The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ระดับ ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ระดับ ม.ต้น

แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ระดับ ม.ต้น

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชา สค21001 สังคมศึกษา
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551 ประจำภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563

กศน.ตำบลนำ้ อ้อม

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอกันทรลกั ษ์
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับครูท่ีจะทำให้การจัดการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายที่
ต้องการ เป็นการวางแผนไว้ล่วงหน้าโดยศึกษาในเร่ือง สาระพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๕) หมวด ๓ ระบบการศกึ ษา และ หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษาทุกมาตรากรอบของ
การจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เอกสาร
เก่ียวกับการประกันคุณภาพการศึกษา โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานเอกสารเกี่ยวกับ
เนื้อหาในรายวิชาท่จี ัดการเรียนรู้ และศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรตู้ ่าง ๆ วิธกี ารจัดการเรียนรูแ้ บบต่าง ๆ ซ่ึง
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและรูปแบบการเรียนรู้ โดยกำหนดให้ใช้รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. (ONIE
MODEL) ซ่ึงมี ๔ ข้ันตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ ๑ การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ (O :
Orientation) ข้ันตอนที่ ๒ การแสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) ขั้นตอนที่ ๓
การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้ (I : Implementation) ข้ันตอนที่ ๔ การประเมินผล (E : Evaluation)
แผนการเรียนรู้จะทำให้ครูได้คู่มือการจัดการเรียนรู้ ทำให้ดำเนินการจัดการเรยี นรู้ได้ครบถ้วนตรงตามหลักสูตรและ
จดั การเรียนรู้ไดต้ รงเวลา

ในการจัดทำแผนการเรียนรู้ดังกล่าว สำเร็จลงได้ด้วยความร่วมมือจากข้าราชการบำนาญ ผู้บริหาร
นักวิชาการ และครู กศน. ที่ได้เสนอแนะความคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ย่ิงต่อการพัฒนาเป็นแผนการจัดการ
เรียนรู้ สำนักงาน กศน. ขอขอบคณุ ในความร่วมมือมาในโอกาสนี้

ผู้จดั ทำ

สารบญั หนา้
1
คำอธบิ ายรายวชิ า และรายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า
ผลการวเิ คราะห์รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา 2
แผนการจัดการเรียนรแู้ บบพบกลุ่ม
8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เร่ืองภูมศิ าสตร์กายภาพ 24
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื งประวัติศาสตร์ทวปี เอเชยี 50
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 เรื่องเศรษฐศาสตร์ 70
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 เร่ืองการเมอื งการปกครอง
แผนการจดั การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง 94
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ืองภมู ศิ าสตร์กายภาพทวีปเอเชยี 98
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 เรื่องภมู ิศาสตร์กายภาพทวปี เอเชยี 102
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรอื่ งประวัติศาสตรท์ วีปเอเชีย 106
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 เรอ่ื งเศรษฐศาสตร์ 110
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 เรอ่ื งเศรษฐศาสตร์ 114
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 เรื่องเศรษฐศาสตร์ 116
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 เรื่องการเมอื งการปกครอง

คำอธบิ ายรายวิชา สค21001 สงั คมศึกษาจำนวน 3 หน่วยกิต
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั
มีความรู้ ความเขา้ ใจตระหนกั เกี่ยวกับภมู ิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์การเมือง การปกครอง

ในทวปี เอเชยี และนำมาปรบั ใชใ้ นการดำเนินชวี ิต เพอื่ ความมั่นคงของชาติ

ศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะเกีย่ วกบั เร่ืองดงั ต่อไปนี้
1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์กายภาพ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิศาสตร์กายภาพ และความสัมพันธ์ทาง
ภูมิศาสตร์กายภาพ ท่ีส่งผลกระทบถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชากร ตลอดจนการเกิด
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมของประเทศตา่ งๆ ในทวปี เอเชีย
2. ความเป็นมาของประวัตศิ าสตรป์ ระเทศตา่ งๆ ในทวีปเอเชีย
3. ความหมาย และความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ และทรัพย์สินทางปัญญา ระบบ
เศรษฐกจิ และกลุ่มของเศรษฐกิจในทวีปเอเชยี
4. การเมอื ง การปกครอง และการเปรยี บเทียบรูปแบบการเมือง การปกครองของประเทศตา่ งๆ ในทวปี เอเชยี

การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้
1. จัดให้มีการสำรวจสภาพภูมิศาสตร์กายภาพประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง
ของชุมชน จดั กลุม่ อภิปรายแลกเปลย่ี นเรียนรู้ สืบคน้ ข้อมูลทางกายภาพ จากแหลง่ เรียนรู้ภูมิปญั ญา
แผนท่ี Website ฯลฯ และสรุปผลการเรียนรู้ นำเสนอในรปู แบบตา่ งๆ
2. จัดให้มกี ารศกึ ษาจากสือ่ การเรียนรู้ เช่น เอกสาร ตำรา CD แหลง่ การเรยี นรู้ ภูมปิ ัญญา สถานท่ีสำคญั
3. จัดให้มีการสืบค้นรวบรวมข้อมูล โดยวิธีการต่างๆ เช่น การศึกษาดูงาน การเก็บข้อมูล จากองค์กร
ฟังการบรรยายจากผู้รู้ จัดกล่มุ อภปิ ราย การวเิ คราะห์ เสนอแนวคดิ ทางเลือก
4. จัดกิจกรรมการศึกษาจากสภาพจริง การเล่าประสบการณ์ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ การค้นคว้าจาก
ผู้รู้ แหล่งการเรียนรู้ ส่ือเทคโนโลยี สื่อเอกสาร การจำลองเหตุการณ์ การอภิปราย การวิเคราะห์
สรุปผลการเรยี นรู้ และนำเสนอ ในรปู แบบทีห่ ลากหลาย

การวดั และประเมนิ ผล
ประเมินจากการทดสอบ การสังเกต การประเมินการมีสว่ นร่วมในการทำกิจกรรมและการตรวจผลงาน

ฯลฯ

กระบวนการวิเคราะห์หลักสตู รรายวชิ า
ช่ือรายวชิ า สังคมศกึ ษา จำนวน 3 หน่วยกติ (สค21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ที่ ตัวช้ีวัด เนอื้ หา จำนวน วธิ กี ารเรยี น
(ชม.)
พบกลมุ่ การเรยี นรู้
ด้วยตนเอง

1. 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ ลกั ษณะ 1. ลักษณะทางภูมศิ าสตร์ 20 ✓

ภมู ิศาสตร์ ภมู ิศาสตร์กายภาพของประเทศต่างๆ กายภาพของประเทศตา่ งๆ ใน (6)

กายภาพ ในทวปี เอเชยี ทวปี เอเชยี

ทวีปเอเชีย - ทีต่ ้งั อาณาเขตของประเทศ

ตา่ งๆ ในทวปี เอเชีย

- ภูมปิ ระเทศของประเทศ

ตา่ งๆ ในทวปี เอเชยี

- ภูมิอากาศของประเทศ

ตา่ งๆ ในทวีปเอเชยี ✓

2. มีความรู้ ความเข้าใจ การ 2.1 หลกั การเปล่ียนแปลงสภาพ

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมศิ าสตร์ ภูมิศาสตร์กายภาพ (5)

กายภาพทสี่ ง่ ผลกระทบต่อวิถีชีวติ 2.2 กรณีตวั อย่างการ ✓

ความเป็นอยู่ของประชากรไทย และ เปล่ียนแปลงสภาพภมู ศิ าสตร์ (3)

ประเทศตา่ งๆ ในทวีปเอเชยี กายภาพทสี่ ่งผลกระทบตอ่ วิถี

ชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องประชากร

ไทย และทวีปเอเชยี ✓

3. มีทกั ษะในการใชเ้ คร่ืองมือทาง 3. วธิ ใี ช้เคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร์ (6)

ภูมศิ าสตร์ เช่น แผนท่ี ลูกโลก แผนท่ี ลกู โลก Website

Website ดาวเทียม GIS GPRS ฯลฯ ดาวเทยี ม GIS GPRS ฯลฯ

4. มคี วามรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบั 4. สภาพภมู ศิ าสตร์กายภาพของ 20 ✓

ความสมั พันธ์ของสภาพภูมิศาสตร์ ไทยท่สี ่งผลต่อทรพั ยากรต่างๆ (10)

กายภาพท่ีมีต่อการเกิด และสิง่ แวดลอ้ มตา่ งๆคอื สภาพ

ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ป่าไม้ ดิน หิน แร่ แม่น้ำ

ในทวีปเอเชยี ภเู ขา ลำคลอง หนอง บึง ทะเล

ชายฝั่ง

ท่ี ตวั ช้ีวัด เน้ือหา จำนวน วธิ กี ารเรียน
(ชม.)
พบกลุ่ม การเรยี นรู้
ดว้ ยตนเอง

สัตวป์ า่ สตั ว์ทะเล สัตวน์ ้ำจดื

เปลือกหอย แนวปะการัง และ

อ่ืนๆสง่ ผลตอ่ ทรัพยากร และ

สงิ่ แวดล้อมตา่ งๆ คือ สภาพป่าไม้

ดิน หนิ แร่ ภูเขา แม่น้ำลำคลอง ✓

หนอง บึงทะเล ชายฝั่ง สัตว์ปา่ (3)

สัตว์ทะเล สตั ว์นำ้ จดื เปลอื ก

หอย แนวปะการงั และอื่นๆ ✓

5.1 ความสำคัญในการดำรงชีวติ (5)

5. สามารถนำความร้เู กย่ี วกบั ให้สอดคล้องกับสภาพทรัพยากร

ทรพั ยากรธรรมชาติของประเทศไทย ในประเทศไทย และประเทศ

และทวปี เอเชียมาปรบั ใช้ในการ ต่างๆในทวีปเอเชยี

ดำรงชีวติ และความม่ันคงของชาติ 5.2 กรณีตัวอย่างการปรับตวั ใน

การดำรงชีวติ ที่

สอดคล้องกับสภาพทรัพยากรใน

ประเทศไทยและประเทศต่างๆใน

ทวีปเอเชีย

ท่ี ตัวชีว้ ัด เนื้อหา จำนวน วธิ ีการเรยี น
(ชม.)
พบกลุ่ม การเรยี นรู้
ด้วยตนเอง

2. ประวตั ิ 1. อธบิ ายความเปน็ มาของ 1.ประวัติศาสตร์สงั เขปของ 20 ✓

ศาสตร์ ประวัตศิ าสตรป์ ระเทศในทวปี เอเชยี ประเทศในทวีปเอเชีย (10)

ทวีปเอเชยี - จนี

- อินเดยี

- เขมร

- ลาว

- มาเลเซีย

- พม่า

- อนิ โดนเี ซยี

- ฟิลิปปนิ ส์

- ญ่ีปนุ่ ฯลฯ ✓

2. สามารถนำเหตุการณใ์ น 2. เหตุการณ์สำคัญทาง 10 (10)

ประวัติศาสตรม์ าวิเคราะหใ์ หเ้ หน็ ประวัติศาสตรท์ เี่ กิดข้ึนใน

ความเปลี่ยนแปลงท่เี กดิ ขน้ึ กับ ประเทศไทยและประเทศในทวีป

ประเทศไทย และประเทศในทวีป เอเชยี

เอเชยี - ยุคลา่ อาณานิคม

- ยุคสงครามเย็น

- ฯลฯ

3.เศรษฐ 1.เข้าใจความหมาย ความสำคญั 1.1 ความหมาย ความสำคญั ของ 15 ✓

ศาสตร์ ของเศรษฐศาสตรแ์ ละระบบ เศรษฐศาสตร์มหภาคและ (6)

เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์ จุลภาค

1.2 ความหมาย ความสำคัญ

และหลักการของเศรษฐกจิ

สร้างสรรค์และทรัพย์สินทาง

ปัญญา

1.3 ระบบเศรษฐกจิ ในประเทศ

ไทย

ที่ ตัวชวี้ ดั เน้อื หา จำนวน วธิ ีการเรียน
(ชม.)
พบกล่มุ การเรยี นรู้
ดว้ ยตนเอง

3เศรษฐ 2.เขา้ ใจหลักการ และวธิ ีการตัดสนิ ใจ 2.หลักการ และวิธีการเลอื กใช้ ✓

ศาสตร์ เลือกใช้ทรัพยากร เพอ่ื การผลิต ทรพั ยากรเพ่ือการผลิต (2)

สนิ คา้ และบริการ ✓

3.เลอื กวธิ กี ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพมาใช้ 3.คณุ ธรรมในการผลติ (3)

ในการผลิตสินคา้ และบริการได้

4.รูแ้ ละเข้าใจการใช้กฎหมาย 4.กฎหมาย และข้อมลู การ

คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค คุม้ ครองผบู้ ริโภค

5.บอกแหล่งขอ้ มลู การคมุ้ ครอง 5.1 หนว่ ยงานท่ีให้ความคุ้มครอง ✓

ผู้บริโภค และกฎหมายคมุ้ ครอง ผ้บู ริโภค (4)

ผบู้ รโิ ภค 5.2 การพทิ ักษ์สิทธิ และ

ผลประโยชนข์ องผู้บริโภค

6.ตระหนักในบทบาท และ 6.1 ความสำคญั ของกลุม่ ✓

ความสำคัญของการรวมกลุ่มทาง ทางเศรษฐกิจในทวปี เอเชยี (3)

เศรษฐกจิ ในทวปี เอเชยี 6.2 กลมุ่ ทางเศรษฐกิจต่างๆใน

ทวปี เอเชีย

7.วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ทาง 7.1 สภาพเศรษฐกิจของประเทศ ✓

เศรษฐกจิ ของประเทศไทยกบั ไทยและประเทศต่างๆในทวีป (12)

ประเทศตา่ งๆในทวีปเอเชยี เอเชีย

7.2 ระบบเศรษฐกิจของประเทศ

ตา่ งๆในทวีปเอเชยี 15

8.ลกั ษณะ ประเภทสินค้าเข้า

และสนิ คา้ ออก ของประเทศ

ตา่ งๆในทวีปเอเชีย

ท่ี ตวั ชวี้ ดั เน้ือหา จำนวน วธิ กี ารเรยี น
(ชม.)
พบกลุม่ การเรยี นรู้
ดว้ ยตนเอง

4.การเมอื ง 1.รู้และเข้าใจระบอบการเมอื งการ 1.การปกครอง ระบอบ 20 ✓

การ ปกครองต่างๆ ที่ใช้อยใู่ นปัจจุบนั ประชาธิปไตย และอนื่ ๆ (20)

ปกครอง 2.วเิ คราะห์ความแตกตา่ ง ของ 2.เปรยี บเทียบรปู แบบการเมือง

รปู แบบการปกครองระบอบ การปกครองระบอบ

ประชาธิปไตย และระบอบอนื่ ๆ ประชาธปิ ไตย และระบอบอืน่ ๆ

3.ตระหนักในคุณค่าของการปกครอง ของประเทศตา่ งๆ ในทวีปเอเชีย

ระบอบประชาธปิ ไตย

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา สค21001
จำนวน 3 หนว่ ยกิต

ครั้งท่ี 1 วันท.ี่ ........เดอื น.............................พ.ศ.................

