The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anuban65 Veerasilp, 2023-05-26 03:47:01

รายงาน SAR 2564

รายงาน SAR 2564

สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 35 ระดับดีมาก 28 คน คิดเป็นร้อยละ 13.02, ระดับพอใช้ จ านวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 3.26 และระดับดีเยี่ยม 2.79 ตามล าดับ วิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนได้ระดับระดับปานกลาง จ านวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 36.28 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับพอใช้ จ านวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 23.26, ค่อนข้างดี จ านวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 19.53 ระดับดี จ านวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 8.84, ควรปรับปรุง จ านวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 7.91 , ระดับดีมาก จ านวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.33, ระดับดีเยี่ยม จ านวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.40 และระดับควรปรับปรุงอย่างยิ่ง จ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.47 ตามล าดับ วิชาวิทยาศาสตร์ นักเรียนได้ระดับปานกลาง จ านวน 81คน คิดเป็นร้อยละ 37.67 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ พอใช้จ านวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 35.35, ระดับค่อนข้างดีจ านวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95, ระดับควรปรับปรุง จ านวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 6.98 ระดับดี จ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 4.65, ระดับ ควรปรับปรุงอย่างยิ่ง จ านวน 2คน คิดเป็นร้อยละ 0.93และระดับดีมาก จ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.47, ตามล าดับ วิชาภาษาอังกฤษ นักเรียนได้ระดับดีมาก จ านวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 20.93 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับค่อนข้างดี จ านวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 18.60, ระดับดี จ านวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 15.81, ระดับปาน กลาง จ านวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 15.35, ระดับพอใช้ จ านวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95, ระดับดีเยี่ยม จ านวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 13.49, และควรปรับปรุง จ านวน 4คน คิดเป็นร้อยละ 1.86 ตามล าดับ ตารางที่ 14 แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ตามระดับคะแนน วิชา ระดับคะแนน ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ 4.00=ดีเยี่ยม 1 1.04 0 0.00 0 0.00 0 0.00 3.50=ดีมาก 21 21.88 1 1.05 0 0.00 1 1.04 3.00=ดี 31 32.29 3 3.16 0 0.00 7 7.29 2.50=ค่อนข้างดี 30 31.25 10 10.53 6 6.25 12 12.50 2.00=ปานกลาง 9 9.38 35 36.84 35 36.46 29 30.21 1.50=พอใช้ 4 4.17 41 43.16 44 45.83 38 39.58 1.00=ควรปรับปรุง 0 2 2.11 11 11.46 9 9.38 0.00=ควรปรับปรุงอย่างยิ่ง 0 3 3.16 0 0 รวม 96 100 95 100 96 100 96 100


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 36 แผนภูมิที่ 14 แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ตามระดับคะแนน จากตารางและแผนภูมิ ที่ 14 แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ตามระดับคะแนน พบว่า วิชาภาษาไทย ระดับดี จ านวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 32.29 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ค่อนข้างดี จ านวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 31.25, ระดับระดับดีมาก จ านวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 21.88, ระดับปานกลาง จ านวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 9.38, ระดับพอใช้ จ านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 4.17 และระดับดีเยี่ยม จ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.04 ตามล าดับ วิชาคณิตศาสตร์ ระดับพอใช้ จ านวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 43.16 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ระดับปาน กลาง จ านวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 36.84 , ระดับค่อนข้างดี จ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 10.53, ระดับดี และระดับควรปรับปรุงอย่างยิ่ง จ านวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 3.16, ระดับควรปรับปรุง จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อย ละ 2.11 และ ระดับดีมาก จ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.05 ตามล าดับ วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับพอใช้ จ านวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 45.83 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ระดับปาน กลาง จ านวน 35คน คิดเป็นร้อยละ 36.46, ระดับควรปรับปรุง จ านวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 11.46 และระดับ ค่อนข้างดี จ านวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 36.46 ตามล าดับ วิชาภาษาอังกฤษ ระดับพอใช้ จ านวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 39.58 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ระดับปาน กลาง จ านวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 30.21, ระดับค่อนข้างดี จ านวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50, ระดับควร ปรับปรุง จ านวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 9.38 ระดับดี จ านวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 7.29 และระดับดีมาก จ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.04 ตามล าดับ 0.00 5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 40.00 45.00 50.00 ไทย คณิต วิทย์ อังกฤษ 1.04 0.00 0.00 0.00 21.88 1.05 0.00 1.04 32.29 3.16 0.00 7.29 31.25 10.53 6.25 12.50 9.38 36.84 36.46 30.21 4.17 43.16 45.83 39.58 2.11 11.46 9.38 3.16 0.00 ผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ตามระดับคะแนน 4.00 3.50 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 0.00


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 37 ตารางที่ 15 แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 ตามระดับคุณภาพ "ระดับ คะแนน" ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ดีมาก (3 - 4 ) 96 44.65 27 12.56 11 5.12 108 50.23 ดี (2 - 2.5) 112 52.09 120 55.81 111 51.63 73 33.95 พอใช้ (1 - 1.5) 7 3.26 50 23.26 76 35.35 30 13.95 ปรับปรุง 0 18 8.37 17 7.91 4 1.86 รวม 215 100 215 100 215 215 100 แผนภูมิที่ 15 แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 ตามระดับคุณภาพ จากตารางและแผนภูมิ ที่ 15 แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 ตามระดับคุณภาพ พบว่า วิชาภาษาไทย นักเรียนได้ระดับดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 112 คน ร้อยละ 52.09 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3 – 4) จ านวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ 44.65 และระดับพอใช้ (ระดับ คะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 7 คน ร้อยละ 3.26 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยศาสตร์ อังกฤษ 44.65 12.56 5.12 50.23 52.09 55.81 51.63 33.95 3.26 23.26 35.35 13.95 8.37 7.91 1.86 ผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 ตามคุณภาพ ดีมาก (3 - 4 ) ดี (2 - 2.5) พอใช้ (1 - 1.5) ปรับปรุง


