The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บทความเต็ม_4U

บทความเต็ม_4U

2. เก็บกด (Repression) บางครั้งการคิดถึงประสบการณอันเลวราย ความทรงจำ หรือ ความคิดแย ๆ ก็ทำใหเรา อารมณเสียใจได เราจึงเลือกที่จะซอนมันไว เพื่อจะลืมความเจ็บปวดเหลานั้นไดในวันหนึ่ง 3. ฉายความรูสึก (Projection) บางครั้งความคิดหรือความรูสึกที่เรามีตอคนอื่นก็ทำใหเรารูสึกไมสบายใจได เหมือนกันเราจึงโยนความรูสึกนั้นไปใหคนอื่นแทน 4. ระบายกับสิ่งอื่น (Displacement) เมื่อเราเจอกับเหตุการณที่ทำใหอารมณเสีย เราอาจใชวิธีระบายอารมณนั้นใส บุคคลหรือวัตถุแทน เพื่อใหเรารูสึกดีขึ้น วิธีนี้ยังชวยลดความเสี่ยงจากการเผชิญหนากับตนตอของปญหาตรง ๆ ดวย 5. ถอยหนี (Regression) การเจอกับเหตุการณที่ทำใหเรารูสึกกังวลเครียด หรือไมสบายใจ ทำใหเราพยายามหนีจากมัน 6. หาเหตุผลเขาขางตัวเอง (Rationalization) บางคนพยายามอธิบายพฤติกรรมที่ตนเองไมชอบ ดวยเหตุผลที่ เขาขางตัวเอง เพราะการหลอกตัวเองชวยใหเกิดความสบายใจมากกวาการยอมรับความจริง 7. เปลี่ยนความรูสึกใหกลายเปนสิ่งที่ดี (Sublimation) กลไกนี้จะมีความคลายกับ Displacement แตตางกันตรงที่ เราจะเอาความรูสึกไมสบายใจมาใสในกิจกรรมหรือสิ่งที่เหมาะสม และไมเปนอันตรายกับคนอื่น 8. ทำในสิ่งที่ตรงขามกับความรูสึก (Reaction formation) คนที่ถูกความทุกขมากโดยไมตั้งตัว ๆ อาจทำในสิ่ง ตรงกันขาม เพื่อหักลางความรูสึกแยๆที่เกิดขึ้น 9. แยกสวนชีวิต (Compartmentalization) การแบงชีวิตออกเปนคนละสวน เชน แยกบุคลิกตอนทำงานออกจาก ตอนอยูกับครอบครัว อาจทำใหบางคนรูสึกปลอดภัยมากขึ้น 10. สนใจเหตุผลมากกวาอารมณ (Intellectualization) บางคนเวลาแกปญหาที่ทำใหเกิดความรูสึกไมดีอาจหันมา แกปญหาดวยวิธีกำจัดอารมณ และทุมเทความสนใจไปที่ขอมูลและเหตุผลอยางเดียว (Mcleod, S. A. 2019, April 10) การคิดหรือเขาขางตัวเองอาจจะชวยใหเราปลอดภัย จากความเครียด ความกังวล และความรูสึกแยอื่น ๆ แต บางครั้งกลไกทางความคิดก็มีขอเสียเพราะมันทำใหเราคิดอยูในภาวะหลอกตัวเอง (Selfdecption) ไมสามารถยอมรับความ จริงได และไมสามารถแกไขปญหาชีวิตไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นเราจึงตองรูเทาทันกลไกทางความคิด โดยการหันมาทำ ความเขาใจตัวเอง ยอมรับ ความเปนจริงใหมากขึ้น หรือลองพูดคุยกับคนอื่นเพื่อขอคำปรึกษาเกี่ยวกับปญหาดู สิ่งเหลานี้จะ เปนกาวแรกที่ทำใหเรารับมือกับจิตใจของตนเองไดดีและอาจสงผลใหชีวิตดีขึ้น อิทธิพลจากประสบการณตรงที่ไดรับจากความเชื่อและมุมมองทัศนคติของสังคม ผูสรางสรรคไดเคยผานการประสบปญหา ที่กระทบกระเทือนจิตใจ และสงผลกับการดำเนินชีวิต ซึ่งปญหาดังกลาว ไดฝงรากลึกอยูในจิตใตสำนึก และทุกครั้งที่ผูสรางสรรคไดพบเห็น สถานที่หรือวัตถุที่เคยเปนสวนหนึ่งในความทรงจำที่เปน ปญหา ภาพเหตุการณหรือเรื่องราวตาง ๆ ก็จะผุดขึ้นมาในความคิด โดยสิ่งเหลานี้เปนอุปสรรคในการดำเนินชีวิตและสงผลเสีย ตอภาพลักษณของผูสรางสรรค อิทธิพลจากสิ่งแวดลอมภายในเรือนจำ จากสภาพแวดลอมที่สรางสรรคไดใชชีวิตอยูภายในเรือนจำเปนเวลา 5 ป 6 เดือน ตัวผูสรางสรรคเองตองพบกับ สภาพแวดลอมที่เสื่อมโทรม ความเปนอยูที่โหดราย อยูในหองสี่เหลี่ยม ๆ ขนาดเล็ก และแออัดไปดวยจำนวนคน 200 ถึง 300 141


คน ขนาดหอง 8x10 เมตร ตอหอง ตองใชสิ่งของรวมกัน ใชผาหม ผาปูนอนผืนเดิม หองน้ำแบบไมมีประตูกั้น ไมมีความเปน สวนตัว มีบล็อกสุขาที่สกปรกมาก และคับแคบ ถูกจำกัดสิทธิลิดรอนทำใหความรูถึงสภาพแวดลอมเหลานี้ มีผลกับความรูสึก เปนภาพจำที่ทำใหตัวผูสรางสรรคเอง เกิดสภาวะกลัวที่แคบ จนมีผลกับการดำเนินชีวิตในหลายๆ ดานจนถึงปจจุบัน จากการศึกษาอิทธิพลในสภาพแวดลอมตางๆ จากที่กลาวมานั้นการจะสรางสรรคผลงานที่มีลักษณะตรงตาม แนวความคิด จึงมีความจำเปนตองศึกษาถึงลักษณะของศิลปะจัดวาง เนื่องดวยตัวผูสรางสรรคเองตองการสรางบรรยากาศ แทนความรูสึก ความอึดอัด ความกดดัน จนขาดอิสรภาพ จึงความจำเปนตองศึกษาศิลปะจัดวาง รวมกับการศึกษาลัทธิศิลปะ ดาดา อันแสดงออกโดยการใชสัญลักษณเพื่อเสียดสี ประชดประชันสังคม ในมุมมองที่นาสนใจ อิทธิพลจากศิลปะลัทธิดาดา (DADAISM) ลัทธิดาดา (DADAISM) เปนศิลปะ ที่แสดงการตอตาน ถากถาง ประชดประชัน เสียดสีสงครามและสภาพแวดลอม ทางสังคม ทั้งการเกลียดชังตัวบุคคล อีกทั้งขนบธรรมเนียมประเพณี และบริบทตนเหตุทั้งหมดที่อาจนำพาไปสูการเกิดสงคราม ซึ่งหยิบยกขออางตางๆและความเหลื่อมล้ำ ตอตานแนวคิดของพวกทุนนิยมที่นำพาไปสูการขัดแยงและการเกิดสงคราม ซึ่ง แสดงออกดวยการประชดประชัน เยาะเยย ถากถาง และทำใหมันกลายเปนเรื่องไรสาระ ดูตลก หรือจงใจเสียดสีดวยความดิบ เถื่อน เหลวไหล ทำลายความสมบูรณแบบลง ใชเทคนิคในการสรางสรรคดวยวิธีที่ผิดปกติซึ่งทำใหงานออกมามีลักษณะที่แปลก ใหมไปจากงานศิลปะดั้งเดิม อีกทั้งการแสดงออกทางความคิดเพื่อเสียดสีความดัดจริตและสิ่งเลวรายที่พบเห็นไดจริงใน ชีวิตประจำวัน พรอมทั้งทิ้งคำถามใหกับสังคม ผานทางงานศิลปะที่สราง อีกหนึ่งวิธีสรางสรรคผลงานที่นาสนใจของดาดาอิสม คือการนำเอา “วัตถุประกอบสำเร็จ” (READY MADE) มาปรับแตง หรือเพิ่มเติมรายละเอียด เพื่อใหสามารถสัมผัสกับอีก มุมมองหนึ่งทางศิลปะ ซึ่งมีแนวคิดที่วา วัตถุแวดลอมที่เราพบเห็นกันอยูเปนสามัญธรรมดาทุกสิ่งลวนแลวแตมีคุณคาในทาง ความคิดในแงของการผลิตและใชสอย โดยการพบเห็นธรรมดาอาจไมสามารถพบคุณคาทางศิลปะไดอยางเต็มที่ หากมีการจัด วางดัดแปลงเติมแตงแนวคิดใหมีลักษณะแปลกแยกออกไปจะสามารถบังเกิดเปนศิลปะที่สุดแสนวิเศษได (ARKAT VINYAPIROATH) ผลงานศิลปนที่ทำการศึกษา มักดาแลนา อบาคาโนวิช (Magdalena Abakanowicz) เกิดเมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ.2473 Falenty โปแลนด เสียชีวิตเมื่อ 20 เมษายน พ.ศ. 2560 วอรซอ,โปแลนด มักดาแลเปนประติมากร และศิลปนเสนใยชาวโปแลนดเชื้อสายทาร ทาร เธอเปนที่รูจักจากการใชสิ่งทอ เปนสื่อประติมากรรม ผากระสอบหยาบเย็บผูกมัดดวยเรซินสังเคราะหและการติดตั้ง กลางแจง เธอไดรับการยอมรับการยกยองอยางกวางขวาง วาเปนศิลปนที่ไดรับการยกยองในระดับนานาชาติที่สุดคนหนึ่งของ โปแลนด งานของเธอพูดถึงเรื่องวัฒนธรรม และธรรมชาติของมนุษยตลอดจนสถานะ และตำแหนงในสังคมสมัยใหม ความ หลากหลายของรูปแบบมนุษย แสดงถึงความสับสน และการไมเปดเผยตัวตน การวิเคราะหการปรากฏตัวของบุคคลในมวล มนุษยชาติ 142


สิ่งที่ผูสรางสรรคไดรับอิทธิพลจากศิลปนในเรื่องของตัวเนื้อเรื่องราว แนวคิด ในการนำเสนอผลงาน ที่พูดถึงเรื่องของ สังคม ความเปนอยู อดีตที่สงผลตอปจจุบัน การใชชีวิต แนวคิดและการสรางสรรคงานศิลปะ โดยใชแรงขับเคลื่อนจากอดีต แปลผลของความคิดถายทอดลงเปนงานศิลปะ ที่ตองการสื่อใหผูชมเขาถึงสาระสำคัญของผลงานที่นำเสนอ ชื่อ: Cage,1986,Sculpture,180×140×185 cm. ที่มา: www.szepmuveszeti.hu/rights_and_reproducti, (2564, ออนไลน, https://th.m.wikipedia.org) สิ่งที่ผูสรางสรรคไดรับจากศิลปน ดวยการหาขอมูลแนวคิด และรูปแบบในการทำงานของศิลปนที่ตัวของผูสรางสรรคไดคนควา และศึกษาหลักปฏิบัติ ในการทำงานศิลปะของศิลปนในแตละทาน ที่ตัวผูสรางสรรคนำมาเปนแบบอยางในการพัฒนาแนวความคิดสรางสรรค และ รูปแบบ เทคนิควิธีการนำเสนอ ที่สอดคลองกับแนวคิดมากที่สุด วิธีการสรางสรรคผลงาน การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุด "สภาวะความกดดันจากปมปญหาชีวิต" ตัวผูสรางสรรคเองไดผาน ประสบการณชีวิตที่เลวราย และยังฝงอยูในความทรงจำที่ไมอาจลบเลือนไปจากความคิด สิ่งเหลานี้สงผลกระทบตอความรูสึก และภาพลักษณของตัวผูสรางสรรค จึงนำไปสูแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงาน ที่แสดงออกโดยการถายทอด กระบวนการทางความคิด ความรูสึก ที่จะนำเสนอดวยกระบวนการทางเทคนิคงานประติมากรรมสื่อผสม แนวคิดในการสรางสรรค ผูสรางสรรคเคยผานประสบการณที่เลวรายที่สุดในชีวิต เปนความทรงจำที่ยังติดอยูในจิตใตสำนึกยากที่จะลบเลือน ไปจากความคิด โดยตัวผูสรางสรรคเองเคยถูกตองขังภายในเรือนจำเปนเวลา 5 ป 6 เดือน ซึ่งเปนประสบการณตรงของตัวผู สรางสรรคเอง จึงอยากถายทอดเรื่องราวของความเปนอยู การกิน การนอน การใชชีวิตประจำวัน สภาวะความอึดอัด ความ กดดัน จากการถูกคุมขังโดยถายทอดเรื่องราวผานชิ้นงานศิลปะ เพื่อปลดปลอยความรูสึก และตีแผประสบการณความเปนอยู ภายในเรือนจำ เพื่อเปนสิ่งกระตุนเตือนใจใหผูคนตระหนักถึงคุณคาแหง อิสรภาพ และไมกระทำผิดจนนำไปสูบทลงโทษที่ แสนเจ็บปวดและเปนบาดแผลรายของชีวิต 143


(ก) (ข) ขอมูลจากประสบการณตรงของผูสรางสรรค ผูสรางสรรคตองการสื่อถึงประสบการณที่เลวรายในชีวิตและเปนปมที่ยังสงผลกับชีวิตของตัวผูสรางสรรค เสมือน ของแหลมมีคมที่ยังคงทิ่มแทง เวลาคิด หรือไดพบเห็นสิ่งของที่เคยอยูในความทรงจำ ซึ่งเปนประสบการณตรงของตัวผู สรางสรรคเอง และเกิดเปนแรงบันดาลใจสูการสรางสรรคผลงานทางนี้จึงทำการเก็บขอมูลดังตอไปนี้ ภาพการใชชีวิตที่แออัดภายในหองขัง (เรือนนอน) ที่มา: khaosod.co.th (2564, ออนไลน, https://:khaosod.co.th) สภาพความเปนอยูภายในเรือนจำ การหาขอมูลสำหรับทำงานสรางสรรคงานวิทยานิพนธชุด “สภาวะความกดดันจากปมปญหาชีวิต” ตัวผูสรางสรรค เองไดเคยใชชีวิตอยูภายในเรือนจำ ซึ่งเนื้อหาและขอมูลจากประสบการณตรงของตัวผูสรางสรรคเอง ที่จะถายทอดสภาพความ เปนอยู ความแออัด และสิ่งที่เกี่ยวของ กับการสรางสรรคงานวิทยานิพนธ เพื่อใชเปนขอมูลในการสรางสรรคผลงาน สภาพการใชชีวิตและสิ่งแวดลอมภายในเรือนจำ (ก) ภาพแผนผังการนอนที่ใชประชาสัมพันธของเรือนจำ (ข) ภาพความเปนจริงกับการนอนที่แออัดภายในหองขัง ที่มา: Matichon.co.th, khaosod.co.th (2564, ออนไลน, https://Matichon.co.th,khaosod.co.th) 144


จากที่กลาวมานั้นประสบการณในชวงเวลาที่เคยไดเขาไปใชชีวิตอยูในเรือนจำ เปนระยะเวลายาวนานนั้น ทำใหชวง ชีวิตหนึ่งที่ควรมีอิสระหายไป ประสบการณที่ไดรับจากครอบครัว เพื่อน พี่ นอง ญาติ สิ่งที่เคยคิดจะทำก็ไมไดทำ ที่เคยมี รวมกันก็ไมมี เปนการสูญเสียโอกาสที่แสนมีคาในชีวิตไป อยางยากที่จะเรียกคืนมาได เพียงแคการเลือกและตัดสินใจเดินผิด ทางไปเพียงชั่ววูบแตกลับกลายเปนการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญของชีวิต และจะเปนครั้งที่ไมสามารถเปลี่ยนแปลงอดีตได เพราะอดีตยังคงตามติด จนผูสรางสรรคแมปจจุบันจะไดรับการปลอยตัวใหไดรับอิสรภาพแลว ทางกายถูกปลดปลอย แต ภายในจิตใจกลับยังคงถูกกักขัง ยึดติดอยูกับอดีตที่แสนเจ็บปวด หนทางเดียวที่จะหลุดพนจากปมปญหาชีวิตนี้ใหเบาบางลงได คงมีเพียงการไดทำศิลปะที่ตนรักและเสมือนเปนการพิสูจนวาตนเองยังมีคุณคา และยังตองการการยอมรับจากสังคม การสรางสรรคผลงาน ผลงานชิ้นที่ 1 เปนผลงานประติมากรรมสื่อผสม การจัดวางแบบพื้นระนาบ มีลักษณะเปนโครงสราง รูปทรงมนุษย ที่หอหุมดวยผาโบตั๋น และมีตะปูปกอยูทั่วรูปทรงรางกาย การสรางสรรคผลงานไดแรงบรรดาลใจมาจากเรื่องราวของผู สรางสรรคเอง ที่ไดเคยถูกคุมขังอยูภายในเรือนจำ โดยตัวชิ้นงานมีรูปแบบของทานอนขด ใบหนาที่วางเปลา แสดงถึงความเปน คนที่ไรตัวตนในสังคม และถูกตอกย้ำดวยตะปูที่มีลักษณะแหลมคมบงบอกใหเห็นถึงความเจ็บปวด จากสภาพสังคมที่มองขาม การมีตัวตนของคนที่เคยจะทำผิด และถูกคุมขังในเรือนจำ ชื่อศิลปน นายมนูญ วุฒิพงษ ชื่อผลงาน สภาวะความเจ็บปวดจากปมปญหาในอดีต เทคนิค ประติมากรรมสื่อผสม ขนาด 180x45x60 cm. ที่มา: ผูสรางสรรค ปที่สรางสรรค พ.ศ. 2565 145


ผลงานชิ้นที่ 2 เปนผลงานประติมากรรมสื่อผสม เปนการจัดวางแบบติดตั้งกับพื้นมีลักษณะเปนโครงสรางมนุษย มี ผาโบตั๋นหอหุมรางกายดานนอก ดานในโครงสรางเปนโฟมและเหล็ก ซึ่งชิ้นนี้มีลักษณะเปนทายืนลำตัวลอยจากสวนขา โดยใช โซเปนตัวรับน้ำหนักจากดานบน สวนขามีโซตรวนคลองพันธนาการไว ชิ้นนี้จะสื่อถึงการถูกจองจำทางความคิดจากครั้งอดีต แมเหตุการณจากลวงเลยผาน แตภาพจำจากอดีตยังคงไมลบเลือน ทำใหปจจุบันคอยๆเลือนลางจางหายไปจากความเปนจริง เหมือนมีชีพจรแตกลับไรตัวตน และมีโซตรวนที่เปนภาพตัวแทนจากอดีตมาเปนวัสดุนำเรื่องราวผลงานในชิ้นนี้ ชื่อศิลปน นายมนูญ วุฒิพงษ ชื่อผลงาน ลมหายใจที่ไรตัวตน เทคนิค ประติมากรรมสื่อผสม ขนาด 50x180x50 cm. ที่มา: ผูสรางสรรค ปที่สรางสรรค พ.ศ. 2565 146


สรุปการสรางสรรคผลงานชุด “สภาวะความกดดันจากปมปญหาชีวิต” จากการสรางสรรคผลงานชุด “สภาวะความกดดันจากปมปญหาชีวิต” ไดคนหาแนวคิดที่ไดรับมาจากประสบการณ ตรงที่เคยเกิดขึ้นกับตนเอง คือการถูกตัดสินใหจำคุกเปนระยะเวลานาน 5 ป 6 เดือน จากการที่ตองสูญเสียอิสรภาพในคุกนั้น ทำใหตัวผูสรางสรรคตองประสบกับชะตากรรมในหลายรูปแบบที่กดดัน โหดรายตอความรูสึกหลายดาน จากที่กลาวมานั้นผ ทำใหผูสรางสรรคตองการแสดงออกถึงภาวะกดดัน บีบคั้น โดยเลือกใชเทคนิคทางประติมากรรมลอยตัว รวมกับการวิเคราห แนวคิดในการสรางสรรคผานกรอบทฤษฎีทางศิลปะ และศิลปนกรณีศึกษา โดยการสรางสรรครูปทรงมนุษยแทนตัวผู สรางสรรคเอง อันเปนสัญลักษณที่แสดงออกถึงการไรอิสระภาพ จากการถูกจองจำ ดวยโซตรวน การใชตะปูมาแทน สัญลักษณของปญหาที่ถาโถมเขามาในชีวิต เปรียบไดกับ การถูกคุกคามดวยความคิด แววตา ของผูคนที่เหยียดหยาม ดูถูก กดดันใหผูสรางสรรคตองพยายามพัฒนาตนเองใหหลุดพนจากปมปญหาในชีวิต การสรางสรรคผลงานในครั้งนี้จึงเปนการสราง สัญลักษณเพื่อบอกเลาดวยเทคนิคที่มีการพัฒนา แกปญหาในทุกกระบวนการเพื่อใหผลงานมีคุณภาพและตรงตามแนวคิด สรางสรรคใหมากที่สุด เอกสารอางอิง ทฤษฎีจิตวิเคราะห. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 19 สิงหาคม 2564 จาก https://www.kroobannok.com/99 ลั ท ธิ ด า ด า ห ยุ ด ดั ด จ ริ ต โ ล ก ส วย แ ล วเ ผ ชิ ญ ค วา ม จ ริ ง บ น โ ล ก ที่ ไ ม ส ม บู ร ณ แ บ บ . [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 27 ตุลาคม 2564.จาก https://moontonerecords.weebly.com/articles/dada Cage,1986, Sculpture. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 10 กันยายน 2564 จาก https://www.szepmuveszeti.hu/rights_and_reproducti/th.m.wikipedia.org หองขังนักโทษไทย. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 27 ตุลาคม 2564 จาก https://:khaosod.co.th สภาพการใชชีวิตและสิ่งแวดลอมภายในเรือนจำ. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 27 ตุลาคม 2564 จาก https://Matichon.co.th,khaosod.co.th 147


รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว THE APPEARANCE OF RELATIONSHIP FROM CAT ภาพตะวัน คุ่ยกลิ่น* (ศป.ม.ทัศนศิลป์) 1 2 อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เมตตา สุวรรณศร 3 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม รองศาสตราจารย์ศุภชัย สุกขีโชติ นักศึกษาหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ บัณฑิตศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ E-mail [email protected] บทคัดย่อ ความรักความอบอุ่นในคอบครัวเป็นสิ่งส าคัญที่ท าให้มนุษย์ด ารงชีวิตได้อย่างมีความสุข หากปราศจากความรักความ อบอุ่น มนุษย์ย่อมแสวงหาสิ่งต่างๆ มาทดแทนความรู้สึกที่ขาดหายไป เช่นเดียวกับผู้สร้างสรรค์ที่ได้พบกับสัตว์เลี้ยงที่น่ารักคือ แมว ท าให้ได้รู้จักกับความรัก ความอบอุ่น เปรียบเสมือนแมวเป็นสมาชิกในครอบครัวคนหนึ่ง และท าให้ผู้สร้างสรรค์ได้มี ความสุขอีกครั้ง ผลการศึกษาพบว่า ความรัก ความอบอุ่น ความผูกพันที่เกิดขึ้นระหว่างคนกับสัตว์เลี้ยงเช่น แมวที่มีขนนุ่มนวลอบอุ่น น่ารัก ขี้อ้อน ที่สามารถบ าบัดความเครียดของมนุษย์ได้อย่างมาก การได้เล่นกับแมวด้วยความรัก ได้สัมผัส กอด ลูบไล้ขนของแมว หรือการ มองเห็นท่าทาง ลักษณะนิสัยความน่ารักสดใสของแมวนั้น ช่วยบรรเทาความทุกข์ในจิตใจลงได้ สอดคล้องกับทฤษฎีสัตว์เลี้ยงบ าบัด ทฤษฎีการบ าบัดด้วยการกอด ที่ช่วยคลายความเครียด คลายเหงา ความเหนื่อยล้า โดยการใช้เทคนิคประติมากรรมนุ่มโดยการใช้วัสดุ ผ้าขนสัตว์ ร่วมกับเส้นใยสังเคราะห์พบว่า ท าให้รูปทรงเกิดความรู้สึกอ่อนนุ่ม ฟูตัว คล้ายแมว การสร้างรูปทรงโดยใช้แนวคิดทฤษฎี สัญลักษณ์นิยมนั้นท าให้พบว่า เกิดรูปทรงที่หลุดพ้นจากความเป็นจริงเกิดเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายที่สื่อถึงความรู้สึกของแมวที่ น่ารัก น่ากอดและเป็นที่รัก จากที่กล่าวมานั้นแมวจึงเปรียบเสมือนบุคคลในครอบครัวที่จะไม่มีวันทิ้งกัน และจะอยู่ในใจผู้สร้างสรรค์ ตลอดไป ค าส าคัญ: รูปลักษณ์, ความนุ่มนวล, อบอุ่น, สายสัมพันธ์รัก, แมว Abstrac Love, warmth, and warmth are important for humans to live happily. Some may have been given a human to replace lost feelings, just like the creator who met a cat. He has come to know the term love bond of family The study found that love, warmth, and the bond between people and animals such as cats with soft fur, warm and cute. It can greatly treat human stress. playing with cats with love, touching, hugging and petting their fur or seeing beautiful gestures Get to know the cuteness of that cat's bright personality. help alleviate the suffering in the mind. This is in line with the theory of hug therapy Hugging helps relieve stress, fatigue, and loneliness. By using soft sculpture techniques using wool material. together with synthetic fibers. found that it makes the shape feel soft, fluffy, like a cat. constructing shapes using symbolism theory. It was found that the shape that came out of reality was born. the symbol represents the sentiments of a cute cat. cuddly and loving with that said, cats are like family members who will never leave each other and will be in the hearts of creators forever. 148


Keywords: appearance, softness, warmth, love, cat บทน า การสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ชุดนี้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงความรัก ความผูกพันที่ผู้สร้างสรรค์ได้รับจากแมว ซึ่ง แมวเป็นสัตว์เลี้ยงที่มีความน่ารัก น่าเอ็นดู ที่ผู้สร้างสรรค์ได้พบเห็นผ่านรูปลักษณ์ ลักษะของแมวที่นุ่มนวล อ่อนโยน นิสัยที่ขี้ อ้อนประจบประแจงของแมว สร้างความรู้สึกอยากสัมผัส ลูบไล้และโอบกอด ดังนั้นเพื่อถ่ายทอดความรู้สึก ที่ได้รับจากการ เลี้ยงแมว ผู้สร้างสรรค์จึงต้องการสร้างสรรค์ผลงานชุดนี้ขึ้น อีกทั้งยังหวังเพื่อกระตุ้นเตือนให้สังคมเห็นถึงสายสัมพันธ์รักที่ มนุษย์มีต่อสัตว์เลี้ยงเช่นแมว ซึ่งเปรียบเสมือนเพื่อนที่คอยเยียวยาความเหงา ความเดียวดาย และความรู้สึกจากการกอดสัมผัส รักแมวนั้น สามารถช่วยผ่อนคลายปัญหาในชีวิตให้เบาบางลงได้บ้าง ไม่มากก็น้อย ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา สภาพสังคมในปัจจุบัน มนุษย์ต้องดิ้นรนเอาตัวรอดจากสภาวะวิกฤตต่าง ไม่ว่าจะเป็นเศษฐกิจ การเมือง โรคระบาด ค่านิยม และวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เป็นสาเหตุที่ท าให้เกิดความเครียด และส่งผลเสียถึงสถาบันครอบครัว ใน ปัจจุบันปัญหาครอบครัว ทั้งการใช้ความรุนแรง การขาดการรับผิดชอบต่อครอบครัว การการหย่าร้างมีเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งผู้ สร้างสรรค์เอง ก็เป็นผู้ที่ประสบกับปัญหาการหย่าร้างของบิดามารดาในขณะที่ยังเยาว์วัย ท าให้ชีวิตในวัยเด็กขาดความรัก ความอบอุ่นที่เด็กคนนึงควรจะได้รับ จนมีความเศร้า ความเหงาและการขาดความรักเกิดขึ้นในจิตใจ แต่มีสิ่งหนึ่งที่ช่วยให้ผู้ สร้างสรรค์ผ่านช่วงเวลาที่ยากล าบากนั้นมาได้คือการเลี้ยงแมว แมวเป็นสัตว์เลี้ยงที่มีความน่ารัก น่าเอ็นดู มีนิสัยขี้เล่น ขี้อ้อนใน บางครั้งชอบเข้ามาคลอเคลียกับมนุษย์ แมวเป็นผู้ให้ความรักที่ไม่มีเงื่อนไขแก่เจ้าของ เป็น "เพื่อนสี่ขา" ที่สร้างความอบอุ่น ความสุข และเสียงหัวเราะได้ตลอดเวลาได้อยู่ด้วยกัน เป็นเหมือนก าลังใจเยียวยาความเหงาเดียวดาย จนเกิดเป็นสายสัมพันธ์ แห่งรัก ความรักและความผูกพันที่ผู้สร้างสรรค์มีต่อสัตว์เลี้ยงคือแมว ได้ทดแทนความรู้สึกรักและอบอุ่นที่ขาดหายไปในวัย เด็กและหล่อหลอมเป็นตัวตนในปัจจุบัน ผู้สร้างสรรค์จึงต้องการถ่ายทอดความรู้สึกรัก ความอบอุ่น ความประทับใจที่ผู้ สร้างสรรค์ได้รับจากการเลี้ยงแมวสู่สังคม วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ 1. เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ในหัวข้อ “รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว” เพื่อแสดงให้เห็นถึงความรัก ความผูกพันระหว่างมนุษย์และแมว 2. เพื่อสร้างสรรค์ผลงานในเทคนิคงานประติมากรรมนุ่ม ด้วยวัสดุ ที่นุ่มนวล 3. เพื่อแสดงให้เห็นถึงคุณค่าของความรัก ความผูกพัน ความอบอุ่นที่ได้รับจากการเลี้ยงแมว ขั้นตอนในการสร้างสรรค์ การสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ในหัวข้อ “รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว” ประกอบด้วยการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลทางวิชาการ ทั้งจากต าราและศึกษาดูผลงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่มีเนื้อหาด้านความรัก ความอบอุ่น ความผูกพันใน ครอบครัว ระหว่างมนุษย์กับสัตว์เลี้ยง การกอดสัมผัส การที่มนุษย์มองว่าแมวเปรียบเสมือนสมาชิกบุคคลหนึ่งในครอบครัว ที่ ทดแทนความรักความอบอุ่นในครอบครัวที่ขาดหายไป รวบรวมและสรุปเป็นภาพรวมของข้อมูลพื้นฐาน การศึกษาหนังสือ 149


ต ารา อินเตอร์เน็ต และการศึกษาดูงานจากสถานที่จริง รวมถึงการศึกษาจากผลงานและแนวคิดจากศิลปินที่สร้างสรรค์ผลงาน ลักษณะดังกล่าว ขั้นตอนของการศึกษาและการสร้างสรรค์จะเริ่มขึ้นจากการศึกษาเพื่อการน าเสนอผลงานทัศนศิลป์ชุด “รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว” วิธีการศึกษา ศึกษาเอกสารทางวิชาการ แนวคิด กรอบทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ - จิตวิทยาความรัก - การบ าบัดด้วยการกอด - ข้อมูลทางวิชาการในเรื่อง สัตว์เลี้ยงบ าบัด - ข้อมูลอิทธิพลจากรูปลักษณ์ และพฤติกรรมของแมว - แนวคิดประติมากรรมนุ่ม - ทฤษฎีสัญลักษณ์นิยม ศึกษาข้อมูลศิลปินที่ได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ชุด “รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว” ทั้งจ ากศิลปินไทยป ร ะ กอบด้ วย สุกัญญ า เม า ร าษี, แล ะศิลปินต่ างป ร ะเทศ ได้ แก่ Ernesto Neto Studio, Roosmeerman&KunstLAB, Selynn, เคนจิ ยาโนเบะ ศึกษาเทคนิคในการสร้างสรรค์และการติดตั้งผลงาน - ศึกษาเรื่องการตัดเย็บผ้า การสร้างสรรค์ประติมากรรมนุ่มด้วยวัสดุที่นุ่มนวล - ศึกษาเทคนิคการปัก (Needle Felting) การปักขนสัตว์เทียม ศึกษาและทดลองการติดตั้งด้วยเทคนิควิธีการ ดังต่อไปนี้ - ติดตั้งแบบห้อยแขวน - ติดตั้งกับพื้นระนาบ - ติดตั้งบนฐาน - ติดตั้งกับผนัง - ศึกษารูปแบบและวิธีการน าเสนอ ทฤษฎีและกรอบแนวความคิดในการสร้างสรรค์ ผลงานประติมากรรมนุ่ม ชุด “รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รัก จากแมว” - ทฤษฎีจิตวิทยาความรัก - ทฤษฎีสัตว์เลี้ยงบ าบัด - ทฤษฎีการบ าบัดด้วยการกอด - ข้อมูลอิทธิพลจากรูปลักษณ์ และ พฤติกรรมของแมว - เทคนิคประติมากรรมนุ่ม - ทฤษฎีสัญลักษณ์นิยม ปัญหาสภาพจิตใจที่ต้องกา ร ความรักความอบอุ่น การหาสิ่ง ใ ด ๆ ม า ท ด แ ท น เ ติ ม เ ต็ ม ความรู้สึกที่ว่างเปล่า จนได้พบกับ แมว ที่เยียวยาจิตใจผู้สร้างสรรค์ 150


ที่มา: ผู้สร้างสรรค์ จิตวิทยาความรัก (psychology of love) ความรักเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนต้องการ เริ่มตั้งแต่เกิดมา มีช่วงชีวิต วัยเด็ก ความผูกพันกับพ่อแม่ ผู้ใกล้ชิด ซึ่งใน อารมณ์นั้นเองยังคงฝังแน่นติดตรึงใจเราเสมอมา โดยประสบการณ์ และความรู้สึกจากวัยเด็ก (ลัญฉน์ศักดิ์ อรรมยากรม, 2565)” สอดคล้องกับแนวคิดในเรื่องความรัก อันเป็นแรงขับเคลื่อนของทุกรูปแบบความสัมพันธ์ให้เดินหน้าไปในทิศทาง เดียวกัน (บุญโสภา, 2565) จากที่กล่าวมานั้นยังมีนักจิตวิทยา (Stemberg, 1986) ซึ่งได้เสนอทฤษฎีสามเหลี่ยมของความรัก ซึ่งอธิบายถึง ธรรมชาติและรูปแบบของความรักว่าประกอบด้วย 3 องค์ประกอบส าคัญ คือ ความใกล้ชิด (Intimacy) ความเสน่หา (Passion) และความผูกมัด (Commitment) ซึ่งองค์ประกอบมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ภาพที่ 1 สามเหลี่ยมของความรัก ที่มา: สามเหลี่ยมของความรัก. [ออนไลน์] เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2565 เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/618576 กรอบทฤษฎีสัตว์เลี้ยงบ าบัด (pet therapy) สถานบันสุขภาพแห่งชาติสหรัฐ ท าการศึกษาเรื่อง The Benefit of Pet and Animal-Assisted Therapy to the Health of Older Individuals โดยการศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อวัดประสิทธิภาพการรักษาโรคซึมเศร้าและจิตเภท ด้วยการใช้ สัตว์เลี้ยงบ าบัด เป็นที่ทราบกันดีว่า สัตว์เลี้ยง นั้นช่วยให้ภาวะสุขภาพจิตดีขึ้น อาทิเช่น บ าบัดความเหงา ความโดดเดี่ยว การ แยกตัวจากสังคม (Chemiack, 2557) ผลการศึกษา pets therapy ได้ท าการศึกษากลุ่มตัวอย่างจ านวน 144 ราย ที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์ในผู้สูงอายุ โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างเพื่อควบคุม ประเมินผลโดยใช้แบบประเมินทางจิตใจ พบว่า ในกลุ่มที่ได้รับการบ าบัดด้วยสัตว์เลี้ยงมีค่า คะแนนกลุ่มอาหารทางจิตใจ (psychological symptoms) ดีกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการบ าบัดอย่างชัดเจน มีผู้มีป่วยโรคซึมเศร้า แสดงความรักความผูกพันของ มนุษย์และแมวที่สามารถเติมเต็ม ความรักความอบอุ่นที่ขาดหายไป ในชีวิต 151


กว่า 28 รายที่ได้รับการประเมินจากแบบประเมินภาวะซึมเศร้า มีอาการของโรคซึมเศร้าลดลงอย่างชัดเจน ขณะที่การบ าบัดใน ผู้ป่วยโรคจิตเภท กว่า 20 ราย ที่ได้รับการบ าบัดด้วยสัตว์เลี้ยงจากสุนัขและแมวในระยะเวลา 3 ชม.ต่อสัปดาห์ จากการศึกษาพบว่าสัตว์เลี้ยงมีส่งผลต่อสภาพอารมณ์และจิตใจของมนุษย์ ดังนั้นการจะพัฒนาผลงานให้ตรงตาม แนวคิดนั้นจ าเป็นต้องศึกษาแนวคิด สัตว์เลี้ยงบ าบัดเพื่อช่วยให้เข้าใจว่าการเลี้ยงแมวส่งผลต่อสภาพจิตใจของผู้เลี้ยงอย่างไร และน ามาข้อมูลมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน การบ าบัดด้วยการกอด (Hug Therapy) Dolores Krieger R.N. Ph.D.ศาสตราจารย์ทางการพยาบาลที่ New York University และเป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขา การบ าบัดด้วยการสัมผัส กล่าวว่า บุคคลที่ได้รับการกอด หรือกอดผู้อื่น จะท าให้เกิดการกระตุ้นการท างานของ Hemoglobin ท าให้การล าเลียงของ oxygen ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ ท างานได้อย่างทั่วถึง ท าให้บุคคลเกิดความรู้สึกสดชื่น มีชีวิตชีวามี งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้วิธีกอดในผู้ป่วยสูงอายุ70 ปีขึ้นไปพบว่า เมื่อใช้การกอดบ าบัด ท าให้ผู้สูงอายุ มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น มี ความกระตือรือร้น มีความต้องการที่อยากจะมีชีวิตอยู่ต่อไป และมีความสามารถในการแก้ไขปัญหาต่างๆมากขึ้น นอกจากนั้น การสัมผัสยังช่วยบรรเทาความเจ็บปวด ซึมเศร้าและความวิตกกังวล ที่ท าให้ผู้ป่วยมีความตั้งใจที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไป การสัมผัส ยังช่วยให้เด็กคลอดก่อนก าหนด ได้รับการชดเชยเหมือนอยู่ในตู้อบ ท าให้เด็กเติบโต มีทักษะในการด าเนินชีวิต จากการศึกษาผลดีของการกอดยังท าให้เกิดความรู้สึกดี ลดความตึงเครียด ต่อสู้อาการนอนไม่หลับ คลายความรู้สึก เหงา เดียวดาย จากข้อมูลที่ศึกษาแสดงให้เห็นความการกอดสัมผัสมีความส าคัญต่อการเยียวยาสภาพจิตใจของมนุษย์ได้อย่าง มาก ดังนั้นผู้สร้างสรรค์จึงน าแนวคิดการกอดสัมผัส การได้รับความอบอุ่น และนุ่มนวลแห่งการกอดแมวมาเป็นแรงบันดาลใจ ในการสร้างสรรค์ผลงาน ข้อมูลอิทธิพลจากรูปลักษณ์ และพฤติกรรมของแมว ข้อมูลจากหนังสือ แมว (cat) เหมพันธ์ เหมวรนันท์(ม.ป.ป., น. 24) แมวเป็นสัตว์เลี้ยงเก่าแก่ไม่แพ้พวกสุนัข เป็น สัตว์เลี้ยงโปรดปรานของคนทุกขั้น เช่นประธานาธิบดี Theodore Roosevelt เป็นเจ้าของแมวชื่อ Slippers และมักจะพา Slippers ตัวโปรดไปยังท าเนียบขาว เพื่อร่วมรับประทานอาหารเย็นด้วยเสมอ ประธานาธิบดี Winton Churchill มีแมวตัวผู้ ชื่อ Ginger tomมักจะพาแมวตัวโปรดนี้ไปประชุมที่สภาของประเทศอังกฤษ ภาพที่2 กายวิภาคแมว ที่มา: เหมพันธ์ เหมวรนันท์(ม.ป.ป., น. 19) แมวเป็นสัตว์ที่มีการเคลื่อนไหวตัวโดยน้ าหนักทุกส่วนอยู่บริเวณอุ้งฝ่าเท้า เพื่อให้การทรงตัวเกิดความสมดุลได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ข้อเท้า ขา นอกจากนี้บริเวณศีรษะก็สามารถหมุนพลิกไปด้านหลังได้ดีอีกด้วย องค์ประกอบโครงสร้างของ กระดูกสันหลังจะเชื่อมโยงสู่ส่วนต่างๆ ของกล้ามเนื้อ กลายเป็นแหล่งก าลังสะสมไว้จึงนับว่าแมวมีความสามารถกระโดดได้ อย่างวิเศษสุดในบรรดาสัตว์สี่เท้าด้วยกัน ช่วงคอและไหล่ของแมวจะมีกล้ามเนื้อช่วยให้มันล่าจับเหยื่อได้อย่างแม่นย า 152


แมวเป็นสัตว์เลี้ยงที่มีความเป็นนักล่าสูงมาก จากการศึกษาพบว่าแมวในบ้านสามารถล่าสัตว์ขนาดเล็กภายในบ้านได้ ทั้งแมลง สัตว์เลื่อยคลานที่ขนาดเล็กกว่าตัวแมว พฤติกรรมการล่าของแมวมักจะน าเหยื่อจับได้มาอวดมนุษย์ โดยจะคาบมาเล่น บริเวณใกล้ๆกับเจ้าของ ซึ่งเป็นพฤติกรรมการอวดความสามารถของแมว นอกจากการเป็นนักล่าแล้ว แมวยังมีนิสัยขี้อ้อน ชอบ มาคลอเคลียกับมนุษย์ โดยลักษณะของการถูไถกับตัวเจ้าของเพื่อฝากกลิ่นประจ ากลุ่มไว้กับร่างกายของเจ้าของ เสื้อผ้า เครื่อง นอนภายในบ้าน ซึ่งปกติแล้วแมวจะมี สัญชาตญาณการระวังตัวค่อนข้างสูงมาก จึงจะไม่เปิดเผยจุดที่อ่อนแอเช่น ช่วงล่าง หรือ ท้องแมว แต่หากแมวและเจ้าของมีความสัมพันธ์ที่ดี สนิทสนม ไว้ใจ จะพบว่าแมว สามารถนอนหงาย หยอกล้อกับเจ้าของ หรืออ้อนให้เกาพุงหรือหน้าท้องในบางครั้ง จากการศึกษาข้อมูลอิทธิพลจากรูปลักษณ์ และพฤติกรรมของแมวนั้น ผู้สร้างสรรค์ได้น าลักษณะทางกายภาพ พฤติกรรม และความน่ารักของแมว มาวิเคราะห์เพื่อเชื่อมโดยไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมนุ่ม ที่แสดงความรู้สึกถึง สายสัมพันธ์รักจากแมวถึงมนุษย์ ภาพที่ 3 ภาพแมวของผู้สร้างสรรค์ขณะนอนในลักษณะก าลังหยอกล้อกับเจ้าของ ที่มา: ผู้สร้างสรรค์ ประติมากรรมนุ่ม (Soft sculpture) ประติมากรรมนุ่ม หมายถึง ผลงานประติมากรรมนุ่มในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960เป็นการส ารวจของศิลปีน ในเรื่องการใช้วัสดุซึ่ง ยังไม่เป็นที่ยอมรับในงานประติมากรรมโดยใช้วัสดุจ าพวกผ้าขนสัตว์ เชือก ยาง กระดาย หนัง ไวนิล พลาสติก และอื่นๆ เพื่อสร้างเป็น รูปทรงต่างๆ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงวิธีการอันหลากหลาย และความกล้ าหาญของศิลปินที่ใช้วัสดุต่างๆ เหล่านั้น ในการสร้างงานประติมากรรม (กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2541) จากการศึกษาเทคนิคประติมากรรมนุ่ม พบว่าสามารถถ่ายทอดความนุ่มนวล ความอบอุ่น ซึ่งตรงตามแนวคิดในการ สร้างสรรค์ผลงานและสามารถให้ผู้ชมเข้ามามีปฏิสัมพันธ์กับผลงานได้ ภาพที่ 4 Small Mollington Knot Cushion 1973 ที่มา: Ann Sutton . [ออนไลน์] เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2565 153


เข้าถึงได้จาก : https://artuk.org/discover/art-terms/soft-sculpture ทฤษฎีสัญลักษณ์นิยมหลักนิยม (Symbolism) เป็นขบวนการทางศิลปะในช่วงปลายศตวรรษที่ 19ที่มีต้น ก าเนิด จากฝรั่งเศสรัสเซียและเบลเยียมในกวีนิพนธ์และศิลปะอื่น ๆ ที่พยายามจะน าเสนอความจริงอย่างแท้จริงด้วยสัญลักษณ์ผ่านภาษาและภาพเชิงเปรียบเทียบ โดยส่วนใหญ่เป็นปฏิกิริยาต่อต้านลัทธิ นิยมนิยมและความ สมจริงค าว่า"symbolist" ถูกใช้ครั้งแรกโดยนักวิจารณ์Jean Moréasผู้คิดค้นค าศัพท์เพื่อแยกแยะ Symbolists ออก จาก Decadents ที่เกี่ยวข้องของวรรณคดีและศิลปะ (y molsymbolic,2011) ภาพที่ 5 April Maurice Denis ที่มา: : maurice-denis. [ออนไลน์] เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2565 เข้าถึงได้จาก : https://www.wikiart.org/en/maurice-denis/april-1892 ในเดือนเมษายนของ Maurice Denis ภูมิทัศน์และรูปร่างต่างๆ จะถูกลดทอนให้เหลือรูปทรงที่เรียบง่าย สีและรูปทรงแสดง ในระดับระนาบ เน้นย้ าพื้นผิวของระนาบภาพเพิ่มเติมด้วยการวาดภาพเนินเขาที่อยู่ห่างไกลออกไปด้วยโทนสีแดง แทนที่จะเป็นสีน้ าเงิน ที่ซีดจางเพื่อแสดงถึงผลกระทบของทัศนียภาพในผลงาน (maurice-denis, 1982) จากการศึกษาพบว่าการสร้างสัญลักษณ์อันเกิด จากการแปรสภาพความจริงโดยใช้จินตนาการเป็นการสร้างและแปรสภาพรูปทรงให้เกิดเป็นสิ่งแทน เพื่อสื่อความหมาย ผู้สร้างสรรค์จึง น าแนวคิดตามทฤษฎีสัญลักษณ์นิยมมาสร้างสรรค์ผลงานโดยการตัดทิ้งซึ่งความเป็นจริงคงไว้เพียงอารมณ์ความรู้สึกที่ได้รับแรงบันดาล ใจจากแมวโดยใช้จินตนาการให้เกิดเป็นรูปทรงที่ตรงตามแนวคิดมากที่สุด ศึกษาผลงานศิลปินที่เกี่ยวข้อง ผลงานจากศิลปินที่ให้แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ ทั้งทางแนวความคิด เนื้อหาสาระทางศิลปะประกอบด้วย ศิลปิน Selynn (เชรีน) , Ernesto Neto (เออเนสโต้ เนสโต้), Studio Roos Meerman & KunstLAB , สุกัญญา เมาราษี, เคนจิ ยาโนเบะ Selynn (เชรีน) ผลงานของศิลปินที่น าความใฝ่ฝันของตนเองที่ต้องการให้แมวสวมผ้าโพกหัว ซึ่งปกติแล้วแมวเป็นสัตว์ที่ไม่ชอบการใส่ หมวกหรือผ้าโพกหัว จะต้องการแต่งตัวแมวอย่างไรก็ตาม แมวมักจะปฏิเสธการโพกหัวเนื่องจากการที่มีอะไรบางอย่างมาติด อยู่ที่หัวจะท าให้แมวไม่พร้อมที่จะโจมตี หรือเอาตัวรอดได้อย่างรวดเร็ว ศิลปินใช้จุดนี้ สร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะ ภาพวาด แมวที่ก าลังสวมผ้าโพกหัว babushka (บาบูช'คะ) มีลวดลายดอกไม้ และผลไม้ และพิซซ่าท าให้ผลงานดูน่ารักน่าเอ็นดูตาม แบบของศิลปินเองผลงานยังดูสร้างเป็นไฟล์ดิจิทัล ขนาดใหญ่อีกด้วย ซึ่งผู้สร้างสรรค์เองนั้นก็รักแมวและเลือกใช้แมวเป็นแรง บันดาลใจในการน าความน่ารัก ขี้อ้อน อบอุ่นมาน าเสนอสอดคล้องกับศิลปินกรณีศึกษา 154