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ แบบพบกลมุ่ จำนวน 6 ชั่วโมง

เร่อื ง ภูมิศาสตรท์ างกายภาพทวปี เอเชีย

ตวั ชวี้ ัด 1. มีความรู้ ความเข้าใจลักษณะภมู ศิ าสตรก์ ายภาพของประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชีย

เนื้อหา 1. ลักษณะทางภูมิศาสตรก์ ายภาพของประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชยี
- ท่ตี งั้ อาณาเขตของประเทศต่างๆ ในทวปี เอเชยี
- ภูมิประเทศของประเทศตา่ งๆ ในทวปี เอเชีย
- ภมู อิ ากาศของประเทศตา่ งๆ ในทวปี เอเชยี

ขนั้ ตอนการจดั กระบวนการเรียนรู้
ข้ันท่ี 1 กำหนดสภาพปัญหาการเรยี นรู้
1. ครูกลา่ วทกั ทายผ้เู รียนพรอ้ มท้ังนำภาพของคนท่เี ปน็ ประชากรในทวปี เอเชียใหผ้ เู้ รยี นดู เพอ่ื
เปรยี บเทยี บถึงความเหมือนและความแตกตา่ งท่ีสามารถมองเห็นได้อย่างชดั เจนรว่ มกนั
วิเคราะหว์ ่าเหตใุ ดคนในแต่ละภาพถึงมีความแตกตา่ งกัน
2. ครูตงั้ คำถาม ถามผู้เรยี นว่า ผู้เรียนชอบคนประเทศใดมากทีส่ ุด เพราะเหตุใด แลว้ ทำการสุม่
เรียกใหผ้ เู้ รยี นทม่ี ีความชอบท่ีตา่ งกนั นำเสนอความชอบของตนเองพร้อมยกเหตผุ ลมา
อธิบายประกอบ
3. ครเู ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นซักถามข้อสงสัยก่อนเขา้ ส่บู ทเรยี นในขัน้ ต่อไป

ขัน้ ที่ 2 แสวงหาขอ้ มูลและจัดการเรียนรู้
1. ครแู จกใบความรู้ เรือ่ ง ทต่ี ้ัง อาณาเขต ภูมิประเทศและภูมิอากาศของแตล่ ะประเทศใน
ทวีปเอเชีย การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ศิ าสตร์กายภาพสง่ ผลกระทบต่อวถิ ชี ีวิตความ
เปน็ อยู่ของประชากรไทย และประเทศตา่ งๆในทวีปเอเชีย
2. ครูให้ผู้เรยี นทำใบงาน เร่อื ง สาเหตุหรือปัจจัยหลกั ที่ก่อให้เกิดลักษณะความเหมือนและ
ความต่างกนั ของประชากรแต่ละประเทศในทวีปเอเชียแลว้ ส่งตวั แทนนำเสนอผลงาน

ข้นั ท่ี 3 การปฏบิ ัติและการนำไปใช้
1. ผูเ้ รียนนำเสนอความร้ทู ี่ได้รบั จากใบความรู้ หนงั สือเรียน อินเตอร์เน็ต เร่อื ง ท่ตี ้ัง อาณา
เขต ภมู ปิ ระเทศและภูมิอากาศของแตล่ ะประเทศในทวปี เอเชยี และจดั ทำใบงาน เรื่อง
สาเหตุหรือปจั จยั หลักท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ลกั ษณะความเหมือนและความต่างกนั ของประชากรแต่
ละประเทศในทวีปเอเชยี โดยผเู้ รียนส่งตัวแทนนำเสนอหน้าชนั้ เรียน
2. ครูและผเู้ รยี นรว่ มกันสรุปว่าลักษณะความแตกต่างของบคุ คลนนั้ มีผลมาจากเชอ้ื ชาติ
สภาพภูมปิ ระเทศและภูมิอากาศเป็นปัจจัยหลัก แลว้ ใหผ้ ้เู รียนบันทกึ ลงในสมุดของตนเอง

ขน้ั ท่ี 4 การประเมินผลการเรียนรู้
1. สงั เกตจากการมีส่วนร่วมของผู้เรยี น
2. ผลงาน/ การนำเสนอ
3. ใบงาน
4. สมุดส่งงาน

สื่อการเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่อง ที่ต้ัง อาณาเขต ภูมปิ ระเทศและภมู ิอากาศของแตล่ ะประเทศในทวีป
เอเชยี การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมศิ าสตร์กายภาพสง่ ผลกระทบต่อวถิ ชี ีวติ ความเปน็ อยขู่ อง
ประชากรไทย และประเทศต่างๆในทวปี เอเชีย
2. หนงั สอื เรยี น
3. อินเตอรเ์ น็ต
4. ห้องสมุดประชาชน

การวดั และประเมินผล
1. การมีสว่ นรว่ มในการทำกจิ กรรมกลุ่ม
2. ผลงาน/ การนำเสนอ
3. ใบงาน
4. สมุดส่งงาน

บันทกึ ผลหลงั การเรียนรู้

ผลที่เกิดกบั ผู้เรยี น
ดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรม
....................................................................................................................................................... ..........................
............................................................................................................... ...............................
ด้านการใชแ้ ผนการพบกลุ่ม
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................... ...............................
ด้านส่อื การเรยี นรู้
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................... ..............................
.ปญั หา/อุปสรรค
........................................................................................................................................................ .........................
............................................................................................................... ...............................
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................... ...............................

ลงชื่อ................................................/ผสู้ อน
(นางสาวณัฐธยาน์ ชนาภทั รภณ)
ตำแหนง่ ครศู นู ยก์ ารเรยี นชุมชน

ความคดิ เหน็ ของผ้บู ริหาร
....................................................................................................................................................... ..........................
............................................................................................................... ...............................

ลงชื่อ.................................................
(นายชนะชาติ เตง็ ศิริ)

ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอกนั ทรลักษ์

ใบความรู้ท่ี 1

เร่ือง ภูมศิ าสตรท์ างกายภาพทวีปเอเชีย

ทวปี เอเชีย

เอเชีย (Asia) มาจากคำว่า อาซู (Asu) ในภาษาอัสซีเรียน แปลว่า ดินแดนแห่งดวงตะวัน
ขึน้ (ตะวันออก) ใชเ้ รียกดินแดนทีอ่ ยู่ทางตะวนั ออกของอาณาจักรอัสซีเรียนมาตั้งแต่สมัยกรีกและโรมัน เอเชยี ได้
ช่ือว่าเป็นทวีปแห่งความแตกต่างหรือทวีปแห่งความตรงข้าม (a continent of contrast) หรือ ทวีปแห่ง
ค ว าม เป็ น ที่ สุ ด (a continent of extremes)มี ย อ ด เข าเอ เว อ เรส ต์ ใน เทื อ ก เข าหิ ม าลั ย สู งท่ี สุ ด ใน
โ ล ก สู ง 8,848 เ ม ต ร (2,928 ฟุ ต ) มี พ้ื น แ ผ่ น ดิ น ที่ ต่ ำ ท่ี สุ ด คื อ ท ะ เ ล เ ด ด ซี อ ยู่ ต่ ำ ก ว่ า
ระดับน้ำทะเล 400 เมตร (1,312 ฟุต) และเหวทะเลมาเรียนาซึ่งลึกที่สุดในโลก มีอากาศหนาวเย็นท่ีสุด ได้แก่
ตอนเหนือของไซบีเรีย มีอากาศร้อนและแห้งแล้งท่ีสุดจนเป็นทะเลทรายที่เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และมีฝนตก
ชุกท่ีสุดในแคว้นอัสสัมของอินเดีย นอกจากน้ียังเป็นทวีปที่มีประชากรมากที่สุดในโลก และส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน
เขตชนบท และมีความหนาแน่นมากกว่าทุกทวีป ขณะท่ีเขตทะเลทรายในเขตเอเชียแทบไม่มีผู้คนอาศัยอยู่
เลย ความเป็นอยู่ของประชากรก็มีความแตกต่างกันมากตั้งแต่ฐานะดีจนถึงยากจนแร้นแค้น เอเชียจึงได้ช่ือว่า
เปน็ ทวปี แห่งความแตกตา่ ง

ท่ีตง้ั และอาณาเขตของทวปี เอเชยี

ทิศเหนือ ติดต่อกับมหาสมุทรอาร์กติก ในทะเลาคารา ทะเลลฟั เตฟ และทะเลไซีบีเรยี ตะวันออก จุด
เหนอื สุดคือแหลมชิลยูสกิน ประเทศสหพันธรัฐรัสเซีย ทีล่ ะติดจูด 77 องศา 45 ลปิ ดาเหนอื มีเกาะขนาดใหญ่
ทางตอนเหนอื ได้แก่ เกาะเซเวอรน์ ายาเซมลีอา หมู่เกาะนิวไซบีเรีย และเกาะแรงเจล

ทิศตะวันออก ติดต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิค ในเขตทะเลเบริง ทะเลโอคอต ทะเลญี่ปุ่น ทะเลเหลือง
ทะเลจนี ตะวันออก และทะเลจีนใต้ โดยมีคาบสมุทรเบรอง คาบสมุทรคามชัตกา และคาบสมุทรเกาหลี เป็นส่วน
ของแผ่นดินด้านน้ีจุดตะวันออกสุดอยู่ท่ี อีสต์เคป ประเทศรัสเซีย ท่ีลองติจูด 169 องศา 40 ลิปดา
ตะวันตก เกาะใหญ่ไดแ้ ก่ เกาะแซคาลิน เกาะฮอนชู เกาะฮอกไกโด และเกาะชิโกกุ เกาะคิวชู เกาะไต้หวัน และ
เกาะลซู อน ละตจิ ูดที่ 1 องศา 16 ลิปดาเหนอื - 37 องศา 41 ลิปดาเหนอื

ทศิ ใต้ ติดต่อกับมหาสมุทรอินเดีย น่านน้ำทางตอนใต้ ได้แก่ อ่าวเบงกอล ทะเลอาหรับ อ่าวเปอร์เซีย
และอ่าวเอเดน จุดใต้สดุ ของภาคพื้นทวีปอยู่ที่ แหลมปิไอ ประเทศมาเลเซีย ที่ละติจูด 1 องศา 15 ลิปดา ซง่ึ อยู่
ห่างเสน้ ศูนย์สูตรประมาณ 150 ก.ม. เกาะใหญ่ทางทิศใต้ของทวีปเอเชียได้แก่ เกาะลังกา เกาะบอร์เนียว เกาะสุ
มาตรา เกาะชวา ซ่งึ เปน็ เกาะที่อย่ใู ต้สดุ บรเิ วณละติจูดท่ี 8 องศาใต้

ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกับทะเลแดง คลองสเุ อช ทะเลเมดิเตอร์เรเนยี น ทะเลดำ เทอื กเขาคอเคซสั
ทะเลแคสเปียน และเทือกเขาอูราล จุดตะวันตกสดุ อยู่ที่ แหลมบาบา ประเทศตุรกี ท่ลี องติจูด26 องศา
40 ลิปดาตะวันออก เกาะใหญไ่ ดแ้ ก่ เกาะไซปรสั

ขนาด รปู ร่าง

เอเชียเป็นทวีปที่ใหญ่ท่ีสุดมีเนื้อท่ีประมาณ 1 ใน 3 ของพื้นแผ่นดินผิวโลกท้ังหมด มีเน้ือท่ี
ประมาณ 44,391,132ตร.ก.ม.(17,139,455 ตร.ไมล์) หรือ 30 %ของโลก มีขนาดใหญ่กว่าทวีปออสเตรเลียซ่ึง
เป็นทวีปท่ีเล็กที่สุดประมาณ 5เท่า แต่มีประชากรมากกว่าถึง 120 เท่า มีความกว้างจากตะวันออกไปตะวันตก
ยาว 9,600 ก.ม. ระยะทางจากเหนือสดุ ถึงใตส้ ุดของทวีปประมาณ 6,500 ก.ม.

โครงสร้างทางธรณีวิทยา

1) เขตหนิ เก่า มี 3 บริเวณคอื
1.ท่ีราบสงู ภาคเหนอื ในเขตสหภาพโซเวยี ต(เดิม)
2.บรเิ วณท่รี าบสงู อาหรบั ในซาอุดิอาระเบีย
3.บรเิ วณท่ีราบสงู เดคคานในอนิ เดีย

2.) เขตหนิ ใหม่ เร่มิ จากแนวเทือกเขาในประเทศตรุ กี ผ่านเอเชยี ใต้ เอเชียตะวันออก และเอเชีย
ตะวนั ออก เฉียงใต้ ซ่ึงประกอบด้วยทร่ี าบสูง เทือกเขา และหมูเ่ กาะต่างๆ เขตนี้พ้ืนโลกมีความอ่อนตวั มากจงึ
มี ภเู ขาไฟ และแผน่ ดินไหวเสมอ

ทวปี เอเชีย แบ่งออกเป็น 5 ภมู ภิ าค ไดแ้ ก่

1. เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้
2. เอเชยี ใต้
3. เอเชยี ตะวันออก
4. เอเชียตะวันตกเฉยี งใต้
5. เอเชยี กลาง

ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของทวปี เอเชยี

ลกั ษณะภูมิประเทศของทวีปเอเชยี
ลกั ษณะภมู ิประเทศ แบ่งออกเป็น 6 เขต คือ

1. เขตทีร่ าบต่ำทางเหนือ คือบรเิ วณตอนบนของทวีปซึ่งอยู่ในเขตสหภาพโซเวยี ต(เดิม)ในเขตไซ
บีเรียสว่ นใหญเ่ ปน็ เขตโครงสร้างหนิ เกา่ ทเี่ รียกวา่ แองการาชลี ด์มลี กั ษณะภูมปิ ระเทศเป็นทีร่ าบขนาดใหญ่ มี
แมน่ ำ้ อ็อบ แม่น้ำเยนิเซ และแมน่ ้ำลนี าไหลผ่าน บริเวณมีอาณาเขตกวา้ งขวางมากไม่ค่อยมีผคู้ นอาศยั อยเู่ พราะ
อากาศหนาวเย็นมาก

