The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ระดับ ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ระดับ ม.ต้น

แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ระดับ ม.ต้น

ใบความรทู้ ี่ 3
เร่ือง การแบ่งยุคทางประวัตศิ าสตร์ไทยและสากล

1.ความสัมพนั ธข์ องยุคสมัยทางประวัติศาสตรส์ ากล
ประวัตศิ าสตร์สากลแบ่งยุคสมัยทางประวตั ิศาสตรอ์ อกเป็นสมัยโบราณสมัยกลาง สมัยใหม่

และสมยั ปจั จบุ นั เหน็ แล้ววา่ ชว่ งเวลาของสมัยโบรานยาวนานมาเกือบ 4,000 ปี สมัยกลางประมาณ 1,000
ปี สมยั ใหม่เกือบ 500ปี สมัยปจั จบุ นั หรือร่วมสมยั 60ปี (นับถึง พ.ศ.2548) ประวตั ศิ าสตรส์ มัยกลาง เมอ่ื กรุง
โรมถกู พวกอารยะชนโจมตีแตกใน ค.ศ.476ซง่ึ ถือเปน็ การล่มสลายของจักรวรรดโิ รมนั ตะวันตกและส้ินสดุ
ประวตั ิศาสตรส์ มยั โบราน จริงๆแลว้ ไม่ใช่เปน็ การ “ล่มสลาย”แตเ่ ปน็ การค่อยๆแตกแยกของจักรวรรดโิ รมนั
ตะวนั ตกมากกว่า สภาพของจักรวรรดโิ รมันตะวนั ตกที่กล่าวมา แม้ทุกอยา่ งอยู่ในสภาพเส่ือมสลาย แต่ก็ไม่ได้
หมายความวา่ ทุกอยา่ งจะสญู สนิ้ ยังมเี รอ่ื งสำคัญอย่างน้อย 2 ประการทีม่ คี วามสัมพนั ธ์ต่อเนอ่ื งกันมากบั
ประวตั ิศาสตร์สมัยกลางดังน้ี

1.1 มรดกอารยะธรรมของจักรวรรดโิ รมนั พวกอาณารยะชนหลายพวกซึ่งโจมตีและ
ปล้นสะดมเมืองตา่ งๆ ของจกั รวรรดิโรมันตะวันตกเคยอยูภ่ ายใต้อำนาจและเปน็ ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก
ไดเ้ หน็ ความเจริญรุ่งเรอื ง ไดเ้ รียนรแู้ ละรับอารยะธรรมของจกั รวรรดโิ รมนั ตะวันตก ผู้นำอาณารยะชนท่ีมี
ความสามารถและทะเยอทะยานท่ีจะฟืน้ ความเปน็ เอกภพ ความรุ่งเรืองจักรวรรดิโรมนั ตะวนั ตกข้ึนมาใหม่ทำ
ให้อารยะธรรมโรมนั รบั การทอดมา

1.2 ครสิ ต์ศาสนา การท่ีผนู้ ำของจักรวรรดิโรมนั ตะวันตกยอมรบั คริสต์ศาสนาอยา่ งเป็น
ทางการได้เป็นแบบอยา่ งใหผ้ ูน้ ำหลงั การลม่ สลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกรบั ปฏบิ ตั ิต่อมา ดงั นน้ั ครสิ ต์
ศาสนาจึงยังคงอยู่ และเป็นท่ีพึงของผู้คนในเวลาบา้ นเมืองแตกแยก คริสต์ศาสนาจึงช่วยรกั ษาและสืบทอด
ความคดิ และอารยะธรรมโรมัน ประวตั ิศาสตร์สมยั อื่นๆก็มลี ักษณะเชน่ เดียวกันดังนี้

(1) ลักษณะสำคัญของสมยั เก่าสน้ิ สุดลง ซง่ึ เปน็ การสนิ้ สุดของจักรวรรดิท่ีย่ิงใหญ่ รุ่งเรอื งมานาน
(2) เกิดลักษณะสำคญั แบบใหม่ขน้ึ มา ซึ่งแตกต่างจากสมยั เกา่ มาก เชน่ การแตกแยกว่นุ วาย
เพราะไม่มีรัฐบาลท่ีมีอำนาจปกครองใสมัยกลาง
(3) มารดกทางอารยะธรรมยังคงมกี ารสืบทอดต่อกนั มา ดังนัน้ ยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตรจ์ งึ มี
การการสิ้นสดุ การเร่ิมต้น และความสัมพนั ธ์

2.ความสมั พนั ธ์ของยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ไทย
ในประวตั ศิ าสตรไ์ ทย การแบ่งยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตรอ์ าจแตกตา่ งจากประวัติศาสตร์สากลบา้ ง

เพราะนยิ มแบ่งโดยกำหนดให้เริม่ และการสน้ิ สดุ ของอานาจักร หรอื ราชธานี หรอื ราชธานี หรือราชวงศเ์ ป็นยุค
สมยั ทางประวัติศาสตร์ แตค่ วามสมั พนั ธข์ องแตล่ ะยุคสมยั ก็มีความต่อเน่อื งสัมพันธก์ นั การสน้ิ สุดประวตั ิศาสตร์
สมยั อยุธยาและการเร่ิมสมัยธนบรุ ี สมยั รัตนโกสินทร์ กรุงศรอี ยธุ ยาข้าศึกโจมตแี ตกเมื่อ พ.ศ.2310 บ้านเมอื ง
ถกู ไฟไหม้ ผ้คู นทุกคนชนชน้ั ทั้งหญงิ ชายถกู กวาดต้อน บางส่วนหลบหนเี พ่อื ความอยู่ รอด ทรพั ยส์ มบัติถกู ยึด
บา้ นเมืองอยู่ในสภาพจลาจล แตกแยก ถือเปน็ การสนิ้ สดุ ความรุ่งเรืองของสมัยอยธุ ยาทีม่ ีต่อเนอื่ งถงึ 417 ปี
แมว้ ่ากรงุ ศรีอยุธยาจะถกู ทำลายลงอย่างย่อยยับ แต่มรดกทางอารยะธรรมของกรงุ ศรอี ยุธยากย็ ังมีความสำคัญ
ต่อสมัยธนบุรแี ละสมยั รัตนโกสินทร์จนกระท่ังปัจจุบัน สมยั ธนบุรซี งึ่ มกี ารย้ายราชธานีและเปน็ สมยั ที่เต็มไป
ดว้ ยการสงครามแตส่ มเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราชก็ทรงพยายามทำให้กรุงธนบรุ เี ปน็ เหมือนสมยั อยธุ ยา ทั้งการ
ปกครอง ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม เศรษฐกิจและสังคม แต่พระองค์ทรงพระองคท์ รงทำได้ไม่เตม็ ที่ เพราะมี
ข้อจำกัดทั้งสภาพแวดลอ้ มและเวลา

3.สรุป การแบง่ ยุคสมยั ทางระวัตศิ าสตรก์ ็เพื่อความสะดวกในการศกึ ษาระวตั ศิ าสตรใ์ ห้เกดิ ความเข้าใจงา่ ย
และเห็นลักษณะสำคญั ของประวตั ิศาสตร์ในแตล่ ะช่วงเวลาร่วมกนั เห็นการเร่มิ ต้นใหมข่ องเหตุการณ์ใน
ชว่ งเวลาหนง่ึ ได้ชดั เจน แตก่ ารแบ่งยคุ สมัยทางยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ก็ไม่ใช่การตัดแยกประวัติศาสตร์ออก
จากกันจรงิ ๆ อารยะธรรมบางประการของยุคสมยั เก่าทีเ่ ปล่ียนไป ยังคงมีความสัมพนั ธต์ อ่ เน่ืองกับสมัยเร่ิมตน้
ใหม่หรือหลายสมยั ต่อมา เช่น ระบอบการปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม ศิลปวฒั นธรรมธรรมอย่างใดอยา่ งหนง่ึ
หรอื หลายอย่าง ประวัตศิ าสตร์จงึ มคี วามสมั พันธ์ตอ่ เน่ืองทั้งผู้คนและอารยะธรรม

ยคุ หินเกา่ ( Paleolithic หรือ The Old Stone Age ) พฒั นาการในยคุ หนิ เก่า สรปุ ได้ดงั นี้

ชอ่ื เรยี กมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ เร่ืองท่ีคน้ พบ

ระยะเวลาโดยประมาณ และเคร่ืองมือหนิ

2 ล้านปี Australopitheecus เรยี กกนั ว่า มนษุ ย์วานร

1.75 ล้านปี Homo habilis

1.5 ล้านปี Homo erectus

หนิ เก่าตอนตน้ เครือ่ งมือแบบเชลลนี พบมาก เครอ่ื งมือหินกะเทาะหรือขวาน

ตอนกลางของยโุ รป กำปน้ั ใช้สบั ตดั ขดู

และเคร่ืองมือแบบอาชลนี มนษุ ยไ์ ฮเดนเบิร์ก

มนุษยช์ วา มนุษยป์ กั กิ่ง ในเอเชีย

หนิ เกา่ ตอนกลาง เครือ่ งมอื แบบมูส์เตเรียน ปลาย มนษุ ย์นแี อนเดอธลั (Neanderthal

ประมาณ 150,000 ปี ระหว่างหิมะ แหลม Man) กะโหลกศรี ษะแบน หนา้ ผาก

ละลาย ลาด เรม่ิ รู้จักศลิ ปะวาดภาพสัตว์บน

ผนังถ้ำ เร่ิมมีพิธีฝงั ศพ

หินเกา่ ตอนปลาย ประมาณ 40,000 เครื่องมอื แบบแมกดาเลเนยี น มนษุ ยโ์ ครมนั ยอง ( Cro-

ปี ระยะที่ 4 ของยุคน้ำแข็งสดุ ทา้ ย magnonan) พบท่ฝี รง่ั เศส

เครื่องมือทำจากกระดูก เขาสตั ว์

เครอ่ื งประดับหลายรปู แบบ

ภาพเขยี นในถำ้ ทเ่ี สปนและฝร่งั เศส

ตวั อย่างหลักฐานยคุ หินเก่า ซ่ึงแบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนต้น ตอนกลางและตอนปลาย
ยุคหินเก่าตอนตน้ เครื่องมือหินกะเทาะ ไดแ้ ก่ ขวานมอื หรือ ขวานกำป้ัน พบมากในยุโรปตอนกลาง อายุ
ใกล้เคยี งกบั มนุษย์ชวา และมนุษยป์ กั ก่ิง ที่พบในเอเชยี มนุษย์บางกลุ่ม เช่น มนุษยไ์ ฮเดนเบริ ก์ สามารถพัฒนา

เครื่องมือให้มีประสิทธภิ าพมากขน้ึ เช่น เคร่ืองมอื หนิ กะเทาะแบบอาชลีน (Acheulean) เป็นตน้

ตวั อย่างเครื่องมือหินกะเทาะแบบ อาชลนี ( Acheulean ) ยุคหนิ เกา่ ตอนกลาง รปู รา่ งของ
เคร่อื งมือหินกะเทาะแบบน้มี ีปลายคอ่ นข้างแหลม มนุษยก์ ลมุ่ ท่ที ำเครื่องแบบน้ี ไดแ้ ก่ นีแอนเดอธลั (
Neanderthal ) ในเยอรมันนี เครอ่ื งมือหนิ กะเทาะท่ีทำขน้ึ เรยี กกนั ว่า แบบ มสู เ์ ตเรยี น ( Mousterian )

เครอื่ งมือหนิ กะเทาะ แบบมูส์เตเรยี น (Mousterian )

ภาพจำลองนีแอนเดอธลั ( Neanderthal ) อายกุ ว่า 60,000 ปีมาแลว้ ยคุ หนิ เก่าตอนปลาย
เปน็ ผลงานของมนุษยโ์ ครมนั ยอง เรยี กกันวา่ แบบแมกดาเลเนยี น (Magdalenian ) ซ่ึงนอกจากทำดว้ ยหนิ ไฟ
แล้ว ยงั นำกระดูกสตั วเ์ ขาสัตว์ เปลือกหอยและงาช้าง มาใช้ ประโยชน์ เครอื่ งมือสมยั นีม้ ีความประณีตมาก
รู้จกั ใชม้ ดี มดี ้าม ทำเข็มจากกระดกู สตั ว์ มกี ารฝนและขดั เครอ่ื งมือใหเ้ รยี บและคม ใช้ประโยชนไ์ ด้หลายด้าน
มากข้ึน

ศึกษาภาพเพิ่มเตมิ ไดจ้ าก http://www.iquat.u-bordeaux.fr/paleo-art/Images.htm เคร่อื งมือ
หนิ ของพวกโครมนั ยองแบบแมกดาเลเนยี นจดั เป็นแบบสดุ ท้ายของยคุ หินเกา่ ตอนปลาย มพี ัฒนาการมากข้นึ
รจู้ กั ประดษิ ฐเ์ ขม็ ทำจากกระดูกสัตว์ แสดงวา่ เริ่มรจู้ ักการเย็บเคร่ืองนุ่งห่มจากหนงั สตั ว์ และทำเคร่ืองมือ
เครื่องใชห้ ลากหลายมากขึ้น เช่น ฉมวกจับปลา เปน็ ต้น ทส่ี ำคัญคือ เรมิ่ รจู้ กั ทำเครื่องประดบั และวาดภาพใน
ผนังถ้ำ ศลิ ปะแบบแมกดาเลเนยี นท่ีมชี ่อื เสียงท่สี ุด ได้แก่ ภาพวาดบนผนังถำ้ ในประเทศฝรงั่ เศสและเสปน

ภาพจากถ้ำ Lascaux
ศกึ ษาเพิม่ เติมได้จาก http://www.culture.gouv.fr/culture/arcnat/lascaux/en/

ปลายยคุ หินเก่า เครอื่ งมือหินมีขนาดเลก็ ลง และสามารถใช้ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มากขึ้น บาง
แห่งจึงจัดเปน็ ยุคหินกลาง ระหว่าง 10,000 – 6,000 ปี
2. ยคุ หินใหม่ ( Neolithic หรือ The New Stone Age ) เร่ิมต้นในชว่ ง 6,000 ปกี ่อน

คริสตกาล แบง่ ตามลักษณะเครอ่ื งมอื หนิ ไดแ้ ก่ หินขดั คือ การทำเครอื่ งมือหนิ ขัดจนบางเรียบ
มดี ้าม ทำให้คม ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย บางแหง่ นำซุงมาขุดเป็นเรือ ทำธนูและลกู ศร รู้จกั นำสุนขั มาเลีย้ ง
ในราว 8,000 ปีกอ่ นครสิ ตกาล ปรากฏหลักฐานวา่ มนษุ ยเ์ ร่ิมรู้จกั ทำการเกษตรอย่างเป็นระบบ สามารถ
เพาะปลูกพชื และเก็บไวเ้ ปน็ อาหาร รูจ้ ักทอผ้าและทำเครื่องปนั้ ดินเผา แหลง่ โบราณคดที ี่เก่าท่สี ุด คือ บริเวณ
ตอนเหนอื ของเมโสโปเตเมยี หรืออิรคั ในปจั จบุ นั

ตวั อยา่ งเคร่ืองมือหินขัด และเคร่ืองปนั้ ดินเผา

ขวานหินขัดก่อนใส่ด้าม ขวานหินขัด พร้อมดา้ มไม้

เคร่อื งป้นั ดินเผายุคหนิ ใหม่ พบในประเทศจีน
การขยายตัวของการเกษตรกรรมระหวา่ ง 8,000 – 5,000 ปีก่อนคริสตกาล เปน็ ปัจจัยสำคญั
นำไปส่กู ารสร้างสรรค์ความเจริญระดับอารยะธรรมในเวลาต่อมา จากเอเชียตะวนั ตก ไปสดู่ า้ นตะวันออกเฉยี ง
ใต้ของยุโรป ในราว 4,000 ปกี อ่ นครสิ ตกาล การเพาะปลกู และเลย้ี งสตั ว์ เพอ่ื เป็นอาหารของชุมชนและ
แลกเปลย่ี นกบั ชมุ ชนอนื่ ๆ ได้ขยายไปสูบ่ รเิ วณเอเชยี กลางและรอบ ๆ ทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนียน

เจอริโก หนง่ึ ในแหลง่ โบราณคดียคุ หนิ ใหม่
ศกึ ษาเพม่ิ เตมิ จากhttp://www.bibleplaces.com/jericho.htm
ชมุ ชนเจอริโกเปน็ ตวั อย่างของหมบู่ ้านยคุ หินใหม่ ที่เร่ิมมีการปลูกขา้ วสาลแี ละขา้ วบารเ์ ลย์
ร้จู ักใช้เครอ่ื งมอื ล่าสตั วแ์ ละทำภาชนะจากดินเหนยี ว สำหรับเก็บข้าวเปลือกและใสอ่ าหาร ตง้ั แตร่ าว 5,000ปี
ก่อนคริสตกาล สมยั หนิ ใหม่จัดเป็นการปฏิวัตคิ รงั้ แรกของมนษุ ย์ ท่ีประสบความสำเรจ็ ข้ันต้นในการ ปรับตวั ให้
เขา้ กบั ขอ้ จำกัดของธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ไม่ต้องร่อนเร่ย้ายถน่ิ และเปน็ ชว่ งเวลา เริม่ ตน้ การรวมกลมุ่ เปน็
ตัง้ หลักแหลง่ ในบริเวณท่ีมแี หล่งน้ำอุดมสมบรู ณ์ (แม้วา่ ยังมบี างกลมุ่ ที่ยังคงวิถชี ีวติ ผูกพันกบั การเลยี้ งปศุสตั ว์
ทตี่ อ้ งเปลยี่ นท่ไี ปตามความอุดมสมบรู ณ์ของท่งุ หญ้า เช่น พวก อาณารายะชนมองโกล เปน็ ตน้ ) ความสามารถ
ในการเพาะปลูกและเล้ยี งสตั ว์เป็นปัจจยั สำคญั ทีท่ ำให้จำนวนประชากรโลกเพิม่ ข้ึนถึง 10 เท่าและกระจายอยู่
ทว่ั โลก ทั้งยงั เรมิ่ มีความเช่ือทางศาสนา แสดงความเคารพอำนาจของธรรมชาติ เพ่อื ใหม้ แี ตค่ วามอุดมสมบรู ณ์
ตัวอยา่ งความเชื่อที่สำคัญ คอื การนำก้อนหนิ ขนาดกลางหรือขนาดใหญ่มาเรยี งตอ่ กนั เรยี กว่า เมกาลธิ ิค
( Megalithic ) เชน่ สโตนเฮนจ์ (The Stonehenge) ในอังกฤษ

สโตนเฮนจ์ ( The Stonehenge ) Wiltshire, England

ภาพจำลอง สโตนเฮนจ์ สร้างตามแบบเสมือนจริง
ศกึ ษาเพิ่มเติมไดจ้ ากwww.windows.ucar.edu/.../ uts/megalith.html

