The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สื่อการเรียนรู้รายวิชาทักษะประสบการณ์การแสดง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supansa Plaekphakwaen, 2020-11-07 12:52:42

สื่อการเรียนรู้รายวิชาทักษะประสบการณ์การแสดง

สื่อการเรียนรู้รายวิชาทักษะประสบการณ์การแสดง

98

ภำพท่ี 23
อธบิ ำยทำ่ รำ
ตวั พระ : จากนนั้ หนั มาทางทิศซ้ายประเท้าขวาแลว้ ยกขาขึ้นมอื ทั้ง2ขา้ งอยู่ทห่ี น้าอกศรี ษะเอียงซา้ ย
ตวั นำง : จากนน้ั หนั มากทางทิศซา้ ยประเทา้ ซา้ ยแล้วยกขาข้ึนมอื ท้งั 2ข้างอยู่ทีห่ นา้ อกศีรษะเอียงซ้าย

99

ภำพที่ 24
อธบิ ำยทำ่ รำ
ตวั พระ : จากนน้ั หนั มาทางทศิ ซ้ายประเทา้ ขวาแลว้ ยกขาขึ้นมือท้ัง 2 ข้างอยทู่ ห่ี น้าอกศรี ษะเอียงซา้ ย
ตวั นำง : จากนั้นหนั มากทางทศิ ซา้ ยประเท้าซ้ายแลว้ ยกขาขึน้ มอื ทั้ง 2 ขา้ งอยทู่ ห่ี นา้ อกศีรษะเอียงซ้าย

100

ภำพที่ 25
อธบิ ำยท่ำรำ
ตัวพระ : แลว้ คอ่ ยๆไหว้หนั มาทิศหน้าพนมมอื ทหี่ น้าอกแลว้ ไหว้3คร้ัง
ตัวนำง : แลว้ ค่อยๆไหวห้ ันมาทศิ หน้าพนมมือทห่ี นา้ อกแล้วไหว3้ ครั้ง

101

ภำพที่ 26
อธบิ ำยทำ่ รำ
ตัวพระ : จากนั้นมอื ขวาตง้ั วงบนมอื ซ้ายตัง้ วงกลางระดบั ปาก(ทา่ ร่าย)เท้าขวาเลอ่ื นมาขา้ งหน้า
ตวั นำง : จากน้ันมือขวาต้งั วงบนมือซ้ายตง้ั วงกลางระดบั ปาก(ท่าร่าย)เทา้ ขวาเลื่อนมาขา้ งหน้า

102

ภำพที่ 27
อธบิ ำยทำ่ รำ
ตัวพระ : มอื ขวาตงั้ วงมือซ้ายจบี สง่ หลัง ศรี ษะเอียงซา้ ยเท้าซ้ายวางหน้า
ตวั นำง : มอื ขวาตัง้ วงมือซ้ายจีบส่งหลงั ศีรษะเอยี งซ้ายเท้าซา้ ยหน้า

103

ภำพที่ 28
อธิบำยทำ่ รำ
ตวั พระ : มือขวาต้ังวงระดบั ไหลม่ ือซา้ ยหงายมอื ระดับหวั เข็มขัดศรี ษะเอยี งซา้ ยประเทา้ ขวา
ตวั นำง : มอื ขวาตง้ั วงระดับไหลม่ อื ซา้ ยหงายมือระดบั หัวเข็มขัดศรี ษะเอยี งซ้ายประเทา้ ขวา

104

ภำพท่ี 28

อธบิ ำยท่ำรำ
ตัวพระ : ทาทา่ (ปองหน้า)

ตวั นำง : ทาทา่ (ปองหน้า)