ภาพที่ 6 Cats Are Wrapped in Colorful Babushkas ที่มา: : Cats Are Wrapped in Colorful Babushkas. [ออนไลน์] เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่2 เมษายน 2565 เข้าถึงได้จาก : https://www.brwnpaperbag.com/2021/05/10/selynn-cat-paintings/ Ernesto Neto (เออเนสโต้ เนสโต้) เออเนสโต้ เนสโต้ เป็นศิลปินในแนวความคิดที่งานของเขา สามารถให้ผู้ชมได้เข้าสัมผัส รูป กลิ่นและการเข้าสัมผัส ผลงานศิลปะของเนสโต้ สร้างประสบการณ์เรื่องของประสาทสัมผัส ผลงานประติมากรรมนุ่มของเขามักสร้างเป็น ประติมากรรมนุ่มที่ให้ผู้คนมีปฏิสัมพันธ์ แนวความคิดของเขาคือเพื่อน าพื้นที่ทางธรรมชาติกลับเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในการ ด าเนินชีวิตของมนุษย์ น าเสนอด้วยรูปทรงที่เรียบง่าย ขนาดของผลงานในบางชิ้นงานมีขนาดใหญ่จัดเต็มห้องนิทรรศการ ผู้เข้า ชมผลงานสามารถแบ่งเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกเป็นกลุ่มที่ต้องการเดินชมรอบ ๆ แค่สัมผัสทางสายตา ส่วนกลุ่มที่สองต้องการเข้า ไปภายเกิดสัมผัสที่ลึกซึ้งซึมซับความรู้สึกที่ศิลปีนต้องการถ่ายทอด รูปทรงที่เรียบง่าย ประทะความรู้สึก กลิ่น สี และความนุ่ม ดึงดูดให้ผู้คนเข้าสัมผัสภายในผลงาน วัสดุสีอ่อน เบา เรียบ ยึดหยุ่น มีความละมุนละไมของคู่สีอ่อน วัสดุจากธรรมชาติและ กลิ่นเครื่องเทศต่าง ๆ เชื้อเชิญให้ผู้คนเข้าสัมผัสผลงานของเขา และเกิดประสบการณ์ของกายสัมผัสผ่านสู่ทางใจได้อย่างสีกซึ้ง ท าให้เกิดความเข้าใจในแนวความคิดของศิลปินได้มากยิ่งขึ้น Ernesto Neto เป็นหนึ่งในศิลปินชาวบราซิลที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติมากที่สุดและที่ท างานของเขาได้ กล่าวถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับจิตวิญญาณ humanism(มนุษยนิยม) และ ecology(นิเวศวิทยา)อิทธิพลของการเคลื่อนไหว ยุคใหม่ของยุค 60 ศิลปะแบบเรียบง่ายและแนวความคิดการผลิตของเนโตเป็นลักษณะของการใช้วัสดุและเทคนิคที่ไม่ธรรมดา ส าหรับศิลปะ จากวัตถุอินทรีย์จนถึงความรู้และฝีมือของชนเผ่าพื้นเมือง งานของ Neto ได้ชื่อว่า"เหนือกว่าความเรียบง่าย แบบนามธรรม" การติดตั้งของเขามีขนาดใหญ่และนุ่มนวล ซึ่งผู้สร้างสรรค์สนใจในการสร้างรูปทรงอิสระสอดรับกับร่างกายให้ ความอบอุ่นคล้ายการสวมกอด ท าห็ผู้สร้างสรรค์ได้แนวทางที่จะพัฒนาผลงานโดยการให้ผิวสัมผัสที่ให้ความรู้สึกอ่อนนุ่ม น่า กอด เช่นเดียวกับแมว 155


ภาพที่ 7 O tempo lento do corpo que é pele ที่มา: : Cats Are Wrapped in Colorful Babushkas. [ออนไลน์] เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2565 เข้าถึงได้จาก : Ernesto Neto: Rio Superstar Studio Roos Meerman (สตูดิโอ รูด เมียแมน) ผลงานของ Studio Roos Meerman และ KunstLAB ผนังบุขนสัตว์สีด าความยาว 6 เมตร ทันทีที่เราเข้าไปจับ ลูบ คล า ขย า และแนบกอดลงบนผนังนุ่ม ๆ จะได้ยินเสียงเพลงดังขึ้น การกอดแต่ละจุดก็ให้ท านองที่แตกต่างกันด้วย เมื่อหลายคนเข้าไปกอดผนังพร้อม กันเสียงที่ออกมาจึงสอดประสานกันไม่ต่างจากเครื่องดนตรีของวงออร์เคสตราที่สอดประสานเป็นท่วงท านอง จุดประสงค์ของ Tactile Orchestra คือผู้ชมสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับศิลปะด้วยการใช้ร่างกายและผัสสะอื่นๆ นอกเหนือจากการมองเห็น ผู้ชมสามารถสวมกอด ขนนุ่มๆ จากการศึกษาผลงานของศิลปิน กรณีศึกษาพบว่า ผิวสัมผัสมีผลต่อความรู้สึกของผู้ชมผลงาน การใช้เสียง น ามาประกอบ ท าให้ ความ ท าให้ผลงานเกิดความน่าสนใจ ผู้สร้างสรรค์จึงได้แนวคิด สอดคล้องกับศิลปินกรณีศึกษา เพราะช่วงเวลาที่ผู้สร้างสรรค์ ได้กอดแมว นั้นเมื่อเวลาที่มันมีความสุขแมวจะส่งเสียงเพอร์จากการศึกษาศิลปินกรณีศึกษานั้นเป็นการแสดงออกถึงความสุขที่แมวมีต่อผู้สร้างสรรค์ แนวคิดนี้ จึงเป็นส่วนหนึ่งในการน าไปพัฒนาผลงาน ในอนาคต ล าดับต่อไป ภาพที่ 8 Tactile Orchestra, ที่มา: : Tactile Orchestra,. [ออนไลน์] เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2565 เข้าถึงได้จาก : https://www.fillipstudios.com/project/tactileorchestra/ สุกัญญา เมาราศี ศิลปินสร้างสรรค์ผลงานปักใยขนแกะ (Needle Felting) รูปแบบเหมือนจริง โดยใช้สัตว์เลี้ยงเป็นต้นแบบ ทั้งสุนัขและ แมว ผ่านรูปลักษณ์แห่งความทรงจ าที่มีต่อสัตว์ ซึ่งผลงานบางชิ้นสร้างสรรค์เพื่อร าลึกถึงสัตว์เลี้ยงที่ได้ลาจากโลกนี้ไปแล้ว บางตัว ถูกสร้างสรรค์เป็นผลงานขนาดเล็กที่สามารถพกพาติดตัวไปได้ทุกที่ สร้างสรรค์ด้วยเทคนิคการปักใยขนแกะจากธรรมชาติท า ให้ผลงานมีความนุ่นนวล สมจริง ราวกับได้สัมผัสขนสัตว์จริงๆ จากการศึกษา ศิลปินกรณีศึกษา พบว่า การสร้างสรรค์ผลงานโดย การใช้ผิวสัมผัส ด้วยเทคนิคการปักใยขนแกะนั้น ให้ความรู้สึก ที่อ่อนโยน นุ่มนวล สอดคล้องกับผู้สร้างสรรค์ ที่ใช้เทคนิคนี้ ใน การสร้างผลงานในช่วงแรก ท าให้ผลงานเกิดความรู้สึก คล้ายกอดสัมผัสแมวที่เป็นสัตว์เลี้ยงของผู้สร้างสรรค์ 156


ภาพที่ 9 Memwa ที่มา: : Memwa, needle felting,. [ออนไลน์] เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2565 เข้าถึงได้จาก : https://www.facebook.com/memwa.handmade/ Kenji Yanobe (เคนจิ ยาโนเบะ) ศิลปินใช้แนวความคิดเรื่องการเอาชีวิตรอดสภาพแวดล้อม สังคมในปัจจุบัน สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมขนาด ใหญ่ โดยผลงาน SHIP’S CAT ผสมผสานประเด็นเรื่องยุคสมัยแห่งนิวเคลียร์ ปัญหาความเดือดร้อนที่ชาวบ้านต้องเผชิญจาก กัมมันตรังสีโรงไฟฟ้า ฟุดกชิมะ ไดอิจิ ปัญหาคลื่นสึนามิที่ประเทศต้องเผชิญ ซึ่งเป็นการสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้ความรู้สึกด้าน ลบมาท าให้เกิดเป็นประติมากรรมที่แสดงมุมมองที่น่ารักได้อีกมุมหนึ่ง ภาพที่ 10 SHIP’S CAT ที่มา: yanobe, SHIP’S CAT. [ออนไลน์] เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2565 เข้าถึงได้จาก : https://www.yanobe.com/artworks/shipscat.html 157


ผลงานทัศนศิลป์ประติมากรรมนุ่มชุดรูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว ภาพที่ 11 ภาพผลงานชุดรูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว ผลงานชิ้นที่ 1 ที่มา : ผู้สร้างสรรค์ ชื่อศิลปิน นายภาพตะวัน คุ่ยกลิ่น ชื่อผลงาน ความอบอุ่นในอ้อมกอด เทคนิค ตัดเย็บผ้าขนสัตว์ ปักใยขนแกะ ขนาด แปรผันตามพื้นที่ ความอบอุ่นในอ้อมกอด เป็นงานประติมากรรมนุ่มแสดงออกถึงความนุ่มนวล ความอบอุ่น ที่ได้รับแรงบันดาลใจจาก การกอดแมว ซึ่งขณะที่กอดแมวนั้นมักมีความรู้สึกอบอุ่นและนุ่มนวลรับรู้ได้ถึงความรักความไว้ใจ ที่แมวมีให้เจ้าของ การวิเคราะห์ผลงาน ชุด รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว ชิ้นที่ 1 ชื่อ ความอบอุ่นในอ้อมกอด ผลงานความอบอุ่นในอ้อมกอด ในชุดรูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมวนั้น ผู้สร้างสรรค์ใช้แรงบันดาลใจจาก การศึกษาแมว ประกอบกับประสบการณ์ที่ได้เลี้ยงแมวและกอดสัมผัสกับแมว ซึ่งเกิดเป็นความรู้สึกอบอุ่นและนุ่มนวล ผ่อน คลายจากความเหงา ความกังวลต่างๆในชีวิต ผลงานมีลักษณะเป็นก้อนกลม ที่มีขนาดพอเหมาะกับอ้อมกอดของมนุษย์ทั่วไป และเนื่องจากผลงานมีความยืดหยุ่นทางด้านรูปทรงสูง ท าให้ผู้ชมงานได้รับความรู้สึกที่แตกต่างกันตามประสบการณ์ที่ตนได้รับ หรือได้สัมผัส การเข้าได้ไปกอดรัดผลงานซึ่งมีลักษณะเป็นก้อนกลมและนุ่มนวลเช่นนี้นั้น ท าให้ผู้ที่มีประสบการณ์การกอดแมว หวนนึกถึงความรู้สึกที่คุ้นเคยได้ในทันที แม้ผู้ชมที่ไม่เคยเลี้ยงแมว หรือไม่เคยเล่นกับแมวมาก่อนก็จะได้รับประสบการณ์ความ นุ่มนวลที่ผู้สร้างสรรค์ถ่ายทอดผ่านผลงานได้ ดังนั้นผลงานดังกล่าวเมื่อน ามาวิเคราะห์ทางทัศนธาตุ เช่นเส้น รูปทรง น้ าหนัก พื้นผิวสัมผัสแล้ว สามารถให้ความรู้สึกที่อบอุ่นนุ่มนวลของแมว ตรงตามแนวความคิดของผู้สร้างสรรค์ต้องการถ่ายทอด 158


ลักษณะการใช้สีของผลงานนั้น มีลักษณะเป็นโทนขาวสว่างเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งให้ความรู้สึกที่ผ่อนคลาย สงบ อบอุ่น จริงใจและเป็นมิตร สอดคล้องกับแนวความวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานดังเช่น แมวเป็นเพื่อน เป็นสมาชิกในครอบครัวที่มอบ ความรักความสุขให้แก่กันอย่างไม่มีเงื่อนไข รายละเอียดของผลงานนั้น ผู้สร้างสรรค์ใช้ลักษณะของอุ้งเท้าแมวที่อวบอิ่ม สดใส น่าจับสัมผัส ลูบไล้ โดยมี ความหมายเชิงสัญลักษณ์ถึงความไว้ใจ ความสนิทสนม สายสัมพันธ์แห่งรักระหว่างมนุษย์และแมว ที่ทิ้ง สัญชาตญาณการ ป้องกันจุดที่อ่อนแอที่สุด เผยให้เห็นอุ้งเท้าที่น่ารัก สอดคล้องกับทฤษฎีสัญลักษณ์นิยมที่ผู้สร้างสรรค์ได้ท าการศึกษา สรุป การวิเคราะห์ผลงานชุด รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว ชิ้นที่ 1 ชื่อ ความอบอุ่นในอ้อมกอด พบว่าเป็น การสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมนุ่มที่ให้ความรู้สึก อบอุ่น นุ่มนวล เชิงสัญลักษณ์ ที่มีเนื้อหาเรื่องราวสายสัมพันธ์แห่งรัก จากแมว ซึ่งผู้ชมสามารถปฏิสัมพันธ์กับผลงานได้ ดังที่ตั้งสมมุติฐาน สอดคล้องกับทฤษฎีจิตวิทยาความรัก สัตว์เลี้ยงบ าบัด การ บ าบัดด้วยการกอด ทฤษฎีสัญลักษณ์นิยม ผ่านเทคนิคประติมากรรมนุ่ม ภาพที่ 12 ภาพผลงานชุดรูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว ผลงานชิ้นที่ 2 ที่มา : ผู้สร้างสรรค์ ชื่อศิลปิน นายภาพตะวัน คุ่ยกลิ่น ชื่อผลงาน กอดแมว เทคนิค ตัดเย็บผ้าขนสัตว์ ขนาด แปรผันตามพื้นที่ กอดแมว เป็นงานประติมากรรมนุ่มที่ได้แรงบัลดาลใจจากการกอดแมวที่รัก แสดงความนุ่มนวล ความอบอุ่น ความรักที่ผู้ สร้างสรรค์รู้สึกต่อแมวผ่านขนสัตว์เทียมสีด าที่ท าให้นึกถึงแมวส าด าของไทย การวิเคราะห์ผลงาน ชุด รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว ชิ้นที่ 2 ชื่อ กอดแมว ผลงานในชิ้นที่ 2 นั้น ผู้สร้างสรรค์ต้องการถ่ายทอดความรักความอบอุ่นจากแมวด า ซึ่งเป็นแมวไทยที่พบได้โดยทั่วไป ทั้งในเมืองและชนบท โดยปกติแล้วแมวด ามักไม่เป็นที่นิยมในไทยบางกลุ่มด้วยคงามเชื่อความโชคร้าย ลางบอกเหตุเป็นลางร้าย ด้วยเหตุนี้จึงท าให้ผู้สร้างสรรค์พบแมวด าที่ร่อนเร่ ไม่มีเจ้าของเป็นจ านวนมาก ผู้สร้างสรรค์มองว่าการที่มนุษย์เลือกปฏิบัติกับ แมวด าเป็นสิ่งที่สะเทือนจิตใจอย่างมาก ด้วยทุกสิ่งมีชีวิตต่างต้องการความรักความอบอุ่นจากครอบครัว แต่ความเชื่อ บางสิ่ง กลับมาลดทอนคุณค่าของสิ่งมีชีวิตลง เช่นเดียวกับตัวของผู้สร้างสรรค์ ซึ่งไม่ได้รับความรักความอบอุ่นจากครอบครัวตั้งแต่ยัง 159


เยาว์วัย ถูกลดคุณค่าและดูน่าสงสารด้วยค าว่าเด็กขาดความอบอุ่น จึงเป็นความบันดาลใจการสร้างสรรค์ผลงงานชิ้นที่ 2 ชุด รูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว กอดแมว การวิเคราะห์ผลงานชิ้นที่ 2 กอดแมวทางทัศนธาตุพบว่า ผลงานมีการใช้ เส้น รูปร่าง รูปทรง ที่ลดทอนรูปลักษณ์ ของแมว ให้เหลือเพียงความรู้สึกถึงแมว พื้นผิวและการสัมผัส ผู้สร้างสรรค์ใช้ผ้าขนสัตว์ที่มีขนาดจนสั้นประมาณ 1 เซนติเมตร ท าให้ความรู้สึกเมื่อสัมผัสคล้ายกับการลูบไล้ไปยังขนแมวด าของไทย ซึ่งมีลักษณะไม่ยาว เรียบเตียน มีความมันแววเล็กน้อย ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของแมวไทย เช่นแมวโกญจา และแมวนิลรัตน์เป็นต้น รายละเอียดของผลงาน ผู้สร้างสรรค์ใช้ลักษณะของอุ้งเท้าสีมพูของแมวที่ดูสดใสกว่าความเป็นจริง ซึ่งต้องการขับเน้น ให้เห็นมุมมองที่ผู้สร้างสรรค์มองแมว ว่าแมวเป็นสิ่งมีชีวิตที่อ่อนหวาน นุ่มนวล เป็นความสุขของผู้สร้างสรรค์ โดยลดทอน ลักษณะให้มีความน่ารักคล้ายการ์ตูน นอกจากนี้ผลงานชิ้นที่ 2 นี้ ยังสามารถให้ผู้ชมเข้ามามีปฏิสัมพันธ์ได้มากขึ้นด้วยขนาดที่ ใหญ่ขึ้นกว่าชิ้นที่ 1 ความอบอุ่นในอ้อมกอด ซึ่งผลงานสามารถกอดรัดตัวผู้ชมได้ด้วยการใช้วัสดุที่ประกบติดผลงานเข้าหากันได้ และผู้ชมสามารถเข้าไปนอนคลุกคลีดึงมากอดปรับเปลี่ยนท่าทาง รูปทรงของผลงานได้ตามที่ต้องการ สรุป การวิเคราะห์ผลงาน ชุดรูปลักษณ์แห่งสายสัมพันธ์รักจากแมว ชิ้นที่ 2 ชื่อกอดแมว พบว่าเป็นการสร้างสรรค์ ผลงานประติมากรรมนุ่มที่ให้ความรู้สึก อบอุ่น นุ่มนวล แสดงออกเชิงสัญลักษณ์ ทั้งความรัก ความไว้ใจ สายสัมพันธ์แห่งรัก ความเชื่อ และความจริง ที่ปรากฏขึ้นต่อผู้ชมงาน ซึ่งอาจท าให้ผู้ชมได้เปลี่ยนแปลงความคิด ทัศนคติที่มีต่อแมวด าไปอย่าง สิ้นเชิง สอดคล้องกับทฤษฎีจิตวิทยาความรัก สัตว์เลี้ยงบ าบัด การบ าบัดด้วยการกอด ทฤษฎีสัญลักษณ์นิยม ผ่านเทคนิค ประติมากรรมนุ่ม 160


บรรณานุกรม Helen Colton. (1983). The Gift of Touch . Paul Chemiack. (2557). สัตว์เลี้ยงบ ำบัด (Pets Therapy). เข้าถึงได้จาก https://www.nationalgeographic.com: https://www.nationalgeographic.com.au/animals/therapy Stemberg. (1986). Psychology CU. เข้าถึงได้จาก https://www.facebook.com/Psychology: https://www.facebook.com/PsychologyChula/posts/2141923499255385:0. กิตติศัพท์ เลาหพันธ์ อาทิตย์ยามเช้า. (2548). ข้ำวคลุกปลำทู. กรุงเทพฯ: พรีมา พับบลิชชิ่ง. คาลอส บุญโสภา. (1 3 2565). เข้าถึงได้จาก https://ledliml.wordpress.com: https://ledliml.wordpress.com/2012/08/17/psychology-of-love/. คิมจีวอน, ตรองสิริ ทองค าใส คิมพยองมก. (2559). Study on Cats เรียนรู้คุณเหมียว. อัมรินพริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง. ชัด ยุงสันเทียะ. (2553). กำรบ ำบัดด้วยกำรกอด. เข้าถึงได้จาก http://www.electron.rmutphysics.com: http://www.electron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com_content&task=view&id=2102 ทฤษฎีสำมเหลี่ยมของควำมรัก (Triangular . (ม.ป.ป.). สรินนา วัฒนา วรรธนี จันทรมิตรี. (2558). Cat คำเฟ่. นนทบุรี: ส านักพิมพ์บอลลูน. เหมพันธ์ เหมวรนันท์. (ม.ป.ป.). แมว The Cat. กรุงเทพฯ: เทพพิทักษ์การพิมพ์. LedLimL. (2012). "จิตวิทยาความรัก ( Psychology of love ) เข้าถึงได้จาก |https://ledliml.wordpress.com/2012/08/17/psychology-of-love/. Sternberg. (2564). สามเหลี่ยมแห่งความรัก สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2564 , จาก https://sircr.blogspot.com/2019/11/psychology-of-love.html Maurice Denis. (1982) April สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2565 จาก https://www.wikiart.org/en/maurice-denis/april-1892 Selynn (เชรีน) (2564) Cats Are Wrapped in Colorful Babushkas สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2565 จาก https://www.brwnpaperbag.com/2021/05/10/selynn-cat-paintings/ Ernesto Neto (2004) O tempo lento do corpo que é pele สืบค้นเมื่อ 7 มีนาคม 2565 จาก https://www.newcitybrazil.com/2015/10/01/fantastic-voyages-of-ernesto-neto-rio-superstar-takesvienna-this-fall/ Studio Roos Meerman & KunstLAB adaymagazine (2017) สืบค้นเมื่อ 7 มีนาคม 2565 เข้าถึงได้จาก https://adaymagazine.com/hugging-art-and-design สุกัญญา เมาราศี (2565) Memwa, needle felting สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2565 เข้าถึงได้จาก https://artofth.com/memwa-needlefelting/ KENJI YANOBE (1965) SHIP’S CAT สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2565 จาก https://www.yanobe.com/publications/index.html 161


จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว The Imagination of Love in the Family กมลรส ชัยศรี* (ศป.ม.ทัศนศิลป) 1 2 อาจารยที่ปรึกษาหลัก รองศาสตราจารยสรรณรงค สิงหเสนี 3 อาจารยที่ปรึกษารวม ผูชวยศาสตราจารย ดร.เมตตา สุวรรณศร นักศึกษาหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป บัณฑิตศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป E-mail [email protected] บทคัดยอ บทความวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค ดังนี้ 1) เพื่อสรางสรรคผลงานวิจัยจิตรกรรม ในหัวขอ “จินตนาการสายใยรักแหง ครอบครัว” ที่แสดงออกใหเห็นถึง ความรัก ความผูกพัน ความคิดถึง ความโหยหา ออมกอด อันอบอุน ภายใตกรอบทฤษฎี ภาวะโหยหาอดีต ทฤษฎีความรักความผูกพัน ทฤษฎีเกี่ยวกับความฝนและจินตนาการ จิตวิทยาสีกับความรูสึก 2) เพื่อสรางสรรคบทความวิจัย ในรูปแบบจิตรกรรม โดยใชเทคนิค อิงคเจ็ท สีน้ำ และสีอะคริลิค บนผาใบ โดยการสรางโลก จำลอง ภาพเสมือนจากจินตนาการถึงคนในครอบครัวอันเปนที่รัก โดยการศึกษาทฤษฎีความรัก ความผูกพัน 3) เพื่อกระตุน เตือนใหเห็นถึงคุณคาของความรักความผูกพันของสถาบันครอบครัวอันเปนพื้นฐานสำคัญของชีวิตมนุษย ผลการศึกษาพบวาการสรางสรรคบทความวิจัยดวยเทคนิคจิตรกรรมนั้น สามารถถายทอดความรูสึกไดดีเพราะการ ใชสีนับเปนสื่อที่ถายทอดอารมณไดตรงตามแนวคิด การศึกษาทฤษฎีที่มีความสำคัญที่ทำใหผูวิจัยเลือกนำเอาความรูสึกรักมา ถายทอดดวยสีที่ออนเบา เปนการใชสีหลายประเภทผสมผสานกันจนเกิดเปนบรรยากาศคลายภาพฝนสอดคลองกับจินตนาการ ในการสื่อสารรูปทรงที่จัดวางแบบลองลอยไมคำนึงถึงความถูกตอง บทความวิจัยฉบับนี้ไดเปนการจำลองความรูสึกรักและ คิดถึง ไดอยางลงตัว พรอมกันนั้นผลงานยังเตือนใหผูคนเห็นถึงคุณคาของครอบครัวอันเปนสิ่งที่มีคาที่สุดในชีวิตที่ควรดูแล คำสำคัญ: ความรัก, ความผูกพัน, ครอบครัว, สายใยรัก, ความอบอุน ABSTRACT The main objectivesof this thesis are: 1) to create painting artworks on the theme “The Imagination of Love in the Family,” which expresses love, relationship, remembrance, yearning, and warmth based on the theory of nostalgia, the theory of love and relationship, the theory of dream and imagination, and color psychology; 2) to conduct a research on painting using inkjet, watercolor, and acrylic techniques on canvas and recreate a picture of her beloved family in a virtual world based on the theories of love and relationship; 3) to encourage people to realize the value of love and relationship in the family, which is a fundamental aspect of human life. Results of the thesis revealed that revealed that using painting techniques allows for a better expression of feelings because colors can be manipulated to convey a diverse range of emotions. The theories of nostalgia, love and relationship, led to the choice of soft colors. The theory of dream and imagination led to the idea of freely – without regard for accuracy – combining colors in various hues and weights to create a dreamlike 162


atmosphere. This study perfectly simulates the feelings of love and nostalgia to remind everyone of the value of family, the most valuable thing in life that should be preserved. KEYWORDS: Love, Relationship, Family, Bond of Love, Warmth บทนำ (Introduction) 1. ความเปนมาและความสำคัญของปญหา จากสภาวการณในปจจุบัน สังคมมีความเปลี่ยนแปลงไปมาก ตามกระแสการเคลื่อนตัวของเทคโนโลยี ที่มีความ เจริญรุดหนาอยางไมหยุดนิ่ง เมืองหลวงกลายเปนเมืองแหงการเก็บเกี่ยวเพื่อหาผลประโยชน และเปนลูทางในการหาเงิน หา อาชีพ ซึ่งผูวิจัยเองนั้นก็เปนคนหนึ่งที่มีความจำเปนที่ตองจากบานอันเปนที่รักในจังหวัดจันทบุรี เพื่อเขามาทำงานหาเลี้ยงชีพ ในเมืองกรุง เมืองที่เต็มไปดวยผูคนมากหนาหลายตา ตางคนตางใชชีวิต เรงรีบ พบและรูจักกันแบบฉาบฉวย ไมมีความลึกซึ้ง และผูกพันทางใจกัน จากปญหาดังกลาวทำใหผูวิจัยเกิดความรูสึกเหงา เควงควาง ทามกลางผูคนมากมาย แตก็ยังรูสึกเหงาทุก ครั้งที่กลับมาถึงหองเล็ก ๆ ที่ใชชีวิตอยูเพียงลำพัง ความเหงาก็ปรากฏตัวขึ้น ภาพอดีตตาง ๆ เสียงหัวเราะ รอยยิ้มของพอ แม พี่ นอง ก็ลองลอยขึ้นมาในความทรงจำ หลายครั้งเฝาถามตัวเองวา ฉันมาทำอะไรที่นี่ ที่นี่ไมใชบานของฉัน เมื่อเกิดความทุกข ในทุก ๆ ครั้ง ทางออกเดียวที่จะปลดปลอยความเหงา เศรา คือการหลับตา และหวนคำนึงถึงชวงเวลาที่ไดอยูกับครอบครัว สอดคลองกับแนวคิดของซิกมันด ฟรอยด (ลัญฉนศักดิ์ อรรฆยากร, 2551 : 221) ที่กลาวไววา เมื่อใดมีความทุกขมนุษยจะ คนหากลไกปองกันทางจิต เพื่อปกปองตนเองจากความเจ็บปวด กลไกนั้นคือ การสรางฝนในอากาศ โดยชองทางผาน จินตนาการผสานกับความทรงจำก็จะเกิดเปนภาพ ที่สามารถเยียวยาความคิดถึง ความโหยหา และกอเกิดเปนกำลังใจไดอีก ทางหนึ่ง บทความวิจัยฉบับนี้เปนการกระตุนเตือนใหผูคนเห็นถึงคุณคาของความรักความอบอุนของสถาบันครอบครัว อันเปน พื้นฐานสำคัญของชีวิตมนุษย 1.1 วัตถุประสงคของบทความวิจัย 1.1.1 เพื่อสรางบทความวิจัย ในหัวขอ “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” ที่แสดงออกใหเห็นถึง ความ รัก ความผูกพัน ความคิดถึง ความโหยหา ออมกอดอันอบอุน 1.1.2 เพื่อสรางบทความวิจัย ในเทคนิคจิตรกรรม อิงคเจ็ท สีน้ำ และสีอะคริลิคบนผาใบ โดยการ สรางโลกจำลอง ภาพเสมือนจากจินตนาการถึงคนในครอบครัวอันเปนที่รัก โดยการศึกษาทฤษฎีความรัก ความผูกพัน 1.1.3 เพื่อกระตุนเตือนใหเห็นถึงคุณคาของความรักความผูกพันของสถาบันครอบครัวอันเปนพื้นฐาน สำคัญของชีวิตมนุษย 1.2 คำถามในการสรางสรรค การสรางสรรคบทความวิจัยที่แสดงใหเห็นถึงจินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว ในเทคนิคจิตรกรรม ใหเห็นถึง คุณคาของความรักความผูกพันของสถาบันในครอบครัว ไดหรือไม 1.3 ขอบเขตการสรางสรรค เพื่อดำเนินการสรางสรรคผลงานจิตรกรรม หัวขอ “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” เปนเรื่องราวจาก จินตนาการแหงโลกที่เต็มไปดวยความอบอุน โดยเลือกใชสัญลักษณของผาหมที่มาหอหุมรางกาย ภาพถายครอบครัว และของ ใชตาง ๆ เชน กาน้ำชา แกวน้ำชา ถุงชงกาแฟ ฯลฯ ใหเกิดความรูสึกอบอุนใจคิดถึงเรื่องราวประทับใจในอดีต ดังรายละเอียด ตอไปนี้ 163


1.3.1 เพื่อสรางสรรคบทความวิจัยหัวขอ “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” สาเหตุมาจากการที่เรา ตางสูญเสียศรัทธาตอความเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในกระแสหลักจนอยากถอยหลังยอนเวลากลับไปหาอดีตที่สุขสงบ ครอบครัว พอแม 1.3.2 เพื่อสรางสรรคเทคนิคในรูปแบบจิตรกรรม เปนการใชเทคนิครวมกันของ อิงคเจ็ท สีน้ำ และสี อะคริลิค 1.3.3 ตองการสรางบทความวิจัยและผลงานเพื่อแสดงใหถึงมุมมอง ความคิดถึง โหยหาความรักความ อบอุนจากครอบครัว ที่คนในสังคมอาจหลงลืมและมองไมเห็นถึงความสำคัญตอคนในครอบครัว นอกจากนี้บทความวิจัยชุด จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว จะนำเสนอผลงานออกสูสาธารณะเพื่อ เปนการสรางสรรคความเคลื่อนไหวใหแกวงการศิลปะรวมสมัยโดยมีจุดประสงคเพื่อกระตุนเตือนใหผูคนหันกลับมาสนใจ และ เอาใจใสครอบครัวใหมากขึ้น กิจกรรมที่คาดวาจะดำเนินการ ไดแก จัดนิทรรศการศิลปะออนไลน และนิทรรศการ 3D ของสถาบัน การศึกษาทางดานศิลปะ นำเสนอผลงานผานสื่อสาธารณะตาง ๆ นำเสนอในรูปแบบของวิทยานิพนธ บทความ วิชาการในฐาน TCI ในระดับชาติ 1.4 ขั้นตอนการสรางสรรค การสรางสรรคบทความวิจัยผลงานทัศนศิลปในหัวขอ “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” ประกอบดวย การศึกษาคนควาขอมูลทางวิชาการทั้งจากตำราและศึกษาดูผลงานที่เกี่ยวของที่มีเนื้อหาจินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว เพื่อรวบรวมเปนภาพรวมของขอมูลพื้นฐานเรื่องเหตุการณที่ทำใหเกิดความสุข ทั้งจากอดีตถึงปจจุบัน จากการศึกษาหนังสือ ตำรา อินเตอรเน็ตและการศึกษาดูงานจากผูเชี่ยวชาญ รวมถึงศึกษาจากผลงานและแนวคิดจากศิลปนที่สรางผลงานดังกลาว ขั้นตอนการศึกษาและการสรางสรรคจะเริ่มขึ้นจากการศึกษา เพื่อนำเสนอผลงานหัวขอ “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” ที่สมบูรณในฐานะผลงาน บทความวิจัย โดยสามารถจัดแบงขั้นตอนการศึกษาและสรางสรรคไดดังตอไปนี้ 1.4.1 ศึกษาเอกสารทางวิชาการ 1.4.1.1 ทฤษฎีภาวะโหยหาอดีต 1.4.1.2 ทฤษฎีความรักความผูกพัน ทฤษฎีความรู 1.4.1.3 ทฤษฎีเกี่ยวกับความฝนและจินตนาการ 1.4.1.4 ขอมูลทางวิชาการเรื่อง “ศิลปะแฟนตาซี” (Fantasy Art) 1.4.1.5 ขอมูลทางการสรางสรรค เรื่อง “จิตวิทยาสีกับความรูสึก” 1.4.2 เก็บขอมูลจากศิลปนที่ไดรับแรงบันดาลใจทั้งจากศิลปนไทยประกอบดวย ดวงหทัย พงศประสิทธิ์, สุวรรณี สารคณา และศิลปนตางประเทศ ไดแก มารก ชากาล (Marc Chagall), กุสตาฟ คลิมต (Gustav Klimt), อายานา โอ ตาเกะ (Ayana Otake) ,โชอิจิ โอคุมูระ(Shoichi Okumura) 1.4.3 เรียนรูเทคนิคในการสรางสรรค 1.4.3.1 ศึกษาเทคนิคทางจิตรกรรม อิงคเจ็ท สีน้ำ และสีอะคริลิคบนผาใบ 1.4.3.2 ศึกษาเทคนิคการจัดองคประกอบศิลป 1.4.3.3 ศึกษาจิตวิทยาของสี 1.4.4 ศึกษาและทดลองการติดตั้งดวยเทคนิควิธีการดังตอไปนี้ 1.4.4.1 ติดตั้งกับฝาผนัง 1.4.4.2 รูปแบบและวิธีการนำเสนอ 164


1.4.5 วิเคราะหขอมูลอยางเปนระบบเพื่อนำมาวิเคราะหเปนภาพรางของผลงานที่ตรงตามวัตถุประสงคใน การสรางสรรค 1.4.6 สรางสรรคผลงานจริง ตามภาพรางในแบบเทคนิคจิตรกรรม 1.4.7 เสนอเรียบเรียงผลงานการคนควาในรูปแบบของงานวิจัยสรางสรรค 1.4.8 นำเสนอบทความวิจัย “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” ในพื้นที่สาธารณะ หอศิลป 1.5 วิธีดำเนินการสรางสรรคบทความวิจัย 1.5.1 ศึกษาขอมูลที่ไดจากประสบการณจากสภาพแวดลอมนำมาวิเคราะหจนเกิดเปนแนวคิดสุนทรียภาพ ของ จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว การสรางภาพรางผลงาน ในการสรางสรรคผลงานบทความวิจัย 1.5.2 ศึกษาขอมูลจากศิลปนที่ทำการศึกษา ประกอบไปดวย ศิลปนไทยประกอบดวย ดวงหทัย พงศประสิทธิ์, สุวรรณี สารคณา และศิลปนตางประเทศ ไดแก มารก ชากาล(Marc Chagall), กุสตาฟ คลิมต (Gustav Klimt), อายานา โอตาเกะ (Ayana Otake) ,โชอิจิ โอคุมูระ(Shoichi Okumura) 1.5.3 ศึกษาทฤษฎี กำหนดกรอบทฤษฎี เพื่อใชในการวิเคราะหผลงานใหตรงตามแนวคิดมากที่สุด ตาม ทฤษฎีดังตอไปนี้ ขอมูลศิลปะ ทฤษฎีภาวะโหยหาอดีต, ทฤษฎีความรักความ ผูกพัน ,ความฝนและจินตนาการ ,ขอมูลทาง วิชาการเรื่อง “การกอด” ,ขอมูลทางวิชาการเรื่อง “ศิลปะแฟนตาซี” (Fantasy Art) ,ขอมูลทางการสรางสรรค เรื่อง “จิตวิทยาสีกับความรูสึก”และนักทฤษฎีรวมถึงนักปรัชญาระดับโลกที่ไดรับการยอมรับ เพื่อนำมาพัฒนา ตอยอดความคิดให เกิดเปนผลงานที่มีลักษณะเฉพาะตัว 1.5.4 สรางภาพราง (Sketch) ใหตรงตามแนวความคิดสุนทรียภาพ 1.5.5 นำภาพรางมาวิเคราะหวิจารณ โดยคณาจารยผูทรงคุณวุฒิทางดานทัศนศิลปเพื่อใหผลงานมีการ พัฒนาการ ในการสรางสรรคผลงานใหมีคุณภาพ 1.5.6 ทำการสรางสรรคบทความวิจัยผลงานจริงดวย กระบวนการเทคนิคจิตรกรรม เปนเรื่องราวจาก จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว 1.5.7 นำผลงานเขารับการประเมิน จากผูทรงคุณวุฒิดานทัศนศิลป และผลงานมีคุณภาพในระดับที่นาพอใจ 1.5.8 ทำการวิเคราะหกระบวนการสรางสรรคผลงานอยางเปนระบบขั้นตอนในรูปแบบเอกสาร บทความ วิจัย และผลงานสรางสรรค 1.5.9 เพื่อนำผลงานที่เสร็จสมบูรณ เผยแพรออกสูสาธารณะชนในรูปแบบของนิทรรศการ สูจิบัตร สื่อ สิ่งพิมพ และสื่อออนไลน 1.6 สมมุติฐานบทความวิจัย สามารถสรางสรรคบทความวิจัยผลงานที่แสดงออกถึงจินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว อันแสดงออกถึง ความอบอุน ความรัก ความผูกพันของครอบครัว ผานเทคนิคจิตรกรรม ไดหรือไม บทความวิจัยในชุด “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” นั้นเปนการสรางสรรคที่จำเปนตองการศึกษา ทางดานแนวคิด เทคนิค วิธีนำเสนอ รวมทั้งแนวความคิดทฤษฎีทางสุนทรียศาสตรและนักปรัชญาที่มีแนวคิดสอดคลอง กับการ สรางสรรคบทความวิจัยผลงานในชุดนี้ และจำเปนตองทำการศึกษา ผลงานของผูวิจัยที่สรางสรรคผลงานในรูปแบบและวิธีการ ตางๆ นำมาวิเคราะห เพื่อใหเปนลักษณะเฉพาะของศิลปน รวมทั้งเทคนิคที่มีความนาสนใจ และสามารถนำมาตอยอดพัฒนา ทางความคิดใหกับผูวิจัยดังตอไปนี้ “ครอบครัว” เปนพื้นฐานที่สำคัญที่สุดอันดับแรกของชีวิตมนุษย เพราะครอบครัวเปนที่ หลอหลอม กลอมเกลา อบรม ดวยความรักความเอาใจใส ใหอยูในกรอบแหงศีลธรรมในบริบทของสังคม จากสภาวการณในปจจุบัน ครอบครัวขยาย 165


กลายเปนครอบครัวเดี่ยว ที่มีเพียง พอ แม ลูก และไมมีเวลาใหกัน จนทายที่สุดเกิดชองวางระหวางคนในครอบครัว จากที่ กลาวมานั้น ตัวผูสรางสรรคเอง ก็เปนบุคคลหนึ่งที่ตองจากบานมาใชชีวิตอยูเพียงลำพังในเมืองใหญ ทำใหเกิดความคิดถึง บานคิดถึง พอแม พี่นอง ที่เคยใชชีวิตรวมกันมา แมความจำเปนจะบีบคั้นใหตองจากบานมา แตผูวิจัยก็พยายามปลอบใจ ตนเองดวยการหลับตาหวนคิดคำนึงถึงชวงเวลาที่แสนสุข อบอุนในออมกอดของพอและแม เพื่อเติมเต็มความคิดถึง ความโหย หาออมกอดของครอบครัว จากสิ่งที่กลาวมา จึงมีความจำเปนที่ตองทำการศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของดังตอไปนี้ - ทฤษฎีภาวะโหยหาอดีต(Nostalgia) - ทฤษฎีความรักความผูกพัน - ทฤษฎีเกี่ยวกับความฝนและจินตนาการ - ขอมูลทางวิชาการเรื่อง “ศิลปะแฟนตาซี” (Fantacy Art) - ขอมูลทางการสรางสรรค เรื่อง “จิตวิทยาสีกับความรูสึก” ศิลปนศึกษา ดวงหทัย พงศประสิทธิ์, สุวรรณี สารคณา ,มารก ชากาล (Marc Chagall) ,กุสตาฟ คลิมต (Gustav Klimt) ,อายานา โอตาเกะ (Ayana Otake) ,โชอิจิ โอคุมูระ(Shoichi Okumura) เนื้อหา (Content) วิธีการศึกษา บทความวิจัยชุด “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” ผูวิจัยไดรับความรักความอบอุนในวัยเยาว ที่มีทั้งสุขและ ทุกขมาจากครอบครัว แตในปจจุบันที่ผูสรางสรรคตองออกมาใชชีวิตในเมืองใหญทำใหการแสวงหาความสุขจากสังคมนั้นเปน เรื่องยาก ทุกวันตองเผชิญกับความกลัวที่จะไมมีคนยอมรับ ความไมมีตัวตอสังคม ทำใหผูวิจัยตองการหลีกหนีสภาวะที่ตนเอง ตองแบกรับปญญาหาตางๆ มากมายที่ไมสามารถหลีกหนีได ทำใหผูวิจัยตองการแสวงหาความสุขแบบที่เคยไดรับมาจาก ครอบครัวที่อยูหางไกล การที่ไมสามารถกลับบานไปหาครอบครัวอันเปนที่รักได ทำใหเกิดการคิดถึง และอยากยอนเวลา กลับไปในชวงเวลาอันแสนอบอุนนั้นการหลับตาและจินตนาการนึกถึงภาพความทรงจำในอดีตอาจเปนหนทางที่ทำใหจิตใจมี ความสุขกับการอยูในความทรงจำแมเพียงชั่วปจจุบันขณะ ก็สามารถเยียวยาจิตใจใหหลุดพนจากความเศราความคิดถึงไดไม มากก็นอย สอดคลองกับแนวคิดของ ทฤษฎีภาวะโหยหาอดีต (Nostalgia) ที่กลาวไววาความรูสึกคิดถึงและโหยหาบรรยากาศ เดิมหรือความคุนเคยแบบในอดีต รวมถึงความรูสึกเหงา เศรา เซื่องซึม การรำลึกถึงความทรงจำในอดีตนั้นที่เกี่ยวพันกับ ปจจุบันและอดีต และเริ่มกลับมาคิดถึงสังคมอันเรียบงาย อบอุนในชนบทอีกครั้ง ระลึกถึงความรักความผูกพัน เมื่อครั้งยังวัย เยาวที่อยูกับครอบครัวซึ่งนำไปสูความมุงมั่นพยายาม การแกปญหาอยางมีประสิทธิภาพ การประสบความสำเร็จในดานตาง ๆ ความเห็นคุณคาตนเอง การมีสุขภาพที่ดี ไปจนถึงการมีชีวิตที่ยืนยาวและปราศจากความทุกขทางใจ จากที่กลาวมานั้นผูวิจัย เปนผูที่มีความคิดอยากนำความทรงจำที่ไดรับมาจากประสบการณตาง ๆ ในชีวิตของตัวเอง มุมมองในแงดีมาสรางสรรคใน บทความวิจัยที่แสดงถึงรูปลักษณลักษณะของความคิดถึง หวงคำนึงหาครอบครัว 1. ความเปนมาแนวคิดแรงบันดาลใจ จากสภาวการณในปจจุบัน สังคมมีความเปลี่ยนแปลงไป จากครอบครัวขยายกลายเปนครอบครัวเดี่ยว พอ แม ลูก ไมมีเวลาใหกัน อันเกิดจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ภาระหนาที่ สภาพแวดลอม ลวนแตเปนปจจัยสำคัญที่กระตุนใหเกิด ปญหาสังคมขาดรัก ความอยากได อยากมี ที่กอเกิดเปนปญหาสังคม ในวงกวาง ปญหาดังกลาวทำใหผูวิจัยตองการสรางสรรค ผลงานบทความวิจัยที่แสดงออกใหเห็นถึงมุมมองที่ผูวิจัยมีตอ ครอบครัว ความคิดถึง อันเปนผลมาจากการตองพลัดพรากจาก 166