บางแหง่ มคี วามเชือ่ เรอ่ื ง การบชู ารูปผู้หญงิ อวบอว้ น แสดงถึงความอดุ มสมบรู ณ์และการให้
กำเนดิ ชีวิตใหม่ บางแห่งมกี ารบชู ายัญสาวพรหมจรรยห์ รือส่ิงมชี ีวิตอน่ื ๆ เพื่อใหเ้ ทพเจ้าพอใจและนำมาซ่ึง
ความอุดมสมบูรณ์ การอยูเ่ ป็นหลักแหลง่ มีประชากรมากข้ึนและมีอาหารอุดมสมบูรณ์ ทำให้มนุษย์ยุคหนิ ใหม่
มเี วลามากขึ้นและเร่ิมแบ่งงานตามความถนดั สามารถนอกจากร้จู กั ทำเครื่องปัน้ ดนิ เผาแลว้ ยงั รู้จักเทคโนโลยี
สำหรบั ทำเคร่ืองมือ เคร่ืองใชจ้ ากสำรดิ และเหล็ก ดงั นี้

2.1 สมยั โลหะ ประกอบด้วยสมยั สำรดิ และสมยั เหล็ก สมัยน้ีเครื่องมอื เคร่ืองใช้ ทำจากสำรดิ
และเหล็ก กำหนดอายุดว้ ยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ อยใู่ นราว 5,600 – 1,200 ปี กอ่ นคริสตกาล เริ่มตน้ เม่ือ
มนษุ ยพ์ บวธิ ีถลงุ แร่ทองแดงและดบี กุ นำมาผสมผสานกนั เปน็ สำรดิ สามารถทำแม่พิมพ์เป็นเคร่ืองใช้
เคร่ืองประดบั และอาวุธหลากหลาย เชน่ ใบหอก กำไล กลองมโหระทึก เปน็ ต้น

2.2 สมยั เหล็ก ประมาณ 1,200 ปีก่อนคริสตกาล เปน็ พฒั นาการอีกข้ันหนงึ่ ของมนษุ ย์ที่
สามารถทำเครื่องมือเครือ่ งใช้ทคี่ งทนมากขึน้ จงึ มีเคร่ืองมือการเกษตรกรรมทใี่ ช้ในการผลิตไดม้ ปี ระสิทธภิ าพ
มากข้นึ บางกล่มุ รจู้ ักเทคโนโลยสี ำหรับถลงุ เหลก็ และนำมาตีเปน็ ดาบและอาวุธตา่ ง ๆ จึงเป็นท่มี าของการสร้าง
กองทพั ขนาดใหญ่ ส่งผลตอ่ การเปล่ยี นรูปแบบสงครามและยุทธวิธีในการรบอยา่ งต่อเน่ือง
3. ยคุ ประวตั ิศาสตร์ เร่ิมตน้ ราว 3,000 ปีกอ่ นครสิ ตกาล เป็นช่วงเวลาท่มี นุษยเ์ รม่ิ รจู้ ักการประดิษฐ์ตวั อักษร
ใชบ้ นั ทึกเร่อื งราวและนำมาใช้สอื่ สารระหว่างกัน ในท่ีนข้ี อกลา่ วโดยสรุปคอื สมัยนเี้ ร่มิ มีชุมชนขนาดใหญแ่ ละมี
ความเจริญในระดบั อารยะธรรมตามแหลง่ ตา่ ง ๆ แบ่งย่อยได้ดังน้ี

1. สมยั โบราณ แหลง่ อารยะธรรมเก่าท่ีสุด ไดแ้ ก่ เมโสโปเตเมีย ประมาณ 3,000 ปี
กอ่ นครสิ ตกาล ผคู้ นในบรเิ วณลมุ่ แมน่ ้ำไทกริส-ยเู ฟรตสิ หรอื ดนิ แดนพระจันทรเ์ สี้ยวเปน็ กลุ่มแรกที่ได้ประดิษฐ์
อักษรคนู ิฟอร์ม บันทึกเรื่องราวตา่ ง ๆ ปจั จุบันคอื บริเวณประเทศอิรัคและบางสว่ นของซีเรีย
แหล่งอารยะธรรมที่มีอายุในเวลาใกลเ้ คยี งกันคอื อยี ิปต์ ชุมชนบรเิ วณลมุ่ แม่น้ำไนลเ์ จา้ ของอักษรเฮียโรกรฟิ
ฟิคเป็นผสู้ ร้างสรรค์อารยะธรรมอียิป เริม่ ต้งั แตป่ ระมาณ 3,300 ปกี ่อนครสิ ตกาล จนถงึ ประมาณ 30 ก่อน
ครสิ ตกาล เมอ่ื อียปิ ต์ตกเป็นเมอื งข้ึนของโรมนั จีน เรมิ่ ต้นด้วยราชวงศช์ าง บริเวณลุ่มแม่น้ำเหลอื ง ตั้งแต่
ประมาณ 1,800 ปกี ่อนครสิ ตกาลฮารัปปา-โมเฮน็ โจดาโร บริเวณลมุ่ แม่น้ำสินธุ ประมาณ 3,000 ปี แหล่ง
อารยะธรรมทีส่ ำคญั ในสมัยต่อมา คือ กรีก พัฒนาจากอารยะธรรมไมนวล ที่เกาะครตี ราว 3,000 ปกี ่อน
ครสิ ตกาล จนถึงสมัยของพระเจา้ อเล็กซานเดอร์มหาราช (323 – 30 ปกี ่อนคริสตกาล สว่ นจกั รวรรดโิ รมนั
เร่มิ ต้นราว 1,000 ปกี ่อนคริสตกาล และพัฒนาเปน็ จกั รวรรดิ ยิง่ ใหญ่ จนสิ้นสดุ เพราะถกู รุกรานโดยอนารยะ
ชนเยอรมนิค ในค.ศ. 476 ถือเปน็ การสนิ้ สุดสมยั โบราณ ศูนยก์ ลางความเจริญไดย้ ้ายไปอยู่ทไ่ี บเซ็นไทน์ หรือ
ต่อมาคือคอนสแตนติโนเปลิ (อยู่ในตุรกปี ัจจุบัน) หรอื ทเี่ รียกวา่ อาณาจักรโรมนั ตะวันออก

1. ยุคมดื (Dark Age )และสมยั กลาง ( The Middle Ages) เปน็ ช่วงตอ่ ระหวา่ งจักรวรรดโิ รมัน
ล่มสลาย ความเจรญิ หยดุ ชะงัก ประดุจยคุ มดื ประมาณครสิ ต์ศตวรรษท่ี 4 - 5 เพราะการบกุ ทำลายเมืองต่าง
ๆโดยอนารยะชนเยอรมนั นคิ เผ่าวสิ กิ อธ ( Visigoth ) ประชาชนในยุโรปต่างไมม่ ีท่ีพ่ึง เจ้าผู้ครองแต่ละเมืองตง้ั
ตวั เป็นใหญ่ ในระบบศักดินาสวามิภกั ดิ์ ประชาชนให้ความสำคัญกับศาสนาจกั รคริสต์โรมนั คาธอลิคอยา่ งมาก
ตอ่ มาศาสนาจักรจงึ มีอำนาจเหนือการปกครอง ยคุ น้ผี ูค้ นศรทั ธาในพระเจ้า จนยอมสละชพี เดินทางไป
ตะวนั ออกกลาง เพ่ือสรู้ บแยง่ ชิงดนิ แดนปาเลสไตน์อันศกั ด์ิสทิ ธิ์จากมสุ ลิมในสงครามครูเสดหลายครั้ง (ค.ศ.
1096 – 1291) ต่อเน่ืองนานกวา่ 300 ปี ปลายสมัยกลาง ราว ค.ศ. 1347 หรือคริสตศ์ ตวรรษท่ี 14 เกิดกาฬ
โรคหรอื Black Death ระบาดทวั่ ยโุ รป ผู้คนเสยี ชีวติ กว่าสามลา้ นคน สง่ ผลกระทบต่อสังคมยุโรปใน
เวลานน้ั อยา่ งมาก

2. 4.สมัยใหม่ ราวคริสต์ศตวรรษท่ี 15 เป็นสมัยแห่งการฟ้ืนฟูความคิดและศิลปกรรมของกรีก-
โรมัน จึงเรียกว่าสมัยศิลปวิทยาการ ( Renaissance ) ในแหลมอิตาลีและขยายไปสู่ยุโรปส่วนอื่น ๆ นำไปสู่
การเปล่ียนความคิดออกจากอิทธิพลของศาสนา เน้นความสำคัญของมนุษย์และเหตุผลมากขึ้นต่อมาใน
คริสต์ศตวรรษที่ 17 มีการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์คนสำคัญ เช่นเซอร์ไอแซก นิวตัน เหตุการณ์
สำคัญอ่ืน ๆ เช่น

1. สงครามกลางเมืองในองั กฤษ โอลเิ วอร์ คลอมเวลเป็นผปู้ กครองอังกฤษในนาม รฐั สภาและประหาร
กษตั ริย์องั กฤษ ต่อมาเมื่อเขาสน้ิ ชีวิต ราชวงศ์อังกฤษจงึ ได้กลบั มาครองราชยอ์ ีกครง้ั

2. การปกครองแบบกษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ล้มเลิกระบอบศักดินา สวามิภั กด์ิ
พระมหากษัตริย์มีอำนาจสูงสุดเหนือนครรัฐท้ังหลาย กษัตริย์หลายพระองค์ส่งเสิรมการสำรวจและการยึดครอง
ดินแดนเป็นอาณานิคมโพ้นทะเล มีนักสำรวจเส้นทางสู่ดินแดนใหม่ เช่น โคลัมบัส และแมคเจแลนด์ เป็นต้น ใน
คริสต์ศตวรรษที่ 18 ตอนปลาย ถึงคริต์ศตวรรษท่ี 19 มีการปฏิวัติการเกษตรและการปฏิวัติอุตสาหกรรม เร่ิมใน
องั กฤษเป็นที่แรก ทำให้ระบบเศรษฐกจิ โลกเปลย่ี นสู่ระบบเสรีนยิ มและการผลิตในระบบอตุ สาหกรรม ส่งผลให้เกิด
ความต้องการทรัพยากรในการผลิตและตลาดจำหน่ายสินค้า ประเทศในยุโรปจึงขยายอำนาจครอบงำดินแดนต่าง
ๆ ในสมัยจักรวรรดินิยม จนเกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงในสงครามโลกครั้งท่ีหน่ึง ( ค.ศ. 1914 – 1918 ) และ
สงครามโลกคร้ังทสี่ อง ( ค.ศ. 1939 – 1945 )

5. สมัยปัจจุบนั
นกั วชิ าการสว่ นใหญ่กำหนดใหส้ มัยปัจจบุ นั เร่มิ ต้นในสมยั สงครามเย็น หลังสงครามโลกคร้ัง

ที่ 2 เปน็ ชว่ งที่มีการประจันหน้ากันระหว่างลัทธิคอมมิวนิสต์ ซ่ึงมีสหภาพโซเวียตเป็นผู้นำมีอิทธิพลเหนือ
ยุโรปตะวันออก กับสหรฐั อเมริกาเป็นผู้นำ มีอิทธิพลเหนือยุโรปตะวนั ตก ทัง้ สองมหาอำนาจแทรกแซงทาง
การเมืองในประเทศตา่ ง ๆ แตไ่ ม่มีสงครามระหวา่ งกันโดยตรง เพราะตา่ งเกรงกลัวหายนะจากอาวุธ
นิวเคลียร์ งครามเย็นเริ่มยตุ ลิ งสมัยประธานาธบิ ดีโกบาชอฟ ในค.ศ. 1989 เม่ือกำแพงเบอรล์ ินทส่ี หภาพโซ
เวียตเป็นผสู้ ร้างเพ่ือแบง่ เขตปกครองเยอรมนั ถูกทำลาย สงครามเย็นยุติอยา่ งเดด็ ขาดเมื่อสหภาพโซเวียต
ล่มสลาย ในค.ศ. 1991 ทุกวันน้ีสถานการณ์ในโลกรว่ มสมัย (contemporary) เปลีย่ นเป็นความขัดแย้ง
ด้านความคิดทางศาสนาและการปราบปรามการก่อการรา้ ย เชน่ ความขดั แยง้ ในตะวันออกกลาง อิสลา
เอล- ปาลเสลไตน์ เหตกุ ารณ์ทสี่ ำคญั ซงึ่ ส่งผลกระทบไปทว่ั โลก ไดแ้ ก่ สหรัฐอเมริกาหลังเหตกุ ารณ์ 9/11
กบั ชาตมิ สุ ลิมในตะวันออกกลาง ไดแ้ ก่ อิรคั อฟั กานิสถานและอหิ รา่ น เปน็ ตน้

๒. การแบ่งยคุ ตามลกั ษณะเศรษฐกจิ และสังคมของมนษุ ย์

นอกจากการแบ่งยุคตามชนิดของวสั ดุและเคร่ืองมอื เครื่องใช้แล้วยงั พบว่าในบางคร้ังนกั วิชาการ
อธบิ ายยุคสมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ออกโดยดามลักษณะเศรษฐกจิ สงั คมออกเป็น

๒.๑ สงั คมนายพราน เป็นยุคท่ีมนษุ ยด์ ำรงชีวิตด้วยการลา่ สัตว์ จับสตั ว์นำ้ เกบ็ อาหารท่ีไดจ้ าก
ธรรมชาติ ยังไมต่ ้ังบ้านเรือนท่ีอยู่อาศยั ถาวร มักอพยพตามฝงู สตั ว์

๒.๒ สังคมเกษตรกรรม เป็นยุคที่มนุษย์ร้จู กั การเพาะปลูกและเลีย้ งสัตว์ ยงั คงมีการล่าสัตว์ จบั
สตั ว์นำ้ และเกบ็ อาหารท่ไี ด้จากธรรมชาติ มักจะตั้งบา้ นเรือนถาวรบนพื้นท่ีทเ่ี หมาะแก่การเกษตรกรรม มกี าร
รวมกลุม่ เปน็ หม่บู า้ น เป็นเมือง มกี ารแลกเปลยี่ นผลผลิต และมีระบบการปกครองในสังคม

๒.๓ สงั คมเมอื ง
สมยั ลพบุรี

ในชว่ งเวลาราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ อิทธิพลทางวัฒนธรรมเขมรเร่ิมแพร่หลายเขา้ มาสู่พืน้ ที่
ประเทศไทยทางด้านภาคตะวันออกและภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือของประเทศไทย หลักฐานสำคญั ทีท่ ำให้เรา
เชอ่ื ได้ว่าอำนาจทางการเมืองของเขมรเข้ามาสู่ดนิ แดนไทย คอื ศาสนสถานทั้งทีส่ ร้างเนอื่ งในศาสนาพราหมณ์
หรือฮนิ ดู และศาสนาพทุ ธลทั ธิมหายาน รวมทั้งศลิ าจารกึ ต่างๆ ท่ีมีการระบชุ อ่ื กษัตรยิ ์เขมรวา่ เป็นผสู้ ร้างหรือมี
ส่วนเกี่ยวข้อง วัฒนธรรมเขมรทแี่ ผข่ ยายเข้ามาทำใหส้ ังคมเมอื งในยุคกง่ึ ก่อนประวตั ิศาสตรเ์ กิดการ
เปล่ียนแปลงสภาพความเป็นอยู่ เชน่ การก่อสร้างบา้ นเมืองมีแผนผังแตกต่างไปจากเดิม คือ มีลกั ษณะผงั เมือง
เปน็ รูปสีเ่ หลย่ี มมมุ ฉาก และมีคนู ้ำคันดนิ ล้อมรอบเพียงชน้ั เดยี วแทนทจี่ ะสรา้ งเมอื งท่ีมีรูปร่างไมส่ มำ่ เสมอ หรือ
เมอื งรูปวงกลม วงรี ซ่ึงมคี นู ้ำหลายชน้ั มีระบบการชลประทานเพื่อการบริหารนำ้ สำหรบั การเพาะปลกู ขา้ ว
แบบนาดำ และมี “ บาราย ” หรือแหลง่ น้ำขนาดใหญ่เพื่อการอปุ โภคบรโิ ภคของชุมชน จนกระทั่งราวพทุ ธ
ศตวรรษท่ี ๑๖–๑๘ อาณาจักรเขมรได้เขา้ มามอี ำนาจในดนิ แดนไทยมากข้ึน ปรากฏโบราณสถานท่เี กี่ยวเนือ่ ง
กบั วัฒนธรรมเขมรโดยเฉพาะในช่วงรชั สมยั ของพระเจา้ ชัย วรมันที่ ๗ เกอื บทวั่ ภาคอสี าน ลึกเขา้ มาถงึ ภาค
กลางและภาคตะวันตก โดยภาคกลางของประเทศไทยมีเมืองละโว้หรือลพบุรเี ป็นศนู ยก์ ลางสำคญั ทป่ี รากฏ
หลกั ฐานทางสถาปตั ยกรรมและศลิ ปกรรมแบบนี้อยู่มาก ดังนั้นในเวลาท่ีผ่านมาจงึ กำหนดชือ่ เรยี กอายสุ มยั ของ
วฒั นธรรมทพ่ี บในประเทศไทยวา่ “ สมยั ลพบุรี ” หลังจากสมยั พระเจา้ ชยั วรมนั ที่ ๗ เป็นต้นมา อทิ ธิพลทาง
การเมืองและวัฒนธรรมเขมรกเ็ ส่ือมโทรมลงจนถึงราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ก็สลายลงโดยสิน้ เชิง ทงั้ นส้ี าเหตุ
เนือ่ งมาจากการแพรห่ ลายเข้ามาของพุทธศาสนาลัทธลิ ังกาวงศ์ และเมืองในภาคเหนอื ตอนล่างของประเทศ
ไทยแถบลุ่มแม่น้ำยมเร่ิมมีความเข้มแขง้ มากขึน้ สถาปัตยกรรมแบบวัฒนธรรมเขมรที่พบในประเทศไทย ท่ี
สำคัญได้แก่ ปราสาทหินพิมาย จงั หวดั นครราชสมี า ปราสาทหนิ พนมรุง้ จงั หวดั บรุ ีรมั ย์ ประสาทเมืองสงิ ห์
จังหวดั กาญจนบุรี เปน็ ต้น