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 38 วิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนได้ระดับดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 55.81 ซึ่งมาก ที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับ พอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 23.26,ระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3 – 4) จ านวน 27 คน ร้อยละ 12.56 และปรับปรุง (ระดับคะแนน 0 ) จ านวน 18 คน คิดเป็นร้อย ละ 8.37 ตามล าดับ วิชาวิทยาศาสตร์ นักเรียนได้ระดับ ดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 111 คน ร้อยละ 51.63 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ พอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 35.35, ปรับปรุง (ระดับคะแนน 0 ) จ านวน 17 คน คิดเป็นร้อย 7.91 และ ระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3 – 4) จ านวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 5.12 ตามล าดับ วิชาภาษาอังกฤษ นักเรียนได้ระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3 – 4) จ านวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 50.23 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ระดับ ดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 73 คน ร้อยละ 33.95, พอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 และปรับปรุง (ระดับคะแนน 0 ) จ านวน 4 คน คิดเป็นร้อย 1.86 ตามล าดับ ตารางที่ 16 แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ตามระดับคุณภาพ "ระดับ คะแนน" ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ ดีมาก (3 - 4 ) 53 55.21 4 4.21 0 0.00 8 8.33 ดี (2 - 2.5) 39 40.63 45 47.37 41 42.71 41 42.71 พอใช้ (1 - 1.5) 4 4.17 41 43.16 44 45.83 38 39.58 ปรับปรุง 0 5 5.26 11 11.46 9 9.38 รวม 96 100 95 100 96 100 96 100 แผนภูมิที่ 16 แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ตามระดับคุณภาพ


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 39 จากตารางและแผนภูมิ ที่ 16 แสดงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ตามระดับคุณภาพ พบว่า วิชาภาษาไทย นักเรียนได้ระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3 – 4) จ านวน 53คน คิดเป็นร้อยละ 55.21ซึ่งมาก ที่สุด รองลงมาได้แก่ระดับดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 39 คน ร้อยละ 40.63 และระดับพอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 4.17 ตามล าดับ วิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนได้ระดับดี(ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 47.37ซึ่งมาก ที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับพอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 43.16 ระดับปรับปรุง (ระดับคะแนน 0 ) จ านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 5.26 และระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3 – 4) จ านวน 4คน คิดเป็นร้อยละ 4.21 ตามล าดับ วิชาวิทยาศาสตร์ นักเรียนได้ระดับพอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 45.83 ซึ่ง มากที่สุด รองลงมาได้แก่ระดับ ดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 41 คน ร้อยละ 27.71 และระดับปรับปรุง (ระดับ คะแนน 0 ) จ านวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 11.46 ตามล าดับ วิชาภาษาอังกฤษ นักเรียนได้ระดับดี (ระดับคะแนน 2 – 2.5) จ านวน 41 คน ร้อยละ 42. 71 ซึ่งมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ระดับพอใช้ (ระดับคะแนน 1 – 1.5 ) จ านวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 39.58, ระดับปรับปรุง (ระดับ คะแนน 0 ) จ านวน 9คน คิดเป็นร้อยละ 9.38 และระดับดีมาก (ระดับคะแนน 3 – 4) จ านวน 8 คน คิดเป็นร้อย ละ 8.33 ตามล าดับ 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 ไทย คณิต วิทย์ อังกฤษ 55.21 4.21 0.00 8.33 40.63 47.37 42.71 42.71 4.17 43.16 45.83 39.58 5.26 11.46 9.38 ผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ตามระดับคุณภาพ ดีมาก (3 - 4 ) ดี (2 - 2.5) พอใช้ (1 - 1.5) ปรับปรุง


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 40 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ การศึกษาต่อ นักเรียนที่จบระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ระดับชั้น จ านวน นักเรียน ที่จบ จ านวนนักเรียนที่ศึกษาต่อ จ านวน นักเรียนที่ ไม่ศึกษา ต่อ สายสามัญ สายอาชีพ กศน. สพฐ เอกชน ตปท. สาธิต รวม รัฐ เอกชน - รวม ป.6 292 166 106 1 19 292 - - - - - ม.3 118 89 - - 8 97 18 2 1 21 - รายชื่อโรงเรียนที่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ศึกษาต่อ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่ รายชื่อโรงเรียน สังกัด จ านวน (คน) 1 โรงเรียนวีรศิลป์ สช 106 2 โรงเรียนวิสุทธรังษี สพฐ 98 3 โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ สพฐ 40 4 โรงเรียนสาธิต มรภ.กาญจนบุรี อว. 17 5 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สพฐ 12 6 โรงเรียนท่าม่วงราษฎร์บ ารุง สพฐ. 7 7 โรงเรียนนนทบุรีพิทยาคม สพฐ. 2 8 โรงเรียนสาธิตศิลปากร อว. 1 9 โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี สพฐ. 1 10 โรงเรียนสมเด็จพระปิยะมหาราชรมณียเขต สพฐ. 1 11 โรงเรียนเทศบาล1ชะอ า สพฐ. 1 12 โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย สพฐ. 1 13 โรงเรียนสตรีนนทบุรี สพฐ. 1 14 โรงเรียนธัญรัตน์ สพฐ. 1 15 โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ สพฐ. 1 16 Kimikita junior high school ตปท. 1 17 โรงเรียนสาธิตพัฒนา ฝ่ายมัธยม อว. 1


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 41 โรงเรียนวีรศิลป์ , 106, 36% โรงเรียนในสังกัด สพฐ, 166, 57% โรงเรียนสาธิต, 19, 7% ศึกษาต่อต่างประเทศ , 1, 0% แผนภูมิแสดงการศึกษาต่อของนักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 นักเรียนที่จบการศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน 292 คน ศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 คิดเป็น ร้อยละ 100 ศึกษาต่อ โรงเรียน อื่น จ านวน 186 คน คิดเป็นร้อยละ 63.69 ศึกษาต่อสถานศึกษาเดิม (โรงเรียนวีรศิลป์) จ านวน 106 คน คิดเป็นร้อยละ 36.30 รายชื่อโรงเรียนที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ศึกษาต่อ สายสามัญ (ม.4) และ สายอาชีพ (ปวช.) ที่ รายชื่อโรงเรียน ระดับ จ านวน (คน) 1 โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ สายสามัญ 37 2 โรงเรียนวิสุทธรังษี สายสามัญ 34 3 โรงเรียนท่าม่วงราษฎร์บ ารุง สายสามัญ 10 4 วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี สายอาชีพ 7 5 โรงเรียนสาธิตกาญจนบุรี สายสามัญ 7 6 วิทยาลัยอาชีวศึกษากาญจนบุรี สายอาชีพ 6 7 วิทยาลัยการอาชีพ สายอาชีพ 4 8 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สายสามัญ 2 9 โรงเรียนหอวัง สายสามัญ 2 10 วิทยาลัยดอนบอสโก สายอาชีพ 1 11 โรงเรียนโยธินบูรณะ สายสามัญ 1 12 วิทยาลัยเกษตรเเละเทคโนโลยีราชบุรี สายอาชีพ 1 13 สาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สายสามัญ 1 14 โรงเรียนสภาราชินี สายสามัญ 1


