.4 น.ส.พิสมัย ภูยอดผา 3.2.5 นางภัททิมา บุณยายน 3.2.6 น.ส.เยาวลักษณ์ ข านอง 3.2.7 น.ส.โสรฏา อัคราพร 3.2.8 นางวันเพ็ญ ว่องพานิช 3.2.9 นางมาเรียม กิจทวี 3.2.10 นางอุไรรัตน์ แสวงทรัพย์ 3.2.11 นางธนิดา ใจจัน 3.2.12 น.ส.อนุสรา แซ่อึ้ง 3.2.13 นายพรภิรมย์ เอกพร 3.2.14 น.ส.ไพรจิตต์ พวงเนียม 3.2.15 น.ส.ปิยะภา จงเจริญ 3.2.16 นายประวีณ อัคราพร 3.2.17 นายสมเจตน์ ภัทรสิริวรกุล 3.2.18 นายวีระยุทธ์ อ่อนจันทร์ 3.2.19 นายวรวุฒิ เย็นวารีย์ 3.2.20 น.ส.อนัญญา กิตติวิวัฒน์กุล 3.2.21 น.ส.ธันย์ชนก พวงทอง 3.2.22 นางนิชาภา บุญประสพ 3.2.23 น.ส.วันวิสาข์ วงศ์หงษ์ทอง 3.2.24 น.ส.วรัชญา เฉิดฉันท์พิพัฒน์ 3.2.25 น.ส.สุธิตา เจิมจุล 3.3 มำตรฐำนที่ด้ำนกระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส ำคัญ 3.3.1 นางนานา ไกรปราบ 3.3.2 นางสุรีย์พร เลิศไชย 3.3.3 นางชนัญญา ประสิทธิพรพงศ์ 3.3.4 นางดาราวรรณ เอกพร 3.3.5 นางทิวารัตน์ ขันวิชัย 3.3.6 น.ส.พิมพ์ใจ ใจงาม 3.3.7 นางนันทา น้ าใจสุข 3.3.8 นางชุลีภรณ์ แหลมสุวรรณกุล 3.3.9 นางรุจิรา เจริญวัย 3.3.10 น.ส.กมลชนก ค าแสง 3.3.11 นางสุรพรี เจริญพร 3.3.12 น.ส.บุญญพัช กลาทอง 3.3.13 นางสุขวิมล อนันตสวัสดิ์ 3.3.14 น.ส.ยุวรี สุมงคล 3.3.15 นางยุวดี เปลี่ยนศรี 3.3.16 น.ส.พัสณี บัวเผื่อน 3.3.17 นางกนกอร ปวุตินันท์ 3.3.18 นางรัตนา ประกิจ


3.3.19 น.ส.พรนภา วรรณสาร 3.3.20 นายกิจติพล คงพยัคฆ์ 3.3.21 นางศิริพร พงษ์ศักดิ์ 3.3.22 น.ส.แสงระวี วีระนนท์ 3.3.23 นายกิตติพัฒน์ จีนสกุลณี 3.3.24 น.ส.สรนันท์ สุขสวัสดิ์ 3.3.25 น.ส.ศิริญา เกล็ดพงษ์ษา 3.3.26 น.ส.นิรินทร์ยา กลิ่นประทุม 3.3.27 น.ส.กมลพรรณ ล่าโสตร์ 3.3.28 น.ส.อนัญญา ทองดีเลิศ 3.3.29 น.ส.กุสุมา แขวงนคร 3.3.30 น.ส.ประภาศรี สุทธิวิวัฒน์ 3.3.31 น.ส.เนตรนภา ช้างดอนไพร3.3.32 นายปัญจภูมิ สิทธิคงศักดิ์ 3.3.33 น.ส.ศุภัจฉรา ศรีมุกข์ 3.3.34 น.ส.คัทลียา จันทร์สว่าง 3.4 มำตรฐำนด้านกำรจัดกำรศึกษำคำทอลิก 3.4.1 นางชรฎ โสนน้อย 3.4.2 นางศุลิษา มุกดาแสงสว่าง 3.4.3 นางมีนา กาญจนานุรักษ์ 3.4.4 น.ส.อังคณา กาญจนานุรักษ์3.4.5 น.ส.สรัลธร เจนวิชชุ 3.4.6 นางสุจิตร พิไลกุล 3.4.7 น.ส.วิรัญอร ระดมกิจ 3.4.8 น.ส.เกวลี เหลืองตระกูล 3.4.9 น.ส.ปวีณธิดา ฉายาลักษณ์ 3.4.10 นางสุกฤตา ปุญญพัฒกานต์3.4.11 น.ส.สุภาพร เจริญธรรม 3.4.12 นายกรกฎ ถาวรวงษ์ 3.4.13 น.ส.ศิริพรรณ ปั้นรูป 3.4.14 น.ส.อิศรา ประยูรมหิศร มีหน้ำที่ รวบรวมเอกสารแต่ละมาตรฐาน และสรุปเพื่อจัดท ารายงานตนเองประจ าปี (SAR) และน าเสนอ ผู้บริหาร / คณะกรรมการบริหารโรงเรียนเพื่อพิจารณาและด าเนินการต่อไป ให้บุคลากรที่ได้รับการแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรอบคอบ เพื่อให้เกิดความเรียบร้อย โดยมุ่งพัฒนา การบริหารจัดการในเชิงระบบ เพื่อส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพส าหรับนักเรียน และพัฒนา มาตรฐานการจัดการของโรงเรียน สั่ง ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2563 ลงชื่อ (บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ) ผู้อ านวยการโรงเรียนวีรศิลป์