สมยั สุโขทยั

ดนิ แดนในเขตลุ่มแมน่ ำ้ ยมมีชุมชนอยู่อาศัยกนั อยา่ งหนาแน่น ยาวนานมาอย่างน้อยไม่ต่ำกวา่ พุทธ
ศตวรรษท่ี ๑๗ ในศิลาจารึกวัดศรีชมุ มขี ้อความที่พอจะสรุปได้ว่าประมาณ ปี พ.ศ.๑๗๕๐ เมอื งสุโขทัยมี
กษตั ริยป์ กครองทรงพระนามวา่ “พอ่ ขนุ ศรนี าวนมั ถม” เม่ือพระองคส์ ้ินพระชนมล์ งขอมสบาดโขลญลำพงได้
เข้ามายึดครองสุโขทัย ต่อมาเมอ่ื อำนาจเขมรทมี่ ีเหนือแถบลุ่มน้ำเจา้ พระยาทง้ั ตอนล่างและตอนบนเสื่อมลงใน
ตอนกลางของพุทธศตวรรษที่ ๑๘ พ่อขนุ บางกลางหาว เจ้าเมอื งบางยาง และพ่อขุนผาเมือง เจา้ เมืองราด พระ
ราชโอรสของพ่อขุนศรีนาวนัมถม ไดร้ ว่ มกันต่อสู้ขบั ไล่โขลญลำพงจนสามารถรวบรวมดนิ แดนกลบั คนื มาได้
สำเรจ็ ในปี พ.ศ.๑๗๑๘ พ่อขุนบางกลางหาวสถาปนาขึน้ เป็นปฐมกษัตริยแ์ ห่งราชวงศศ์ รีอนิ ทราทติ ย์ ทรงพระ
นามวา่ “พระเจา้ ศรีอนิ ทรบดินทราทิตย์” ขนึ้ ครองเมืองสโุ ขทัยซงึ่ ต่อมามีกษัตริยป์ กครองสบื ทอดกนั มาทั้งสิ้น
๑๐ พระองค์ การนบั ถอื ศาสนาของคนในสมัยสุโขทยั พุทธศาสนาเป็นศาสนาหลกั ท้งั หินยานและมหายาน
นอกจากนั้นยังมีศาสนาฮินดูและความเช่อื ด้ังเดิม โดยพุทธศาสนาแบบหนิ ยานลทั ธลิ งั กาวงศ์ไดร้ ับการยอมรับ
มากจนเปน็ ศาสนาประจำอาณาจกั ร รองลงมาคือ การนับถือผี หรอื พระขะผงุ ผี อันถอื วา่ เป็นผที ี่ย่งิ ใหญ่
มากกว่าผที ั้งหลายในเมืองสุโขทัย นกิ ายมหายาน และศาสนาฮนิ ดู ตามลำดับ ในรชั สมัยของพ่อขนุ รามคำแหง
อาณาเขตของอาณาจักรสุโขทัยไดข้ ยายออกไปอย่างกว้างขวางมาก มีการติดต่อสัมพันธท์ างการทตู กับจนี ส่ิงท่ี
สำคญั อีกอยา่ งหน่ึงที่เปน็ การวางรากฐานอารยะธรรมไทย คือ การประดษิ ฐต์ ัวอักษรไทย ซงึ่ ได้ทรงนำแบบแผน
ของตัวหนงั สืออินเดียฝ่ายใต้ โดยเฉพาะตัวอักษรคฤหณ์มาเป็นหลักในการประดิษฐต์ ัวอักษร โดยทรงพิจารณา
เทยี บเคยี งกบั ตวั อักษรของเขมรและมอญ ศิลปกรรมในสมัยสุโขทัยทโ่ี ดดเด่นมากท่ีสดุ ได้แก่ งานศลิ ปกรรมที่

เก่ยี วเนอื่ งกับพุทธศาสนา โดยเฉพาะการสร้างพระพุทธรูปซง่ึ มีรูปแบบที่เปน็ ของตนเองอย่างแท้จรงิ ศลิ ปะ
การสรา้ งพระพุทธรูปของสโุ ขทยั รงุ่ เรือง และสวยงามมากในรชั กาลพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไท)
พระพทุ ธรูปทส่ี ำคัญ ได้แก่ พระพทุ ธชนิ ราช พระศรีศากยมุนี และพระพุทธชินสีห์ เปน็ ตน้ งานสถาปัตยกรรมที่
เปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะตัวของสมัยสุโขทยั คอื เจดีย์ทรงดอกบวั ตูม ซ่ึงสามารถศึกษาไดจ้ ากโบราณสถานที่
สำคัญๆ ในเมืองสุโขทัย เมืองศรีสชั นาลัย และเมอื งกำแพงเพชร ในราวพุทธศตวรรษที่ ๒๐ อาณาจกั รสุโขทยั
อ่อนแอลงจากการแย่งชงิ การสืบทอดอำนาจการปกครอง ทำให้กรุงศรอี ยธุ ยาซึง่ เปน็ บา้ นเมอื งท่เี ขม้ แข็งขน้ึ ใน
เขตภาคตะวันออกของลมุ่ แม่นำ้ เจา้ พระยาขยายอำนาจขนึ้ มา จวบจนปี พ.ศ.๑๙๒๑ รัชกาลพระบรม
ราชาธิราชที่ ๑ (ขุนหลวงพะง่ัว) แห่งกรุงศรีอยธุ ยา สโุ ขทยั จึงตกเปน็ เมืองประเทศราชของอยธุ ยา โดยมี
กษตั ริยท์ ี่มฐี านะเป็นเจ้าประเทศราชปกครองมาจนถึงปี พ.ศ.๑๙๘๑ จึงหมดสิน้ ราชวงศ์

สมยั อยธุ ยา

สมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ ๑ หรือ “ พระเจา้ อทู่ อง ” ทรงรวบรวมเมืองต่างๆ ในทีร่ าบลมุ่ ภาคกลาง
เขา้ ด้วยกัน ประกอบดว้ ย เมืองลพบรุ ี เมอื งสุพรรณบรุ ี และเมอื งสรรคบุรี เป็นตน้ แลว้ สถาปนาเมอื ง
พระนครศรีอยุธยาขนึ้ ในปี พ.ศ. ๑๘๙๓ บริเวณที่ราบลมุ่ ภาคกลางอนั มีแมน่ ำ้ สำคญั สามสายไหลผา่ น คือ
แม่น้ำเจา้ พระยา แม่น้ำลพบรุ ี แมน่ ำ้ ป่าสัก เป็นชัยภมู ทิ เี่ หมาะสมในการตงั้ รบั ข้าศึกศัตรู และเปน็ พนื้ ที่อุดม
สมบรู ณเ์ หมาะแก่การเกษตรกรรมเพาะปลกู ข้าว กรุงศรีอยุธยาดำรงฐานะราชธานขี องไทย เป็นศนู ย์กลางทาง
การเมืองการปกครอง การคา้ และศิลปวัฒนธรรมในดนิ แดนลมุ่ เจ้าพระยายาวนานถงึ ๔๑๗ ปี มี
พระมหากษัตริยป์ กครองสืบต่อกนั มาทง้ั สิ้น ๓๓ พระองค์ จนกระท่ังปี พ.ศ. ๒๓๐๑ อาณาจักรกรงุ ศรีอยธุ ยาจึง
ได้ถูกทำลายลงในระหวา่ งสงครามกับพมา่ สังคมในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยาเป็นสงั คมศักดินา ฐานะของ
พระมหากษัตรยิ เ์ ปรยี บเสมอื น “เทวราชา” เป็นสมมตเิ ทพ มีการแบง่ ชนชัน้ ทางสงั คมในระบบ “ เจ้าขนุ มูล
นาย ” ทำใหเ้ กิดความแตกตา่ งของฐานะบคุ คลอย่างชัดเจน รวมถึงพระสงฆก์ ็มกี ารกำหนดศกั ดินาขึ้น
เชน่ เดยี วกนั ในการปกครองถือว่าพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ เจา้ ของที่ดินทงั้ หมดทวั่ ราชอาณาจักร โดยจะทรง
แบ่งอาณาเขตออกเปน็ หัวเมืองต่างๆ แล้วทรงมอบหมายให้ขนุ นางไปครองท่ดี ินรวมทัง้ ปกครองผู้คนท่ีอย่อู าศยั
ในทดี่ นิ เหลา่ น้นั ด้วย ดงั น้ันที่ดินและผลผลิตทไี่ ดจ้ ากการเกษตรกรรมส่วนใหญจ่ ึงตกอยู่ในมือของผ้ทู ี่มฐี านะ
ทางสงั คมสงู พระมหากษัตรยิ ์ทรงผูกขาดการค้าขายสนิ คา้ ในระบบพระคลงั สินค้า สิ่งของตอ้ งหา้ มบางชนดิ ที่
หายากและมีราคาแพง ราษฎรสามญั ธรรมดาไม่สามารถจะมีไวใ้ นครอบครองเพือ่ ประโยชนท์ างการค้าได้
จะตอ้ งสง่ มอบหรือขายใหก้ ับพระคลังสินค้าในราคาที่กำหนดตายตวั โดยพระคลังสนิ ค้า และหากพอ่ คา้ ต่างชาติ
ตอ้ งการจะซ้ือสนิ คา้ ประเภทต่างๆ ตอ้ งติดตอ่ โดยตรงกับพระคลงั สินคา้ ในราคาที่กำหนดตายตัวโดยพระ
คลังสนิ คา้ เช่นเดียวกัน การที่พระมหากษัตริยท์ รงสนพระทัยทางด้านการคา้ และทรงรับเอาชาวจีนท่ีมคี วาม
ชำนาญทางดา้ นการคา้ มาเปน็ เจ้าพนักงานในกรมพระคลงั สินคา้ ของไทยเปน็ จำนวนมาก ทำให้การค้า
เจริญรุ่งเรอื งก่อใหเ้ กิดความม่ังคงั่ แกอ่ ยุธยาเป็นจำนวนมาก จนกล่าวได้วา่ ครงึ่ หลงั ของพุทธศตวรรษท่ี ๒๒
กรุงศรีอยธุ ยาเป็นทย่ี อมรบั กันว่าเปน็ ศูนยก์ ลางการคา้ ท่ีสำคญั ทสี่ ุดแหง่ หน่ึงในภาคตะวันออกไกล รายไดข้ อง
แผ่นดินส่วนใหญม่ ามาจากการเก็บภาษีโดยส่วนใหญจ่ ะถูกแบ่งไวส้ ำหรับเลยี้ งดบู ำรุงความสุขและเปน็ บำเหนจ็
ตอบแทนพวกขุนนางและเจา้ นายซึ่งเป็นผู้ปกครอง ส่วนทเี่ หลอื ก็อาจจะใช้ซ้ืออาวุธยุทโธปกรณ์สำหรับปอ้ งกนั
ศัตรทู ี่จะมารกุ ราน หรืออาจจะใช้สำหรบั การทำนุบำรงุ พระพทุ ธศาสนาบา้ ง เป็นต้น ส่วนการทำนุบำรงุ ท้องถน่ิ
เชน่ การขุดคลอง การสรา้ งถนน การสรา้ งวัด กม็ กั จะใชว้ ธิ เี กณฑ์แรงงานจากไพรท่ ัง้ สนิ้ ในดา้ นศลิ ปกรรม
ช่างฝมี อื ในสมยั อยธุ ยาไดส้ รา้ งสรรคศ์ ลิ ปกรรมในรปู แบบเฉพาะของตนขึ้น โดยการผสมผสานวัฒนธรรมของ

กลมุ่ ชนหลายเชื้อชาติ เช่น ศลิ ปะสโุ ขทยั ศิลปะล้านนา ศลิ ปะลพบุรี ศลิ ปะอู่ทอง และศิลปะจากชาติตา่ งๆ
เช่น จนี และชาตติ ะวนั ตก ทำใหเ้ กดิ รปู แบบ “ศลิ ปะอยธุ ยา” ขนึ้ ซึ่งสามารถศกึ ษาไดจ้ ากโบราณสถานที่
เกย่ี วเนอ่ื งกบั ศาสนาวดั วาอารามต่างๆ รวมถงึ ปราสาทราชวงั โบราณในสมยั อยุธยา อันปรากฏเด่นชัดอยใู่ นเขต
จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา จังหวดั ลพบุรี จงั หวดั สพุ รรณบุรี จงั หวดั เพชรบุรี เปน็ ตน้

สมยั ธนบุรี

หลังจากเสยี กรงุ ศรีอยธุ ยาใหแ้ ก่พมา่ ราษฎรไทยทเี่ หลอื รอดจากการถูกกวาดตอ้ นตามเขตแขวง
รอบๆ พระนครต่างกซ็ ่องสมุ ผู้คน เขา้ รบราฆา่ ฟนั เพ่ือป้องกันตนเองและแย่งชงิ เสบยี งอาหารเพ่อื ความอยู่รอด
กรุงศรีอยธุ ยาจึงอยู่ในสภาพจลาจล บ้านเมืองแตกแยกออกเปน็ กก๊ เป็นเหล่า มีชมุ นุมท่คี ิดจะรวบรวมผ้คู นเพื่อ
กอบกูเ้ อกราชถึง ๖ ชมุ นุม ได้แก่ ชมุ นุมเจ้าพษิ ณุโลก ชุมนุมเจา้ พระฝาง ชมุ นมุ สกุ ้ีพระนายกอง ชุมนุมเจ้าพิ
มาย ชมุ นมุ เจา้ นครศรธี รรมราชและชุมนุมพระเจ้าตาก ซึง่ ต่อมาชุมนุมพระเจ้าตากสินเป็นกลุ่มกำลงั สำคัญทีม่ ี
ที่สามารถกอบก้เู อกราชไดส้ ำเร็จ โดยตคี ่ายโพธสิ์ ามตน้ แตกขับพมา่ ออกไปได้ เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราชทรงกอบกบู้ า้ นเมอื งไดส้ ำเร็จในปี พ.ศ.๒๓๑๐ ทรงปราบดาภเิ ษกข้ึนเป็นพระมหากษัตริย์ และโปรด
เกล้าฯใหป้ รบั ปรุงเมืองธนบุรีศรีมหาสมทุ ร ซึง่ ตง้ั อยู่ทางฝ่ังตะวนั ตกของแมน่ ำ้ เจ้าพระยา บรเิ วณปอ้ มวิไชเชย
นทรส์ ถาปนาขน้ึ เป็นราชธานี โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังขนึ้ เปน็ ทีป่ ระทับและศนู ยก์ ลางบริหาร
ราชการแผน่ ดนิ ด้วยเหตผุ ลว่าเป็นเมืองท่ีมีป้อมปราการและชยั ภูมทิ ่ีดีทางยุทธศาสตร์ ขนาดของเมือง
พอเหมาะกับกำลงั ไพร่พลและราษฎรในขณะนัน้ โครงสร้างทางเศรษฐกจิ สังคมสมยั ธนบุรียังคงดำเนนิ รอยตาม
รปู แบบของอยธุ ยา ฐานะของพระมหากษัตริย์ยงั คงไม่เปล่ยี นแปลง ยงั ยึดขัตติยราชประเพณตี ามแบบฉบับของ
กรงุ ศรีอยธุ ยาเป็นสำคัญ เน่ืองจากสภาพเศรษฐกจิ ขณะนนั้ อย่ใู นสภาพที่ทรุดโทรมมาก จำเป็นทจี่ ะต้องแก้ไข
เรง่ ด่วน สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงทรงแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ โดยการสละพระราชทรพั ย์ซ้อื ข้าวสารจากพ่อคา้
ชาวตา่ งประเทศ ด้วยราคาแพงเพอื่ บรรเทาความขาดแคลน มีผลทำใหพ้ ่อค้าชาวต่างประเทศบรรทกุ ข้าวสาร
ลงเรือสำเภาเข้ามาค้าขายเป็นอันมาก ทำใหร้ าคาข้าวสารถูกลงและปรมิ าณเพียงพอแก่ความต้องการ
นอกจากน้นั ยงั ทรงใช้ใหบ้ รรดาขนุ นางขา้ ราชการขวนขวายทำนาปีละ ๒ คร้งั เพอ่ื เพ่ิมผลผลิตขา้ วให้เพยี งพอ
แกค่ วามต้องการ เป็นตวั อยา่ งแกร่ าษฎรทงั้ ปวง ทำให้ราษฎรมีความกนิ ดีอย่ดู ีมากขึน้ ในดา้ นการคา้ ชาวจีน
ทมี่ าตงั้ หลกั แหล่งค้าขาย และทำมาหากนิ ในราชอาณาจักรไดม้ สี ่วนสำคญั ในการช่วยฟนื้ ฟูเศรษฐกิจของ
อาณาจักรธนบุรี

ดา้ นการศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรม สมยั ธนบุรีเปน็ สมยั ของการฟ้นื ฟชู าตบิ ้านเมือง ทรงโปรด
เกล้าฯใหต้ ง้ั สงั ฆมณฑลตามแบบอยา่ งคร้ังกรงุ ศรีอยธุ ยา เช่น ทรงจดั การชำระคณะสงฆ์ท่ีไมต่ ้ังอยู่ในศลี วัตร
สรา้ งซ่อมแซมวดั วาอารามทีต่ กอยใู่ นสภาพทรดุ โทรม แสวงหาพระสงฆท์ ่ีมีคณุ ธรรมความร้มู าต้ังเป็นพระราชา
คณะเปน็ เจา้ อาวาสปกครองสงฆแ์ ละสงั่ สอนปริยตั ธิ รรมและภาษาไทย สง่ พระราชาคณะไปเทย่ี วจดั สงั ฆมณฑล
ตามหัวเมอื งเหนือ เพราะเกดิ วิปรติ ครงั้ พระเจา้ ฝางตัง้ ตนเป็นใหญ่และทำสงครามทง้ั ๆที่เป็นพระสงฆ์ และทรง
รวบรวมพระไตรปฎิ กให้สมบรู ณค์ รบถว้ น ศิลปกรรมต่างๆจึงยงั คงดำเนนิ ตามแบบอยุธยา เน่อื งจากระหว่าง
รัชกาลมศี กึ สงครามอยูต่ ลอดเวลาทำใหช้ ่างฝมี อื ไม่มีเวลาในการท่ีจะสรา้ งสรรค์งานด้านศิลปะใหก้ า้ วหน้า
ออกไปจากเดมิ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงครองราชยอ์ ยู่เป็นระยะเวลา ๑๕ ปี เน่ืองจากทรงมีพระราช
ภาระกิจทัง้ ทางด้านการกอบกู้บา้ นเมืองซึ่งมีฐานะทางเศรษฐกิจตกตำ่ จากภาวะการณส์ งคราม และปกป้อง
บ้านเมอื งซงึ่ ข้าศกึ ได้ยกเข้ามาตลอดรชั กาล ปลายรัชกาลได้ทรงมีพระสตฟิ ่ันเฟือนในปี พ.ศ. ๒๓๒๕ เจา้ พระยา
จกั รซี ึ่งเป็นแม่ทพั สำคัญของสมเดจ็ พระเจ้าตากสิน จงึ ไดร้ บั อัญเชิญให้ครองราชย์สมบตั สิ ืบต่อมา

สมยั รัตนโกสนิ ทร์
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราชเสด็จขึน้ เถลงิ ถวัลย์ราชสมบัติเป็นปฐมกษตั รยิ ์