105

ภำพท่ี 28

อธิบำยทำ่ รำ
ตวั พระ : ยนื พระ

ตัวนำง : ยนื นาง

106

ประวตั เิ พลงลงสรงโทน

ความเป็นมาของการรลงสรง น่าจะมีมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาสืบมาจนถึงสมัย กรุงรัตนโกสินทร์
เนื่องจากมีหลักฐานพบว่ามีการรลงสรงโทนใน บทละครเร่ืองสังข์ทอง ซึ่งในคัมภีร์ปัญญาสชาดกเรียกว่า
“สุวัณณสังขชาดก" ปรากฏในสมัย กรุงศรีอยุธยา ต่อจากน้ันได้พบว่าการรลงสรงมปี รากฏในบทละครหลาย
เรื่องสืบมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นการสืบทอดการรลงสรงในการแสดงละคร โดยเ ฉพาะในสมัยรัชกาล
พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ วั อานันทมหิดล (รชั กาลที่ 8) ไดม้ ีการถา่ ยทอดการรลงสรงดว้ ยกระบวนการทาง
การศึกษาอีกลักษณะหน่ึง โดยการบรรจุการรลงสรงไว้ในหลักสูตรการศึกษาด้านนาฏศิลป์ไทย ของ
สถาบนั การศกึ ษาหลายแห่ง

กระบวนทา่ รลงสรง เขา้ ใจว่านา่ จะมีมาแต่สมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยาและสืบทอดตอ่ มาจนใน สมยั รชั กาลที่ 2
ไดม้ ีการนาทา่ ราท่ีเป็นแบบแผนเดมิ มาใช้ในการแสดงและใช้เป็นแนวทางในการ ประดิษฐ์ท่าราขนึ้ ตามบทร้อง
เรียกกนั ว่า การตบี ทหรือใช้บท โดยมีเจ้าฟา้ กรมหลวงพทิ กั ษ์ มนตรีเปน็ ผูค้ ิดประดิษฐ์ทา่ รารว่ มกับครรู ุ่งและครู
ทองอยู่ โดยมีเจา้ จอมมารดาแย้มเปน็ ผนู้ า ต่อมาได้ถ่ายทอดใหก้ บั เจ้าจอมมารดาวาดและหม่อมแยม้ จนมาถึง
คุณครูลมุล ยมะคุปต์และ ท่านผู้หญิงแล้ว สนิทวงศ์เสนีในวังสวนกุหลาบ ซ่ึงต่อมาเมื่อท่านทั้งสองเข้ามารับ
ราชการใน กรมศิลปากรก็ได้ถ่ายทอดกระบวนาให้กับศิลปินกรมศิลปากรและอาจารย์ในวิทยาลัยนาฏศิลป
จึงถอื ไดว้ ่าเปน็ กระบวนทา่ ราทย่ี ังมีการสืบทอดต่อเน่ืองมาโดยตลอดจนถึงปจั จุบนั น้ี

การรลงสรงโทนจดั เปน็ การราทสี่ อ่ื ให้เห็นถึงภูมปิ ญั ญาของบรมครทู างนาฏศิลป์ไทยใน การนาเสนอตัว
ละครให้ออกมาถ่ายทอดความวิจิตรงดงามในด้านต่างๆ ได้แก่ กระบวนท่ารา เครื่องแต่งกาย เพลงร้องและ
ดนตรี รวมถึงผู้แสดง ซึ่งต้องใช้ฝีมือในการถ่ายทอดสิ่งเหลา่ น้ี ออกมาสู่สายตาผู้ชม จึงจัดว่ารลงสรงโทนเป็น
การราท่ีมีความสาคัญยง่ิ ชุดหน่ึง

กระบวนทำ่ รำลงสรงโทนอิเหนำ

กระบวนทา่ ราลงสรงโทนอเิ หนา หมายถึง ท่าราท่ีใช้ในการราลงสรงโทน ซึ่งมีลักษณะ การราตบี ท
หรือใช้บท หมายถึง การราทท่ี าทา่ ทางตามความหมายของบทร้อง ซ่ึงมักจะมี การแปลความหมายไดอ้ ยา่ ง
ชัดเจน