หลักฐานการเผยแพร SAR ใหผูมีสวนเกี่ยวของหรือสาธารณชนรับทราบ (ผลการประเมินคุณภาพภายนอก)


ผลการประเมินคุณภาพภายนอก ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง : การศึกษาปฐมวัย โรงเรียนวีรศิลป์ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ.รอบสอง เมื่อวันที่3 – 5 เดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา มีการประเมิน 3 ด้าน คือ ด้านผู้บริหาร ด้านครู และด้าน ผู้เรียน ซึ่งสรุปผลการประเมินโดยภาพรวมตามรายมาตรฐานเป็นตารางดังต่อไปนี้ ระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับคุณภาพ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ √ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี √ มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬา √ มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ √ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จ าเป็นตามหลักสูตร √ มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง √ มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีทักษะในการท างาน รักการท างาน สามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต √ ด้านครู มาตรฐานที่ 8 ครูมีคุณวุฒิ/ความรู้ ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ และมีครู เพียงพอ √ มาตรฐานที่ 9 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ √ ด้านผู้บริหาร มาตรฐานที่ 10 ผู้บริหารมีภาวะผู้น าและมีความสามารถในการบริหารจัดการ √ มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดองค์กร/โครงสร้างและการบริหารงานอย่างเป็น ระบบ ครบวงจรให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา √ มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็น ส าคัญ √ มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีหลักสูตรเหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น มีสื่อการเรียน การสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ √ มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษาส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการ พัฒนาการศึกษา √


ข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง (ระดับการศึกษาปฐมวัย) มาตรฐานที่ ข้อเสนอแนะ 1 เด็กควรได้รับการส่งเสริมให้เห็นถึงคุณค่าของเงิน และการออม เด็กอนุบาล 3 ควรได้รับการ ฝึกฝนให้ใช้ช้อนส้อม เพื่อปลูกฝังมารยาทในการรับประทานอาหาร 2 ไม่มีข้อเสนอแนะ 3 ไม่มีข้อเสนอแนะ 4 ไม่มีข้อเสนอแนะ 5 ไม่มีข้อเสนอแนะ 6 เด็กควรได้รับการส่งเสริมในด้านการศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก 7 ไม่มีข้อเสนอแนะ 8 ไม่มีข้อเสนอแนะ 9 ครูผู้สอนควรด าเนินการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาพหุปัญญาทั้ง 8 ด้านให้เป็น แนวเดียวกันทั้งองค์รวมของหน่วยงาน รวมทั้งพัฒนาขั้นตอนการประเมินผลที่สอดคล้องกับ กิจกรรมพหุปัญญาอย่างครบถ้วน 10 ไม่มีข้อเสนอแนะ 11 ผู้บริหารควรก าหนดระเบียบรองรับการบริหารด้านปฐมวัยเป็นการเฉพาะ เพื่อให้เกิดความ คล่องตัวในการบริหารจัดการและสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม 12 ไม่มีข้อเสนอแนะ 13 ไม่มีข้อเสนอแนะ 14 ไม่มีข้อเสนอแนะ