2. เขตท่ีราบล่มุ แม่น้ำ ไดแ้ กด่ ินแดนแถบลุ่มแมน่ ้ำตา่ งๆซ่ึงมลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ ทร่ี าบและมักมี
ดินอุดมสมบูรณเ์ หมาะแกก่ ารเพาะปลูก ได้แก่
- ในเอเชียตะวนั ออกไดแ้ ก่ทรี่ าบลมุ่ แมน่ ำ้ ฮวงโห ทรี่ าบลุม่ แม่นำ้ แยงซีเกียงในประเทศจนี
- ในเอเชียใต้ ไดแ้ ก่ ทรี่ าบลุ่มแม่น้ำสินธใุ นประเทศปากสี ถาน ท่รี าบลุม่ แมน่ ำ้ คงคาในประเทศอินเดีย และท่รี าบ
ลมุ่ แมน่ ำ้ พรหมบุตร ในบังคลาเทศ
- เอเชยี ตะวันตกเฉียงใต้ ได้แกท่ ร่ี าบลมุ่ แม่นำ้ ไทกรีส ที่ราบลุม่ แม่นำ้ ยเู ฟรตสี ในประเทศอิรัก
- เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ที่ราบลมุ่ แมน่ ำ้ โขงตอนล่าง ในประเทศกมั พูชาและเวียดนามท่รี าบลมุ่ แม่น้ำแดง
ในประเทศเวียตนาม ที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในประเทศไทยท่ีราบล่มุ แมน่ ้ำสาละวนิ ตอนลา่ งทรี่ าบลุ่มแม่น้ำ อิ
ระวดี ในประเทศพมา่

3. เขตเทอื กเขาสงู เป็นเขตหนิ ใหม่ ตอนกลางประกอบด้วยทร่ี าบสูงและเทือกเขามากมายส่วน
ใหญ่เป็นเทือกเขาทแ่ี ยกตัวไปจากจดุ รวมเทือกเขาที่เรยี กวา่ “ปามีรน์ อต(Pamir Knot)”หรอื ภาษาพน้ื เมอื ง
เรียกว่า “ปามรี ด์ นุ ยา(PamirDunya) แปลว่า หลังคาโลก” จุดรวมเทอื กเขาปารม์ นี อต อาจแยกได้ดังนี้
เทอื กเขาที่แยกไปทางทิศตะวันออก ได้แก่ เทือกเขาหมิ าลยั เทือกเขาอาระกันโยมา และเทอื กเขาท่ีมีแนวต่อลงมา
ทางใต้ มีบางส่วนทีจ่ มหายไปในทะเลและบางส่วนโผล่พน้ ข้ึนมาเป็นเกาะในมหาสมุทร อินเดยี และมหาสมุทรแป
ซิฟคิ ถดั จากเทอื กเขาหิมาลัยไปทางเหนือ มีเทือกเขาท่แี ยกไปทางตะวนั ออก ได้แกเ่ ทือกเขาคนุ ลุน เทือกเขานาน
ชาน และแนวที่แยกไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแ้ ก่ เทือกเขาเทียนชานเทือกเขาคนิ แกน เทือกเขายาโบ
ลนอย เทอื กเขาสตาโนวอยและเทือกเขาโกลีมา เทอื กเขาที่แยกไปทางทศิ ตะวนั ตก แยกเป็นแนวเหนอื และแนว
ใต้ ได้แก่เทือกเขาฮนิ ดูกูช เทือกเขาเอลบูรซ ส่วนแนวทิศใต้ ไดแ้ ก่ เทอื กเขาสุไลมานเทือกเขาซากรอส เม่ือ
เทอื กเขา2แนวนี้มาบรรจบกันที่อารเ์ มเนียนนอตแล้ว ยังแยกออกเป็นอีก2แนว ในเขตประเทศตุรกี คือแนวเป็น
เทอื กเขาปอนติกและแนวใตเ้ ป็นเทอื กเขาเตารสั

4. เขตที่ราบสงู ตอนกลางทวีป เปน็ ท่ีราบสูงในเขตหนิ ใหม่ ได้แก่ ท่ีราบสูงทเิ บตซ่งึ มีขนาดใหญ่
และสงู ท่สี ดุ ในโลกทรี่ าบสูงยูนาน ทางใต้ของจนี และทรี่ าบสงู ท่ีมลี ักษณะเหมือนแอง่ คอื ทรี่ าบสงู ตากลามากัน
(Takla Makan)ซ่ึงอยู่ระหว่างเทอื กเขาเทยี นชาน กับเทือกเขาคุนลนุ แต่อยูส่ งู จากระดบั น้ำทะเลมาก และมี
อากาศแหง้ แลง้ เป็นเขตทะเลทราย

5. เขตทรี่ าบสูงทางตอนใตแ้ ละตะวันตกเฉียงใต้ ได้แกท่ ่ีราบสูงขนาดใหญท่ างตอนใตข้ องทวปี
เอเชยี มีความสูงน้อยกวา่ ทร่ี าบสูงทางตอนกลางของทวีป ได้แก่ ท่รี าบสงู เดคคานในอินเดยี ทีร่ าบสงู อิหรา่ นใน
อหิ ร่านและอัฟกานิสถาน ท่ีราบสงู อนาโตเลีย ในตรุ กีท่รี าบสูงอาหรบั ในซาอุดิอาระเบยี

6. เขตหม่เู กาะภูเขาไฟเป็นเขตหินใหม่ คือบริเวณหมเู่ กาะอันเป็นทตี่ งั้ ของภเู ขาไฟทง้ั ท่ีดบั แล้ว
และท่ยี งั คกุ รุ่นอยู่ในเอเชยี ตะวนั ออกและเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้

ปจั จยั ที่มอี ทิ ธพิ ลตอ่ ลกั ษณะภมู อิ ากาศ

1. ท่ตี ั้ง

ทวปี เอเชียเป็นดินแดนท่ตี ง้ั อยูใ่ นซีกโลกเหนอื คือ จากเขตศูนย์สูตรถงึ ข้วั โลก ทำให้ทวปี
เอเชียมีลักษณะภูมิอากาศทกุ ชนิดตัง้ แต่เขตร้อนถึงเขตหนาวเย็นแบบขวั้ โลก
2. ขนาด

เอเชียเป็นทวีปท่ีมีขนาดกว้างใหญ่มาก โดยมีเส้นศูนย์สูตรเส้นทรอปิคออฟแคนเซอร์และเส้น
อาร์กตกิ เซอร์เคิลลากผา่ นลกั ษณะเช่นนี้แสดงว่าทวปี เอเชียมีท้ังอากาศรอ้ น อบอุ่น หนาว

3. ความใกล้ -ไกลทะเล
ทวปี เอเชยี มดี ินแดนบางส่วนทอ่ี ยตู่ ดิ ทะเลทำใหไ้ ด้รับความชุมชืน้ จากทะเล บางส่วนทหี่ า่ งไกลทะเล

อทิ ธพิ ลพื้นน้ำไม่สามารถเขา้ ถึงภายในทวปี ได้อยา่ งทั่วถึง ภายในทวปี จงึ มอี ากาศรุนแรง คือ
อากาศรอ้ นจดั และฤดหู นาว หนาวจดั ในขณะทชี่ ายทะเลมีอากาศในตอนกลางวันและกลางคนื และระหว่าง
ฤดูกาลแตกตา่ งกันไม่มากนัก

4. ความสูงตำ่ ของพ้นื ที่
เอเชียมีภูมปิ ระเทศสูงต่ำตา่ งกันอย่างมาก ทำใหล้ ักษณะอากาศตา่ งกนั ทงั้ ท่ีอยู่ในละตจิ ูดเดยี วกนั เช่น

เขตทรี่ าบเมืองเดลี ตัง้ อยูล่ ะติจูดที่ 28 องศาเหนือ ไม่เคยมีหมิ ะเลย แตท่ ี่ ยอดเขาดวั กากีรี ซงึ่ สูง8,172 เมตร
(26,810 ฟตุ ) และยอดเขาหมิ าลยั ซ่งึ อยู่ในละติจูดเดียวกนั กลับมีหิมะและน้ำแข็งปกคลุมตลอดปี

5. ลมประจำท่ีพดั ผ่าน

รูปภาพจาก http://203.172.208.242/tatalad/.../atm_pressure.htm
มลี มประจำที่พัดผ่านเอเชียหลายชนดิ เช่น
5.1 ลมประจำฤดู เชน่ ลมมรสมุ ซึ่งมีอิทธิพลต่อเอเชียมาก คอื
- ลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พดั ผา่ นทางตอนเหนือของทวปี ซง่ึ มีอากาศ หนาวเย็นและแหง้ แล้ง
ในฤดหู นาว
- ลมมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้ พัดผ่านมหาสมุทรอนิ เดีย ทำใหพ้ ดั พาความชุม่ ช้นื มาสภู่ าคพน้ื ทวปี
ใน ชว่ งฤดฝู น
5.2 พายหุ มนุ เช่น ลมไตฝ้ นุ่ ทก่ี อ่ ตวั ในมหาสมุทรแปซิฟิค พายุไซโคลน ที่ก่อตวั ในมหาสมุทรอินเดยี

6. กระแสนำ้

รูปภาพจาก http://www.pingbook.com/board/lofiversion/index.php/t34498-3100.html
มีกระแสน้ำเย็นโอยาชิโว ไหลผ่านฝ่ังตะวันตกของญี่ปุ่น และชายฝ่ังตะวันออกของประเทศ

มกี ระแสนำ้ อุ่นกุโรชโิ ว ไหลผ่าน ทำให้ชายฝ่งั ตะวันออกของญป่ี ุ่นมอี ากาศอบอุน่ กว่าฝ่ังตะวันตก

เขตภูมิอากาศ

1. ภมู ิอากาศแบบปา่ ดบิ ช้ืน เขตภมู ิอากาศแบบป่าดบิ ชน้ื อยูร่ ะหวา่ งละตจิ ูดที่ 10 องศา
เหนือ
ถงึ 10 องศาใต้ ได้แก่ ภาคใต้ของประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซยี และฟิลิปปินส์ มีความแตกต่างของ
อุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคนื ไมม่ ากนัก มีปรมิ าณน้ำฝนมากกว่า 2,000 มิลลเิ มตร (80 นิว้ ) ตอ่
ปี และมฝี นตกตลอดปี

พืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าดงดิบซ่งึ ไมม่ ีฤดทู ่ผี ลดั ใบและมีตน้ ไมห้ นาแน่นส่วนบริเวณปากแม่น้ำ
และชายฝ่งั ทะเลมีพืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าชายเลน

2. ภูมอิ ากาศแบบมรสุมเขตร้อน หรือรอ้ นชืน้ แถบมรสุม เปน็ ดนิ รอ้ นท่อี ยู่เหนือ
ละติจดู 10 องศาเหนือขึน้ ไป มีฤดแู ล้งและฤดูฝนสลับกนั ประมาณปลี ะ เดือน ได้แก่ บริเวณคาบสมทุ ร
อนิ เดีย และคาบสมุทรอินโดจีน เขตนเี้ ป็นเขตที่ได้รับอิทธิพลของลมมรสุม ปรมิ าณนำ้ ฝนจะสูงใน
บริเวณดา้ นตน้ ลม (Winward side) และมีฝนตกน้อยในด้านปลายลม (Leeward side) หรอื เรยี กวา่
เขตเงาฝน(Rain shadow)

พชื พรรณธรรมชาติเป็นปา่ มรสมุ หรอื ป่าไม้ผลัดใบในเขตร้อน พนั ธ์ไุ มส้ ่วนใหญ่เป็นไม้ใบกวา้ ง
และเปน็ ไมเ้ นือ้ แข็งที่มีคา่ ในทางเศรษฐกจิ หรือปา่ เบญจพรรณ เชน่ ไมส้ กั ไมจ้ ันทน์ ไม้ประดู่ เป็นต้น
ป่ามรสุม มลี ักษณะเปน็ ปา่ โปรง่ มากกว่าป่าไม้ในเขตร้อนชนื้ บางแห่งมไี ม้ขนาดเล็กขึ้นปกคลุมบริเวณ
ดินช้ันล่าง และบางแห่งเป็นป่าไผ่ หรอื หญ้า ปะปนอยู่

3. ภูมอิ ากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน มลี กั ษณะอากาศคลา้ ยเขตมรสุม มีฤดูแลง้ กบั ฤดฝู น แต่
ปรมิ าณน้ำฝนนอ้ ยกวา่ คือ ประมาณ 1,000-1,500 มิลลิเมตร (40-60 นิ้ว)ต่อปี อุณหภมู ิเฉลยี่ ตลอดปี
ประมาณ21 องศาเซลเซยี ส(70 องศาสฟาเรนไฮต์) อุณหภูมิกลางคนื เยน็ กวา่ กลางวัน ไดแ้ ก่ บริเวณ
ตอนกลางของอนิ เดีย พมา่ และคาบสมทุ รอนิ โดจีน

พชื พรรณธรรมชาติเปน็ ปา่ โปร่งแบบเบญจพรรณ ถัดเขา้ ไปตอนใน จะเป็นทงุ่ หญ้าสูง
ต้งั แต่ 60-360เซนตเิ มตร (2-12 ฟตุ ) ซ่ึงจะงอกงามดีในฤดูฝน แต่แห้งเฉาตายในฤดูหนาว เพราะชว่ งน้ี
อากาศแห้งแลง้

4. ภมู ิอากาศแบบมรสมุ เขตอบอุน่ อยู่ในเขตอบอุ่นแต่ไดร้ บั อิทธิพลของลมมรสุม มฝี นตกในฤดู
ร้อน ฤดูหนาวค่อนขา้ งหนาว ไดแ้ ก่ บริเวณภาคตะวันตกของจนี ภาคใตข้ องญปี่ ุน่ คาบสมุทรเกาหลี
ฮ่องกง ตอนเหนือของอนิ เดยี ในลาว และตอนเหนือของเวยี ตนาม

พชื พรรณธรรมชาติเปน็ ไมผ้ ลัดใบหรือไม้ผสม มีทงั้ ไมใ้ บใหญ่ท่ีผลัดใบ และไม้สนท่ไี มผ่ ลัดใบ
ในเขตจนี เกาหลี ทางใตข้ องเขตน้เี ป็นป่าไมผ้ ลัดใบ สว่ นทางเหนอื มีอากาศหนาวกว่าป่าไมผ้ สมและป่า
ไมผ้ ลดั ใบ เชน่
ตน้ โอ๊ก เมเปิล ถ้าขนึ้ ไปทางเหนืออากาศหนาวเยน็ จะเป็นป่าสนท่มี ใี บเขยี วตลอดปี

5. ภูมิอากาศแบบอบอ่นุ ภาคพน้ื ทวปี ได้แก่ทางเหนือและตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศ
จนี เกาหลเี หนอื ภาคเหนอื ของญป่ี นุ่ และตะวนั ออกเฉยี งใตข้ องไซบเี รยี มีฤดูร้อนท่อี ากาศร้อน
กลางวนั ยาวกว่ากลางคืน นาน 5-6 เดอื น เปน็ เขตปลูกข้าวโพดได้ดี เพราะมฝี นตกในฤดูร้อน
ประมาณ 750-1,000 มม.(30-40)น้ิวต่อปี ฤดูหนาวอุณหภูมเิ ฉลีย่ ถึง 7 องศาเซลเซยี ส (18 องศาฟา
เรนไฮต์) เปน็ เขตที่ความแตกต่างระหวา่ งอณุ หภมู มิ ีมาก

