The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บทความเต็ม_4U

บทความเต็ม_4U

A


B การประชุมวิชาการด้านความก้าวหน้าทางศิลปะ วัฒนธรรมและการออกแบบ ระดับชาติ ครั้งที่ 4 ประจำาปี 2565 “Transforming the Country through Art, Culture and Innovation” วันที่ 11 กรกฎาคม 2565 ณ คณะศิลปวิจิตร สถาบัณฑิตพัฒนศิลป์


C โครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ ครั้งที่ 4 ประจ าปี 2565 ภายใต้หัวข้อ : ศิลปะ วัฒนธรรมและนวัตกรรมพลิกโฉมประเทศ (Transforming the Country through Art, Culture and Innovation) โครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ ครั้งที่ 4 ประจ าปี 2565 จัดขึ้นเพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ด้านผลงานสร้างสรรค์ระหว่างศิลปิน คณาจารย์ และนักศึกษา ทั้งงานด้านศิลปกรรมทุกแขนง งานสถาปัตยกรรม และงานการออกแบบใน สาขาศิลปะอื่น ๆ ภายใต้หัวข้อที่ก าหนดในแต่ละปี โครงการฯ ดังกล่าวเป็นผลสืบเนื่องมาจากความร่วมมือของมหาวิทยาลัยทั้งจากภาครัฐ และภาคเอกชนที่มีการเรียนการสอนด้านศิลปะและการออกแบบประกอบด้วย คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และคณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ภาคีเครือข่าย 4U PLUS) โดยมีจุดมุ่งหมายของโครงการเพื่อเป็นเวทีให้คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และบุคคลผู้สนใจ ได้น าเสนอผลงานทางวิชาการและผลงานสร้างสรรค์ด้านศิลปกรรม ผลงานด้านการ ออกแบบ ต่อสาธารณชน ในรูปแบบของการจัดประชุมวิชาการและการจัดแสดงนิทรรศการ โดย ผลงานที่น าเสนอและจัดแสดงจะผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิระดับชาติ การจัดท าโครงการครั้งนี้ นอกจากเป็นการสร้างความร่วมมือของ 4 สถาบันแล้ว ยังมี องค์กร สถาบันศิลปะ และศิลปินนักออกแบบจากต่างประเทศทั้งในทวีปเอเชียและยุโรปส่งผลงานเข้า ร่วมน าเสนอ อาทิ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ จีน สาธารณรัฐเกาหลี ไต้หวัน อินเดีย อิตาลี ฯลฯ ซึ่งนับเป็นโอกาสส าคัญที่จะก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์ และวัฒนธรรม ในการ สร้างสรรค์ผลงานการออกแบบในลักษณะต่าง ๆ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานวิชาการด้าน ผลงานสร้างสรรค์ต่อไปในอนาคต


D สารจากอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาในนามภาคีเครือข่าย 4U PLUS ซึ่งประกอบด้วย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และคณะศิลปวิจิตร สถาบัน บัณฑิตพัฒนศิลป์ ร่วมกันจัดโครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์ น าน า ช าติ ค รั้งที่ 4 (The 4th National Academic Conference for the Advancement in Art, Culture and Design & the International Arts & Designs Collaborative Exhibition 2022) ภายใต้ หัวข้อ : “ศิลปะ วัฒนธรรมและนวัตกรรมพลิกโฉมประเทศ (Transforming the Country through Art, Culture and Innovation)” โดยในปี 2565 นี้ คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้รับเกียรติ จากภาคีเครือข่าย 4U PLUS ให้เป็นเจ้าภาพหลักในการด าเนินงาน การจัดการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติครั้งนี้ ณ คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ที่ได้รับความสนใจจากนักวิชาการด้านศิลปะและการ ออกแบบสาขาต่าง ๆ และศิลปินทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงศิลปินรับเชิญที่มีชื่อเสียงทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ ส่งผลงานเข้าร่วมโครงการ นอกจากนี้ยังได้รับความสนับสนุนอย่างดียิ่งจากสภา คณบดีศิลปะและการออกแบบแห่งประเทศไทยและได้รับความเอื้อเฟื้อสถานที่จากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ในการจัดนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ ถือเป็นการขยาย ขอบเขตความร่วมมือออกไปอีกระดับหนึ่ง สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์หวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการนี้จะประสบผลส าเร็จและได้รับการขยาย ผลต่อยอดก้าวไกลออกไปโดยล าดับ นางนิภา โสภาสัมฤทธิ์ อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒศิลป์


E สารจากคณบดีคณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ภาคีเครือข่ายความร่วมมือของมหาวิทยาลัยจากภาครัฐและภาคเอกชนที่มีการเรียนการสอน ด้านศิลปะและการออกแบบ (ภาคีเครือข่าย 4U PLUS) ประกอบด้วย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และคณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ร่วมกันจัด โครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ (The National Academic Conference for the Advancement in Art, Culture and Design & the International Arts & Designs Collaborative Exhibition) มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นเวทีให้คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และ ผู้สนใจได้น าเสนอผลงานทางวิชาการและผลงานสร้างสรรค์ด้านศิลปกรรม และผลงานด้านการออกแบบ ต่อสาธารณชน ในรูปแบบของการจัดประชุมวิชาการและการจัดแสดงนิทรรศการ โดยผลงานเหล่านั้นผ่าน การพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิระดับชาติ ซึ่งจะเป็นเวทีถ่ายทอดองค์ความรู้และต่อยอดงานทางด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ และพัฒนาผลงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ให้สามารถรับใช้สังคมได้อย่างยั่งยืน ตลอดจนเป็น การสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ระหว่างสถาบัน อันจะเป็นรากฐานไปสู่ความร่วมมือทางวิชาการหรือด้าน อื่น ๆ แสดงให้เห็นบทบาทของผลงานทางวิชาการ ผลงานสร้างสรรค์และการออกแบบที่มีต่อการพัฒนา สังคมและประเทศของมวลมนุษยชาติอย่างแท้จริงต่อไป ในปี 2565 นี้ คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ มีความยินดีที่ได้รับเกียรติจากภาคี เครือข่าย 4U PLUS ให้เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผล งานสร้างสรรค์นานาชาติครั้งที่ 4 ประจ าปี 2565 (The 4th National Academic Conference for the Advancement in Art, Culture and Design & the International Arts & Designs Collaborative Exhibition 2022) ภายใต้หัวข้อ : “ศิลปะ วัฒนธรรมและนวัตกรรมพลิกโฉมประเทศ (Transforming the Country through Art, Culture and Innovation)” ณ คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ โดยได้รับความสนับสนุนอย่างดียิ่งจากสภาคณบดีศิลปะและการออกแบบแห่งประเทศไทย, สถาบัน บัณฑิตพัฒนศิลป์ และได้รับความเอื้อเฟื้อสถานที่อาคารปฏิบัติการศิลปวัฒนธรรมอาเซียนเฉลิมพระเกียรติ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ในการจัดนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ คณะศิลปวิจิตรขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ การจัดการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติครั้งนี้มี ผู้สนใจส่งบทความวิชาการด้านงานวิจัย บทความวิชาการงานสร้างสรรค์ และผลงานสร้างสรรค์ศิลปกรรม และการออกแบบเข้าร่วมโครงการจ านวนมากเป็นไปตามเป้าหมาย คณะศิลปวิจิตรในนามของเจ้าภาพ ขอขอบคุณและขอแสดงความยินดีกับผู้ส่งผลงานเข้าร่วมโครงการทุกท่าน ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญพาด ฆังคะมะโน คณบดีคณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


F สารจากคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านความก้าวหน้าทางศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ และนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ เป็นโครงการความร่วมมือระหว่าง 4 มหาวิทยาลัยใน เครือข่าย 4U Plus เพื่อสร้างเวทีเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและผลงานสร้างสรรค์ อันเกิดจากงานบริการ วิชาการ งานวิจัยและความสนใจของคณาจารย์ นิสิต นักศึกษา ผู้ที่สนใจและศิลปินทั้งในและต่างประเทศ ด้านศิลปะและการออกแบบ โดยความร่วมมือในครั้งนี้เป็นการจัดงานร่วมกันเป็นครั้งที่ 4 ซึ่งในทุก ๆ ปีก็ จะมีผลงานที่ส่งมาเข้าร่วมเผยแพร่ โดยถูกถ่ายทอดผ่านการสร้างสรรค์งานศิลปะในทุกแขนง คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในฐานะเจ้าภาพร่วม มีความยินดีที่จะเห็นความยั่งยืนของ โครงการ การแลกเปลี่ยนแนวคิดทางศิลปะ องค์ความรู้ ประสบการณ์ และวัฒนธรรม ในการสร้างสรรค์ ผลงานการออกแบบในลักษณะต่าง ๆ ในวงที่กว้างขึ้น รวมถึงการต่อยอดองค์ความรู้เพื่อช่วยพัฒนา คุณภาพทางการศึกษาด้านศิลปกรรมในระดับชาติให้เกิดความก้าวหน้ายิ่งขึ้นต่อไป ขอขอบคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่ร่วมด าเนินการให้เกิดกิจกรรมในครั้งนี้ ขอขอบคุณเครือข่าย มหาวิทยาลัยและศิลปินทุกท่านส าหรับการส่งผลงานวิชาการและงานสร้างสรรค์เข้าร่วมเพื่อแสดงให้เห็น คุณค่าของงานศิลปะในแง่มุมต่าง ๆ หวังเป็นอย่างยิ่งว่างานประชุมวิชาการและงานนิทรรศการครั้งนี้จะ เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนให้เกิดการตระหนักรู้ถึงความส าคัญในด้านศิลปะ วัฒนธรรมและการ ออกแบบยิ่ง ๆ ขึ้นไป อาจารย์กมลศิริ วงศ์หมึก คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


G สารจากคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี นโยบายของรัฐบาลได้ก าหนดแนวคิดให้เศรษฐกิจสร้างสรรค์(Creative Economy)และ เศรษฐกิจดิจิตอล (Digital Economy) เป็นกลไกที่ส าคัญอย่างหนึ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีนโยบาย Thailand 4.0 เป็นกรอบด าเนินงานที่ส าคัญของการขับเคลื่อนประเทศไทย ซึ่งภายใต้กรอบ แนวคิดดังกล่าวนี้การขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้อาศัยพื้นฐานของการใช้องค์ความรู้ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ ไอเดียใหม่ ๆ หรือทรัพย์สินทางปัญญาของปัจเจกบุคคลเชื่อมโยงเข้ากับต้นทุนทางสังคมและ ศิลปะวัฒนธรรม ส าหรับพัฒนาเทคโนโลยีดิจิตอล สร้างนวัตกรรมสมัยใหม่ รวมถึงการสร้างผู้ประกอบการ ใหม่ๆ ให้สามารถมีส่วนช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจตั้งแต่ระดับฐานรากขึ้นไปจนถึงระดับมหภาค เพื่อมุ่งเน้น ความเปลี่ยนแปลงและยกระดับกระบวนการผลิตและการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจทั้งภาคเกษตรและ อุตสาหกรรมในมิติต่าง ๆ ส าหรับโครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติ ครั้งที่ 4 ประจ าปี 2565 นี้ได้จัดขึ้นภายใต้หัวข้อ : ศิลปะ วัฒนธรรมและนวัตกรรมพลิกโฉมประเทศ (Transforming the Country through Art, Culture and Innovation) ซึ่งถือเป็นการต่อยอดความ ร่วมมือของมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่มีการเรียนการสอนในศาสตร์ทางด้านศิลปกรรม ประกอบด้วย คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจ บั ณฑิ ต ย์ ค ณ ะ ศิ ล ป ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า แ ล ะ ค ณ ะ ศิ ล ป ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี (ภาคีเครือข่าย 4U PLUS) เพื่อเป็นเวทีให้คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และบุคคลผู้สนใจทั่วไปได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ผลงานวิจัยสร้างสรรค์ในศาสตร์ทางด้านศาสตร์ ศิลปกรรมแขนงต่าง ๆ ออกสู่สาธารณะชน และถือเป็นการพัฒนาผลงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ให้สามารถรับ ใช้สังคมได้อย่างยั่งยืน สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ในนามคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ต้อง ขอขอบพระคุณสมาชิกภาคีเครือข่าย 4U PLUS ทุกท่านที่ได้ร่วมแรงกายแรงใจในการขับเคลื่อนและ เล็งเห็นถึงผลสัมฤทธิ์ส าคัญอันจะเกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมโครงการฯในครั้งนี้ ส่งผลให้กิจกรรม โครงการฯส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากผลงานวิจัย/สร้างสรรค์ ในศาสตร์ทางศิลปกรรมแขนงต่าง ๆ จะกลายเป็นนวัตกรรมส าคัญส าหรับการพัฒนาประเทศชาติต่อไป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิริชัย พุ่มมาก คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี


H สารจากคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา การประชุมวิชาการด้านความก้าวหน้าทางศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ ระดับชาติและ การแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติครั้งที่ 4 ประจ าปี 2565 ภายใต้หัวข้อ "ศิลปะ วัฒนธรรมและ นวัตกรรมพลิกโฉมประเทศ” เป็นอีกหนึ่งโครงการที่จะส่งเสริมความร่วมมือระหว่างคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา กับ สถาบันการศึกษาทางด้านศิลปะและการออกแบบในประเทศไทยและนานาชาติ ซึ่งการจัดประชุมวิชาการและนิทรรศการในครั้งนี้ท าให้เกิดการสนับสนุนทั้งด้านการเรียนการ สอน และการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านศิลปกรรม จึงนับว่าเป็นความร่วมมือระหว่างสถาบันทาง การศึกษาที่ก่อให้เกิดประโยชน์หลากหลาย ไม่เฉพาะแต่คณาจารย์ศิลปิน หรือนักศึกษาที่เข้าร่วม แต่ยัง ช่วยส่งต่อองค์ความรู้แนวคิด แรงบันดาลใจให้แก่ผู้คน ชุมชน สังคม ประเทศชาติ ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย 4 Plus พวกเรามีหน้าที่ที่ส าคัญในการส่งเสริมคุณค่าของ ศิลปะและวัฒนธรรม กระผมรู้สึกเป็นเกียรติที่ได้มีส่วนร่วมและท างานร่วมกับเครือข่ายทุกท่านเพื่อสร้าง ชุมชนศิลปะให้เติบโตอย่างแข็งแกร่งส าหรับประเทศชาติ ในนามของคณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา กระผมขอขอบคุณเครือข่าย 4 Plus นักวิชาการ และศิลปินทุกท่านที่ร่วมกันท าให้กิจกรรมครั้งนี้ส าเร็จลุล่วงด้วยดีกระผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การประชุมวิชาการระดับชาติและนิทรรศการแสดงผลงานสร้างสรรค์นานาชาติครั้งที่ 4 ในครั้งนี้จะเป็น ส่วนผลักดันให้ความร่วมมือระหว่างคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาและสถาบันการศึกษา ทางด้านศิลปะและการออกแบบในประเทศไทยและนานาชาติให้พัฒนายิ่งขึ้นไป และขอให้การจัดงานครั้งนี้ บรรลุผลส าเร็จตามความมุ่งหมายทุกประการ รองศาสตราจารย์ ดร.เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา


I คณะที่ปรึกษา อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (นางนิภา โสภาสัมฤทธิ์) รองอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประวีนา เอี่ยมยี่สุ่น) รองอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์พหลยุทธ กนิษฐบุตร) รองอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์อ านวย นวลอนงค์) รองอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (รองศาสตราจารย์วรินทร์พร ทับเกตุ) ผู้ช่วยอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (นายสุรัตน์ จงดา) ผู้ช่วยอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (นายวรพงษ์อรุณเรือง) คณบดีคณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญพาด ฆังคะมะโน) คณบดีคณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (นางสาวศิริลักษณ์ ฉลองธรรม) คณบดีคณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (รองศาสตราจารย์จินตนา สายทองค า) ผู้อ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลป (ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิตติ อัตถาผล) คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา (รองศาสตราจารย์เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์) คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิริชัย พุ่มมาก) คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (นางสาวกมลศิริ วงศ์หมึก) ผู้อ านวยการส านักงานอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (นายสุรินทร์ วิไลน าโชคชัย) ผู้อ านวยการสถาบันศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธง อุดมผล)


J รายนามผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ ศ. ดร.สันติ เล็กสุขุม ศาสตรเมธีดร.ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์ ศ. ดร.ศุภกรณ์ดิษฐพันธุ์ ศ. ดร.ปานฉัตท์ อินทร์คง รศ.สรรณรงค์สิงหเสนี รศ. ดร.ชัยสิทธิ์ ด่านกิตติกุล รศ.ศุภชัย สุกขีโชติ รศ.ประเสริฐ พิชยะสุนทร รศ. ดร.พิเชษฐ์ เปียร์กลิ่น ศ. ดร.สมพร ธุรี รศ.สันติรักษ์ประเสริฐสุข ผศ. ดร.ฤทธิรงค์จุฑาพฤติกร ผศ.ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ ดร.ปรีชาวุฒิ อภิระติง ผศ.สิริทัต เตชะพะโลกุล ดร.ทนงจิต อิ่มส าอาง ดร.ชนากานต์ เรืองณรงค์ ผศ. ดร.ปรีญานันท์พร้อมสุขกุล ผศ. ดร.นิอร เตรัตนชัย ดร.อนุโรจน์ จันทร์โพธิ์ศรี ดร.วิจิตร อภิชาตเกรียงไกร ผศ. ดร.เพิ่มศักดิ์สุวรรณทัต ผศ. ดร.ภานุสรวยสุวรรณ ผศ. ดร.ภาสิต ลีนิวา ผศ.บุญพาด ฆังคะมะโน


สารบัญ Face Mask Brace Prototype Design by Recycled Materials ................................................. 3 Yu-Pei Kuo and Xing Yang การพัฒนาแบบฝึกทักษะการใช้สีโปสเตอร์ วิชาทัศนศิลป์ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎร์บ ารุง ............................................................................ 18 สุภัสสร แซ่ลี้และอธิพัชร์ วิจิตสถิตรัตน์ การพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ของโคล์บ เพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ศิลปะล้านนาผ่านกระบวนการประติมากรรม ......................................... 30 ธนพร เทพรักษา และเลิศศิริร์ บวรกิตติ การสร้างสรรค์ผลงานเพลงทางเทคโนโลยีด้านดนตรี........................................................................... 41 ธนะรัชต์ อนุกูล การปรับใช้แนวคิดการออกแบบเพื่อทุกคน ต่อการเข้าถึงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เพื่อรองรับผู้ใช้รถเข็น กรณีศึกษา วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร (วัดภูเขาทอง)................................... 51 อุกฤษ วรรณประภา การออกแบบแนวคิดรูปแบบการท่องเที่ยวเชื่อมโยงวิถีชีวิตชุมชนอ าเภอเกาะจันทร์ รอบบริเวณ อ่างเก็บน้ า คลองหลวงรัชชโลทร จังหวัดชลบุรี.............................................................. 62 ชยากร เรืองจ ารูญ การออกแบบหนังสือการ์ตูนเพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรของสาขาคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน และวิชวลเอฟเฟกต์ คณะดิจิทัลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม.............................................................. 77 วรากร ใช้เทียมวงศ์ The study of the development and innovation of public art in Japanese cities........................................................................................................................ 91 JiaWei Exploring the renovation of old houses in core urban areas based on environmental art design....................................................................................... 99 Li Xin Yu and Mok Chung Fai Study on the renovation of old houses in urban core areas under the 14th Five-Year Plan................................................................................................. 110 Mo Zhonghui and Li Xinyu On the flow of women’s skating clothing…………………………............................................... 127 ZhaoJing 1


สารบัญ (ต่อ) สภาวะความกดดันจากปมปัญหาชีวิต............................................................................................ 138 มนูญ วุฒิพงษ์, เมตตา สุวรรณศร และดวงหทัย พงศ์ประสิทธิ์ รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว............................................................................................ 148 ภาพตะวัน คุ่ยกลิ่น, เมตตา สุวรรณศร และศุภชัย สุกขีโชติ จินตนาการสายใยรักแห่งครอบครัว.............................................................................................. 162 กมลรส ชัยศรี, สรรณรงค์ สิงหเสนีและเมตตา สุวรรณศร การพัฒนาแนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยใช้อัตลักษณ์จิตรกรรมฝาผนัง “ฮูปแต้มอีสาน”................................................................................................................................ 174 พชร วงชัยวรรณ์และอินทิรา พรมพันธุ์ การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ชุด “วัฏจักรของชีวิต”........................................................................ 189 เกรียงไกร กงกะนันทน์ จินตภาพแห่งสายใยความผูกพัน....................................................................................................... 198 วิรายุทธ เสียงเพราะ, ศุภชัย สุกขีโชติและเมตตา สุวรรณศร รูปทรงแห่งจินตนาการของเทคโนโลยีเข้าแทนที่ธรรมชาติ................................................................. 208 พงศธร รอดจากทุกข์, เมตตา สุวรรณศร และศุภชัย สุกขีโชติ แนวทางการใช้ผ้าขาวม้าในการออกแบบเครื่องแต่งกายและผลิตภัณฑ์กีฬาฟุตบอล : กรณีศึกษาโครงการผ้าขาวม้าท้องถิ่น หัตถศิลป์ไทย...................................................................... 219 จักรพันธ์ สุระประเสริฐ 2


Face Mask Brace Prototype Design by Recycled Materials Yu-Pei Kuo (Dr.)* 1 1 Lecturer, Dhurakij Pundit University, E-mail [email protected] ABSTRACT During the pandemic, people wear medical masks to protect themselves, as a common consensus and regulation in most countries. However, as a universal design, medical masks are challenging to fit with individual faces to avoid the gap for viruses. Moreover, the disposable mask produced mass waste and environmental problems. This research aims to develop a sustainable mask brace prototype for improving the face fitting problem and adapt the material and tools into a flexible one capable of suiting local conditions and personal limitations by rationalizing recycling materials. This research follows the process based on design practice methodology to consist of product problem definition, design rationalization, prototype development, testing, and verification. Research outcomes suggest the designer abandons the solid product design but shares the prototype into the guideline to promote widely within benefit the public. The guideline provides a simple way for the public to produce personal mask braces easily with the reuse of mask ropes. As a feasible, low-cost solution, the flexible prototype of the mask brace enables adaptation to individual needs and functional requirements or to cope with existing site conditions. The coronavirus disease pandemic looks to ease but is unlikely to be put to an end yet, and no one knows when the new infections will arise. The concern motivates the research to seek solutions and coping mechanisms by design to develop knowledge and know-how relevant to today's situation while also preparing for unexpected challenges. KEYWORDS: coronavirus, Mask brace, Reuse, mask rope. Sustainable design, social design Introduction The coronavirus disease pandemic looks to ease but is still unlikely to end, and nobody knows when the new infections will arise. The concern motivates the research to seek solutions and coping mechanisms by design to develop knowledge and know-how relevant to today's situation while also preparing for unexpected challenges. Due to the coronavirus pandemic worldwide, the mask occupies a person's face all the time. With these years of Propaganda in the World Health Organization and the Centers for Disease Control and Prevention of each country, the public knows and accepts the importance of masks. 3


The use of masks is part of a comprehensive prevention and control measures package that can restrict the spread of certain respiratory viral diseases. Medical masks can be used to protect healthy persons by worn to protect oneself when in contact with an infected individual. Alternatively, source control by worn by an infected individual to prevent onward transmission. (Preparedness, 2020) Correct and consistent mask use is a critical step everyone can take to prevent getting and spreading coronavirus. However, the public is accessible to ignore checking if they are wearing a mask correctly in case of a gap for the virus, such as completely covering the nose and mouth and fitting snugly against the sides of the face and do not have gaps (World Health Organization, 2020). However, the mask is not just a cover; the fundamental problem is fitting to avoid the virus from the gap. Unfortunately, the medical mask is a universal design, most consumer-available masks are loose-fitting, and users are challenged to fit with the face to avoid the gap for the virus. In order to solve the problem, the US CDCi recommends fabric plus a medical mask or using a "mask brace" to prevent getting and spreading pandemic and suggests people how to improve the fitting of the mask with the face in the guidelines. (CDC, 2022). However, the way of fabric plus medical mask may not be suitable for some areas, such as the area with hot weather that, people are difficult to wear two masks. Therefore, the researcher would like to develop a mask brace prototype design by household materials to help people produce mask braces. Eventually, to reach the target that improves the universal mask's fitting problem. literature review 1. The mask fitting effect With these years of Propaganda by WHO and every country's CDC, the public knows and accepts masks' importance. Therefore, correct and consistent mask use is a critical step everyone can take to prevent getting and spreading pandemic. The mask usage is part of a comprehensive prevention and control measures package that can limit the spread of certain respiratory viral diseases, including coronavirus. Pick a mask with layers to keep the respiratory droplets and others out. A mask with layers will stop more respiratory droplets from getting inside the mask or escaping from the mask if being sick. (CDC, 2022) Medical masks can be used to protect healthy persons (worn to protect oneself when in contact with an infected individual), source control (worn by an infected individual to prevent onward transmission), or both. (Preparedness, 2020). Masks work best when everyone wears them, but not all masks provide protection. When choosing a mask, look at how well it fits, how well it braces the air, and how many layers it has. (CDC, 2022) Selecting a correct mask is essential; however, correctly wearing the mask is also essential. However, the public is easy to ignore to check if users are wearing a mask correctly. Therefore, the USA CDC guideline suggests that make sure the mask fits snugly against the face, covers the nose and mouth completely, fits 4


snugly against the sides of the face, and does not have gaps. Gaps can let air with respiratory droplets leak in and out around the edges of the mask. Figure 1 shows the gap path of the virus leaking. (CDC, 2022) Figure 1: The gap of virus leaking path: gaps around the sides of the face or nose. Source: https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/prevent-getting-sick/types-of-masks.html (CDC, 2022) Selecting a correct mask is essential; however, correctly wearing the mask is also essential. From the design view, the mask is a universal design product for the public, which means that it happens a lot that the mask does not fit the user's face because of size or shape. For the ergonomics causes, the US CDC guideline also points to suggestions to improve the fitting in three ways; the first way is wearing a mask brace or brace on the mask. The second way is to wear one disposable mask underneath a cloth mask with multiple layers of fabric, as shown in figure 2. The second mask should push the edges of the inner mask against the face and brace, and the third way is to knot the mask rope in figure 3. (CDC, 2022) People wearing two masks is good to increase protection, one medical mask; however, breathing might take more effort. In addition, some people would be challenged to stop wearing the mask because it is uncomfortable and airtight in some situations, such as under hot weather. Therefore, the project aims to design a sustainable mask brace to improve fit and reuse the waste mask ropes. The outcome provides a simple manner for the public to produce mask braces with the reused mask ropes in some conditions that make it difficult to wear two masks. However, no matter which way people choose to wear, the most critical point is comfortable to wear for a long time; the user should make sure the user can easily see and breathe consistently for the best protection (CDC, 2022). Otherwise, it is more dangerous if people need to adjust their masks with their hands. Therefore, considering the climate and temperature and the breathing problem, the project would 5


focus on the brace design to aim the public group not to be comfortable wearing two masks for a long time in certain areas or conditions. Figure 2: The two ways of improving the fitting Source: https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/prevent-getting-sick/types-of-masks.html (CDC, 2022) Figure 3: The knot ways of improving the fitting Source: https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/prevent-getting-sick/types-of-masks.html (CDC, 2022) 6


2. The waste of mask The Since the pandemic, face masks have been the norm to protect the public, which means thousands of masks are being thrown away every day. Some experts state their concern that discarded face masks could become a significant hazard to the environment, particularly wild animals and birds. Dumped masks have become a new hazard to the environment since the pandemic, so far to animals. Such animals are susceptible to tangling up in face masks such as Elastic bands, as they can wrap around animals' bodies or beaks and cause choking and other injuries. One such UK incident includes a gull who was found to have a face mask tightly around his legs and causing swelling. (BBC News, 2020) In waste mask cases, RSPCAii encourages people to cut up the disposable gloves and snip the straps on face masks to prevent animals from getting tangled (RSPCA, 2020). Please dispose of rubbish responsibly, reuse them, or cut them open before throwing them away. For the materials, dumped face masks have become a new hazard to the environment and animals; the agency encourages people to dispose of rubbish responsibly, reuse them where possible, or cut them open before throwing them away. It inspired the project to involve the mask ropes as materials as part of the design. In addition, there is an advantage for textile that the cloth could be cleaned by washing or airdrying to inactivate the virus (McCallum, 2020). The project gains the idea to collect the mask ropes to reuse in personal mask bracers for recycle use, and the ropes are easy to wash and disinfect. 3. The mask brace of commercially available Due to the public demand, there is some mask brace for general purchasing. Most braces produce ready-to-wear products with rubber or fabric. However, the common problem is how to fitting to an individual face. For example, the Company "FIX THE MASK" released mask brace by Biocompatible Silicone into three sizes. Customers need to check the personal sizing guide before placing the order, shown in figure 4. (Fix The Mask, 2022) 7


Figure 4: The 3D face mask brace by bellus3D company. Source: https://www.fixthemask.com/ (Fix The Mask, 2022) It is worth mentioning that 3D printed mask brace. The 3D printed face mask brace is a personalized 3D printed plastic frame contoured to the specific shape of a person's face to improve the seal of surgical or similar face masks, shown in figure 5. The consumer needs to operate the dedicated face-scanning App to generate a personal 3D face mask brace model to print in the 3D printer and then use band material to hold the brace around the head. (Bellus3D, 2021) (Bellus3D, 2021) There is no charge for the App and the printing cost starts at $1 per Mask brace. It needs to be mentioned that some 3D-printed materials may be porous and more difficult to sanitize. (Bellus3D, 2021) (Bellus3D, 2021) The 3D mask brace apply advantage in customized to fit with a personal face by 3D scanning. However, there is a problem to promote widely, especially for the elder and low-income groups. 8