กระบวนท่ารามีความหมายถึงลกั ษณะของเครื่องแต่งกายของอเิ หนาท่แี สดงถึงยศยศศักดิ์ เป็นการ
แต่งกายแบยืนเครื่องพระแขนยาวที่เลียนแบบมาจากเครื่องทรงของพระมหากษัตริย์ก่อนท่ีจะออกเดินทาง
โดยกล่าวถึง ผา้ นุง่ ห้อยหนา้ สงั วาล ทับทรวง ทองกร ธามรงค์ มงกุฎ กรรเจียกจร อบุ ะ รวมถงึ กรชิ ท่ี
เป็นอาวุธประจากาย ซึ่งกระบวนท่าราจะแสดงให้เห็นถึงความส่งา ความภูมิฐานของอิเหนาท่ีต้องมีการ
ทรงเคร่ืองอยา่ งพธิ พี ิถัน สมความภาคภมู ใิ จ ในการเปน็ กษตั รยิ น์ กั รบ

107

เครอ่ื งแต่งกำย

การราลงสรงโทน การแต่งกายเป็นส่วนประกอบที่สาคัญและมคี วามหมายบ่งบอกความงดงามของ

เครอ่ื งแต่งกาย จงึ ทาให้กระบวนทา่ รามีความออ่ นช้อย งดงาม เครอื่ งแตง่ กายท่ใี ช้ในการราเปน็ การแต่งกาย
“ยนื เครื่อง” ซง่ึ เลียนแบบมาจากเครือ่ งทรงพระมหากษัตรยิ ์

เคร่ืองแตง่ กายทีใ่ ชใ้ นการราลงสรงโทนน้นั เป็นการแต่งกายแบบยนื เครอ่ื งตัวพระแขนยาว มี
รายละเอยี ด ดงั น้ี

1 กาไลเท้า
2 สนับเพลา
3 ผ้านุ่ง ในวรรณคดีเรียกว่า ภูษา หรือพระภูษา

4 ห้อยข้าง หรอื เจยี ระบาด
5 เสื้อ ในวรรณคดเี รยี กวา่ ฉลององค์
6 รัดสะเอว หรือรดั องค์

7 ห้อยหนา้ หรือชายไหว
8 เข็มขดั หรือปัน้ เหนง่
9 กรองคอ หรอื นวมคอ ในวรรณคดีเรยี กว่า กรองศอ

10 ตาบหน้า หรอื ตาบทับ ในวรรณคดเี รยี กว่า ทับทรวง
11 อนิ ทรธนู
12 สังวาล

13 ตาบทศิ
14 ชฎา
15 ดอกไม้เพชร (ซา้ ย)

16 จอนหู ในวรรคดเี รียกวา่ กรรเจียก หรือกรรเจยี กจร
17 ดอกไมท้ ัด (ขวา)
18 อุบะ หรือพวงดอกไม้ (ขวา)

19 ธามรงค์
20 แหวนรอบ
21 ปะวะหล่า

22 กาไลแผง ในวรรณคดเี รยี กว่า ทองกร
23 กาไลตะขาบ

108

๒๐ ๑๘ ๑๗ ๑๔
๑๕
๒๑ ๒๒ ๑๙
๑๑ ๑๖
๑๐

๖ ๑๒
๑๓ ๕







๒๓

ภาพท่ี 1 องค์ประกอบของเคร่อื งแตง่ กายการราลงสรงโทนอเิ หนา
ที่มา : (วชิ ดิ า คลา้ ยถม, ๒๕๖๐)

อปุ กรณ์ในกำรแสดง

กรชิ เปน็ อาวธุ ประจากายของอิเหนา ซงึ่ เนรมติ จากองคป์ ระตาระกาหลาให้เปน็ อาวุธประจากายของ
อิเหนาต้งั แตเ่ กดิ ในบทรอ้ งมรการบรรยายถงึ กรชิ เพือ่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสาคัญ ของกริชที่ตัวละครจะตอ้ ง
พกตดิ ตวั ตลอดเวลา การใช้กริชในการราลงสรงโทนอิเหนา มลี กั ษณะ การใช้ 2 แบบ ดังน้ี

1. จดั กรชิ ใสพ่ านตง้ั ไว้บนเตยี งทางดา้ นขวาของผู้แสดง
2. จดั ใหก้ ดิ าหยนั เชญิ พานใสก่ ริชออกไปให้บนเวที