บานเกิดเพื่อมาใชชีวิตทำงานเลี้ยงชีพ ในกรุงเทพ ที่เต็มไปดวยสภาวะกดดัน เรงรีบ ซึ่งผิดไปจากวิถีชีวิตเดิมที่ผูวิจัยเติบโตมา ดังนั้น จากภาวะคิดถึงบาน ความโหยหาออมกอดของครอบครัว ตามทฤษฎีของซิกมันด ฟรอยด วาดวยเรื่องการสรางวิมานใน อากาศ จึงมีสวนชวยเติมเต็มชองวางทางความรูสึกใหผูสรางสรรคเต็มอิ่มขึ้นทุกครั้งที่หลับตาคิดถึงบานที่มีแม มีครอบครัวที่รัก และอบอุน จึงชวยเติมเต็มความรูสึกใหกับตนเอง ในการใชผาหมรางกายเพื่อใหผูวิจัยเกิดความรูสึกอบอุน ทั้งทางรางกายทาง จิตใจ และนอนหลับฝนถึงความสุข ความคิดถึง จากครอบครัวดังนั้นจากแนวคิดดังกลาวของผูวิจัยจึงเลือกที่จะบันทึกเรื่องราว ที่ประสบพบเจอที่มีทั้งสุข และทุกขจากประสบการณชีวิต ผูวิจัยจึงเลือกหยิบประสบการณตาง ๆ นั้น มาสรางสรรคบทความ วิจัยใหเปนการจินตนาการที่มีทั้งความสุขใจ และสบายใจภายในประสบการณของผูวิจัยที่ไดรับผานกระบวนการเทคนิค จิตรกรรม 1.2 ขอมูลในการสรางสรรคผลงานบทความวิจัย 1.2.1 ขอมูลจากประสบการณตรงของผูวิจัย 1.2.1.1 แรงบันดาลใจจากครอบครัว ครอบครัวคือสถาบัน เปนสถาบันแรกของพื้นฐานชีวิตมนุษย การสรางความสุขแรกเริ่มที่ไดรับจาก ครอบครัวจึงมีความสำคัญมาก เพราะเปนรากฐานใหกับการดำเนินชีวิต วิธีคิด ที่หลอหลอมใหคนเปนคนดี จากการอบรมสั่ง สอน เพื่อใหลูกเปนคนดีมีคุณภาพออกสูสังคม ซึ่งในวัยเด็กของผูวิจัยนั้นก็มีความทรงจำที่ดี ที่ไดรับความสุขจากครอบครัว ผูวิจัยจึงแสดงออกถึงความรัก ความอบอุน ที่เก็บบันทึกในความทรงจำ ดังจะเห็นไดจากภาพขอมูลตอไปนี้ 1.2.2 การหาขอมูลจากเอกสาร 1.2.2.1 หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร การหาขอมูลสำหรับทำงานสรางสรรคผลงานบทความวิจัยชุด “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” ผูวิจัยตองมีการคนควาขอมูลทางทฤษฎีตาง ๆ จากตำราวิชาการ ทั้งหนังสือ สิ่งพิมพ รวมทั้งผลงานวิทยานิพนธงานวิจัยทาง การแพทยเรื่องตาง ๆ เพื่อใชเปนตนแบบในการนำทฤษฎี มาพัฒนาเปนแนวความคิด และดังแปลงเปนบทความวิจัย 1.2.2.2 ขอมูลจากแหลงหนังสือ และเอกสารทางวิชาการ ผูวิจัยทำการศึกษาคนควาขอมูลจากหนังสือ และเอกสารทางวิชาการตาง ๆ เพื่อนำขอมูลดังกลาวมาสรุป องคความรู Sigmund Freud จิตวิทยาในความฝน ,ปรัชญาทั่วไป ,การรับรูและจินตภาพ ,องคประกอบของศิลปะ , สุนทรียศาสตร หลักปรัชญาศิลปะ ทฤษฎีทัศนศิลป ศิลปะวิจารณ 1.2.2.3 ขอมูลจากอินเตอรเน็ต ผูวิจัยทำการศึกษาขอมูลทางดานทฤษฎี จากบทความทางวิชาการ เอกสารออนไลนตาง ๆ ตลอดจนภาพ ผลงานศิลปะ ศิลปนไทย และศิลปนตางประเทศ จากการศึกษาและวิเคราะหขอมูลที่ทำการศึกษาเบื้องตน อันประกอบไปดวยขอมูลทางภาคทฤษฎี ขอมูล ทางภาคปฏิบัติ และขอมูลของศิลปนที่ทำการศึกษา ดังคำกลาวขางตนผูสรางสรรคสามารถพัฒนาแนวคิดที่มีลักษณะเฉพาะตน 1.2.2.4 ขอมูลจากการศึกษาและดูงานที่หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร และหางสรรพสินคา พารากอน ผูวิจัยทำการศึกษาขอมูลทางดานทฤษฎีเกี่ยวกับศิลปะ จากการแสดงผลงานศิลปะ ณ หอศิลปวัฒนธรรม แหงกรุงเทพมหานคร และหางสรรพสินคาพารากอน 1.2.3 การสรางสรรคผลงานบทความวิจัย ชื่องาน “My Dream” การสรางสรรคผลงานบทความวิจัย เรื่อง My Dream แนวคิดมาจากการที่ผูวิจัย เหน็ดเหนื่อยจากการทำงานใน หนาที่ ทำใหเมื่อกลับมาถึงบานที่อยูคนเดียว ภาวะหนึ่ง ก็เกิดขึ้นคือ ภาวะคิดถึงบาน (Homesick) โหยหาความรัก ความ 167


อบอุนจากครอบครัว ที่ประกอบไปดวยพอ แม ลูก พี่ นอง ผูวิจัยไดจินตนาการถึงชวงเวลาแหงความสุขจากอดีต โดยใชผาหม เปนสื่อสัญลักษณหมคลุมรางกายเพื่อความอบอุนแทนออมกอดของพอแม เทคนิคในการสรางสรรคบทความวิจัย ผลงานจิตรกรรม อิงคเจ็ท, สีน้ำ, สีอะคริลิค บนผาใบซึ่งผูวิจัย มีความ คิดเห็นวาผลงาน ยังลงสีบางเกินไปทำใหขาดความลงตัวในเรื่องการใชสี ผูวิจัยจึงจำเปนตองคนควา หากระบวนการทาง เทคนิคในการระบายสีเพื่อใหสีมีความแนนและไดความรูสึกตรงตามแนวคิดมากที่สุด รวมถึงการออกแบบลวดลายของผาที่ยัง ไมสื่อความหมายได ขั้นตอนการสรางสรรคบทความวิจัย 1. ขั้นตอนการสรางสรรคผลงานบทความวิจัย ชื่อผลงาน “My Dream” การถายภาพผูวิจัยเปนแบบในลักษณะ ทานอน ทาทางในอิริยาบถตางๆ สำหรับทดลองการวางองคประกอบกอนการสรางภาพรางชิ้นงานจริงเพื่อแสดงถึงความเหงา ความคิดถึงบาน 2. การใชโปรแกรม Adobe Photoshop CC ในการแตงภาพเพื่อเปลี่ยนสีภาพดานหลังผลงาน และพิมพอิงคเจ็ท บนผาใบ 3. ขั้นตอนการรางภาพ(Sketch)เพื่อหาลวดลายดองไมผลงานบทความวิจัย ชื่อผลงาน “My Dream” 4. ขั้นตอนการสรางสรรค ผลงานบทความวิจัย ชื่อผลงาน“My Dream” - การรางภาพ และการลงสีบนผาใบ ผลการศึกษา/ทดลอง (Results) บทความวิจัยชุด “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” ที่แสดงออกใหเห็นถึง ความรัก ความผูกพัน ความคิดถึง ความโหยหา ออมกอดอันอบอุนนี้ ผูสรางสรรคไดสรางสรรคผลงานดวยเทคนิคจิตรกรรม สีน้ำ สีไม สีอะคริลิคบนผาใบ โดยการสรางโลกจำลอง ภาพเสมือนจากจินตนาการถึงคนในครอบครัวอันเปนที่รัก โดยการศึกษาทฤษฎีความรัก ความผูกพัน เพื่อกระตุนเตือนใหเห็นถึงคุณคาของความรักความผูกพันของสถาบันครอบครัวอันเปนพื้นฐานสำคัญของชีวิตมนุษย จากที่กลาวมานั้น ผูวิจัยไดทดลองคนควากระบวนการคิด กระบวนการสรางสรรคอยางเปนระบบ เพื่อสรางสรรค ผลงานบทความวิจัยขึ้นมาจากประสบการณ สงผลใหเกิดบทความวิจัยที่มีความเฉพาะตัวตรงตามแนวคิดมากที่สุด รวมถึงการ นำเสนอผลงานวิจัยที่แสดงออกถึงคุณคาความงามของ “ครอบครัว” เปนพื้นฐานที่สำคัญที่สุดอันดับแรกของชีวิตมนุษย เพราะครอบครัวเปนที่หลอหลอม กลอมเลา อบรม ดวยความรักความเอาใจใส ใหอยูในกรอบแหงศีลธรรมในบริบทของสังคม 1. สรุปแนวความคิดในการสรางสรรคบทความวิจัย ครอบครัวเปนที่หลอหลอม กลอมเลา อบรม ดวยความรักความเอาใจใส ใหอยูในกรอบแหงศีลธรรมในบริบทของ สังคม จากสภาวการณในปจจุบันผูวิจัยเคยมีวิถีชีวิตที่เกิดและเติบโตอยูในจังหวัดจันทบุรีจำเปนตองเขามาศึกษาตอในกรุงเทพ ซึ่งเปนเมืองใหญ มีผูคนมากมาย แออัดยัดเยียด แกงแยงแขงขันจึงนำมาซึ่งความเหงา โดดเดี่ยว อางวางเวลาเกิดปญหาในชีวิต ไมสามารถหันหนาไปปรึกษาใครไดจึงเปนแรงบันดาลใจใหสรางสรรคผลงานที่แสดงออกถึงความคิดถึง โหยหาอดีต อยากยอนกลับไปหาความอบอุนที่เคยไดรับในวัยเด็ก โดยการสรางสรรคบทความวิจัยผลงานที่มีบรรยากาศสีออนบาง เบา สบาย ดวยภาพความทรงจำที่เลือนราง มีเพียงภาพคนในครอบครัวที่เปนที่รักพรอมหนา เพียงรูสึกเทานี้ก็อิ่มเอมใจและผาน พนปญหาไปไดดวยใจที่มีความหวัง หวังวาสักวันจะไดกลับไปสู ออมกอดครอบครัวอีกครั้ง 1.1 สรุปการสรางสรรคตามกรอบทฤษฎี การทำบทความวิจัยฉบับนี้ไดรับแรงบันดาลใจมาจากการที่ผูสรางสรรคมีวิถีชีวิตอาศัยอยูในเมืองใหญ ทำใหเกิด ความเหงา คิดถึงบาน ภาวะโหยหาอดีตนี้สอดคลองกับแนวคิดตามทฤษฎีภาวะโหยหาอดีต(Nostalgia) อันแสดงถึงความโหย หาสิ่งที่ผานเลยไปตามการเวลาทั้งยังเปนสิ่งที่ยังคงอยูหรือสิ่งที่สูญหายไปแลว ก็ยังสามารถหวนคิดคำนึงถึงได ชองทางที่จะ 168


สื่อสารระหวางอดีตกับปจจุบันคือจินตนาการเพราะมนุษยอาศัยชองทางจินตนาการในการปลดปลอยอารมณที่ขางคางภายใน จิตใจอันเกิดจากความคิดถึงเกิดจากความรักสอดคลองจากทฤษฎีความรักและความผูกพัน สัมผัสอยูในหวงของความรูสึกเล็ก ๆ นับเปนสายใยแรกที่หลอเลี้ยงจิตใจอันเปนพื้นฐานที่จะบมเพาะใหตัวผูสรางสรรคเกิดและเติบโตมาเปนบุคคลเชนใด โดยพบวาการกอด การสัมผัสใหความอบอุน เปนสิ่งจำเปนสำหรับรางกาย และจิตใจ การสัมผัสเปนภาษากายพื้นฐานและเปน สิ่งที่มนุษยสามารถทำไดทุกคนตั้งแตเกิด หนึ่งในนั้นคือการกอด จากการศึกษาพบวาทฤษฎีความฝน เปนสวนหนึ่งของมนุษย เราทุกคนมีความสามารถที่จะสรางจินตนาการ อาจจะตางกันที่สามารถที่จะสรางภาพในจินตนาการขึ้นมาไดชัดเจนแคไหน เทานั้น โดยจะสอดคลองกับ ศิลปะแฟนตาซี (Fantasy Art) เปนศิลปะที่มีองคประกอบเกี่ยวกับการสรางศิลปะ ที่มีแนวความคิดในทางเพอฝน เปนการสรางรูปทรงขึ้นมาใหเหนือความเปนจริง ทำใหผูวิจัยเกิดความรูสึกชื่นชอบและเกิดมี จินตนาการความคิดสรางสรรคจากความทรงจำในอดีต นำสูการศึกษาแนวคิดเทคนิคในการสรางสรรคผลงานบทความวิจัย ดวยผลงานจิตรกรรมที่ผูวิจัยนำ“จิตวิทยาสีกับความรูสึก”สรางสรรคผลงานบทความวิจัยจึงเกิดเปนการศึกษาทฤษฎีสี สอดคลองกับความรูสึกและอารมณตาง ๆ ของความรัก ความอบอุน จากความทรงจำในครอบครัวอันเปนที่รัก อภิปรายผลการสรางสรรคบทความวิจัย การเลือกศิลปนที่ทำการศึกษานั้น ผูวิจัยไดทำการศึกษาถึงแนวคิด เทคนิค และวิธีการสรางสรรคบทความวิจัย ของศิลปนที่มีกระบวนคิดที่สอดคลองรวมถึงมีรูปแบบและกระบวนการที่ผูวิจัยใหความสนใจและทำการศึกษาศิลปน ดวงหทัย พงศประสิทธิ์ เปนศิลปนประเภทสื่อผสม (Mixed Media) ซึ่งศิลปนไดทำการสรางสรรคผลงานศิลปะที่ไดรับแรงบันดาลใจจาก ภาวะ ความคิดถึงมารดา จากการสูญเสียบุคคลอันเปนที่รัก ศิลปนเชื่อวาผลงานดังกลาวนั้น เปนผลงานอันเกิดจากการสงตรง ผานจิตใจ ที่ทำหนาที่แสดงออกความรูสึกนึกคิดภายในจิตใจออกมาผานภาพเชิงสัญลักษณ โดยศิลปนไดสรางสรรคคออกมาใน ลักษณะเทคนิค (Mixed Media) ดิจิตอลปริ้นและการปก การรอยใหเกิดรูปทรง บาน ตนไม ดอกไม แบบไมเหมือนจริง ซึ่ง เปนการแสดงออกถึงความรักความคิดถึง ของลูกที่มีตอแมดวยการใชสัญลักษณที่มีความทรงจำรวมกัน การใชเวลา และมิติ ทางอารมณเพื่อการรับรูทางความรูสึกใหมทางความรูสึกโดยการใชพื้นที่วาง,ระยะของรูปทรง ,จังหวะในการวางรูปทรง และ การซ้ำจากที่กลาวมาศิลปนไดมีการสรางสรรคผลงาน ที่แสดงถึงความรักของลูกที่มีตอแม ความคิดถึง ผานภาพความทรงจำ และสัญลักษณที่ทำใหนึกถึงบุคคลอันเปนที่รักที่จากไป ซึ่งสอดคลองกับผลงานของสุวรรณี สารคณา ไดทำการสรางสรรค ผลงานศิลปะที่ไดรับแรงบันดาลใจจากผลงานจิตรกรรมของศิลปนที่มีความโดดเดนในการถายทอดเรื่องราววิถีชีวิตคนชนบท อีสานบานเกิดของผูวิจัยเอง การไดรับแรงบันดาลใจจากเรื่องใกลตัวแลวถายทอดอยางตรงไปตรงมา ทำใหเกิดความรูสึกอิ่มใจ สะเทือนใจในคราวเดียวกัน ดวยรูปทรงของสมาชิกคนในครอบครัวหรือพอแมลูกนอนโอบกอดกันบนเสื่อ ประกอบกับผาหม ลายทอมือที่หมอยางกระจัดกระจายหากแตมีชีวิตชีวา เชนเดียว ศิลปนฝรั่งเศส มารก ชากาล (Marc Chagall) เปนศิลปนที่ สรางสรรคผลงานที่เต็มไปดวยการใชสัญลักษณไดรับแรงบันดาลใจจากเรื่องราวอันชวนฝนความรักที่มีตอภรรยาและครอบครัว ของเขา ที่กำลังลอยละลอง โบยบินเหนือเมืองวีเต็บสค (Vitebsk) ไดเติบโตขึ้นมา ธรรมชาติรอบตัวในการใชวิถีชีวิตคนชนบท ในบานเกิดของศิลปนเอง และรวมถึงสงครามที่เกิดขึ้นไปพรอมกับความรักของศิลปน ทำใหเกิดความรูสึกสุขใจสะเทือนใจใน คราวเดียวกัน เสมือนภาพแหงความทรงจำอันงดงามของพวกเขา ผูวิจัยไดศึกษาผลงานของกุสตาฟ คลิมต (Gustav Klimt) เปนศิลปนชาวออสเตรีย ไดทำการสรางสรรคผลงานศิลปะที่ไดรับแรงบันดาลใจจากเรื่องราวความรักความสัมพันธที่มีตอหญิง ที่ตนเองรัก ในภาพ The Kiss มีการจัดองคประกอบศิลปที่แฝงไปดวยความผูกพันของทั้งชายและหญิง โดยการใชผาคลุมทำให เกิดความอบอุนโดยใชลายเสื้อคลุมที่สวมใส มีสัญลักษณบนลวดลายตางๆ ฝายชาย เปนสัญลักษณทางเรขาคณิต ฝายหญิงใช ลายดอกไมซึ่งเปนตนแบบของศิลปะแนวอารตนูโวที่มีชื่อเสียงของออสเตรีย และยังใชสีน้ำมันผสมทองคำเปลวในงานชิ้นนี้อีก ดวย ซึ่งทำใหผลงานมีความหนาหลงใหล ประทับใจพรอมทั้งตื่นตาตื่นใจกับสีทองอรามในเวลาเดียวกันอีกดวย สงผลให ผูสรางสรรคไดจัดองคประกอบในผลงานเชื่อมโยงรูปทรงตาง ๆ อาชีพของครอบครัวใหใกลเคียงกับความรูสึกโหยหาอดีตให 169


ไดมากที่สุด และศิลปนชาวญี่ปุน อายานา โอตาเกะ (Ayana Otake) โดยศิลปนวาดภาพที่แสดงถึงรูปลักษณที่เปนความงาม ภายในของผูหญิง ในฐานะศิลปนที่สรางสรรคเนนเรือนรางของอิสตรีที่บอบบาง บริสุทธิ์ ดวยการใชสีโทนออนมีการผสมผสาน ของสีที่ดูแลวออนหวาน เปนศิลปนที่ใชใจในการตีความความงามของสตรีที่นาหลงใหลสวยงามและมีเสนห ศิลปนจงใจเลือกใช ชุดกิโมโนที่ผูหญิงสวมใสในภาพวาดเปนการแสดงออกถึงความงามและจิตวิญญาณของญี่ปุน จากที่กลาวมาศิลปนไดมีการ สรางสรรคผลงาน แสดงถึงความงามของหญิงสาว ตามสรีระ รางกาย อิริยาบถ ทาทางในการนอนหลับในการจัดองคประกอบ ที่ยังคงความงามของหญิงสาวเอาไวอยางนาสนใจ เทคนิครายละเอียดในการเขียนภาพอยางสมบูรณแบบ และยังใชโทนสีที่แฝง ไปดวยความนาหลงใหล ซึ่งทำใหตรงกับผูวิจัยผลงานที่ตองการแสดงออกทาทางการนอนหลับในการจิตนาการถึงครอบครัวอัน เปนที่รัก และในขณะที่โชอิจิ โอคุมูระ (Shoichi Okumura) ศิลปนชาวญี่ปุน เปนศิลปนที่ถนัดใชเทคนิคสีหมึกจีนลงบนผาไหม ซึ่งการจัดองคประกอบที่งดงามของ Shoichi Okumura ไดผสมผสานองคประกอบที่เปนรูปทรงของดอกไม พืชพรรณ ผลไม ตนไม ธรรมชาติรอบ ๆ ตัว มาใชในองคประกอบสำคัญทำใหภาพดูมีมิตินาสนใจมากขึ้น โดยใชโทนสีออน ที่แฝงไปดวยความ อบอุนและนาสนใจ จากที่กลาวมาทั้งหมดนั้นผูวิจัยเกิดความลงตัวทั้งความคิดและกระบวนการสรางสรรค และสามารถเปน แนวทางที่จะใชพัฒนาผลงานในลำดับตอไป ภาพประกอบ (Image) ภาพที่ 1: “Memorie of Happiness 1” ที่มา: ผูวิจัย และป พ.ศ. 2564 170


ภาพที่ 2 : “Memorie of Happiness 2” ที่มา: ผูวิจัย และป พ.ศ. 2564 วิจารณและสรุปผล (Discussion and Conclusions) ขอเสนอแนะในการนำไปใชประโยชน ผลที่ไดจากการวิจัยชุด “จินตนาการสายใยรักแหงครอบครัว” สามารถนำไปพัฒนาการสรางสรรคผลงาน บทความวิจัยเปนผลงานศิลปะรวมสมัย และนำไปใชเปนฐานขอมูลใหกับผูสนใจตอไป ผลงานสรางสรรคในบทความวิจัยนี้ สามารถนำไปชวยเปนแนวทางในการพัฒนาผลงานศิลปะที่ใชสัญลักษณของวัตถุ นำมาสรางสรรคใหเกิดเปนผลงานจิตรกรรม โดยแสดงออกถึงความเปนศิลปะ รวมทั้งการพัฒนาผลงานที่สามารถเลือกใชเทคนิคที่หลากหลายแสดงออกเพื่อใหผูคนเห็นถึง คุณคาความงาม และเทคนิคการใชสัญลักษณ ผสมผสานกับการควบคุมสี ใหแสดงถึงความรูสึกเพื่อสรางความนาสนใจใน รูปแบบการสรางสรรคใหตรงตามแนวคิดมากยิ่งขึ้น จัดแสดงเผยแพร ผลงานศิลปกรรม เพื่อเปนหนึ่งในการเคลื่อนไหวของ ศิลปกรรมรวมสมัยไทย ขอเสนอแนะสำหรับการทำบทความวิจัยครั้งตอไป ผลงานบทความวิจัยชุด“จินตนาการสายใยรักแหง ครอบครัว” ผูวิจัยสามารถนำผลงานมาพัฒนาไดดังตอไปนี้ควรศึกษาขอมูลจากผลงานของศิลปนทั้งในประเทศและ 171