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 42 สายสามัญ, 97, 82% สายอาชีพ, 20, 17% กศน., 1, 1% แผนภูมิแสดงการศึกษาต่อของนักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ที่ รายชื่อโรงเรียน ระดับ จ านวน (คน) 15 โรงเรียนเทพศิรินทร์ สายสามัญ 1 16 วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจกาญจนบุรี สายอาชีพ 1 17 เตรียมอุดมศึกษา สายสามัญ 1 18 กศน.ท่าล้อ กศน. 1 นักเรียนที่จบการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ านวน 118 คน ศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้นไป คิดเป็น ร้อย ละ 100 ศึกษาต่อ สายสามัญ จ านวน 97 คน คิดเป็นร้อยละ 82.20 ศึกษาต่อสายอาชีพ จ านวน 20 คน คิดเป็น ร้อยละ 16.94 การศึกษาตามอัธยาศัยจ านวน 1 คน เป็นร้อยละ 0.84


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 43 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน 1) คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษาก าหนด 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 3) การยอมรับที่อยู่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตารางแสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ชั้น จ านวน นักเรียน ผลการประเมิน ผ่าน ดี ดีเยี่ยม เกณฑ์โรงเรียน ร้อยละ “ดี”ขึ้นไป จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ ป.1 336 0 0.00 62 18.34 274 81.66 86 ป.2 334 0 0.00 20 5.99 314 94.01 86 ป.3 339 5 1.44 25 7.49 309 91.08 86 ป.4 345 1 0.33 76 21.88 268 77.79 86 ป.5 306 1 0.33 29 9.48 276 90.20 86 ป.6 292 5 1.54 65 22.35 222 76.11 86 ม.1 113 3 2.77 32 28.43 78 68.81 86 ม.2 129 1 0.78 46 35.73 82 63.69 86 ม.3 118 2 1.27 22 18.33 95 80.40 86 รวม 2,312 17 0.74 377 16.30 1,918 82.96 86


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 44 จากตารางและแผนภูมิแสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 –มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 จ านวนนักเรียนทั้งสิ้น 2,312 คน พบว่า นักเรียนมีผลการประเมิน “ดีเยี่ยม” มากที่สุด จ านวน 1,918 คน คิดเป็นร้อยละ 82.96 รองลงมา “ดี” จ านวน 377 คน คิดเป็นร้อยละ 16.30 ผ่าน จ านวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 0.74 0.00 0.00 1.44 0.33 0.33 1.54 2.77 0.78 1.27 18.34 5.99 7.49 21.88 9.48 22.35 28.43 35.73 18.33 81.66 94.01 91.08 77.79 90.20 76.11 68.81 63.69 80.40 86 86 86 86 86 86 86 86 86 0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ร้อยละของจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เทียบกับเกณฑ์ โรงเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ผ่าน ดี ดีเยี่ยม เกณฑ์ ร.ร. 100.00 100.00 98.56 99.67 99.67 98.46 97.23 99.42 98.73 86 86 86 86 86 86 86 86 86 75.00 80.00 85.00 90.00 95.00 100.00 105.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ร้อยละของจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ ดี ขึ้นไป เทียบกับเกณฑ์ โรงเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ดี ขึ้นไป เกณฑ์ ร.ร.


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 45 สรุปจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมิน “ดี” ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 99.26 มากกว่าเกณฑ์โรงเรียน (ระดับดีเลิศ ร้อยละ 86) * สรุปคิดเป็นระดับคุณภาพ 5 ระดับ ยอดเยี่ยม** หมายเหตุ * เกณฑ์โรงเรียน ปีการศึกษา 2564 นักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป คิด เป็นร้อยละ 86 (ระดับดีเลิศ) ** ระดับคุณภาพ 1 ระดับก าลังพัฒนา นักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 0-49 2 ระดับปานกลาง นักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 50-59 3 ระดับดีนักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 60-74.99 4 ระดับดีเลิศ นักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 75.89.99 5 ระดับยอดเยี่ยม นักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 90 ขึ้นไป ตารางแสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แยกตามหัวข้อ ชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 หัวข้อ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการประเมิน ระดับ 0 ระดับ 1 ผ่าน ระดับ 2 ดี ระดับ 3 ดีเยี่ยม จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ จ านวน คน คิดเป็น ร้อยละ ข้อ 1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 0 - 17 0.74 225 9.73 2070 89.53 ข้อ 2 ซื่อสัตย์สุจริต 0 - 0 - 18 0.78 2294 99.22 ข้อ 3 มีวินัย 0 - 2 0.09 377 16.31 1933 83.61 ข้อ 4 ใฝ่เรียนรู้ 0 - 22 0.95 814 35.21 1476 63.84 ข้อ 5 อยู่อย่างพอเพียง 0 - 0 - 156 6.75 2156 93.25 ข้อ 6 มุ่งมั่นการท างาน 0 - 66 2.85 543 23.49 1703 73.66 ข้อ 7 รักความเป็นไทย 0 - 11 0.48 468 20.24 1833 79.28 ข้อ 8 มีจิตสาธารณะ 0 - 12 0.52 415 17.95 1885 81.53