แห่งพระบรมราชจกั รวี งศเ์ ม่อื วันท่ี ๖ เมษายน พ.ศ.๒๓๒๕ โปรดเกล้าฯใหย้ ้ายราชธานมี าต้งั อยบู่ นฝง่ั
ตะวันออกของแมน่ ำ้ เจา้ พระยาตรงขา้ มกับกรงุ ธนบุรี การสร้างพระนครเรม่ิ ข้ึน ในปีพ.ศ.๒๓๒๖ เมอื่ สร้าง
สำเรจ็ ในปีพ.ศ. ๒๓๒๘ ไดพ้ ระราชทานนามว่า “กรงุ เทพมหานครอมรรัตนโกสินทร์ฯ” เป็นศนู ย์กลางการ
ปกครองของประเทศท่เี จรญิ รุ่งเรือง มีพระมหากษัตรยิ ์ในราชวงศจ์ ักรปี กครองประเทศมาจนถงึ ปจั จุบันจำนวน
๙ พระองค์
สภาพกรงุ รตั นโกสินทรต์ อนต้นประชากรของประเทศยังคงนอ้ ยมากเมื่อเปรียบเทยี บกับพน้ื ท่ีทง้ั หมด สงั คม
ความเปน็ อยยู่ ังคงยึดถือสืบเน่ืองมาจากสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย มกี ารจดั ระเบียบทางสังคมด้วยระบบเจา้
ขนุ มลู นาย ประชาชนสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำนา ทำไร่ ผลติ สนิ คา้ เกษตร จำพวกนำ้ ตาล
พรกิ ไทย และหาของปา่ จำพวกไมส้ ัก ไม้พยุง ไม้กฤษณาและไมฝ้ าง การปลูกข้าวเป็นอาชีพหลัก ผลผลติ ที่ได้จะ
ใช้บรโิ ภคและสง่ ออกขายเฉพาะสว่ นที่เหลอื จากการบริโภคแลว้ เทา่ นนั้ เนอ่ื งจากบา้ นเมืองยงั คงตกอยู่ใน
สภาวะสงคราม การตดิ ต่อค้าขายกับตา่ งประเทศส่วนใหญ่เป็นการทำการค้ากบั ประเทศจีน อยภู่ ายใตค้ วาม
ควบคมุ ของพระมหากษตั รยิ โ์ ดยมีกรมพระคลงั สนิ คา้ เปน็ ผู้ดูแลผลประโยชนท์ างการค้า ตอ่ มามีการเซน็ สญั ญา
บาวริงในปี พ.ศ.๒๓๙๘ การผกู ขาดทางการค้าถูกทำลาย ระบบการคา้ เสรเี ร่ิมเกดิ ข้นึ และขยายกว้างขวาง
ออกไปทำให้การคา้ ขายเจริญมากขึ้น มชี าวต่างชาติเขา้ มาติดต่อซ้ือขายกบั ไทยอย่างมากมาย เช่น อังกฤษซ่ึง
เขา้ มาทำอตุ สาหกรรมป่าไมใ้ น ไทย สหรฐั อเมริกา ฝร่งั เศส เดนมาร์ก โปรตุเกส เนเธอรแ์ ลนด์ รสั เซีย
สวเี ดน รสุ เซีย เป็นตน้ ขา้ ว ไดก้ ลายเปน็ สนิ คา้ สำคัญเป็นอันดับหน่งึ ในการสง่ เป็นสินค้าออกไปขายยงั
ต่างประเทศ นอกจากนน้ั ยังมีพืชเศรษฐกิจอ่ืน ๆ รวมถึงสนิ คา้ ทเ่ี กิดจากการแปรรูปผลผลิตทางด้าน
เกษตรกรรม ทำใหเ้ กดิ การขยายตัวทางดา้ นเศรษฐกิจท้ังในภาคเกษตรกรรมและอตุ สาหกรรมมาจนถึงปจั จบุ นั
สว่ นดา้ นสงั คมในปี พ.ศ.๒๔๗๕ จงึ เกิดการเปล่ียนแปลงระเบียบสังคม เปน็ สงั คมระบอบประชาธิปไตย
ประชาชนทกุ คนมีสทิ ธิเท่าเทียมกันทางดา้ นกฎหมาย ในด้านการศาสนาหลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาใหแ้ ก่พมา่
แล้ว วัดวาอารามตา่ งๆ รวมทั้งคัมภีรท์ างศาสนาถูกทำลายเสยี หายเปน็ อันมาก พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอด
ฟา้ จฬุ าโลกมหาราชโปรดเกลา้ ฯใหท้ ำนบุ ำรงุ พระศาสนา โปรดฯใหส้ ร้างวัดพระศรรี ัตนศาสดารามเปน็ วัด
ประจำพระนคร แลว้ ทรงอญั เชญิ พระพทุ ธมหามณีรัตนปฏิมากรแก้วมรกตจากเมืองเวียงจนั ทรม์ าประดิษฐาน
เพอื่ ใหเ้ ปน็ พระพุทธรูปคู่บา้ นคูเ่ มือง โปรดเกลา้ ฯ ให้มกี ารสังคายนาพระไตรปิฎกและใหถ้ ือเป็นธรรมเนยี มท่ี
จะให้พระบรมวงศานุวงศแ์ ละเสนาบดชี ่วยกันบรู ณะปฏสิ งั ขรณว์ ดั วาอารามทีช่ ำรดุ ทรุดโทรม ส่วนการ
ปกครองคณะสงฆย์ งั คงใชแ้ บบอยา่ งของกรุงศรีอยธุ ยา มีการสอบไล่พระปริยตั ิธรรมสำหรับพระภิกษุ
สามเณร โดยนบั เปน็ ขา้ ราชการแผน่ ดนิ อย่างหน่ึงด้วย ในสมยั รชั กาลที่ ๓ ทรงแบง่ การปกครองคณะสงฆ์
ออกเป็น ๔ คณะ คือ คณะเหนอ คณะใต้ คณะกลางและคณะอรญั วาสี เจา้ ฟา้ มงกฎุ ซง่ึ ทรงผนวชอยู่ท่ีวัดสมอ
ราย ได้ทรงประกาศประดิษฐานนกิ ายธรรมยตุ ขิ นึ้ ในพุทธศาสนาศลิ ปกรรมในด้านตา่ งๆ ยงั คงเลยี นแบบ
อยุธยาตอนปลาย เชน่
การสรา้ งพระพุทธรูปสว่ นมากสรา้ งขน้ึ ตามแบบพระพุทธรูปทม่ี ีมาตั้งแต่คร้งั สมยั กรงุ ศรอี ยุธยา นิยมสรา้ ง
พระพุทธรปู องคเ์ ลก็ ๆ มากขึน้ และมักสรา้ งเป็นภาพเร่ืองราวเกย่ี วกบั พุทธประวัติตอนต่างๆ ในสมัยรัชกาลท่ี ๓
นิยมสรา้ งพระพุทธรปู ทรงเครื่องใหญ่ เชน่ พระศรีอารยิ เมตไตรยและสาวกท่ีครองผ้าอุตราสงคเ์ ปน็ ลายดอก
ส่วนสถาปตั ยกรรมในตอนแรกยังคงเปน็ แบบสมยั อยธุ ยาตอนปลาย ตอ่ มาในสมัยรัชกาลท่ี ๓ ทรงนยิ มศลิ ปะ
แบบจนี ทำใหเ้ กิดศิลปะผสมผสานระหวา่ งไทยจีน ตง้ั แต่สมัยรัชกาลที่ ๔ เป็นตน้ มา อิทธิพลของชาตติ ะวนั ตก
ได้เขา้ มาสูป่ ระเทศไทยทำใหร้ ปู แบบสถาปัตยกรรมกลายเป็นแบบตะวนั ตกมากขึ้นจนถึงปัจจุบนั

แบบทดสอบที่ 3
เร่อื งการแบง่ ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์
คำช้แี จง : ใหผ้ เู้ รยี นเขยี นเครอ่ื งหมายถูก () หน้าข้อความท่ีถูกและเขยี นเคร่ืองหมายผดิ (X) หนา้ ขอ้ ความที่ผิด
………….. 1. ประเทศจีนเป็นประเทศในแถบภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกทมี่ ีพน้ื ทใ่ี หญ่ทีส่ ุดในโลก
………….. 2. ประเทศอนิ เดยี เป็นประเทศประชาธิปไตยท่มี ีประชากรมากท่สี ุดในโลก
………….. 3. พระเจา้ ตะเบง็ ชะเวต้ี กษัตรยิ ์พม่าทส่ี ามารถตกี รุงศรอี ยุธยาแตกในปี พ.ศ. 2112
………….. 4. ประเทศอนิ โดนเี ซยี เปน็ ประเทศทีเ่ ปน็ หมู่เกาะทใ่ี หญท่ ี่สดุ ในโลก
………….. 5. สงครามเจด็ ปี (Seven Year’ War) เป็นสงครามที่เกดิ ขึ้นในฟิลปิ ปนิ ส์จนทำใหญ้ ี่ปนุ่ เกดิ การสูญเสียมากที สดุ
………….. 6. ประเทศญ่ีปุ่นไดช้ ือ่ ว่าเปน็ “ดินแดนแห่งพระอาทติ ยอ์ ทุ ัย”
………….. 7. ยุคศกั ดินา หมายถงึ ยุคทจี่ ักรพรรดิเปน็ ใหญท่ สี่ ดุ ในญป่ี ุ่น
………….. 8. ประเทศสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนจนี มกี ารลงทุนในประเทศไทยเป็นอนั ดบั 2 รองจากญี่ปุ่น
………….. 9. ประเทศไทยตกเปน็ อาณานิคมของชาตติ ะวนั ตกและทำให้เสียดนิ แดนไปถึง 14 ครงั้
………….. 10. สงครามเยน็ ทำใหเ้ กิดการแบง่ สถานภาพกลมุ่ ประเทศเปน็ 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ กลุ่มประเทศมหาอำนาจ กลุม่ ประเทศ
กำลังพฒั นา และกลมุ่ ประเทศดอ้ ยพัฒนา

เฉลยแบบทดสอบท่ี 3

เร่ืองการแบ่งยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์

…… X…….1.
…… ……2.
…… ……3.
…… ……4.
…… X ……5.
…… …….6.
…… X …….7.
…… ….…8.
…… X….…9.
…… X….…10.

แบบประเมนิ กลุ่ม

รายการพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพการปฏิบตั ิ
4321
1. มกี ารปรกึ ษาและวางแผนร่วมกนั ก่อนทำงาน
2. มกี ารแบ่งหน้าทอ่ี ย่างเหมาะสมและสมาชิกทำตามหน้าทที่ ุกคน
3. มีการปฏบิ ัตงิ านตามขั้นตอน
4. มีการให้ความช่วยเหลอื กัน
5. ให้คำแนะนำกลมุ่ อน่ื ได้

รวม

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครัง้ หรอื ไมเ่ คยปฏิบัตเิ ลย

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ

ชว่ งคะแนน 4 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ
3 หมายถงึ
17-20 2 หมายถงึ ดมี าก
13-16 1 หมายถงึ ดี
9-12 พอใช้
5-8 ปรับปรงุ

แบบประเมนิ ผลงานกลุ่ม

รายการ คุณภาพผลงาน
4321
1. ผลงานเป็นไปตามวตั ถุประสงคท์ ีก่ ำหนด
2. ผลงานเสร็จทันตามกำหนดเวลา
3. ผลงานมคี วามคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์
4. ผลงานแสดงถงึ การนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้
5. ผลงานเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย

รวม

เกณฑก์ ารให้คะแนน

ผลงานสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบูรณ์ ชัดเจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานสอดคล้องกบั รายการประเมนิ เปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 3 คะแนน
ผลงานสอดคล้องกับรายการประเมนิ เปน็ บางส่วน ให้ 2 คะแนน
ผลงานไมส่ อดคล้องกบั รายการประเมิน ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน 4 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ
3 หมายถึง
17-20 2 หมายถึง ดมี าก
13-16 1 หมายถงึ ดี
9-12 พอใช้
5-8 ปรบั ปรุง

แบบประเมินการนาเสนอผลงาน

รายการพฤติกรรม คณุ ภาพการปฏิบัติ
4321
1. นำเสนอเนือ้ หาของผลงานได้ถกู ต้อง
2. การนำเสนอมีความน่าสนใจ
3. มีความเหมาะสมกับเวลา
4. มคี วามกลา้ แสดงออก
5. บคุ ลกิ ภาพดี ใชน้ ำ้ เสยี งเหมาะสม

รวม

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
การปฏบิ ตั สิ มบรู ณ์ ชัดเจน ให้ 3 คะแนน
การปฏบิ ัติยังมขี อ้ บกพรอ่ งในจุดทีไ่ ม่สำคัญ ให้ 2 คะแนน
การปฏบิ ัติยงั มขี อ้ บกพรอ่ งเป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ปฏิบัติไมไ่ ดเ้ ลย

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพ
ช่วงคะแนน 3 หมายถงึ
2 หมายถึง ดีมาก
17-20 1 หมายถึง ดี
13-16 พอใช้
9-12 ปรบั ปรุง
5-8

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล

รายการพฤติกรรม คณุ ภาพการปฏบิ ัติ
4321
1. มกี ารวางแผนก่อนการทำงาน
2. ปฏิบัติงานดว้ ยความตั้งใจ
3. มีการปฏบิ ตั งิ านตามขน้ั ตอน
4. มกี ารให้ความช่วยเหลือเพ่ือน
5. ให้คำแนะนำเพ่ือนคนอนื่ ได้

รวม

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้งั ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครงั้ หรือไม่เคยปฏิบัติเลย

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดบั คุณภาพ
ชว่ งคะแนน
ดมี าก
17-20 4 หมายถึง ดี
13-16 3 หมายถึง พอใช้
9-12 2 หมายถึง ปรับปรุง
5-8 1 หมายถึง

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ า สังคมศึกษา สค21001
จำนวน 3 หนว่ ยกิต

ครัง้ ท่ี 4 วนั ที.่ ........เดอื น.............................พ.ศ.................

รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ แบบพบกลุ่ม จำนวน 3 ชว่ั โมง

เรอ่ื ง เศรษฐศาสตร์

ตัวช้ีวดั 1. เลือกวธิ กี ารท่มี ปี ระสิทธภิ าพมาใช้ในการผลิตสินค้า และบริการได้
2. ร้แู ละเขา้ ใจการใช้กฎหมายค้มุ ครองผู้บริโภค

เนอื้ หา 1. คณุ ธรรมในการผลติ และการบรโิ ภค
2. กฎหมาย และข้อมูลการคุ้มครองผู้บรโิ ภค

ขนั้ ตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้
ขน้ั ท่ี 1 กำหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้
1. ครูทักทายผู้เรยี นในเร่ืองชีวิตประจำวนั และชี้แจงตวั ชี้วดั อธิบายวธิ ีการเลือกซื้อและ
เลือกใชส้ ินค้าทีด่ ีและมีคุณภาพ แนวทางการดูแลสิทธิเบ้อื งตน้ ของตนเองจากการกระทำดังกล่าว
2. ครใู ห้ผู้เรียนสำรวจตัวเองว่า ในแตแ่ ละวันได้เลอื กซื้อสินคา้ อุปโภคและบรโิ ภคประเภท
ใดบา้ ง เพ่ือใชป้ ระโยชน์อย่างไร มคี วามเหมาะสมหรือไม่

ขนั้ ที่ 2 แสวงหาข้อมูลและจัดการเรยี นรู้
1. ใหผ้ เู้ รยี นแบง่ กลุม่ ๆ ละ 5-7 คน โดยวธิ ีจบั ฉลาก และให้แต่ละกลุ่มช่วยกนั ศึกษา
ความหมายของเศรษฐศาสตร์จากแบบเรียน วิชา สังคมศึกษา (สค21001 หน้า 80-115
)
2. ให้ผู้เรยี นสืบคน้ ขอ้ มลู จากแหล่งเรียนรู้ อินเตอรเ์ น็ต โดยเข้าไปท่ี เว็บไซด์

www.google.com ค้นเรื่องกฎหมายและขอ้ มลู การคุ้มครองผบู้ รโิ ภค คุณธรรมในการ

ผลติ และการบรโิ ภคเพ่ือสรุปเป็นใบงาน

3. ใหผ้ ู้เรียนส่งตวั แทน เพื่อนำเสนอความหมาย ของเศรษฐศาสตร์ พร้อมใหผ้ เู้ รียนทกุ กลุ่ม

ชว่ ยกันสรปุ ความหมายของเศรษฐศาสตร์

4. ครชู ว่ ยอธบิ ายเพม่ิ เติมความหมายของเศรษฐศาสตรใ์ หม้ ีความสมบรู ณ์มากยิ่งขนึ้

5. ครูและผูเ้ รยี นร่วมกันสรปุ ความหมายของเศรษฐศาสตร์ ข้อมูลการคุ้มครองผู้บรโิ ภคแลว้

บันทกึ ข้อมลู ท่ีไดร้ ับลงในสมุด

ขน้ั ท่ี 3 การปฏิบตั แิ ละการนำไปใช้
1. เม่ือครูได้อธิบายเพ่ิมเตมิ เนื้อหาแล้ว ให้ผเู้ รยี นภายในกล่มุ ร่วมกันวเิ คราะหต์ ามหัวข้อท่ี
ครกู ำหนด ได้แก่ ในการเลอื กซื้อสนิ ค้าอุปโภคและการบริโภคนั้น ต้องคำนึงถงึ ส่งิ ใด
โดยใชเ้ วลาประมาณ 10 – 15 นาทีในการวเิ คราะห์
2. เม่อื ผเู้ รียนวเิ คราะห์งานตามหวั ข้อท่กี ำหนด เสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้ว ครใู หผ้ เู้ รยี นนำงานท่ี
ไดร้ บั มอบหมายในชนั้ เรียนมานำเสนอ กลุม่ ละไม่น้อยกวา่ 5 นาที
3. ครกู ล่าวชมเชยกลุม่ ท่มี ีการจัดกระบวนการทำงานเปน็ กลุ่มที่ดีเพ่ือเปน็ ตัวอยา่ งในการ
ทำงานครง้ั ต่อไป

ขั้นที่ 4 การประเมินผลการเรียนรู้
1. การนำเสนอ
2. รปู เล่มรายงาน
3. แบบทดสอบ

สอ่ื การเรยี นรู้
1. อินเตอร์เน็ต ผา่ นทาง
1.1 www.google.com
1.2 www.ocpb.go.th/list_law.asp
1.3 www.pub-law.net/library/act_consp.or.html
1.4 www.library.coj.go.th/indexarticle
2. คูม่ ือ กฎหมายการคุ้มครองผู้บรโิ ภค
3. หนังสือแบบเรียน

การวดั และประเมินผล
1. สังเกตจากการมสี ่วนร่วมในกระบวนการกลมุ่

2. วธิ กี ารนำเสนอ

บนั ทึกผลหลงั การเรียนรู้

ผลท่เี กดิ กับผู้เรียน
ดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรม
............................................................................................................................................................ ..................
.................................................................................................................. ...............................
ดา้ นการใช้แผนการพบกลุ่ม
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................. ...............................
ดา้ นสือ่ การเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................. ..............................
.ปญั หา/อปุ สรรค
................................................................................................................................................................ ..............
.................................................................................................................. ...............................
ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
....................................................................................................................................................... .......................
.................................................................................................................. ...............................