109
สาหรับในการหยิบกริชที่อยู่ในการในการราลงสรงโทนอิเหนา มีลักษณะคว่ามือลงไปบนหัวกริช
ต่อจากน้ันจงึ นากรชิ มาเหน็บไว้ทเี่ อวด้านซา้ ย

ภาพท่ี 2 ที่กรชิ เปน็ อาวธุ ประจากายของอเิ หนา
ที่มา : (วิชิดา คลา้ ยถม, ๒๕๖๐)

อุปกรณ์ท่ีเป็นส่วนประกอบสาคัญอีกอย่างหนึ่งในการราลงสรงโทนอิเหนา คือ พาน
สาหรบั เชิญกรชิ และบนพานน้นั ต้องมผี า้ สีทองผรู องไว้เพื่อให้เกดิ ความสวยงาม

ภาพท่ี 3 พานรองสาหรบั เชิญกริช
ที่มา : (วชิ ิดา คล้ายถม, ๒๕๖๐)

110

วิธีการจับกริช ใช้น้ิวมือทั้งหา้ จับลอ็ กทห่ี วั กริช โดยน้ิวหัวแม่มอื และนิ้วกอ้ ยจับลอ็ กด้านลา่ งของหัว
กริช สว่ นนิ้วมือที่เหลอื ให้จับตรงกลางของหัวกรชิ

ภาพที่ 4 วิธกี ารจบั กรชิ
ท่มี า : (วิชิดา คลา้ ยถม, ๒๕๖๐)

ลำดบั ขันกำรแสดง

เนื้อเรอ่ื งในตอนนี้ สบื เน่อื งมาจากการที่อิเหนาได้รับพระราชสาสนจ์ ากท้าวกเุ รปัน ให้ยกทพั
ไปเมอื งดาหา เพื่อช่วยปอ้ งกันข้าศกึ เนอื่ งมาจากทา้ วกระหมังกหุ นงิ และจรกาที่จะยกทัพมาเพ่อื ชงิ นางบษุ บา
อิเหนาจึงจาต้องลานางจนิ ตะหราวาตรี นางสการะวาตรี และนางมาหยารัศมี พร้อมด้วยท้าวหมันยา เพอื่

อออกเดินทางไปเมืองดาหา ก่อนที่จะออกเดินทางไปน้ัน อิเหนา จึงทาการอาบน้าแต่งตัวเพ่ือใหเ้ กดิ
ความเป็นสิริมงคลในการศึกครั้งน้ี แสดงให้เห็นถึงความพิถีพิถันของอิเหนากับความสาคัญของการอาบน้า
แตง่ ตัว ซึง่ ถอื ว่าเป็นประเพณที ่ปี ฏบิ ัติสบื ตอ่ มา

โอกำสท่ีใชใ้ นกำรแสดง

การแสดงชดุ ลงสรงโทนอิเหนา จัดอยใู่ นการแสดงละครใน เรอ่ื ง อิเหนา เทา่ นนั้ ถือเป็นการแสดงที่
หาชมได้ยาก เน่ืองจากเป็นการแสดงอวดฝีมือของผู้แสดงและอวดความงาม ของเครื่องแต่งกาย ค่อนข้าง
ดาเนินอย่างช้า ๆ อีกทั้งยังต้องรกั ษาณุปแบบในการแสดงละครใน ซ่ึงเป็นละครของราชสานักจงึ ไมค่ ่อยพบ
เห็นการแสดงชุดนี้ตามงานต่าง ๆ หากแต่เป็นในหลักสูตรการเรียนการอสอนนาฏศิลป์ไทย ก็จะมีการนา
ออกมาจดั แสดงตามโรงละคร เพือ่ เป็นการเผยแพร่ ใหเ้ ห็นรปู แบบของการแสดงละครใน

111

ภำพที่ 1
เนอื เพลง : ทานองเพลงตน้ เข้าม่าน - ปลายเข้ามา่ น
อธบิ ำยท่ำรำ : ทาทา่ ผาลาดา้ นขวาศรี ษะเอยี งขวาขยน่ั เทา้ ออกมา