Figure 5: The 3D face mask brace by bellus3D company. Source: https://www.bellus3d.com/solutions/facemask (Bellus3D, 2021) Methodology The researcher would like to experiment to explore mask brace prototype by understanding the mask structure and virus leaking path to be involved in a broad range of activities in response to the pandemic by the design practice, supported by experimenting and sharing conditions in daily use and the impact on health services. The research is practice-led research in design to explore the ideas from literature reviews to set up the prototype design, follows the process based on design practice methodology to consist of product problem definition, design rationalization, prototype development, testing, and user verification. The product problem definition was based on typical methods of designer individual exploring and comparative study review to set up the hypothesis. Design rationalization then used the gathered information to program the design and prototype development. During the experience prototyping phase, as the designer, the participants will gain first-hand experience in the situations involved and receive a substantial sensory experience and a subjective emotional experience. Implementing it aims to discover potential problems of a product or user experience in practical applications to allow the designer to analyze the product or service from the user’s direct perspective. The prototype and material testing involve application trials, defect detection, and evaluation to determine the suitability of a prototype and material for its designed use. The developed prototype was classified as a flexible functional brace, tested by users, and eventually upgraded for the guideline for the public to benefit more areas. 9


Design experiment and practice The inspiration for people wearing two masks, one medical mask and one fabric mask; however, people cannot stop adjusting the mask because it is uncomfortable and airtight in the hot weather. It is good that people try to wear masks correctly to avoid viruses with all the methods but fit different conditions. The project would like to design a brace that people can use household tools and materials to produce the brace easily and free. Nevertheless, people spent massive amounts of money and materials during the pandemic. 1. The mask brace structure The research follows the USA CDC guideline, figure 6-(a), as the beginning sample to analyze the structure of the mask brace. First, the research explored the mechanic's structure to predigest into line structure and then drew the 2D pattern as shown in figure 6-(b). The research expands from the CDC sample prototype into four hypothesis structures, drawn as shown in figure 7(CDC, 2022), and applied with actual flexible materials to test the condition. Figure 6: The mask brace prototype structure (b) of CDC sample brace (a). Source: https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/prevent-getting-sick/types-of-masks.html (CDC, 2022) The research drew the hypothesis line structures and applied them with actual flexible materials to test the effect. The research sorted out the result and hypothesis line structures in table 1. There are some advantages and disadvantages with the supposed line structures with the actual flexible material to wear. Both prototypes 1 and 3 fit with a face without a gap, but prototype 3 could adjust the fit position as an advantage. There is a fitting problem in prototype 2; therefore, the research adds side structure for prototype 2 into prototype 4 to improve the fitting problem. Compare the four structures. Prototype 4 is the best way to fit with the face, but is it essential to use many structures? or waste more materials? 10


Figure 7: The four mask brace prototype structure. Table 1: Effect result of each prototype Prototype (1) Prototype (2) Prototype (3) Prototype (4) fixed on face Yes Yes Yes Yes fitting to face Yes No No Yes Adjustable No No No Yes 2. The material The research set up the position in social design to benefit the low-income groups or goods and materials in limitation. Furthermore, considering the condition limitation, the research set up the material to gain the material efficiently and quickly in daily life, especially reuse materials. Therefore, it is better to acquire the material from daily or household materials which would be easier for the public. Moreover, the research suggests that coronavirus does not survive for long on clothing, compared to hard surfaces, and exposing the virus to heat may shorten its life. For example, a published study found that coronavirus was detectable on fabric at room temperature for up to two days, compared to seven days for plastic and metal. However, when exposed to high heat, the virus became inactive within five minutes (McCallum, 2020). In addition, there is an advantage for textile that the cloth could be clean by washing; consider using bleach or color-safe bleach, which may inactivate the virus if it is present. Moreover, placing the cleaned clothing into the dryer, drying a load of laundry thoroughly in the dryer, rather than air-drying, could be another way to inactivate the virus (Lee, 2020). 11


The research collected cloth band, elastic band, and rubber band applied with the test structure in practical application and listed the result in table 2. The experiment results that the cloth band with the advantage of collecting quickly, but without the flexible function, it would because a problem that the brace could not be fixed stable on the face. The rubber band is also a kind of household material which easy to collect. Some online resources teach the public how to DIY mask brace with rubber (Linder, 2021), similar to prototype (1)(Fix The Mask, 2022). The rubber band brace is easy to fix on the face with the experiment. However, due to the material flexibility being too strong at first, the user is uncomfortable, especially in the ears. Compared to cloth and rubber bands, the elastic band is more suitable for users: firstly, with flexible to fix on the face, and the material and width are more comfortable for users. The elastic band is also a common household material. In addition, the medical rope is also a kind of elastic band material. Considering the previous study about mask pollution and waste, the research explores the possibility of sustainable design to reduce the pollution and waste of medical masks. Therefore, the research decided to add the mask ropes to the list in table 2. Compare the materials' practical results and consider reducing the pollution and waste of masks. The researchers decided to set up the mask rope as the primary material and modify the test structure to fit the mask rope's fixed length to reduce mask waste. Table 2: Result of Each Material in Prototype Cloth bands Elastic bands Rubber bands Mask ropes Household material Yes Yes Yes Yes Flexible No Yes No Yes Result With the fixed problem on the face No length can adjust better to fix Uncomfortable for ears the flexible too strong to control Length fixed better to fix Clean Wash and Dry Wash and Dry Not enough data support Wash and Dry 3. The result and discussion Combine the consideration of user experience and materials about easy to gain and clean, moreover reuse the materials to protect the earth in we can do. The research decided to combine 12


prototype 3 with the reuse mask rope. Since the fixed length of the mask rope, the line structure needs to be modified. The research collected mask ropes tested the knot, and connected them to complete the prototype structure, shown in figure 8. The gathered mask rope length is about 16mm to 17mm, and choose the most straightforward way to tie the ropes. Prototype 3-1 uses three mask ropes to complete the basic circle and 2 for adjusting the brace. Furthermore, prototype 3-2 uses four ropes to complete the basic circle and two ropes as an adjusted brace—the different amounts of ropes for users to choose from with personal face size and materials condition. Figure 8: The Prototype structures extended from Prototype (3). As a practical research, the researcher recorded the experiment process from the collecting mask ropes to tie the ropes in knots, and the user presented the wearing process, shown in figure 9, 10, and 11. Figure 9: The collecting mask ropes. 13


Figure 10: The steps of wearing the mask brace. Figure 11: The mask brace presentation by user. To benefit to public broader, the research would like to expand the aspect from product design to social design. Therefore, the research outcome is not just a product design, a mask brace prototype, but a guideline for the public to improve the fitting and making by reusing waste mask ropes. Therefore, the research draws each step of producing the mask brace, as shown in figure 12 with description. 14


Figure 12: The step of making a brace by reusing mask ropes: (1) cut off the mask ropes from the waste mask and clean and dry the mask ropes. (2) collect five or six clean mask ropes. (3) use 3 or 4 ropes to tie fixed circle by personal condition. (4) use 1 rope ties an unfixed knot across the circle on one side. (5) use another rope to tie an unfixed knot across the circle on another side. (6) Wear the mask correctly follows by the CDC guidelines. (7) Wear the mask brace. (8) adjusted the unfixed knot to fit with the personal face. (9) check the comfort and fitting by the CDC guidelines. To reach the objectives to benefit more people and areas, the research suggests a different way to present the guilds in a free physical booklet and film tutorial. The company "FIX THE MASK" sells the product and also releases a free DIY version with a Video tutorial to teach the public cutting rubber sheet to gain a simple rubber mask brace. (Fix The Mask, 2022) Conclusion During the coronavirus pandemic worldwide, wearing a medical mask is essential to protect ourselves. However, the mask is a universal design and challenging to fit with an individual face to avoid the gap for the virus. On the other hand, the disposable mask also produces mass waste and environmental problems. The study aims to design a mask brace to improve the fitting with the face and reuse the waste mask rope. The project outcome provides a simple brace design to produce mask braces easily with the reuse of mask ropes and sustainable design principles. During the prototype design phase, the study analyzed the structure to build the prototype and applied it in actual practice to improve. The study also tested the prototype with different household materials. 15


There are no unique materials or high technology in this project. The objectives of the material and technology are to gain the needs efficiently and quickly in daily life. Therefore, it is better to acquire the material from daily or household materials. It would be easier for the public to set up household tools or handy ways to fit with the possible conditions of the users. In addition, the study's outcome is not just a product design, a mask brace prototype, but a guideline for the public to improve the fit and making by reusing waste mask ropes. To reach the objectives to benefit more people and areas, the users of experience feedback is significantly essential when improving a guideline design for the further phase. The coronavirus disease pandemic looks to ease but is unlikely to be put to an end yet, and no one knows when the new infections will arise. The concern motivates the research to seek solutions and coping mechanisms by design to develop knowledge and know-how relevant to today's situation while also preparing for unexpected challenges. References BBC News. (2020, July 20). Coronavirus: Gull caught in PPE face mask in Chelmsford. BBC. https://www.bbc.com/news/uk-england-essex-53474772 accessed on December 17, 2021 Bellus3D. (2021). How to Make Bellus3D’s face mask fitter. Bellus3D: High-Quality 3D Face Scanning. https://www.bellus3d.com/solutions/facemask accessed on March 18, 2022 CDC. (2022, April 9). Masks and respirators. Centers for Disease Control and Prevention. https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/prevent-getting-sick/types-of-masks.html accessed on April 21, 2022 FIX THE MASK. (2020, July 23). Essential Mask Brace. Kickstarter. https://www.kickstarter.com/projects/essentialbrace/essential-brace-designed-to-seal-your-loosefitting-mask accessed on April 24, 2022 Fix The Mask. (2022). Fix the mask. Fix The Mask. https://www.fixthemask.com/ accessed on April 24, 2022 Lee, B. Y. (2020, May 1). How Long Does COVID-19 Coronavirus Live On Clothes? How To Wash Them. Forbes Magazine. https://www.forbes.com/sites/brucelee/2020/05/01/how-long-does-covid-19- coronavirus-survive-on-clothes-how-to-wash-them/ accessed May 1, 2022 Linder, C. (2021, February 17). Everything you need to know about mask braces: Do they work? Can you make your own? Popular Mechanics. https://www.popularmechanics.com/science/health/a35520817/what-is-a-mask-brace/ accessed on April 24, 2022 McCallum, K. (2020). How long can Coronavirus survive on clothes? https://www.houstonmethodist.org/blog/articles/2020/apr/how-long-can-coronavirus-survive-onclothes/ accessed on December 17, 2021 Preparedness, E. (2020). Advice on the use of masks in the community, during home care and in healthcare 16


settings in the context of the novel coronavirus (COVID-19) outbreak. World Health Organization. https://www.who.int/publications/i/item/advice-on-the-use-of-masks-in-the-community-duringhome-care-and-in-healthcare-settings-in-the-context-of-the-novel-coronavirus-(2019 - ncov)- outbreak RSPCA. (2020). “Snip the straps” off face masks as Great British September Clean launches. https://www.rspca.org.uk/-/news-face-masks-spring-clean accessed on December 17, 2021 World Health Organization. (2020). Coronavirus disease (COVID-19) advice for the public: When and how to use masks. https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/ advice-forpublic/when-and-how-to-use-masks accessed on December 17, 2021 i CDC, short for “Centers for Disease Control and Prevention”. Government agency of each country whose primary goal is to protect public health and safety through the control and prevention of disease. During the pandemic, the CDC of each country took a vital role in controlling and guiding the proper public knowledge of coronavirus. ii RSPCA, short for "Royal Society for the Prevention of Cruelty to Animals." The RSPCA is the Largest Animal Welfare Charity in England and Wales and the oldest and largest animal welfare organization globally. 17


รอตเสปโีสชใรากะษกัทกฝบบแานฒัพราก ปลิศนศัทาชิว ีทปาษกึศมยธัมนัชนยีรเกันงอข 2 งุรำบรฎษารีลพงาบนยีรเงรโ THE DEVELOPMENT OF GOUACHE COLOUR EXERCISES IN VISUAL ART SUBJECT FOR SECONDARY 2 SYUDENTS’ BANGPLEERATBAMRUNG SCHOOL (กศ.ม.)1 , อธิพัชรวิจิตสถิตรัตน (ศษ.ด.)2 1 ูรค งุรำบรฎษารีลพงาบยีรเงรโ ะลแ [email protected] 2 ยราจาอ รด . รชัพิธอ นตัรติถสติจิว าษกึศปลิศาชิวาขาสยราจาอ รตสาศมรรกปลิศะณค ยัลายทิวาหม รโิวรทนิรคนีรศ ฒ E-mail [email protected] อยดัคทบ ัทกฝบบแานฒัพราก ก รอตเสปโีสชใรากะษ ปลิศนศัทาชิว ีทปาษกึศมยธัมนัชนยีรเกันงอข 2 งุรำบรฎษารีลพงาบนยีรเงรโ อืพเยามหงุมดุจีมีทยัจิวรากนปเ 1) ีทปาษกึศมยธัมนัชนยีรเกันงอขรอตเสปโีสชใรากะษกัทกฝบบแงอขพาภิธทิสะรปาษกึศ 2 งุรำบรฎษารีลพงาบนยีรเงรโ 2) กะษกัทาษกึศอืพเ าร ีทปาษกึศมยธัมนัชนยีรเกันงอขรอตเสปโีสชใ 2 บบแยวดนยีรเงัลหะลแนอก ีทปาษกึศมยธัมนัชนยีรเกันงอขรอตเสปโีสชใรากะษกัทกฝ 2 งุรำบรฎษารีลพงาบนยีรเงรโ ยัจิวรากนใชใีทอืมงอืรคเ กแดไ กฝบบแ รอตเสปโีสชใรากะษกัท มลเ 1 และ 2 คิรบูรบบแนนแะคหใรากฑณกเีม ส งัลหะลแนอกะษกัทดัวบัรหำสชใอืพเ ยัจิวูผ าษกึศรากีธิวีม งายอวัตมุลกนยีรเกันบักรอตเสปโีสชใรากะษกัทกฝบบแชใงอลดทรากรากยวด ีทปาษกึศมยธัมนัชนยีรเกันนปเ 2 จำนวน 1 หองเรียน 45 นค งจะาจเบบแกอืลเรากกาจามดไงึซ ิกดัจยคเยัจิวูผีทนยีรเงอหนปเกาจงอืนเ จกรรมการเรียนในปการศึกษากอน ีทปาษกึศมยธัมนัชบัดะรนใานห 1 ีทมลเรอตเสปโีสชใรากะษกัทกฝบบแชใรากยวดาษกึศรากนินเำดยัจิวูผ 1 และ 2 รากมรรกจิกดัจ ดมหงัทมวรนอสรากนยีรเ 10 กิจกรรม ในเวลาเรียนคาบละ 55 นาทีเปนเวลา 10 สัปดาหสัปดาหละ 1 กิจกรรม ผลการศึกษา สามารถสรุปผลการวิจัยไดวา 1) ีทปาษกึศมยธัมนัชนยีรเกันงอขรอตเสปโีสชใรากะษกัทกฝบบแ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง ีทมลเ 1 นปเพาภิธทิสะรปีม 88.55/94.32 อืคดนหำกีทฑณกเาวกงูสงึซ 80/80 2) นัชนยีรเกันงอขรอตเสปโีสชใรากะษกัทกฝบบแ ีทปาษกึศมยธัม 2 โร งุรำบรฎษารีลพงาบนยีรเง ีทมลเ 2 มีประสิทธิภาพเปน 85.68/93.83 อืคดนหำกีทฑณกเาวกงูสงึซ 80/80 3) ีทปาษกึศมยธัมนัชนยีรเกันงอขรอตเสปโีสชใรากะษกัทกฝบบแชใยดโนยีรเีทงอลดทมุลกนยีรเกัน 2 งุรำบรฎษารีลพงาบนยีรเงรโ รอตเสปโีสชใรากะษกัทยีลฉเาคีม หลั บัดะรีทิติถสงาทญัคำสยันีมงายอนยีรเนอกาวกกามนยีรเง .05 นยีรเรากงาทิธทฤมัสลผอืควาลก ีทปาษกึศมยธัมนัชนยีรเกันงอขรอตเสปโีสชใรากะษกัทกฝบบแยวดนยีรเงัลห 2 ีดฑณกเนใูยองุรำบรฎษารีลพงาบนยีรเงรโ ญัคำสำค : , รอตเสปโีสชใรากะษกัทกฝบบแ ปโีสชใรากะษกัท สเตอร, ปลิศนศัทาชิว ABSTRACT The Development of Gouache Colour Exercises in Visual Art Subject for Secondary 2’ Students’ Bangpleeratbamrung School had the Objectives to 1) For Study the efficency of gouache colour in Visual Art subject for secondary 2’ students’ Bangpleeratbamrung school 2) For study gouache colour skills of t secondary 2’ students’ Bangpleeratbamrung school. The research instruments included the gouache colour 18 1 นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ สุภัสสร แซลี้*