พืชพรรณธรรมชาติเปน็ ป่าผสมระหวา่ งไม้ผลดั ใบและป่าสน ลึกเข้าไปเป็นท่งุ หญ้า สามารถ
เพาะปลูกขา้ วโพด ข้าวสาลี และเล้ียงสัตวพ์ วกโคนมได้ ส่วนแถบชายทะเลมีการทำปา่ ไม้บ้างเล็กนอ้ ย

6. ภมู ิอากาศแบบทุ่งหญา้ กง่ึ ทะเลทรายแถบอบอุ่น มอี ุณหภมู สิ ูงมากในฤดูรอ้ น และ
อณุ หภูมติ ่ำมากในฤดหู นาว มีฝนตกบา้ งในฤดใู บไมผ้ ลิและฤดูร้อน ไดแ้ ก่ ภาคตะวันตกของคาบสมุทร
อาหรับ ตอนกลางของประเทศตุรกี ตอนเหนือของภาคกลางของอหิ ร่าน ในมองโกเลีย ทางตะวนั ตก
เฉียงเหนือของจีน

พืชพรรณธรรมชาติเปน็ ทงุ่ หญ้าสนั้ (Steppe) ท่งุ หญ้าดังกล่าวมกี ารชลประทานเข้าถึงใช้
เพาะปลูก ขา้ วสาลี ข้าวฟ่าง ฝา้ ย และเล้ยี งสตั ว์ไดด้ ี

7. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย มคี วามแตกตา่ งระหวา่ งอุณหภมู ิกลางวันกับกลางคืน และฤดู
ร้อนกบั ฤดูหนาวมาก ไดแ้ ก่ ดินแดนท่อี ยูภ่ ายในทวปี ท่ีมเี ทือกเขาปดิ ล้อม ทำใหอ้ ทิ ธิพลจากมหาสมุทร
เขา้ ไปไม่ถึง ปริมาณฝนตกน้อยกว่าปีละ 250 มม.(10นิ้ว) ไดแ้ กบ่ ริเวณ คาบสมทุ รอาหรับ ทะเลทรายโก
บี ทะเลทรายธาร์ และทีร่ าบสูงทเิ บต ทรี่ าบสูงอิหร่าน บรเิ วณทีม่ นี ำ้ และตน้ ไมข้ ้นึ เรียกว่า
โอเอซสิ (Oasis)

พืชพรรณธรรมชาติเปน็ อนิ ทผลมั ตะบองเพชร และไม้ประเภทมีหนาม ชายขอบทะเลทราย
ส่วนใหญเ่ ปน็ ทุง่ หญ้าสลับปา่ โปรง่ มีการเล้ยี งสัตว์ประเภทท่ีเล้ียงไว้ใชเ้ นื้อ และทำการเพาะปลูกต้อง
อาศยั การชลประทานช่วย

8. ภูมอิ ากาศแบบเมดิเตอรเ์ รเนียน มอี ากาศในฤดูร้อน รอ้ นและแห้งแล้ง ใน เลบานอน
ซเี รียอิสราเอล และตอนเหนือของอิรัก

พืชพรรณธรรมชาติเป็น ไมต้ น้ เตี้ย ไมพ้ ุ่มมีหนาม ต้นไม้เปลือกหนาท่ีทนต่อความแห้งแลง้ ใน
ฤดรู ้อนได้ดี พชื ทีเ่ พาะปลูก ไดแ้ ก่ สม้ องนุ่ และ มะกอก

9. ภูมิอากาศแบบไทกา (ก่ึงขั้วโลก) มีฤดูหนาวยาวนานและหนาวจดั ฤดรู อ้ นสนั้ มีนำ้ ค้าง
แขง็ ได้ทุกเวลา และ ฝนตกในรูปของหิมะ ได้แก่ ดนิ แดนทางภาคเหนอื ของทวปี บริเวณไซบีเรีย

พชื พรรณธรรมชาติเป็น ปา่ สน เปน็ แนวยาวทางเหนือของทวีป ทเี่ รยี กวา่ ไทกา (Taiga)
หรือป่าสนของไซบเี รีย
10. ภมู ิอากาศแบบทนุ ดรา (ข้วั โลก) เขตนีม้ ีฤดูหนาวยาวนานมาก อากาศหนาวจดั มีหิมะปกคลุม
ตลอดปี ไม่มฤี ดูร้อน

พืชพรรณธรรมชาติเป็น พวกตะไครน่ ำ้ และ มอสส์
11. ภมู ิอากาศแบบทส่ี ูง ในเขตทสี่ ูงอณุ หภมู ิจะลดลงตามระดับความสงู ในอตั ราความสูงเฉล่ยี
ประมาณ 1 องศาเซลเซยี สต่อความสูง 10 เมตร จงึ ปรากฎวา่ ยอดเขาสูงบางแหง่ แมจ้ ะอยู่ในเขตรอ้ น ก็มีหิมะปก
คลุมทงั้ ปี หรอื เกือบตลอดปี ได้แก่ ท่รี าบสูงทิเบต เทอื กเขาหิมาลัย เทอื กเขาคนุ ลนุ และเทือกเขาเทียนชาน ซึ่ง
มีความสูงประมาณ 5,000-8,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล มีหมิ ะปกคลมุ และมีอากาศหนาวเย็นแบบขว้ั โลก
พชื พรรณธรรมชาติเป็น พวกตะไครน่ ้ำ และ มอส

ใบงานที่ 1

1) ใหผ้ ้เู รียนอธบิ ายจดุ เดน่ ของลักษณะภมู ปิ ระเทศในทวปี เอเชีย ท้งั 5 เขต
............................................................................................................................................... ..................................
.................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................... ........................................................
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
...................................................................................................... ....................................................... ....................
............................................................................................................................. ....................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................... ......................................................................
............................................................................................................................. .............................................
………........................................................................................................................................................................
.................................................................................................... ....................................................... .............
2) ภูมิอากาศแบบใดท่ีมหี ิมะปกคลุมตลอดปี และพืชพรรณท่ปี ลูกเป็นประเภทใด
............................................................................................................................. ....................................................
.......................................................................................................................................... .......................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................
......................................................................................................................................................

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล

รายการพฤตกิ รรม คณุ ภาพการปฏิบัติ
4321
1. มกี ารวางแผนก่อนการทำงาน
2. ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความตั้งใจ
3. มีการปฏบิ ัตงิ านตามขน้ั ตอน
4. มกี ารให้ความชว่ ยเหลือเพ่ือน
5. ใหค้ ำแนะนำเพ่ือนคนอนื่ ได้

รวม

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้งั ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครงั้ หรือไม่เคยปฏิบัติเลย

เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ระดบั คุณภาพ
ชว่ งคะแนน
ดมี าก
17-20 4 หมายถึง ดี
13-16 3 หมายถึง พอใช้
9-12 2 หมายถึง ปรับปรุง
5-8 1 หมายถึง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา สค21001
จำนวน 3 หน่วยกิต

ครั้งที่ 2 วันที่.........เดอื น.............................พ.ศ.................

รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ แบบพบกลุ่ม จำนวน 6 ช่ัวโมง

เรื่อง ภูมิศาสตรท์ างกายภาพทวปี เอเชยี

ตัวชีว้ ัด 1. มีทกั ษะในการใช้เคร่อื งมือทางภูมิศาสตร์ เช่น แผนที่ ลกู โลก Website ดาวเทียม GIS GPRS ฯลฯ

เน้อื หา วธิ ใี ชเ้ ครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์ แผนท่ี ลูกโลก Website ดาวเทยี ม GIS GPRS ฯลฯ

ขนั้ ตอนการจดั กระบวนการเรียนรู้
ข้ันที่ 1 กำหนดสภาพปัญหาการเรยี นรู้
1. ครูทกั ทายผู้เรียน พดู คุย ในเรื่องภูมิศาสตร์ของประเทศเพ่ือนบ้าน และสอบถามผู้เรยี นวา่ ใคร
รู้จักประเทศเพ่ือนบา้ นทมี่ ีความน่าสนใจประเทศใดบา้ ง และมีประเทศใดบ้างที่เป็นสมาชิกอยู่
ในกลุ่มประชาคมอาเซยี น รว่ มกนั แสดงความคิดเห็นถงึ แนวทางการดำเนินงานของกลมุ่
ประเทศอาเซียนรวมไปถึงการสอบถามถงึ ความพร้อมของตัวผเู้ รยี น เชน่ ภาษา อาชพี
ประเพณแี ละวัฒนธรรม
2. ครแู ละผู้เรยี นร่วมกนั อภิปรายถงึ เครื่องมือทใ่ี ช้ทางภมู ิศาสตร์ โดยสอบถามจากผเู้ รยี นว่ามี
อะไรบา้ ง และมกี ารนำมาใช้อยา่ งไร

ขนั้ ท่ี 2 แสวงหาขอ้ มูลและจัดการเรยี นรู้
1. ครูนำส่ือการเรยี นประกอบด้วย แผนท่ี ลูกโลก Website ข้อมูล GIS GPRS ให้ผู้เรียนได้

ทดลองใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ แลว้ แบ่งกลมุ่ ตามประเภทของเครอ่ื งมอื กลมุ่ ละ 5 – 7 คน เพอื่
นำเสนอวิธีการใช้และการอ่านสัญลกั ษณข์ องเครอื่ งมอื แตล่ ะประเภท

2. ใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาค้นควา้ เพิ่มเตมิ จาก ใบความรู้ หนังสือแบบเรียน และเครื่องมือจรงิ ตามท่ี
ไดร้ บั

3. ครูมอบหมายให้ผเู้ รียนทำใบงาน เรอ่ื ง วิธีใช้เครื่องมอื ทางภูมิศาสตร์

ขัน้ ท่ี 3 การปฏบิ ัติและการนำไปใช้
1. ผเู้ รียนสง่ ตวั แทนของแต่ละกลุ่มมาเลา่ วิธีการใชแ้ ละการอ่านสัญลักษณ์ ท่ีใชแ้ ทนสถานท่ี
และสภาพภมู ิประเทศของแต่ละประเทศ
2. ครแู ละผเู้ รยี นรว่ มกันสรปุ ใจความสำคัญแล้วบันทกึ ข้อมลู ลงในสมดุ ของผู้เรยี นแต่ละคน

ขัน้ ท่ี 4 การประเมนิ ผลการเรียนรู้
1. ครูใหผ้ ู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการประเมนิ ผลงานจากการนำเสนอของแต่ละกลุ่มโดยแบ่งเป็น
คะแนนด้านการนำเสนอเนอ้ื หา และดา้ นความคิดสรา้ งสรรค์
2. ครสู งั เกตจากการมีสว่ นร่วมกระบวนการกลุ่ม

สือ่ การเรยี นรู้
1. หนังสือแบบเรียน
2. แผนที่
3. ลูกโลก
4. ใบความรู้ เรื่อง วธิ ีการใช้เคร่อื งมือทางภมู ิศาสตร์

การวดั และประเมนิ ผล
1. การทำใบงาน

2. การทำแบบทดสอบ

ใบงานที่ 2
เรอ่ื ง เครอ่ื งมอื และการใชเ้ คร่อื งมอื ในการศกึ ษาทางภูมศิ าสตร์

แผนทแ่ี ละเครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์

ความหมายของแผนที่
พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของแผนที่ไว้ว่า“แผนที่ คือ ส่ิงที่

แสดงลักษณะของพ้ืนผิวโลกทั้งที่มีอยู่ตามธรรมชาติและที่ปรุงแต่งขึ้น โดยแสดงลงในพื้นแบนราบ ด้วยการย่อ
ใหเ้ ล็กลงตามขนาดทต่ี ้องการและอาศยั เครอ่ื งหมายกบั สัญลักษณท์ ีก่ ำหนดขนึ้ ”

แผนท่ี หมายถึง การนำเอารูปภาพสิง่ ตา่ งๆ บนพ้ืนผวิ โลก (Earth’ surface) มาย่อส่วนให้เล็กลง แล้ว
นำมาเขียนลงกระดาษแผ่นราบ ส่ิงต่างๆ บนพ้ืนโลกประกอบไปด้วยส่ิงที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ (nature)
และสิ่งท่ีมนุษย์สรา้ งขึ้น (manmade) สิ่งเหลา่ นแ้ี สดงบนแผนท่ีโดยใช้สี เส้นหรือรูปร่างต่างๆ ทีเ่ ปน็ สัญลักษณ์
แทน
การจำแนกชนิดของแผนท่ี

ปัจจุบันการจำแนกชนิดของแผนที่ อาจจำแนกได้หลายแบบแล้วแต่จะยึดถือสิ่งใดเป็นหลักในการ
จำแนก เชน่
1. การจำแนกชนิดของแผนทต่ี ามลกั ษณะที่ปรากฏบนแผนที่ แบ่งได้เป็น 3 ชนดิ คือ

1.1 แผนที่ลายเส้น (Line Map) เป็นแผนที่แสดงรายละเอียดในพ้ืนท่ีด้วยเส้นและองค์ประกอบของ
เส้น ซ่ึงอาจเป็นเส้นตรง เส้นโค้ง ท่อนเส้น หรือเส้นใดๆ ท่ีประกอบเป็นรูปแบบต่างๆ เช่น ถนนแสดงด้วยเส้น
คู่ขนาน อาคารแสดงด้วยเส้นประกอบเป็นรูปส่ีเหล่ียม สัญลักษณ์ท่ีแสดงรายละเอียดเป็นรูปที่ประกอบด้วย
ลายเส้น แผนที่ ลายเส้นยังหมายรวมถึงแผนท่ีแบบแบนราบและแผนท่ีทรวดทรง ซ่ึงถ้ารายละเอียดที่แสดง
ประกอบด้วยลายเสน้ แล้วถอื ว่าเป็นแผนที่ลายเส้นทัง้ สิ้น
ตวั อย่างแผนทีล่ ายเสน้

1.2 แผนที่ภาพถ่าย (Photo Map) เป็นแผนท่ีซึ่งมีรายละเอียดในแผนท่ีท่ีได้จากการถ่ายภาพด้วย
กล้องถ่ายภาพ ซึ่งอาจถ่ายภาพจากเครื่องบินหรือดาวเทียม การผลติ แผนท่ีทำด้วยวิธีการนำเอาภาพถา่ ยมาทำ
การดัดแก้ แล้วนำมาต่อเป็นภาพแผ่นเดียวกันในบริเวณท่ีต้องการ แล้วนำมาใส่เส้นโครงพิกัด ใส่รายละเอียด
ประจำขอบระวาง แผนทีภ่ าพถา่ ยสามารถทำไดร้ วดเร็ว แตก่ ารอ่านค่อนข้างยากเพราะตอ้ งอาศยั เคร่ืองมือและ
ความชำนาญ
ตัวอยา่ งแผนที่ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศ

1.3 แผนที่แบบผสม (Annotated Map) เป็นแบบท่ีผสมระหว่างแผนที่ลายเส้นกับแผนที่ภาพถ่าย
โดยรายละเอียดท่ีเป็นพ้ืนฐานส่วนใหญ่จะเป็นรายละเอียดท่ีได้จากการถ่ายภาพ ส่วนรายละเอียดท่ีสำคัญๆ
เชน่ แม่น้ำ ลำคลอง ถนนหรือเสน้ ทาง รวมทัง้ อาคารท่ีต้องการเน้นให้เหน็ เด่นชดั ก็แสดงด้วยลายเสน้ พิมพแ์ ยก
สีให้เห็นเด่นชัดปัจจุบันนิยมใช้มาก เพราะสะดวกและง่ายแก่การอ่าน มีทั้งแบบแบนราบ และแบบพิมพ์นูน
สว่ นใหญ่มสี ีมากกว่าสองสขี ึ้นไป

ตวั อยา่ งแผนทแี่ บบผ

ตวั อยา่ งแผนที่

2. การจำแนกชนิดของแผนท่ีตามขนาดของมาตราส่วน ประเทศตา่ ง ๆ อาจแบ่งชนิดของแผนท่ตี าม
ขนาดมาตราสว่ นไม่เหมือนกัน ทก่ี ลา่ วตอ่ ไปนเ้ี ป็นการแบง่ แผนท่ตี ามขนาดมาตราสว่ นแบบหนงึ่ เทา่ นนั้

2.1 แบ่งมาตราส่วนสำหรับนกั ภูมศิ าสตร์
2.1.1 แผนที่มาตราส่วนเลก็ ได้แก่ แผนท่ีมาตราส่วนเลก็ ว่า 1:1,000,000
2.1.2 แผนทม่ี าตราส่วนกลาง ได้แก่ แผนท่ีมาตราส่วนตั้งแต่ 1:250,000 ถงึ 1:1,000,000
2.1.3 แผนทมี่ าตราส่วนใหญ่ ได้แก่ แผนท่ีมาตราสว่ นใหญก่ วา่ 1:250,000

2.2 แบ่งมาตราส่วนสำหรบั นกั การทหาร
2.2.1 แผนทมี่ าตราสว่ นเลก็ ได้แก่ แผนท่ีมาตราส่วน 1:600,000 และเล็กกวา่
2.2.2 แผนทมี่ าตราส่วนกลาง ได้แก่ แผนทม่ี าตราส่วนใหญ่กว่า 1:600,000 แตเ่ ล็กกว่า

1:75,000
2.2.3 แผนทม่ี าตราสว่ นใหญ่ ได้แก่ แผนที่มาตราส่วนตั้งแต่ 1:75,000 และใหญ่กว่า

3. การจำแนกชนดิ แผนท่ีตามลักษณะการใชง้ านและชนดิ ของรายละเอยี ดท่ีแสดงไว้ในแผนที่
3.1 แผนที่ทว่ั ไป (General Map) เปน็ แผนท่ีพ้นื ฐานท่ีใช้อยู่ท่วั ไปหรือที่เรยี กว่า Base map
3.1.1 แผนทแ่ี สดงแบนราบ (Planimetric Map) เป็นแผนทแ่ี สดงรายละเอยี ดทปี่ รากฏบนผวิ

โลกเฉพาะสัณฐานทางราบเท่าน้นั

ตัวอย่างแผนทแ่ี บนราบ

3.1.2 แผนทีภ่ ูมิประเทศ (Topographic Map) เป็นแผนท่ีแสดงรายละเอยี ดทง้ั ทางแนวราบและ
แนวดงิ่ หรอื อาจแสดงให้เห็นเปน็ 3 มิติ

ตัวอยา่ งแผนท่ภี มู ปิ ระเทศ

3.2 แผนทีพ่ เิ ศษ (Special Map or Thematic Map) สรา้ งขน้ึ บนแผนท่ีพื้นฐาน เพื่อใช้ในกจิ การ
เฉพาะอย่าง

4. การจำแนกตามมาตรฐานของสมาคมคาร์โตกรา๊ ฟฟ่ีระหว่างประเทศ (ICA) สมาคมคารโ์ ตกร๊าฟฟรี่ ะหว่าง
ประเทศ ได้จำแนกชนดิ แผนท่ีออกเปน็ 3 ชนิด

4.1 แผนทภ่ี ูมิประเทศ (Topographic map) รวมทั้งผงั เมืองและแผนทภี่ มู ิศาสตร์ เป็นแผนทีท่ ่ีให้
รายละเอียด โดยทว่ั ๆ ไป ของภมู ิประเทศ โดยสรา้ งเป็นแผนทีภ่ ูมิประเทศ มาตราสว่ นขนาดเลก็ กลาง และ
ขนาดใหญ่ และได้ขอ้ มลู มาจากภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายดาวเทียม แผนท่มี าตราส่วนเล็กบางทีเรียกว่า
เป็นแผนทีภ่ ูมศิ าสตร์ (Geographical map) แผนที่ท่วั ไป (General map) และแผนที่มาตราสว่ นเลก็ มากๆ ก็
อาจอยู่ในรปู ของแผนที่เลม่ (Atlas map)
4.2 ชาร์ตและแผนที่เสน้ ทาง (Charts and road map) เป็นแผนทท่ี ีส่ รา้ งข้ึนเป็นเครื่องมือประกอบการ
เดินทาง โดยปกตจิ ะเป็นแผนท่ีมาตราส่วนกลาง หรอื มาตราส่วนเล็ก และแสดงเฉพาะส่ิงท่ีเป็นทีน่ า่ สนใจของ
ผใู้ ช้ เช่น ชาร์ตเดนิ เรือ ชาร์ตด้านอทุ กศาสตร์ เปน็ ต้น

ตวั อย่างแผนท่เี ส้นทาง

4.3 แผนที่พิเศษ (Thematic and special map) ปจั จบุ ันมีความสำคญั มากข้นึ เพราะสามารถใช้
ประกอบการทำวจิ ยั เชิงวทิ ยาศาสตร์ การวางแผนและใช้ในงานดา้ นวศิ วกรรม แผนท่ชี นิดน้จี ะแสดงข้อมูล
เฉพาะเร่อื งลงไป เชน่ แผนที่ดิน แผนที่ประชากร แผนที่พืชพรรณธรรมชาติ แผนที่ธรณีวทิ ยา เป็นต้น

ตัวอย่างแผนท่ีพิเศษ

องค์ประกอบของแผนท่ี

องค์ประกอบของแผนท่ีทจี่ ะกล่าวต่อไปนี้ หมายถงึ สิ่งต่าง ๆ ท่ีปรากฏอยู่บนแผ่นแผนที่ ซ่ึงผผู้ ลิตแผน
ที่จัดแสดงไว้ โดยมีความมุ่งหมายท่ีจะให้ผู้ใช้แผนที่ได้ทราบข่าวสารและรายละเอียดอยา่ งเพียงพอสำหรับการ
ใช้แผนที่น้ัน แผนท่ีท่ีจัดทำขึ้นก็เพื่อแสดงพ้ืนท่ีใดพื้นท่ีหนึ่งซึ่งเรียกว่า “ระวาง” (Sheet) และในแผนท่ีแต่ละ
ระวางจะพิมพ์ออกมาเป็นกี่แผ่น (Copies) ก็ได้ วัสดุที่ใช้ พิมพ์แผนที่ควรมีลักษณะสำคัญ คือ ยืดหรือหดน้อย
ทสี่ ดุ เมือ่ สภาวะอากาศเปลยี่ นแปลง องคป์ ระกอบแผนท่ีแตล่ ะ ระวาง ประกอบดว้ ย 3 สว่ นใหญ่ ๆ คอื

1. เส้นขอบระวาง ตามปกติรูปแบบของแผนท่ีท่ัวไปจะเป็นรูปสี่เหล่ียมจตุรัสหรือส่ีเหล่ียมผืนผ้า ห่าง
จากรมิ ทั้งสีด่ ้านของแผนท่ีเข้าไปจะมเี ส้นก้ันขอบเขตเป็นรปู สี่เหลี่ยม ซงึ่ เรยี กว่าเสน้ ขอบระวางแผนท่ี ( Border
) เส้นขอบระวางแผนท่ีบางแบบ ประกอบด้วยขอบสองชั้น เพื่อให้เกิดความสวยงาม สำหรับแผนที่ภูมิประเทศ
โดยท่ัวไป เส้นขอบระวางมีเพียงด้านละเส้นเดียว บางชนิดมีเส้นขอบระวางเพียงสองด้านเท่านั้น ท่ีเส้นขอบ
ระวางแต่ละด้านจะมีตัวเลขบอกค่าพิกัด และค่าพิกัดภูมิศาสตร์ (ค่าของละติจูดและลองติจูด) หรืออย่างใด
อย่างหนึ่ง ดังนั้นในแผนที่แผ่นหน่ึงเส้นขอบระวางแผนที่จะก้ันพื้นที่ บนแผ่นแผนท่ีออกเป็นสองส่วนด้วยกัน
คอื พืน้ ท่ภี ายในขอบระวางแผนท่ี และพ้นื ทน่ี อกขอบระวางแผนที่

2. องค์ประกอบภายในขอบระวาง หมายถึง สิ่งท้ังหลายท่ีแสดงไว้ภายในกรอบ ซ่ึงล้อมรอบด้วยเส้น
ขอบระวางแผนที่ ตามปกตแิ ล้วจะประกอบดว้ ยสิง่ ตา่ ง ๆ ต่อไปน้ี คอื

- สัญลักษณ์ ( Symbol) ได้แก่ เคร่ืองหมายหรือส่ิงซ่ึงคิดขึ้นใช้แทนรายละเอียดท่ีปรากฏอยู่บนพ้ืนผิวภูมิ
ประเทศ หรอื ให้แทนข้อมูลอนื่ ใดท่ตี ้องการแสดงไวใ้ นแผนท่ีนน้ั

- สี ( Color) สีที่ใชใ้ นบริเวณขอบระวางแผนทจ่ี ะเป็นสขี องสญั ลกั ษณ์ที่ใช้แทนรายละเอยี ดหรือข้อมลู ตา่ ง ๆ
ของแผนที่

- ช่ือภูมิศาสตร์ ( Geographical Names) เป็นตัวอักษรกำกับรายละเอียดต่าง ๆ ที่แสดงไว้ภายในขอบ
ระวางแผนที่ เพอ่ื บอกให้ทราบวา่ สถานท่ีน้ันหรอื สิง่ น้นั มชี อ่ื เรียกอะไร

- ระบบอ้างอิงในการกำหนดตำแหน่ง ( Position Reference Systems) ได้แก่ เส้นหรือตารางที่แสดงไว้
ในขอบระวางแผนที่ เพ่ือใช้ในการกำหนดค่าพิกัดของตำแหน่งต่างๆ ในแผนท่ีน้ัน ระบบอ้างอิงในการกำหนด
ตำแหน่งมีหลายชนิด ทนี่ ยิ มใชใ้ นแผนที่ทว่ั ไปมี 2 ชนดิ คอื

- พิกัดภูมิศาสตร์ (Geographic Coordinates) ได้แก่ เส้นขนานและเส้นเมอริเดียนที่บอกค่า
ละติจูดและลองติจูด อาจแสดงไว้เป็นเส้นยาวจรดขอบระวางแผนท่ี หรืออาจแสดงเฉพาะส่วนที่ตัดกันเป็น
กากบาท (graticul) อย่างเชน่ แผนท่มี าตราสว่ น 1:50,000 หรืออาจแสดงเปน็ เส้นสัน้ ๆ เฉพาะท่ขี อบ

- พิกัดกริด (Rectangular Coordinates) ได้แก่ เส้นขนานสองชุดที่มีระยะห่างเท่าๆ กัน ตัดกัน
เป็นรูปส่ีเหล่ียมมุมฉาก เส้นตรงขนานทั้งสองชุดดังกล่าวอาจแสดงไว้เป็นแนวเส้นตรงยาวจรดขอบระวาง หรือ
อาจแสดงเฉพาะสว่ นท่ีตดั กันกไ็ ด้แล้วแต่ความเหมาะสม

3. องค์ประกอบภายนอกขอบระวาง หมายถึง พื้นที่ต้ังแต่เส้นขอบระวางไปถึงริมแผ่นแผนที่ทั้งส่ีด้าน
บริเวณพ้ืนที่ดังกล่าวผู้ผลิตแผนที่จะแสดงรายละเอียดอันเป็นข่าวสารหรือข้อมูลท่ีผู้ใช้แผนที่ควรทราบ และใช้

แผนที่น้ันได้อย่างถูกต้องตรงตามความมุ่งหมายของผู้ผลิตแผนท่ี รายละเอียดนอกขอบระวางจะมีอะไรบ้าง
ข้ึนอยู่กับชนดิ ของแผนท่ี
การหาระยะบนแผนท่ี

กอ่ นอื่นต้องทำความเขา้ ใจก่อนว่า ระยะบนแผนที่ คือ ระยะราบ (Horizontal Distance) เพราะแผน
ที่คือ การฉาย (Project) รายละเอียดภูมปิ ระเทศจริงลงบนพ้ืนระนาบหรอื พ้ืนราบ ฉะนน้ั แผนที่จะมมี าตราสว่ น
เดยี วกันหมดท้ังระวาง การหาระยะทางบนแผนทจ่ี งึ สามารถกระทำได้ 2 วธิ คี อื

1. การหาระยะโดยอาศัยมาตราส่วนของแผนท่ี เช่น เราวัดระยะบนแผนท่ีมาตราส่วน 1: 50,000 ได้
3 เซนติเมตร เพราะฉะนั้นระยะราบในภูมิประเทศจริงคือ 3 X 50000 = 150,000 ซ.ม. หรือ 1,500 เมตร
หรอื 1.5 ก.ม.