112

ภำพที่ 2
เนือเพลง : ทานองเพลงต้นเข้ามา่ น - ปลายเข้าม่าน
อธิบำยท่ำรำ : ทาท่าผาลาด้านซา้ ยศรี ษะเอยี งซา้ ยขยนั่ เท้าซ้าย

113

ภำพที่ 1
เนือเพลง : ทานองเพลงต้นเข้ามา่ น - ปลายเข้าม่าน
อธิบำยท่ำรำ : ทาทา่ จีบยาวดา้ นขวาศรี ษะเอียงขวาขยัน่ เทา้ ออกมา

114

ภำพที่ 3
เนือเพลง : ทานองเพลงตน้ เข้าม่าน - ปลายเข้ามา่ น
อธบิ ำยท่ำรำ : ทาทา่ จีบยาวด้านซา้ ยศรี ษะเอียงซา้ ยขย่ันเทา้ ซ้าย

115

ภำพที่ 4
เนอื เพลง : ทานองเพลงต้นเข้าม่าน - ปลายเขา้ ม่าน
อธบิ ำยทำ่ รำ : ทาทา่ บวั ชูฝักดา้ นขวามือ

116

ภำพท่ี 5

เนือเพลง : ทานองเพลง
อิบำยทำ้ รำ : ยืนพระ

117

ภำพท่ี 6
เนือเพลง : ทรงภูษาแย่งยก
อธิบำยท่ำรำ : มอื ซา้ ยจีบตง้ั วงระดับหวั เข็มขัดมือขวาตงั้ วงระดบั หวั เข็มขัดศีรษะเอียงเอยี งซา้ ย แย่งยก
เปลีย่ นเป็นมอื ขวาจบี ตง้ั วงระดับหวั เขม็ ขัดมือและซ้ายตงั้ วงระดับหัวเข็มขดั ยกเท้าขวากันเข่าพระเปล่ยี นศีรษะ
เอยี งขวาเฉียงตวั ปดา้ นซ้ายมอื 45 องศา

118

ภำพที่ 7
เนอื เพลง : กระหนก
อธิบำยท่ำรำ : ทาท่าสอดสงู จรดเท้าขวาเอียงศรี ษะดา้ นขวาเฉียงตัวไปด้านซ้ายมือ 45 องศา แล้วใชจ้ มกู เท้า
ขวาแตะตามจงั หวะ

119

ภำพท่ี 8
เนอื เพลง : กระหนาบ
อธิบำยทำ่ รำ : เฉียงตวั ไปด้านขวามอื มอื ขวาแทงต้งั ออกเปลี่ยนเป็นตัง้ วงระดบั แง่ศรี ษะมอื ซา้ ยจบี สง่ หลังแลว้
ยกเท้าซ้ายกนั เข่าพระศีรษะเอยี งซ้าย

120

ภำพท่ี 9
เนือเพลง : ฉลององค์
อธิบำยท่ำรำ : วาดมอื ซา้ ยออกเปลี่ยนเป็นตงั้ วงระดับแง่ศรี ษะท้ังสองมอื ศีรษะเอียงซ้ายแล้วจรดเท้าเทา้ รอ

จังหวะแลว้ หมุนรอบตวั เอง

121

ภำพท่ี 10
เนอื เพลง : เขม้ คาด
อธบิ ำยทำ่ รำ : ปลอ่ ยจบี มอื ขวาแล้วตัง้ วงมอื ขวาเหยยี ดตึงขา้ งลาตวั ระดบั หวั ไหลม่ อื ซา้ ยท้าวสะเอวศีรษะเอยี ง
ขวาเท้ายนื พระทศิ หน้า

122

ภำพท่ี 11
เนอื เพลง : ร้องเออ้ื น
อธบิ ำยท่ำรำ : ปลอ่ ยจบี มือซา้ ยแลว้ เปลี่ยนเป็นต้งั วงมือซา้ ยเหยยี ดตึงข้างลาตัวระดบั หัวไหล่มอื ซ้ายทา้ วสะเอว
ศีรษะเอียงขวาเทา้ ยนื พระทศิ หน้า