exercises 1-2 and scoring rubric for measure the skills in the excercises. The Purposive Sampling of this research was a group of 45 students of secondary 2’ students, Bangpleeratbamrung school in the first semester of 2021 academic year.The finding were that 1) The gouache colour exercises 1 has efficiency rate 88.55/94.32 2) The gouache colour exercises has efficiency rate 85.68/93.83 3) Student’s learning outcome after using the gouache colour exercises making process was significantly higher than prior to using the gouache colour exercises at .05 KEYWORD: Gouache Colour Exercises, Gouache Colour Skills, Visual Art Subject บทนำ (Introduction) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562 หมวด 4 มาตรา 22 ระบุวา “การศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสำคัญมากที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมให ผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ” (คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2562) แสดงถึงความสำคัญของการ เรียนรูที่ผูเรียนตองการกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสม การศึกษาจึงถือวาเปนสวนสำคัญในวางรากฐานการพัฒนา สังคมใหเจริญกาวหนารวมถึงการแกไขปญหาตางๆ ในสังคม การศึกษาที่มีคุณภาพเปนสวนสำคัญในกระบวนการเตรียมคนให สามารถเผชิญกับสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วในยุคปจจุบันโดยผานการเรียนรูของผูเรียน และการ ถายทอดความรูของผูสอน สังคมการเรียนรูและปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคลเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ระบุวา “กลุมสาระการเรียนรูศิลปะเปนกลุมสาระที่ชวยพัฒนาให ผูเรียนมีความคิดริเริ่มสรางสรรคมีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณคา ซึ่งมีผลตอคุณภาพชีวิต มนุษยกิจกรรมทางศิลปะชวยพัฒนาผูเรียนทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม ตลอดจนการนำไปสูการพัฒนา สิ่งแวดลอม สงเสริมใหผูเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเปนพื้นฐานในการศึกษาตอหรือประกอบอาชีพได กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะมุงพัฒนาใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณคาของศิลปะ เปดโอกาสใหผูเรียน แสดงออกอยางอิสระในศิลปะแขนงตางๆ ประกอบดวยสาระสำคัญ คือ ทัศนศิลป มีความรูความเขาใจองคประกอบศิลป ทัศนธาตุ สรางและนำเสนอผลงาน ทางทัศนศิลปจากจินตนาการ โดยสามารถใชอุปกรณที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใชเทคนิค วิธีการของ ศิลปนในการสรางงานไดอยางมีประสิทธิภาพ วิเคราะหวิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานศิลปะที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกตใชในชีวิตประจำวัน” (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) การสรางสรรคงานศิลปะเปนวิธีหนึ่งที่ชวยพัฒนาความคิดสรางสรรคแกนักเรียน การสรางสรรคจิตรกรรม เปนวิธีการ แสดงออกอยางหนึ่งของมนุษยที่มีมาชานานคูกับการกำเนิดเกิดมาของมนุษยเลยก็วาไดเปนสื่อกลางในการแสดงออกถึงเจตนาใน การสรางสรรค การสรางงาน (บริรักษ ศุภตรัยวรพงศและคณะ, 2562, น. 158-160) วิชาทัศนศิลปและศิลปะจึงมีสวนสำคัญใน การพัฒนานักเรียนใหเปนไปตามคุณสมบัติที่พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2562) กำหนด จากประสบการณการจัดการเรียนการสอนวิชาทัศนศิลปของผูวิจัย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-2 โรงเรียนบางพลีราษฎร บำรุง ในปการศึกษา 2559 – 2562 ที่ผานมา พบวานักเรียนมีทักษะการใชสี ทักษะการใชพูกัน อยูนอย เนื่องจากขาดการฝก ทักษะการใชพูกันและสีที่เปนพื้นฐานเชน สีโปสเตอร เปนสีสังเคราะหจากธรรมชาติและสารเคมี โดยมีสวนผสมของผงแปง สังเคราะหทางเคมีและกาวหรือยางไม เวลาระบายสีจะใชน้ำเปนตัวทำละลาย มีลักษณะทึบแสง เหมาะที่จะใชในงานระบายที่งายๆ 19


ไมยุงยาก (สมภพ จงจิตตโพธา, 2554) ซึ่งการมีทักษะการใชสีโปสเตอร เปนทักษะที่นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 ควรมี เพราะเปน พื้นฐานที่สอดแทรกการเรียนรูตางๆ เชน การใชพูกัน การผสมสี การลงสีในพื้นผิวรูปแบบตางๆ เปนตน กระบวนการเหลานี้ลวน สำคัญตอการนำไปตอยอดการสรางสรรคผลงานศิลปะที่หลากหลายในชวงชั้นตอๆ ไป การใชสื่อการสอนอยางเปนระบบโดยใชแบบจำลอง (Assure Model) เปนวิธีการสรางสื่ออยางหนึ่ง เหมาะกับการ จัดการเรียนรูวิชาศิลปะ เนื่องจากเปนแนวคิดที่ใหผูสอนมีแผนการใชสื่ออยางรัดกุม เพื่อนำแนวทางที่วางแผนไวมาเปนแนวทาง ปฏิบัติจริง ซึ่งทำใหเกิดประสิทธิภาพตอผูเรียนไดมากที่สุด โดย Assure Model มีขั้นตอนทั้งหมด 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) Analyze Learner Characteristics ขั้นวิเคราะหผูเรียน 2) State Objectives กำหนดวัตถุประสงค 3) Select เลือก ดัดแปลง ออกแบบสื่อ 4) Utilize Materials ใชสื่อ 5) Require Learner Response กำหนดการตอบสนองของผูเรียน และ 6) Evaluation การ ประเมินผล (กนกพรรณ กันทะจันทร, 2554) เปนรูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional Systems Design) โดยมุงที่จะชวยใหครูใชเทคโนโลยีและสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน เปนแนวทางที่จะตรวจสอบเพื่อใหเกิด ความแนใจวาสภาพแวดลอมการเรียนรูมีความเหมาะสมกับผูเรียน โดยผูพัฒนารูปแบบในยุคแรกคือ Heinich and Others (1999) และตอมา Smaldio and Others (2014) ไดเพิ่มในเรื่องของเทคโนโลยีเพื่อใหสอดคลองกับความกาวหนาของเทคโนโลยี ในศตวรรษที่ 21 (วิจารณ พานิช, 2555) The Assure Model แบบจำลองที่ไมซับซอน เหมาะสมกับเพื่อใหการพัฒนาเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ เมื่อสามารถสรางสื่อไดเหมาะสมกับลักษณะของผูเรียนก็จะทำใหเกิดความลื่นไหลในการจัดกิจกรรมการ เรียนรูใหผูเรียนเปนสำคัญได Daigo Nakano กลาววา แบบฝกทักษะการฟงและการออกเสียงวรรณยุกตภาษาไทยสำหรับผูเรียนชาวญี่ปุน พบวาแบบ ฝกมีประสิทธิภาพและสามารถสรางความพึงพอใจในการใชแบบฝกใหแกกลุมตัวอยางได สามารถเห็นพัฒนาการของผูใชแบบฝกได ชัดเจนทั้งจากคะแนนระหวางฝกและคะแนนเปรียบเทียบกอนฝกและหลังฝก (Daigo Nakano, 2560) แบบฝกทักษะการตีฆองวง ใหญกรณีศึกษา : สำนักดนตรีไทยบานอรรถกฤษณ มีประสิทธิภาพเปนไปตามกำหนด 80/80 สามารถนำไปใชกับการจัดการเรียน การสอนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตนที่ มีกระบวนการเรียนการสอนตามรูปแบบการเรียนรู(ณัฐพล เลิศวิริยะปติ, 2563) จากสภาพปญหาที่เกิดขึ้นนั้น ผูวิจัยมองเห็นความสำคัญของการฝกทักษะการใชสีโปสเตอรในนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 จึงไดผนวกแนวคิดการสรางสื่อการสอนอยางเปนระบบโดยใชแบบจำลอง (Assure Model) และทฤษฎีการสราง แบบฝกทักษะเพื่อคนควาและพัฒนาแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ผูวิจัยตองการจะศึกษา คนควาเพื่อพัฒนาทักษะการใชสีโปสเตอรของผูเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 2 เพื่อเปนประโยชนตอการเรียนการสอนวิชาทัศนศิลป และการสรางสรรคผลงานศิลปะที่หลากหลายของนักเรียน อีกทั้งจะเปนประโยชนดานทักษะกับนักเรียนตอไปในภายภาคหนา ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง 2. เพื่อศึกษาทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 กอนและหลังเรียนดวยแบบฝกทักษะการใชสี โปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง 20


กรอบแนวคิดการทำวิจัย ภาพประกอบ กรอบแนวคิดการทำวิจัย ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เนื้อหา 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 1.1. วิสัยทัศน 1.2. หลักการ 1.3. จุดมุงหมาย 1.4. สมรรถนะ 1.5. คุณลักษณะอันพึงประสงค 1.6 มาตรฐานการเรียนรู 2. ทฤษฎีการใชสีโปสเตอร 2.1 ลักษณะสีโปสเตอร 2.2 การผสมสี แนวคิดการใชสื่อการสอนอยางเปนระบบโดยใชแบบจำลอง (Assure Model) 1. Analyze Learner Characteristics ขั้นวิเคราะหผูเรียน 2. State Objectives กำหนดวัตถุประสงค 3. Select เลือก ดัดแปลง ออกแบบสื่อ 4. Utilize Materials ใชสื่อ 5. Require Learner Response กำหนดการตอบสนองของผูเรียน 6. Evaluation การประเมินผล การสรางแบบฝกทักษะ 1. ความหมายของแบบฝกทักษะ 2. หลักการสรางแบบฝกทักษะ 3. ลักษณะของแบบฝกทักษะที่ดี 4. ประโยชนของแบบฝกทักษะ แบบฝกทักษะการใช เลม 1 และ 2 การพัฒนาทักษะการใชสีโปสเตอร 1. ลักษณะเฉพาะของสีโปสเตอรและอุปกรณ ที่ใชในการพัฒนาทักษะการใชสีโปสเตอร 2. การผสมสีใหถูกตองตามคุณสมบัติ 3. การผสมสีใหเกิดคาน้ำหนักสี 4. การผสมสีใหเกิดสีขั้นที่ 2 และ 3 5. การใชพูกันสรางพื้นผิว 6. การเชื่อสีที่แตกตางกันดวยการเกลี่ยสี 7. การใชเทคนิคตางๆ สรางพื้นหลัง 21


ขอบเขตการวิจัย 1. กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 ใชวิธีการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive sampling ) จำนวน 45 คน 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรตน แบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 2.2 ตัวแปรตาม พัฒนาการทักษะการใชสีโปสเตอร 3. ระยะเวลาในการทดลอง การวิจัยครั้งนี้ ดำเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 จำนวน 10 คาบ คาบละ 55 นาที เปนระยะเวลา ทั้งหมด 10 คาบ เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. แบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรเลม 1 และ 2 2. เกณฑการใหคะแนนแบบรูบริคสเพื่อใชสำหรับวัดทักษะกอนและหลังการใชแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร สมมติฐานงานวิจัย 1. ประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร มีประสิทธิภาพในการพัฒนาทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 ใหสูงขึ้น 2. ทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสำคัญที่ .05 การดำเนินการทดลอง 1. ดำเนินการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง เปนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 1 หองเรียน จำนวน 45 คน เปนนักเรียนที่ผูวิจัยเคยจัดการเรียนการสอนในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 รายวิชาทัศนศิลป ม.1 ในภาคเรียน ที่ 2 ปการศึกษา 2563 ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบวานักเรียนไมมีหรือมีทักษะการใชสีโปสเตอรนอย 2. เนื่องจากระหวางการดำเนินการวิจัยอยูในชวงโรคระบาดไวรัสโคโรนา- 19 ทำใหโรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุงที่ผูวิจัย เลือกเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนการสอนเปนแบบออนไลน 100% ทั้งนี้ผูวิจัยไดมอบแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรเลม 1 และ 2 ใหกับนักเรียนกลุมตัวอยางตามการรับหนังสือของระบบโรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง 3. ผูวิจัยชี้แจงการจัดการเรียนการสอนโดยใชแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรทั้ง 2 เลม ในแตละเลมจะประกอบไปดวย กิจกรรมการเรียนรูทักษะการใชสีโปสเตอร จำนวนเลมละ 5 กิจกรรม (รวมการทดสอบทักษะกอนและหลังเรียน) 4. ดำเนินการสอนโดยใชแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เลม 1 และ 2 รวม 10 คาบ คาบละ 55 นาที เปนเวลา 10 สัปดาห โดยผูวิจัยเปนผูสอนเองในวิชาทัศนศิลป (ศิลปศึกษา) 5. เมื่อสิ้นสุดการจัดกิจกรรมการสอน นำคะแนนจากการแตละกิจกรรมที่จัดการเรียนการสอนโดยใชแบบฝกทักษะการใช สีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มาวิเคราะหโดยวิธีการทางสถิติเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน 6. นำผลงานจากการจัดกิจกรรมการสอนโดยใชแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรมาวิเคราะหเพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะ การใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 22


การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลการพัฒนาแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร วิชาทัศนศิลป ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียน บางพลีราษฎรบำรุง เพื่อหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมศิลปะ และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผูวิจัยไดวิเคราะหขอมูลดังนี้ 1. ประเมินเนื้อหาในแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร วิชาทัศนศิลป ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลี ราษฎรบำรุง เลม 1 และ 2 วาสอดคลองกับเกณฑการใหคะแนนแบบรูบริคสหรือไมโดยใชแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) จากผูเชี่ยวชาญ 5 ทาน 2. หาคาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร วิชาทัศนศิลป ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบาง พลีราษฎรบำรุง 1 และ 2 โดยการทดลองกับกลุมตัวอยาง หาคาเฉลี่ย รอยละ 3. วิเคราะหคะแนนจากการวัดทักษะกอนหลังการใชแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร วิชาทัศนศิลป ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง เลม 1 และ 2 โดยใช t-test (dependent samples) ผลการวิจัย การประเมินความสอดคลองแบบประเมินความเหมาะสมแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง โดยพิจารณาจากผูเชี่ยวชาญจำนวน 5 ทาน พิจารณาความสอดคลอง แบบประเมินความเหมาะสม กับขอหัวประเมิน ไดคาดัชนีความสอดคลองคุณภาพตามเกณฑ (คา IOC มากกวา 0.5) ทุกขอทั้งเลม 1 และ 2 แบบฝกทักษะสีโปสเตอรที่ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้น เปนแบบฝกที่เหมาะกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยผูวิจัยไดจัดทำชุด แบบฝกโดยการแนวคิดการใชสื่อการสอนอยางเปนระบบ Assure Model โดยแบงออกเปน 6 ขั้นตอนในการสรางสื่อ 1) ผูวิจัย สรางแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร โดยอิงจากแนวคิดการใชสื่อการสอนอยางเปนระบบโดยใชแบบจำลอง คือ 1.วิเคราะหผูเรียน : เนื่องจากปญหาจากการสอนวิชาศิลปะในภาคเรียนกอน ผูวิจัยพบวา นักเรียนไมมีทักษะการใชสีโปสเตอร เพราะมีราคาสูง มากกวาสีไมและสีชอลค นอกจากนี้ยังมีการใชอุปกรณที่หลากหลาย ทำใหนักเรียนมีโอกาสในการใชสีโปสเตอรนอย ผูวิจัยจึง พัฒนาแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร เพื่อเพิ่มโอกาสในการใชสีโปสเตอรแกนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 2) กำหนดวัตถุประสงค : ผูวิจัยศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ในสวนของทัศนศิลป และเอกสารที่เกี่ยวของกับเนื้อหาดานสีโปสเตอร และกำหนดวัตถุประสงคที่ตองการใหผูเรียนไดรับหลังการใชแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอร เพื่อเปนแนวทางในการสรางแบบฝกที่ ครอบคลุมเนื้อหาที่ผูเรียนควรไดรับอยางเหมาะสม 3) การใชสื่อ : ผูวิจัยทบทวนวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวของกับการสราง แบบฝกทักษะ และเนื้อหาของการใชสีโปสเตอรที่จำเปน ออกแบบสื่อใหเหมาะสมตามที่คนความา แบบฝกทักษะมีความเหมาะสม กับระดับของผูเรียน ภายในแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรจะประกอบไปดวยหนาปก จุดประสงคการเรียนรู คำชี้แจงการใชแบบ ฝกทักษะ การวัดทักษะกอนเรียน แบบฝกการฝกใชพูกันในการใชสีโปสเตอรเบื้องตน แบบฝกการผสมสีโปสเตอร แบบฝกเทคนิค การระบายสีโปสเตอร การวัดทักษะหลังเรียน และการวัดประเมินผล เนื้อหาในแบบฝกทักษะ ถูกเรียบเรียงจากทักษะระดับงายไปสูระดับที่มีความยากและซับซอนขึ้น มีการจัดเรียงงลำดับ ของเนื้อหาภายในแบบฝกตั้งแตการทำความรูจักกับอุปกรณ การผสมสีพื้นฐาน การผสมสีขั้นที่ 1 สีขั้นที่ 2 การใชพูกันแบบตางๆ การระบายเกลี่ยสี จนไปถึงการสรางผลงานภาพวิวทิวทัศนงายๆ ในแบบฝกทักษะมีตัวอยางขั้นตอนการฝกอยางชัดเจน เพื่อเปน ตัวอยางในการฝกทักษะของนักเรียน 23


แบบฝกทักษะสีโปสเตอร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง มีผลการแปลความหมาย ความ สอดคลองในหัวขอตางๆ สามารถสรุปไดวา ในแตละหัวขอมีคาดัชนีความสอดคลอง IOC มากกวา .05. ในทุกขอ จากการคำนวณ ซึ่งหัวขอที่มีคาดัชนีความสอดคลองมากกวา .05 สามารถนำหัวขอนั้นๆ มาใชในการประเมินได ผูวิจัยไดนำแบบฝกทักษะสีโปสเตอร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง ที่ไดรับการปรับปรุง จากผูเชี่ยวชาญแลว ไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2564 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง ที่ไมเคยเรียน เนื้อหานี้มากอน โดยกลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/9 จำนวน 45 คน โดยมีวิธีการเนินการดังนี้ นำคะแนนที่ไดมาหาคารอยละของคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการแบบทำแบบฝกทักษะระหวางเรียน (E1) และหาคารอยละ ของคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการทำแบบทดสอบหลังเรียน (E2) เพื่อหาคาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง ตามเกณฑ 80/80 โดยมีผลจากการหาคาประสิทธิภาพของกระบวนการและคา ประสิทธิภาพของผลลัพธพบวา ประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะสีโปสเตอร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลี ราษฎรบำรุง มีประสิทธิภาพตามเกณฑเปน ซึ่งไดผลการทดลองดังตาราง ตาราง 1 คาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะสีโปสเตอร ชุดที่ 1 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง แบบฝกทักษะระหวางเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ประสิทธิภาพ คะแนนเต็ม คาเฉลี่ย E1 คะแนนเต็ม คาเฉลี่ย E2 E1/E2 33 29.22 88.55 9 8.5 94.32 88.55/94.32 จากตาราง สามารถสรุปไดวา คาประสิทธิภาพของกระบวนการจากการทำแบบฝกทักษะสีโปสเตอรชุดที่ 1 ระหวางเรียน มีคาเทากับ 88.55 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่ไดตั้งไว ถือวาแบบฝกระหวางเรียนในแบบฝกทักษะสีโปสเตอรมีประสิทธิภาพดี และคา ประสิทธิภาพของผลลัพธจากการทำแบบทดสอบหลังเรียนมีคาเทากับ 94.32 แสดงใหเห็นวาหลังเรียนจากเรียนดวยแบบฝกทักษะ สีโปสเตอร ชุดที่ 1 แลว นักเรียนมีทักษะสีโปสเตอรสูงกวากอนเรียน จากผลการประสิทธิภาพที่มีผลเทากับ 88.55/94.32 สอดคลองกับความมุงหมายของการวิจัยขอ 1 และขอ 2 สามารถสรุปไดวาชุดพัฒนาทักษะที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพ สามารถ ชวยพัฒนาทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาไดเปนอยางดี ตาราง 2 คาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะสีโปสเตอรชุดที่2 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง แบบฝกทักษะระหวางเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ประสิทธิภาพ คะแนนเต็ม คาเฉลี่ย E1 คะแนนเต็ม คาเฉลี่ย E2 E1/E2 27 23.13 85.68 9 8.44 93.83 85.68/93.83 จากตาราง สามารถสรุปไดวา คาประสิทธิภาพของกระบวนการจากการทำแบบฝกทักษะสีโปสเตอรชุดที่ 2 ระหวางเรียนมีคาเทากับ 85.68ซึ่งสูงกวาเกณฑที่ไดตั้งไว ถือวาแบบฝกระหวางเรียนในแบบฝกทักษะสีโปสเตอรมีประสิทธิภาพดี และคาประสิทธิภาพของผลลัพธจากการทำแบบทดสอบหลังเรียนมีคาเทากับ 93.83 แสดงใหเห็นวาหลังเรียนจากเรียนดวยแบบฝก ทักษะสีโปสเตอร ชุดที่ 2 แลว นักเรียนมีทักษะสีโปสเตอรสูงกวากอนเรียน จากผลการประสิทธิภาพที่มีผลเทากับ 85.68/93.83 24


สอดคลองกับความมุงหมายการวิจัยขอ 1 และขอ 2 สามารถสรุปไดวาชุดพัฒนาทักษะที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพ สามารถชวย พัฒนาทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาไดเปนอยางดี ทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 กอนและหลังเรียนดวยแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง สามารถสรุปไดดังนี้ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุมตัวอยาง จากการเรียนดวยแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง กอนและหลังเรียนโดยใชแบบทดสอบทักษะสีโปสเตอรมาวิเคราะห ขอมูลโดยใชคาเฉลี่ย ( ) จากการประเมินทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนพบวา นักเรียนสามารถทำคะแนนของแบบทดสอบทักษะ ไดคะแนน 6-9 นักเรียนสามารถทำแบบทดสอบหลังเรียนไดมากกวากอนเรียนดวยแบบฝกทักษะสีโปสเตอรชุดที่ 1 โดยมีคาเฉลี่ย จากการทำแบบทดสอบทักษะกอนเรียนดวยแบบฝกทักษะสีโปสเตอรชุดที่ 1 เทากับ 5.13 และคาเฉลี่ยจากการทำแบบทดสอบ ทักษะหลังเรียนเทากับ 8.49 ไดผลดังตาราง 3 ตาราง 3 แสดงการเปรียบเทียบความสามารถทางการเรียนของนักเรียนจากการเรียนดวยแบบฝกทักษะสีโปสเตอร ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง ชุดที่ 1 ผลการทดลอง N S.D. df P กอนเรียน 45 5.13 1.25 151 583 44 0.00 หลังเรียน 45 8.49 0.59 จากตาราง 3 ผลการวิเคราะหขอมูลพบวา นักเรียนที่เรียนโดยใชแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเปนตามสมมติฐาน สรุปผลการวิจัย จากการดำเนินการสรางและหาคาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง สามารถสรุปผลการวิจัยไดดังนี้ 1. แบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง เลมที่ 1 พบวามี ประสิทธิภาพเปน 88.55/94.32 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กำหนดคือ 80/80 1. แบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง เลมที่ 2 พบวามี ประสิทธิภาพเปน 85.68/93.83 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กำหนดคือ 80/80 3. นักเรียนกลุมทดลองที่เรียนโดยใชแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎร บำรุง มีคาเฉลี่ยของทักษะสีโปสเตอรหลังเรียนมากกวากอนเรียนอยางมีนัยทางสถิติที่ระดับ .05 กลาวคือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังการเรียนดวยแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุงอยูในเกณฑดี การอภิปรายผล ผลจากการทดลองหาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลี ราษฎรบำรุง ที่มีประสิทธิภาพดีและนักเรียนที่พัฒนาดวยแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบาง พลีราษฎรบำรุง มีความสามารถดานทักษะสีโปสเตอรสูงขึ้น เนื่องมาจาก 25


1. ผลการพัฒนาแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุงทั้ง 2 ชุด ที่ สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ ชุดที่ 1 เทากับ 88.55/94.32 และ แบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียน บางพลีราษฎรบำรุง ชุดที่ 2 เทากับ 85.68/93.83 แสดงวาแบบฝกทักษะสีโปสเตอรที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กำหนด ไวคือ 80/80 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานและผลการทดลองครั้งนี้สอดคลองกับผลการทดลองของ ชารัญญา ผลจันทร (2558); พลรบ พรายรักษา (2552) และ อนุรักษ เรงรัด (2557) แสดงใหเห็นวา แบบฝกทักษะที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กำหนดไว ทั้งนี้เพราะแบบฝกทักษะที่สรางขึ้นผานกระบวนการสรางขึ้นมาอยางเปนระบบ มีวิธีการสรางที่เหมาะสมตามการใชสื่อการสอน อยางเปนระบบดวยแบบจำลอง Assure Model (Kim, D. and Downey, S. 2016) คือการสรางสื่ออยางหนึ่งที่เหมาะกับการ จัดการเรียนรูวิชาศิลปะ เปนแนวคิดที่ใหผูสอนมีการใชสื่ออยางรัดกุมเพื่อนำแนวทางที่วางแผนไวมาเปนแนวทางปฏิบัติจริง ซึ่งทำ ใหเกิดประสิทธิภาพตอผูเรียนไดมากที่สุด โดย Assure Model มีทั้งหมด 6 ขั้นตอนดังนี้ 1. Analyze Learner Characteristics ขั้นวิเคราะหผูเรียน 2.State Objectives กำหนดวัตถุประสงค 3.Select เลือก ดัดแปลง ออกแบบสื่อ 4.Utilize Materials ใชสื่อ 5. Require Learner Response กำหนดการตอบสนองของผูเรียน และ 6. Evaluation การประเมินผล ทั้งนี้ ผลการพัฒนาแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง ยังสอดคลอง กับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ซาเลมี (Saleme, 2001 อางถึงใน ศิริพร มโนพิเชษฐวัฒนา, 2547, น.27) ที่ ไดกลาววา การเรียนรูแบบกระตือรือรนหรือ Active Learning ทำใหผูเรียนไดลงมือกระทำกิจกรรมที่มีความสนุก ทาทาย และเรา ใจใหติดตามอยูเสมอ มีโอกาสใชเวลาวางสรางความคิดกับงานที่ลงมือกระทำมากขึ้น สามารถใชมโนทัศนที่กำลังเรียนอยางเปน ระบบ ทำใหเกิดความเขาใจในมโนทัศนอยางชัดเจน 2. จากการศึกษาพบวา นักเรียนที่เรียนโดยใชแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลี ราษฎรบำรุงมีคาเฉลี่ยของคะแนนทดสอบทักษะสีโปสเตอรหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 กลาวคือ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว การที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นเนื่องจากนักเรียนไดศึกษา ตามกระบวนการโดยใชแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง ทั้ง 2 ชุด รวม ทั้งหมด 6 กิจกรรมการเรียนรู สอดคลองกับการกลาวถึงของ พันทิพา เย็นญา (2561) พบวาการจัดการเรียนรูแบบเชิงรุก Actice Learning พบวาระดับการคิดวิเคราะหของนักเรียนโรงเรียนขนาดเล็กในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 มีระดับการคิดวิเคราะหสูงขึ้นหลังเขารวมโปรแกรมการจัดการเรียนรูเชิงรุกเพื่อพัฒนาความสามารถทางการคิดวิเคราะห อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทั้งนี้เพราะแบบฝกทักษะสีโปสเตอรถูกสรางขึ้นอยางเปนระบบจากสรางสื่อการสอนอยางเปน ระบบ Assure Model โดยในกิจกรรมการเรียนการสอนเนนเปนการเรียนรูแบบเชิงรุก Active Learning ทำใหผูเรียนสามารถ เขาถึงกิจกรรมและฝกแกปญหาในกิจกรรมการเรียนรูนำมาสูการฝกทักษะอยางมีประสิทธิภาพดวยตนเอง 3. กิจกรรมในแบบฝกทักษะสีโปสเตอรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง ประกอบไปดวย แบบฝกทักษะสีโปสเตอร 2 เลม ซึ่งมีผลของกิจกรรมที่ผานการทดลองมีรายละเอียดดังนี้ แบบฝกทักษะสีโปสเตอร เลม 1 1. ลองเลน (Pre-test) เปนการทดลองทำชิ้นงานตามตัวอยางโดยใชสีโปสเตอรเพื่อวัดทักษะกอนเรียน โดยภาพตัวอยาง มีการใชสีและลายเสนพื้นฐาน เกณฑใหการใหคะแนนประกอบไปดวยหัวขอ ความถูกตองของการผสมสี ความสวยงามเรียบรอย ของการระบายสี และความสมบูรณของภาพ 2. เริ่ม! (แบบฝกทักษะที่ 1) ประกอบไปดวยคำอธิบายการเริ่มตนใชสีโปสเตอร และตัวอยางสี การฝกทักษะคือการใชสี โปสเตอรดวย สีแดง สีเหลือง สีน้ำเงิน สีขาว และ สีดำ เกณฑการใหคะแนนคือ การผสมสี 26