2. การหาระยะโดยอาศยั มาตราส่วนแบบบรรทดั
2.1 ให้กระทำโดยนำขอบบรรทดั หรอื ขอบกระดาษเรยี บๆ วางทาบใหผ้ ่านจุดสองจดุ ที่ต้องการหา
ระยะทางบนแผนที่แลว้ ทำเครื่องหมายไวท้ ีข่ อบกระดาษแสดงตำแหนง่ ของจดุ ทัง้ สอง
2.2 นำขอบกระดาษไปวางทาบที่มาตราสว่ นเสน้ บรรทัด อนั มีหนว่ ยวัดระยะตามต้องการแลว้ อา่ นระยะบน
มาตราส่วนเสน้ บรรทัด ระยะทไ่ี ดจ้ ะเปน็ ระยะราบในภูมิประเทศจรงิ
สตู รการหาระยะทาง

Scale = MD
GD

MD = ระยะทางบนแผนท่ี (Map Distance)
GD = ระยะทางในภมู ิประเทศจรงิ (Ground distance)
ตัวอยา่ ง สมมตุ ิว่าแผนที่มาตราสว่ น 1: 50,000 วดั ระยะระหวา่ งจดุ ก. ถึง จุด ข. ได้ 3.5 เซนติเมตร จงหา
ระยะทางในภูมิประเทศจากสูตร

1 = 3.5
50000 GD

GD = 50000 3.5 =175000Cm

= 175000 =1.75Km
100000

ตอบ นน่ั คือ ระยะในแผนที่ 3.5 เซนติเมตร แทนระยะทางในภมู ปิ ระเทศจรงิ 1.75 กโิ ลเมตร
การอ่านและแปลความในแผนท่ี

การอ่านและแปลความหมายของแผนท่ีให้เข้าใจ จำเป็นต้องรู้ข้อมูลเบื้องต้นที่เป็นองค์ประกอบของ
แผนที่ และทำความเข้าใจให้ถูกต้องเสียก่อน เพ่ือท่ีจะแปลความหมายและใช้ประโยชน์จากแผนท่ีได้อย่าง
สมบูรณ์ โดยเฉพาะแผนทภ่ี มู ปิ ระเทศแบบลายเสน้ ซึ่งเปน็ แผนทพ่ี ้ืนฐานที่ใชอ้ ยแู่ พร่หลายในโลก

ปัจจุบันนักวิชาการได้คิดหาระบบและสัญญลักษณ์ท่ีเป็นสากล ในการกำหนดตำแหน่ง เช่น พิกัด
ภูมิศาสตร์ (Geographic Coordinates) เป็นระบบอ้างอิงบนผิวพิภพ ตำแหน่งของจุดใดๆ บนพ้ืนผิวพิภพ
สามารถ กำหนดด้วยค่าละติจูด (Latitude) หรือที่เรียกว่า เส้นขนาน และเส้นลองจิจูด (Longitude) หรือท่ี
เรียกวา่ เสน้ เมอรเิ ดยี น

แผนท่ีแสดงลักษณะภูมิประเทศ นอกจากแสดงให้ทราบถึงตำแหน่งที่ตั้ง ระยะทาง และทิศทาง สิ่ง
สำคัญของแผนที่ชนิดนี้คือ แสดงความสูงต่ำ และทรวดทรงแบบต่างๆ ของภูมิประเทศ การแสดงลักษณะภูมิ
ประเทศบนแผนที่ มหี ลายวิธี เช่น
1. แถบสี ใช้แถบสีแสดงความสูงตำ่ ของภมู ิประเทศที่แตกตา่ งกัน เชน่ สีเขยี วแสดงพื้นทีร่ าบ สีเหลืองจนถงึ สสี ้ม
แสดงบริเวณทเ่ี ปน็ ท่ีสูง สนี ้ำตาลเป็นบรเิ วณทเี่ ปน็ ภเู ขา
2. เงา การเขียนเงาน้ันตามธรรมดานั้น จะเขียนในลักษณะที่มีแสงส่องมาจากทางด้านหน่ึง ถ้าเป็นที่สูงชัน
ลกั ษณะเงาจะเข้ม ถา้ เปน็ ทีล่ าดเงาจะบาง วิธเี ขยี นเงาจะทำให้จนิ ตนาการถงึ ความสงู ต่ำได้ง่ายขน้ึ
3. เส้นลาดเขา เป็นการเขียนลายเส้นเพื่อแสดงความสูงต่ำของภูมิประเทศ ลักษณะเส้นจะเป็น เส้นสั้นๆ ลาก
ขนานกัน ความหนาและชว่ งห่างของเส้นมีความหมายต่อการแสดงพ้นื ที่ คือ ถา้ เสน้ หนาเรียงค่อนขา้ งชิด แสดง
ภูมิประเทศที่สงู ชนั ถ้าหา่ งกนั แสดงวา่ เป็นทลี่ าด
4. แผนที่ภาพนูน แผนทีช่ นดิ นีถ้ า้ ใช้ประกอบกบั แถบสี จะทำใหเ้ ห็นลกั ษณะภมู ิประเทศไดช้ ัดเจนยิง่ ข้นึ
5. เส้นชั้นความสูง คือเส้นสมมุตทิ ี่ลากไปตามพื้นผิวโลกท่ีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง เท่ากัน เส้นช้ัน
ความสงู แต่ละเสน้ จงึ แสดงลกั ษณะและรูปตา่ งของพน้ื ท่ี ณ ระดับความสงู หนึง่ เท่านัน้
ประโยชนข์ องแผนท่ี

1. ด้านการเมืองการปกครอง เพื่อรักษาความมั่นคงของประเทศชาติ ให้คงอยู่ จำเป็นจะต้องมีความรู้
ในเรื่องภูมิศาสตร์การเมือง หรือที่เรียกกันว่า "ภูมิรัฐศาสตร์" และเคร่ืองมือท่ีสำคัญของนักภูมิรัฐศาสตร์ ก็คือ
แผนท่ี เพื่อใชศ้ ึกษาสภาพทางภูมิศาสตร์และนำมาวางแผนดำเนินการเตรียมรบั หรือแก้ไขสถานการณ์ท่เี กิดขึ้น
ได้ อย่างเช่น แนวพรมแดนระหว่างประเทศ จำเป็นต้องอาศัยแผนที่ในการวางแผนดำเนินการ เตรียมรับหรือ
แก้ไขสถานการณ์ที่อาจเกิดข้ึนอย่างถูกต้อง แผนที่ในกิจกรรมทางการเมืองนอกจากแผนที่แนวเขตแดนซ่ึง
สำคญั แลว้ ยังต้องเก่ยี วข้องกับแผนทต่ี ่าง ๆ มากมาย

2. ด้านการทหาร ในการพิจารณาวางแผนทางยุทธศาสตร์ของทหาร จำเป็นต้อง หาข้อมูลหรือ
ข่าวสารที่เก่ียวกับสภาพภูมิศาสตร์ และตำแหน่งทางสิ่งแวดล้อมท่ีถูกต้องแน่นอนเก่ียวกับระยะทาง ความสูง
เส้นทาง ลกั ษณะภูมปิ ระเทศทีส่ ำคัญ

3. ด้านเศรษฐกิจและสังคม ด้านเศรษฐกิจ เป็นเครื่องบ่งช้ีความเป็นอยู่ ของประชาชนภายในชาติ
เพราะฉะนั้นทุกประเทศก็มุ่งท่ีจะพัฒนาเศรษฐกิจของตนเพื่อความม่ังคั่ง และม่ันคง การดำเนินงานเพื่อพัฒนา
เศรษฐกิจของแต่ละภูมิภาคที่ผ่านมา แผนที่ เป็นส่ิงแรกท่ีต้องผลิตข้ึนมาเพ่ือการใช้งานในการวางแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ก็ต้องอาศัยแผนที่เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อให้ทราบ ทำเลที่ตั้ง สภาพทางกายภาพ
แหล่งทรัพยากร และ แผนท่ียังช่วยให้เข้าใจเกี่ยวกับภาพรวมและความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ได้มากข้ึน ทำให้
วางแผนและพัฒนาเปน็ ไปได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ

4. ด้านสังคม สภาพแวดล้อมทางสังคมมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ ที่เห็นชัดคือสภาพแวดล้อมทาง
ภูมิศาสตร์ ซึ่งทำให้สภาพแวดล้อมทางสงั คมเปลี่ยนแปลงไปการศึกษาสภาพการเปลี่ยนแปลงต้องอาศัยแผนที่
เป็นสำคญั และอาจชว่ ยใหก้ ารดำเนินการวางแผนพัฒนาสังคมเป็นไปในแนวทางท่ถี ูกต้อง

5. ด้านการเรียนการสอน แผนท่ีเป็นตัวส่งเสริมกระตุ้นความสนใจ และก่อให้เกิดความเข้าใจใน
บทเรียนดีข้ึนใช้เป็นแหล่งข้อมูลท้ังทางด้านกายภาพ ภูมิภาค วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สถิติและการกระจายของ
สิ่งต่าง ๆ รวมท้ังปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ และปรากฏการณ์ต่าง ๆใช้เปน็ เคร่อื งชว่ ยแสดงภาพรวมของพ้ืนที่
หรือของภูมิภาค อันจะนำไปศึกษาสถานการณแ์ ละวิเคราะห์ความแตกตา่ ง หรอื ความสัมพนั ธข์ องพ้นื ที่
6. ด้านส่งเสรมิ การท่องเที่ยว แผนท่ีมีความจำเป็นต่อนักท่องเท่ียวในอันที่จะทำให้รู้จักสถานท่ีท่องเท่ียวได้ง่าย
สะดวกในการวางแผนการเดนิ ทาง หรือเลือกสถานทที่ อ่ งเที่ยวตามความเหมาะสม

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

ความหมายของ Remote Sensing
ในอดีตท่ีผ่านมาเทคโนโลยีภาพถ่ายทางอากาศ (Aerial Photograph) และทางภาพถ่ายดาวเทียม

(Satellite Imagery) เป็นคำที่ใช้แยกจากกัน ต่อมาได้มกี ารกำหนดศพั ท์ให้รวมใชเ้ รียกคำท้ังสองรวมกนั ตลอด
จนถึงเทคโนโลยีต่างๆ ทเ่ี ก่ียวกบั ขอ้ มลู ซ่งึ ได้จากตัวรบั สญั ญาณระยะไกลทเี่ รยี กวา่ Remote Sensing

คำว่า รีโมทเซนซ่ิง (Remote Sensing) เป็นประโยคที่ประกอบข้ึนมาจากการรวม 2 คำ ซ่ึงแยกออก
ไดด้ ังนี้ คือ Remote = ระยะไกล และ Sensing = การรับรู้ จากการรวมคำ 2 คำเข้าด้วยกัน คำว่า "Remote
Sensing" จึงหมายถงึ "การรับรู้จากระยะไกล" โดยนยิ ามความหมายนไ้ี ด้กล่าวไวว้ า่ “เป็นการสำรวจตรวจสอบ
คุณสมบตั สิ งิ่ ใดๆ กต็ าม โดยท่มี ิไดส้ มั ผสั กับสิ่งเหล่านนั้ เลย”

ดังน้ันคำว่า "Remote Sensing" จึงมีความหมายที่นิยมเรียกอย่างหน่ึงว่า การสำรวจจากระยะไกล
โดยความหมายรวม รโี มทเซนซ่ิง จึงจัดเป็นวิทยาศาสตร์ และศิลปะการได้มาซ่ึงข้อมลู เกี่ยวกับวัตถุ พื้นท่ี หรือ
ปรากฏการณจ์ ากเคร่ืองมือบันทกึ ข้อมลู โดยปราศจากการเข้าไปสัมผสั วัตถเุ ป้าหมาย ทั้งน้ี อาศัยคุณสมบัติของ
คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้าเปน็ สอ่ื ในการไดม้ าของข้อมลู ใน 3 ลักษณะ คือ
- คลื่นรังสี (Spectral)
- รปู ทรงสัณฐานของวตั ถบุ นพนื้ ผวิ โลก (Spatial)
- การเปลีย่ นแปลงตามช่วงเวลา (Temporal)

ปัจจุบันข้อมูลด้านนี้ได้นำมาใช้ในการศึกษาและวิจัยอย่างแพร่หลาย เพราะให้ผลประโยชน์หลาย
ประการ อาทิเชน่ ประหยดั เวลา ค่าใชจ้ ่ายในการสำรวจ เก็บข้อมูล ความถกู ต้อง และรวดเร็วทันต่อเหตกุ ารณ์

อย่างไรก็ตาม การรับรู้จากระยะไกลก็ได้รับการพัฒนาให้ก้าวหน้าโดยมีการประดิษฐ์ คิดค้นเครอ่ื งมือ
รับสัญญาณท่ีมีประสิทธิภาพสูง เทคนิคที่นำมาใช้ในการแปลตีความ ก็ได้รับการพัฒนาควบคู่กันไปให้มีความ
ถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็วย่ิงขึ้น จึงปรากฏว่ามีการนำข้อมูลท้ังภาพถ่ายทางอากาศ และ ภาพถา่ ยดาวเทียม
มาใชป้ ระโยชนเ์ พอื่ สำรวจหาขอ้ มลู และทำแผนท่ีเก่ยี วกับทรพั ยากรธรรมชาติกันอย่างกว้างขวางในปัจจบุ ัน

องค์ประกอบของการสำรวจระยะไกล

องคป์ ระกอบของการสำรวจระยะไกล ประกอบด้วย
- แหลง่ กำเนิดพลังงาน (Source of Energy)
- วัตถแุ ละปรากฏการณต์ ่างๆ บนพน้ื ผิวโลก (Earth Surface Features)
- เครือ่ งมือหรืออุปกรณใ์ นการบนั ทึกข้อมลู (Sensor)

หลกั การสำรวจข้อมูลระยะไกล
การสำรวจจากระยะไกล ( Remote sensing) เป็นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแขนงหน่ึง ทใี่ ช้ในการ

บง่ บอก จำแนก หรอื วิเคราะหค์ ุณลกั ษณะของวัตถุตา่ ง ๆ โดยปราศจากการสมั ผัสโดยตรง
Remote sensing เป็นศัพท์เทคนิค ที่ใช้เป็นคร้ังแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2503 ซึ่งมี

ความหมายรวมถงึ การทำแผนที่ การแปลภาพถ่าย ธรณวี ทิ ยาเชงิ ภาพถ่าย ฯลฯ
การใช้คำรีโมตเซนซิงเร่ิมแพร่หลายนับต้ังแต่ได้มีการส่งดาวเทียม LANDSAT-1 ซ่ึงเป็นดาวเทียม

สำรวจทรัพยากรธรรมชาติดวงแรกข้ึนในปี พ.ศ.2515 พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าที่สะท้อน หรือแผ่ออกจากวัตถุ
เป็นตน้ กำเนิดของขอ้ มูลทีส่ ำรวจจากระยะไกล
นอกจากนี้ตัวกลางอื่นๆ เช่น ความโน้มถ่วง หรือสนามแม่เหล็ก ก็อาจนำมาใช้ในการสำรวจจากระยะไกลได้
เชน่ กนั