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 46 -0.74 - - -0.09 -0.95 - - - - -2.85 0.48 0.52 9.73 0.78 16.31 35.21 6.75 23.49 20.24 17.95 89.53 99.22 83.61 63.84 93.25 73.66 79.28 81.53 - 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 120.00 กราฟแสดงร้อยละของจ านวนนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แยกตามหัวข้อ ระดับชั้น ป.1-ม.3 ปีการศึกษา 2564 ระดับ0 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 47 ข้อที่ 1 ดูแลรักษา ร่างกาย และของใช้ ให้สะอาด ข้อที่ 2 รักษาฟัน ให้แข็งแรง และแปรง ฟันทุกวัน อย่าง ถูกต้อง ข้อที่ 3 ล้างมือให้ สะอาด ก่อนกิน อาหาร และหลัง ขับถ่าย ข้อที่ 4 กิน อาหารสุก สะอาด ปราศจาก สาร อันตราย และ หลีกเลี่ยง อาหารรส จัด สี ฉูดฉาด ข้อที่ 5 งด บุหรี่ สุรา สารเสพ ติด การ พนันและ การส่ า สอนทาง เพศ ข้อที่ 6 สร้าง ความสัมพั นธ์ใน ครอบครัว ให้อบอุ่น ข้อที่ 7 ป้องกัน อุบัติภัย ด้วยการไม่ ประมาท ข้อที่ 8 ออกก าลัง กาย สม่ าเสมอ และตรวจ สุขภาพ ประจ าปี ข้อที่ 9 ท า จิตใจให้ร่า เริงแจ่มใส อยู่เสมอ ข้อที่ 10 มี จิตส านึก ต่อ ส่วนรวม ร่วม สร้างสรรค์ สังคม ร้อยละของนักเรียนที่ได้ระดับ 3 ขิ้นไป 93.60 94.50 93.40 98.40 96.30 95.70 95.50 76.70 95.10 94.70 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินสุขบัญญัติ 10 ประการ ระดับดี ขึ้นไป ปีการศึกษา 2564 4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ผลการประเมินนักเรียนโดยผู้ปกครอง ในช่วงเรียนออนไลน์ จากแผนภูมิพบว่า นักเรียนมีสามารถปฏิบัติตามสุข บัญญัติ 10 ประการ ระดับปฏิบัติเป็นประจ า ถึงปฏิบัติเป็นประจ าได้เป็นอย่างดี มีจ านวนนักเรียนทั้งสิ้น 2,159 คน คิดเป็นร้อยละ 93.39


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 48 79.96 83.54 80.76 81.59 83.89 79.42 77.00 78.00 79.00 80.00 81.00 82.00 83.00 84.00 85.00 1.1 รูปแบบการสอนออนไลน์ (Group Line, Zoom, Google Classroom, Google meet, Facebook lives) เหมาะสมและเอื้อต่อนักเรียนใน การเรียนรู้แต่ละช่วงชั้น ในสถานการณ์การแพร่… 1.2 ช่องทางในการติดต่อสื่อสาร แจ้งข้อมูล ข่าวสารระหว่างครู ผู้ปกครอง และการเข้ารับ บริการต่างๆ จากทางโรงเรียน มีความสะดวกและ เหมาะสม 1.3 การใช้สื่อ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ มีความ เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 1.4 การจัดเวลาเรียนเอื้อต่อการเรียนการสอนแบบ ออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโค วิด-19 1.5 การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร นโยบายของ รัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงรูปแบบ และวิธีการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโค… 1.6 ความเชื่อมั่นของผู้ปกครองที่มีต่อการจัด การศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการเรียนการ สอนของโรงเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของไวรัสโควิด-19 แผนภูมิแสดงร้อยละค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้านการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา สารสนเทศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ผลการประเมินความพึงพอใจ ของผู้ปกครอง ครู และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ที่มีต่อการจัดการเรียนการ สอนของโรงเรียนวีรศิลป์ ประจ าปีการศึกษา 2564 (จากผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 1,816 คน) ด้านการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา จากแผนภูมิพบว่า เกณฑ์ระดับความพึงพอใจเฉลี่ย มากที่สุด อันดับที่ 1 ได้แก่ 1.5 การประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร นโยบายของรัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงรูปแบบและวิธีการจัดการเรียนการสอนของ โรงเรียน ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 มีความชัดเจน และเอื้อต่อความปลอดภัยของนักเรียน คิดเป็นร้อยละ 83.89 อันดับที่ 2 ได้แก่ 1.2 ช่องทางในการติดต่อสื่อสาร แจ้งข้อมูลข่าวสารระหว่างครู ผู้ปกครอง และการเข้ารับบริการต่างๆ จากทางโรงเรียน มีความสะดวกและเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 83.54 อันดับที่ 3 ได้แก่ 1.4 การจัดเวลาเรียนเอื้อต่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 49 79.96 83.54 80.76 81.59 83.89 79.42 77.00 78.00 79.00 80.00 81.00 82.00 83.00 84.00 85.00 1.1 รูปแบบการสอนออนไลน์ (Group Line, Zoom, Google Classroom, Google meet, Facebook lives) เหมาะสมและเอื้อต่อนักเรียนใน การเรียนรู้แต่ละช่วงชั้น ในสถานการณ์การแพร่… 1.2 ช่องทางในการติดต่อสื่อสาร แจ้งข้อมูล ข่าวสารระหว่างครู ผู้ปกครอง และการเข้ารับ บริการต่างๆ จากทางโรงเรียน มีความสะดวกและ เหมาะสม 1.3 การใช้สื่อ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ มีความ เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 1.4 การจัดเวลาเรียนเอื้อต่อการเรียนการสอนแบบ ออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโค วิด-19 1.5 การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร นโยบายของ รัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงรูปแบบ และวิธีการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโค… 1.6 ความเชื่อมั่นของผู้ปกครองที่มีต่อการจัด การศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการเรียนการ สอนของโรงเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของไวรัสโควิด-19 แผนภูมิแสดงร้อยละค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้านการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 81.59 อันดับที่ 4 ได้แก่ 1.3 การใช้สื่อ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ มีความเหมาะสมต่อการ จัดการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 คิดเป็นร้อยละ 80.76 อันดับที่ 5 ได้แก่ 1.1 รูปแบบการสอนออนไลน์ (Group Line, Zoom, Google Classroom, Google meet, Facebook lives) เหมาะสมและเอื้อต่อนักเรียนในการเรียนรู้แต่ละช่วงชั้น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 คิดเป็นร้อยละ 79.96 และอันดับที่ 6 ได้แก่ 1.6 ความเชื่อมั่นของผู้ปกครองที่มีต่อการจัดการศึกษาและการพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 คิดเป็นร้อยละ 79.42 ด้านการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา จากแผนภูมิพบว่า เกณฑ์ระดับความพึงพอใจเฉลี่ย มากที่สุด อันดับที่ 1 ได้แก่ 1.5 การประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร นโยบายของรัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงรูปแบบและวิธีการจัดการเรียนการสอนของ โรงเรียน ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 มีความชัดเจน และเอื้อต่อความปลอดภัยของนักเรียน คิดเป็นร้อยละ 83.89 อันดับที่ 2 ได้แก่ 1.2 ช่องทางในการติดต่อสื่อสาร แจ้งข้อมูลข่าวสารระหว่างครู ผู้ปกครอง