ผลการประเมินคุณภาพภายนอก ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนวีรศิลป์ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ.รอบสาม (พ.ศ. 2554-2558) ระดับการศึกษา ปฐมวัย (2-5 ปี) เมื่อวันที่ 25 – 27 เดือนมกราคม พ.ศ. 2555 โดยประเมินมาตรฐานตามกฎกระทรวงฯ ประกอบด้วย 3 กลุ่มตัวบ่งชี้ คือ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน (8 ตัวบ่งชี้) กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ (2 ตัวบ่งชี้) และ กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม (2 ตัวบ่งชี้) มีจ านวนรวมทั้งหมด 12 ตัวบ่งชี้ ซึ่งสรุปผลการประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐานเป็นตารางดังต่อไปนี้ มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับคุณภาพ ต้อง ปรับปรุง เร่งด่วน ต้อง ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย √ มาตรฐานที่ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย √ มาตรฐานที่ 3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย √ มาตรฐานที่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย √ มาตรฐานที่ 5 เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป √ มาตรฐานที่ 6 ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ √ มาตรฐานที่ 7 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา √ มาตรฐานที่ 8 ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน √ กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ มาตรฐานที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา √ มาตรฐานที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา √ กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม มาตรฐานที่ 11 ผลการด าเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ สถานศึกษา √ มาตรฐานที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา √ โรงเรียนมีผลการประเมินระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับคุณภาพ ดีมาก ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ รับรอง


ข้อเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จุดเด่น 1. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา และมีความพร้อมศึกษาในขั้นต่อไป ผลการพัฒนาบรรลุตามปรัชญา คุณธรรม น าวิชา พัฒนาสุข วิสัยทัศน์ เป็นเลิศด้านวิชาการใช้ทักษะกระบวนการคิด แก้ปัญหาการสื่อสารและสามารถใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม มีระเบียบวินัยพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม ด้านศาสนาและวัฒนธรรม น าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการด ารงชีวิตอย่างมีคุณภาพ และห่างไกลยา เสพติดและเอกลักษณ์ พัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมตามแบบอย่างพระแม่มารี 2. ผู้บริหารมีภาวะผู้น า มีความสามารถในการบริหารจัดการ โดยใช้หลักการมีส่วนร่วม มีแผนงาน การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล น าผลไปพัฒนา คณะกรรมการบริหารสถานศึกษามีความรอบรู้จากหลากหลายสาขา อาชีพ มีส่วนร่วมคิด ร่วมท า ประเมินผลในการบริหารงานทุกด้านของสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อมภายนอกและภายใน อาคารที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ มีมาตรการด้านความปลอดภัยและการป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก 3. ครูมีประสิทธิภาพในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมเด็กให้มีพัฒนาการร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อเด็กและครอบครัว และส่งเสริมการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อธรรมชาติและ พัฒนาการของเด็กด้วยการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย 4. ผลการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัดและพัฒนาการของระบบการประกัน จุดที่ควรพัฒนา 1. พัฒนาการของเด็กบางคนในการแสดงความยินดีหรือพูดชมเชยในความสามารถหรือผลงานของ ผู้อื่นยังมีน้อย 2. การบริหารจัดการให้มีจ านวนครูที่เพียงพอกับจ านวนเด็ก 3. บทบาทของครูในการส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 1. ด้านผลการจัดการศึกษา เด็กควรได้รับการพัฒนาให้รู้จักแสดงความยินดีในความสามารถของผู้อื่น เช่น การกล่าวชมเชย ผลงานศิลปะของเพื่อน การปรบมือเมื่อเพื่อนได้พูดหน้าชั้นเรียน โดยครูควรกล่าวชมเชยหรือแสดงการปรบมือเป็นตัวอย่าง สม่ าเสมอให้เด็กเกิดความคุ้นชิน โดยครูไม่ต้องบอกให้ท า 2. ด้านการบริหารจัดการศึกษา สถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูพี่เลี้ยงได้ศึกษาต่อด้านการศึกษาปฐมวัย เพื่อบรรจุเป็นครูโดยใช้ ประสบการณ์ที่ได้รับเอื้อต่อการพัฒนาลดปัญหาสัดส่วนครูต่อเด็ก เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์