เราสามารถหาคุณลักษณะของวัตถุได้ จากลักษณะการสะท้อนหรือการแผ่พลังงานแมเ่ หล็กไฟฟา้ จาก
วัตถุนั้นๆนั้นคือวัตถุแต่ละชนิดจะมีลักษณะการสะท้อนแสงหรือการแผ่รังสีที่เฉพาะตัวและแตกต่างกันไป ถ้า
วัตถุหรือสภาพแวดล้อมเป็นคนละประเภทกัน การสำรวจจากระยะไกลจึงเป็นเทคโนโลยีท่ีใช้ในการจำแนก
และเข้าใจวตั ถุ หรือสภาพแวดลอ้ มต่างๆ จากลักษณะเฉพาะตวั ในการสะท้อนแสงหรือแผร่ ังสี
เครื่องมือท่ีใช้วัดค่าพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าที่สะท้อนหรือแผ่ออกจากวัตถุ เรียกว่า เคร่ืองวัดจากระยะไกล
(Remote sensor) หรือ เคร่ืองวัด (sensor) ตัวอย่าง เช่น กล้องถ่ายรูป หรือ เครื่องกวาดภาพ (scanner)
สำหรบั ยานพาหนะท่ใี ชต้ ิดตง้ั เคร่ืองวดั เรยี กว่า ยานสำรวจ (platform) ไดแ้ ก่ เครือ่ งบนิ หรือ ดาวเทยี ม

สำหรับข้อมูลที่สำรวจจากระยะไกลน้ันจะผ่านกระบวนการวิเคราะห์แบบอัตโนมัตด้วยเคร่ือง
คอมพิวเตอร์และ/หรือ การแปลด้วยสายตา แล้วจึงนำไปประยุกต์ใช้ในด้านเกษตร การใช้ท่ีดิน ป่าไม้
ธรณีวิทยา อุทกวิทยา สมทุ รศาสตร์ อุตนุ ยิ มวทิ ยา และสภาวะแวดล้อม ฯลฯ
การวิเคราะห์ภาพถา่ ยดาวเทียม

การวิเคราะห์ภาพจากดาวเทียมด้วยคอมพิวเตอร์
- การเตรยี มภาพ (Data Preparation)
- การเตรยี มข้อมูลก่อนการวเิ คราะห์ (Pre-Processing)
- การปรับปรงุ คุณภาพของข้อมลู (Image Enhancement)
- การกำหนดประเภทข้อมลู (Nomenclature)
- การจำแนกประเภทข้อมูล (Classification)
- การวเิ คราะห์หลงั การจำแนกประเภทข้อมลู (Post-Classification)
- การวเิ คราะหค์ วามถูกต้อง
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลดาวเทียม (Data Analysis)
- การแปลภาพด้วยสายตา
- การวิเคราะหภ์ าพจากดาวเทยี มด้วยคอมพวิ เตอร์
ดาวเทียมสำรวจทรัพยากร

ดาวเทียม THEOS (Thailand Earth Observation Satellite) ดาวเทียมสำรวจทรพั ยากรดวงแรก
ของประเทศไทย
- กำหนดขึ้นสวู่ งโคจร ปี พ.ศ.2550
- รายละเอียดภาพ
1) 2 เมตร (แบบชว่ งคลืน่ เดยี ว) ความกวา้ งแนวภาพ 22 กม.
2) 15 เมตร (แบบหลายชว่ งคล่ืน) ความกวา้ งแนวภาพ 22 กม.
ประโยชนข์ องรีโมตเซนชิ่ง

1. การพยากรณ์อากาศ กรมอุตุนิยมวิทยาใช้ข้อมูลจากดาวเทียมเพื่อพยากรณ์ปริมาณ และการกระจาย
ของฝนในแต่ละวัน โดยใช้ข้อมูลดาวเทียมท่ีโคจรรอบโลกด้วยความเร็วเท่ากบั การหมุนของโลก ทำให้
คล้ายกับเปน็ ดาวเทียมคงที่(Geostationary) เช่น ดาวเทียม GMS(Geostationary Meteorological
Satellite) และ ดาวเทียมโนอา NOAAท่โี คจรรอบโลกวันละ 2ครั้ง ทำให้ทราบอตั ราความเร็ว ทศิ ทาง
และความรุนแรงของพายทุ ่จี ะเกิดขนึ้ ล่วงหนา้ หรอื พยากรณอ์ ากาศความแหง้ แลง้ ทจ่ี ะเกิดขน้ึ ได้

2. สำรวจการใชป้ ระโยชนท์ ่ดนิ
3. สำรวจดิน
4. สำรวจดา้ นธรณวี ทิ ยาและธรณสี ัณฐานวิทยา
5. การเตือนภัยจากธรรมชาติ
6. ด้านการจราจร
7. ด้านการทหาร
8. ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม

ระบบ GPS

ความหมาย
GPS เป็นระบบดาวเทยี มที่ออกแบบและจดั สรา้ งโดยกองทัพสหรัฐอเมริกา เพ่ือใชใ้ นการนำทาง

(Navigation)
GPS คือ ระบบบอกพิกัดบนพื้นโลกโดยใชด้ าวเทยี ม การรบั สัญญาณจากดาวเทียมทีโ่ คจรอยู่เต็ม

ท้องฟ้า 24 ดวงรับสัญญาณอย่างนอ้ ยต้อง 3 ดวง
GPS เป็นเคร่อื งมือหาตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์บนพื้นผวิ โลกโดยอาศยั สัญญาณอ้างอิงจากระบบ

ดาวเทียม ทำหน้าที่ส่งสญั ญาณจีพเี อส โดยเฉพาะ มชี ื่อเรียกอยา่ งเป็น ทางการวา่ “เครื่องมือหาพิกดั ดว้ ย
ดาวเทียม”
องคป์ ระกอบหลักของระบบ GPS

1. ระบบดาวเทยี มในวงโคจรรอบโลก (The Space segment)
2. สถานีควบคมุ (The Control segment)
3. ผู้ใช้งานสัญญาณจีพีเอส (The User segment)
หลกั การทำงานของระบบ GPS

GPS บอกพกิ ัดบนพื้นโลกโดยใช้ดาวเทียม การรบั สญั ญาณจากดาวเทยี มทโี่ คจรอยูเ่ ต็มท้องฟ้า 24 ดวง
รบั สัญญาณอย่างนอ้ ยต้อง 3 ดวง GPS เปน็ เครอื่ งมือหาตำแหน่งพกิ ัดภมู ิศาสตร์บนพนื้ ผิวโลก โดยอาศัย
สญั ญาณอ้างอิงจากระบบดาวเทียม ทีท่ ำหน้าทีส่ ่งสัญญาณจพี เี อสโดยเฉพาะ มีช่ือเรียกอยา่ งเป็นทางการวา่
“เคร่อื งมอื หาพิกัดดว้ ยดาวเทียม” GPS ในปจั จบุ ันมหี ลายรูปแบบ
ประเภทของเคร่ืองรบั GPS

ประโยชนข์ องระบบ GPS
1. บอกตำแหนง่ วา่ ตอนนี้เราอยูท่ ไ่ี หน
2. บนั ทกึ เส้นทางวา่ เราไปไหนมาบา้ ง
3. ระบบนำรอ่ งนำทางไปจุดหมายที่กำหนด (เคร่ืองบนิ )
4. ระบบตดิ ตามยานพาหนะ
5. ใชใ้ นการกำหนดจดุ พิกัดผิวโลก เพ่อื งานด้านระบบสารสนเทศภมู ศาสตร์ หรือข้อมลู คาวเทยี ม
6. ใชใ้ นการสำรวจรงั วัดทดี่ ิน การสำรวจพ้ืนท่ี และการทำแผนท่ี
7. ใชใ้ นกิจกรรมทางทหาร
8. ใช้ในการศกึ ษาด้านภูมิศาสตรท์ รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
9. การสำรวจพ้นื ท่ี และการทำแผนที่
10. ใชต้ ิดตามการเคลอ่ื นที่ของคน สง่ิ ของ
11. ใช้ในการควบคมุ เครอื่ งจักร เช่น เครอื่ งจักรทางการเกษตร
12. ใช้ในการขนสง่ ทางทะเล
13. ตรวจวัดการเคลือ่ นตัวของเปลือกโลกและสง่ิ ก่อสร้าง
14. ใชอ้ า้ งองิ ในการวัดเวลาทีเ่ ทยี่ งตรงทสี่ ุดในโลก
15. ใช้ในการออกแบบเครือข่ายคำนวณตำแหนง่ ทตี่ ง้ั เชน่ โรงไฟฟ้า ระบบน้ำมนั
16. ใช้ติดตามความปลอดภยั ดา้ นส่งิ แวดล้อม
17. ใช้ในการติดตามอนรุ กั ษ์และควบคมุ สตั ว์
18. ประยกุ ต์ใชด้ ้านกฬี า
19. ใชใ้ นการเดนิ ทางทอ่ งเที่ยว
20. ใช้ในด้านความม่ันคงทางทหาร
21. ใชส้ ำรวจรังวดั ทำแผนที่

ระบบ GIS

ความหมายและหลกั การ

ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) หมายถงึ เครื่องมอื ที่ใชร้ ะบบ
คอมพิวเตอร์เพ่ือใช้ในการนำเข้า จัดเก็บ จัดเตรียม ดัดแปลง แก้ไข จัดการ และวิเคราะห์ พร้อมท้ังแสดงผล
ข้อมลู เชงิ พ้นื ที่ ตามวตั ถุประสงค์ตา่ งๆ ท่ไี ด้กำหนดไว้

ดังน้ัน GIS จึงเป็นเคร่ืองมือท่ีมีประโยชน์เพ่ือใช้ในการจัดการ และบริหารการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดล้อม และสามารถติดตามการเปล่ียนแปลงข้อมลู ด้านพื้นท่ี ให้เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เนอ่ื งจาก
เป็นระบบท่ีเกี่ยวข้องกับระบบการไหลเวียนของข้อมูลและการผสานข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูล
ปฐมภมู ิ (primary data) หรอื ขอ้ มลู ทุตยิ ภูมิ (secondary data) เพอื่ ให้เปน็ ข่าวสารท่มี คี ณุ ค่า

องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์

ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ มีองค์ประกอบท่ีสำคัญหลายอย่าง แต่ละอย่างลว้ นเป็นองค์ประกอบท่ีสำคญั ทัง้ ส้ิน
แต่ท่สี ำคัญประกอบด้วย 4 สว่ น คือ
1. ข้อมูล (Data/Information) ข้อมูลท่ีจะนำเข้าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ควรเป็นข้อมูลเฉพาะเร่ือง
(theme) และเป็นข้อมูลท่ีสามารถนำมาใช้ในการตอบคำถามต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เป็นข้อมูลท่ีมี
ความถูกต้องและเชื่อถือได้ และเป็นปัจจุบันมากที่สุด อน่ึง ข้อมูลหรือสารสนเทศสามารถแบ่งออกได้เป็น 2
ประเภท คอื

1. ข้อมลู ทีม่ ีลกั ษณะเชิงพ้ืนที่ (spatial data)
ข้อมูลเชิงพ้ืนท่ี เป็นข้อมูลที่แสดงตำแหน่งที่ต้ังทางภูมิศาสตร์ (geo-referenced data) ของรูปลักษณ์ของ
พนื้ ท่ี (graphic feature) ซึง่ มี 2 แบบ คือ

1.1ขอ้ มลู ทแ่ี สดงทิศทาง (vector data)
ประกอบดว้ ยลกั ษณะ 3 อย่าง คือ
- ขอ้ มลู จดุ (Point) เช่น ทต่ี ้ังหมู่บ้าน โรงเรยี น เป็นตน้
- ขอ้ มูลเสน้ (Arc or line) เช่น ถนน แมน่ ำ้ ทอ่ ประปา เปน็ ตน้
- ขอ้ มลู พ้นื ที่ หรอื เสน้ รอบรูป (Polygon) เช่น พื้นทีป่ า่ ไม้ ตัวเมอื ง เป็นตน้
ดงั ภาพที่ 2

- ขอ้ มูลท่ีแสดงเปน็ ตารางกริด (raster data)
จะเป็นลักษณะตารางส่ีเหลี่ยมเล็กๆ (Grid cell or pixel) เท่ากันและต่อเน่ืองกัน ซึ่งสามารถอ้างอิง

คา่ พกิ ัดทางภูมิศาสตร์ได้ ขนาดของตารางกริด หรือความละเอียด (resolution) ในการเก็บข้อมูล จะใหญ่หรือ
เล็กข้ึนอยู่กับการจัดแบ่งจำนวนแถว (row) และจำนวนคอลัมน์ (column) ตัวอย่างข้อมูลท่ีจัดเก็บโดยใช้
ตารางกริด เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม Landsat หรือข้อมูลระดับค่าความสูง (digital elevation model: DEM)
เปน็ ต้น

ดงั ภาพที่ 3

1.2 ข้อมลู อธบิ ายพ้ืนที่ (non-spatial data or attribute data)
ฐานข้อมูล (Database) เป็นโครงสร้างของสารสนเทศ (information) ที่ประกอบด้วยข้อมูลเชิงพื้นท่ี
(spatial data) และข้อมูลอธิบาย (non-spatial) ที่มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งการจัดการหรือการเรียกใช้
ฐานขอ้ มลู จะถกู ควบคุมโดยโปรแกรม GIS
ดงั ภาพท่ี 4

2. เคร่ืองคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ เครื่องคอมพิวเตอร์ รวมกันเรียกว่า ระบบฮาร์ดแวร์
(hardware) จะประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์นำเข้า เช่น digitizer scanner อุปกรณ์อ่านข้อมูล เก็บ
รักษาข้อมูล และแสดงผลข้อมูล เช่น printer plotter เป็นต้น ซึ่งอุปกรณ์แต่ละชนิดจะมีหน้าที่และคุณภาพ
แตกต่างกนั ออกไป

3. โปรแกรม หรือระบบซอฟต์แวร์ (software) software หมายถึง โปรแกรมท่ีใช้ในการจัดการระบบ
และสั่งงานต่างๆ เพ่ือให้ระบบฮาร์ดแวร์ทำงาน หรือเรียกใช้ข้อมูลท่ีจัดเก็บในระบบฐานข้อมู ลทำงานตาม
วตั ถุประสงคโ์ ดยท่ัวไปชุดคำส่งั หรือโปรแกรมของสารสนเทศภูมศิ าสตร์ จะประกอบด้วย หนว่ ยนำเข้าข้อมูล หนว่ ย
เกบ็ ข้อมูลและการจัดการข้อมูล หนว่ ยวเิ คราะห์ แสดงผล หน่วยแปลงขอ้ มลู และหนว่ ยโตต้ อบกบั ผูใ้ ช้

4. บุคลากร (human resources) ประกอบด้วย ผู้ใช้ระบบ (analyst) และผู้ใช้สารสนเทศ (user)
ผู้ใช้ระบบหรือผู้ชำนาญการ GIS จะต้องมีความชำนาญในหน้าท่ี และได้รับการฝึกฝนมาแล้วเป็นอย่างดี พร้อม
ที่จะทำงานได้เต็มความสามารถ โดยท่ัวไปผู้ใช้ระบบจะเป็นผู้เลือกระบบฮาร์ดแวร์ และระบบซอฟแวร์ เพ่ือให้
ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ และสนองตอบความตอ้ งการของหน่วยงาน

สว่ นผู้ใช้สารสนเทศ (User) คือนักวางแผน หรือผู้มีอำนาจตัดสินใจ (decision-maker) เพ่ือนำข้อมูล
มาใช้ในการแก้ไขปัญหาตา่ งๆ