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 50 และการเข้ารับบริการต่างๆ จากทางโรงเรียน มีความสะดวกและเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 83.54 อันดับที่ 3 ได้แก่ 1.4 การจัดเวลาเรียนเอื้อต่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 คิดเป็นร้อยละ 81.59 อันดับที่ 4 ได้แก่ 1.3 การใช้สื่อ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ มีความเหมาะสมต่อการ จัดการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 คิดเป็นร้อยละ 80.76 อันดับที่ 5 ได้แก่ 1.1 รูปแบบการสอนออนไลน์ (Group Line, Zoom, Google Classroom, Google meet, Facebook lives) เหมาะสมและเอื้อต่อนักเรียนในการเรียนรู้แต่ละช่วงชั้น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 คิดเป็นร้อยละ 79.96 และอันดับที่ 6 ได้แก่ 1.6 ความเชื่อมั่นของผู้ปกครองที่มีต่อการจัดการศึกษาและการพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 คิดเป็นร้อยละ 79.42 ด้านการจัดการเรียนการสอนของครู เรียน จากแผนภูมิพบว่า เกณฑ์ระดับความพึงพอใจเฉลี่ย มากที่สุด อันดับที่ 1 ได้แก่ 2.4 ครูมอบหมายและ ติดตามงานอย่างสม่ าเสมอ อาทิ ใบงาน การบ้าน แบบฝึกหัด คิดเป็นร้อยละ 87.68 อันดับที่ 2 ได้แก่ 2.2 ครูให้ ค าแนะน าด้านการเรียน ดูแลเอาใจใส่การปฏิบัติตนของนักเรียนให้เกิดความเหมาะสมในการเรียน ทั้งใน ช่วงจัดการ เรียนการสอน และนอกเวลาเรียน คิดเป็นร้อยละ 82.92 อันดับที่ 3 ได้แก่ 2.1 ครูมีความรู้ในวิชาที่สอน สามารถ จัดท าคลิป หรือดูแลห้องเรียนออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คิดเป็นร้อยละ 82.49 อันดับที่ 4 ได้แก่ 2.5 ครู 82.49 82.92 77.60 87.68 81.52 80.09 72.00 74.00 76.00 78.00 80.00 82.00 84.00 86.00 88.00 90.00 2.1 ครูมีความรู้ในวิชาที่สอน สามารถจัดท าคลิป หรือ ดูแลห้องเรียนออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 ครูให้ค าแนะน าด้านการเรียน ดูแลเอาใจใส่การ ปฏิบัติตนของนักเรียนให้เกิดความเหมาะสมในการ เรียน ทั้งใน ช่วงจัดการเรียนการสอน และนอกเวลา… 2.3 ครูสร้างแรงบันดาลใจ เสริมบรรยากาศให้ นักเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนออนไลน์ 2.4 ครูมอบหมายและติดตามงานอย่างสม่ าเสมอ อาทิ ใบงาน การบ้าน แบบฝึกหัด 2.5 ครูจัดการเรียนการสอน โดยมีเนื้อหาที่ชัดเจน ใช้ สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างสร้างสรรค์ พร้อม แนะน าให้นักเรียนสามารถใช้ ได้อย่างเหมาะสมและ… 2.6 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม แสดงความ คิดเห็น มีการประเมินความรู้นักเรียนในรูปแบบที่ หลากหลาย อย่างสม่ าเสมอ และรายงานผลให้… แผนภูมิแสดงร้อยละค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้านการจัดการเรียนการสอนของครู


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 51 จัดการเรียนการสอน โดยมีเนื้อหาที่ชัดเจน ใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างสร้างสรรค์ พร้อมแนะน าให้นักเรียน สามารถใช้ ได้อย่างเหมาะสมและเกิดประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 81.52 อันดับที่ 5 ได้แก่ 2.6 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียน ซักถาม แสดงความคิดเห็น มีการประเมินความรู้นักเรียนในรูปแบบที่หลากหลาย อย่างสม่ าเสมอ และรายงานผลให้ ทราบอย่างชัดเจน คิดเป็นร้อยละ 80.09 และอันดับที่ 6 ได้แก่ 2.3 ครูสร้างแรงบันดาลใจ เสริมบรรยากาศให้ นักเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนออนไลน์คิดเป็นร้อยละ 77.60 ด้านคุณภาพผู้เรียน การสอนของครู จากกราฟ พบว่า เกณฑ์ระดับความพึงพอใจเฉลี่ย มากที่สุด อันดับที่ 1 ได้แก่ 3.5 นักเรียนมีสุขภาพกาย-ใจ ที่ดี มีความร่าเริงแจ่มใส กระตือรือร้นในการเรียน และมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น คิดเป็นร้อยละ 77.00 อันดับที่ 2 ได้แก่ 3.3 นักเรียนได้รับการเสริมสร้างทักษะทางวิชาการ กระบวนการคิด และแนวทางการใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสม ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 คิดเป็นร้อยละ 74.11 อันดับที่ 3 ได้แก่ 3.2 นักเรียนมีความ รับผิดชอบในการส่งงาน ตรงตามก าหนดเวลา คิดเป็นร้อยละ 72.32 อันดับที่ 4 ได้แก่ 3.4 นักเรียนได้รับการพัฒนา 68.11 72.32 74.11 71.54 77.00 62.00 64.00 66.00 68.00 70.00 72.00 74.00 76.00 78.00 3.1 นักเรียนมีวินัยในการเรียน มีสมาธิ จดจ่อกับ การเรียน 3.2 นักเรียนมีความรับผิดชอบในการส่งงาน ตรง ตามก าหนดเวลา 3.3 นักเรียนได้รับการเสริมสร้างทักษะทางวิชาการ กระบวนการคิด และแนวทางการใช้ชีวิตได้อย่าง เหมาะสม ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส โควิด-19 3.4 นักเรียนได้รับการพัฒนาด้านการอ่านและการ เขียนในเกณฑ์ที่เหมาะสมกับสถานการณ์การแพร่ ระบาดฯ 3.5 นักเรียนมีสุขภาพกาย-ใจที่ดี มีความร่าเริง แจ่มใส กระตือรือร้นในการเรียน และมีปฏิสัมพันธ์ ที่ดีกับผู้อื่น แผนภูมิแสดงร้อยละค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้านคุณภาพผู้เรียน