หลักฐานการเผยแพร SAR ใหผูมีสวนเกี่ยวของหรือสาธารณชนรับทราบ (หลักฐานการเผยแพร SAR)


หลักฐานการเผยแพร่ SAR ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือสาธารณชนรับทราบ


แผนผังอาคารสถานท ี่ (แผนผังอาคารสถานที่)


แผนผังอาคารสถานที่ ระดับปฐมวัย ปีการศึกษา 2563 ชั้น 3 คอมพิวเตอร์ อ.3/3 อ.3/4 ห้องเรียน IEP (1) ห้องเรียน IEP (2) ห้อง ดนตรี ห้องเก็บ อุปกรณ์ ห้อง ภาษา อังกฤษ ห้อง เฟื่องฟ้า ห้องสุขา ระเบียงทางเดิน ระเบียงทางเดิน อ.3/2 อ.3/1 ชั้น 2 อ.3/6 อ.3/5 อ.2/1 อ.2/2 อ.2/3 อ.2/4 อ.2/5 อ.2/6 ห้องศูนย์ การเรียน ห้องสุขา ระเบียงทางเดิน ระเบียงทางเดิน อ.3/7 อ.3/8 ชั้น 1 อ.1/3 อ.1/4 อ.1/5 อ.1/6 อ.1/7 อ.1/8 อ.2/8 อ.2/7 ห้องธุรการ ปฐมวัย ห้องสุขา ระเบียงทางเดิน ระเบียงทางเดิน อ.1/2 อ.1/1


แผนผังอาคารสถานท ี่ (แผนผังอาคารสถานที่ขั้นพื้นฐาน)


โรงเรยีนวรีศลิป์สภอ.ทา่มว่ง ทวี่า่กแยกหนองตาบง่ตลาดทา่มว่ง ไฟแดงไฟแดงปม้ัเอสโซ่มลูนธิิMOL ไฟแดงแยกMOL โรงพยาบาลทา่มว่งสวนรกุขชาติหนว่ยรถขดุโลตสัทา่มว่งเขอื่นแมก่ลองแ ม่น้า แ ม่ก ล อ งถ น น แ ส ถน น แส ง ชูโ โรงเรียนวีรศลิป์อ.ท่ากา ญ จ น บุรี แผนที่ตั้งของโรงเรียนวีรศิ


แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ปีการศึกษา(ฉบับปรับปรุง) 25601-2564 โรงเรียนวีรศิลป์ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน้าที่ 1 การอ.ทา่มว่ง แยกหนองเสอืไฟแดงแยกหนองเสอื ไฟแดงแยกทา่มะกาไฟแดงแยกทา่เรอื-พระแทน่ไฟแดงแยกทา่เรอืไฟแดงวงัขนายสะพานบา้นใหม่ ง ชูโ ต ส า ยใ ห ม่ ตส ายเก่าาม่วงจ.กาญจนบุรี กรุงเท พ ฯ ศิลป์ อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี


บ้านพักซิสเตอร์ บ้านพักพระสงฆ์ โรงรถ เสาธง แผนผังอาคารสถานที่ปีการศึกษา 2555 ประถม – มัธยม ห้องน้้าอาคารเฉลิมพระเกียรติอาคารคาเร็ตโต อาคารเอนกประสงค์ โรงอาหาร โรงเก็บของ อาคารปีติมหาการุญ หอประชุมอนุบาล สวนหย่อม สนามกีฬา อาคารเดลลาโตร์เร ทางเข้า ทางออก อาคารปีติมหาการุญ จ้าหน่าย อาหาร แผนผังโรงเรียนวีรศิลป์ ห้องค้าสอน โบสถ์วัดแม่พระมหาทุกข์


. อาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องเรียน ห้องประกอบ แผนผังอาคารอาคารเฉลิมพระเกียรติและอาคารคาเร็ตโต ปีการศึกษา 2563 อาคารเฉลิมพระเกียรติชั้น 4 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ห้อง ซาวด์แล็บ ป.6/P ป.6/E อาคารคาเร็ตโต ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 3 ห้อง ลูกเสือ ห้อง ประกอบการ ม.2-I ม.1-I ม.1/2 ม.1/1 ป.5/1 ป.5/2 ป5/3 ป.5/4 ห้อง นาฏศิลป์ ห้อง นาฏศิลป์ ป.5/P ป.5/E อาคารคาเร็ตโต ชั้น 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 2 วิทย์ มัธยม ม.2/1 ม.2/2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3-I ห้อง IEP1 ห้อง IEP2 ห้อง สื่อ ห้อง สืบค้น ห้องคอมฯ ห้อง ดนตรี ไทย ห้อง อุปกรณ์ อาคารคาเร็ตโต ชั้น 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 1 ศูนย์ คณิต ห้องสมุดมัธยม ห้อง ดนตรี ห้อง แนะ แนว ห้อง กิจการ ห้อง อเนก ประสงค์ ห้อง พยาบาล ห้อง ธุรการ ห้อง ศักดิ์ศรี ห้อง ผู้จัด การ ห้อง วิชาการ ห้องพัก ครู ห้องพักครู


แผนผังอาคารเดลลาโตร์เร ชั้น 4 ป.3-E 8x8 ม. ป.3-P 8x8 ม. ป.4/1 8x8 ม. ป.4/2 8x8 ม. ป.4/3 8x8 ม. ห้องเรียน IEP ชั้น 3 ป.3-I 8x8 ม. ป.3/4 8x8 ม. ป.3/3 8x8 ม. ป.3/2 8x8 ม. ป.3/1 8x8 ม. ห้องประกอบการ ชั้น 2 ป.1/2 8x8 ม. ป.1/3 8x8 ม. ป.1/A 8x8 ม. ป.1-I 8x8 ม. ป.1-E 8x8 ม. ห้องซาวน์แลป ชั้น 1 ห้องอาหารระดับปฐมวัย ห้อง พยาบาล ห้อง ปกครอง ห้อง ประชุม


ร ปีการศึกษา 2563 ป.4-I 8x8 ม. ป.4-E 8x8 ม. ป.4-P 8x8 ม. ห้องน้้า ชาย/ หญิง 7 ห้อง ห้องเรียน IEP ห้องนาฎศิลป์ ป.2-P 8x8 ม. ป.2-E 8x8 ม. ป.2-I 8x8 ม. ห้องน้้า ชาย/ หญิง 7 ห้อง ป.2/3 ป.2-A ห้องวิทยาศาสตร์ ป.1-P 8x8 ม. ป.2/1 8x8 ม. ป.2/2 8x8 ม. ห้องน้้า ชาย/ หญิง 7 ห้อง ป.1/1 8x8 ม. ห้องคอมพิวเตอร์ ห้อง ผู้บริหาร ห้อง วิชาการ ห้องพักครู ห้อง สุขา ห้องโถงชั้นล่าง ห้องสมุดระดับประถม


โครงสรางการบริหารงานโรงเรียน (โครงสรางการบริหารโรงเรียนวีรศิลป ระดับการศึกษาปฐมวัย )


ผู้อ านวยก กลุ่มงานบริหารวิชาการ กลุ่มงานบริหารงบประมาณ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนวีรศิลป์ ผู้รับใบอนุญ ศูนย์วิชาการโรงเรียนในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี มุขนายก โครงสร้างการบริหารงานของโรงเรียน 1. งานพัฒนาหลักสูตร 2. งานพัฒนากระบวนการเรียนการสอน 3. งานวัดประเมินผลและเทียบโอน 4. งานนิเทศการสอน 5. งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 6. งานรับนักเรียน 7. งานพัฒนาสื่อนวัตกรรมและ เทคโนโลยี 8. งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 9. งานส่งเสริมและสนับสนุนงาน วิชาการกับบุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันอื่นที่จัด การศึกษา ผู้จัดการ 1. งานบริหารการเงิน - จัดท าและเสนอของบประมาณ - จัดสรรงบประมาณ 2. งานบริหารการบัญชี 3. งานตรวจสอบ ติดตามประเมิน และ รายงาน ผลงาน ผลการใช้เงิน และผล การด าเนินงาน 1. งานจัดสรร บรรจุ แต่ง และจ าหน่ายครู 2. งานสวัสดิการครูและ บุคลากร 3. งานวินัยและการรักษา วินัย/พิจารณาความดี ความชอบ 4. งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มงานบริหารงา นักเรียน ผู้ปกครอง


