The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anuban65 Veerasilp, 2023-05-26 03:47:01

รายงาน SAR 2564

รายงาน SAR 2564

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ จํานวนครูทั้งหมด : 58 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เปา หมาย/ รอยละ จํานวนครูที่ผาน เกณฑที่โรงเรียน กําหนด (คน) ผลการ ประเมิน (รอยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ 1. จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตได 86.00 56 96.55 ยอดเยี่ยม 1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรูตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดของหลักสูตร สถานศึกษาที่เนนใหผูเรียนไดเรียนรู โดยผานกระบวนการคิดและปฏิบัติ จริง √ - 56 1.2 มีแผนการจัดการเรียนรูที่สามารถนําไปจัดกิจกรรมไดจริง √ - 58 1.3 มีรูปแบบการจัดการเรียนรูเฉพาะสําหรับผูที่มีความจําเปน และ ตองการความชวยเหลือพิเศษ √ - 55 1.4 ฝกทักษะใหผูเรียนไดแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองคความรู และนําเสนอผลงาน √ - 54 1.5 สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนสามารถนําไปประยุกตใชใน ชีวิตประจําวันได √ - 58 2. ใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูที่เอื้อตอการเรียนรู 86.00 58 100.00 ยอดเยี่ยม 2.1 ใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู √ - 57 2.2 ใชแหลงเรียนรู และภูมิปญญาทองถิ่นในการจัดการเรียนรู √ - 58 2.3 สรางโอกาสใหผูเรียนไดแสวงหาความรูดวยตนเองจากสื่อที่หลาก หลาย √ - 58 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 86.00 54 93.10 ยอดเยี่ยม 3.1 ผูสอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเนนการมีปฏิสัมพันธเชิงบวก √ - 58 3.2 ผูสอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน ใหเด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็ก รักเด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู สามารถเรียนรูรวมกันอยางมีความสุข √ - 49 4. ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ และนําผลมาพัฒนาผูเรียน 86.00 58 100.00 ยอดเยี่ยม 4.1 มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรูอยางเปน ระบบ √ - 58 4.2 มีขั้นตอนโดยใชเครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม กับเปาหมายในการจัดการเรียนรู √ - 58 4.3 เปดโอกาสใหผูเรียนและผูมีสวนเกี่ยวของมีสวนรวมในการวัดและ ประเมินผล √ - 58 4.4 ใหขอมูลยอนกลับแกผูเรียนเพื่อนําไปใชในการพัฒนาการเรียนรู √ - 58 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู 86.00 58 100.00 ยอดเยี่ยม Page 101 of 113


ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เปา หมาย/ รอยละ จํานวนครูที่ผาน เกณฑที่โรงเรียน กําหนด (คน) ผลการ ประเมิน (รอยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ ได ปฏิบัติ ไม ปฏิบัติ 5.1 และผูมีสวนเกี่ยวของรวมกันแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณใน การจัดการเรียนรู √ - 58 5.2 นําขอมูลปอนกลับไปใชในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู ของตนเอง √ - 58 สรุปผลการประเมิน 97.93 ยอดเยี่ยม จุดเนนและกระบวนการพัฒนาที่สงผลตอระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ จุดเนนและกระบวนการพัฒนาที่สงผลตอระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 3 3.1 จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฎิบัติจริง และสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตได โรงเรียนไดดําเนินการกําหนดใหครูผูสอนทุกรายวิชา ดําเนินการออกแบบการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยผานการวิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) และจัดทําหลักสูตรของโรงเรียน, ระเบียบวัดประเมินผลการเรียน กําหนด เนื้อหาสาระการเรียนรูที่เปนสากล เหมาะสมกับผูเรียนและทองถิ่น จัดใหมีรายวิชาที่หลากหลาย มีการสงเสริมใหครูจัดทําแผนการสอนที่ตอบสนองความถนัด และความสามารถของนักเรียน จัดการเรียนรูที่เนนนักเรียนเปนสําคัญ ไดแกความสามารถในการอาน การเขียนและการสื่อสารไดทั้งภาษาไทย และภาษาตางประเทศ ความ สามารถในคิดวิเคราะหและคิดคํานวณ ครูจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนากระบวนการคิดอยางเปนระบบใหกับผูเรียน แบงเปน ดานความรู  (Knowledge : K) กระบวนการ (Process : P) และเจตคติ (Attitude : A) มีแนวทางในการแกปญหาที่หลากหลาย  มีประสิทธิภาพ มีการคิด ไตรตรอง และตัดสินใจอยางรอบคอบ มีการ จัดกิจกรรมสงเสริม  และตอบสนองความสามารถทางวิชาการ การแขงขันทักษะทางวิชาการ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เพื่อกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตลอด เวลา กระตุนใหนักเรียนไดลงมือทํากิจกรรมดวยตนเอง ไดแก การลงมือสืบคนขอมูล และเกิดชิ้นงาน อยางหลากหลาย เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน ใหเปนคนมีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา อีกทั้งยังมีโครงการนิเทศการสอนภายใน จากหัวหนากลุมสาระฯ และการนิเทศการสอนภายนอกจากศูนยวิชาการสังฆมณฑลราชบุรี ผานระบบ ออนไลน /Zoom meeting ซึ่งเปนผูมีประสบการณทางดานการจัดการเรียนรู มาใหการนิเทศการจัดการเรียนการสอน ใหคําแนะนําและคําปรึกษา เพื่อนําผลการนิเทศ ไปพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูผูสอน สงผลกับผูเรียนในดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแตละรายวิชาสูงขึ้น การเรียนการสอนภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทําใหไมสามารถจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนไดตามปกติ ครูมี การออกแบบวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน โดยพิจารณารูปแบบการเรียนการสอนใหเหมาะสมกับลักษณะรายวิชา เพื่อใหจัดการเรียนการสอนแบบออนไลนได สอดคลองกับผูเรียน ทําใหผูเรียนเกิดทักษะการคิด ทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู  สามารถทําใหผูเรียนมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 มากขึ้น เนื่องจากนักเรียนไมไดมาโรงเรียน นักเรียนสามารถเรียนรูดวยวิธีที่หลากหลาย ไดแก 1) การเรียนจากสื่อประเภทหนังสือเรียน แบบฝกหัด ใบงาน 2) การลงมือปฏิบัติจริง ดวยตนเองที่บาน สามารถสรางชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ โดยครูสาธิตวิธีการใหกับนักเรียน 3) การเรียนจากแอพพลิเคชั่น ที่หาไดทางอินเตอรเน็ท ทั้งที่ไดรับการแนะนําโดยครู และที่ศึกษาคนควาดวยตนเอง 4) การเรียนออนไลนทางแอพพลิเคชั่นไดแก Zoom, Google meet, Facebook live และ Group line 3.2 ใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูที่เอื้อตอการเรียนรู เนื่องจากสถานการณโควิด-19 สงผลใหโรงเรียนตองจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน ครูมีการสรางเครื่องมือ คัดเลือกเนื้อหา บทเรียนนําเสนอดวยวิธีการที่ หลากหลายเพื่อใหเขาถึงการเรียนรูของนักเรียนมากที่สุด ทั้งนี้ครูไดเตรียมรูปแบบการจัดการเรียนการสอน สื่อที่นํามาใช ออกแบบเนื้อหาที่เหมาะสม และนําเทคโนโลยีมา ใช เพื่อใหการเรียนออนไลนใหไดคุณภาพเทียบเทากับเรียนในโรงเรียน ครูมีการปรับการสอนใหนักเรียนเขาถึงบทเรียนไดงายในรูปแบบออนไลน  โดยครูไดมีการศึกษา หาความรูความเขาใจในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะนํามาใชประกอบการสอนออนไลน ที่เหมาะสมกับรายวิชา ปรับปรุงและพัฒนาวิธีการสอนแบบใหม ๆ ที่สามารถ พัฒนาการเรียนรูของนักเรียนและจัดการเรียนการสอนของครูใหมีคุณภาพขึ้น จัดการเรียนรูโดยเนนนักเรียนเปนสําคัญ และจัดการเรียนรูผานเครือขายคอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต และสื่อเทคโนโลยี ครูไดผลิตสื่อการเรียนรู โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรตาง ๆ ในการสรางสรรคสื่อ เพื่อใชในหองเรียนออนไลน และในหองเรียนจริง โดย การนําสื่อการเรียนรูนั้น เชื่อมโยงกับแอปพลิเคชั่นตาง ๆ มาใชในกิจกรรมการสอนในหองเรียน นวัตกรรมที่ใชในการเรียนการสอน ไดแก การเรียนผานเครือขาย คอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต และสื่อเทคโนโลยี โดยการใชเว็ปไซต  และโปรแกรมพัฒนาสื่อเทคโนโลยีไดแก Google Classroom, Google Meet, Group line, ในการนํา เสนอเนื้อหาการเรียนการสอนและออกแบบกิจกรรมการเรียนรูที่จะเสริมการเรียนรูและพัฒนานักเรียนใหเกิดการเรียนรู และประสิทธิภาพมากขึ้น 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ชวงการจัดการเรียนการสอนออนไลน ครูไดปรับบทบาทการสอนโดยเนนเปนผูใหคําแนะนํา เปนผูฝก ผูอํานวยความสะดวก เพื่อชวยใหนักเรียนสามารถใชศักยภาพ ของตนเองในดานการเรียนรู สงเสริมความเขาใจเนื้อหาการเรียน ชวยเหลือใหมีความพรอมในการแกไขปญหาเฉพาะหนาขณะที่สอน ติดตามการเขาเรียนของนักเรียน Page 102 of 113