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 52 ด้านการอ่านและการเขียนในเกณฑ์ที่เหมาะสมกับสถานการณ์การแพร่ระบาดฯ คิดเป็นร้อยละ 71.54 และอันดับที่ 5 ได้แก่ 3.1 นักเรียนมีวินัยในการเรียน มีสมาธิ จดจ่อกับการเรียน คิดเป็นร้อยละ 68.11 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจรวมทุกด้าน รายการ ระดับความพึงพอใจ คะแนนเฉลี่ย (ร้อยละ) ด้านการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา 81.53 ด้านการจัดการเรียนการสอนของครู 82.05 ด้านคุณภาพผู้เรียน 72.62 รวมทุกด้าน 78.73 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครอง มีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนวีร ศิลป์ ปีการศึกษา 2564 มากที่สุดได้แก่ด้านการจัดการเรียนการสอนของครู เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 81.53 (คะแนน เฉลี่ย 4.08) รองลงมาด้านการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 82.05 (คะแนนเฉลี่ย 4.10) และด้านคุณภาพผู้เรียน เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 72.62 (คะแนนเฉลี่ย 3.63) รวมทุกด้าน เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 78.73 (คะแนนเฉลี่ย 3.93) ดังนั้น ความพึงพอใจของผู้ปกครอง มี ความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 อยู่ในระดับความพึงใจ มาก 66 68 70 72 74 76 78 80 82 84 ด้านการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอนของครู ด้านคุณภาพผู้เรียน 81.53 82.05 72.62 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจรวมทุกด้าน


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 53 สารสนเทศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ แผนภูมิแสดงผลร้อยละของจ านวนครู ที่มีผลการประเมินการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ตามระดับคุณภาพ 1 มีการปฎิบัติ ในระดับน้อยที่สุด 2 มีการปฏิบัติ ในระดับน้อย 3 มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง 4 มีการปฎิบัติ ในระดับมาก 5 มีการปฏิบัติในระดับ มากที่สุด คุณภาพ จากตาราง แผนภูมิ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ จากจ านวนครู พบว่า 1. ครูมีการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฎิบัติจริงและสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน จ านวนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 69.49 อยู่ในระดับคุณภาพ 3 (มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง) และจ านวนครูที่ อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป (มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง ถึง ระดับมากที่สุด) คิดเป็นร้อยละ 96.61 2. ครูมีการใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จ านวนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 62.71 อยู่ในระดับคุณภาพ 3 (มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง) และจ านวนครูที่อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป (มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง ถึง ระดับมากที่สุด) คิดเป็นร้อยละ 98.31 การจัดการ เรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิด และปฎิบัติจริง และสามารถ น าไป ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตได้ การใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ และแหล่ง เรียนรู้ที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ การบริหารชั้น เรียนเชิงบวก การตรวจสอบ และประเมิน นักเรียนอย่าง เป็นระบบ และ ผลมาพัฒนา ผู้เรียน ผลที่เกิดกับ นักเรียนในการ จัดการเรียนรู้ ผ่าน กระบวนการคิด และปฎิบัติจริง ผลที่เกิดกับ นักเรียนในการ ใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ และแหล่ง เรียนรู้ของครู ผลที่เกิดกับ นักเรียนในการ บริหารจัดการ ชั้นเรียนเชิง บวก ผลที่เกิดกับ ผู้เรียนในการ ตรวจสอบและ ประเมินผู้เรียน อย่างเป็นระบบ ของครู ผลที่เกิดกับ ผู้เรียนในการ แลกเปลี่ยน เรียนรู้และให้ ข้อมูลสะท้อน กลับของครู 5 8.47 6.78 3.39 1.69 5.08 8.47 20.34 - 10.17 4 18.64 28.81 20.34 16.95 18.64 28.81 3.39 18.64 13.56 3 69.49 62.71 66.10 62.71 66.10 47.46 76.27 66.10 76.27 2 3.39 1.69 10.17 18.64 10.17 15.25 - 15.25 - 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 8.47 6.78 3.39 1.69 5.08 8.47 20.34 - 10.17 18.64 28.81 20.34 16.95 18.64 28.81 3.39 18.64 13.56 69.49 62.71 66.10 62.71 66.10 47.46 76.27 66.10 76.27 3.39 1.69 10.17 18.64 10.17 15.25 - 15.25 0 - 0 0 0 0 0 0 0 0 - 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 54 3. ครูมีการบริหารชั้นเรียนเชิงบวก จ านวนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 66.10 อยู่ในระดับคุณภาพ 3 (มีการ ปฏิบัติ ในระดับปานกลาง) และจ านวนครูที่อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป (มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง ถึง ระดับมาก ที่สุด) คิดเป็นร้อยละ 89.83 4. ครูมีการตรวจสอบและประเมินนักเรียนอย่างเป็นระบบ และผลมาพัฒนาผู้เรียนจ านวนมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 62.71 อยู่ในระดับคุณภาพ 3 (มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง) และจ านวนครูที่อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป (มี การปฏิบัติ ในระดับปานกลาง ถึง ระดับมากที่สุด) คิดเป็นร้อยละ 81.36 5. ผลที่เกิดกับนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฎิบัติจริงของครูจ านวนมากที่สุด คิด เป็นร้อยละ 66.10 อยู่ในระดับคุณภาพ 3 (มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง) และจ านวนครูที่อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป (มี การปฏิบัติ ในระดับปานกลาง ถึง ระดับมากที่สุด) คิดเป็นร้อยละ 89.83 6. ผลที่เกิดกับนักเรียนในการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ของครูจ านวนมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 47.46 อยู่ในระดับคุณภาพ 3 (มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง) และจ านวนครูที่อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป (มี การปฏิบัติ ในระดับปานกลาง ถึง ระดับมากที่สุด) คิดเป็นร้อยละ 84.75 7. ผลที่เกิดกับนักเรียนในการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก จ านวนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 76.27 อยู่ใน ระดับคุณภาพ 3 (มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง) และจ านวนครูที่อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป (มีการปฏิบัติ ในระดับปาน กลาง ถึง ระดับมากที่สุด) คิดเป็นร้อยละ 100 8. ผลที่เกิดกับผู้เรียนในการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบของครูจ านวนมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 66.10 อยู่ในระดับคุณภาพ 3 (มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง) และจ านวนครูที่อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป (มีการ ปฏิบัติ ในระดับปานกลาง ถึง ระดับมากที่สุด) คิดเป็นร้อยละ 84.75 9. ผลที่เกิดกับผู้เรียนในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับของครูจ านวนมากที่สุด คิดเป็นร้อย ละ 76.27 อยู่ในระดับคุณภาพ 3 (มีการปฏิบัติ ในระดับปานกลาง) และจ านวนครูที่อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป (มีการ ปฏิบัติ ในระดับปานกลาง ถึง ระดับมากที่สุด) คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปผลการประเมินการประเมินการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญของครู พบว่าครูมีการ ปฎิบัติในระดับปานกลาง ถึง ระดับมากที่สุด จ านวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 91.71