123

ภำพท่ี 12
เนือเพลง : คด
อธบิ ำยทำ่ รำ : ต้งั วงมอื ซ้ายระดบั แง่ศีรษะมอื ขวาแทงมือออกศรี ษะเอยี งซ้ายเทา้ ขวาฉายออก

124

ภำพที่ 13
เนือเพลง : กรชิ
อธิบำยทำ่ รำ : มือขวาตงั้ วงระดบั แงศ่ รี ษะมอื ซ้ายแนบไปทช่ี ายพกด้านขวา

125

ภำพที่ 14

เนอื เพลง : รอ้ งเออื้ น
อธบิ ำยท่ำรำ : ท่าโบกดา้ นขวามอื

126

ภำพที่ 15
เนอื เพลง : หอ้ ยหน้า
อธบิ ำยท่ำรำ : ฉายเทา้ ซา้ ยยกเทา้ ขวาเหลย่ี มพระมือขวาแทงลงเหยยี ดตงึ ข้างหน้ามือซา้ ยท้าวสะเอวศีรษะ
เอียงซา้ ย

127

ภำพที่ 16
เนือเพลง : ปกั ทอง
อธิบำยทำ่ รำ : มอื ขวาจบี ควา่ ระดบั หวั เข็มขัดมอื ซ้ายจบี สง่ หลงั ศรี ษะเอยี งซา้ ยยกเทา้ ซ้ายกนั เข่าพระ

128

ภำพท่ี 17
เนอื เพลง : ร้องเออ้ื น
อธบิ ำยทำ่ รำ : มือขวาจบี หงายระดบั หัวเขม็ ขดั มอื ซา้ ยจีบส่งหลงั ศรี ษะเอียงขวาจรดเทา้ ซา้ ย

129

ภำพท่ี 18
เนือเพลง : รอ้ งเออื้ น
อธบิ ำยทำ่ รำ : มอื ขวาต้งั วงลา่ งระดับหัวเขม็ ขัดมือซ้ายจบี สง่ หลังศรี ษะเอยี งซา้ ยจรดเท้าขวา

130

ภำพท่ี 19
เนือเพลง : ร้องเออื้ น
อธิบำยท่ำรำ : มือขวาจบี ปกหนา้ ระดบั แงศ่ รี ษะมือซา้ ยจีบหงายระดับหวั เข็มขดั ศรี ษะเอยี งซ้ายจรดเท้าขวา

131

ภำพท่ี 20
เนือเพลง : กรองดอกชดิ
อธิบำยทำ่ รำ : มือขวาจีบหงายเหยยี ดตงึ ว่างทหี่ น้าขาซา้ ยมอื ซา้ ยจบี สง่ หลงั ศรี ษะเอียงซา้ ยยกเทา้ ซา้ ยกันเขา่
พระ

132

ภำพที่ 21
เนอื เพลง : สงั วาลวรรณ
อธิบำยท่ำรำ : มือขวาต้งั วงระดับแงศ่ รี ษะมอื ซา้ ยจบี หงายระดับหวั เข็มขัดศรี ษะเอยี งซ้ายก้าวขา้ งพระเทา้ ซ้าย

133

ภำพท่ี 22
เนือเพลง : ( ซำ) สงั วาลวรรณ
อธบิ ำยท่ำรำ : ทาท่าสอดสร้อยดา้ นขวา มอื ซา้ ยตั้งวงระดบั แงศ่ ีรษะมือขวาจบี หงายระดบั หัวเขม็ ขัดจรดเท้า
ขวาหมุนรอบตวั เอง

134

ภำพที่ 23
เนอื เพลง : วิจิตร
อธิบำยท่ำรำ : ทาท่าสอดสร้อยด้านซา้ ย มอื ขวาตงั้ วงระดบั แงศ่ ีรษะมือซ้ายจบี หงายระดบั หวั เข็มขดั ศีรษะเอียง
ซ้ายจรดเทา้ ซา้ ย