ลงช่ือ................................................/ผ้สู อน
(นางสาวณฐั ธยาน์ ชนาภทั รภณ)
ตำแหน่ง ครูศนู ยก์ ารเรียนชุมชน

ความคิดเหน็ ของผู้บริหาร
....................................................................................................................................................... .......................
.................................................................................................................. ...............................

ลงชอ่ื .................................................
(นายชนะชาติ เตง็ ศริ ิ)

ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอกันทรลักษ์

ใบความรทู้ ี่ 4
เรอื่ ง กฎหมาย พระราชบญั ญัติและขอ้ มลู การคุ้มครองผบู้ ริโภค

สทิ ธผิ ู้บรโิ ภค 5 ประการ

รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2540 เปน็ รัฐธรรมนูญฉบับแรกทีใ่ ห้
ความสำคญั ของการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค โดยบญั ญตั ิถึงสิทธิของผู้บริโภคไวใ้ นมาตรา 57 ว่า"สทิ ธขิ องบคุ คลซงึ่ เปน็
ผู้บริโภคยอ่ มได้รบั ความคมุ้ ครองทง้ั นี้ตามที่กฎหมายบญั ญัติ" พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522
ซ่งึ แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2541 ได้บญั ญัติสทิ ธขิ องผู้ บริโภคที่จะไดร้ บั ความคุ้มครอง
ตามกฎหมาย 5 ประการ ดงั นี้

1. สิทธิทจ่ี ะได้รับขา่ วสารรวมทง้ั คำพรรณนาคณุ ภาพทีถ่ กู ต้องและเพยี งพอเกี่ยวกับสนิ คา้ หรือ
บรกิ าร ได้แก่ สิทธทิ ี่ จะได้รบั การโฆษณาหรือการแสดงฉลากตามความเปน็ จรงิ และปราศจากพิษภัยแก่
ผ้บู รโิ ภค รวมตลอดถงึ สิทธทิ ่ีจะไดร้ บั ทราบ ข้อมูลเกย่ี วกับสินค้าหรือบริการอยา่ งถูกต้องและเพยี งพอทีจ่ ะ
ไม่หลงผดิ ในการซือ้ สนิ ค้าหรือรับบรกิ ารโดยไมเ่ ป็นธรรม

2. สทิ ธิทจ่ี ะมีอิสระในการเลือกหาสนิ ค้าหรือบรกิ าร ไดแ้ ก่ สทิ ธิทจี่ ะเลือกซื้อสินคา้ หรอื รับบริการ
โดยความ สมัครใจของผูบ้ รโิ ภค และปราศจากการ ชักจูงใจอนั ไม่เป็นธรรม

3. สทิ ธทิ ีจ่ ะได้รับความปลอดภัยจากการใชส้ ินคา้ หรือบริการ ไดแ้ ก่ สทิ ธทิ ี่จะไดร้ บั สนิ ค้าหรือ
บรกิ ารทป่ี ลอดภยั มีสภาพและคุณภาพได้มาตรฐานเหมาะสมแก่การใช้ ไมก่ ่อใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ชีวิต ร่างกาย
หรือทรพั ย์สิน ในกรณใี ช้ตามคำแนะนำหรือระมัดระวงั ตามสภาพของสินค้าหรือบริการน้ันแล้ว

4. สิทธิทจ่ี ะได้รับความเปน็ ธรรมในการทำสัญญา ได้แก่ สิทธทิ จ่ี ะไดร้ ับข้อสัญญาโดยไม่ถกู เอารัด
เอาเปรยี บจากผู้ประกอบธุรกิจ

5. สิทธิท่จี ะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ได้แก่ สทิ ธิทจี่ ะได้รับการคุ้มครองและ
ชดใชค้ ่าเสยี หาย เมือ่ มีการละเมดิ สิทธิของผู้บริโภคตามข้อ 1, 2, 3 และ 4 ดังกลา่ ว

พระราชบญั ญัติ
คมุ้ ครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒

ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๒

เป็นปที ่ี ๓๔ ในรชั กาลปจั จุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร์รมหาภูมิพลอดลุ ยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ใหป้ ระกาศว่า
โดยทีเ่ ป็นการสมควรมีกฎหมายว่าดว้ ยการคมุ้ ครองผ้บู ริโภคจึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ตรา
พระราชบัญญตั ิขน้ึ ไวโ้ ดยคำแนะนำและยนิ ยอมของสภานติ ิบัญญัตแิ หง่ ชาติ ทำหน้าท่รี ฐั สภา ดงั ตอ่ ไปน้ี

มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตินเี้ รียกว่า “พระราชบัญญตั ิคุ้มครองผบู้ ริโภค พ.ศ.๒๕๒๒”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีใหใ้ ช้บังคบั ต้งั แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป
มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญัติน้ี
“ซอ้ื ” หมายความรวมถงึ เช่า เช่าซ้ือ หรอื ได้มาไมว่ า่ ดว้ ยประการใดๆ โดยให้คา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ หรอื
ผลประโยชน์อยา่ งอืน่
“ขาย” หมายความรวมถึง ให้เช่า ให้เชา่ ซือ้ หรือจัดหาให้ไม่ว่าด้วยประการใดๆ โดยเรียกค่าตอบแทนเปน็ เงิน
หรอื ผลประโยชน์อยา่ งอ่ืน ตลอดจนการเสนอหรอื การชักชวนเพ่อื การดงั กล่าวดว้ ย
“สินค้า” หมายความว่า สิ่งของท่ผี ลิตหรอื มีไวเ้ พื่อขาย
“บริการ” หมายความวา่ การรับจัดทำการงาน การใหส้ ทิ ธใิ ดๆ หรือการให้ใช้หรอื ให้ประโยชนใ์ นทรพั ย์สนิ หรือ
กิจการใดๆ โดยเรยี กค่าตอบแทนเป็นเงนิ หรอื ผลประโยชนอ์ ื่นแต่ไมร่ วมถงึ การจา้ งแรงงานตามกฎหมาย
แรงงาน
“ผลิต” หมายความวา่ ทำ ผสม ปรงุ ประกอบ ประดิษฐ์ หรือแปรสภาพและหมายความรวมถงึ การเปลี่ยนรูป
การดัดแปลง การคัดเลือก หรือการแบ่งบรรจุ
“ผู้บรโิ ภค” หมายความว่า ผูซ้ ือ้ หรือผู้ไดร้ บั บริการจากผปู้ ระกอบธุรกจิ หรอื ผซู้ ่ึงได้รบั การเสนอหรือการชักชวน
จากผ้ปู ระกอบธุรกิจเพอื่ ใหซ้ อื้ สนิ คา้ หรอื รบั บริการ และหมายความรวมถึงผใู้ ช้สินค้าหรือผูไ้ ด้รับบริการจากผู้
ประกอบธรุ กิจโดยชอบ แม้มไิ ดเ้ ปน็ ผู้เสียค่าตอบแทนก็ตาม”
“ผปู้ ระกอบธรุ กิจ” หมายความวา่ ผขู้ าย ผผู้ ลิตเพอื่ ขาย ผสู้ ่ังหรือนำเข้ามาในราชอาณาจักรเพ่ือขายหรือผ้ซู ือ้
เพอ่ื ขายต่อซง่ึ สนิ ค้า หรือผู้ให้บริการ และหมายความรวมถึงผปู้ ระกอบกจิ การโฆษณาดว้ ย
“ข้อความ” หมายความรวมถึงการกระทำใหป้ รากฏดว้ ยตัวอักษร ภาพ ภาพยนตร์ แสง เสยี ง เครื่องหมายหรือ
การกระทำอยา่ งใดๆ ที่ทำให้บุคคลทว่ั ไปสามารถเข้าใจความหมายได้
“โฆษณา” หมายความถงึ กระทำการไม่ว่าโดยวธิ ใี ดๆ ให้ประชาชนเหน็ หรอื ทราบข้อความ เพือ่ ประโยชน์
ในทางการค้า
“สือ่ โฆษณา” หมายความวา่ ส่งิ ทีใ่ ช้เปน็ สือ่ ในการโฆษณา เช่นหนงั สือพมิ พ์สิ่งพิมพ์ วทิ ยุกระจายเสียง วิทยุ
โทรทศั น์ ไปรษณีย์โทรเลขโทรศัพท์ หรือป้าย
“ฉลาก” หมายความว่า รูป รอยประดิษฐ์ กระดาษหรือสงิ่ อ่ืนใดท่ีทำให้ปรากฏข้อความเกี่ยวกับสนิ คา้ ซง่ึ แสดง
ไวท้ ี่สินค้าหรือภาชนะบรรจุหรอื หบี ห่อบรรจุสินค้า หรือสอดแทรกหรือรวมไวก้ ับสนิ ค้าหรอื ภาชนะบรรจุหรอื
หบี หอ่ บรรจสุ นิ ค้าและหมายความรวมถงึ เอกสารหรอื คมู่ ือสำหรบั ใช้ประกอบกบั สินค้า ป้ายท่ีตดิ ต้ังหรือแสดง
ไว้ท่สี นิ ค้าหรอื ภาชนะบรรจหุ รอื หีบห่อบรรจุสินค้าน้ัน

“สัญญา” หมายความว่า ความตกลงกันระหว่างผู้บริโภคและผปู้ ระกอบธรุ กิจเพ่อื ซ้อื และขายสินค้าหรือใหแ้ ละ
รับบริการ
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภค
“กรรมการ” หมายความวา่ กรรมการคมุ้ ครองผบู้ ริโภค
“พนกั งานเจ้าหน้าที่” หมายความวา่ ผ้ซู งึ่ รฐั มนตรแี ต่งตั้งให้ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบัญญัตนิ ี้
“รัฐมนตรี” หมายความวา่ รฐั มนตรผี ู้รกั ษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
มาตรา ๔ ผูบ้ รโิ ภคมสี ิทธไิ ดร้ ับความค้มุ ครองดังต่อไปน้ี
(๑) สทิ ธทิ ่จี ะได้รับข่าวสารรวมทงั้ คำพรรณาคุณภาพทถ่ี ูกต้องและเพยี งพอเกี่ยวกับสินค้าหรอื บริการ
(๒) สิทธทิ ่ีจะมีอิสระในการเลือกหาสนิ คา้ หรือบรกิ าร
(๓) สทิ ธทิ จี่ ะไดร้ บั ความปลอดภัยจากการใชส้ ินค้าหรือบริการ
(๓ ทว)ิ สทิ ธิท่ีจะไดร้ ับความเป็นธรรมในการทำสัญญา
(๔) สทิ ธทิ จ่ี ะได้รบั การพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
ท้งั นี้ ตามที่กฎหมายวา่ ด้วยการนน้ั ๆ หรอื พระราชบัญญตั นิ ้ีบัญญตั ิไว้
มาตรา ๕ ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีตามพระราชบญั ญตั ิน้ี ให้พนกั งานเจ้าหน้าท่ีมีอำนาจดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) นบั ชง่ั ตวง วัด ตรวจสินคา้ และเกบ็ หรอื นำสนิ ค้าในปรมิ าณพอสมควรไปเปน็ ตัวอย่างเพื่อทำการทดสอบ
โดยไมต่ ้องชำระราคาสนิ คา้ นั้น ทงั้ น้ี ตามหลักเกณฑ์ท่คี ณะกรรมการกำหนด
(๒) ค้น ยดึ หรอื อายดั สินคา้ ภาชนะหรอื หีบห่อบรรจสุ ินคา้ ฉลากหรอื เอกสารอนื่ ท่ีไมเ่ ป็นไปตาม
พระราชบัญญตั ินเ้ี พ่ือประโยชนใ์ นการดำเนนิ คดใี นกรณที มี่ ีเหตุอนั ควรสงสัยวา่ มีการกระทำผิดตาม
พระราชบญั ญัติน้ี
(๓) เขา้ ไปในสถานทีห่ รอื ยานพาหนะใดๆ เพ่ือตรวจสอบการผลติ สนิ ค้า การขายสนิ ค้าหรือบริการ รวมท้ัง
ตรวจสอบสมดุ บญั ชี เอกสารและอุปกรณท์ ี่เกีย่ วข้องของผู้ประกอบธรุ กิจในกรณีท่ีมเี หตุอันควรสงสัยว่ามกี าร
กระทำผดิ ตามพระราชบัญญัตินี้
(๔) มีหนงั สือเรยี กใหบ้ ุคคลใดๆ มาใหถ้ ้อยคำ หรือส่งเอกสารและหลักฐานทีจ่ ำเป็นเพื่อประกอบการพจิ ารณา
ของพนกั งานเจ้าหนา้ ที่
ในการปฏิบตั ิหนา้ ทีต่ ามวรรคหนง่ึ ใหผ้ ทู้ ี่เก่ียวข้องอำนวยความสะดวกตามสมควร
มาตรา ๖ ในการปฏิบตั ิหน้าที่ตามมาตรา ๕ (๓) ถ้าไมเ่ ปน็ การเร่งดว่ นใหพ้ นกั งานเจ้าหน้าที่แจ้งเป็นหนังสอื ให้
เจา้ ของหรือผูค้ รอบครองสถานทหี่ รอื ยานพาหนะน้ันทราบล่วงหน้าตามสมควรก่อน และให้กระทำการต่อหน้า
ผ้คู รอบครองสถานทห่ี รือยานพาหนะ หรือถา้ เจา้ ของหรือผู้ครอบครองไม่อยู่ในทนี่ ั้น ก็ให้กระทำต่อหน้าบุคคล
อ่นื อย่างน้อยสองคนซ่ึงพนักงานเจา้ หนา้ ทไี่ ดร้ ้องขอมาเป็นพยาน การคน้ ตามมาตรา ๕ (๒) ให้พนกั งาน
เจา้ หนา้ ท่กี ระทำได้เฉพาะเวลาระหว่างพระอาทิตยข์ ึน้ ถงึ พระอาทติ ย์ตก
มาตรา ๗ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี พนักงานเจ้าหน้าทีต่ อ้ งแสดงบัตรประจำตัวเมอื่ ผู้ท่ี
เกีย่ วขอ้ งร้องขอบัตรประจำตัวของพนักงานเจา้ หน้าที่ ให้เป็นไปตามแบบทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๘ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบญั ญตั ินี้ และให้มีอำนาจแต่งตง้ั พนักงานเจา้ หนา้ ที่ และ
ออกกฎกระทรวงเพอ่ื ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญตั ินี้กฎกระทรวงนน้ั เมอ่ื ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
แล้ว ใหใ้ ชบ้ งั คบั ได้

หมวด ๑
คณะกรรมการคุม้ ครองผู้บรโิ ภค

มาตรา ๙ ใหม้ คี ณะกรรมการคณะหน่ึงเรยี กว่า “คณะกรรมการคุ้มครองผบู้ ริโภค” ประกอบดว้ ย
นายกรฐั มนตรี เป็นประธานกรรมการ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ปลดั สำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรม
ปลดั กระทรวงคมนาคม เลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยา และผู้ทรงคณุ วฒุ ิอกี ไม่เกินแปดคนซึ่ง
คณะรฐั มนตรีแตง่ ต้ังเป็นกรรมการ และเลขาธกิ ารคณะกรรมการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค เปน็ กรรมการและ
เลขานกุ าร
มาตรา ๑๐ คณะกรรมการมีอำนาจและหน้าที่ดังต่อไปน้ี
(๑) พิจารณาเรือ่ งราวร้องทุกขจ์ ากผบู้ รโิ ภคท่ไี ด้รับความเดือดร้อนหรือเสยี หายอันเน่ืองมาจากการกระทำของผู้
ประกอบธรุ กจิ
(๒) ดำเนนิ การเก่ียวกบั สนิ คา้ ท่อี าจเปน็ อันตรายแกผ่ ู้บรโิ ภคตามมาตรา ๓๖
(๓) แจง้ หรือโฆษณาขา่ วสารเกยี่ วกับสนิ คา้ หรือบริการท่ีอาจกอ่ ให้เกิดความเสียหายหรือเสอื่ มเสียแกส่ ทิ ธิของ
ผู้บรโิ ภค ในการนีจ้ ะระบชุ ื่อสนิ ค้าหรือบรกิ าร หรือชื่อของผู้ประกอบธรุ กจิ ด้วยก็ได้
(๔) ให้คำปรึกษาและแนะนำแกค่ ณะกรรมการเฉพาะเร่ือง และพจิ ารณาวินิจฉัยการอทุ ธรณ์คำสงั่ ของ
คณะกรรมการเฉพาะเร่ือง
(๕) วางระเบยี บเก่ียวกับการปฏบิ ัตหิ นา้ ทข่ี องคณะกรรมการเฉพาะเรือ่ งและคณะอนุกรรมการ
(๖) สอดสอ่ งเรง่ รดั พนักงานเจ้าหนา้ ที่ สว่ นราชการ หรอื หนว่ ยงานอน่ื ของรัฐให้ปฏบิ ตั กิ ารตามอำนาจและ
หน้าท่ีทีก่ ฎหมายกำหนด ตลอดจนเรง่ รดั พนักงานเจ้าหนา้ ที่ใหด้ ำเนนิ คดใี นความผิดเก่ยี วกับการละเมิดสิทธิ
ของผบู้ ริโภค
(๗) ดำเนนิ คดเี กี่ยวกับการละเมิดสทิ ธิของผู้บรโิ ภคท่ีคณะกรรมการเหน็ สมควร หรอื มผี ู้รอ้ งขอตาม มาตรา ๓๙
(๘) รบั รองสมาคมตามมาตรา ๔๐
(๙) เสนอความเห็นตอ่ คณะรฐั มนตรีเกยี่ วกับนโยบายและมาตรการในการคุม้ ครองผู้บรโิ ภค และพิจารณาให้
ความเห็นในเร่อื งใด ๆ ที่เกีย่ วกบั การคุ้มครองผู้บริโภคตามทคี่ ณะรัฐมนตรหี รอื รฐั มนตรีมอบหมาย
(๑๐) ปฏิบตั กิ ารอื่นใดตามทม่ี ีกฎหมายกำหนดไวใ้ หเ้ ป็นอำนาจและหนา้ ที่ของคณะกรรมการ
ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทตี่ ามมาตรานี้ คณะกรรมการอาจมอบหมายใหส้ ำนกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภค
เป็นผู้ปฏิบัติการหรือเตรยี มข้อเสนอมายงั คณะกรรมการเพื่อพิจารณาดำเนนิ การตอ่ ไปได้
มาตรา ๑๑ ให้กรรมการซึง่ คณะรฐั มนตรแี ต่งต้งั อยู่ในตำแหน่งคราวละสามปี
กรรมการทีพ่ ้นจากตำแหน่งอาจได้รบั แต่งต้ังอีกได้
มาตรา ๑๒ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๑ กรรมการซงึ่ คณะรฐั มนตรแี ตง่ ตง้ั พน้ จาก
ตำแหน่ง เมอื่
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) คณะรัฐมนตรใี ห้ออก
(๔) เป็นบคุ คลล้มละลาย
(๕) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ

(๖) ได้รบั โทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงท่ีสดุ ให้จำคุก เวน้ แต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ไดก้ ระทำโดยประมาท
หรอื ความผิดลหุโทษ
ในกรณที ี่กรรมการพ้นจากตำแหนง่ กอ่ นวาระ คณะรัฐมนตรอี าจแตง่ ตั้งผ้อู ่นื เป็นกรรมการแทนไดแ้ ละให้ผทู้ ี่
ได้รบั แต่งตั้งใหด้ ำรงตำแหน่งแทนอย่ใู นตำแหน่งเท่ากับวาระท่เี หลอื อยขู่ องกรรมการซง่ึ ตนแทน
ในกรณที ี่คณะรฐั มนตรีแต่งต้ังกรรมการเพ่มิ ข้ึนในระหว่างท่ีกรรมการซ่ึงแตง่ ตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยูใ่ นตำแหน่ง
ให้ผ้ทู ่ไี ดร้ บั แต่งต้งั ให้เป็นกรรมการเพ่ิมขึ้นอยใู่ นตำแหน่งเท่ากับวาระทเ่ี หลืออยู่ของกรรมการทีไ่ ดร้ บั แต่งต้งั ไว้
แล้ว
มาตรา ๑๓ ในการประชมุ คณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไมม่ าประชมุ หรือไม่อยใู่ นท่ปี ระชมุ ใหก้ รรมการ
ท่ีมาประชมุ เลือกกรรมการคนหนง่ึ เปน็ ประธานในท่ปี ระชมุ
การประชุมคณะกรรมการทุกคราวต้องมีกรรมการมาประชุมไม่ต่ำกวา่ กงึ่ หนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึง
จะเป็นองค์ประชุม การวินจิ ฉัยชข้ี าดของทป่ี ระชุมใหถ้ ือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่งึ ใหม้ เี สยี งหน่งึ ในการ
ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากนั ใหป้ ระธานในที่ประชมุ ออกเสยี งเพิม่ ขนึ้ อีกเสียงหนึง่ เป็นเสยี งชข้ี าด
มาตรา ๑๔ ใหม้ ีคณะกรรมการเฉพาะเรอื่ ง ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) คณะกรรมการว่าดว้ ยการโฆษณา
(๒) คณะกรรมการวา่ ดว้ ยฉลาก
คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ประกอบด้วยกรรมการผทู้ รงคุณวุฒิในเรอื่ งทีเ่ กีย่ วข้องตามที่คณะกรรมการแตง่ ต้ัง
ขึ้น มีจำนวนไมน่ ้อยกว่าเจด็ คนแต่ไมเ่ กินสิบสามคน กรรมการเฉพาะเรอ่ื ง อยใู่ นตำแหนง่ คราวละสองปี และให้
นำมาตรา ๑๑ วรรคสอง และมาตรา ๑๒ มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง มีอำนาจและ
หนา้ ทต่ี ามที่กำหนดไวใ้ นพระราชบัญญตั ินแ้ี ละตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย
(๓) คณะกรรมการวา่ ด้วยสัญญา
มาตรา ๑๕ คณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง จะแตง่ ตั้งคณะอนกุ รรมการเพื่อพจิ ารณาหรือ
ปฏบิ ตั ิการอยา่ งหนึ่งอย่างใดตามท่คี ณะกรรมการหรอื คณะกรรมการเฉพาะเรื่องมอบหมายกไ็ ด้
มาตรา ๑๖ การประชุมของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องและคณะอนกุ รรมการให้นำมาตรา ๑๓ มาใช้บังคบั โดย
อนุโลม
มาตรา ๑๗ คณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะเรือ่ งมีอำนาจสัง่ ใหบ้ ุคคลหนึ่งบุคคลใดสง่ เอกสารหรือ
ข้อมลู ท่ีเกยี่ วกับเร่ืองท่ีมีผู้ร้องทกุ ขห์ รือเรอ่ื งอนื่ ใดท่ีเก่ยี วกับการคุ้มครองสิทธขิ องผ้บู ริโภคมาพจิ ารณาได้ ในการ
น้จี ะเรยี กบุคคลท่ีเกีย่ วขอ้ งมาช้แี จงดว้ ยกไ็ ด้
มาตรา ๑๘ ในการปฏิบัติหนา้ ท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการหรอื คณะกรรมการเฉพาะเร่อื งต้องให้
โอกาสแกผ่ ู้ถกู กลา่ วหาหรือสงสัยว่ากระทำการอนั เปน็ การละเมดิ สิทธิของผูบ้ ริโภค เพ่ือช้ีแจงขอ้ เท็จจรงิ และ
แสดงความคิดเห็นตามสมควร เวน้ แต่ในกรณีท่ีจำเป็นและเร่งด่วน การกำหนดหรือการออกคำส่งั ในเรื่องใด
ตามพระราชบญั ญัติน้ี ให้คณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะเรื่องคำนงึ ถงึ ความเสียหายทอี่ าจเกดิ ข้นึ แก่
ท้ังผบู้ รโิ ภคและผู้ประกอบธรุ กิจ และในกรณีท่เี หน็ สมควรคณะกรรมการหรอื คณะกรรมการเฉพาะเร่ืองจะ
กำหนดเงื่อนไขหรือวธิ ีการชวั่ คราวในการบังคับให้เปน็ ไปตามการกำหนดหรอื การออกคำส่ังนั้นกไ็ ด้
มาตรา ๑๙ ให้จดั ตัง้ สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ ริโภคขึ้นในสำนกั นายกรัฐมนตรใี ห้มีเลขาธิการ
คณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภคมีอำนาจหนา้ ทีค่ วบคุมดแู ลโดยทว่ั ไปและรบั ผดิ ชอบในการปฏิบัติราชการของ
สำนกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผ้บู รโิ ภค และจะใหม้ ีรองเลขาธิการและผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารเป็นผชู้ ่วยปฏิบัติ
ราชการด้วยก็ได้
มาตรา ๒๐ ให้สำนกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ ริโภคมีอำนาจและหนา้ ทีด่ ังตอ่ ไปนี้

(๑) รบั เร่ืองราวรอ้ งทุกขจ์ ากผู้บรโิ ภคท่ีได้รบั ความเดือดร้อนหรอื เสยี หายอนั เน่ืองมาจากการกระทำของผู้
ประกอบธรุ กิจ เพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการ
(๒) ติดตามและสอดส่องพฤติการณ์ของผู้ประกอบธุรกจิ ซง่ึ กระทำการใดๆ อนั มลี ักษณะเป็นการละเมิดสทิ ธิ
ของผูบ้ ริโภค และจัดให้มีการทดสอบหรอื พิสูจนส์ นิ ค้าหรือบริการใดๆ ตามทเ่ี หน็ สมควรและจำเป็นเพื่อ
คุ้มครองสทิ ธิของผ้บู ริโภค
(๓) สนับสนุนหรอื ทำการศึกษา วจิ ัยปญั หาเกีย่ วกับการค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภครว่ มกบั สถาบนั การศกึ ษาและ
หน่วยงานอ่ืน
(๔) ส่งเสรมิ และสนับสนุนให้มีการศกึ ษาแก่ผู้บรโิ ภคในทุกระดับการศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภยั และอันตราย
ทอ่ี าจได้รบั จากสินค้าหรอื บริการ
(๕) ดำเนนิ การเผยแพร่วิชาการ และใหค้ วามรแู้ ละการศกึ ษาแกผ่ บู้ ริโภคเพ่ือสร้างนสิ ยั ในการบริโภคท่เี ป็นการ
สง่ เสริมพลานามัย ประหยัด และใช้ทรัพยากรของชาติให้เปน็ ประโยชน์มากท่ีสดุ
(๖) ประสานงานกับส่วนราชการหรอื หนว่ ยงานของรฐั ที่มีอำนาจหน้าท่เี กย่ี วกบั การควบคุม สง่ เสรมิ หรือ
กำหนดมาตรฐานของสนิ คา้ หรือบริการ
(๗) ปฏิบตั กิ ารอื่นใดตามทคี่ ณะกรรมการหรอื คณะกรรมการเฉพาะเร่อื งมอบหมาย

หมวด ๒
การคุ้มครองผู้บรโิ ภค

มาตรา ๒๑ ในกรณีท่ีกฎหมายวา่ ด้วยการใดไดบ้ ัญญตั เิ รอ่ื งใดไวโ้ ดยเฉพาะแลว้ ใหบ้ ังคบั ตามบทบัญญัติแหง่
กฎหมายว่าดว้ ยการน้นั และใหน้ ำบทบัญญตั ิในหมวดนไ้ี ปใชบ้ งั คับได้เท่าที่ไมซ่ ้ำหรือขัดกับบทบญั ญัตดิ งั กล่าว
เวน้ แต่
(๑) ในกรณีทมี่ ีความจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ผบู้ รโิ ภคเป็นส่วนรวม หากปรากฏวา่ เจ้าหน้าทผี่ ู้มีอำนาจตาม
กฎหมายดงั กล่าวยังมิได้มีการดำเนนิ การหรือดำเนินการยังไมค่ รบขั้นตอนตามกฎหมายวา่ ด้วยการน้ัน และมิได้
ออกคำสงั่ เกี่ยวกับการคมุ้ ครองผ้บู ริโภคตามกฎหมายดังกลา่ วภายในเกา้ สบิ วันนบั แต่วันท่ีได้รับหนังสือแจ้งจาก
คณะกรรมการเฉพาะเรื่องหรือคณะกรรมการ ให้คณะกรรมการเฉพาะเรือ่ งหรือคณะกรรมการเสนอเร่ืองให้
นายกรัฐมนตรพี จิ ารณาออกคำสั่งตามความในหมวดนี้ได้
(๒) ในกรณีตาม (๑) ถ้ามคี วามจำเปน็ เรง่ ด่วนอันมอิ าจปล่อยให้เนน่ิ ชา้ ตอ่ ไปได้ให้คณะกรรมการเฉพาะเรอื่ ง
หรอื คณะกรรมการเสนอเรอ่ื งให้นายกรัฐมนตรีพิจารณาออกคำส่งั ตามความในหมวดนไ้ี ด้โดยไมต่ ้องมหี นงั สอื
แจง้ หรือรอให้ครบกำหนดเกา้ สบิ วันตามเงือ่ นไขใน (๑) ในกรณที ี่กฎหมายดังกล่าวมิไดม้ ีบทบัญญัตใิ ห้อำนาจ
แก่เจา้ หนา้ ทผี่ มู้ ีอำนาจตามกฎหมายออกคำสั่งเก่ียวกับการค้มุ ครองผบู้ รโิ ภคตามที่บัญญัติในหมวดนี้ ให้
คณะกรรมการเฉพาะเรื่องมีอำนาจออกคำส่งั ตามความในหมวดน้ี เวน้ แต่ในกรณีทก่ี ฎหมายดังกล่าวมเี จ้าหนา้ ที่
ผมู้ ีอำนาจตามกฎหมายอย่แู ล้วคณะกรรมการอาจมอบอำนาจให้เจ้าหนา้ ท่ผี มู้ ีอำนาจตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการ
นัน้ ๆ ใชอ้ ำนาจตามพระราชบัญญตั ินีแ้ ทนคณะกรรมการเฉพาะเร่ืองไดก้ ารมอบอำนาจให้เจ้าหนา้ ทผ่ี ้มู ีอำนาจ
ตามกฎหมายวา่ ด้วยการน้นั ๆ ตามวรรคสอง ใหป้ ระกาศในราชกจิ จานุเบกษา

ส่วนท่ี ๑
การค้มุ ครองผบู้ ริโภคในด้านการโฆษณา

มาตรา ๒๒ การโฆษณาจะต้องไมใ่ ช้ข้อความท่เี ป็นการไม่เป็นธรรมต่อผบู้ ริโภคหรือใช้ข้อความท่ีอาจก่อให้เกิด
ผลเสยี ต่อสังคมเป็นสว่ นรวม ทัง้ นี้ ไม่ว่าข้อความดงั กลา่ วนั้นจะเปน็ ข้อความท่เี กีย่ วกบั แหล่งกำเนิด สภาพ
คุณภาพหรือลกั ษณะของสินค้าหรือบรกิ าร ตลอดจนการสง่ มอบ การจัดหา หรือการใช้สินคา้ หรือบริการ
ข้อความดงั ต่อไปนี้ ถือวา่ เป็นขอ้ ความที่เป็นการไม่เปน็ ธรรมตอ่ ผู้บริโภคหรือเป็นขอ้ ความท่อี าจก่อใหเ้ กดิ
ผลเสยี ต่อสังคมเป็นส่วนรวม
(๑) ข้อความทเ่ี ป็นเท็จหรือเกินความจรงิ
(๒) ข้อความทจี่ ะก่อให้เกิดความเข้าใจผดิ ในสาระสำคัญเก่ยี วกับสินคา้ หรอื บริการไม่วา่ จะกระทำโดยใช้หรือ
อ้างองิ รายงานทางวชิ าการสถิติ หรือส่งิ ใดสง่ิ หนง่ึ อนั ไม่เป็นความจริงหรือเกนิ ความจริง หรือไม่กต็ าม
(๓) ขอ้ ความทเี่ ปน็ การสนบั สนุนโดยตรงหรอื โดยออ้ มให้มีการกระทำผิดกฎหมายหรือศีลธรรม หรอื นำไปสู่
ความเสื่อมเสียในวัฒนธรรมของชาติ
(๔) ขอ้ ความทจ่ี ะทำใหเ้ กิดความแตกแยกหรือเสอื่ มเสียความสามัคคีในหมปู่ ระชาชน
(๕) ขอ้ ความอย่างอ่ืนตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ขอ้ ความที่ใช้ในการโฆษณาท่ีบคุ คลท่วั ไปสามารถรู้ได้วา่ เป็นขอ้ ความท่ไี มอ่ าจเปน็ ความจริงไดโ้ ดยแนแ่ ท้ ไมเ่ ปน็
ขอ้ ความทต่ี ้องห้ามในการโฆษณาตาม (๑)
มาตรา ๒๓ การโฆษณาจะต้องไม่กระทำด้วยวธิ กี ารอันอาจเปน็ อันตรายต่อสขุ ภาพ รา่ งกายหรือจิตใจ หรอื อัน
อาจก่อใหเ้ กิดความรำคาญแก่ผูบ้ รโิ ภค ท้งั นี้ ตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๒๔ ในกรณีที่คณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณาเห็นว่าสินคา้ ใดอาจเป็นอันตรายแก่ผูบ้ ริโภคและ
คณะกรรมการว่าดว้ ยฉลากได้กำหนดใหส้ ินคา้ น้นั เปน็ สินค้าท่คี วบคมุ ฉลากตามมาตรา ๓๐ ใหค้ ณะกรรมการวา่
ดว้ ยการโฆษณามีอำนาจออกคำสง่ั ดงั ต่อไปน้ี
(๑) กำหนดให้การโฆษณานั้นต้องกระทำไปพร้อมกับคำแนะนำหรอื คำเตือนเกี่ยวกบั วธิ ีใช้หรอื อนั ตราย ตาม
เงอ่ื นไขที่คณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณากำหนด ทั้งนี้ โดยคณะกรรมการว่าดว้ ยการโฆษณาจะกำหนด
เง่อื นไขให้แตกต่างกันสำหรบั การโฆษณาทใ่ี ช้สอ่ื โฆษณาตา่ งกันก็ได้
(๒) จำกัดการใชส้ ่อื โฆษณาสำหรับสนิ คา้ นน้ั
(๓) หา้ มการโฆษณาสินค้าน้นั
ความใน (๒) และ (๓) ใหน้ ำมาใช้บงั คบั แกก่ ารโฆษณาที่คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาเห็นว่าการใช้หรือ
ประโยชนข์ องสินค้าน้นั ขดั ต่อนโยบายทางสงั คมศลี ธรรมหรือวัฒนธรรมของชาตดิ ว้ ย
มาตรา ๒๕ ในกรณีที่คณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณาเหน็ วา่ สินค้าหรอื บรกิ ารใดผบู้ รโิ ภคจำเปน็ ตอ้ งทราบ
ข้อเท็จจรงิ เกย่ี วกบั สภาพ ฐานะ และรายละเอียดอย่างอ่นื เกย่ี วกับผู้ประกอบธุรกจิ ด้วย คณะกรรมการวา่ ด้วย
การโฆษณามอี ำนาจกำหนดให้การโฆษณาสินคา้ หรอื บริการนน้ั ต้องให้ข้อเทจ็ จริงดงั กลา่ วตามทคี่ ณะกรรมการ
ว่าดว้ ยการโฆษณากำหนดได้
มาตรา ๒๖ ในกรณีท่คี ณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาเห็นว่าขอ้ ความในการโฆษณาโดยทางสือ่ โฆษณาใด
สมควรแจง้ ให้ผบู้ ริโภคทราบว่าขอ้ ความนัน้ เปน็ ข้อความที่มีความมงุ่ หมายเพื่อการโฆษณา คณะกรรมการว่า
ดว้ ยการโฆษณามอี ำนาจกำหนดใหก้ ารโฆษณาโดยทางส่ือโฆษณานั้นต้องมถี ้อยคำช้แี จงกำกับให้ประชาชน
ทราบวา่ ขอ้ ความดังกลา่ วเปน็ การโฆษณาได้ ท้ังนี้ คณะกรรมการว่าดว้ ยการโฆษณาจะกำหนดเง่อื นไขอย่างใด
ให้ต้องปฏบิ ัตดิ ้วยก็ได้