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 55 สารสนเทศ มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก อัตลักษณ์โรงเรียนวีรศิลป์ “นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมตามแบบอย่างพระแม่มารี” (คุณธ ร รมพื้น ฐ านของ มนุษ ย์ คุณธ ร รมท างศ าสน า แล ะคุณธ ร รมเทว วิทย า ) ปรัชญาของโรงเรียนวีรศิลป์ ที่ว่า “คุณธรรม น าวิชา พัฒนาสุข” (Morality Generates Wisdom and Happiness) ซึ่งโรงเรียนวีรศิลป์ เป็นโรงเรียนที่สังกิดในสังฆมณฑลราชบุรี เพื่อให้การสั่งสอน ฝึกฝน อบรมให้ นักเรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง ชุมชน และประเทศชาติ (GE.2-3) 1 และให้โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านศาสนาคริสต์ของชุมชน (The catholic School ข้อ 53-56) ซึ่งโรงเรียนมีแม่พระเป็นองค์อุปถัมภ์ จึงยึดแม่พระเป็นแบบอย่าง พระแม่มารีได้รับการเลือกสรรให้เป็นมารดาของพระมหาไถ่ เพราะพระแม่มารีเป็นคนดีและเหมาะสม อย่างยิ่ง พระเป็นเจ้าได้ทรงส่งทูตสวรรค์มาแจ้งข่าวแก่พระแม่มารีกล่าวว่า “จงยินดีเถิด ท่านผู้ที่พระเจ้าโปรดปราน พระเจ้าสถิตกับท่าน” (ลก. 1: 28) แสดงให้เห็นว่าแม่พระเป็นคนดีที่พระเจ้าทรงเลือกสรร เพราะพระนางมี คุณธรรมทั้ง 3 ระดับ คือคุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ คุณธรรมศาสนา และคุณธรรมเทววิทยา คุณธรรม (Virtue) เปรียบเสมือนรากฐานของชีวิตมนุษย์ ซึ่งมีความจ าเป็นที่จะต้องได้รับการปลูกฝัง อบรม แนะน า และปฏิบัติอย่างสม่ าเสมอ ให้เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย เพื่อจะได้สามารถพัฒนาชีวิตตนเองทั้งครบ คือร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม ซึ่งจะท าให้สามารถด าเนินชีวิตอย่างถูกต้องเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่น อย่างมีความสุข คุณธรรมตามแบบอย่างของพระแม่มารี สามารถอธิบายรายละเอียดได้ดังนี้ 1. คุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ : คือความดีที่มั่นคง แน่นอน ยั่งยืน ที่ต้องปรากฏอยู่ในมนุษย์ทุกคน ไม่ว่า เชื้อชาติ ภาษา เพศ วัยใด ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประการดังนี้ 1.1 ความรอบคอบ คือการรู้จักใช้ความรู้ เหตุผล ประสบการณ์ที่มีอยู่เดิมมาใช้ในการพิจารณาและ ตัดสินใจว่าจะกระท าพฤติกรรมหนึ่งพฤติกรรมใด ซึ่งพระแม่มารีทรงมีคุณธรรมความรอบคอบสูงมากดังที่ปรากฎใน เรื่องของความรอบคอบของพระแม่มารีดังนี้ 1.1.1 การป้องกัน พระแม่มารีจะใช้วิธีป้องกันในการคุ้มครอง พิทักษ์รักษาพระเยซูเจ้าให้พ้นจากอันตราย ด้วยการน าประสบการณ์ สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ น ามาพิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ 1.1.2. การใช้เหตุผล พระแม่มารีใช้ความรู้ประกอบกับเหตุผลในการตัดสินใจ ด้วยเหตุผลและการคิดอย่าง รอบคอบและกล้ายืนหยัดในเหตุผลที่ถูกต้อง 1.2 ความมัธยัสถ์ คือการรู้จักควบคุมตนเองทั้งครบไม่ว่าร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ ความรู้สึกทางสังคม โดยมุ่งมั่นและยึดมั่นในความดีและถูกต้อง ซึ่งพระแม่มารีได้ด าเนินชีวิตเป็นแบบอย่างดังนี้ 1.2.1 ความรับผิดชอบ เมื่อยอมรับที่จะเป็นมารดาของพระมหาไถ่ พระนางรับผิดชอบเต็มที่แม้บางทีจะไม่ เข้าใจหรือมีความสงสัย พระแม่มารีสามารถควบคุมตนเองได้ดีและท าหน้าที่ของมารดาที่ดีสุดตลอดชีวิตของพระนาง 1.2.2 ความสุภาพถ่อมตน เมื่อพระแม่มารีได้รับสาส์นจากทูตสวรรค์ให้เป็นมารดาของพระผู้ไถ่ พระแม่มารี ได้ประพฤติตนอย่างดีและเหมาะสมที่จะเป็นมารดาของพระเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ ทรงเคารพพระเยซูเจ้าในฐานะที่พระองค์ ทรงเป็นบุตรพระเจ้า แม้ว่าพระนางจะรับหน้าที่เป็นมารดาก็ตาม