135

ภำพที่ 24
เนือเพลง : จารสั
อธิบำยทำ่ รำ : หันตวั เฉียงดา้ นซา้ ยมือท้งั สองจบี ควา่ เหยียดตึงไปขา้ งหน้าระดบั ไหล่ศรี ษะเอยี งซ้ายจรดเทา้ ขวา

136

ภำพท่ี 25
เนอื เพลง : เรือง
อธบิ ำยทำ่ รำ : ทิศหน้ามือขวาต้งั วงพระระดบั แง่ศรี ษะมือซา้ ยตง้ั วงเหยยี ดตงึ ดา้ นข้างระดบั ไหลศ่ ีรษะเอียงซ้าย
กระดกเทา้ ขวาไปดา้ นหลัง

137

ภำพที่ 26

เนอื เพลง : รอ้ งเออื้ น
อธบิ ำยท่ำรำ : ท่าโบกดา้ นขวามอื

138

ภำพท่ี 27
เนือเพลง : ทบั ทรวง
อธิบำยทำ่ รำ : ทศิ หนา้ มือขวาจบี ควา่ เข้าหาอกมือซ้ายจบี สง่ หลงั ศรี ษะเอยี งซา้ ยยกเทา้ ซา้ ยกนั เข่าพระ

139

ภำพที่ 28
เนือเพลง : พวงเพชร
อธิบำยท่ำรำ : ทศิ หนา้ มอื ขวาจบี หงายระดับหัวเขม็ ขัดมอื ซา้ ยจบี สง่ หลงั ศรี ษะเอียงขวาจรดเท้าขวา

140

ภำพที่ 29
เนอื เพลง : รอ้ งเออื้ น
อธบิ ำยท่ำรำ : ทศิ หน้ามอื ขวาจบี หงายระดับหวั เข็มขดั มอื ซา้ ยจบี สง่ หลงั ศรี ษะเอียงซ้ายจรดเท้าขวา

141

ภำพท่ี 30
เนือเพลง : ร้องเออ้ื น
อธิบำยทำ่ รำ : ทศิ หนา้ มอื ขวาต้งั วงระดบั หวั เขม็ ขดั มือซ้ายจบี ส่งหลังศีรษะเอียงขวาจรดเทา้ ซา้ ย

142

ภำพท่ี 31
เนื้อเพลง : เมด็ แดง
อธิบายทา่ รา : ทศิ ขวามือขวาลอ่ แก้วท่อี กมอื ซา้ ยจบี ส่งหลงั ศีรษะเอยี งซ้ายยกเท้าขวา

143

ภำพท่ี 32
เนือเพลง : ทองกร
อธิบำยทำ่ รำ : ทาทา่ ภมรเคลา้ ด้านขวาศีรษะเอยี งขวากา้ วหน้าเท้าซา้ ย

144

ภำพที่ 33
เนอื เพลง : ร้องเออื้ น
อธบิ ำยทำ่ รำ : ทศิ ขวาทาท่าภมรเคล้าด้านซ้ายศีรษะเอยี งซา้ ยจรดเทา้ ขวา

145

ภำพท่ี 34
เนอื เพลง : แก้วแดง
อธิบำยท่ำรำ : ทาทา่ ภมรเคล้าข้างหนา้ ขา้ งขวาศรี ษะเอยี งขวาจรดเทา้ ซา้ ย

146

ภำพท่ี 35
เนอื เพลง : รอ้ งเออื้ น
อธบิ ำยท่ำรำ : ทิศหนา้ ทาทา่ ภมรเคล้าภมรเคลา้ ด้านซ้ายศีรษะเอยี งซ้ายจรดเท้าขวา

147

ภำพที่ 36
เนือเพลง : ประดับ
อธิบำยทำ่ รำ : ทศิ ซ้ายมอื ซา้ ยจบี ปกข้างระดบั ศีรษะมอื มอื ขวาต้ังวงกลางศรี ษะเอียงขวาจรดเทา้ ซา้ ย


Click to View FlipBook Version