มาตรา ๒๗ ในกรณที คี่ ณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณาเหน็ ว่าการโฆษณาใดฝา่ ฝืนมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓
มาตรา ๒๔ (๑) หรอื มาตรา ๒๕ ใหค้ ณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณามีอำนาจออกคำส่ังอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ หรอื
หลายอยา่ งดังต่อไปน้ี
(๑) ให้แก้ไขขอ้ ความหรอื วิธกี ารในการโฆษณา
(๒) ห้ามการใชข้ ้อความบางอยา่ งที่ปรากฏในการโฆษณา
(๓) หา้ มการโฆษณาหรือห้ามใช้วธิ ีการน้ันในการโฆษณา
(๔) ใหโ้ ฆษณาเพ่ือแกไ้ ขความเข้าใจผิดของผู้บริโภคทีอ่ าจเกิดขึน้ แลว้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณากำหนด
ในการออกคำสัง่ ตาม (๔) ใหค้ ณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณากำหนดหลักเกณฑ์และวธิ ีการ โดยคำนึงถงึ
ประโยชน์ของผูบ้ รโิ ภคประกอบกบั ความสจุ รติ ใจในการกระทำของผกู้ ระทำการโฆษณา
มาตรา ๒๘ ในกรณีทค่ี ณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณามีเหตอุ ันควรสงสัยว่าข้อความใดท่ีใช้ในการโฆษณาเปน็
เทจ็ หรือเกินความจริงตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง (๑) ให้คณะกรรมการว่าดว้ ยการโฆษณามีอำนาจออกคำสั่งให้
ผ้กู ระทำการโฆษณาพิสูจน์เพ่ือแสดงความจรงิ ได้
ในกรณีท่ผี ู้กระทำการโฆษณาอา้ งรายงานทางวชิ าการ ผลการวจิ ยั สถติ กิ ารรบั รองของสถาบันหรือบุคคลอ่นื ใด
หรือยนื ยันขอ้ เท็จจริงอันใดอันหนงึ่ ในการโฆษณา ถา้ ผู้กระทำการโฆษณาไมส่ ามารถพสิ จู นไ์ ดว้ ่าขอ้ ความที่ใช้ใน
การโฆษณาเป็นความจริงตามทีก่ ล่าวอ้าง ให้คณะกรรมการวา่ ดว้ ยการโฆษณามีอำนาจออกคำส่ังตามมาตรา
๒๗ ได้ และให้ถือว่าผกู้ ระทำการโฆษณารหู้ รือควรได้รวู้ ่าข้อความนัน้ เปน็ ความเท็จ
มาตรา ๒๙ ผ้ปู ระกอบธรุ กจิ ผู้ใดสงสัยว่าการโฆษณาของตนจะเป็นการฝา่ ฝนื หรอื ไมเ่ ป็นไปตามพระราชบญั ญัติ
นี้ ผู้ประกอบธรุ กจิ ผู้นัน้ อาจขอใหค้ ณะกรรมการวา่ ดว้ ยการโฆษณาพิจารณาให้ความเหน็ ในเรอ่ื งนัน้ ก่อนทำการ
โฆษณาได้ ในกรณนี ีค้ ณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณาจะตอ้ งใหค้ วามเหน็ และแจง้ ให้ผขู้ อทราบภายในสามสบิ
วนั นบั แต่วันที่คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาได้รบั คำขอ ถ้าไม่แจ้งภายในกำหนดระยะเวลาดงั กลา่ ว ใหถ้ อื
ว่าคณะกรรมการวา่ ดว้ ยการโฆษณาให้ความเห็นชอบแลว้ การขอความเห็นและคา่ ปว่ ยการในการใหค้ วามเห็น
ให้เป็นไปตามระเบียบทค่ี ณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณากำหนด คา่ ปว่ ยการท่ีไดร้ บั ให้นำสง่ คลังเป็นรายได้
แผ่นดินการใหค้ วามเหน็ ของคณะกรรมการวา่ ดว้ ยการโฆษณาตามวรรคหน่งึ ไมถ่ ือว่าเป็นการตดั อำนาจของ
คณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณาท่จี ะพจิ ารณาวินิจฉัยใหม่เปน็ อยา่ งอนื่ เมื่อมเี หตุอันสมควรการใดทไ่ี ด้กระทำ
ไปตามความเห็นของคณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณาท่ีใหต้ ามวรรคหนึง่ มใิ หถ้ ือวา่ การกระทำน้ันเป็นความผิด
ทางอาญา

สว่ นที่ ๒
การคุม้ ครองผู้บรโิ ภคในด้านฉลาก

มาตรา ๓๐ ใหส้ ินค้าทผี่ ลิตเพื่อขายโดยโรงงานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงงานและสินคา้ ท่สี ั่งหรอื นำเขา้ มาใน
ราชอาณาจกั รเพื่อขายเป็นสนิ ค้าทค่ี วบคุมฉลาก ความในวรรคหนงึ่ ไม่ใชบ้ งั คบั กบั สนิ คา้ ที่คณะกรรมการว่าด้วย
ฉลากกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาในกรณีทป่ี รากฏวา่ มีสินคา้ ที่อาจก่อให้เกดิ อันตรายแก่สุขภาพ
ร่างกาย หรอื จติ ใจ เน่ืองในการใช้สนิ คา้ หรือโดยสภาพของสินคา้ นน้ั หรอื มีสนิ ค้าทปี่ ระชาชนทว่ั ไปใช้เปน็
ประจำ ซ่งึ การกำหนดฉลากของสินค้านั้นจะเปน็ ประโยชน์แก่ผบู้ ริโภคในการท่จี ะทราบข้อเท็จจริงใน
สาระสำคัญเกี่ยวกับสนิ คา้ นนั้ แตส่ นิ ค้าดังกล่าวไม่เป็นสินค้าทีค่ วบคมุ ฉลากตามวรรคหนึง่ ใหค้ ณะกรรมการว่า
ดว้ ยฉลากมีอำนาจกำหนดให้สนิ คา้ นัน้ เป็นสินค้าท่ีควบคมุ ฉลากได้ โดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา
มาตรา ๓๑ ฉลากของสินคา้ ที่ควบคมุ ฉลาก จะต้องมีลักษณะดังต่อไปน้ี
(๑) ใช้ข้อความท่ตี รงต่อความจริงและไม่มขี ้อความทอ่ี าจก่อใหเ้ กิดความเข้าใจผดิ ในสาระสำคญั เกยี่ วกบั สนิ คา้
(๒) ตอ้ งระบุข้อความดงั ต่อไปนี้
(ก) ชื่อหรือเครื่องหมายการค้าของผผู้ ลิตหรือของผู้นำเขา้ เพ่อื ขายแล้วแตก่ รณี
(ข) สถานทีผ่ ลิตหรอื สถานท่ีประกอบธุรกิจนำเขา้ แล้วแตก่ รณี
(ค) ระบุขอ้ ความท่ีแสดงใหเ้ ข้าใจไดว้ า่ สนิ ค้าน้ันคอื อะไร ในกรณที ่ีเปน็ สนิ ค้านำเขา้ ให้ระบุชือ่ ประเทศที่ผลติ ดว้ ย
(๓) ต้องระบุข้อความอันจำเป็น ไดแ้ ก่ ราคา ปริมาณ วิธใี ช้ ข้อแนะนำ คำเตอื น วัน เดือน ปีทีห่ มดอายุในกรณี
เป็นสนิ ค้าที่หมดอายุได้ หรอื กรณีอืน่ เพื่อคุ้มครองสทิ ธขิ องผู้บรโิ ภค ทง้ั น้ี ตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขท่ี
คณะกรรมการวา่ ดว้ ยฉลากกำหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ใหผ้ ้ปู ระกอบธรุ กจิ ซง่ึ เป็นผู้ผลติ เพื่อขาย
หรอื ผสู้ งั่ หรือผ้นู ำเข้ามาในราชอาณาจักร เพ่อื ขายซง่ึ สนิ คา้ ทค่ี วบคุมฉลาก แล้วแต่กรณี เปน็ ผู้จัดทำฉลากก่อน
ขายและฉลากน้ันต้องมีขอ้ ความดงั กลา่ วในวรรคหนง่ึ ในการน้ี ขอ้ ความตามวรรคหน่งึ (๒) และ (๓) ต้องจัดทำ
ตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการท่ีคณะกรรมการว่าดว้ ยฉลากกำหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๓๒ การกำหนดข้อความของฉลากตามมาตรา ๓๐ ตอ้ งไม่เปน็ การบงั คับให้ผู้ประกอบธุรกิจต้องเปดิ เผย
ความลบั ทางการผลิต เวน้ แตข่ อ้ ความดงั กลา่ วจะเป็นส่งิ จำเปน็ ทเี่ กย่ี วกบั สขุ ภาพอนามยั และความปลอดภยั
ของผู้บรโิ ภค
มาตรา ๓๓ เม่อื คณะกรรมการว่าดว้ ยฉลากเห็นว่าฉลากใดไม่เป็นไปตามมาตรา ๓๑ คณะกรรมการว่าดว้ ย
ฉลากมีอำนาจสัง่ ใหผ้ ู้ประกอบธรุ กจิ เลิกใชฉ้ ลากดงั กลา่ วหรือดำเนินการแก้ไขฉลากนนั้ ใหถ้ กู ต้อง
มาตรา ๓๔ ผูป้ ระกอบธุรกจิ ผู้ใดสงสัยว่าฉลากของตนจะเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่เปน็ ไปตามมาตรา ๓๑ ผู้
ประกอบธรุ กจิ ผ้นู ั้นอาจขอใหค้ ณะกรรมการวา่ ดว้ ยฉลากพิจารณาให้ความเหน็ ในฉลากนั้นก่อนได้ ในกรณีน้ีให้
นำมาตรา ๒๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๓๕ เพื่อประโยชน์ในการควบคุมและการตรวจสอบการประกอบธุรกิจเกย่ี วกับสินคา้ ทีค่ วบคุมฉลาก
รัฐมนตรีมอี ำนาจประกาศในราชกิจจานเุ บกษากำหนดให้ผู้ประกอบธุรกจิ ในสินคา้ ดังกล่าวตอ้ งจัดทำและเก็บ
รักษาบญั ชเี อกสารและหลกั ฐานเพอื่ ให้นักงานเจ้าหนา้ ที่ทำการตรวจสอบได้
วธิ จี ดั ทำและเก็บรักษาบัญชี เอกสารและหลักฐานตามวรรคหนึ่งให้เปน็ ไปตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง

ส่วนท่ี ๒ ทวิ
การคุม้ ครองผบู้ รโิ ภคในดา้ นสัญญา

มาตรา ๓๕ ทวิ ในการประกอบธรุ กจิ ขายสนิ ค้าหรอื ใหบ้ ริการใด ถา้ สญั ญาซื้อขายหรอื สัญญาให้บริการนัน้ มี
กฎหมายกำหนดให้ตอ้ งทำเป็นหนังสอื หรือท่ตี ามปกติประเพณีทำเปน็ หนงั สือ คณะกรรมการวา่ ด้วยสญั ญามี
อำนาจกำหนดให้การประกอบธรุ กจิ ขายสนิ ค้าหรือให้บริการนนั้ เป็นธรุ กิจทคี่ วบคุมสัญญาได้
ในการประกอบธรุ กิจที่ควบคุมสัญญา สัญญาทผี่ ปู้ ระกอบธุรกจิ ทำกับผู้บรโิ ภคจะต้องมีลกั ษณะดังต่อไปน้ี
(๑) ใช้ขอ้ สญั ญาทีจ่ ำเปน็ ซ่ึงหากมไิ ดใ้ ช้ข้อสญั ญาเชน่ น้ัน จะทำใหผ้ ้บู ริโภคเสียเปรยี บผปู้ ระกอบธุรกิจเกิน
สมควร
(๒) หา้ มใชข้ ้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมตอ่ ผบู้ รโิ ภค ท้งั น้ี ตามหลกั เกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดท่ีคณะกรรมการ
ว่าดว้ ยสญั ญากำหนด และเพ่ือประโยชน์ของผู้บรโิ ภคเปน็ ส่วนรวม คณะกรรมการวา่ ดว้ ยสัญญาจะใหผ้ ู้
ประกอบธรุ กจิ จัดทำสัญญาตามแบบทคี่ ณะกรรมการวา่ ดว้ ยสัญญากำหนดก็ได้ การกำหนดตามวรรคหน่งึ และ
วรรคสอง ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎกี า
มาตรา ๓๕ ตรี เมอื่ คณะกรรมการว่าดว้ ยสัญญากำหนดให้สญั ญาของการประกอบธรุ กิจที่ควบคุมสัญญาตอ้ ง
ใชข้ อ้ สัญญาใด หรอื ต้องใชข้ ้อสัญญาใดโดยมีเง่ือนไขในการใช้ข้อสญั ญาน้นั ด้วยตามมาตรา ๓๕ ทวิ แลว้ ถ้า
สัญญานัน้ ไมใ่ ช้ข้อสัญญาดงั กล่าวหรอื ใช้ขอ้ สัญญาดงั กล่าวแตไ่ ม่เป็นไปตามเงื่อนไข ใหถ้ ือว่าสญั ญานั้นใช้ข้อ
สญั ญาดังกล่าวหรอื ใชข้ อ้ สัญญาดังกลา่ วตามเงือ่ นไขน้นั แลว้ แต่กรณี
มาตรา ๓๕ จัตวา เมอ่ื คณะกรรมการว่าดว้ ยสัญญากำหนดให้สญั ญาของการประกอบธุรกจิ ทคี่ วบคุมสัญญา
ต้องไมใ่ ช้ข้อสญั ญาใดตามมาตรา ๓๕ ทวิ แล้ว ถา้ สัญญานนั้ ใช้ขอ้ สัญญาดังกลา่ ว ใหถ้ ือวา่ สญั ญานัน้ ไม่มีข้อ
สญั ญาเชน่ วา่ นน้ั
มาตรา ๓๕ เบญจ คณะกรรมการวา่ ดว้ ยสญั ญามีอำนาจกำหนดใหก้ ารประกอบธุรกจิ ขายสนิ คา้ หรือให้บริการ
อย่างใดอยา่ งหน่ึง เป็นธุรกิจที่ควบคุมรายการในหลักฐานการรับเงินได้ในการประกอบธรุ กิจท่คี วบคมุ รายการ
ในหลกั ฐานการรับเงิน หลกั ฐานการรบั เงนิ จะต้องมีลักษณะ ดงั ต่อไปนี้
(๑) มีรายการและใช้ข้อความทจี่ ำเป็น ซง่ึ หากมิได้มรี ายการหรือมไิ ด้ใช้ขอ้ ความเช่นนัน้ จะทำใหผ้ บู้ ริโภค
เสยี เปรยี บผู้ประกอบธรุ กิจเกินสมควร
(๒) หา้ มใชข้ ้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผบู้ รโิ ภค
ท้ังนี้ ตามหลกั เกณฑ์ เงอื่ นไข และรายละเอยี ดที่คณะกรรมการว่าด้วยสัญญากำหนด การกำหนดตามวรรค
หน่ึงและวรรคสอง ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารท่ีกำหนดโดยพระราชกฤษฎกี า
มาตรา ๓๕ ฉ เมือ่ คณะกรรมการวา่ ดว้ ยสัญญากำหนดให้หลักฐานการรบั เงินของการประกอบธรุ กจิ ที่
ควบคุมรายการในหลกั ฐานการรบั เงินตอ้ งใช้ข้อความใด หรือต้องใช้ข้อความใด โดยมีเง่อื นไขในการใชข้ ้อความ
นนั้ ดว้ ย หรือตอ้ งไม่ใช้ข้อความใดตามมาตรา ๓๕ เบญจ แลว้ ใหน้ ำมาตรา ๓๕ ตรี และมาตรา ๓๕ จัตวา มา
ใช้บงั คับแก่หลักฐานการรับเงินดงั กลา่ วโดยอนุโลม
มาตรา ๓๕ สตั ต ในกรณที ผี่ ู้ประกอบธรุ กจิ ขายสนิ ค้าหรอื ให้บรกิ ารโดยใหค้ ำม่นั วา่ จะทำสัญญารับประกันใหไ้ ว้
แก่ผบู้ ริโภค สญั ญาดงั กลา่ วต้องทำเป็นหนังสอื ลงลายมือชื่อของผปู้ ระกอบธุรกจิ หรือผแู้ ทน และต้องสง่ มอบ
สญั ญานั้นแก่ผู้บรโิ ภคพร้อมกับการสง่ มอบสนิ ค้าหรอื ใหบ้ ริการ ถา้ สญั ญาตามวรรคหนึง่ ทำเป็น
ภาษาต่างประเทศต้องมคี ำแปลภาษาไทยกำกับไว้ดว้ ย
มาตรา ๓๕ อัฏฐ ผปู้ ระกอบธรุ กิจมหี นา้ ที่สง่ มอบสญั ญาทม่ี ีข้อสญั ญาหรือมขี ้อสญั ญาและแบบถกู ต้องตาม
มาตรา ๓๕ ทวิ หรอื สง่ มอบหลักฐานการรบั เงินที่มีรายการและข้อความถูกต้องตามมาตรา ๓๕ เบญจ ให้แก่

ผู้บรโิ ภคภายในระยะเวลาท่ีเป็นทางปฏบิ ัติตามปกตสิ ำหรับการประกอบธุรกิจประเภทน้ัน ๆ หรอื ภายใน
ระยะเวลาท่ีคณะกรรมการว่าด้วยสญั ญากำหนด โดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา สุดแต่ระยะเวลาใดจะถึง
กอ่ น
มาตรา ๓๕ นว ผู้ประกอบธุรกิจผ้ใู ดสงสยั วา่ แบบสญั ญาหรือแบบหลักฐานการรบั เงินของตนจะเปน็ การฝา่ ฝืน
หรือไมเ่ ปน็ ไปตามพระราชบัญญตั นิ ี้ ผปู้ ระกอบธรุ กิจผู้นั้นอาจขอให้คณะกรรมการว่าดว้ ยสัญญาให้ความเหน็ ใน
แบบสญั ญาหรอื แบบหลกั ฐานการรับเงนิ น้นั ก่อนได้ ในกรณีนใ้ี ห้นำมาตรา ๒๙ มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม

ส่วนที่ ๓
การค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภคโดยประการอ่ืน