ตางประเทศในสาขาอื่นๆ ที่ไมใชเฉพาะผลงานศิลปะจิตรกรรม เพื่อใหเกิดประสบการณที่แปลกแตกตางในการรับรู จนเกิดเปน แนวคิดที่มีความรวมสมัย ทันยุค เชนการทดลองใชวัสดุในประเภทอื่น ๆ รวมถึงแนวทางศิลปะจัดวางเพื่อนำมาสรางสรรค บทความวิจัยใหเกิดการพัฒนาในรูปแบบศิลปะรวมสมัยมากยิ่งขึ้นตองการแสดงออกใหเห็นถึงคุณคากระตุนเตือนใหผูคนเห็น ถึงคุณคาของความรัก ความอบอุนของสถาบันครอบครัว อันเปนพื้นฐานสำคัญของชีวิตมนุษย เพื่อสืบคนกระบวนการทาง เทคนิคใหมีลักษณะเฉพาะรูปแบบจิตรกรรม และสามารถคนพบแนวทางการสรางสรรคบทความวิจัยใหมที่ไมเคยปรากฏมา กอนในรูปแบบสื่อผสมในแนวทางศิลปะจัดวางในรูปแบบศิลปะรวมสมัย ผูวิจัยหวังวาจะเปนประโยชนและเปนแนวทางใน การศึกษาตอผูที่มีความสนใจในลำดับตอไป เอกสารอางอิง (References) - ผูวิจัยใชทฤษฎีของ ซิกมันด ฟรอยด ที่กลาวไววาเมื่อใดมีความทุกขมนุษยจะคนหากลไกปองกันทางจิต เพื่อ ปกปองตนเองจากความเจ็บปวด กลไกนั้นคือ การสรางฝนในอากาศ โดยชองทางผานจินตนาการผสานกับความทรงจำก็จะ เกิดเปนภาพ ที่สามารถเยียวยาความคิดถึง ความโหยหา และกอเกิดเปนกำลังใจไดอีกทางหนึ่ง (ลัญฉนศักดิ์ อรรฆยากร, 2551 : 221) การเขียนเอกสารอางอิงทายเรื่อง พัฒนา กิติอาษา. (2546). มนุษยวิทยากับการศึกษาปรากฏการณโหยหาอดีตในสังคมรวมสมัย. กรุงเทพฯ: แปลน พริ้นติ้ง. Fredric Jemeson. (1991). Postmodernism or the Cultural Logic of Late Capitalism. North Carolina: Duke University Press. William Kelly. (1986). Rationalization And Nostalgia: Cultural Dynamics of New Middle-Class Japan. American Ethnologist. การเขียนอางอิงจากปริญญานิพนธ กฤษฎา แสงสืบชาติ. (2544). การศึกษาผลงานออปอารตของ วิกเตอร วาซารลี และทฤษฎีสีแสงของอัลเบิรตเอช.มันเซลล เพื่อสรางงานศิลปะสรางสรรค. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,กรุงเทพมหานคร. เนธิมา สุวรรณวงศ. (2557). จินตนาการสวนตนกับความสุขที่ปรุงแตง. วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาทัศนศิลปศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศิลปากร. รวิตา ระยานิล. (2553). อิทธิพลของรูปแบบความผูกพันตอลักษณะนิสัยการใหอภัย : ทวิโมเดลแขงขันโดยมีตัวแปลการรูซึ่ง ของถึงความรูสึกของผูอื่นและการหมกมุนครุนคิดเปนตัวแปรสงผาน. วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจิตวิทยาสังคม คณะจิตวิทยา. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สัตกร วงศสงคราม. (2552). การศึกษาความรักของวัยรุน. สารนิพนธหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา จิตวิทยาการแนะแนว. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุวรรณมาศ เหล็กงาม. (2552). การประกอบสรางภาพเพื่อการโหยหาอดีตในรายการ “วันวานยังหวานอยู”. วิทยานิพนธ หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน ภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 172


Chun Ting Yan.(2555).ความสัมพันธระหวางความเปนจริง จิตนาการ และการสรางสรรค : จิตรกรรมลายเสน. วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา,ชลบุรี. การเขียนอางอิงบทความในวารสาร ดวงเนตร ธรรมคุณ และเทียมใจ ศิริวัฒนกุล.“กอด : สัมผัสรักพัฒนาการดูแลผูสูงอายุ”วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณะสุข , 26 (3),S : น. 3-6. รุงนภา ยรรยงเกษมสุข. (2555). “การโหยหาอดีต : ความเปนอดีตในสังคมสมัยใหม” วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, ปที่ 4 ฉบับที่ 2 : น. 69. ลัญฉนศักดิ์ อรรฆยากร. (2551). “จิตวิทยาความรัก (Psychology of Love)” วารสารสมาคมจิตแพทยแหงประเทศไทย, ปที่ 53 ฉบับที่ 2 : น. 221 - 227. อรอนงค ฤทธิ์ชัย, สัญชัย สันติเวช และ นิธิวดี ทองปอง. (2560). “จิตวิทยาสีกับหองเรียน BBL” วารสารศึกษาศาสตร, ปที่ 40 ฉบับที่ 1 : น. 8. การเขียนอางอิงเอกสารการประชุมวิชาการหรือการสัมมนาทางวิชาการ สุภวรรณ พันธุจันทร. สีกับอารมณความรูสึก. [ออนไลน] สืบคนเมื่อ 25 พฤษภาคม 2565 จาก http://www.rmutphysics.com/news/index.php?option=com_content&task=view&id=1878&Itemid= 3&limit=1&limitstart=0 173


การพัฒนาแนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชน โดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนัง “ฮูปแตมอีสาน” Guideline of Community Product Design Teaching Using Identity of Mural Paintings “Hoop Taem Isan" พชร วงชัยวรรณ* (ค.บ.)1 , อินทิรา พรมพันธุ(ค.ด.)2 1 นิสิตมหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 E-mail [email protected] 2 ผูชวยศาสตราจารยสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 E-mail [email protected] บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค1) เพื่อศึกษารูปแบบและวิเคราะหหาอัตลักษณฮูปแตมอีสาน 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการ สอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนังฮูปแตมอีสาน วิธีการวิจัยแบงเปน 2 ระยะ คือ 1) ระยะศึกษา สังเคราะหแนวคิดทฤษฎีประกอบกับการลงพื้นที่ศึกษาภาคสนามและการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ 2)ระยะการพัฒนาแนว ทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชน ขอบเขตของการวิจัย คือ ฮูปแตมอีสานกลุมพื้นบานในจังหวัดขอนแกน 4 แหง ดังนี้1) วัดไชยศรี2) วัดสนวนวารีพัฒนาราม 3) วัดมัชฌิมวิทยาราม และ4) วัดสระบัวแกว ผลการวิจัย พบวา ฮูปแตมทั้ง 4 แหง ถูก สรางขึ้นกอนพุทธศักราช 2500 ดานเนื้อหาปรากฏเรื่องราวเกี่ยวกับวรรณกรรมทางพุทธศาสนา วรรณกรรมพื้นบานยอดฮิต เรื่องสินไซ (สังขศิลปชัย) และสอดแทรกดวยภาพวิถีชีวิตของคนอีสาน ในดานลักษณะทางทัศนธาตุจัดอยูในกลุมฮูปแตม พื้นบานซึ่งฮูปแตมในแตละชุมชนจะมีอัตลักษณที่แตกตางกันไปทั้งรูปราง สีลายเสนที่มีการถายทอดอยางตรงไปตรงมาเนน ความเรียบงาย และไมเครงครัดในการจัดวางองคประกอบ สวนแนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณ จิตรกรรมฝาผนังฮูปแตม สามารถแบงกิจกรรมเปน 4 ระยะ ดังนี้ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปญหาและปรากฏการณปจจุบัน ระยะที่ 2 ลงพื้นที่ศึกษาและสกัดอัตลักษณชุมชน ระยะที่ 3 การพัฒนาแบบรวมกัน และระยะที่ 4 นำเสนอและประเมินผล โดยแนวทางการสอนทั้ง 4 ระยะดังกลาวนี้มีกระบวนการจัดการเรียนรูที่ใหความสำคัญกับสภาพปญหาเปนจุดเริ่มตน นำไปสู การวิเคราะหสืบคน และประยุกตใชขอมูลในการออกแบบตอไป คำสำคัญ: การออกแบบผลิตภัณฑชุมชน, ฮูปแตมอีสาน, การสอนออกแบบ ABSTRACT The objectives of this research are 1) to study the pattern and analyze the identity of isan mural paintings 2) to develop guideline of community product design teaching model using identity of isan mural paintings. The research was divided into two phases: 1) Studying and synthesizing concepts, theories, field trips and expert interviews. 2) develop guideline of community product design teaching. The scope of research is traditional isan mural paintings in Khon kaen province 4 places as follows: Wat 174


Chai Sri, Wat Sanuanwaree Patanaram, Wat Matchim Witthayaram and Wat Sa Bua Kaeo. The results of research as are follows all of isan mural paintings was built in 1957. On the content side, there is a story about Buddhism, folk tales and the life of isan people. In terms of visual elements, It is classified as a local mural paintings group, where each community has a different identity such as shape line or color and focus on simplicity and not strictly in the composition. Next, guideline of community product design teaching model using identity of isan mural paintings, The activities can be divided into 4 phases as follows: Phase 1 study of current problems and phenomena, Phase 2 visit the area to study and extract the identity of the community, Phase 3 collab development and Phase 4 present and evaluate. The teaching guidelines in these four stages have a learning management process that focuses on the problem condition as a starting point. leading to further analysis, search and application of the data in the design. KEYWORDS: Community Product Design, Isan Mural Paintings, Design Teaching บทนำ ประเทศไทยมีความหลากหลายของทุนทางวัฒนธรรมที่มีแหลงแรงบันดาลใจที่สามารถนำมาใชในการออกแบบ สรางสรรคนวัตกรรมและเพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑสินคาและบริการในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ ปจจุบันมีกระแส “ทองถิ่นนิยม” ซึ่งเปนการกลับมาใหความสำคัญกับรากเหงาของชุมชนและทองถิ่น ทำใหนักออกแบบตลอดจนกลุมวิสาหกิจ ชุมชนไดหยิบยกเอาความดั้งเดิมและทุนทางวัฒนธรรมในชุมชนมาสรางสรรคตอยอดใหเกิดผลิตภัณฑสินคาชุมชนที่มีมูลคา และมีความทันสมัย สงผลทำใหเกิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในระดับชุมชน (สำนักงานสงเสริมเศรษฐกิจสรางสรรค, 2563) แต อยางไรก็ดีมักจะพบปญหาของการนำทุนทางวัฒนธรรมมาใชตอยอดในการออกแบบผลิตภัณฑคือ ไมสามารถนำมาใช ประโยชนเชิงพาณิชยไดอยางคุมคา สินคาไมเปนที่นาสนใจของกลุมผูบริโภครุนใหม ขาดรูปแบบการผลิตที่หลากหลาย เนื่องจากการออกแบบยังคง “ติดกับดักความคิด” โดยชุมชนมักจะผลิตสินคาในรูปแบบเดียวกันและขาดความสามารถในการ วิเคราะหทุนในชุมชนของตนเอง (กนกวรา พวงประยงค, 2561) ผลิตภัณฑสวนใหญผลิตสืบตอกันดวยความคุนชิน โดยมุงเนน ไปที่ความสวยงามเพื่อใชเปนของที่ระลึกมากกวาคำนึงถึงประโยชนในการใชสอย (อริยาพร สุรนาทยุทธ, 2559) สอดคลองกับ อรัญ วานิชกร (2559) ที่ไดกลาววา ผลิตภัณฑบางประเภทยังไมไดมาตรฐาน มีการผลิตที่ซ้ำและลอกเลียนแบบกัน และสวน หนึ่งผลิตภัณฑมีความสวยงามทุกคนชื่นชมแตไมซื้อ เนื่องดวยมีความสำคัญเพียงตั้งแสดงแตขาดการปรับโยงเขากับบริบท จาก สภาพปญหาที่กลาวมานี้ควรจะมีแนวทางในการแกไขหรือพัฒนาองคความรูดานกระบวนการออกแบบอยางเปนระบบ จิตรกรรมฮูปแตม เปนหนึ่งในทุนทางวัฒนธรรมอีสานเปรียบเสมือนหองสมุดขนาดใหญที่บันทึกคำสอนทางศาสนา คติความเชื่อและประเพณีวัฒนธรรมตลอดจนวิถีชีวิตของชาวอีสานผานภาพวาดที่มีเอกลักษณของตนเอง โดยฮูปแตมแบง ออกเปน 3 กลุม คือ 1) กลุมพื้นบาน 2) กลุมอิทธิพลศิลปะกรุงเทพฯ (อิทธิพลชางหลวง) 3) กลุมอิทธิพลศิลปะกรุงเทพฯ ผสม ลานชาง (ศักดิ์ชัย สายสิงห, 2555) โดยฮูปแตมจังหวัดขอนแกนจัดอยูในกลุมฮูปแตมพื้นบานที่มีการสรางกอนปพ.ศ. 2500 ที่ 175


ยังปรากฏเนื้อหาเรื่องราววรรณกรรมและลักษณะทางทัศนศิลปที่มีความสวยงามสมบูรณสามารถสงเสริมใหเปนพื้นที่แหง กิจกรรมการเรียนรูดานศิลปวัฒนธรรมและการออกแบบไดการนำเอาอัตลักษณภูมิปญญาและวัฒนธรรมของชาวอีสานมาตอ ยอดสรางสรรครวมกับนวัตกรรมและการจัดการเรียนรูสามารถสรางจุดแข็ง ความแตกตาง และสรางมูลคาเพิ่มใหกับ ผลิตภัณฑสินคาตลอดจนความสามารถในการแขงขันทางการตลาด (ชิงชัย ศิริธร, 2562) จากแผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) สาระสำคัญตอนหนึ่งในยุทธศาสตรที่ 4 “อุดมศึกษาเปนแหลงสนับสนุนการสรางงานและนำความรูไป แกปญหาผานความรวมมือกับภาคเอกชนและทองถิ่น” กลาววา บทบาทสำคัญของสถาบันอุดมศึกษาควรรักษาไวซึ่ง วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นที่ดีมุงสรางองคความรูสูชุมชน สงเสริมใหผูเรียนสามารถสรางสรรคนวัตกรรมบูรณาการ ศาสตรตาง ๆ เพื่อพัฒนาหรือแกไขปญหาสังคม มีคุณลักษณะความเปนผูประกอบการสามารถสรางโอกาสและเพิ่มมูลคาใหกับ ตนเอง ชุมชน สังคม และประเทศชาติ(สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2561) ทั้งนี้เพื่อใหสอดคลองกับแผน ยุทธศาสตรสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาจึงควรมีแนวทางพัฒนาทักษะการออกแบบผานกระบวนการจัดการเรียนรูที่เนน การแกปญหา เนื่องจากการออกแบบก็คือกระบวนการแกไขปญหา (ปญญา เทพสิงห, 2557) ดังนั้นรูปแบบการเรียนรูที่ใช สภาพปญหาเปนจุดเริ่มตนจึงมีความเหมาะสมในการนำมาประยุกตใชในการสอนออกแบบ นอกจากนี้ยังสามารถชวยแกไข สภาพปญหาดานการออกแบบผลิตภัณฑจากทุนทางวัฒนธรรมที่กำลังเผชิญอยูในปจจุบัน ดังนั้นเพื่อใหเยาวชนสามารถนำทุนวัฒนธรรมฮูปแตมมาเพิ่มคุณคาและมูลคาสูการออกแบบผลิตภัณฑชุมชนไดอยาง เปนระบบ บทความนี้จึงนำเสนอการศึกษารูปแบบและวิเคราะหหาอัตลักษณที่โดดเดนของฮูปแตมจังหวัดขอนแกนในแตละ ชุมชน รวมกับการพัฒนาแนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนังฮูปแตมอีสานที่มีรูปแบบ การเรียนรูที่สงเสริมทักษะสำคัญในศตวรรษที่21 วัตถุประสงคการวิจัย 2.1 เพื่อศึกษารูปแบบและวิเคราะหหาอัตลักษณฮูปแตมจังหวัดขอนแกน 2.2 เพื่อพัฒนาแนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนังฮูปแตมอีสาน ขอบเขตในการวิจัย การศึกษาวิจัยครั้งนี้ไดเลือกศึกษาฮูปแตมในพื้นที่จังหวัดขอนแกน เนื่องจากเปนฮูปแตมที่จัดอยูในกลุมพื้นบานที่มี การสรางกอนปพ.ศ.2500 เปนฮูปแตมที่ยังคงความสมบูรณทั้งเนื้อหาเรื่องราววรรณกรรมและลักษณะทางทัศนศิลปที่สามารถ ดึงอัตลักษณนำไปประยุกตตอยอดสูการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนไดซึ่งประกอบดวย 4 แหง ดังนี้1) วัดไชยศรี2) วัด สนวนวารีพัฒนาราม 3) วัดมัชฌิมวิทยาราม และ 5) วัดสระบัวแกว วิธีการดำเนินการวิจัย การพัฒนาแนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนัง “ฮูปแตมอีสาน” เปนการ วิจัยและพัฒนา (Research and Development) แบงวิธีการดำเนินการวิจัยออกเปน 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาสังเคราะหแนวคิด ทฤษฎีเอกสารวิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อนำไปประยุกตออกแบบแนว 176


ทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนัง “ฮูปแตมอีสาน” ซึ่งมีประเด็นในการศึกษา ดังนี้ 1) รูปแบบการสอนที่เนนการแกปญหา 2) การออกแบบผลิตภัณฑชุมชน 3) กระบวนการตอยอดทุนทางวัฒนธรรม 4) การ จัดการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 5) อัตลักษณฮูปแตมจังหวัดขอนแกน 1) การลงพื้นที่ศึกษาภาคสนาม เพื่อเก็บขอมูลเชิงคุณภาพเกี่ยวกับสภาพบริบทชุมชนและ อัตลักษณ ฮูปแตมอีสาน เชน เนื้อหาเรื่องราวที่ปรากฏ ลักษณะทางทัศนศิลปและการจัดองคประกอบ รวมทั้งหมด 4 แหง คือ 1) วัด ไชยศรีบานสาวะถีอำเภอเมือง 2) วัดมัชฌิมวิทยาคาร บานลาน อำเภอบานไผ 3) วัดสนวนวารีพัฒนาราม บานหัวหนอง อำเภอบานไผ 4) วัดสระบัวแกว บานวังคูณ อำเภอหนองสองหอง โดยมีเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลการลงพื้นที่ คือ แบบบันทึกขอมูลและรูปภาพลักษณะของอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนัง “ฮูปแตมอีสาน” ในจังหวัดขอนแกน 2) ศึกษารวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ ที่คัดเลือกแบบเจาะจงจากผูที่มีประสบการณในดาน ที่เชี่ยวชาญเปนระยะเวลาไมต่ำกวา 5 ปโดยใชเครื่องมือแบบสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ 4 ดาน จำนวนทั้งหมด 12 คน ดังนี้ 1) ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบผลิตภัณฑชุมชน จำนวน 3 ทาน 2) ผูเชี่ยวชาญดานการสอนออกแบบผลิตภัณฑจำนวน 3 ทาน 3) ผูเชี่ยวชาญดานการจัดรูปแบบการเรียนการสอน จำนวน 3 ทาน และ 4) ผูเชี่ยวชาญดานจิตรกรรมฮูปแตมอีสาน จำนวน 3 ทาน ระยะที่ 2 พัฒนาแนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนัง “ฮูปแตมอีสาน” โดย การนำขอมูลจากการวิเคราะหและสังเคราะหแนวคิด ทฤษฎีเอกสารวิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ขอมูลจากการลงพื้นที่ ศึกษาภาคสนาม และขอมูลจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญในแตละดาน นำมาสังเคราะหและพัฒนาแนวทางการสอนออกแบบ ผลิตภัณฑชุมชน ผลการวิจัย ฮูปแตมเปนหนึ่งในแรงบันดาลใจและทุนทางวัฒนธรรมในชุมชนที่สามารถนำไปตอยอดสูการสรางมูลคาเพิ่มใหกับ สินคาและบริการ ตลอดจนการสรางแหลงการเรียนรูและสงเสริมใหเยาวชนไดตระหนักถึงคุณคาของศิลปวัฒนธรรมในทองถิ่น ดังนั้น จึงนำมาสูการศึกษารูปแบบและวิเคราะหหาอัตลักษณฮูปแตมอีสานเพื่อเปนขอมูลในการนำไปตอยอดในมิติตาง ๆ โดยผลการศึกษารูปแบบและวิเคราะหหาอัตลักษณฮูปแตม จากการลงพื้นที่ชุมชนเพื่อศึกษาอัตลักษณฮูปแตมที่ ปรากฏ สามารถสรุปวิเคราะหลักษณะของอัตลักษณฮูปแตมจากตารางที่1 ดังนี้ 177


ตารางที่1 วิเคราะหลักษณะของอัตลักษณฮูปแตม ลักษณะสิม ลักษณะฮูปแตม เนื้อหาวรรณกรรม ลักษณะทางทัศนศิลป วัดไชยศรี 1. พุทธประวัติ 2. พระเวสสันดรชาดก 3. ไตรภูมิ 4.วรรณกรรมพื้นบาน เรื่องสินไซ(สังขศิลปชัย) มี การทารองพื้ นด วยสี ขาว เขียนดวยสีฝุนโทนคราม เหลือง เขียว น้ำตาล เขียนภาพเนน สัดสวนที่เกินจริง และมักจะ เขียนกระจายอยูทุกพื้นที่ของ ซอกผนังและกรอบหนาตางตัว ละครที่ มี ความโดดเดนเปน พิเศษ คือยักษที่มีทาทางและ รูปแบบที่หลากหลาย วัดมัชฌิมวิทยาราม 1. พระเวสสันดรชาดก เนนการลงสีพื้นและตนไมดวยสี ครามและเขียวตัวละครเนนสี ขาวประกอบกับเครื่องทรงสี เหลือง จึงทำใหตัวละครเดน ขึ้นมาจากพื้ นหลังสี คราม นอกจากนี้มีการเขียนลายกาน ขดใบเทศบริเวณเสา วัดสนวนวารีพัฒนาราม 1. พระเวสสันดรชาดก 2. วรรณกรรมพื้นบาน เรื่องสินไซ (สังขศิลปชัย) 3. ไตรภูมิ นิยมเขียนดวยสีคราม เหลือง เขียวและน้ำตาลบนพื้นผนังสี ขาวสวาง มีการใชเสนในการ แบงเรื่องราวหรือตัดเสนบน ตัวละครดวยสีคราม และ นิยมเขียนลวดลายกานขด ประกอบ วัดสระบัวแกว 1. พุทธประวัติ 2. พระรามชาดก 3. วรรณกรรมพื้นบาน เรื่องสินไซ (สังขศิลปชัย) เนนบรรยากาศภาพรวมให สวางสดใส มีการใชสีคราม เห ลือง เขียว น้ ำต าล ด ำ ปรากฏการวาดภาพคนใน หลายทวงทาอิริยาบถ และมี การเขียนภาพตนไมใบไม คลายกับงานตะวันตกใน สมัยอิมเพรสชั่นนิสม 178