ปญหา อุปสรรค ใหการชวยเหลือเพิ่มเติมในการเรียน ทําใหนักเรียนเกิดความสุข สนุก อยากเรียนรูสมํ่าเสมอ และกระตือรือรนในสิ่งที่เรียนรู เพื่อใหนักเรียนไดรับ ประโยชนจากการเรียนการสอนแบบออนไลนเพิ่มขึ้น ครูดึงความสนใจของนักเรียนใหไดรับความรูและรูสึกสนุกกับการเรียนออนไลน และเพื่อใหการศึกษาของนักเรียนไม ขาดตอน การเรียนออนไลนทําใหครูมีการออกแบบการสอนอยางหลากหลาย เชนการเรียนผานบทเพลง/มีวิธีการพูดและสรุปบทเรียนใหนาสนใจ กระชับ และเขาใจงาย ครูมีการวางแผนการสอนมาเปนอยางดี พรอมทั้งแทรกเกร็ดความรู หรือเทคนิคการจําตาง ๆ หาสื่อที่นาสนใจ พรอมสรุปเนื้อหาเปนประเด็นยอย ๆ เชน ภาพกราฟก ประกอบตาง ๆ คลิปวีดีโอที่อธิบายเนื้อหา ใชนํ้าเสียงที่นาฟง การเลาเรื่องที่นาสนใจ สอดคลองและเชื่อมโยงกับบทเรียน มีการรับฟงความรูสึกของนักเรียน รวมถึงถาม คําถามระหวางบทเรียนตาง ๆ ครูใหโอกาสในการแสดงออก เปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น มีการสอดแทรกเรื่องเกี่ยวกับมารยาทในการแสดงออก ครู แสดงออกถึงความเขาใจ การใหกําลังใจ และสนับสนุนใหนักเรียนกลาแสดงออก กลาที่จะถาม 3.4 ตรวจสอบและประเมินนักเรียนอยางเปนระบบ และนําผลมาพัฒนานักเรียน ครูออกแบบการจัดการเรียนรู รูธรรมชาติของวิชา เพื่อพัฒนาความรูและทักษะและความสามารถดานตาง ๆ ของนักเรียน ดวยกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลาย ใชสื่อ การสอนและแหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน มีกระบวนการประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจริง เชน การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูภายในหองเรียน online ในระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน การตรวจใบงาน แบบฝกหัด ผลงานตาง ๆ การทดสอบความรูดวยแบบทดสอบ มีการตรวจสอบการออกขอสอบกลางภาคและ ปลายภาคเรียนใหสอดคลองกับตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู  และมีรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อใหผลการทดสอบสะทอนความรู ความสามารถดานการคิด วิเคราะหและแก ปญหาของนักเรียนไดอยางแทจริง สะทอนผลการทดสอบไปยังนักเรียนเพื่อใหเกิดการพัฒนาความรูความสามารถใหเปนไปตามมาตรฐานที่แตละรายวิชากําหนด มีการ วิเคราะหขอสอบเพื่อสะทอนถึงคุณภาพของขอสอบ ครูสามารถนําผลการวิเคราะหขอสอบไปพัฒนา ปรับปรุงขอสอบของตนเองใหมีคุณภาพมากขึ้น และมีการประเมิน ผลการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การประเมินระหวางภาคโดยการทําชิ้นงาน ใบงาน แบบฝกหัด และประเมิน ผลปลายภาค โดยใชรูปแบบการสอบออนไลนใน Google Form 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู โรงเรียนมีการสงเสริมใหครูไดแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันโดยผานทางกิจกรรมนิเทศการสอน การประชุมกลุมสาระฯ ประชุมกลุมงาน กิจกรรมชุมชนแหงการ เรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) โดยรวมประชุมหารือเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาที่สอนรวมกัน สงเสริมนักเรียนบรรลุจุดหมายของการศึกษาที่กําหนดไวอยางมี ประสิทธิภาพสูง โดยมีการประชุมคณะกรรมการบริหารวิชาการในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี เพื่อการแลกเปลี่ยนประสบการณแตละโรงเรียน วางแผนพัฒนารวมกัน มีการ นิเทศติดตามจากศึกษานิเทศกของศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี การประชุมภายในโรงเรียน มีการนําผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนให เต็มศักยภาพ และมีกิจกรรมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นพรอมทั้งมีการรับฟงขอเสนอแนะ ของผูปกครอง ในกิจกรรมวันประกาศผลการเรียน เพื่อนํามาบูรณาการรวมกับการ จัดกรรมการเรียนการสอน และแนวทางในการพัฒนาดานการศึกษาของโรงเรียน Page 103 of 113


มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก เปาหมาย 5 ขอ ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน ผลสําเร็จ ผลการประเมินคุณภาพที่ได ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ การจัดการศึกษาคาทอลิก 5.00 ยอดเยี่ยม 1. มีฝายหรืองานจิตตาภิบาล √ - 2. มีการบูรณาการคุณคาพระวรสาร √ - 3. มีแผนพัฒนาฯที่สอดคลองกับแผนแมบทของฝายการอบรมศึกษา √ - 4. มีการจัดบรรยากาศคาทอลิก √ - 5. มีการจัดกิจกรรม พิธีกรรมทางศาสนาในกิจกรรมตาง ๆ ของโรงเรียน √ - สรุปผลการประเมิน 5.00 ยอดเยี่ยม จุดเนนและกระบวนการพัฒนาที่สงผลตอระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก โรงเรียน วีรศิลป เปนโรงเรียนในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  กําหนดรูปแบบการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู การทํางานและการดําเนินชีวิตตามจิตตารมณพระวรสาร ในบรรยากาศของโรงเรียนคาทอลิก ที่เนนเอกลักษณของโรงเรียนคาทอลิก โรงเรียนที่สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม  สรางเด็กใหเปนคนดี อยางเปนระบบและตอเนื่อง ทํางานแบบมีสวนรวม  โดยใชกระบวนการ P-D-C-A  มีการกําหนดแผนงานอภิบาลเพื่อประกาศขาวดีที่เปนรูปธรรมชัดเจน พัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรียน ที่ใชแปลงเพาะบมทางการศึกษาของโรงเรียนเปนสนามแหงคุณธรรม จริยธรรม  ที่เสริมสรางประสบการณแหงความเชื่อ ความศรัทธาในศาสนาที่นักเรียนแตละคนนับถือ เพื่อเปนภูมิคุมกันคานิยมตามประสาโลก ทั้งในดานวัตถุนิยม บริโภคนิยม หรือสุขนิยม ใหหางไกลจากนักเรียน ซึ่งสอดคลองกับนโยบายการจัดการศึกษาของโรงเรียนใน เครือสังฆมณฑลราชบุรี  ปรัชญาการศึกษาคาทอลิก ที่อภิบาลดูแลนักเรียน ใหสามารถเลือกกระทําในสิ่งที่ถูกตอง อีกทั้งเปนการพัฒนานักเรียนในทุกมิติทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม ใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งครบตามแบบอยางพระคริสตเจา จัดใหมีฝายจิตตาภิบาล งานคําสอน งานพิธีกรรม งานอภิบาลและแพร ธรรม  จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เนนอัตลักษณและเอกลักษณการศึกษาคาทอลิก บูรณาการแผนการเรียนรูทุกกลุมสาระ และการสอนในวิชาคริสตศาสนา ให สอดคลองกับคุณคาพระวรสาร 21 ประการ เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในชวงการเรียนการสอนภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) Page 104 of 113


2. สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย มาตรฐานการศึกษา ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยี่ยม 1. มีพัฒนาดานรางกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนองไดยอดเยี่ยม 2. มีพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไดยอดเยี่ยม 3. มีพัฒนาการดานสังคม ชวยเหลือตนเองและเปนสมาชิกที่ดีของสังคม ยอดเยี่ยม 4. มีพัฒนาการดานสติปญญา สื่อสารได มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรูไดยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 1. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสี่ดาน สอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ยอดเยี่ยม 2. จัดครูใหเพียงพอกับชั้นเรียน ยอดเยี่ยม 3. สงเสริมใหครูมีความเชี่ยวชาญดานการจัดประสบการณยอดเยี่ยม 4. จัดสภาพแวดลอมและสื่อเพื่อการเรียนรูอยางปลอดภัยและเพียงพอ ยอดเยี่ยม 5. ใหบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรูเพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณยอดเยี่ยม 6. มีระบบบริหารคุณภาพที่เปดโอกาสใหผูเกี่ยวของทุกฝายมีสวนรวม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสําคัญ ยอดเยี่ยม 1. จัดประสบการณที่สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการทุกดาน อยางสมดุลเต็มศักยภาพ ยอดเยี่ยม 2. สรางโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณตรง เลนและปฏิบัติอยางมีความสุข ยอดเยี่ยม 3. จัดบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู ใชสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย ยอดเยี่ยม 4. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนําผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณและพัฒนาเด็ก ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก ยอดเยี่ยม โรงเรียนดําเนินการบริหารจัดการศึกษาแบบคาทอลิก ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินระดับปฐมวัย ยอดเยี่ยม Page 105 of 113


ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษา ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียน ยอดเยี่ยม ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน 1. มีความสามารถในการอาน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคํานวณ ยอดเยี่ยม 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแกปญหา ยอดเยี่ยม 3. มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม ยอดเยี่ยม 4. มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ยอดเยี่ยม 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ดีเลิศ 6. มีความรูทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีตองานอาชีพ ยอดเยี่ยม คุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียน 7. การมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากําหนด ยอดเยี่ยม 8. ความภูมิใจในทองถิ่นและความเปนไทย ยอดเยี่ยม 9. การยอมรับที่จะอยูรวมกันบนความแตกตางและหลากหลาย ยอดเยี่ยม 10. สุขภาวะทางรางกายและจิตสังคม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 1. มีเปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจที่สถานศึกษากําหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 3. ดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุมเปาหมาย ยอดเยี่ยม 4. พัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม 5. จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัดการเรียนรูอยางมีคุณภาพ ยอดเยี่ยม 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ยอดเยี่ยม 1. จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตไดยอดเยี่ยม 2. ใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูที่เอื้อตอการเรียนรู ยอดเยี่ยม 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ยอดเยี่ยม 4. ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ และนําผลมาพัฒนาผูเรียน ยอดเยี่ยม 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก ยอดเยี่ยม การจัดการศึกษาคาทอลิก ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินระดับขั้นพื้นฐาน ยอดเยี่ยม Page 106 of 113


3. จุดเดน ระดับปฐมวัย คุณภาพของเด็ก 1. เด็กมีพัฒนาการทางดานรางกาย มีทักษะในการเคลื่อนไหวรางกายคลองแคลววองไว ทรงตัวไดดี มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน หลีกเลี่ยงสภาพแวดลอมที่เสี่ยง ตอโรคภัยและสิ่งเสพติด 2. เด็กมีพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ราเริงแจมใส มีความรูสึกที่ดีตอตนเองและผูอื่น รูจักชวยเหลือและแบงปน มีความซื่อสัตย รูจักยับยั้งชั่งใจ เคารพสิทธิ รูหนาที่ มีความรับผิดชอบ และมีความสุขกับศิลปะ ดนตรีและการเคลื่อนไหว 3. เด็กมีพัฒนาการดานสังคม มีวินัย ชวยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร ประจําวันไดดวยตนเอง มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย ยอมรับความแตกตางระหวางบุคคล สามารถเลนและทํางานรวมกับผูอื่นไดดี มีสวนรวมในการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม ทั้งในและนอกหองเรียน 4. เด็กมีพัฒนาการดานสติปญญา มีทักษะในการสื่อสาร เลาเรื่องใหผูอื่นเขาใจไดเหมาะสมกับวัย รูจักตั้งคําถามในสิ่งที่ตนเองสงสัย และ สรางสรรคผลงานตามความคิด จินตนาการของตนเองได 5. เด็กมีความรู ความสามารถในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนรู กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. มีหลักสูตรสถานศึกษาครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ดาน สอดคลองกับบริบทของทองถิ่น 2. จัดครูใหมีความเหมาะสม ครบชั้นเรียน 3. สงเสริมพัฒนาครูและบุคลากรให มีความรูความสามารถ มีทักษะในการจัดประสบการณ และการประเมินพัฒนาการเด็ก การจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสําคัญ 1. ครูจัดประสบการณที่สงเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกดาน มีการวิเคราะหขอมูลเด็กเปนรายบุคคล 2. ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู ใชสื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะ สมกับวัย ใหเด็กมีโอกาสเลือกทํากิจกรรมอยางอิสระตามความสนใจ ระดับขั้นพื้นฐาน คุณภาพของผูเรียน 1. นักเรียนมีความสามารถในการอาน เขียน การสื่อสาร และคิดคํานวณ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก ปญหา สามารถใชเทคโนโลยีในการแสวงหาความรูไดดวยตนเอง ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเอยูในระดับดี มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงกวาระดับประเทศอยางตอเนื่อง 2. นักเรียนไดรับการพัฒนาทักษะชีวิตสามารถทํางานรวมกับผูอื่น ตระหนักรูและเห็นคุณคาในตนเอง และผูอื่น มีเปาหมายในชีวิตและมีความรับผิดชอบ มีสุขภาพรางกายแข็งแรง มีระเบียบวินัย ผูเรียนมีพื้นฐานดานอุปนิสัยที่ดีสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดดีและมีความสุข และมีเจตคติที่ดีตออาชีพสุจริต นักเรียนรูจักคานิยมที่ถูกตอง เห็นคุณคาของความเปนไทย นักเรียนประพฤติปฏิบัติตนตามมารยาทไทยที่ถูกตองตามกาลเทศะ มีบุคลิก การวางตนไดเหมาะสม 3. นักเรียนทุกคนไดรับการพัฒนาและปลูกฝงใหเปนผูมีคุณธรรม ทั้งดานพฤติกรรม จิตใจและสติปญญา โดยยึดหลักคุณธรรมตามหลักการของ แตละศาสนาที่ตนนับถือ นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรูและการปฏิบัติจริงตามคุณธรรมจริยธรรมตามหลักศาสนา ทั้งดาน กาย วาจา และใจ สงผลใหนักเรียนไดรับการ พัฒนาใหเปนคนดี มีศีลธรรม จริยธรรม โดยปฏิบัติตนและเขารวมกิจกรรมทางศาสนา สงผลใหนักเรียนมีความกตัญูตอผูมีพระคุณรูจักกระทําความดีตอตนเองและสวน รวม และยังประโยชนใหคนอื่น มีความรับผิดชอบชั่วดี รูจักความถูกตองอดทน ควบคุมจิตใจ และการกระทําในขอบเขตอันเหมาะสมรวมไปถึง ตระหนัก รูคุณคา ของ ความเปนไทย วัฒนธรรมและประเพณีอันดีงาม กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. ผูบริหาร เปนผูมีความรู เปนผูนําในการดําเนินงานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนับสนุน และสงเสริม พัฒนานักเรียนดานตาง ๆ การจัดการเรียนรูของครู บริหาร จัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล สรางและใชความรูที่มีอยูรอบดาน กําหนดแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนและปฏิบัติงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) อยางตอ เนื่อง นําไปสูการบรรลุเปาหมายการจัดการศึกษาของโรงเรียนอยางมีคุณภาพ 2. การบริหารจัดการของโรงเรียนในสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ผูบริหารสามารถหาแนวทางแกไขปญหาดวยหลักการและแนวคิดตาง ๆ มาประยุกตใชเพื่อใหโรงเรียนยังคงสามารถจัดการเรียนการสอนไดอยางปลอดภัย 3. โรงเรียนมี การจัดหองเรียนพิเศษใหกับนักเรียน (หองเรียนภาษาอังกฤษ) และจัดการเรียนการสอนในภาษาที่สาม (ภาษาจีน) ในทุกระดับชั้น กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 1. ครูมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนใหนักเรียนมีทักษะที่จําเปนตามหลักสูตร และคุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียนในศตวรรษที่ 21 โดยกําหนดกิจกรรมสู แผนการจัดการเรียนรู และนําแผนการจัดการเรียนรูไปใช และสรางประสบการณใหแกผูเรียนอยางหลากหลาย 2. ครูมีทักษะใชสื่อ ICT ในการสอนที่ดี และครูมีความ พรอมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน 3. ครูและบุคลากรไดรับการพัฒนา ไดรับองคความรูผานกระบวนการอบรมพัฒนาเต็มตามศักยภาพสามารถนํา ความรู ประสบการณ วิธีดําเนินการมาประยุกตใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. จุดควรพัฒนา ระดับปฐมวัย คุณภาพของเด็ก 1. ใหเด็กเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน รูจักออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ 2. พัฒนาความคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร และวิทยาศาสตร การคิด แกปญหา และสามารถแกปญหาในเรื่องงาย ๆ ได Page 107 of 113