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 56 1.2.3 ความบริสุทธิ์ พระแม่มารีเป็นผู้บริสุทธิ์ทั้งกาย วาจา ใจ เพราะพระนางทรงคิดดี พูดดี และท าดี เสมอ 1.3 ความกล้าหาญ พระแม่มารีมั่นคง ยืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง และมั่นคงยืนหยัดในสิ่งที่ผิด สิ่งไม่ถูกต้อง แม้จะต้องเสียชีวิตก็ไม่ยอมปฏิบัติตาม พฤติกรรมบางเรื่องที่แสดงถึงความกล้าหาญของพระแม่มารีได้แก่ 1.3.1 รับผิดชอบหน้าที่อย่างดีเสมอ เมื่อรับหน้าที่เป็นมารดาของพระเยซูเจ้าแล้ว ท่านได้ปกป้อง คุ้มครอง พระเยซูเจ้าอย่างดีเท่าชีวิต 1.3.2 เสียสละ พระแม่มารีกล้าหาญ เสียสละยอมรับเป็นมารดาของพระเยซูเจ้า ซึ่งพระนางทราบดีว่ามี ความยากล าบากทั้งกายและจิตใจมากเพียงใดและพระนางยินดีสละตนทั้งครบและน้อมรับหน้าที่ด้วยความกล้าหาญ 1.3.3 จิตอาสา พระแม่มารีพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้อื่นเสมอ มีความเมตตากรุณาต่อทุกคน พร้อมที่จะมีชีวิต เพื่อผู้อื่นแม้ตนเองจะต้องล าบาก และไม่หวังผลตอบแทน เพียงขอให้ผู้อื่นมีความสุขเท่านั้นก็เพียงพอ 1.4 ความยุติธรรม คือการรู้จักคืนของพระเป็นเจ้าแก่พระเป็นเจ้าและคืนของซีซาร์แก่ซีซาร์ พฤติกรรมที่ พระแม่มารีได้ปฏิบัติคือ 1.4.1 ความซื่อตรง ซื่อสัตย์ต่อค าสั่งและพระประสงค์ของพระเป็นเจ้าแม้ตนเองจะต้องล าบากก็ตาม 1.4.2 รับผิดชอบต่อหน้าที่ และปฏิบัติตามสิ่งที่ได้รับมอบหมายจนส าเร็จ 2. คุณธรรมทางศาสนา พระแม่มารีมีพฤติกรรมทางศาสนาที่เด่นชัดทั้งในการอบรมสั่งสอนและการปฏิบัติในชีวิต ของตนซึ่งเราจะสามารถเข้าใจและพบรูปแบบชีวิตที่ดีของพระแม่มารีได้คือ 2.1 ภาวนา เพื่อเป็นการเชื่อมโยงตนเองกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ รับรู้ว่ามีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คุ้มครอง ปกปักรักษา มี พระเจ้ารู้เห็นการกระท าดีและไม่ดีของมนุษย์ ซึ่งจะท าให้มุ่งแต่จะกระท าความดี 2.2 การปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา 2.3 พิธีกรรม เป็นการแสดงออกของมนุษย์ต่อพระเป็นเจ้า พระแม่มารีทรงปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัดใน การร่วมปฏิบัติศาสนกิจอย่างสม่ าเสมอและเป็นนิสัย 3. คุณธรรมเทววิทยา คุณธรรมระดับนี้เป็นคุณธรรมชั้นสูง คุณธรรมระดับนี้มาจากคุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์และ คุณธรรมทางศาสนา เมื่อเราแสดงออกมาเป็นพิธีกรรมทางศาสนา ไม่ว่าการภาวนา การร่วมพิธีกรรม การปฏิบัติตน ตามหลักธรรมหรือบัญญัติของศาสนา เพราะเรามีความเชื่อ ความหวัง และความรักต่อพระเป็นเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่เราเชื่อและเคารพบูชา 3.1 ความเชื่อ พระแม่มารีเชื่อในองค์พระผู้เป็นเจ้า กระท าทุกอย่างด้วยใจที่สงบ 3.2 ความหวัง พระแม่มารีวางใจในการน าของพระเจ้าเสมอ เราเป็นเพียงเครื่องมือของพระเจ้าเท่านั้น 3.3 ความรัก คนที่มีความรักต่อพระเจ้าเขาก็จะมีความรักต่อเพื่อนมนุษย์ คุณธรรมตามแบบอย่าง พระแม่มารีนี้ สามารถน ามาประพฤติปฏิบัติได้กับทุกคนไม่ว่าจะนับถือศาสนาใดก็ตาม ซึ่งการปฏิบัติตนจนเป็นผู้มี คุณธรรมนั้นจะท าให้ได้รับการพัฒนาตนทั้งครบและสามารถด าเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 57 สรุปผลการปฏิบัติตามอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของโรงเรียนวีรศิลป์ปีการศึกษา 2564 อัตลักษณ์ของโรงเรียน “คุณธรรม จริยธรรม ตามแบบอย่างพระแม่มารี” (คุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ คุณธรรมทางศาสนา และคุณธรรมเทววิทยา) 1.คุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ รายการประเมิน ครู นักเรียน ป.1 - ม.3 ป.1 - ม.3 1.1 ความรอบคอบ 96.60 97.79 1.2 ความมัธยัสถ์ 92.82 99.70 1.3 ความกล้าหาญ 95.83 99.98 1.4 ความยุติธรรม 95.24 99.60 2. คุณธรรมศาสนา รายการประเมิน ครู นักเรียน ป.1 - ม.3 ป.1 - ม.3 2.1 ภาวนา 93.30 99.79 2.2 พิธีกรรม 96.02 99.98 2.3 ปฏิบัติตนตามหลักธรรมศาสนา 95.83 99.97 3.คุณธรรมเทววิทยา รายการประเมิน ครู นักเรียน ป.1 - ม.3 ป.1 - ม.3 3.1 ความเชื่อ 92.52 98.39 3.2 ความหวัง 97.09 98.31 3.3 ความรัก 94.95 99.40


สารสนเทศโรงเรียนวีรศิลป์ ปีการศึกษา 2564 หน้าที่ 58 สรุปการประเมินคุณค่าพระวรสาร 21 ประการ ข้อ คุณค่าพระวรสาร ร้อยละ 1 ความเชื่อศรัทธา 98.48 2 ความจริง 94.92 3 การไตร่ตรอง และการภาวนา 94.22 4 การมีมโนธรรมเที่ยงตรง มีวิจารณญาณและความกล้าหาญเชิงศีลธรรม 99.15 5 อิสรภาพ 96.54 6 ความยินดี 95.44 7 ความเคารพ ความตระหนักในศักดิ์ศรีของมนุษย์ 98.30 8 ความสุภาพถ่อมตน 97.61 9 ความซื่อตรง 98.37 10 ความเรียบง่าย ความพอเพียง 96.48 11 ความรัก 97.93 12 ความเมตตา 98.09 13 ความกตัญญูรู้คุณ 96.58 14 การงาน / หน้าที่ 99.28 15 การรับใช้ 96.07 16 ความยุติธรรม 97.40 17 สันติ การคืนดี 98.75 18 การให้อภัย 97.84 19 ความเป็นหนึ่ง ความเป็นชุมชน 98.18 20 การพิศเพ่งสิ่งสร้าง / รักษ์ธรรมชาติ 99.90 21 ความหวัง 98.03 ค่าเฉลี่ย 97.50


Click to View FlipBook Version