จากตารางการวิเคราะหลักษณะของอัตลักษณฮูปแตมจังหวัดขอนแกน พบวา จิตรกรรมฮูปแตมจัดอยูในกลุมของ ฮูปแตมพื้นบาน ชางแตมจะถายทอดผลงานอยางตรงไปตรงมาและเนนความเรียบงายตามความเขาใจของตนโดยไมคำนึงถึง กฎเกณฑตามหลักองคประกอบศิลปและเรื่องมิติของแสงเงา ซึ่งจะมีการจัดวางองคประกอบที่ไมเครงครัด เนื้อหาเรื่องราวที่ ปรากฏผานงานจิตรกรรมนิยมเขียนเกี่ยวกับพุทธประวัติพระเวสสันดรชาดก วรรณกรรมพื้นบานยอดฮิตอยางเรื่องสินไซ (สังข ศิลปชัย) และภาพกากซึ่งเปนภาพที่แสดงถึงวิถีชีวิต ประเพณีวัฒนธรรมของชาวบาน แตเมื่อศึกษารายละเอียดของเนื้อหา เรื่องราว วรรณกรรมที่นำเสนอ ลายเสน การใชสีรูปรางตัวละคร หรือการจัดองคประกอบศิลปจะพบกับความโดดเดนที่ เปนอัตลักษณที่แตกตางกันของแตละแหง ดังนี้ 1) ฮูปแตมวัดไชยศรีมีการเขียนภาพที่คอนขางแนนไมเวนแมแตซอกมุมหรือกรอบหนาตาง เนนการเขียนภาพตัว ละครที่มีขนาดใหญโตกวาความเปนจริงมากกวาภาพฉากหรือสถานที่ ไมไดคำนึงถึงหลักการจัดองคประกอบหรือมิติแสงเงา ปรากฏวรรณกรรมทองถิ่นที่โดดเดน คือ สินไซ หรือสังขศิลปชัย ซึ่งมีการแสดงเนื้อเรื่องที่ครบสมบูรณมากที่สุดที่ยังคง หลงเหลืออยูในปจจุบัน ภาพสวนใหญเนนการเดินทางผจญภัยของสินไซและการสูรบกับยักษในดานตาง ๆ ดังนั้น จึงทำให ฮูปแตมวัดไชยศรีมีภาพยักษที่มีลักษณะที่หลากหลายมากกวาที่อื่น ๆ ทั้งในดานของขนาด กิริยาทาทาง ตลอดจนการจัดวาง โดยสีที่นิยมใชมากก็คือการลงสีน้ำเงิน เหลือง บนพื้นผนังสีขาว ภาพที่1: ลักษณะของฮูปแตมวัดไชยศรี ที่มา: ผูวิจัย (2565) 2) ฮูปแตมวัดมัชฌิมวิทยาราม มีการใชสีบรรยากาศที่แตกตางไปจากฮูปแตมในสถานที่อื่น ๆ คือ มีการลงสีบริเวณ พื้นหลังที่ทึบหนักไปในโทนสีคราม ฟา หรือเทา ซึ่งแตกตางไปจากฮูปแตมสถานที่อื่น ๆ คือ จะเนนการใชพื้นหลังสีขาวหรือ โทนสวาง นอกจากนี้ลักษณะของฮูปแตมวัดมัชฌิมวิทยารามยังมีความคลายคลึงกับจิตรกรรมไทยในภาคกลางมีลายกานขดใบ เทศบริเวณเสา เนนใชสีไปในโทนเย็นคือสีคราม ฟา เทา โดยนิยมใชสีเหลืองสวางเขียนอาคารสถานที่และเครื่องทรงของตัว ละครทำใหภาพเกิดจุดเดนขึ้นมาจากสีคราม ในดานวรรณกรรมปรากฏเรื่อง พระเวสสันดรชาดกเปนหลัก โดยแตละฉากจะมี การเขียนตนไมพรรณไมหรือกอนหินที่คั่นระหวางฉากซึ่งหากมองโดยภาพรวมจะรูสึกวาเปนเนื้อเรื่องเดียวกัน ภาพที่2 ลักษณะของฮูปแตมวัดมัชฌิมวิทยาราม ที่มา: ผูวิจัย (2565) 179


3) ฮูปแตมวัดสนวนวารีพัฒนาราม มีลักษณะการเขียนที่คลายคลึงกับการตูนภาพประกอบ โดยมีการเขียนตัวละคร คน สัตวหิมพานต สถานที่ หรือตนไมที่สนุกสนานและมีความหลากหลายแปลกตา ทวงทาของคนมีลักษณะหันขางคลายกับ การเขียนในยุคอียิปตสีที่ใชคือสีคราม เหลือง น้ำตาล เขียว ซึ่งจะนิยมใชสีครามในการเขียนตัวละครอีกทั้งใชตัดเสนวัตถุและ เสนแบงฉาก ลักษณะของตนไมจะมีการแตมสีเปนจุด ๆ รวมกันเปนพุมหรือบางก็วาดคลายกับรูปทรงของกอนเมฆ ลวดลายที่ เปนเอกลักษณ คือ ลายกานขดที่มีการผูกรอยลวดลายคลายกับการเลื้อยของเถาพรรณไม นอกจากนี้ยังปรากฏวรรณกรรม เรื่อง สินไซและพระเวสสันดรชาดก อีกทั้งกลุมตัวละครที่โดดเดนของวัดสนวนวารีพัฒนาราม คือ สินไซ สีโห ยักษงูซวง ครุฑ นางกินรีและตัวละครสัตวตาง ๆ ภาพที่3 ลักษณะของฮูปแตมวัดสนวนวารีพัฒนาราม ที่มา: ผูวิจัย (2565) 4) ฮูปแตมวัดสระบัวแกว มีการแบงเรื่องราวออกเปนตอน ๆ โดยมีแถบหรือแมน้ำเปนเสนแบงเรื่องคลายเสนสินเทา เนนบรรยากาศพื้นหลังของภาพที่ขาวสวาง มีการใชสีคราม เหลือง เขียว น้ำตาล ดำ และนิยมใชสีเหลืองหรือสีขาวในการเขียน สีผิวของตัวละครจากนั้นจึงตัดเสนรอบนอกดวยสีเขม วรรณกรรมที่ปรากฏ คือ พุทธประวัติพระรามชาดก สินไซ และภาพ กากที่แสดงถึงวิถีชีวิต ประเพณีวัฒนธรรมของชาวอีสานไดอยางชัดเจน ในดานของลวดลายนิยมใชลายกานขดและลายดอกไม ประดับอยูบริเวณขางประตูและบริเวณเสา นอกจากนี้ฮูปแตมวัดสระบัวแกวยังมีเทคนิคการเขียนภาพตนไมใบไมที่ หลากหลายไมซ้ำกัน มีลักษณะของฝแปรงการแตะแตมคลายกับงานจิตรกรรมตะวันตกในสมัยอิมเพรสชันนิสม ภาพที่4 ลักษณะของฮูปแตมวัดสระบัวแกว ที่มา: ผูวิจัย (2565) ผลการพัฒนาแนวทางการสอนการออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนังฮูปแตมอีสาน ผูวิจัย ไดประยุกตใชรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนกระบวนการแกไขปญหามาประยุกตสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชน จากการ วิเคราะหและสังเคราะหแนวคิด ทฤษฎีเอกสารทางวิชาการและการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญในการออกแบบเพื่อชุมชน จึงนำมาสู แนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนไดทั้งหมด 6 ขั้นตอน ดังแผนภาพตอไปนี้ 180


ภาพที่5 แผนภาพกระบวนการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชน จากแผนภาพกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑชุมชนที่มีพื้นฐานมาจากรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนกระบวนการ แกปญหา สามารถสรุปกระบวนการจัดการเรียนรูหลัก ๆ ออกเปนทั้งหมด 6 ขั้นตอน โดยสามารถอธิบายเนื้อหาในแตละ ขั้นตอนไดดังตอไปนี้ ขั้นตอนที่1 วิเคราะหสภาพปญหาและความสนใจ (Problem) มุงเนนใหผูเรียนไดวิเคราะหเห็นความสำคัญของ สภาพปญหาหรือปรากฏการณปจจุบัน โดยมีผูสอนเปนผูจัดประสบการณโดยการนำเสนอสภาพปญหาหรือสถานการณตาง ๆ รอบตัวผูเรียนเปนจุดเริ่มตนของกระบวนการเรียนรูจากนั้นสงเสริมใหผูเรียนไดมองปญหาเปนองครวม สามารถวิเคราะห ปญหาและเชื่อมโยงไดวาตัวปญหาสามารถสงผลกระทบอยางไรกับสังคมและมีความสำคัญอยางไรกับผูเรียน ทั้งนี้เพื่อให ผูเรียนเห็นประโยชนของการนำความรูไปใชในชีวิตจริง ทำใหผูเรียนเห็นวาในหองเรียนกับโลกนอกหองเรียนเปนโลกใบ เดียวกัน (พงศธร มหาวิจิตร, 2562) ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาอัตลักษณของชุมชน (Identity) การออกแบบผลิตภัณฑชุมชนจะมีความแตกตางจากการ ออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม โดยการออกแบบผลิตภัณฑจากภูมิปญญาทองถิ่นจะมุงหาอัตลักษณดั้งเดิม นักออกแบบจึง จำเปนตองเขาถึงแหลงขอมูลและองคความรูที่เปนรากฐานเดิมในแตละชุมชนนั้น ๆ เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑจะยังคง อัตลักษณและคุณคา (อรัญ วานิชกร, 2559) ดังนั้นการลงพื้นที่เพื่อทำการศึกษาเรียนรูอัตลักษณภายในชุมชนและทุนทาง วัฒนธรรมตาง ๆ ทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม จะทำใหเกิดความเขาใจและซาบซึ้งในคุณคาของภูมิปญญาที่ไดศึกษา สอดคลองกับ ศรีชนา เจริญเนตร (2563) กลาววา กระบวนการลงชุมชนจึงเปนสวนสำคัญที่จะนำไปสูการสรางองคความรูที่ นำไปใชในกระบวนการแกปญหาในงานออกแบบไดอยางตรงจุด นอกจากนี้ผูเรียนจะตองรูจักสังเกต ตั้งคำถาม วิเคราะหหา ปญหาหรือชองวางในการพัฒนา เพื่อที่จะไดนำขอมูลกลับไปวางแผนแนวทางการออกแบบตอวาจะออกแบบเพื่อแกปญหาที่ พบหรือจะออกแบบเพื่อสรางสรรคตอยอดทุนในชุมชน สอดคลองกับ ปญญา เทพสิงห(2557) กลาววา การแกปญหาทางการ 181


ออกแบบมี2 แนวทาง คือ แกไขจากสิ่งเดิมและแกไขเพื่อใหไดสิ่งใหม ขั้นตอนที่3 วิเคราะหและถอดรหัส (Analyse & Decrypt) เก็บขอมูลตาง ๆ ที่ไดรวบรวมจากชุมชนไปวิเคราะห หาแนวทางการออกแบบที่ตอบโจทยและสอดคลองกับบริบทชุมชนนั้นรวมกัน จากนั้นนำลักษณะของภูมิปญญาหรือทุนทาง วัฒนธรรมในชุมชนไปตอยอดสูการออกแบบและเพิ่มมูลคาโดยอาศัยกระบวนการถอดรหัสอัตลักษณชุมชน จากขอมูลการ สัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบผลิตภัณฑเพื่อชุมชนเบื้องตน สามารถสังเคราะหกระบวนการถอดรหัสอัตลักษณชุมชน สูงานออกแบบไดทั้งหมด 5 ขั้นตอน ดังนี้1. กำหนดเลือกวัตถุรูปธรรมที่แสดงถึงอัตลักษณโดดเดนของพื้นที่หรือชุมชนนั้น ๆ 2. วิเคราะหเรื่องราวทางนามธรรมที่เกี่ยวของกับวัตถุนั้น ซึ่งอาจจะรวมไปถึงวิถีชีวิต อาชีพ ความเชื่อ ประเพณีและวัฒนธรรม เปนตน 3. หาจุดเชื่อมโยงเพื่อสรางเรื่องราวใหผลิตภัณฑเกิดความนาสนใจ 4. สกัดลักษณะเฉพาะของวัตถุออกมา เชน เสน สี ลวดลาย รูปราง เปนตน และ 5. นำเขาสูกระบวนการออกแบบ ขั้นตอนที่ 4 พัฒนาแบบรวมกับปราชญหรือผูเชี่ยวชาญ (Collaboration) ขั้นตอนการรางตนแบบแลวนำไป พัฒนาปรับปรุงแบบรวมกับปราชญชุมชนหรือชางในทองถิ่นเพื่อศึกษาแลกเปลี่ยนแนวคิด ความคิดเห็น ลักษณะวิธีการ จะทำ ใหเกิดรูปแบบผลิตภัณฑที่มีความรวมสมัย โดย อรัญ วานิชกร (2559) กลาววา การพบกันระหวางนักออกแบบกับ ผูรูทางภูมิ ปญญาในแตละดานจะทำใหเกิดองคความรูและนวัตกรรมใหมๆ กอเกิดงานออกแบบที่รวมสมัยและเปนสากล นอกจากนี้ใน ขั้นตอนนี้ยังถือเปนการนำแบบรางกลับไปตรวจสอบกับตนทางหรือชุมชนวาสามารถสื่อสารตรงกับอัตลักษณตนทางหรือไม เพื่อปองกันการลบเลือนอัตลักษณดั้งเดิมหรือการนำไปใชออกแบบผิดบริบท ขั้นตอนที่ 5 กระบวนการผลิตตนแบบ (Prototype) ขั้นตอนนี้ผูเรียนจะไดปฏิบัติการออกแบบซึ่งนอกจากดาน รูปลักษณความสวยงามแลว ผูออกแบบตองคำนึงถึงเรื่องแนวโนมหรือเทรนดการออกแบบและหลักการตลาดเบื้องตน ทั้งนี้ ตองคำนึงถึงการออกแบบที่สอดคลองกับสภาพชุมชนโดยไมเปนการออกแบบที่เกินความจำเปน หรือ Over design และที่ สำคัญตองคำนึงถึงการออกแบบอยางยั่งยืน เพื่อใหชุมชนสามารถนำผลงานไปประยุกตหรือผลิตซ้ำ ซึ่งเปนแนวทางที่ทำให ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองไดตอไป (อาวิน อินทรังษี, 2563) ขั้นตอนที่ 6 นำเสนอและประเมินผล (Presentation) หลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการออกแบบแลวผูเรียนควร นำเสนอผลิตภัณฑการออกแบบที่หลากหลายรูปแบบและเปนไปอยางสรางสรรคโดยผูสอนไมควรจำกัดแนวคิดในการนำเสนอ ผลงาน เชน ใชวีดิทัศนประกอบการนำเสนอ การแสดงบทบาทสมมุติเปนตน ทั้งนี้การนำเสนอผลงานตองแสดงใหเห็นถึง แนวคิด กระบวนการทำงานตั้งแตขั้นตอนแรก แนวทางในการแกปญหาจนนำมาสูรูปแบบของผลิตภัณฑและชองทางการตลาด เพื่อเผยแพรผลงานสูสาธารณะ จากกระบวนการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนทั้ง 6 ขั้นตอนที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยขอนำเสนอแนวทางการสอน ออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนังฮูปแตมอีสาน โดยแบงกระบวนการเรียนรูออกเปน 4 ระยะ ดังตารางตอไปนี้ 182


ตารางที่2 แนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนังฮูปแตมอีสาน กิจกรรม วัตถุประสงค การวัดและประเมินผล ระยะที่1 : ศึกษาสภาพปญหาและปรากฏการณปจจบัน (สัปดาหที่1) หัวขอที่ 1 ชวนวิเคราะหปญหา ปรากฏการณในการ ออกแบบ - ผูสอนยกตัวอยางผลงานผลิตภัณฑที่ไดรับแรง บันดาลใจจากทุนทางวัฒนธรรมในการออกแบบ และสอบถามผูเรียนวาในกรณีของ “ฮูปแตม” สามารถนำมาออกแบบพัฒนาในรูปแบบใดไดบาง - ผูสอนและนักศึกษารวมกันนำเสนอประเด็นและ วิเคราะหสภาพปญหาการออกแบบผลิตภัณฑ ชุมชนที่พบในชีวิตประจำวัน - นำเสนอกรณีศึกษาเปรียบเทียบการออกแบบ ผลิตภัณฑจากขาวระหวางญี่ปุนและไทย - ผูเรียนสามารถตระหนักถึง ประเด็นปญหาและ สถานการณการออกแบบ ผลิตภัณฑชุมชนในปจจุบัน - ประเมินจากกิจกรรม ถาม-ตอบผานลิงค Google form กิจกรรม วัตถุประสงค การวัดและประเมินผล ระยะที่1 : ศึกษาสภาพปญหาและปรากฏการณปจจบัน (สัปดาหที่1) หัวขอที่2 การออกแบบผลิตภัณฑชุมชนจาก ทุนวัฒนธรรมฮูปแตม - บรรยายเนื้อหาความรูทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรม ฮูปแตมพื้นบาน - บรรยายเรื่องการออกแบบผลิตภัณฑจากทุนวัฒนธรรม. ในสวนของกระบวนการออกแบบและการดึงอัตลักษณ นำมาตอยอดในงานออกแบบ - ผูสอนนำเสนอตัวอยางผลงานผลิตภัณฑที่สะทอนถึง อัตลักษณทองถิ่นที่โดดเดน พรอมกับวิเคราะหผล งานรวมกับนักศึกษา - มอบโจทยใหนักศึกษาออกแบบผลิตภัณฑชุมชนจาก อัตลักษณฮูปแตมที่สามารถสะทอนถึงเอกลักษณ ของชุมชนที่ไดรับมอบหมาย - ผูเรียนมีความรูพื้นฐานเกี่ยว กับประวัติศาสตรฮูปแตม - ผูเรียนมีความรูเกี่ยวกับ กระบวนการออกแบบ ผลิตภัณฑจากทุนทาง วัฒนธรรม - ประเมินจากกิจกรรม ถาม-ตอบผานลิงค Google form 183


ตารางที่2 แนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนังฮูปแตมอีสาน (ตอ) ระยะที่2 : ลงพื้นที่ศึกษาและสกัดอัตลักษณชุมชน (สัปดาหที่2) หัวขอที่1 ลัดเลาะรอบสิม - นักศึกษาทำการศึกษาฮูปแตมในสถานที่จริง ในประเด็น เกี่ยวกับประวัติความเปนมา ลักษณะทางทัศนศิลปและ เนื้อหาเรื่องราว จากการสำรวจ สืบคน และการ บรรยายจากผูรูในชุมชน - นักศึกษาสำรวจสภาพชุมชนโดยรอบเพื่อเก็บรวบรวม ลักษณะของทุนวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่ปรากฏในชุมชน และ รวมพูดคุยกับตัวแทนชุมชนเพื่อสอบถามสภาพปญหา หรือความตองการเพื่อหาชองวางในการพัฒนา ผลิตภัณฑชุมชน - ผูเรียนสามารถวิเคราะห สภาพชุมชนเพื่อระบุ ปญหาหรือความตองการ เพื่อนำไปกำหนดแนวทาง ในการออกแบบ ผลิตภัณฑชุมชนได - ประเมินจากแบบ วิเคราะหอัตลักษณ ชุมชน หัวขอที่2 ถอดรหัสอัตลักษณฮูปแตม - ผูสอนนำเสนอแนวทางในการสกัดอัตลักษณฮูปแตม เพื่อนำมาใชตอยอดในการออกแบบ เชน การลด ทอนเสน รูปราง สีลวดลาย เปนตน - นักศึกษาทำงานเปนกลุมโดยนำลักษณะฮูปแตม ทุนวัฒนธรรมหรือสิ่งบงชี้ชุมชนที่ไดเก็บรวบรวมจาก การลงชุมชน นำมาสกัดลักษณะที่โดดเดนเพื่อใช ประยุกตออกแบบ - กำหนดประเด็นการออกแบบใหชัดเจนและรางภาพ ตนแบบผลิตภัณฑ - ผูเรียนสามารถสกัด อัตลักษณฮูปแตมตลอดจน สิ่งบงชี้ภายในชุมชนเพื่อนำ ไปประยุกตใชในการ ออกแบบผลิตภัณฑชุมชน - ประเมินจากแบบ วิเคราะหอัตลักษณ ชุมชน ระยะที่3 : การพัฒนาแบบรวมกัน (สัปดาหที่3) หัวขอที่1 การตรวจสอบความตรงของอัตลักษณดั้งเดิม - นักศึกษานำแบบรางผลิตภัณฑไปพัฒนารวมกับ ปราชญหรือคนในชุมชน เพื่อศึกษาความตรงของ อัตลักษณตนทางและปรับปรุงแบบรวมกัน - ผูสอนบรรยายขอมูลความรูเกี่ยวกับการออกแบบ การตลาดโดยใชทฤษฎี4Ps (Product, Price, Promotion, Place, Packaging) และแนวคิดการ ออกแบบอยางยั่งยืน - นักศึกษานำแบบรางไปพัฒนาผลิตภัณฑเปนตนแบบ (Prototype) และตรวจสอบปรับปรุงคุณภาพ ผลิตภัณฑ - ผูเรียนมีความรูเกี่ยวกับ แนวคิดการออกแบบ อยางยั่งยืน - ผูเรียนมีความรูเกี่ยวกับการ ออกแบบการตลาดโดยใช ทฤษฎี4Ps - ประเมินจากการ สอบถาม - ประเมินจากผล งานการออกแบบ ผลิตภัณฑตนแบบ 184


ระยะที่4 : นำเสนอและประเมินผล (สัปดาหที่4) หัวขอที่1 เปดตลาดผลิตภัณฑสรางสรรคประจำชุมชน - นักศึกษานำเสนอผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ ประจำชุมชน - นักศึกษาสรางชองทางการตลาดหรือเผยแพร ผลงานการออกแบบในรูปแบบตาง ๆ เชน การสราง เว็บไซตเฟสบุคแฟนเพจ วีดิโอไวรัล เปนตน - กิจกรรมการสะทอนคิด - ผูเรียนสามารถออกแบบ ผลิตภัณฑชุมชนโดยใช อัตลักษณฮูปแตมได - ประเมินจากผล งานการออกแบบ ผลิตภัณฑชุมชน - ประเมินจากแบบ สะทอนคิด สรุปและอภิปรายผล จากการศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาแนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนัง “ฮูปแตมอีสาน” สามารถสรุปและอภิปรายผลการวิจัยไดดังนี้ 1) การศึกษารูปแบบและอัตลักษณฮูปแตมแตละแหงในจังหวัดขอนแกน พบวา เปนฮูปแตมที่จัดอยูในกลุมพื้นบาน ที่มีการสรางกอนปพ.ศ.2500 ฮูปแตมแตละแหงมีรูปแบบทางทัศนศิลปและเนื้อหาวรรณกรรมที่สอดคลองกัน เนื่องจากอยูใน แองวัฒนธรรมเดียวกัน โดยฮูปแตมในจังหวัดขอนแกนจัดอยูในกลุมของฮูปแตมพื้นบานที่อยูบริเวณอีสานกลาง เปนภาพที่ เขียนโดยชางพื้นบานมีการเขียนและถายทอดกันภายในทองถิ่นเปนงานเขียนที่เรียบงายไมมีแบบแผนที่แนนอน เนื้อหาใน แตละฉากบางแหงมีการวาดสลับไปมา เนนการถายทอดเรื่องราวตามจินตนาการและความรูสึกของชางแตม ในดานลักษณะ ทางทัศนศิลปของฮูปแตมพื้นบานที่พบสวนมากจะไมเนนเรื่องมิติแสงเงา ทำใหภาพมีลักษณะแบนอยูในระนาบเดียวกัน และ นิยมลงพื้นหลังของผนังดวยสีขาวนวลหรือสีในโทนสวางจากนั้นเขียนเสน รูปรางลวดลาย หรือตัวละครตาง ๆ ดวยสีน้ำเงิน คราม เหลือง เขียว และน้ำตาลแดง สอดคลองกับผลการวิจัยของบุรินทรเปลงดีสกุล (2554) ที่กลาววา จิตรกรรมที่สรางกอน ปพ.ศ.2500 สวนใหญมีการจัดวางองคประกอบที่ไมเครงครัด ชางเขียนจะถายทอดผลงานอยางเรียบงายตามความเขาใจของ ตน จึงปรากฏผลงานที่มีรูปแบบอิสระเปนแบบพื้นบาน ประกอบกับใชสีแบบธรรมชาติในดานของเนื้อหาวรรณกรรมที่ปรากฏ ในฮูปแตมพื้นบานจังหวัดขอนแกนสามารถแบงออกตามลักษณะของเรื่องไดเปน 2 กลุม คือ 1. กลุมเรื่องราวทางศาสนา ไดแก พุทธประวัติทศชาติชาดก ไตรภูมิและ 2. กลุมวรรณกรรมทองถิ่น คือ สินไซหรือสังขศิลปชัยและพระลักษณพระรามชาดก นอกจากนี้ยังมีภาพกากที่เปนภาพที่มีการเขียนสอดแทรกไปในโครงเรื่องหลักหรือบริเวณที่วางตาง ๆ โดยภาพกากเปนภาพที่ สะทอนถึงวิถีชีวิต สภาพสังคม ประเพณีและวัฒนธรรมของชาวอีสาน เชน ภาพคนกำลังเปาแคน จับปลา ภาพกลุมหญิงสาวที่ แตงกายแบบอีสาน หรือภาพทหารเครื่องแบบตะวันตก เปนตน จากการศึกษาและสังเกตลักษณะของฮูปแตมอีสานจะพบวา นิยมลงสีผนังหรือพื้นหลังดวยสีขาวหรือสีสวาง เนื่องจากตัวอาคารของสิมอีสานมีขนาดคอนขางเล็ก เมื่อมีการลงสีพื้นหลังดวย สีขาวนวลบนฝาผนังจะทำใหบรรยากาศภายในสิมมีความสวางดูกวางและโปรงขึ้น นอกจากนี้ศูนยวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแกน (2532) กลาววา ฮูปแตมทางภาคอีสานมักจะเขียนอยูบนผนังดานนอกของสิมหรือโบสถเนื่องจาก ภายในตัวอาคารสิมมีขนาดเนื้อที่ที่จำกัด อีกทั้งสิมบางแหงยังหามสตรีเขาไปภายใน ซึ่งสอดคลองกับ ศักดิ์ชัย สายสิงห(2555) ที่กลาววา การเขียนจิตรกรรมดานนอกของสิมก็เนื่องมาจากสาเหตุที่สิมพื้นบานมีขนาดเล็ก ไมมีพื้นที่ในการเขียนมากนัก กับ 185