กระบวนการบริหารและการจัดการ สรางความสัมพันธระหวางบาน วัด และชุมชน เพื่อสงเสริมใหเด็กมีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัยอยางยั่งยืน การจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสําคัญ ครูเขารับการอบรมพัฒนาศักยภาพดานสื่อเทคโนโลยีเสริมเพื่อเพิ่มประสบการณใหครูสามารถจัดประสบการณใหเด็กมีพัฒนาการทุกดานอยางสมดุล และมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น ระดับขั้นพื้นฐาน คุณภาพของผูเรียน - กระบวนการบริหารและการจัดการ - กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ - 5. แนวทางการพัฒนา ระดับการศึกษาปฐมวัย 1. ดานคุณภาพของเด็ก กําหนดการวางแผน โครงการกิจกรรมที่สงเสริมใหเด็กเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน รักการออกกําลังกาย สามารถคิดรวบยอด คิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร และวิทยาศาสตร คิดแกปญหา อละสามารถแกปญหาในเรื่องงาย ๆ ได 2. ดานกระบวนการบริหารและจัดการ กําหนดการวางแผน โครงการกิจกรรมที่สรางความสัมพันธระหวางบาน วัด และชุมชนเพื่อสงเสริมใหเด็ก มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัยอยางยั่งยืน 3. ดานการจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสําคัญ กําหนดการวางแผน โครงการกิจกรรมที่สงเสริมแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน เพื่อพัฒนาศักยภาพ ครูในการใชสื่อเทคโนโลยี จัดประสบการณใหเด็กมีพัฒนาการทุกดานอยางสมดุล และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. สงเสริมการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหนักเรียนเปนผูสรางนวัตกรรม พัฒนาความคิดสรางสรรค ทักษะกระบวนการเรียนรู ใหนักเรียน สามารถศึกษาคนควาดวยตนเอง เรียนรูผานโครงการหรือโครงงานอยางเหมาะสม เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีตอการพัฒนาความรู ความสามารถตาม ความสนใจของแตละบุคคล 2. สงเสริมใหนักเรียนมีความรูและทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (Digital) อยางเหมาะสม มีจรรยาบรรณ และใชเปนเครื่องมือในการสราง งาน สรางนวัตกรรมที่หลากหลาย อันเปนทักษะการดําเนินชีวิตไดอยางราบรื่นและมีความสุขในศตวรรษที่ 21 3. สงเสริมความเปนเลิศทางวิชาการในแตละกลุมสาระและบริบทของรายวิชา เพื่อพัฒนานักเรียนไปถึงขีดความสามารถสูงสุดของนักเรียน โดย คํานึงถึงความหลากหลายทางดานสติปญญาและความถนัดของนักเรียน จัดการเรียนรูที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพของนักเรียน ใหเกิดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะในทุกๆ ดานอยางตอเนื่อง 4. พัฒนาทักษะการใชภาษาและความสามารถดานการอานของนักเรียน โดยคัดกรองและจัดกลุมเพื่อปรับแกใหนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 เปนผูที่สามารถอานภาษาไทยไดคลอง และติดตามทักษะดานการอานของนักเรียนในทุกระดับชั้น เพื่อพัฒนาใหเปนผูมีพื้นฐานการอานที่ดี อัน เปนทักษะที่ชวยใหสามารถเรียน คนควาหาความรูไดอยางเกิดประโยชนสูงสุดกับนักเรียน 5. สงเสริมทักษะการสื่อสารใหนักเรียนเปนผูมีความสามารถในการพูดในที่สาธารณะ เริ่มจากการจัดกระบวน การคิด เรียบเรียงเนื้อหา สามารถ พูดในชั้นเรียน สื่อสารไดตรงประเด็น พัฒนานักเรียนเปนผูใชภาษาไดอยางถูกตอง ชัดเจน เกิดประสิทธิผลในการพูดและสื่อสาร ถูกตองตาม จรรยามารยาทและขนบประเพณีของสังคม ตอยอดโดยการสงนักเรียนที่มีความสามารถดานการพูด เขารวมการประกวดแขงขันของสถาบัน หรือหนวยงานภายนอก อาทิเชน การประกวดบรรยายธรรม 6. พัฒนาศักยภาพครูในการปฏิรูปการเรียนรูสูนักเรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนใหสูงขึ้นจากเดิม โดยการมีสวนรวมของ ทุกภาคสวน ไดแก ผูบริหาร คณะครู คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ผูปกครอง และหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ใหเปนองคกรการเรียนรูรวม กัน เปนองคกรที่เขมแข็ง มีการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืน Page 108 of 113


7. ใหครูออกแบบกระบวนการเรียนรูที่จะทําใหนักเรียนเกิดทักษะในการแสวงหาความรูดวยตนเอง ควบคูไปกับการประยุกตใชเทคโนโลยี  ให เกิดประโยชนตอการพัฒนาแนวทางการเรียนรู เพื่อใหนักเรียนสามารถปรับตัว และดําเนินชีวิตในโลกยุคดิจิตอลไดอยางเหมาะสม 8. พัฒนาคุณภาพครู สงเสริมใหครูจัดการเรียนการสอนดวยกิจกรรมสําหรับการเรียนรู มุงเนนนักเรียนเปนสําคัญ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ ิ์ ทางการเรียนในแตละรายวิชาใหสูงขึ้น นิเทศ ติดตามกํากับชั้นเรียนอยางเปนระบบ เปนขั้นเปนตอน เพื่อใหครูมีการพัฒนาตนเอง นําผลมา วิเคราะหและพัฒนาการใชเทคนิควิธีการสอน และจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ 6. ความตองการชวยเหลือ ระดับการศึกษาปฐมวัย 1. การดูแลสุขภาพอนามัยของเด็ก ใหหนวยงานดานสุขภาพ สาธารณสุขจังหวัด เทศบาล อํานวยความสะดวกแจงขาวสารเกี่ยวกับการแพร ระบาดของโรคตาง ๆ ใหโรงเรียนทราบโดยดวน เพื่อแจงผูปกครองและครูใหดูแลเด็ก ปองกันเด็กไดทันทวงที 2. แนะนําแหลงเรียนรูเพิ่มเติม และสงครูเขารับการอบรมกับหนวยงานของรัฐเพื่อความเชี่ยวชาญและหลากหลาย 7. ความโดดเดนของสถานศึกษา(ถามี) - 1. การจัดกิจกรรมสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม ระดับการศึกษา : ขั้นพื้นฐาน ไดรับการยอมรับเปนตนแบบระดับ : ชาติ (C2) กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศึกษา ความโดดเดนของสถานศึกษา เนื่องจากเปนโรงเรียนในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี จึงเนนกิจกรรมเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม การปฏิบัติตามศาสนกิจที่ตนนับถือ สงผลใหนักเรียนไดรับ การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึกในความเปนไทย ตอยอดโดยการสงนักเรียนใหแสดงความ สามารถในดานนี้ จนไดรับรางวัลระดับประเทศ ไดแก การบรรยาย ธรรม โครงงานคุณธรรม การเลานิทานคุณธรรม การสวดมนตหมูสรภัญญะ การสวดโอเอวิหารราย กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศึกษา สงเสริมใหครูพัฒนานักเรียนในดานทักษะและกระบวนการในการเรียนรูเพื่อยกระดับความสามารถของนักเรียน อันเปนภาพสะทอนถึงคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา โดยการสงนักเรียนเขารวมแขงขันในรายการตาง ๆ สรางสภาพแวดลอมและบรรยากาศการเรียนรูที่เหมาะสมกับนักเรียนในแตละระดับชั้น แตละชวงวัย รางวัลที่ไดรับ ปการศึกษา 2562 รางวัลชนะเลิศ / รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 / รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 และรางวัลชมเชยระดับประถมศึกษาตอนตน การประกวดบรรยายธรรม ประจําป 2562 รอบคัดเลือกระดับจังหวัด รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 รางวัลชมเชยระดับประถมศึกษาตอนตน การประกวดบรรยายธรรม ประจําป 2562 รอบคัดเลือกระดับจังหวัด รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน การประกวดบรรยายธรรม ประจําป 2562 รอบคัดเลือกระดับจังหวัด รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน การประกวดบรรยายธรรม ประจําป 2562 รอบคัดเลือกระดับคณะสงฆ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 / รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ระดับประถมศึกษาตอนตน การประกวดบรรยายธรรม ประจําป 2562 รอบคัดเลือกระดับคณะสงฆ รางวัลชมเชยอันดับ 3 ระดับมัธยมศึกษา การประกวดบรรยายธรรม เนื่องในงานสัปดาหสงเสริมพระพุทธศาสนา วันวิสาขบูชา วันสําคัญสากลของโลก และวันอัฏฐมี บูชา รางวัลชมเชย ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – มัธยมศึกษาปที่ 3 การประกวดบรรยายธรรม โครงการสงเสริมศีลธรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 100 ป การอนุ ศาสนาจารยไทย รางวัลชมเชยพิเศษ ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – มัธยมศึกษาปที่ 3 การประกวดบรรยายธรรม โครงการสงเสริมศีลธรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 100 ป การอนุ ศาสนาจารยไทย รางวัลชมเชย ระดับชั้นประถมศึกษา การประกวดสวดมนตสรภัณญะ โครงการสงเสริมศีลธรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 100 ป การอนุศาสนาจารยไทย Page 109 of 113


รางวัลชมเชย ระดับชั้นประถมศึกษา การประกวดสวดมนตสรภัณญะ โครงการสงเสริมศีลธรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 100 ป การอนุศาสนาจารยไทย รางวัลรอง ชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดบรรยายธรรม ระดับประถมศึกษา เนื่องในงานสัปดาหสงเสริมพระพุทธศาสนา “วันอาสาฬหบูชาและเขาพรรษา” รางวัลชนะเลิศ ไดรับถวยพระราชทาน สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ การประกวดบรรยายธรรม ระดับประถมศึกษา เนื่องในงาน สัปดาหสงเสริมพระพุทธศาสนา “วันอาสาฬหบูชาและเขาพรรษา” รางวัลที่ไดรับ ปการศึกษา 2563 รางวัลชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดสวดมนตสรภัญญะ ประจําป 2563 ระดับประถมศึกษาตอนตน รอบคัดเลือกระดับจังหวัด รางวัลชนะเลิศการประกวดบรรยายธรรม ประจําป 2563 ระดับประถมศึกษาตอนปลาย รอบคัดเลือกระดับจังหวัด รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดบรรยายธรรม ประจําป 2563 ระดับประถมศึกษาตอนปลาย รอบคัดเลือกระดับจังหวัด รางวัลชนะเลิศ การประกวดบรรยายธรรม ประจําป 2563 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน รอบคัดเลือกระดับจังหวัด รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 การประกวดบรรยายธรรม ประจําป 2563 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน รอบคัดเลือกระดับจังหวัด รางวัลชมเชย ระดับประถมศึกษาตอนตน การประกวดบรรยายธรรม ประจําป 2563 รอบคัดเลือกระดับภาคคณะสงฆ รางวัลชนะเลิศ ระดับประถมศึกษาตอนปลาย การประกวดบรรยายธรรม ประจําป 2563 รอบคัดเลือกระดับภาคคณะสงฆ รางวัลชมเชย ระดับมัธยมศึกษาตอนตน การประกวดบรรยายธรรม ประจําป 2563 รอบคัดเลือกระดับภาคคณะสงฆ รางวัลที่ไดรับ ปการศึกษา 2564 รางวัลชนะเลิศ ชวงชั้นที่ 1 ระดับประถมศึกษาตอนตน การประกวดโครงการประกวดบรรยายธรรม จังหวัดกาญจนบุรี ประจําป พ.ศ. 2565 วันที่ 23 กุมภาพันธ 2565 รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ชวงชั้นที่ 1 ระดับประถมศึกษาตอนตน การประกวดโครงการประกวดบรรยายธรรม จังหวัดกาญจนบุรี ประจําป พ.ศ. 2565 วันที่ 23 กุมภาพันธ 2565 รางวัลชนะเลิศ ชวงชั้นที่ 2 ระดับประถมศึกษาตอนปลาย การประกวดโครงการประกวดบรรยายธรรม จังหวัดกาญจนบุรี ประจําป พ.ศ. 2565 วันที่ 23 กุมภาพันธ 2565 รางวัลรองชนะเลิศ ชวงชั้นที่ 3 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน การประกวดโครงการประกวดบรรยายธรรม จังหวัดกาญจนบุรี ประจําป พ.ศ. 2565 วันที่ 23 กุมภาพันธ 2565 - การจัดกิจกรรมสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม ระดับการศึกษา : ปฐมวัย ไดรับการยอมรับเปนตนแบบระดับ : ทองถิ่น/ภูมิภาค (C1) กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศึกษา ความโดดเดนของสถานศึกษา เนื่องจากเปนโรงเรียนในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี จึงเนนกิจกรรมเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม การปฏิบัติตามศาสนกิจที่ตนนับถือ สงผลใหเด็กไดรับการ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึกในความเปนไทย ตอยอดโดยการสงเด็กใหแสดงความสามารถในดานนี้จนไดรับรางวัล ไดแก การประกวดแขงขันสวดมนตหมู ทํานองสรภัญญะ ระดับปฐมวัย กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศึกษา สนับสนุนและสงเสริมความสามารถของเด็ก โดยสงเด็กเขารับการประกวดแขงขันสวดมนตหมู ทํานองสรภัญญะเปนประจําอยางตอเนื่องทุกปที่มีการแขงขัน รางวัลที่ไดรับ 1. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดแขงขันสวดมนตหมู ทํานองสรภัญญะ ระดับปฐมวัย งานสัปดาหสงเสริมพระพุทธศาสนา "วัน วิสาขบูชา วันสําคัญสากลของโลก และวันอัฏฐมีบูชา" Page 110 of 113