นอกจากองค์ประกอบที่สำคัญทั้ง 4 ส่วนแล้ว องค์กรที่รองรับ (organization) ก็นับว่ามีความสำคัญ
ตอ่ การดำเนินงานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ท้ังนเ้ี พราะองคก์ รทเี่ หมาะสม และมีวัตถุประสงคท์ ส่ี อดคล้องกับ
ระบบงานสารสนเทศภมู ิศาสตร์ จะสามารถรองรับและให้การสนบั สนนุ การนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เข้า
มาใช้ในแผนงานขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณ อุปกรณ์ และบุคลากร
ทเ่ี หมาะสมกับหนา้ ที่

การวิเคราะหข์ ้อมูลในระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) มีความสามารถในการนำข้อมูลเชิงพื้นท่ีหลายๆ ชั้นข้อมูล (layers) มา

ซ้อนทับกัน (overlay) เพ่ือทำการวิเคราะห์ และกำหนดเงื่อนไขต่างๆ โดยใช้คอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์
หรือตามแบบจำลอง (model) ต่างๆ ซง่ึ อาจเป็นการเรยี กค้นข้อมูลอย่างง่าย หรอื ซับซ้อน เชน่ โมเดลทางสถติ ิ
หรอื โมเดลทางคณิตศาสตร์ เปน็ ต้น

ท้ังนี้ เน่ืองจากช้ันข้อมูลต่างๆ ถูกจัดเก็บโดยอ้างอิงค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ และมีการจัดเก็บอย่างมี
ระบบ และประมวลผลโดยใชเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์ ผลท่ีได้รับจากการวิเคราะห์ จะเปน็ ช้ันข้อมูลอีกลักษณะหน่ึง
ที่แตกต่างไปจากช้นั ข้อมลู เดิม
ดังภาพที่ 5

ประโยชน์ของ GIS
GIS เป็นระบบสารสนเทศท่ีรวบรวมข้อมูลเชิงพ้ืนท่ี (spatial data) และข้อมูลอธิบายต่างๆ

(attribute data) ดงั นั้น จึงมีประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ และตอบคำถามเก่ียวกับความสัมพันธ์ด้านพื้นทไ่ี ด้
หลายประการ ซง่ึ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 5 ประเภท คอื

1. Location what is at …? มีอะไรอยู่ที่ไหน คำถามแรกท่ี GIS สามารถตอบได้ คือ มีอะไรอยู่ที่ไหน
หากผู้ถามรู้ตำแหน่งท่ีแน่นอน เช่น ทราบชื่อหมู่บ้าน ตำบล หรืออำเภอแต่ต้องการรู้ว่าที่ตำแหน่งน้ันๆ ที่
รายละเอยี ดขอ้ มลู อะไรบ้าง

2. Condition Where is it? สิ่งท่ีอยากทราบอยู่ที่ไหน คำถามน้ีจะตรงกันข้ามกับคำถามแรก และ
ต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูล ยกตัวอย่างเช่น เราต้องการ ทราบว่าบริเวณใดมีดินที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช อยู่
ใกล้แหล่งน้ำ และไมอ่ ยู่ในเขตปา่ อนุรักษ์ เป็นต้น

3. Trends what has changed since…? ในช่วงระยะท่ีผ่านมามีอะไรเปล่ียนแปลงบ้าง คำถามท่ี
สามเป็นการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในระยะช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง ซึ่งคำถามน้ีจะเก่ียวข้องกับ คำถามท่ีหน่ึง
และคำถามท่ีสอง ว่าต้องการทราบการเปล่ียนแปลงของอะไร และสิ่งที่ได้เปล่ียนแปลงอยู่ท่ีไหน มีขนาดเท่าไร
เปน็ ตน้

4. Patterns what spatial patterns exist? ความสัมพันธ์ด้านพื้นท่ีเป็นอย่างไร คำถามน้ีค่อนข้าง
จะซับซ้อนกว่าคำถามที่ 1-3 ตัวอย่างของคำถามน้ี เช่นเราอยากทราบว่าปัจจัยอะไร เป็นสาเหตุของการเกิด
โรคท้องร่วงของคนท่ีอาศัยอยู่เชิงเขา หรือเชื้อโรคมาจากแหล่งใด การตอบคำถามดังกล่าว จำเป็นต้องแสดง
ที่ต้ังแหล่งมลพิษต่างๆ ที่อยู่ใกล้เคียง หรืออยู่เหนือลำธาร ซ่ึงลักษณะการกระจาย และตำแหน่งท่ีตั้งของ
สถานทด่ี ังกลา่ วทำให้เราทราบถึงความสัมพันธ์ของปญั หาดังกล่าว เปน็ ตน้

5. Modeling What if…? จะมีอะไรเกิดข้ึนหาก คำถามน้ีจะเกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ว่าจะมีอะไร
เกิดขึ้นหากปัจจัยอิสระ (Independence factor) ซ่ึงเป็นตัวกำหนดการเปลี่ยนแปลงไป ยกตัวอย่างเช่น จะ
เกิดอะไรข้ึนหากมีการตัดถนนเข้าไปในพื้นท่ีป่าสมบูรณ์ การตอบคำถามเหล่าน้ีบางครั้งต้องการข้อมูลอ่ืน
เพิ่มเติม หรอื ใชว้ ธิ กี ารทางสถิตใิ นการวเิ คราะห์ เป็นต้น

ใบงานที่ 3
เรื่อง เครอื่ งมอื ทางภมู ิศาสตร์

1. ถา้ ต้องการทราบระทางจากที่ท่หี นึ่งไปยงั อกี ทีหนงึ่ ผเู้ รียนจะใชเ้ คร่ืองมือทางภูมิศาสตรช์ นิดใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………

2. ภาพถา่ ยจากดาวเทียม มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………

3. แผนท่ี มปี ระโยชนใ์ นดา้ นใดบ้าง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………

4. ถ้าตอ้ งการทราบว่าประเทศไทยอยู่ พิกดั ภมู ิศาสตรท์ ีเ่ ท่าไหร่ ผเู้ รยี นจะใชเ้ คร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ชนิด
ใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………

5. GIS และ GPS ตา่ งกันอย่างไร

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………

แบบประเมนิ กลุ่ม ระดบั คุณภาพการปฏิบตั ิ
4321
รายการพฤตกิ รรม

1. มกี ารปรึกษาและวางแผนรว่ มกนั ก่อนทำงาน
2. มีการแบ่งหน้าท่อี ย่างเหมาะสมและสมาชิกทำตามหน้าทที่ ุกคน
3. มีการปฏิบัตงิ านตามขั้นตอน
4. มกี ารให้ความช่วยเหลือกนั
5. ให้คำแนะนำกลุ่มอนื่ ได้

รวม

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยครัง้ หรอื ไมเ่ คยปฏิบัตเิ ลย

เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน 4 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ
3 หมายถงึ
17-20 2 หมายถงึ ดมี าก
13-16 1 หมายถงึ ดี
9-12 พอใช้
5-8 ปรับปรงุ

แบบประเมนิ ผลงานกลุ่ม

รายการ คุณภาพผลงาน
4321
1. ผลงานเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่กี ำหนด
2. ผลงานเสรจ็ ทันตามกำหนดเวลา
3. ผลงานมคี วามคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์
4. ผลงานแสดงถงึ การนำความรู้ท่ีได้มาประยุกต์ใช้
5. ผลงานเปน็ ระเบียบเรียบร้อย

รวม

เกณฑก์ ารให้คะแนน

ผลงานสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบูรณ์ ชัดเจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานสอดคล้องกบั รายการประเมินเปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 3 คะแนน
ผลงานสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นบางส่วน ให้ 2 คะแนน
ผลงานไมส่ อดคล้องกบั รายการประเมิน ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน 4 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ
3 หมายถึง
17-20 2 หมายถึง ดมี าก
13-16 1 หมายถงึ ดี
9-12 พอใช้
5-8 ปรบั ปรุง

แบบประเมินการนาเสนอผลงาน

รายการพฤติกรรม คุณภาพการปฏบิ ัติ
4321
1. นำเสนอเนือ้ หาของผลงานได้ถกู ต้อง
2. การนำเสนอมีความน่าสนใจ
3. มีความเหมาะสมกับเวลา
4. มคี วามกลา้ แสดงออก
5. บคุ ลกิ ภาพดี ใชน้ ำ้ เสยี งเหมาะสม

รวม

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
การปฏบิ ตั สิ มบรู ณ์ ชัดเจน ให้ 3 คะแนน
การปฏบิ ัติยังมขี อ้ บกพรอ่ งในจดุ ทีไ่ ม่สำคญั ให้ 2 คะแนน
การปฏบิ ัติยงั มขี อ้ บกพรอ่ งเปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ปฏิบัติไมไ่ ดเ้ ลย

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ 4 หมายถงึ ระดับคุณภาพ
ช่วงคะแนน 3 หมายถึง
2 หมายถึง ดีมาก
17-20 1 หมายถึง ดี
13-16 พอใช้
9-12 ปรับปรุง
5-8

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล

รายการพฤตกิ รรม คณุ ภาพการปฏบิ ัติ
4321
1. มกี ารวางแผนก่อนการทำงาน
2. ปฏบิ ตั งิ านด้วยความต้ังใจ
3. มีการปฏบิ ตั ิงานตามขัน้ ตอน
4. มกี ารให้ความชว่ ยเหลือเพ่ือน
5. ให้คำแนะนำเพื่อนคนอนื่ ได้

รวม

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้งั ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครงั้ หรือไม่เคยปฏิบตั ิเลย

เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ระดบั คุณภาพ
ชว่ งคะแนน
ดมี าก
17-20 4 หมายถึง ดี
13-16 3 หมายถึง พอใช้
9-12 2 หมายถึง ปรับปรุง
5-8 1 หมายถึง

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ า สงั คมศึกษา สค21001
จำนวน 3 หนว่ ยกิต

ครง้ั ที่ 3 วนั ที่.........เดอื น.............................พ.ศ.................

รปู แบบการจัดการเรียนรู้ แบบพบกลุม่ จำนวน 6 ชว่ั โมง

เรื่อง ประวตั ิศาสตร์ทวีปเอเชีย

ตวั ช้วี ดั 1. สามารถนำเหตุการณใ์ นประวัติศาสตร์มาวิเคราะหใ์ หเ้ ห็นความเปลีย่ นแปลงท่ีเกิดขนึ้ กับประเทศ
ไทย และประเทศในทวีปเอเชีย
เน้ือหา 1. เหตกุ ารณส์ ำคญั ทางประวัติศาสตร์ท่ีเกิดขนึ้ ในประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชีย

- ยุคล่าอาณานิคม
- ยคุ สงครามเยน็
- ฯลฯ
ข้นั ตอนการจดั กระบวนการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 กำหนดสภาพปัญหาการเรยี นรู้

1. ครทู ักทายกล่าวนำและสรา้ งความคนุ้ เคยกับผูเ้ รยี นพร้อมกับเปิดประเด็นพดู คยุ กบั
ผู้เรยี นเร่ืองความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั ประวตั ศิ าสตรข์ องผูเ้ รยี นแตล่ ะคน และรว่ มกนั
อภปิ รายความรเู้ บ้ืองตน้ เกย่ี วกับประวตั ิศาสตรเ์ พื่อนำเข้าสู่บทเรยี น

2. ครเู ปิดภาพยนตรเ์ รื่องพระนเรศวรให้ผ้เู รยี นดู และสร้างความเข้าใจรว่ มกนั และ
วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงทางประวัติศาสตร์ตั้งแตย่ ุคอดตี ถึงยุคปจั จบุ นั

3. ครแู ละผู้เรยี นร่วมกันอภิปรายและสร้างความเขา้ ใจเก่ียวกบั เหตุการณ์ทาง
ประวตั ศิ าสตร์โดยเรียงลำดับเหตกุ ารณ์ก่อน-หลงั

4. ครเู ปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นซักถามข้อสงสยั กอ่ นเขา้ ส่บู ทเรยี นในขั้นต่อไป
ขั้นท่ี 2 แสวงหาขอ้ มลู และจัดการเรยี นรู้

1. ครแู ละผู้เรียนวางแผนวธิ ีการเรยี นรเู้ น้ือหาทีก่ ำหนด
2. ครแู จกใบความรู้ เรอ่ื ง การแบ่งยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์
3. ครูแบ่งกลุ่มผู้เรียน 9 กลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มคัดเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้ากลุ่ม

และเลขานุการ และสมาชิก จากน้ันให้หัวหน้ากลุ่มออกมาจับฉลากเพื่อเลือกหัวข้อ
ของการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและประวัติศาสตร์ไทย ท้ังหมด 9 เรื่อง
และให้ผู้เรียนนำเอาความรู้เก่ียวกับยุคประวัติศาสตร์สากลและประวัติศาสตร์ไทยท่ี
ศึกษาแล้วนำมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบันในด้านใดบ้าง และนำเสนอ
เพ่อื แลกเปลี่ยนเรียนรหู้ น้าช้นั เรียน
ประวตั ศิ าสตรส์ ากล
1. สมยั โบราณ

2. สมัยกลาง
3. สมยั ใหม่
4. สมัยปัจจุบัน
ประวัติศาสตร์ไทย
1. สมยั โบราณ / สมัยกอ่ นสโุ ขทัย

2. สมยั สุโขทัย
3. สมยั อยุธยา
4. สมยั ธนบรุ ี
5. สมัยรตั นโกสินทร์

ขัน้ ท่ี 3 การปฏบิ ัติและการนำไปใช้
1. ผู้เรยี นส่งตัวแทนนำเสนอความรเู้ กีย่ วกบั ยุคประวตั ศิ าสตร์สากลและประวัตศิ าสตร์
ไทยทจ่ี บั ฉลากได้แลว้ นำความรู้น้นั มาปรบั ใช้ในการดำเนินชวี ติ ในสงั คมปจั จุบนั
2. ผู้เรยี นสรุปสาระสำคัญท่ีไดร้ ับจากการนำเสนอของแตล่ ะกลุ่มลงในสมุดแล้วส่งครู

ข้นั ท่ี 4 การประเมินผลการเรยี นรู้
1. สงั เกตจากการมสี ว่ นร่วมของผเู้ รียน
2. ผลงาน/ การนำเสนอ
3. สมุดส่งงาน

สื่อการเรยี นรู้
1. ใบความรู้ เรือ่ ง การแบง่ ยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์
2. หนังสือเรียน
3. อินเตอรเ์ น็ต
4. ห้องสมดุ ประชาชน
5. แบบทดสอบ

การวัดและประเมินผล
1. การมีสว่ นรว่ มในการทำกจิ กรรมกลุ่ม
2. ผลงาน/ การนำเสนอ
3. สมุดสง่ งาน


Click to View FlipBook Version