อีกสวนหนึ่งที่เปนมูลเหตุสำคัญคือ พื้นที่ภายในมีคอนขางจำกัด ในยามที่มีพิธีกรรมและมีผูเขารวมเปนจำนวนมากจนลน ออกมาภายนอกสิม ผูที่อยูนอกสิมก็สามารถชมจิตรกรรมที่วาดไวบนผนังดานนอกไดนอกจากนี้สิมบางแหงหามสุภาพสตรีเขา ไปภายใน ดังนั้น การเขียนภาพไวภายนอกจะทำใหใหสตรีสามารถชมจิตรกรรมจากภายนอกได 2) แนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนังฮูปแตมอีสาน สามารถแบงกิจกรรม เปน 4 ระยะ ดังนี้ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปญหาและปรากฏการณปจจุบัน ระยะที่ 2 ลงพื้นที่ศึกษาและสกัดอัตลักษณชุมชน ระยะที่ 3 การพัฒนาแบบรวมกัน และระยะที่ 4 นำเสนอและประเมินผล โดยแนวทางการสอนทั้ง 4 ระยะดังกลาวนี้มีความ สอดคลองกับในแตละขั้นตอนของแผนภาพกระบวนการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชน (ภาพที่ 5) ซึ่งสามารถอธิบายใหเห็นถึง ความเชื่อมโยงกัน ดังนี้ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปญหาและปรากฏการณปจจุบัน สอดคลองกับขั้นตอนที่ 1 วิเคราะหสภาพ ปญหาและความสนใจ (Problem) ในระยะนี้ผูสอนจะมุงเนนใหผูเรียนตระหนักถึงประเด็นปญหาและสถานการณการ ออกแบบผลิตภัณฑชุมชนในปจจุบัน โดยผูสอนจะเปนผูกระตุนใหผูเรียนไดรวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือประสบการณ สวนตัวในประเด็นเกี่ยวกับสภาพปญหาการออกแบบผลิตภัณฑจากทุนวัฒนธรรมทองถิ่นที่พบในชีวิตประจำวัน และเชื่อมโยง ใหผูเรียนเห็นวาประเด็นปญหาสามารถสงผลกระทบอยางไรตอสังคมหรือตัวผูเรียนเอง ทั้งนี้เพื่อเชื่อมตอโลกในหองเรียนและ นอกหองเรียนทำใหผูเรียนเห็นประโยชนของการนำความรูไปใชในชีวิตจริง (พงศธร มหาวิจิตร, 2562) สอดคลองกับ Gerver (2017) ไดกลาววา ผูสอนที่ดีจะตองสามารถเชื่อมโยงบทเรียนเขากับชีวิตของผูเรียน เพราะเมื่อผูเรียนใหความสำคัญและใสใจ บทเรียนจะทำใหพวกเขาเกิดการเรียนรูทั้งนี้สามารถกลาวไดวาการสอนในระยะที่ 1 สภาพปญหาจะเปนจุดตั้งตนของ กระบวนการเรียนรูและเปนตัวกระตุนใหเกิดการพัฒนาทักษะการแกปญหาดวยเหตุผลและเขาใจกลไกสาเหตุของปญหา (ทิศนา แขมมณี, 2551) ซึ่งจะนำไปสูการออกแบบเพื่อแกปญหาอยางมีประสิทธิภาพ ลำดับถัดมา ระยะที่ 2 ลงพื้นที่ศึกษา และสกัดอัตลักษณชุมชน สอดคลองกับขั้นตอนที่ 2 การศึกษาอัตลักษณของชุมชน (Identity) และขั้นตอนที่ 3 วิเคราะหและ ถอดรหัส (Analyse & Decrypt) ในการสอนระยะนี้ผูเรียนจะไดลงพื้นที่ชุมชนเพื่อศึกษาฮูปแตมในสถานที่จริง ในประเด็น เกี่ยวกับประวัติความเปนมา เนื้อหาวรรณกรรม ลักษณะทางทัศนศิลปของฮูปแตม และสำรวจทุนวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่ปรากฏใน ชุมชน จากการสำรวจ สืบคน สอบถามและการบรรยายจากปราชญชุมชน เพื่อนำขอมูลที่ไดไปวิเคราะหคัดเลือกและสกัด หาอัตลักษณที่โดดเดนออกมา ไมวาจะเปน เสน สีรูปราง ลวดลาย ความเชื่อ เรื่องราวชุมชน ฯลฯ แลวนำไปประยุกตใชใน การออกแบบผลิตภัณฑชุมชน ทั้งนี้การจัดกิจกรรมการศึกษานอกสถานที่เปนกิจกรรมที่มีคุณคา เพราะผูเรียนจะเกิดการ เรียนรูและไดรับประสบการณตรง ตลอดจนสงเสริมทักษะดานตาง ๆ ซึ่งทำใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติสังเกต สำรวจ และ นำไปสูการแกปญหา (เนาวนิตยสงคราม, 2557) นอกจากนี้การลงพื้นที่จริงจะทำใหผูเรียนไดวิเคราะหศักยภาพและความ พรอมของชุมชนแตละแหงที่มีความแตกตางกัน ทำใหผูเรียนเขาใจลักษณะสภาพชุมชนนั้นอยางลึกซึ้ง ระยะที่ 3 การพัฒนา แบบรวมกัน สอดคลองกับขั้นตอนที่ 4 พัฒนาแบบรวมกับปราชญหรือผูเชี่ยวชาญ (Collaboration) และขั้นตอนที่ 5 กระบวนการผลิตตนแบบ (Prototype) โดยในระยะที่ 3 นี้ผูเรียนจะไดนำแบบรางผลิตภัณฑกลับไปพัฒนารวมกับปราชญ ผูเชี่ยวชาญ หรือคนในชุมชน กอนจะนำแบบรางไปพัฒนาเปนตนแบบ(Prototype) และตรวจสอบปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ โดย ชัยวัฒนสุวรรณออน (2563) และอาวิน อินทรังษี(2563) ไดกลาวสอดคลองกันวา การนำผลงานไปตรวจสอบกับตนทาง จะทำใหเกิดการมีสวนรวมกับชุมชน ทั้งนี้เพื่อประเมินวาผลงานที่ออกแบบสามารถสื่อสารตรงกับอัตลักษณตนทางหรือไม เพื่อ ปองกันการลบเลือนอัตลักษณดั้งเดิมหรือการนำอัตลักษณชุมชนไปใชออกแบบผิดบริบทกอนที่จะนำเขาสูกระบวนการผลิต ออกแบบ นำเสนอและหาชองทางการตลาดเพื่อเผยแพรผลงานตอไป และในระยะสุดทายคือ ระยะที่ 4 ระยะนำเสนอและ ประเมินผล สอดคลองกับ ขั้นตอนที่ 6 นำเสนอและประเมินผล (Presentation) ในระยะนี้ผูเรียนจะไดนำเสนอผลงานการ ออกแบบผลิตภัณฑชุมชนจากอัตลักษณฮูปแตมพรอมทั้งเสนอแนวทางในการเผยแพรผลงานและหาชองทางการตลาดใน รูปแบบตางๆ เชน เว็บไซตเฟสบุคแฟนเพจ วีดิโอไวรัลหรือแพลตฟอรมออนไลนอื่น ๆ ซึ่งการนำเสนอผลงานจะทำใหผูเรียน 186


เกิดการเรียนรูและไดมาซึ่งทักษะ โดยผูเรียนจะไดเรียนรูจากเพื่อนรวมชั้นและเห็นแนวทางในการออกแบบแกไขปญหาของ กลุมอื่น ๆ (Belen Calavia, Teresa Blanco & Roberto Casas, 2021) จากการอธิบ ายแนวทางการสอนออกแบบ ผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนังฮูปแตมอีสานทั้ง 4 ระยะที่กลาวมาทั้งหมดนี้จะสังเกตวามีรูปแบบการ จัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ใชปญหาเปนจุดเริ่มตนของกิจกรรมการเรียนรูและนำไปสูการสืบคน วิเคราะห สรางสรรคผลงานออกแบบผานกระบวนการแกปญหา กิตติพงษเกียรติวิภาค (2560) กลาววา การออกแบบคือกิจกรรมการ แกปญหาเพื่อใหบรรลุตามเปาหมายหรือจุดประสงคที่ตั้งไวดังนั้นรูปแบบการสอนที่เนนกระบวนการแกปญหาจึงมีความ เหมาะสมในการนำมาใชประยุกตสอนออกแบบผลิตภัณฑและพัฒนาทักษะของผูเรียน ยกตัวอยางเชน การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ซึ่งเปนกระบวนการที่เนนหาปญหาหลักและวิเคราะหหาแนวทางที่เหมาะสมในการแกปญหานั้น สงผลทำ ใหเกิดสะพานสรางสรรคเชื่อมระหวางปญหาและแนวทางแกไขพัฒนา (Cross, 2011; Dorst & Cross, 2001) ซึ่งจะสงผลทำ ใหผูเรียนเกิดทักษะที่สำคัญในศตวรรษที่ 21 เชน ทักษะดานความรวมมือ (Collaboration) ทักษะการแกปญหา (problem solving) ตลอดจนทักษะดานการสรางสรรคและนวัตกรรม (Creative and Innovation) รวมกับผูอื่น (Brown, 2008; Razzouk & Shute, 2012) ขอเสนอแนะ 1. ควรนำแนวทางการสอนออกแบบผลิตภัณฑชุมชนโดยใชอัตลักษณจิตรกรรมฝาผนัง “ฮูปแตมอีสาน” ที่พัฒนาขึ้น นั้นไปทดลองใชจริง เพื่อศึกษาผลกระทบและปรับปรุงพัฒนารูปแบบการสอนใหสมบูรณยิ่งขึ้น 2. ควรนำหลักการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) มาประยุกตใชกับแนวทางการสอนที่พัฒนาขึ้น เพื่อให สามารถเขาถึงสภาพปญหาและแนวทางการพัฒนาผลงานที่ชัดเจนขึ้น 3. ควรมีการนำแนวทางการสอนที่พัฒนาขึ้นไปจัดกิจกรรมรวมกับชุมชน เพื่อเปนการตอยอดทุนวัฒนธรรมฮูปแตม สูการออกแบบผลิตภัณฑประจำชุมชน เอกสารอางอิง กนกวรา พวงประยงค. (2561). บทบาทของเศรษฐกิจสรางสรรคและพฤติกรรมเชิงสรางสรรคในการพัฒนายกระดับวิสาห ชุมชนไทย. วารสารพัฒนศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 1(1), 220-252. กิตติพงษเกียรติวิภาค. (2560). พัฒนาดานการออกแบบผลิตภัณฑโดยใชกรอบแนวคิดการออกแบบหัตถอุตส วารสารศิลปกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน, 9(2), 333-366. กรมสงเสริมอุตสาหกรรม. (2559). ทุนวัฒนธรรมไทยสูการสรางสรรคเศรษฐกิจ. วารสารอุตสาหกรรมสาร กรมสงเสริม อุตสาหกรรม, 58(4), 5-11. ชัยวัฒน สุวรรณออน. อาจารยดร. คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จ เจาพระยา. (3 เมษายน 2563). สัมภาษณ. ชิงชัย ศิริธร. (2562). การออกแบบผลิตภัณฑกราฟกจากอัตลักษณตัวละคร และฉากในฮูปแตมอีสานเพื่อใชในผลิตภัณฑและ สื่อดิจิทัลเชิงวัฒนธรรม. วารสารศิลปกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน, 11(1), 286-312. ทิศนา แขมมณี. (2551). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: แอคทีฟ พริ้นท. เนาวนิตยสงคราม. (2557). การศึกษานอกสถานที่และการศึกษานอกสถานที่เสมือนเพื่อการเรียนรูเชิงรุก. (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บุรินทรเปลงดีสกุล. (2554). พัฒนาการของจิตรกรรมฝาผนังอีสานกรณีศึกษาจังหวัดขอนแกนจังหวัดมหาสารคามและจังหวัด รอยเอ็ด. วารสารศิลปกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน, 3(1), 84-113. 187


ปญญา เทพสิงห. (2557). สถานะภาพผลิตภัณฑในวิถีสังคมใหมและแนวการสอนการออกแบบผลิตภัณฑ.วารสารสิ่งแวดลอม สรรคสรางวินิจฉัย, 13(1), 31-40. ประทับใจ สุวรรณธาดา และศักดิ์ชาย สิกขา. (2561). การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑชมชนโดยใชทุนทางวัฒนธรรมและ ภูมิปญญา : ในเขตพื้นที่ภาคอีสานตอนบน. วารสารวิชาการศิลปสถาปตยกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยนเรศวร, 42(2), 137-155. พงศธร มหาวิจิตร. (2562). การประยุกตใชแนวคิดการเรียนรูโดยใชปรากฏการณเปนฐานรวมกับการเรียนแบบเชิงรุก ใน รายวิช าก ารป ร ะถมศึกษา เพื่ อสงเส ริมทั กษ ะก ารเรียน รูในศ ต วร รษ ที่ 21. วารส ารศึกษ าศ าสต ร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 9(2), 73-90. ศักดิ์ชัย สายสิงห. (2555). จิตรกรรมฝาผนัง(ฮูปแตม) และงานปราณีตศิลป. (พิมพครั้งที่ 1). นนทบุรี: สำนักพิมพมิวเซียมเพรส. ศรีชนา เจริญเนตร. ผูชวยศาสตราจารยคณะศิลปกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร(ศูน ยลำปาง). (1 เมษายน 256 สัมภาษณ. สุกัญญา ภัทราชัย, บรรณาธิการ. (2532). จิตรกรรมฝาผนังอีสาน. (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: อัมรินทรพริ้นติ้ง กรุพ. สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2561). แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ป(พ.ศ. 2561 - 2580). (พิมพครั้งที่ 1) กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟค. สำนักงานสงเสริมเศรษฐกิจสรางสรรค. (2563). เจาะเทรนดโลก 2021 : Reform This Moment. สืบคนขอมูลเมื่อ 8 มกราคม 2564, เขาถึงไดจาก: https://www.tcdc.or.th/th/all/service/resource-center/e-book/27494- Trend-2021-Reform-this-Moment อรัญ วานิชกร. (2559). การออกแบบผลิตภัณฑทองถิ่น. (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อาวิน อินทรังษี. รองศาสตราจารยคณะมัณฑนศิลปมหาวิทยาลัยศิลปากร. (7 เมษายน 2563). สัมภาษณ. Belen Calavia, Teresa Blanco & Roberto Casas. (2021). Fostering creativity as a problem-solving competence through design: Think-Create-Learn, a tool for teachers. Thinking Skills and Creativity, 39(2021), 1-18. Brown, T. (2008). Design thinking. Harvard Business Review, 86(6), 84. Cross, N. (2011). Design thinking: Understanding how designers think and work. Berg. Razzouk, R., & Shute, V. (2012). What is design thinking and why is it important? Review of Educational Research, 82(3), 330–348. 188


การสรางสรรคผลงานศิลปะ ชุด “วัฏจักรของชีวิต” The Creation of Fine Arts : Cycles of life เกรียงไกร กงกะนันทน*1 Kriangkrai Kongkhanun 1 คณะดิจิทัลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม, School of Digital Media, Sripatum University E-mail [email protected] บทคัดยอ ผลงานชุดวัฏจักรของชีวิต ตองการแสดงออกถึงสภาวะอารมณจากการดำเนินชีวิตในแตละวัน การพบเห็นสิ่ง ตางๆ การเชื่อมโยงระหวางภายนอกและภายใน ความรูสึกของจิตที่มีการทำงานอยูตลอดเวลาซึ่งมีความสัมพันธกับเปนอารมณ พื้นฐานของมนุษย สภาวะตางๆทั้งดานบวกและดานลบซึ่งมักครอบงำจิตวิญญาณของมนุษย บางครั้งสภาวะดำดิ่งที่อยูในใจ มนุษยเปรียบเสมือนสภาวะที่ฉุดกระชาก ใหตกต่ำ จมลงสูกนบึ้งของจิตที่เต็มไปดวยอารมณความรูสึกตางๆ เชน ความกลัว หวาดระแวง เยือกเย็น หนาวเหน็บ สับสน บาคลั่ง รอนรุม ทุกสิ่งทุกอยางถูกหลอมรวมเขาดวยกันจนไมสามารถแยกออกจาก กันได รวมทั้งสิ่งที่เปนสิ่งผิดปกติทั้งอาจเกิดขึ้นในจินตนาการและเกิดขึ้นจริง คำสำคัญ: มนุษย, กิเลส, วัฏจักร Abstract Cycles of life series want to express the emotional state of everyday life, the link between the outside and the inside. The feeling of a constantly active mind that is related to the basic human emotion. Both positiveand negativestatesoften dominatethehumanspirit. Sometimes thestatus that is deep down inside human mind is the status of being pulled down to the bottom of the mind that is full of emotions such as fear, doubt, coldness, confusion, frenzy and heat. Everything is merged together until they cannot be separated with one another. This also includes unusual things that may occur in the imagination and in reality. Keywords: Human Beings, Lust, Life cycle. ที่มาและความสำคัญของปญหา สิ่งมีชีวิตตางๆ มีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่อง แตละสิ่งยิ่งแตกตางกันไป สิ่งเหลานี้ลวนเปน วัฏจักรของชีวิต การใช ชีวิตในแตละวันของมนุษย การใชชีวิตที่เรงรีบ ความกดดันจากเศรษฐกิจ สิ่งเหลานี้ลวนทำใหถูกบีบคั้นดวยแรงปรารถนา ภายใน ทำใหคนสวนใหญมักพายแพตอความตองการที่เพิ่มมากขึ้น ทำใหเกิดแรงปรารถนาที่ไมมีที่สิ้นสุด พระพุทธเจาทรงพบวาความทุกขของคนเรานั้นมิไดเกิดขึ้นโดยบังเอิญ แตมีสาเหตุอยูเบื้องหลัง เชนเดียวกับ ปรากฏการณทั้งหลาย ก็ลวนแตมีเหตุอันเปนที่มาทั้งสิ้น กรรม คือกฎของเหตุและผลนี้ เปนกฎสากลและเปนกฎพื้นฐานของ สิ่งมีชีวิต ซึ่งสาเหตุเหลานี้ก็ไมไดอยูนอกเหนือการควบคุมของเราเสียทีเดียว1 1 วิลเลียม ฮารท, ศิลปะในการดำเนินชีวิต (กรุงเทพมหานคร : พิมพดี, 2553), 49. 189


ผลงานชุดนี้ ไดรับแรงบันดาลใจจากมุมมองประสบการณ ความรูสึกที่ผานเขามาในชีวิต วัฎจักรของชีวิตที่เกิดขึ้น อยางตอเนื่อง ทำใหเกิดการหยุดความรูสึกภายใน การพิจารณาถึงตัวตน สภาวะขัดแยงภายใน มโนภาพที่ถูกซอนเรน โดย ถายทอดเรื่องราว ผสมผสานแนวความคิดและอารมณความรูสึกผานสิ่งมีชีวิตซึ่งเปนนัยยะจากโลกเสมือนที่ถูกสรางขึ้นจาก จินตนาการ วิญญาณ สัตวประหลาดและสัตวเดรัจฉานในผลงานเหลานี้ แสดงออกถึงความรูสึกภายใน เสมือนนามธรรมอัน ไดแก ความเกลียด ความโกรธ ความโลภ ความอิจฉาริษยา โดยพัฒนาเปนบุคลิกภาพเฉพาะ แสดงถึงสัญลักษณของความ แปรปรวนในจิตใจ อันมีทั้งจากเรื่องราวในอดีตและสิ่งที่เกิดขึ้นในปจจุบัน กรอบแนวคิดและสมมติฐาน ผูวิจัยไดใชรูปแบบและเรื่องราวที่ใชจินตนาการสรางโลกเสมือนขึ้น โดยไดดัดแปลงรูปทรงจากที่เคยรับรูเรื่องราวของ มนุษย สัตวประหลาด และสัตวเดรัจฉาน จากเรื่องราวของพุทธศาสนา เชน คำสอนในไตรภูมิกถา เพื่อแสดงออกถึงอารมณ ตางๆที่เกิดขึ้นทั้งดานลบและดานบวก เปนสภาวะนามธรรม เชน ความเกลียด ความโกรธ ความโลภ ความอิจฉาริษยา รูปทรง ถูกสรางขึ้นจากในจินตนาการ เชน สัตวรายที่ตอสูกัน จองทำลายฆาฟนกัน ดวยมีตนแบบมาจากงานศิลปะไทยโบราณ แตได พัฒนาเรื่องราวและการแสดงออกในบุคลิกภาพของตนเอง รวมไปถึงเทคนิควิธีการที่แสดงทัศนะธาตุที่ดูรุนแรง ใชแตน้ำหนักที่ ตัดกันเชนขาวกับดำ สรรพสิ่งตางๆรอบๆตัวเราทั้งรูปธรรมและนามธรรมลวนกอใหเกิดการรับรูบางสิ่งเราสามารถจดจำไวได แตบางสิ่ง อาจลืมเลือนทุกๆ สิ่งที่ผานมาลวนแตถูกเก็บไวในสวนใดสวนหนึ่งของจิตใจศิลปนจำเปนตองนำสิ่งตางๆ ที่ผานการรับรูมา รวบรวม สรุป และผสมผสานกับอารมณความรูสึกสวนตัว เพื่อถายทอดใหเกิดงานศิลปะที่มีลักษณะเฉพาะตัวของแตละคน อิทธิพลและแรงบันดาลใจเปนสิ่งสำคัญที่กอใหเกิดการสรางสรรคและพัฒนา อิทธิพลจากแนวความคิดและปรัชญา แนวความคิดและปรัชญาทางพระพุทธศาสนามีสวนสำคัญในการดำรงชีวิตของคนไทยเปนอยางมาก ทานพุทธทาส ภิกขุเปนพระภิกษุไทยที่มีการเผยแพรผลงานทางศาสนามากมาย หลักธรรมคำสั่งสอนของทานเปนที่ยอมรับอยางกวางขวางทั้ง ชาวไทยและชาวตางชาติ ภาพที่ 1 ภาพทานพุทธทาส ที่มา : Buddhavihara, พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาส อินทปญโญ) เขาถึงเมื่อ 5 พ.ค. 2565, เขาถึงไดจาก http://www.buddhavihara.ru/?page_id=237 190


Click to View FlipBook Version