2. รางวัลชนะเลิศ การประกวดแขงขันสวดมนตหมู ทํานองสรภัญญะ ระดับปฐมวัย งานสัปดาหสงเสริมพระพุทธศาสนา "วันอาสาฬหบูชา และวันเขาพรรษา" Page 111 of 113


รายงานรวบรวมโดย (Prepared by) บาทหลวงธาดา พลอยจินดา ผูอํานวยการ Metta Thinthungthang เจาหนาที่ Page 112 of 113


ภาคผนวก Page 113 of 113


ประกาศโรงเรียน เรื่อง การกําหนดมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมายความสําเร็จของ โรงเรียนระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประกาศโรงเรียนเรื่องการกําหนดมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมายความสําเร็จของ โรงเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)


ประกาศโรงเรียนวีรศิลป์ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนวีรศิลป์ พุทธศักราช 2564 เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการมีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่สองที่ก าหนดเป้าหมาย และ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต ประกอบ กับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบ การประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบ ต่อไป จึงจ าเป็นต้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องกัน จึงประกาศให้ใช้มาตรฐาน การศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ลง วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2561 ส าหรับสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับปฐมวัน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานการศึกษาพิเศษ โรงเรียนวีรศิลป์ จึงได้แต่งตั้งคณะท างานก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียน ผู้แทนครู ผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน เพื่อด าเนินการก าหนด มาตรฐานของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ข้อ 3 ที่ให้สถานศึกษา แต่ละแห่งจัดให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการก าหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ และประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการประกาศก าหนด ดังนั้น อาศัยอ านาจตามมาตรา 31(4) และมาตรา39แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ได้มีมติเห็นชอบให้ใช้ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนวีรศิลป์ 3 มาตรฐาน และก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา**เพิ่มเติม 1 มาตรฐาน รวมเป็น 4 มาตรฐาน เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2564 เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประเมิน ภายนอก ตามมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการศึกษาที่ต้องด าเนินการ อย่างต่อเนื่อง ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564 (บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ) ผู้อ านวยการโรงเรียนวีรศิลป์


มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. 2564 แนบท้ายประกาศโรงเรียนวีรศิลป์ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนวีรศิลป์ พุทธศักราช 2564 มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนวีรศิลป์ พ.ศ. 2564 มีจ านวน 3 มาตรฐาน เพิ่มเติม 1 มาตรฐาน รวมเป็น 4 มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสารและการคิดค านวณ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและแก้ปัญหา 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษาก าหนด 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาก าหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ด าเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุก กลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฎิบัติจริง และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน าผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้


มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก ระบบการจัดการจัดการศึกษาแบบคาทอลิก 1) มีฝ่ายหรืองานจิตตาภิบาล 2) มีการบูรณาการคุณค่าพระวรสาร 3) มีแผนพัฒนาฯที่สอดคล้องกับแผนแม่บทของฝ่ายการอบรมศึกษา 4) มีการจัดบรรยากาศคาทอลิก


ประกาศโรงเรียนวีรศิลป์ เรื่อง การก าหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ------------------------------------------------------------------- โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่ก าหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ อย่างชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต รวมทั้งอัตลักษณ์และจุดเน้นของ สถานศึกษาโรงเรียนวีรศิลป์จึงปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและได้ ก าหนดค่าเป้าหมายของการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร โรงเรียน และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน บุคลากร เพื่อน าไปสู่การพัฒนา คุณภาพมาตรฐานการศึกษาการประเมินคุณภาพภายในและเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนวีรศิลป์มีคุณภาพและได้มาตรฐาน โรงเรียนจึงได้ก าหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการประเมินคุณภาพภายใน ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564 (บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ) ผู้อ านวยการโรงเรียนวีรศิลป์


การก าหนดค่าเป้าหมาย แนบท้ายประกาศโรงเรียนวีรศิลป์ เรื่อง การก าหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ระดับดี 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 86 1) นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดค านวณ 86 2) นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดและแก้ปัญหา 86 3) นักเรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 86 4) นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 86 5) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 86 6) นักเรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีงานอาชีพ 86 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 86 1) นักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษาก าหนด 86 2) นักเรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 86 3) นักเรียนมีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 86 4) นักเรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม 86 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับยอดเยี่ยม 2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาก าหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 2.3 ด าเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย ยอดเยี่ยม 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ ยอดเยี่ยม 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ระดับดี 3.1 ครูจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฎิบัติจริง และสามารถน าไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 86 3.2 ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 86 3.3 ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 86 3.4 ครูมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน าผลมาพัฒนาผู้เรียน 86 3.5 ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ จัดการเรียนรู้ 86


มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก ระดับดีเลิศ 4.1 มีฝ่ายหรืองานจิตตาภิบาล ระดับ ดีเลิศ ดีเลิศ 4.2 มีการบูรณาการคุณค่าพระวรสาร ระดับ ดีเลิศ ดีเลิศ 4.3 มีแผนพัฒนาฯที่สอดคล้องกับแผนแม่บทของฝ่ายการอบรมศึกษา ระดับ ดีเลิศ ดีเลิศ 4.4 มีการจัดบรรยากาศคาทอลิก ระดับ ดีเลิศ ดีเลิศ


ประกาศโรงเรียน เรื่อง การกําหนดมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมายความสําเร็จของ โรงเรียนระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประกาศโรงเรียนเรื่องการกําหนดมาตรฐานและคาเปาหมายการศึกษาปฐมวัยของ โรงเรียนเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา)


ประกาศโรงเรียนวีรศิลป์ เรื่อง การก าหนดมาตรฐานและค่าเป้าหมายการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ------------------------------------------------------------------- เพื่อให้การพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนวีรศิลป์จึงได้ก าหนด มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียน และค่าเป้าหมายปีการศึกษา 2564 ไว้ดังต่อไปนี้ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ระดับดีเลิศ 1.1 เด็กร้อยละ 87 มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดีและดูแล ความปลอดภัยของตนเองได้ ยอดเยี่ยม 1.2 เด็กร้อยละ 87 มีพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุม และแสดงออก ทางอารมณ์ได้ ยอดเยี่ยม 1.3 เด็กร้อยละ 87 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิก ที่ดีของสังคม ยอดเยี่ยม 1.4 เด็กร้อยละ 87 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้มีทักษะการคิด พื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับดีเลิศ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของ ท้องถิ่น ยอดเยี่ยม 2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน ยอดเยี่ยม 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ยอดเยี่ยม 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ ยอดเยี่ยม 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการ จัดประสบการณ์ส าหรับครู ยอดเยี่ยม 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ ระดับดีเลิศ 3.1 ครูร้อยละ 87 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ยอดเยี่ยม 3.2 ครูร้อยละ 87 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และ ปฏิบัติอย่างมีความสุข ยอดเยี่ยม 3.3 ครูร้อยละ 87 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่ เหมาะสมกับวัย ยอดเยี่ยม 3.4 ครูร้อยละ 87 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และน าผลการ ประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก ระดับดีเลิศ 4.1 มีการจัดการศึกษาคาทอลิก ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การประพฤติ ยอดเยี่ยม


มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ปฏิบัติตนตามแบบอย่างพระแม่มารีย์ สร้างขวัญก าลังใจ เพื่อสร้าง บรรยากาศโรงเรียนคาทอลิก ประกาศ ณ วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 (บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ) ผู้อ านวยการโรงเรียนวีรศิลป์


รายงานการประชุมหรือการใหความเห็นชอบ SAR ของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน (บันทึกการใหความเห็นชอบ SAR)