ฝ่ายอบรมศึกษาสังฆมณฑลราชบุรี การ ญาต เครือข่ายผู้ปกครอง ก 1. งานค าสอน 2. งานกิจกรรมคาทอลิก 3. งานคุณธรรม และจริยธรรม 4. งานศาสนสัมพันธ์ 5. งานอภิบาลและแพร่ธรรม ร 1. งานธุรการ 2. งานกิจการนักเรียน 3. งานสัมพันธ์ชุมชน 4. งานสารสนเทศ 5. งานอาคารสถานที่ 6. งานมาตรฐานคุณภาพการศึกษา - ประกันคุณภาพ - นโยบายและแผนงาน - บริหารความเสี่ยง 7. งานพัฒนาสุนทรียภาพ 8. งานส่งเสริมสนับสนุน ศิลปะ และ วัฒนธรรม กลุ่มงานจิตตาภิบาล งตั้ง า ดี านบุคคล กลุ่มงานบริหารทั่วไป และชุมชน


โครงสรางการบริหารงานโรงเรียน (โครงสรางการบริหารงานโรงเรียนวีรศิลป ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)


แผนภูมิโครงสร้างการบริ มุขน ผู้อ านว กลุ่มงานบริหารวิชาการ กลุ่มงานบริหารงบประมาณ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนวีรศิลป์ ผู้รับใบ ศูนย์วิชาการโรงเรียนในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี 1. งานพัฒนาหลักสูตร 2. งานพัฒนากระบวนการเรียน การสอน 3. งานวัดผล ประเมินผลและ เทียบโอน 4. งานนิเทศการสอน 5. งานแนะแนวการศึกษา 6. งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา 7. งานห้องสมุด ผู้จัด 1. งานบริหารการเงิน - จัดท าและเสนอขอ งบประมาณ - จัดสรรงบประมาณ 2. งานบริหารการบัญชี 3. งานตรวจสอบ ติดตามประเมิน และรายงาน ผลงาน ผลการ ใช้เงินและผลการด าเนินงาน 1.งานสรรหา บรร จ าหน่ายครู 2.งานสวัสดิการค 3.งานวินัยและกา พิจารณาความดี 4.งานพัฒนาบุคล กลุ่มงานบริหา นักเรียน ผู้ป


ริหารงานโรงเรียนวีรศิลป์ นายก ฝ่ายอบรมศึกษาสังฆมณฑลราชบุรี วยการ อนุญาต เครือข่ายผู้ปกครอง 1. งานสอนค าสอน 2. งานกิจกรรมคาทอลิก 3. งานสอนคริสตศาสนา 4. งานคุณธรรมและ จริยธรรม 5. งานศาสนสัมพันธ์ 6. งานอภิบาลและแพร่ธรรม การ 1. งานธุรการ 2. งานกิจการนักเรียน 3. งานสัมพันธ์ชุมชน 4. งานสารสนเทศ 5. งานอาคารสถานที่ 6. งานมาตรฐานคุณภาพ การศึกษา - ประกันคุณภาพ - นโยบายและแผนงาน - บริหารความเสี่ยง 7. งานพัฒนาสุนทรียภาพ 8. งานส่งเสริมสนับสนุนศิลปะ และวัฒนธรรม กลุ่มงานจิตตาภิบาล รจุ แต่งตั้งและ ครูและบุคลากร ารรักษาวินัย/ ดีความชอบ ลากร ารงานบุคคล กลุ่มงานบริหารทั่วไป กครอง และชุมชน


โครงสรางหลักสูตร เวลาเรียน ของโรงเรียน (โครงสรางหลักสูตร เวลาเรียนของโรงเรียน)


โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย (โรงเรียนวีรศิลป์) เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการ จุดมุ่งหมายที่ก าหนด สถานศึกษาจึงก าหนดโครงสร้าง หลักสูตร และกิจกรรมเสริมในส่วนของการศึกษาปฐมวัย ดังนี้ โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2563 ช่วงอายุ อายุ 3 – 6 ปี สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์ส าคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก กิจกรรมประจ าวันในห้องเรียน กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเสรี เกมการศึกษา กิจกรรมเสริม คอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ ดนตรี ศิลปะ ศูนย์การเรียน พลศึกษา ระยะเวลาเรียน 180 วัน ต่อปี


โครงสรางหลักสูตร เวลาเรียน ของโรงเรียน (โครงสรางหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน )


โครงสร้างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนวีรศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – ปีที่ 6 ประถมศึกษาปีที่ 4 ประถมศึกษาปีที่ 5 ประถมศึกษาปีที่ 6 รหัสวิชา รายวิชา ชั่วโมง รหัสวิชา รายวิชา ชั่วโมง รหัสวิชา รายวิชา ชั่วโมง รายวิชาพื้นฐาน 840 840 840 ท14101 ภาษาไทย 160 ท15101 ภาษาไทย 5 160 ท16101 ภาษาไทย 6 160 ค14101 คณิตศาสตร์ 4 160 ค15101 คณิตศาสตร์ 5 160 ค16101 คณิตศาสตร์ 6 160 ว14101 วิทยาศาสตร์ 4 80 ว15101 วิทยาศาสตร์ 5 80 ว16101 วิทยาศาสตร์ 6 80 ส14101 สังคมศึกษาศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 4 80 ส15101 สังคมศึกษาศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5 80 ส16101 สังคมศึกษาศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 6 80 ส14102 ประวัติศาสตร์ 4 40 ส15102 ประวัติศาสตร์ 5 40 ส16102 ประวัติศาสตร์ 6 40 พ14101 สุขศึกษาและพลศึกษา 4 80 พ15101 สุขศึกษาและพลศึกษา 5 80 พ16101 สุขศึกษาและพลศึกษา 6 80 ศ14101 ศิลปะ 4 80 ศ15101 ศิลปะ 5 80 ศ16101 ศิลปะ 6 80 ง14101 การงานอาชีพและ เทคโนโลยี 4 40 ง15101 การงานอาชีพและ เทคโนโลยี5 40 ง16101 การงานอาชีพและ เทคโนโลยี 6 40 อ14101 ภาษาอังกฤษ 4 120 อ15101 ภาษาอังกฤษ 5 120 อ16101 ภาษาอังกฤษ 6 120 รายวิชาเพิ่มเติม 120 รายวิชาเพิ่มเติม 120 รายวิชาเพิ่มเติม 120 อ14201 ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสาร 4 80 อ15201 ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสาร 5 80 อ16201 ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสาร 6 80 ส14231 หน้าที่พลเมือง 4 40 ส15235 หน้าที่พลเมือง 5 40 ส16236 หน้าที่พลเมือง 6 40 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 - กิจกรรมแนะแนว 40 - กิจกรรมแนะแนว 40 - กิจกรรมแนะแนว 40 - กิจกรรมนักเรียน - กิจกรรมนักเรียน - กิจกรรมนักเรียน ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด 40 ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด 40 ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด 40 ชุมนุม 40 ชุมนุม 40 ชุมนุม 40 - กิจกรรมเพื่อสังคมและ ธารณประโยชน์ (10) - กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ (10) - กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ (10) 1080 1080 1080 เรียนเสริมไม่คิดเวลาเรียน เรียนเสริมไม่คิดเวลาเรียน เรียนเสริมไม่คิดเวลาเรียน ส14201 คริสต์ศาสนา 4 40 ส15201 คริสต์ศาสนา 5 40 ส16201 คริสต์ศาสนา 6 40 ศ14201 ดนตรีสากล 4 40 ศ15201 ดนตรีสากล 5 40 ศ16201 ดนตรีสากล 6 40 จ14201 ภาษาจีน 4 40 จ15201 ภาษาจีน 5 40 จ16201 ภาษาจีน 6 40 หมายเหตุ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์บูรณาการกับลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด โครงสร้างเวลาเรียนที่เป็นจ านวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ระดับมัธยม ปีการศึกษา 2564


Click to View FlipBook Version