3. สรางสีที่แตกตาง (แบบฝกทักษะที่ 2) ประกอบไปดวยคำอธิบายการผสมสีใหเกิดคาสีที่ออนลง และตัวอยางสีที่ผสม แลว การฝกทักษะคือใหนักเรียนนำสีโปสเตอรแมสีมาผสมกับสีขาวในอัตราสวน 1:1 เกณฑการคะแนนประกอบไปดวย ความ สวยงาม ความสะอาด และความถูกตอง 4. ผสมสีสิ (แบบฝกทักษะที่ 3) ประกอบไปดวยคำอธิบายการผสมสีโปสเตอรแมสีที่ตางกัน ใหเกิดเปนสีขั้นที่ 2 การฝก ทักษะจากการใชแมสีผสมกันในอัตราสวน 1:1 เกณฑการใหคะแนนไดแก ความสวยงาม ความสะอาด และความถูกตอง 5. ลองอีกครั้ง (Post-test) การระบายสีโปสเตอรเหมือนกิจกรรมลองเลน (Pre-test) โดยทักษะการผสมสี และทักษะ การระบายสีถูกฝกทักษะมาในทั้ง 3 แบบฝกกอนหนา เกณฑใหการใหคะแนนประกอบไปดวยหัวขอ ความถูกตองของการผสมสี ความสวยงามเรียบรอยของการระบายสี และความสมบูรณของภาพ แบบฝกทักษะสีโปสเตอร เลม 2 1. ลองระบาย (Pre-test) เปนการทดลองทำชิ้นงานตามตัวอยางโดยใชสีโปสเตอรเพื่อวัดทักษะกอนเรียน โดยภาพ ตัวอยางมีการใชทักษะสีโปสเตอรที่มีรายละเอียดมากกวาแบบฝกทักษะสีโปสเตอรเลม 1 คือมีการใชเทคนิคจากพูกันในแบบตางๆ การเกลี่ยสี การเชื่อมสี เกณฑใหการใหคะแนนประกอบไปดวยหัวขอ ความประณีตสวยงาม การใหแสงเงาในภาพ และความ สมบูรณของภาพ 2. สวนประกอบ (แบบฝกทักษะที่ 1) ประกอบไปดวยคำอธิบายการใชพูกันระบายสีโปสเตอรใหเกิดพื้นผิวของพุมไมแบบ ตางๆ ดวยสีเอกรงค พรอมรูปภาพตัวอยางประกอบ เกณฑการใหคะแนนคือ การใชพูกัน การผสมสี และความสวยงาม 3. เชื่อมสี (แบบฝกทักษะที่ 2) ประกอบไปดวยคำอธิบายการใชการเกลี่ยสีคาน้ำหนักออนไปคาน้ำหนักเขม และสีตาม วงจรสีเขาดวยกัน พรอมรูปภาพตัวอยางประกอบ เกณฑการใหคะแนนคือ การใชพูกัน การผสมสี และความสวยงาม 4. ฟาจรดดาว (แบบฝกทักษะที่ 3) ประกอบไปดวยคำอธิบายการใชพูกันระบายสีโปสเตอรใหเกิดพื้นหลัง และระยะหนา ตามรูปตัวอยาง จำนวน 4 แบบ พรอมรูปภาพตัวอยางประกอบ เกณฑการใหคะแนนคือ แสงเงาและระยะของภาพ ความสมบูรณ ของภาพ และความประณีตสวยงาม 5. ลองอีกครั้ง (Post-test) การระบายสีโปสเตอรเหมือนกิจกรรมลองเลน (Pre-test) โดยทักษะการผสมสี และทักษะ การระบายสีถูกฝกทักษะมาในทั้ง 3 แบบฝกกอนหนา เกณฑใหการใหคะแนนประกอบไปดวยหัวขอ ความประณีตสวยงาม การให แสงเงาในภาพ และความสมบูรณของภาพ ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการวิจัยคือการเตรียมความพรอมของอุปกรณในการใชจัดการเรียนการสอนโดยใชแบบฝกทักษะการใชสี โปสเตอร อุปกรณที่จำเปนตองใชไดแก กระดาษ สีโปสเตอร พูกัน จานสี ใหเพียงพอสำหรับนักเรียนทุกคน ตัวเลมแบบฝกทักษะ ควรพิมพดวยหมึกสีและกระดาษคุณภาพดี เพราะภายในมีรูปภาพประกอบซึ่งเปนตัวอยางการฝกทักษะ และมีผลตอการฝกทักษะ การใชสีโปสเตอรของนักเรียน นอกจากนี้เนื่องจากการดำเนินการวิจัยอยูในชวงสถานการณโรคระบาดไวรัสโคโรนา- 19 จึงไดปรับ รูปแบบการจัดการเรียนรูเปนรูปแบบออนไลน ทั้งนี้ผูวิจัยสงเลมแบบฝกทักษะการใชสีโปสเตอรใหแกกลุมตัวอยางเปนรูปแบบไฟล ทางออนไลนอีกทาง การวิจัยนี้สามารถนำไปตอยอดการสรางนวัตกรรมทางการศึกษาในรูปแบบอื่นได 27


เอกสารอางอิง (References) กรรณิการพวงเกษม. (2540). เรียนรูเกี่ยวกับการสรางแบบฝกหัดภาษาไทยระดับประถมศึกษาในภาควิชาประถม. สัมมนา ประถมศึกษาสัมพันธ มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 15. กุศยา แสงเดช. (2545). แบบฝกคูมือพัฒนาสื่อการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัทสำนักพิมพแม็ค จำกัด. จริยภรณ รุจิโมระ. (2548). การพัฒนาการอานออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใชชุดฝกทักษะการอานออกเสียงของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปที่ 1 เชียงใหม: วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา ชัยยงค พรหมวงศ. (2520). ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ชาญชัย อาจนสมาจาร. (2540). หลักการสอนทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท. ชารัญฎา ผลจันทร. (2558). การพัฒนาความคิดสรางสรรค ความรับผิดชอบ และทักษะการเขียนภาพระบายสี โดยใชชุดฝกทักษะ การเขียนภาพระบายสีโปสเตอรตามหลักการของเดวีสรวมกับเทคนิค STAD บนพื้นฐานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. วารสารบัณฑิตศึกษา, 12(59 (ตุลาคม – ธันวาคม)), 51-60. ณัฐวงศ สาวงศตุย. (2560). การพัฒนาแบบฝกที่มีประสิทธิภาพเรื่องการสะกดคำยากวิชาภาษาชั้นประถมปที่ 3 (วิทยานิพนธ ปริญญาศึกษามหาบัณฑิต) .มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม ถวัลย มาศจรัส. (2548). บทเรียนโปรแกรม กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ธารอักษร เนาวรัตน ชื่นมณี. (2540) การพัฒนาแบบฝกทักษะภาษาไทยการสะกดคำยากเรื่องเปดหาย สำหรับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 (วิทยานิพนธศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม บริรักษ ศุภตรัยวรพงศ, อำพร แสงไชยา, and ประภาพร ศุภตรัยวรพงศ. (2562). การสรางสรรคจิตรกรรมและสัญลักษณในวิถี ชีวิตชนบท. วารสารศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 33(2 (กรกฎาคม – ธันวาคม)), 158 - 160. พลรบ พรายรักษา. (2552). ประสิทธิภาพของชุดพัฒนาทักษะการอานภาษาอังกฤษ เพื่อความเขาใจ ที่มีตอความสามารถในการ อานภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี. (สารนิพนธ ศศ.ม. (การสอน ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตางประเทศ), บัณฑิตวิทยาลัย), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ. พันทิพา เย็นญา. (2561). ผลการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) ที่มีตอการคิดวิเคราะห ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6. (ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย แขนงวิชาจิตวิทยาการศึกษา)), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ. ยุพิน พิพิธกุล. (2539). การเรียนการสอนคณิตศาสตร. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ. วิจารณ พานิช. (2555). วิถีสรางการเรียนรูเพื่อศิษยในศตวรรษที่21. กรุงเทพฯ: ตถาตา พับลิเคชั่น. วิไลลักษณ มีทิศ. (2551). การสรางและหาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะการคิดคำนวณดานการคูณของสถาบันสงเสริมการสอน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ฟสิกส เลม 1. กรุงเทพมหานคร: สกสค. ลาดพราว. ศิริพร มโนพิเชษฐวัฒนา. (2547). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร แบบบูรณาการที่เนนผูเรียนมีสวนรวม ในการเรียนรูที่กระตือรือรน เรื่อง รางกาย มนุษย. (สารนิพนธ กศ.ด. (วิทยาศาสตรศึกษา)), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร, กรุงเทพฯ. สมภพ จงจิตตโพธา. (2554). จิตรกรรมสรางสรรค. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพวาดศิลป. สุนันทา สุนทรประเสริฐ. (2544) การผลิตนวัตกรรมการเรียนการสอน การสรางแบบฝก. ชัยนาท: ชมรมพัฒนาความรูดานระเบียบ กฎหมาย. 28


สุพรรณี ไชยเทพ. (2544). การผลิตนวัตกรรมการเรียนการสอน การสรางแบบฝก. ชัยนาท: ชมรมพัฒนาความรูดานระเบียบ กฎหมาย. เสกศิลป พิชโญภาสกุล. (2559). การพัฒนาหนังสือภาพฝกภาษาสําหรับเด็กบกพรองการเรียนรูปทางดานภาษา. (ปริญญานิพนธ กศ.ม. (ศิลปศึกษา), บัณฑิตวิทยาลัย), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ. สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. (2540). การบริหารโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว. อัจฉรา ชีวพันธุ. (2546). กิจกรรมการเขียนสรางสรรคในขั้นประถมศึกษา (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร:ไทยวัฒนาพานิช. อารีย วาศนอำนวย. (2545). การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะการอานเพื่อความเขาใจตามแนวการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5. (วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพมหานคร. Crowe, J. V. (1998). Art about Teaching: a Visual Heuristic study of the content and Process of Teaching Art Education as Subject of Making Art. The Union Institute. Dean, R. K. (1981). The Effectiveness of Study Guides Versus Programmed Instruction in Elastically Structured Teaching at West Virginia University. Dissertation Abstracts International, 42(5), 1085-A. Hyun, E., and Lee. (2017). Students’ Stisfaction on Their Laerning Process in Active Learning and Traditional Classrooms. International Journal of Teaching and Learning in Higher Education, 29(1), 108-118. Kim, D., and Downey, S. (2016). Examining the Use of the ASSURE Model by K-12 Teacher Computer in the Schools. 33(3), 153-168. Natasha, M. (2012). Drawing into practice (Abstract). Journal of Visual Art Practice. Newman, J. S. (1983). A Comparison of Traditional Classroom, Computerand Program med Instruction. Dissertation Abstracts Online, 44-04A. Tropic Drawing. (2019). 15 Properties of Gouache Paint. from http://tropical.com/15-properties-of-gouache-paint 29


การพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ เพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม A SET OF ART ACTIVITIES WITH KOLB'S EXPERIENTAL LEARNING THEORY FOR LEARNING THAI LANNA ART HISTORY THROUGH SCULPTURE MAKING PROCESS บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีความมุงหมายเพื่อ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อ การเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรมใหเปนไปตามเกณฑ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกอนเรียนละหลังเรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรู ประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ไดแก นักเรียนชั้นปที่ 2 โรงเรียนสันติ คีรีวิทยาคม อำเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2564 จำนวน 28 คน ใชวิธีการกำหนดตัวอยาง โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช ในการวิจัย ไดแก 1) ชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของ โคลบ เพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะหขอมูลโดยใช คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การหาประสิทธิภาพ E1/E2 และการทดสอบที ผลการวิจัยพบวา 1) ชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ เพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการ ประติมากรรมมีประสิทธิภาพ เทากับ 87.86 /82.74 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการ เรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ เพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม หลังเรียนสูงกวา กอนเรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คำสำคัญ: การเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ, กระบวนการประติมากรรม, ชุดกิจกรรมการเรียนรู, ประวัติศาสตรศิลปะ ลานนา ABSTRACT The objective of this research were to 1) develop a set of art activities with Kolb's experiential learning theory for learning Thai Lanna art history thorough sculpture making process, to a standard efficiency level of 80/80; 2) compare the students’ learning achievements before and after-learning stages when using a set of art activities with Kolb's experiential learning theory for learning Thai Lanna art history thorough sculpture making process for Secondary 2 Students, The purposive sample of this research was a group of 28 students of Secondary 2 Students, Santikhiri Wittayakom school in their second semester of 2021 academic year. Research tools applied included the develop a set of art activities, a test on students’ learning result. Means, standard deviation, efficiency and t-test were also used to analyze the data. The 30 ธนพร เทพรักษา* (กศ.ม.)1 , เลิศศิริร บวรกิตติ(D.C.A.) 2 1 นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผูชว่ยศาสตราจารย ดร. เลิศศิริร บวรกิตติ อาจารยสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะศิลปกรรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ E-mail [email protected] 2