บันทึกการพิจารณาให้ความเห็นชอบเอกสาร รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนวีรศิลป์ ............................................................................................................................................. ด้วยโรงเรียนวีรศิลป์ ได้ดำเนินการจัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563 เพื่อเป็นไปตามเจตนารมณ์ของการจัดการศึกษาของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ระบุให้สถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และ ให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา ที่ต้องดำเนินการอย่าง ต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อ สาธารณชน รวมทั้งเพื่อรองรับการประกันคุณภาพจากต้นสังกัด บัดนี้ โรงเรียนวีรศิลป์ดำเนินการจัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ประจำปีการศึกษา 2564 เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงนำเสนอให้คณะกรรมการบริหารโรงเรียนวีรศิลป์พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยมีมติที่ประชุมเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2565 ด้วยมติเป็นเอกฉันท์ให้ใช้รายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัดและ สาธารณชนได้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ลงชื่อ (บาทหลวงธาดา พลอยจินดา) ผู้อำนวยการโรงเรียนวีรศิลป์/ประธานคณะกรรมการบริหารโรงเรียน


คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานจัดทํา SAR (คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานจัดทํารายงานตนเอง ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)


ค ำสั่งโรงเรียนวีรศิลป์ อ.ท่ำม่วง จ.กำญจนบุรี ที่ 4/2564 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมกำรจัดท ำรำยงำนตนเองประจ ำปีกำรศึกษำ 2564 ------------------------------------------------------ อาศัยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 ความว่า “ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา” และ มาตรา 48 ที่ก าหนดให้“สถานศึกษาต้องมีการประกันคุณภาพภายในและให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร สถานศึกษา” ซึ่งขั้นตอนหนึ่งของระบบประกันคุณภาพภายใน คือ การจัดท ารายงานประจ าปี (SAR) เพื่อให้ สถานศึกษามีข้อมูลในการน าไปใช้ประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในปีถัดไป และ น าเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด ต่อสาธารณชน และเตรียมความพร้อมในการประเมินคุณภาพภายนอก ดังนั้น โรงเรียนวีรศิลป์ จึงได้ก าหนดมาตรฐานและด าเนินการตามมาตรฐานการจัดการศึกษาอย่างเป็น ระบบ มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการด้านการศึกษาในทุกๆ ด้าน เพื่อให้การด าเนินการ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามแผนงาน และเกิดคุณภาพเป็นที่ประจักษ์สอดคล้องตามนโยบาย จึงขอแต่งตั้ง คณะกรรมการจัดท าเอกสารรายงานประจ าปี (SAR) ประจ าปีการศึกษา 2564 ดังนี้ 1. คณะกรรมกำรที่ปรึกษำ 1.1 บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ ผู้อ านวยการโรงเรียน 1.2 นางวรรณี ดีประชา หัวหน้ากลุ่มงานบริหารวิชาการ 1.3 นางจอมขวัญ ศักดิ์สุนทร หัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานบุคคล 1.4 นางศุลิษา มุกดาแสงสว่าง หัวหน้ากลุ่มงานบริหารงบประมาณ 1.5 น.ส.ฉวีวรรณ ตั้นสกุล หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป 1.6 นางชรฎ โสนน้อย หัวหน้ากลุ่มงานจิตตาภิบาล 1.7 นายวิสุทธิ์ พงชุบ หัวหน้างานกิจการนักเรียนมัธยม 1.8 นางศศิวิมล ทองมา หัวหน้างานกิจการนักเรียนประถม 1.9 นายชาติชาย ชั้นกาญจนอัมพร หัวหน้างานอาคารสถานที่ 1.10 นายพิเชษฐ ทองนุ่ม หัวหน้างานเทคโนโลยีและสารสนเทศ 1.11 นางวรางค์ ก าจรกิตติคุณ หัวหน้างานธุรการ มีหน้ำที่ ให้ค าปรึกษาและเสนอแนะแนวทาง ก ากับ และติดตามเกี่ยวกับการเตรียมข้อมูล หลักฐาน เอกสาร เพื่อจัดท ารายงานประเมินตนเอง 2. คณะกรรมกำรประกันคุณภำพภำยใน 2.1 นางวรรณี ดีประชา ประธาน 2.2 นางเมตตา ถิ่นทุ่งทอง รองประธาน 2.3 นางจอมขวัญ ศักดิ์สุนทร กรรมการ 2.4 น.ส.ฉวีวรรณ ตั้นสกุล กรรมการ 2.5 นางศุลิษา มุกดาแสงสว่าง กรรมการ 2.6 นายวิสุทธิ์ พงชุบ กรรมการ 2.7 นายพิเชษฐ ทองนุ่ม กรรมการ 2.8 นางชรฎ โสนน้อย กรรมการ 2.9 นางสุรีย์พร เลิศไชย กรรมการ 2.10 นางชนัญญา ประสิทธิ์พรพงศ์ กรรมการ 2.11 น.ส.วรานุช กิจเจริญ กรรมการ 2.12 นางนานา ไกรปราบ กรรมการ


มีหน้ำที่ 1. ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและมาตรฐานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สังกัดสังฆมณฑลราชบุรี 2. จัดระบบข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน 3. จัดเตรียมเครื่องมือในการประเมินตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพภายในฯ 4. จัดห้องส าหรับการรวบรวมข้อมูลการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน 5. ประสานงานข้อมูลกับครูผู้รับผิดชอบตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้เพื่อรวบรวมเป็นระบบประกัน คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน 3. คณะกรรมกำรจัดท ำรำยงำนตนเองตำมมำตรฐำนของโรงเรียน 3.1 มำตรฐำนด้ำนคุณภำพผู้เรียน 3.1.1 นางจอมขวัญ ศักดิ์สุนทร 3.1.2นายวิสุทธิ์ พงชุบ 3.1.3 น.ส.ฉวีวรรณ ตั้นสกุล 3.1.4 นายพิเชษฐ ทองนุ่ม 3.1.5 นายดนัย บัวสถาพร 3.1.6 นางวรางค์ ก าจรกิตติคุณ 3.1.7 น.ส.วรานุช กิจเจริญ 3.1.8 นางศศิวิมล ทองมา 3.1.9 นางลดารัตน์ วารีศรี 3.1.10 น.ส.วิยะดา แสงภิรมย์ 3.1.11 น.ส.วรินทร์ โฉมกอง 3.1.12 นางจันทร์ดี ภู่สุวรรณ 3.1.13 นางรัตนา จันทร์พันธ์ 3.1.14 นางสมใจ พงษพัว 3.1.15 น.ส.ปิยภรณ์ มังกรทอง 3.1.16 นางสายทิพย์ เชี่ยวชาญพัชรกุล 3.1.17 นางพัชนีย์ ค าแดง 3.1.18 นายวรนนท์ เจนวิชชุ 3.1.19 นางชบา แสงพุ่ม 3.1.20 นางจุรี สุทธการี 3.1.21 น.ส.สุปรียา สุขสวัสดิ์ 3.1.22 น.ส.กฤตพร บุญญาลัย3.1.23 นางสมพร อ่วมกรุด 3.1.24 น.ส.ธนพร พรหมจันทร์ดา 3.1.25 นางรัตนา บัวสถาพร 3.1.26 น.ส.กาญจนา ครุฑศิริ 3.1.27 นางนันทมน เมธีสกุลกาญจน์ 3.2 มำตรฐำนด้ำนกระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำรของผู้บริหำรสถำนศึกษำ 3.2.1 นางวรรณีดีประชา 3.2.2 นางเมตตา ถิ่นทุ่งทอง 3.2.3 นายชาติชาย ชั้นกาญจนอัมพร 3.2.4 น.ส.พิสมัย ภูยอดผา 3.2.5 นางภัททิมา บุณยายน 3.2.6 น.ส.เยาวลักษณ์ ข านอง 3.2.7 น.ส.โสรฏา อัคราพร 3.2.8 นางวันเพ็ญ ว่องพานิช 3.2.9 นางมาเรียม กิจทวี 3.2.10 นางอุไรรัตน์ แสวงทรัพย์ 3.2.11 นางธนิดา ใจจัน 3.2.12 น.ส.อนุสรา แซ่อึ้ง 3.2.13 นายพรภิรมย์ เอกพร 3.2.14 น.ส.ไพรจิตต์ พวงเนียม 3.2.15 น.ส.ปิยะภา จงเจริญ 3.2.16 นายประวีณ อัคราพร 3.2.17 นายสมเจตน์ ภัทรสิริวรกุล 3.2.18 นายวีระยุทธ์ อ่อนจันทร์ 3.2.19 นายวรวุฒิ เย็นวารีย์ 3.2.20น.ส.วรัชญา เฉิดฉันท์พิพัฒน์ 3.2.21 น.ส.ธันย์ชนก พวงทอง 3.2.22 นางนิชาภา บุญประสพ 3.2.23 น.ส.วันวิสาข์ วงศ์หงษ์ทอง 3.2.24 น.ส.สุธิตา เจิมจุล 3.3 มำตรฐำนที่ด้ำนกระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส ำคัญ 3.3.1 นางนานา ไกรปราบ 3.3.2 นางสุรีย์พร เลิศไชย 3.3.3 นางชนัญญา ประสิทธิพรพงศ์ 3.3.4 นางดาราวรรณ เอกพร 3.3.5 นางทิวารัตน์ ขันวิชัย 3.3.6 น.ส.พิมพ์ใจ ใจงาม 3.3.7 นางนันทา น้ าใจสุข 3.3.8 นางชุลีภรณ์ แหลมสุวรรณกุล 3.3.9 นางรุจิรา เจริญวัย 3.3.10 น.ส.กมลชนก ค าแสง 3.3.11 นางสุรพรี เจริญพร 3.3.12 น.ส.บุญญพัช กลาทอง 3.3.13 นางสุขวิมล อนันตสวัสดิ์ 3.3.14 น.ส.ยุวรี สุมงคล 3.3.15 นางยุวดี เปลี่ยนศรี 3.3.16 น.ส.พัสณี บัวเผื่อน 3.3.17 นางกนกอร ปวุตินันท์ 3.3.18 นางรัตนา ประกิจ