findings were that 1) a set of art activities with Kolb's experiential learning theory for learning Thai Lanna art history thorough sculpture making process has an efficiency rate of 87.86 /82.74; 2) Student’s learning outcome after using a set of art activities with Kolb's experiential learning theory for learning Thai Lanna art history thorough sculpture making process was significantly higher than prior to using learning a set of art activities at .05 KEYWORDS: A set of art activities, Kolb's experiential learning theory, Thai Lanna art history, sculpture making process บทนำ (Introduction) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 23 ขอที่ 3 ระบุวาการจัด การศึกษา ทั้งการศึกษาใน ระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตองเนนใหความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการความรู ทางศิลปะและภูมิปญญาไทย และรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ที่บัญญัติใหคนไทยมีหนาที่รวมมือและ สนับสนุนการอนุรักษและ คุมครองมรดกทางวัฒนธรรม ศิลปะไทยจึงเปนสิ่งสำคัญที่คนไทยตองรวมกันสืบทอดและอนุรักษ เพราะเปนสิ่งที่บอกถึงความเจริญและประวัติศาสตรของชาติไทย(สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2542) รวมทั้ง (สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2560) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มีการบัญญัติในหมวดหนาที่ของปวงชน ชาวไทย มาตรา 50 (8) รวมมือและสนับสนุนการอนุรักษและคุมครองสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทาง ชีวภาพ รวมทั้งมรดกทางวัฒนธรรม และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไดกำหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรูเปนเกณฑใน การกำหนดคุณภาพของเรียน โดยกำหนดใหกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐานการเรียนรู ศ 1.2 เขาใจ ความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญา ทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2552) ชี้ใหเห็นถึงความสำคัญในการการ ปลูกฝงการเห็นคุณคาศิลปะไทยใหกับคนไทย ประวัติศาสตรศิลปะ (Art History) เปนหนึ่งในแกนสำคัญในการสอน ศิลปศึกษาแบบแผน (Discipline-Centered Movement) ประวัติศาสตรศิลปะลานนา หรือเชียงแสน (วิวัฒนไชย จันทนสุคนธ, 2551) ไดกลาววา เปนศิลปะอยูทางตอน เหนือของประเทศไทย และมีลักษณะเกาแกมาก คาดวามีการสืบทอดตอเนื่องของศิลปะทวาราวดี และลพบุรี ในดินแดนแถบนี้ มาตั้งแตสมัยหริภุญชัย ศูนยกลางของศิลปะ ลานนาเดิมอยูที่เชียงแสน เรียกวาอาณาจักรโยนก ตอมาเมื่อ พญามังรายไดยาย มาสรางเมืองเชียงใหม ศูนยกลางของของอาณาจักรลานนาก็อยูที่เมืองเชียงใหมสืบตอมาอีกเปนเวลานาน (เสนอ นิลเดช, 2540) ศิลปะแบบสมัยเชียงแสนที่รูจักกันดีที่สุดก็คือพระพุทธรูปแบบเชียงแสน ซึ่งกําหนดเรียกกันเปนสามัญวา สิงหหนึ่ง สิงห สอง และสิงหสาม ตามคติความเชื่อแตเดิมเชื่อกันวาศิลปะแบบสมัยเชียงแสน การศึกษาประวัติศาสตรลานนา เมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เมืองประวัติศาสตรที่เคยเปนศูนยกลางอาณาจักร ลานนาในยุคแรก ๆ ปรากฏรองรอยโบราณวัตถุโบราณสถานหลายแหงกรมศิลปากรไดดำเนินการฟนฟูบูรณะและอนุรักษ โบราณสถานที่สำคัญในเมืองเชียงแสน ปจจุบันรองรอยของโบราณสถานในอำเภอเชียงแสนที่หลงเหลือใหเห็น มักเปนซาก ปรักหักพังของสิ่งกอสรางในพุทธศาสนา มีศิลปะที่มีความงดงาม เชน พระพุทธรูป ที่มีความงดงามและแสดงถึงเทคโนโลยีการ หลอโลหะของชางในสมัยโบราณ เชน พระพุทธรูปที่มีขนาดใหญ จะใชวิธีหลอแยกสวน แลวนำมาประกอบเขาดวยกัน และ ประติมากรรมปูนปนประดับศาสนสถาน ลวดลายปูนปนที่วัดปาสักไดรับการยอมรับในเรื่องความงดงาม ไดรับอิทธิพลรูปแบบ ทางศิลปกรรมจากอาณาจักรพุกาม อาณาจักรสุโขทัย แควนหริภุญไชย หรือจีน มาปรับปรุงจนเปนเอกลักษณของตนเอง (ศูนย 31


เทคโนโลยีสารสนเทศมรดกศิลปวัฒนธรรม รวมกับ สำนักพิพิธภัณฑสถานแหง และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ทั่วประเทศ, 2557-2558) จากการจัดการเรียนการสอน ประวัติศาสตรศิลปะไทย มีรูปแบบการสอน ที่เนน การฟงบรรยายภาพประกอบ มี เนื้อหาที่คอนขางมาก เกิดความเบื่อหนายในการเรียน สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน (อมรรัตน ฉันทนาวี, 2555, น. 2) ที่มีการกลาวถึงการที่ไดสัมภาษณผูสอนวิชาประวัติศาสตรศิลปะไทยการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตรศิลปะสวนใหญ เปนเนื้อหาเกี่ยวกับการบรรยาย ผูเรียนจำเปนตองฟงบรรยายจากอาจารยผูสอนเพื่อใหมีความรูพื้นฐานทางดานเนื้อหา ทฤษฎี ความขาใจ ความเขาใจในรูปแบบลักษณะ และความเปนมาของศิลปะยุคนั้น ๆ สื่อที่ใชในการเรียนมักเปนภาพประกอบ เชน ภาพถายภาพสไลด หรือบางครั้ง เปนภาพประกอบที่มาจากหนังแบบเรียน ซึ่งผูเรียนอาจจะไมสามารถเขาใจหรือจดจำเนื้อหา ไดดีเทาที่ควร (เตือนฤดี รักใหม, 2559, น. 120) ไดกลาววาในทัศนะของนักศึกษาโดยสวนใหญ มักเห็นวาเปนวิชาที่ตองทองจำ มีวิธีการสอนในรูปแบบเดิม ๆ เชน การฟงบรรยายภาพประกอบ บรรยากาศการเรียนจึงซ้ำซากจำเจ ผูเรียนขาดแรงจูงใจและ เกิดความเบื่อหนาย ผูวิจัยในฐานะผูสอนวิชาทัศนศิลปไดเล็งเห็นปญหาในการเรียนประวัติศาสตรศิลปะดังกลาว และมีความพยายามที่ จะสรางชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผาน กระบวนการประติมากรรม เปนการคิดคนวิธีการเรียนรู โดยทั่วไปจะอยูในรูปแบบสิ่งพิมพ และสื่อประติมากรรมจำลองและ แมพิมพยางซิลิโคนรับเบอรลวดลายปูนปนเชียงแสน ผานกระบวนการประติมากรรมเปนการสรางสรรคงานศิลปะสามมิติ (Three Dimensional Art creation) ดวยการถายทอดแทนสิ่งตาง ๆ ออกมาเปนรูปทรง ประกอบดวย ความกวาง ความสูง และความลึก(สงวน รอดบุญ, 2524, น. 79) ซึ่งกระบวนการประติมากรรมมีความสัมพันธและสอดคลองกับประวัติศาสตร ศิลปะลานนา การเลือกใชกระบวนการปนสัมพันธกับงานปูนปนเชียงแสน และการหลอปูนปลาสเตอร ซึ่งเปนวัสดุที่เหมาะกับ กระบวนการเรียนการสอนในชั้นเรียน การหลอปูนปลาสเตอรสัมพันธกับการหลอสำริดพระพุทธรูปลานนา ชุดกิจกรรม ประกอบดวย คูมือ คำชี้แจงการใชชุดกิจกรรม บทบาทครู บทบาทนักเรียน แผนการจัดการเรียนรู สื่อประกอบการเรียนรู การวัดผล/ประเมินผลกิจกรรมสอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนใหผูเรียนไดปฏิบัติ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดย ใชทฤษฎีเชิงประสบการณของโคลบ (Kolb, 1984) ประกอบดวย 4 ขั้นตอนที่เปนวงจรตอเนื่องกัน ดังนี้คือ ขั้นที่ 1 ประสบการณรูปธรรม (Concrete Experience) เปนขั้นตอนที่ผูเรียนเขาไปมีสวนรวมและรับรูประสบการณตางๆ และยึดถือ สิ่งที่เกิดขึ้นจริงตามที่ตนประสบในขณะนั้น ขั้นที่ 2 การไตรตรอง (Reflective Observation) เปนขั้นตอนที่ผูเรียนมุงที่จะทำ ความเขาใจความหมายของประสบการณที่ไดรับโดยการสังเกตอยางรอบคอบเพื่อการไตรตรองพิจารณา ขั้นที่ 3 การสรุป ความรู (Abstract conceptualization) เปนขั้นที่ผูเรียนใชเหตุผลและใชความคิดในการสรุปรวบยอดเปนหลักการตางๆ และ ขั้นที่ 4 การทดลองปฏิบัติจริง (Active Experiment) เปนขั้นตอนที่ผูเรียนนำ เอาความเขาใจที่สรุปได ไปทดลองปฏิบัติจริง นำไปสูผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะ ลานนาผานกระบวนการประติมากรรมใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิง ประสบการณของโคลบ เพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชั้นปที่ 2 โรงเรียนสันติคีรีวิทยาคม อำเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย 32


กรอบแนวคิดการทำวิจัย ภาพประกอบ กรอบแนวคิดการทำวิจัย ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เนื้อหา 1.ความรูประวัติศาสตรศิลปะลานนา หรือ ศิลปะเชียง แสน 1.1 ศิลปะภาคเหนือลานนา (เชียงแสน) 1.2 ลักษณะพระพุทธรูปเชียงแสน 2. ลวดลายประดับลานนา (เชียงแสน) 2.1 ลวดลานปูนปนเชียงแสน 3. ประติมากรรม 3.1 ความหมายของประติมากรรม 3.2 รูปแบบการสรางประติมากรรม 3.2.1 การปน 3.2.2 การหลอปูนปลาสเตอร ทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ (Kolb, 1984) ขั้นที่ 1 ประสบการณรูปธรรม(Concrete Experience) ขั้นที่2 การไตรตรอง (Reflective Observation) ขั้นที่ 3 การสรุปความรู (Abstract conceptualization ขั้นที่ 4 การทดลองปฏิบัติจริง (Active Experiment) 1) ชุดกิจกรรมศิลปะ ตามทฤษฎีการเรียนรู เชิงประสบการณของ โคลบ เพื่อการเรียนรู ประวัติศาสตรศิลปะ ลานนาผาน กระบวนการ ประติมากรรม 2) แบบทดสอบวั ด ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน 1) การพัฒนาชุ ด กิจกรรมศิลปะตาม ทฤษฎีการเรียนรูเชิง ประสบการณของ โคลบ เพื่อการเรียนรู ประวัติศาสตรศิลปะ ลานนาผาน กระบวนการ ประติมากรรม มี ประสิทธิภาพ ตาม เกณฑ 80/80 2) เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนกอนเรียนและ หลังเรียน ดวยชุด กิจกรรมศิลปะตาม ทฤษฎีการเรียนรูเชิง ประสบการณของโคลบ เ พ ื ่ อ ก า ร เ ร ี ย น รู ประวัติศาสตรศิลปะ ลานนาผาน กระบวนการ ประติมากรรม การสรางชุดกิจกรรมการเรียนรู (Banathy, 1968; ชัยยงค พรหมวงศ, 2545; มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร, 2552) 1. คำชี้แจงการใชชุดกิจกรรม 2. บทบาทครู 3. บทบาทนักเรียน 4. แผนการจัดการเรียนรู 5. สื่อประกอบชุดกิจกรรม 6. การวัดผล/ประเมินผล 33


ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากร ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที่ 2 โรงเรียนสันติคีรีวิทยาคม อำเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย จำนวน 151 คน แบงออกเปน 6 หองเรียน 2. กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที่ 2 โรงเรียนสันติคีรีวิทยาคม อำเภอแมฟาหลวง จังหวัด เชียงราย จำนวน 28 คน ใชวิธีการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive sampling ) 1 หองเรียน ที่มีคะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลำดับสุดทายในรายวิชาศิลปะ 3 ศ22101 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 3. ตัวแปรที่ศึกษา 3.1 ตัวแปรตน ชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ เพื่อการเรียนรูประวัติศาสตร ศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม 3.2 ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมศิลปะตามเกณฑ 80/80 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียน ดวยชุดกิจกรรมศิลปะ 4. เนื้อหาในงานวิจัย เนื้อหาที่ใชในวิจัยครั้งนี้ไดจาก กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 สาระที่1 ทัศนศิลป มาตรฐานการ เรียนรู 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทาง วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย โดยกำหนดชุดกิจกรรมศิลปะไว 3 ชุด ไดแก ชุดที่ 1 เรื่อง ประวัติศาสตรศิลปะลานนา หรือเชียงแสน ชุดที่ 2 เรื่อง ลวดลายประดับลานนา ชุดที่ 3 เรื่อง ประติมากรรม 5. ระยะเวลาในการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ ไดดำเนินการวิจัยในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 จำนวน 6 คาบ คาบละ 50 นาทีรวมเปน ระยะเวลา 3 สัปดาห เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. ชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผาน กระบวนการประติมากรรม 2. แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียนโดยใชชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิง ประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม สมมุติฐานงานวิจัย 1. การพัฒนาชุดกิจกรรมชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ เพื่อการเรียนรู ประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม มีประสิทธิภาพเปนไปตามเกณฑที่กำหนด 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ เพื่อการ เรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม หลังเรียนสูงกวากอนเรียนโดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 34


การดำเนินการวิจัย 1. ศึกษาเอกสาร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะ การพัฒนาการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะ และ กระบวนการเรียนรูเชิงประสบการณ 2. ดำเนินการสรางเครื่องมือ ตรวจสอบหาคุณภาพเครื่องมือที่ใชในการวิจัยและปรับปรุงแกไข 3. ดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูลกับกลุมตัวอยาง ชี้แจงการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรม ศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการ ประติมากรรม เพื่อใหนักเรียนปฏิบัตตินไดถูกตอง โดยทดสอบกอนเรียนกับนักเรียนโดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน จำนวน 30 ขอ 4. ดำเนินการสอนโดยใชชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรู ประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม จำนวน 3 ชุด โดยผูวิจัยเปนผูสอนเอง โดยใชเวลา 6 คาบ คาบละ 50 นาที รวมเปนระยะเวลา 3 สัปดาห 5. เมื่อสิ้นสุดการสอน ทำการทดสอบหลังเรียนกับนักเรียนโดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากนั้น ประเมินนักเรียนระหวางเรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะ ซึ่งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปนชุดเดียวกับที่ใชทดสอบ กอนเรียน 6. นำคะแนนจากการตรวจสอบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคะแนนระหวางเรียนดวยชุดกิจกรรม ศิลปะ มาวิเคราะหโดยวิธีการทางสถิติเพื่อตรวจสอบสมมุติฐาน การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลการพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรู ประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม เพื่อหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมศิลปะ และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ผูวิจัยไดวิเคราะหขอมูลดังนี้ 1. ประเมินความเหมาะสมในองคประกอบตาง ๆ ของชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของ โคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม โดยแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) โดยผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน 2. หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรู ประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม โดยการทดลองกับกลุมตัวอยาง หาคาเฉลี่ย รอยละ 3. การหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยการหาคาดัชนีความ สอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงคการเรียนรู (IOC: Index of Consistency) หาความยาก (p) และคาอำนาจจำแนก (r) คาความเชื่อมั่น โดยวิธีของคูเดอร ริชารดสัน (Kuder-Richardson) ไดคาเทากับ 0.781 35


4. วิเคราะหคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัใทธิ์ทางการเรียน เพื่อทดสอบสมมุติฐาน โดยใช t-test (dependent samples) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 1. สถิติพื้นฐาน 1.1 รอยละ (Percentage) 1.2 คาเฉลี่ย (Mean) 1.3 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. สถิติที่ใชในการทดสอบสมมุติฐาน 2.1 หาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมศิลปะตามเกณฑ 80/80 โดยใชสูตร E1/E2 2.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน โดยการทดสอบคาที (t-test แบบ dependent samples) ผลการวิจัย ในการดำเนินการวิจัยในครั้งนี้ เปนการศึกษาผลการพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณ ของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผูวิจัยนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตามลำดับ ดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1 คะแนนประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2) ของชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎี การเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม ของกลุม ตัวอยาง ชุดกิจกรรมที่ n E1 E2 (E1/E2) 1 28 82.50 82.50 82.50/82.50 2 28 90.00 80.71 90.00/80.71 3 28 91.07 85.00 91.07/85.00 รวม 87.86 82.74 87.86/82.74 จากตารางที่ 1 พบวา ประสิทธิภาพชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรู ประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรมของกลุมตัวอยาง จำนวน 28 คน เมื่อพิจารณาคาประสิทธิภาพของ กระบวนการ (E1) เทากับ 87.86 และประสิทธิภาพผลลัพธ (E2) เทากับ 82.74 มีคาประสิทธิภาพเทากับ 87.86 /82.74 เปนไปตามเกณฑ 80/80 36


ตารางที่ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิง ประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน n x SD t p กอนเรียน 28 14.82 2.229 -25.312* .000 หลังเรียน 28 24.82 2.056 *p < .05 จากตารางที่ 2 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรู เชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม หลังเรียนสูงกวากอน เรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปผลการวิจัย 1. การพัฒนาชุดกิจกรรมชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ เพื่อการเรียนรู ประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม ที่ผูวิจัยสรางขึ้น มีคาประสิทธิภาพเทากับ 87.86/82.74 เปนไป ตามเกณฑที่ตั้งไว 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ เพื่อการ เรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม หลังเรียนสูงกวากอนเรียนโดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อภิปรายผล ชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผาน กระบวนการประติมากรรม ชุดกิจกรรมทั้ง 3 ชุด มีคาประสิทธิภาพรวมเทากับ 87.86 /82.74 และแตละชุดเปนไปตามเกณฑ ที่กำหนดไว 80/80 ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา ชุดกิจกรรมศิลปมีการพัฒนาชุดกิจกรรมอยางมีระบบขั้นตอน การศึกษาเอกสาร ขอมูล เนื้อหา เกี่ยวกับประวัติศาสตรศิลปะลานนา ในอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย การพัฒนาสื่อประกอบกิจกรรม ประติมากรรมจำลองและยางซิลิโคนรับเบอรลวดลายปูนปนเชียงแสนอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินคุณภาพของชุด กิจกรรมศิลปะโดยผูเชี่ยวชาญจำนวน 3 ทาน ทำใหนักเรียนสามารถปฏิบัติเพื่อเรียนรูเนื้อหาทางประวัติศาสตรศิลปะลานนา ในอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย สงเสริมการใหความสำคัญงานศิลปะในพื้นที่จังหวัด โดยมีกระบวนการประติมากรรม ตามที่(มัย ตะติยะ, 2549, น.27) กลาววาเปนผลงานศิลปะแขนงหนึ่งในทัศนศิลปที่เกิดจากผลแหงการรับรู ผานประสาท สัมผัสทางตานับวาเปนการแสดงออกถึงความรูสึก จากการสังเกตสิ่งตางๆ รอบตัว หรือจากการนําความคิดจินตนาการมา สรางสรรคงานใหมีสภาพคลาย ความเปนจริง ดวยการปน การแกะสลัก การหลอ หรือการสรางลักษณะอื่นๆ อาจเปนการปน รูปแบบ ดวยดินเหนียวแลวจึงทําแบบแมพิมพสําหรับหลอปูนปลาสเตอรหรือหลอดวยวัสดุอื่นไดทั้งสิ้น รวมไปถึง(กาญจนา เกียรติประวัติ, 2524) ไดกลาวถึงประโยชนของ ชุดการเรียนการสอนไววาชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนของผูเรียน เพราะ สื่อประสม (multi-Media) ที่จัดไวในระบบ เปนการแปรเปลี่ยนกิจกรรมและชวยรักษาระดับความสนใจของผูเรียนอยู ตลอดเวลา โดยศึกษาเกี่ยวกับรายละเอียด หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการสรางชุดกิจกรรมการเรียนรู (Banathy, 1968; ชัย 37


ยงค พรหมวงศ, 2545; มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร, 2552) มาสรางเปนชุดกิจกรรม โดยชุด กิจกรรมที่พัฒนาทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติ ซึ่งสอดคลองกับ(ณัฐกาญจน จันทนเนื้อไม, 2562) ที่พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อสงเสริมการเห็นคุณคาศิลปะลานนาและศึกษาผลการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูที่สงเสริมการเห็นคุณคาศิลปะลานนา ความสำคัญของศิลปะลานนา จากศิลปวัตถุและสถานที่จริง ประกอบกับขอความรูจากคูมือและการทำกิจกรรมการตอบ คำถาม ถายภาพ วาดภาพ เลนเกม และการสรางสรรคงานศิลปะที่ไดรับแรงบันดาลใจจากศิลปะลานนา โดยเปนกิจกรรม ที่มี การเตรียมความพรอมดานอุปกรณและสื่อตางๆ มีการใชบทบาทสมมติและมีรูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสม การใชทฤษฎีการ เรียนรูเชิงประสบการณของโคลบ (Kolb, 1984, p.38) ใหคํานิยามเกี่ยวกับการเรียนรูไววา “เปนกระบวนการที่ความรูได สรางขึ้นมาจากการเปลี่ยนผานของประสบการณ” ไมเปนทางการ โดยการเขาไปเกี่ยวของกับสถานการณตาง ๆ หรือการ สังเกตไดจากการกระทําของผูอื่น ซึ่งเกิดขึ้นจากการดําเนินชีวิต การทํางาน และการศึกษา จึงมีความสอดคลองกับ (สุธิดา ฮวด ศรี, 2560) ที่ไดพัฒนาและหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมศิลปะตามการจัดการเรียนรูเชิงประสบการณเพื่อเสริมสรางความคิด สรางสรรค ของนักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 1 ชุดกิจกรรมศิลปะมีประสิทธิภาพเทากับ 81.74/82.50 ซึ่งสูงเกณฑที่ตั้งไว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนดวยชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการเรียนรูเชิงประสบการณของ โคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะลานนาผานกระบวนการประติมากรรม หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไวอทั้งนี้อาจะเปนเพราะวานักเรียนมีความสนใจ มีการสังเกตใตรตรอง ใน การใชชุดกิจกรรมการเรียนรู ศึกษาเนื้อหา รูปภาพตัวอยางจากชุดกิจกรรมศิลปะ สรุปความรูจากแบบฝกหัดทายกิจกรรม รวมถึงการลงมือปฏิบัติในการปนดินน้ำมัน และการหลอปูนปลาสเตอรลวดลายปูนปนเชียงแสน ชุดกิจกรรมศิลปะมีขั้นตอน การเรียนรูโดยใชการเรียนรูเชิงประสบการณทั้ง 4 ขั้นตอนดังที่(ทิศนา แขมมณี, 2551) กลาววา โคลบ(Kolb)ไดนําเสนอวัฏ จักรการเรียนรูเชิง ประสบการณ (Experiential Learning Cycle) เพื่ออธิบายกระบวนการการเรียนรูของบุคคลวา เมื่อบุคคล ไดรับประสบการณตรงหรือประสบการณที่เปนรูปธรรม (Concrete Experience) บุคคล จะเรียนรูจากการสังเกตและการ ไตรตรอง (Reflective Observation) ประสบการณนั้นและสราง ความคิดรวบยอด (Abstract Conceptualization) ซึ่ง บุคคลนั้นสามารถนํามาปรับใชหรือทดลอง (Active Experimentation) สงผลใหคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูง กวากอนเรียน ซึ่งสัมพันธกับ (ปริยาภรณ พรมหอม, กนิษฐา เชาววัฒนกุล, และ รัตนา เมฆพันธ, 2562) ที่พัฒนาความสามารถ ในการแกปญหาทางคณิตศาสตรโดยใชการจัดการเรียนรูเชิงประสบการณซึ่งหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 รวมไปถึง Kelley (1986: 32–A) อางถึงใน วรนารถ อยูสุข (2555) ศึกษาเปรียบเทียบผลการฝกตามแบบ แผนเสริมสรางประสบการณทางศิลปะเพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรคทางศิลปะเปนเวลา10 สัปดาห ในระดับชั้นประถมศึกษา ปที่ 1 ผลปรากฏวา ความคิดสรางสรรคของเด็กที่เขารวมตามแผนกับเด็กที่ไมไดเขารวมตามแผนแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญ ทางสถิติผูวิจัยมีการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนารูปแบบการเรียนรูและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรูดานประวัติศาสตร ศิลปะและการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีความสอดคลองกับมณฑวรรณ เดชประสิทธิ์ (2547) ไดศึกษา คนควา เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย เรื่องประวัติศาสตรศิลปะตะวันตกยุคใหมสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาศิลปศึกษา ผลการศึกษาพบวา บทเรียนคอมพิวเคอรมัลติมีเดีย เรื่อง ประวัติศาสตรศิลปะตะวันตกยุคใหม มีคุณภาพจาก การประเมินของผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและดานสื่อการศึกษา อยูในระดับดีมาก และมีประสิทธิภาพ 87.57/87.13 เครื่องมือที่ ใชในการศึกษาคนควาคือ บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย เรื่อง ประวัติศาสตรศิลปะตะวันตก ยุคใหม แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย โดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อและดานสื่อ 38


รวมทั้ง(ธนาวุฒิ สุขเกื้อ, 2559) ไดพัฒนาสื่อการเรียนรูภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ สำหรับหนวยการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะ ตะวันตกเปนการวิจัยกึ่งทดลอง ซึ่งมีประสิทธิภาพที่ระดับ 83.44/81.63 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนดวยสื่อ การเรียนรูภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ มีผลการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 ขอเสนอแนะ จากการวิจัย มีขอเสนอแนะเพื่อการนำผลการวิจัยไปใชคือ การนำชุดกิจกรรมศิลปะไปใชในการจัดการเรียนการสอน ผูสอนควรพิจารณา ความสอดคลอง และความเหมาะสมดานเนื้อหา และกระบวนการกิจกรรม และบริบทของสถานศึกษา และตัวผูเรียนแตละที่กอน เพื่อจะสามารถใชไดเกิดประโยชนสูงสุด และควรทำความเขาใจเกี่ยวกับรายละเอียดกิจกรรม การ เตรียมความพรอมดานวัสดุอุปกรณ เชน อุปกรณในการปนดินน้ำมัน และอุปกรณในการหลอปูนปลาสเตอร รวมถึงแมพิมพ ยางซิลิโคนรับเบอรลวดลายปูนปนเชียงแสน ที่ผูสอนควรลองทำกิจกรรมกอนนำชุดกิจกรรมไปใชจริง ผูวิจัยมีขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยตอไป คือ ควรมีการศึกษาวิจัยการสอนโดยใชชุดกิจกรรมศิลปะตามทฤษฎีการ เรียนรูเชิงประสบการณของโคลบเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะสมัยตาง ๆ ผานกระบวนการประติมากรรมในระดับชั้นอื่น และควรมีการสงเสริมใหผูสอนไดศึกษาพัฒนาและประยุกตตอยอดจากศิลปะลานนาลวดลายในศิลปะลานนา ในรูปแบบ ดิจิตอล บทเรียนคอมพิวเตอร หรือ แอพพลิเคชั่น (Application) เอกสารอางอิง (References) กาญจนา เกียรติประวัติ. (2524). วิธีสอนทั่วไปและทักษะการสอน. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช. ชัยยงค พรหมวงศ. (2545). บทบาทของเทคโนโลยีตอการเรียนการสอน. พัฒนาเทคนิคศึกษา, 14(42), 3-8. ณัฐกาญจน จันทนเนื้อไม. (2562). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อสงเสริมการเห็นคุณคาศิลปะลานนา. มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 12(5). 322-432 เตือนฤดี รักใหม. (2559). การออกแบบแอพพลิเคชั่นเพื่อการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี งาน วารสารวิชาการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร สจล คณะสถาปตยกรรม ศิลปะและการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง, 23(2 ), 119-132. ทิศนา แขมมณี. (2551). ลีลาการเรียนรู-ลีลาการสอน = Learning-teaching styles (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ศูนยตำรา และเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ธนาวุฒิ สุขเกื้อ. (2559). การพัฒนาสื่อการเรียนรูภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ สำหรับหนวยการเรียนรูประวัติศาสตรศิลปะตะวันตก. ปริญญานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, สาขาศิลปศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปริยาภรณ พรมหอม, กนิษฐา เชาววัฒนกุล, และ รัตนา เมฆพันธ. (2562). การพัฒนาความสามารถในการแกปญหาทาง คณิตศาสตรโดยใชการจัดการเรียนรู เชิงประสบการณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 12(2), 887-869 มณฑวรรณ เดชประสิทธิ์. (2547). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียเรื่องประวัติศาสตรศิลปะตะวันตก ยุคใหมสำหรับ นักศึกษาสาขาศิลปศึกษา. สารนิพนธปริญญามหาบัณฑิต, เทคโนโลยีการศึกษา. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 39


มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร. (2552). สื่อการสอนระดับปฐมวัยศึกษา : เอกสารการสอนชุดวิชา 21312 = Instructional media for early childhood education (พิมพครั้งที่ 13). นนทบุรี: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. มัย ตะติยะ. (2549). ประติมากรรมพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สิปประภา. วรนารถ อยูสุข. (2555). การพัฒนาความสามารถในการใหเหตุผลและความคิดสรางสรรคทางคณิตศาสตรของนักเรียน มัธยมศึกษาปที่ 4 โดยใชชุดกิจกรรมเสริมหลักสูตรคณิตศาสตรและวงจรการเรียนรูเชิงประสบการณ. วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. วิวัฒนไชย จันทนสุคนธ. (2551). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป ม.5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพสถาบันพัฒนาคุณภาพ วิชาการ (พว.) จำกัด. ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศมรดกศิลปวัฒนธรรม รวมกับ สำนักพิพิธภัณฑสถานแหง และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ทั่วประเทศ. (2557-2558). พิพิธภัณสถานแหงชาติ เชียงแสน สืบคนขอมูลเมื่อ 25 มีนาคม 2564, เขาถึงไดจาก http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/chiangsaen/index.php/th/about-us.html สงวน รอดบุญ. (2524). ศิลปกับมนุษย (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพครั้ง ที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2560). รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. สุธิดา ฮวดศรี. (2560). การพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะตามการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณเพื่อเสริมสรางความคิด สรางสรรคของนักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 1. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 9(25), 31-41. เสนอ นิลเดช. (2540). ศิลปะสมัยเชียงแสน พุทธศตวรรษที่ 17-24. หนาจั่ว สถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม, 14, 57-62. อมรรัตน ฉันทนาวี. (2555). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียเรื่องประวัติศาสตรศิลปะไทย สมัยทวารวดี สำหรับ นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร. สารนิพนธปริญญามหาบัณฑิต, สาขาเทคโนโลยี การศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Banathy, B. H. (1968). Instructional System. Belmont California, 250. Kolb, D. A. (1984). Experiential learning Experience as the source of learning process. Englewood Cliffs.: Prentice Hall. 40


Click to View FlipBook Version