3.3.19 น.ส.พรนภา วรรณสาร 3.3.20 นายกิจติพล คงพยัคฆ์ 3.3.21 นางศิริพร พงษ์ศักดิ์ 3.3.22 น.ส.แสงระวี วีระนนท์ 3.3.23 นายกิตติพัฒน์ จีนสกุลณี 3.3.24 น.ส.สรนันท์ สุขสวัสดิ์ 3.3.25 น.ส.ศิริญา เกล็ดพงษ์ษา 3.3.26 น.ส.นิรินทร์ยา กลิ่นประทุม 3.3.27 น.ส.กมลพรรณ ล่าโสตร์ 3.3.28 น.ส.อนัญญา ทองดีเลิศ 3.3.29 น.ส.กุสุมา แขวงนคร 3.3.30 น.ส.ประภาศรี สุทธิวิวัฒน์ 3.3.31 น.ส.เนตรนภา ช้างดอนไพร3.3.32 นายปัญจภูมิ สิทธิคงศักดิ์ 3.3.33 น.ส.ศุภัจฉรา ศรีมุกข์ 3.3.34 น.ส.คัทลียา จันทร์สว่าง 3.4 มำตรฐำนด้านกำรจัดกำรศึกษำคำทอลิก 3.4.1 นางชรฎ โสนน้อย 3.4.2 นางศุลิษา มุกดาแสงสว่าง 3.4.3 นางมีนา กาญจนานุรักษ์ 3.4.4 น.ส.อังคณา กาญจนานุรักษ์3.4.5 น.ส.สรัลธร เจนวิชชุ 3.4.6 นางสุจิตร พิไลกุล 3.4.7 น.ส.วิรัญอร ระดมกิจ 3.4.8 น.ส.เกวลี เหลืองตระกูล 3.4.9 น.ส.ปวีณธิดา ฉายาลักษณ์ 3.4.10 นางสุกฤตา ปุญญพัฒกานต์3.4.11 น.ส.สุภาพร เจริญธรรม 3.4.12 นายกรกฎ ถาวรวงษ์ 3.4.13 น.ส.ศิริพรรณ ปั้นรูป 3.4.14 น.ส.อิศรา ประยูรมหิศร มีหน้ำที่ รวบรวมเอกสารแต่ละมาตรฐาน และสรุปเพื่อจัดท ารายงานตนเองประจ าปี (SAR) และน าเสนอ ผู้บริหาร / คณะกรรมการบริหารโรงเรียนเพื่อพิจารณาและด าเนินการต่อไป ให้บุคลากรที่ได้รับการแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรอบคอบ เพื่อให้เกิดความเรียบร้อย โดยมุ่งพัฒนา การบริหารจัดการในเชิงระบบ เพื่อส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพส าหรับนักเรียน และพัฒนา มาตรฐานการจัดการของโรงเรียน สั่ง ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2564 ลงชื่อ (บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ) ผู้อ านวยการโรงเรียนวีรศิลป์


คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานจัดทํา SAR (คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนวีรศิลป)


ค ำสั่งโรงเรียนวีรศิลป์ อ.ท่ำม่วง จ.กำญจนบุรี ที่ 24 / 2564 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมกำรผู้ประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยในโรงเรียนวีรศิลป์ (ระดับปฐมวัย) ................................................................ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่ต้องแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 มาตรา 48 มาตรา 50 ระบุให้สถานศึกษามีระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดท ารายงานประจ าปีเสนอต่อ หน่วยต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน โรงเรียนวีรศิลป์ จึงได้ด าเนินการให้มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานในการด าเนินงานทุกด้านของโรงเรียน เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพจากต้นสังกัดและจากหน่วยงาน ภายนอก ดังนั้นเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวีรศิลป์ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ได้มาตรฐาน ตามที่ก าหนด จึงขอแต่งตั้งคณะกรรมการการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อด าเนินการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. คณะกรรมกำรที่ปรึกษำ 1. บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ ประธาน 2. นางพรทิพย์ พงษ์สมบูรณ์ กรรมการ 3. นางรัตนา วีระศิลป์ กรรมการ 4. นางนุชรา ไทยถานันดร์ กรรมการ 5. นางสาวชมพูนุช ระดมกิจ กรรมการ 6. นางสาวจันทร์เพ็ญ บวงสวง กรรมการ มีหน้ำที่ 1) ก าหนดนโยบาย หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาด าเนินงาน เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา 2) เสนอแนวทางในการวางระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานในการประกัน คุณภาพภายใน 3) ให้ค าปรึกษาและเสนอแนะแนวทาง ก ากับ และติดตามเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในโรงเรียน 4) เสนอแนะและให้ความเห็นชอบอนุมัติรายงานการประเมินตนเอง (SAR) 5) สนับสนุนให้มีการพัฒนาคุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ และการประเมินตนเอง โดยถือว่า การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเนื่อง


2. คณะกรรมกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยในโรงเรียน มำตรฐำนที่ 1 คุณภำพของเด็ก 1. นางนุชรา ไทยถานันดร์ ประธาน 2. นางล ายอง ใสสกุล กรรมการและเลขานุการ มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร 1. นางพรทิพย์ พงษ์สมบูรณ์ ประธาน 2. นางรัตนา วีระศิลป์ กรรมการและเลขานุการ มำตรฐำนที่ 3 กำรจัดประสบกำรณ์ที่เน้นเด็กเป็นส ำคัญ 1. นางนัยนา แปลงกิริยา ประธาน 2. นางสาวจันทร์เพ็ญ บวงสวง กรรมการและเลขานุการ มำตรฐำนที่ 4 กำรจัดกำรศึกษำคำทอลิก 1. นางสาวชมพูนุช ระดมกิจ ประธาน 2. นางนิภา วัฒนารมย์ กรรมการและเลขานุการ มีหน้ำที่ 1) ประเมินคุณภาพการศึกษาด้วยตนเอง และจัดท าข้อมูลตามมาตรฐานการศึกษาที่กระทรวงและ โรงเรียนก าหนด 4 มาตรฐาน เก็บรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล 2) บันทึกข้อมูลจากการตรวจสอบ และน าเสนอผู้จัดท าเอกสารการประเมินคุณภาพการศึกษา 3. คณะกรรมกำรจัดท ำรำยงำนกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำ 1. นางพรทิพย์ พงษ์สมบูรณ์ ประธาน 2. นางรัตนา วีระศิลป์ กรรมการ 3. นางนุชรา ไทยถานันดร์ กรรมการ 4. นางสาวชมพูนุช ระดมกิจ กรรมการ 5. นางนัยนา แปลงกิริยา กรรมการและเลขานุการ ทั้งนี้ขอให้บุคลากรที่ได้รับการแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรอบคอบ เต็มความสามารถ เพื่อให้เกิดผล ส าเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ และเพื่อผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนต่อไป สั่ง ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2564 ลงชื่อ ( บาทหลวงเสกสิฐ เล้ากิจเจริญ ) ผู้อ านวยการโรงเรียนวีรศิลป์


หลักฐานการเผยแพร SAR ใหผูมีสวนเกี่ยวของหรือสาธารณชนรับทราบ (หลักฐานการเผยแพร SAR )


หลักฐานการเผยแพร่ SAR ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือสาธารณชนรับทราบ


แผนผังอาคารสถานท ี่ (แผนผังอาคารเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)


โรงเรยีนวรีศลิป์สภอ.ทา่มว่ง ทวี่า่กแยกหนองตาบง่ตลาดทา่มว่ง ไฟแดงไฟแดงปม้ัเอสโซ่มลูนธิิMOL ไฟแดงแยกMOL โรงพยาบาลทา่มว่งสวนรกุขชาติหนว่ยรถขดุโลตสัทา่มว่งเขอื่นแมก่ลองแ ม่น้า แ ม่ก ล อ งถ น น แ ส ถน น แส ง ชูโ โรงเรียนวีรศลิป์อ.ท่ากา ญ จ น บุรี แผนที่ตั้งของโรงเรียนวีรศิ


แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ปีการศึกษา(ฉบับปรับปรุง) 25601-2564 โรงเรียนวีรศิลป์ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน้าที่ 1 การอ.ทา่มว่ง แยกหนองเสอืไฟแดงแยกหนองเสอื ไฟแดงแยกทา่มะกาไฟแดงแยกทา่เรอื-พระแทน่ไฟแดงแยกทา่เรอืไฟแดงวงัขนายสะพานบา้นใหม่ ง ชูโ ต ส า ยใ ห ม่ ตส ายเก่าาม่วงจ.กาญจนบุรี กรุงเท พ ฯ ศิลป์ อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี


บ้านพักซิสเตอร์ บ้านพักพระสงฆ์ โรงรถ เสาธง แผนผังอาคารสถานที่ปีการศึกษา 2555 ประถม – มัธยม ห้องน้้าอาคารเฉลิมพระเกียรติอาคารคาเร็ตโต อาคารเอนกประสงค์ โรงอาหาร โรงเก็บของ อาคารปีติมหาการุญ หอประชุมอนุบาล สวนหย่อม สนามกีฬา อาคารเดลลาโตร์เร ทางเข้า ทางออก อาคารปีติมหาการุญ จ้าหน่าย อาหาร แผนผังโรงเรียนวีรศิลป์ ห้องค้าสอน โบสถ์วัดแม่พระมหาทุกข์


. อาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องเรียน ห้องประกอบ แผนผังอาคารอาคารเฉลิมพระเกียรติและอาคารคาเร็ตโต ปีการศึกษา 2563 อาคารเฉลิมพระเกียรติชั้น 4 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ห้อง ซาวด์แล็บ ป.6/P ป.6/E อาคารคาเร็ตโต ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 3 ห้อง ลูกเสือ ห้อง ประกอบการ ม.2-I ม.1-I ม.1/2 ม.1/1 ป.5/1 ป.5/2 ป5/3 ป.5/4 ห้อง นาฏศิลป์ ห้อง นาฏศิลป์ ป.5/P ป.5/E อาคารคาเร็ตโต ชั้น 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 2 วิทย์ มัธยม ม.2/1 ม.2/2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3-I ห้อง IEP1 ห้อง IEP2 ห้อง สื่อ ห้อง สืบค้น ห้องคอมฯ ห้อง ดนตรี ไทย ห้อง อุปกรณ์ อาคารคาเร็ตโต ชั้น 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 1 ศูนย์ คณิต ห้องสมุดมัธยม ห้อง ดนตรี ห้อง แนะ แนว ห้อง กิจการ ห้อง อเนก ประสงค์ ห้อง พยาบาล ห้อง ธุรการ ห้อง ศักดิ์ศรี ห้อง ผู้จัด การ ห้อง วิชาการ ห้องพัก ครู ห้องพักครู


แผนผังอาคารเดลลาโตร์เร ชั้น 4 ป.3-E 8x8 ม. ป.3-P 8x8 ม. ป.4/1 8x8 ม. ป.4/2 8x8 ม. ป.4/3 8x8 ม. ห้องเรียน IEP ชั้น 3 ป.3-I 8x8 ม. ป.3/4 8x8 ม. ป.3/3 8x8 ม. ป.3/2 8x8 ม. ป.3/1 8x8 ม. ห้องประกอบการ ชั้น 2 ป.1/2 8x8 ม. ป.1/3 8x8 ม. ป.1/A 8x8 ม. ป.1-I 8x8 ม. ป.1-E 8x8 ม. ห้องซาวน์แลป ชั้น 1 ห้องอาหารระดับปฐมวัย ห้อง พยาบาล ห้อง ปกครอง ห้อง ประชุม


ร ปีการศึกษา 2563 ป.4-I 8x8 ม. ป.4-E 8x8 ม. ป.4-P 8x8 ม. ห้องน้้า ชาย/ หญิง 7 ห้อง ห้องเรียน IEP ห้องนาฎศิลป์ ป.2-P 8x8 ม. ป.2-E 8x8 ม. ป.2-I 8x8 ม. ห้องน้้า ชาย/ หญิง 7 ห้อง ป.2/3 ป.2-A ห้องวิทยาศาสตร์ ป.1-P 8x8 ม. ป.2/1 8x8 ม. ป.2/2 8x8 ม. ห้องน้้า ชาย/ หญิง 7 ห้อง ป.1/1 8x8 ม. ห้องคอมพิวเตอร์ ห้อง ผู้บริหาร ห้อง วิชาการ ห้องพักครู ห้อง สุขา ห้องโถงชั้นล่าง ห้องสมุดระดับประถม


แผนผังอาคารสถานท ี่ (แผนผังอาคารเรียน ระดับปฐมวัย)


แผนผังอาคารสถานที่ ระดับปฐมวัย ปีการศึกษา 2564 ชั้น 3 คอมพิวเตอร์ อ.3/6 อ.3/5 ห้องเรียน IEP (1) ห้องเรียน IEP (2) ห้อง ดนตรี ห้องเก็บ อุปกรณ์ ห้อง ภาษา อังกฤษ ห้อง เฟื่องฟ้า ห้องสุขา ระเบียงทางเดิน ระเบียงทางเดิน อ.3/7 อ.3/8 ชั้น 2 อ.3/3 อ.3/4 อ.2/8 อ.2/7 อ.2/6 อ.2/5 อ.2/4 อ.2/3 ห้องศูนย์ การเรียน ห้องสุขา ระเบียงทางเดิน ระเบียงทางเดิน อ.3/2 อ.3/1 ชั้น 1 อ.1/3 อ.1/4 อ.1/5 อ.1/6 อ.1/7 อ.1/8 อ.2/1 อ.2/2 ห้องธุรการ ปฐมวัย ห้องสุขา ระเบียงทางเดิน ระเบียงทางเดิน อ.1/2 อ.1/1


โครงสรางการบริหารงานโรงเรียน (โครงสรางการบริหารงานโรงเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)


แผนภูมิโครงสร้างการบริ มุขน ผู้อ านว กลุ่มงานบริหารวิชาการ กลุ่มงานบริหารงบประมาณ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนวีรศิลป์ ผู้รับใบ ศูนย์วิชาการโรงเรียนในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี 1. งานพัฒนาหลักสูตร 2. งานพัฒนากระบวนการเรียน การสอน 3. งานวัดผล ประเมินผลและ เทียบโอน 4. งานนิเทศการสอน 5. งานแนะแนวการศึกษา 6. งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา 7. งานห้องสมุด ผู้จัด 1. งานบริหารการเงิน - จัดท าและเสนอขอ งบประมาณ - จัดสรรงบประมาณ 2. งานบริหารการบัญชี 3. งานตรวจสอบ ติดตามประเมิน และรายงาน ผลงาน ผลการ ใช้เงินและผลการด าเนินงาน 1.งานสรรหา บรร จ าหน่ายครู 2.งานสวัสดิการค 3.งานวินัยและกา พิจารณาความดี 4.งานพัฒนาบุคล กลุ่มงานบริหา นักเรียน ผู้ป


ริหารงานโรงเรียนวีรศิลป์ นายก ฝ่ายอบรมศึกษาสังฆมณฑลราชบุรี วยการ อนุญาต เครือข่ายผู้ปกครอง 1. งานสอนค าสอน 2. งานกิจกรรมคาทอลิก 3. งานสอนคริสตศาสนา 4. งานคุณธรรมและ จริยธรรม 5. งานศาสนสัมพันธ์ 6. งานอภิบาลและแพร่ธรรม การ 1. งานธุรการ 2. งานกิจการนักเรียน 3. งานสัมพันธ์ชุมชน 4. งานสารสนเทศ 5. งานอาคารสถานที่ 6. งานมาตรฐานคุณภาพ การศึกษา - ประกันคุณภาพ - นโยบายและแผนงาน - บริหารความเสี่ยง 7. งานพัฒนาสุนทรียภาพ 8. งานส่งเสริมสนับสนุนศิลปะ และวัฒนธรรม กลุ่มงานจิตตาภิบาล รจุ แต่งตั้งและ ครูและบุคลากร ารรักษาวินัย/ ดีความชอบ ลากร ารงานบุคคล กลุ่มงานบริหารทั่วไป กครอง และชุมชน


โครงสรางการบริหารงานโรงเรียน (โครงสรางการบริหารงานโรงเรียน ระดับปฐมวัย)


แผนภูมิโครงสร้างการบริ มุขน ผู้อ านว กลุ่มงานบริหารวิชาการ กลุ่มงานบริหารงบประมาณ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนวีรศิลป์ ผู้รับใบ ศูนย์วิชาการโรงเรียนในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี 1. งานพัฒนาหลักสูตร 2. งานพัฒนากระบวนการเรียน การสอน 3. งานวัดประเมินผลและเทียบโอน 4. งานนิเทศการสอน 5. งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา 6. งานพัฒนาสื่อนวัตกรรมและ เทคโนโลยี 7. งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ผู้จัด 1. งานบริหารการเงิน - จัดท าและเสนอขอ งบประมาณ - จัดสรรงบประมาณ 2. งานบริหารการบัญชี 3. งานตรวจสอบ ติดตามประเมิน และรายงาน ผลงาน ผลการ ใช้เงินและผลการด าเนินงาน 1.งานสรรหา บรร จ าหน่ายครู 2.งานสวัสดิการค 3.งานวินัยและกา พิจารณาความดี 4.งานพัฒนาบุคล กลุ่มงานบริหา นักเรียน ผู้ป


ริหารงานโรงเรียนวีรศิลป์ นายก ฝ่ายอบรมศึกษาสังฆมณฑลราชบุรี วยการ อนุญาต เครือข่ายผู้ปกครอง 1. งานสอนค าสอน 2. งานกิจกรรมคาทอลิก 3. งานสอนคริสตศาสนา 4. งานคุณธรรมและ จริยธรรม 5. งานศาสนสัมพันธ์ 6. งานอภิบาลและแพร่ธรรม การ 1. งานธุรการ 2. งานกิจการนักเรียน 3. งานสัมพันธ์ชุมชน 4. งานสารสนเทศ 5. งานอาคารสถานที่ 6. งานมาตรฐานคุณภาพ การศึกษา - ประกันคุณภาพ - นโยบายและแผนงาน - บริหารความเสี่ยง 7. งานพัฒนาสุนทรียภาพ 8. งานส่งเสริมสนับสนุนศิลปะ และวัฒนธรรม กลุ่มงานจิตตาภิบาล รจุ แต่งตั้งและ ครูและบุคลากร ารรักษาวินัย/ ดีความชอบ ลากร ารงานบุคคล กลุ่มงานบริหารทั่วไป กครอง และชุมชน


โครงสรางหลักสูตร เวลาเรียน ของโรงเรียน (โครงสรางหลักสูตร ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)


Click to View FlipBook Version