มาตรา ๓๖ เมอ่ื มเี หตุอนั ควรสงสัยวา่ สินคา้ ใด อาจเปน็ อันตรายแกผ่ ้บู ริโภค คณะกรรมการอาจสั่งใหผ้ ู้
ประกอบธรุ กจิ ดำเนินการทดสอบหรอื พสิ จู นส์ ินค้านนั้ ได้ ถ้าผปู้ ระกอบธุรกจิ ไม่ดำเนินการทดสอบหรอื พิสจู น์
สนิ ค้าหรือดำเนินการล่าช้าโดยไมม่ ีเหตผุ ลอันสมควร คณะกรรมการจะจดั ให้มีการพสิ จู น์โดยผู้ประกอบธรุ กิจ
เปน็ ผูเ้ สียคา่ ใชจ้ ่ายกไ็ ด้ ถ้าผลจากการทดสอบหรือพิสจู นป์ รากฏว่าสนิ คา้ นน้ั อาจเป็นอนั ตรายแก่ผูบ้ ริโภค และ
กรณีไมอ่ าจป้องกันอนั ตรายท่ีจะเกดิ จากสินคา้ นน้ั ได้โดยการกำหนดฉลากตามมาตรา ๓๐ หรือตามกฎหมาย
อ่ืน ใหค้ ณะกรรมการมีอำนาจส่ังห้ามขายสินคา้ น้ัน และถ้าเหน็ สมควรจะส่ังให้ผปู้ ระกอบธุรกจิ เปล่ียนแปลง
สินค้าน้นั ภายใต้เงอ่ื นไขตามท่ีคณะกรรมการกำหนดก็ได้ ในกรณีท่สี นิ ค้านั้นไม่สามารถเปลีย่ นแปลงได้หรือเป็น
ท่สี งสัยวา่ ผ้ปู ระกอบธรุ กจิ จะเกบ็ สินคา้ นัน้ ไวเ้ พ่ือขายต่อไป คณะกรรมการมีอำนาจสง่ั ให้ผปู้ ระกอบธุรกิจ
ทำลายหรอื จะจัดใหม้ ีการทำลายโดยผู้ประกอบธรุ กจิ เปน็ ผเู้ สยี ค่าใช้จา่ ยกไ็ ด้ ในกรณีจำเปน็ และเรง่ ด่วน ถา้
คณะกรรมการมเี หตุทนี่ ่าเชื่อว่าสินคา้ ใดอาจเปน็ อนั ตรายแก่ผู้บรโิ ภค ให้คณะกรรมการมีอำนาจสง่ั ห้ามขาย
สนิ คา้ น้นั เป็นการชว่ั คราวจนกว่าจะได้มกี ารทดสอบหรือพิสจู น์สนิ ค้าตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง การสง่ั หา้ ม
ขายสินค้าตามวรรคสองและวรรคสาม ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๓๗ (ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญัติคมุ้ ครองผู้บริโภค (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑)
มาตรา ๓๘ (ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญัติค้มุ ครองผบู้ ริโภค (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑)
มาตรา ๓๙ ในกรณที ่คี ณะกรรมการเห็นสมควรเข้าดำเนินคดเี กยี่ วกบั การละเมดิ สิทธขิ องผู้บรโิ ภค หรือเม่ือได้
รับคำร้องขอจากผบู้ รโิ ภคท่ีถูกละเมิดสิทธิ ซ่ึงคณะกรรมการเหน็ ว่าการดำเนินคดีนัน้ จะเป็นประโยชนแ์ ก่
ผู้บริโภคเปน็ สว่ นรวม คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตง้ั พนกั งานอยั การโดยความเหน็ ชอบของอธิบดีกรมอยั การ
หรอื ขา้ ราชการในสำนกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภคซงึ่ มีคณุ วฒุ ิไม่ตำ่ กว่าปริญญาตรีทางนติ ิศาสตร์ เป็น
เจา้ หน้าท่ีคุ้มครองผู้บรโิ ภคเพื่อใหม้ ีหนา้ ทีด่ ำเนินคดีแพ่งและคดีอาญาแก่ผกู้ ระทำการละเมดิ สิทธขิ องผู้บริโภค
ในศาล และเม่ือคณะกรรมการไดแ้ จ้งไปยังกระทรวงยุติธรรมเพ่ือแจ้งให้ศาลทราบแล้ว ใหเ้ จา้ หนา้ ที่คมุ้ ครอง
ผู้บรโิ ภคมอี ำนาจดำเนินคดตี ามทค่ี ณะกรรมการมอบหมายได้ ในการดำเนนิ คดีในศาล ให้เจา้ หนา้ ท่คี ้มุ ครอง
ผู้บริโภคมอี ำนาจฟ้องเรียกทรัพยส์ ิน หรือคา่ เสียหายให้แกผ่ ู้บริโภคทร่ี ้องขอได้ด้วย และในการนใี้ ห้ไดร้ ับยกเวน้
คา่ ฤชาธรรมเนยี มทั้งปวง
มาตรา ๔๐ สมาคมใดมวี ตั ถุประสงคใ์ นการคุ้มครองผู้บรโิ ภคหรอื ต่อต้านการแข่งขันอันไมเ่ ปน็ ธรรมทางการคา้
และข้อบังคับของสมาคมดังกลา่ วในสว่ นท่เี ก่ียวกบั คณะกรรมการ สมาชิก และวิธกี ารดำเนนิ การของสมาคม
เป็นไปตามเงือ่ นไขทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง สมาคมน้นั อาจย่นื คำขอใหค้ ณะกรรมการรับรองเพื่อให้สมาคมนัน้
มีสิทธิและอำนาจฟ้องตามมาตรา ๔๑ ได้ การยื่นคำขอตามวรรคหนงึ่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารท่ี
กำหนดในกฎกระทรวง การรับรองสมาคมตามวรรคหนึ่ง ให้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

มาตรา ๔๑ ในการดำเนนิ คดีท่ีเกย่ี วกับการละเมิดสิทธิของผ้บู ริโภคให้สมาคมทีค่ ณะกรรมการรับรองตาม
มาตรา ๔๐ มสี ิทธิในการฟ้องคดีแพ่ง คดีอาญาหรือดำเนินกระบวนพจิ ารณาใดๆ ในคดีเพ่ือคมุ้ ครองผ้บู ริโภคได้
และใหม้ ีอำนาจฟอ้ งเรยี กค่าเสยี หายแทนสมาชกิ ของสมาคมได้ ถา้ มีหนงั สือมอบหมายให้เรียกคา่ เสยี หายแทน
จากสมาชิกของสมาคม ในการดำเนนิ คดีตามวรรคหนึ่ง มใิ หส้ มาคมถอนฟ้อง เว้นแต่ศาลจะอนญุ าตเมื่อศาล
เหน็ วา่ การถอนฟ้องนนั้ ไม่เปน็ ผลเสียต่อการคุ้มครองผู้บริโภคเปน็ สว่ นรวมสำหรับคดีแพ่งเก่ียวกบั การเรียก
คา่ เสยี หายแทนสมาชิกของสมาคมการถอนฟ้อง หรือ การพิพากษาในกรณีที่คู่ความตกลง หรอื
ประนีประนอมยอมความกนั จะตอ้ งมีหนงั สอื แสดงความยินยอมของสมาชิกผ้มู อบหมายให้เรียกค่าเสยี หาย
แทนมาแสดงตอ่ ศาลดว้ ย
มาตรา ๔๒ นอกจากต้องปฏิบัตติ ามบทบัญญตั ิในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และกฎหมายอืน่ แล้ว
สมาคมที่คณะกรรมการรบั รองตามมาตรา ๔๐ ต้องปฏบิ ัติตามระเบียบท่ีคณะกรรมการกำหนดเมื่อปรากฏวา่
สมาคมที่คณะกรรมการรับรองตามมาตรา ๔๐ สมาคมใดไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการกำหนด หรือ
เมือ่ มีพฤติการณ์ปรากฏวา่ สมาคมนั้นดำเนนิ การเพื่อฟ้องคดีโดยไมส่ ุจริต ใหค้ ณะกรรมการมีอำนาจเพกิ ถอน
การรับรองสมาคมนัน้ ได้ การเพิกถอนการรบั รองสมาคมใดตามมาตรานี้ ใหป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา
ในกรณีที่สมาคมซ่ึงถูกเพิกถอนการรบั รองตามมาตรานีไ้ ด้ฟ้องคดีใดไว้ต่อศาลและคดนี ้นั ยังคา้ งอยู่ในการ
พิจารณาของศาล ให้ศาลสงั่ จำหนา่ ยคดีนั้นเสยี

หมวด ๓
การอทุ ธรณ์

มาตรา ๔๓ ในกรณที ่ผี ูไ้ ดร้ ับคำส่ังของคณะกรรมการเฉพาะเร่ืองตามมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๒๘ วรรคสอง ไม่
พอใจคำสั่งดงั กลา่ ว ให้มสี ทิ ธิอทุ ธรณต์ ่อคณะกรรมการได้
มาตรา ๔๔ การอทุ ธรณต์ ามมาตรา ๔๓ ให้ยื่นต่อคณะกรรมการภายในสบิ วนั นบั แตว่ ันที่ผู้อุทธรณ์ไดร้ ับทราบ
คำสง่ั ของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการย่นื อทุ ธรณ์ และวิธีพิจารณาอุทธรณ์ ให้เป็นไปตามท่ี
กำหนดในกฎกระทรวง การอุทธรณ์คำส่งั ตามวรรคหน่งึ ย่อมไมเ่ ป็นการทุเลาการบังคับตามคำสงั่ ของ
คณะกรรมการเฉพาะเร่ือง เว้นแต่คณะกรรมการจะสง่ั เป็นอย่างอน่ื เปน็ การชวั่ คราวก่อนการวนิ จิ ฉัยอุทธรณ์ คำ
วินิจฉัยของคณะกรรมการใหเ้ ปน็ ทส่ี ุด

หมวด ๔
บทกำหนดโทษ

มาตรา ๔๕ ผ้ใู ดขัดขวางหรอื ไม่อำนวยความสะดวก ไม่ใหถ้ ้อยคำ หรอื ไมส่ ่งเอกสาร หรือหลักฐานแกพ่ นักงาน
เจา้ หนา้ ที่ซงึ่ ปฏิบัติการตามมาตรา ๕ ตอ้ งระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดอื น หรือปรบั ไมเ่ กนิ หนง่ึ หม่นื บาท หรือ
ทง้ั จำท้งั ปรับ
มาตรา ๔๖ ผ้ใู ดไม่ปฏบิ ตั ติ ามคำสงั่ ของคณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะเรื่องตามมาตรา ๑๗ ตอ้ ง
ระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรอื ปรับไม่เกินหน่ึงหมืน่ บาท หรือท้ังจำท้งั ปรบั
มาตรา ๔๗ ผู้ใดโดยเจตนากอ่ ใหเ้ กดิ ความเข้าใจผิดในแหล่งกำเนิด สภาพ คณุ ภาพ ปรมิ าณ หรอื สาระสำคัญ

ประการอ่ืนอันเกี่ยวกับสนิ ค้าหรอื บรกิ าร ไมว่ ่าจะเปน็ ของตนเองหรอื ผู้อนื่ โฆษณาหรอื ใช้ฉลากท่ีมีข้อความอนั
เป็นเทจ็ หรือข้อความทรี่ ู้หรือควรรู้อยแู่ ล้วว่าอาจก่อใหเ้ กิดความเข้าใจผิดเช่นวา่ นั้น ตอ้ งระวางโทษจำคุกไม่
เกนิ หกเดือน หรอื ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรอื ทัง้ จำทั้งปรับ ถา้ ผกู้ ระทำความผิดตามวรรคหนึ่งกระทำผดิ ซำ้
อกี ผกู้ ระทำต้องระวางโทษจำคุกไม่เกนิ หน่ึงปี หรือปรบั ไม่เกนิ หนง่ึ แสนบาท หรือทง้ั จำท้ังปรบั
มาตรา ๔๘ ผู้ใดโฆษณาโดยใช้ข้อความตามมาตรา ๒๒ (๓) หรือ (๔) หรือข้อความตามท่ีกำหนดใน
กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๒๒ (๕) หรอื ฝา่ ฝืนหรือไมป่ ฏบิ ัตติ ามมาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ มาตรา ๒๕ หรือ
มาตรา ๒๖ ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กนิ สามเดือน หรือปรบั ไมเ่ กินสามหม่ืนบาท หรอื ทัง้ จำท้ังปรับ
มาตรา ๔๙ ผใู้ ดไม่ปฏบิ ัตติ ามคำสัง่ ของคณะกรรมการว่าดว้ ยการโฆษณาซ่ึงส่ังตามมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๒๘
วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกนิ หกเดือน หรอื ปรับไม่เกนิ หา้ หมน่ื บาท หรือทัง้ จำทงั้ ปรับ
มาตรา ๕๐ ถา้ การกระทำตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ หรือมาตรา ๔๙ เป็นการกระทำของเจ้าของสอื่ โฆษณา
หรอื ผูป้ ระกอบกจิ การโฆษณา ผูก้ ระทำต้องระวางโทษเพยี งกึง่ หนงึ่ ของโทษทบ่ี ัญญตั ิไวส้ ำหรับความผิดนน้ั
มาตรา ๕๑ ถ้าการกระทำความผดิ ตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ หรอื มาตรา ๕๐ เปน็ ความผิด
ตอ่ เนอื่ ง ผู้กระทำตอ้ งระวางโทษปรับวนั ละไมเ่ กนิ หน่ึงหมืน่ บาทหรอื ไม่เกนิ สองเท่าของค่าใช้จา่ ยทีใ่ ชส้ ำหรบั
การโฆษณาน้ัน ตลอดระยะเวลาท่ยี ังฝ่าฝืนหรือไมป่ ฏบิ ัติตาม
มาตรา ๕๒ ผู้ใดขายสินค้าทค่ี วบคมุ ฉลากตามมาตรา ๓๐ โดยไม่มีฉลากหรือมีฉลากแต่ฉลากหรอื การแสดง
ฉลากนั้นไมถ่ ูกตอ้ ง หรือขายสินค้าที่มฉี ลากที่คณะกรรมการวา่ ด้วยฉลากสัง่ เลิกใช้ตามมาตรา ๓๓ ทง้ั น้ี โดยรู้
หรือควรรู้อยู่แล้ววา่ การไมม่ ีฉลากหรือการแสดงฉลากดงั กล่าวน้นั ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ต้องระวางโทษจำคุก
ไมเ่ กนิ หกเดือน หรือปรับไมเ่ กินห้าหมื่นบาท หรอื ทง้ั จำท้ังปรบั ถา้ การกระทำตามวรรคหน่ึงเปน็ การกระทำ
ของผู้ผลิตเพ่ือขาย หรือผูส้ ่ังหรอื นำเข้ามาในราชอาณาจักรเพอ่ื ขาย ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกไมเ่ กนิ หนงึ่ ปี
หรอื ปรบั ไม่เกนิ หนง่ึ แสนบาท หรอื ท้ังจำท้งั ปรับ
มาตรา ๕๓ ผู้ประกอบธุรกจิ ผู้ใดไม่ปฏิบัตติ ามคำสงั่ ของคณะกรรมการว่าด้วยฉลากซึ่งสัง่ ตามมาตรา ๓๓ ตอ้ ง
ระวางโทษจำคุกไมเ่ กินหกเดอื น หรือปรบั ไมเ่ กนิ ห้าหม่นื บาท หรือทัง้ จำท้งั ปรบั
มาตรา ๕๔ ผู้ใดรับจา้ งทำฉลากทไี่ มถ่ ูกต้องตามกฎหมาย หรือรับจ้างตดิ ตรงึ ฉลากท่ีไม่ถูกต้องตามกฎหมายกบั
สนิ คา้ โดยร้หู รือควรรู้อยู่แลว้ วา่ ฉลากดงั กลา่ วน้นั ไมถ่ ูกต้องตามกฎหมาย ต้องระวางโทษปรับไมเ่ กนิ สองหม่นื
บาท
มาตรา ๕๕ ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ผู้ใดไมป่ ฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงทอี่ อกตามมาตรา ๓๕ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกนิ
หนงึ่ หมืน่ บาท
มาตรา ๕๖ ผ้ปู ระกอบธุรกจิ ผู้ใด ขายสนิ ค้าที่คณะกรรมการส่งั หา้ มขายเพราะสนิ คา้ น้นั อาจเปน็ อันตรายแก่
ผู้บริโภคตามมาตรา ๓๖ ตอ้ งระวางโทษจำคุกไมเ่ กนิ หกเดือนหรือปรับไม่เกนิ หา้ หมืน่ บาท หรอื ท้ังจำทงั้ ปรับ
ถา้ ผปู้ ระกอบธรุ กิจน้ันเปน็ ผูผ้ ลติ เพื่อขายหรอื เปน็ ผสู้ ั่งหรือนำเขา้ มาในราชอาณาจกั รเพื่อขาย ผกู้ ระทำต้อง
ระวางโทษจำคุกไมเ่ กินหา้ ปี หรอื ปรบั ไม่เกินหา้ แสนบาท หรอื ท้ังจำทงั้ ปรับ
มาตรา ๕๗ ผูป้ ระกอบธรุ กจิ ผู้ใดไม่ส่งมอบสญั ญาท่ีมีข้อสัญญาหรอื มีข้อสญั ญาและแบบถูกต้องตามมาตรา ๓๕
ทวิ หรอื ไม่ส่งมอบหลกั ฐานการรบั เงนิ ทมี่ ีรายการและขอ้ ความถูกต้องตามมาตรา ๓๕ เบญจ ให้แกผ่ ูบ้ ริโภค
ภายในระยะเวลาตามมาตรา ๓๕ อัฏฐ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกนิ หนึ่งปี หรอื ปรับไมเ่ กินหน่งึ แสนบาท หรอื
ทงั้ จำท้งั ปรับ ผ้ปู ระกอบธุรกิจผู้ใด ส่งมอบหลกั ฐานการรับเงิน โดยลงจำนวนเงนิ มากกว่าท่ผี ้บู ริโภคจะตอ้ ง
ชำระและได้รบั เงนิ จำนวนนัน้ ไปจากผู้บรโิ ภคแล้วต้องระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กินหนงึ่ เดือน หรือปรบั ตัง้ แต่หา้ ร้อย
บาทถึงหนงึ่ หม่ืนบาทหรือทั้งจำท้ังปรบั เวน้ แต่ จะพิสจู นไ์ ดว้ า่ ตนได้ใช้ความระมดั ระวังตามสมควรใน
การประกอบธรุ กิจเชน่ นัน้ แล้ว

มาตรา ๕๗ ทวิ ผู้ประกอบธรุ กจิ ผ้ใู ดฝ่าฝนื หรือไมป่ ฏิบัติตามมาตรา ๓๕ สตั ต ตอ้ งระวางโทษจำคุกไมเ่ กินหน่ึง
ปี หรือปรับไม่เกินหนง่ึ แสนบาทหรือท้งั จำท้งั ปรบั
มาตรา ๕๘ ผู้ใดกระทำความผดิ ตามพระราชบัญญตั นิ ีภ้ ายในสถานทป่ี ระกอบธรุ กิจของผปู้ ระกอบธรุ กจิ และ
การกระทำนั้นเป็นไปเพ่ือประโยชนข์ องผูป้ ระกอบธรุ กิจ ให้สนั นิษฐานวา่ ผู้ประกอบธรุ กิจเป็นผกู้ ระทำผดิ รว่ ม
ด้วยเวน้ แต่จะพิสูจนไ์ ดว้ า่ ตนไม่สามารถคาดหมายได้วา่ บคุ คลนน้ั จะกระทำความผิดแม้จะใชค้ วามระมดั ระวัง
ตามสมควรแลว้
มาตรา ๕๙ ในกรณที ี่ผู้กระทำความผดิ ซ่งึ ต้องรับโทษตามพระราชบัญญัตินี้เปน็ นติ ิบคุ คล กรรมการหรอื
ผจู้ ัดการหรือผรู้ ับผดิ ชอบในการดำเนนิ การของนติ บิ ุคคลน้ันต้องรับโทษตามท่ีกฎหมายกำหนดสำหรบั ความผดิ
นนั้ ๆ ดว้ ยเว้นแต่จะพสิ จู นไ์ ด้ว่าตนมิได้มสี ่วนในการกระทำความผิดของนิติบุคคลนน้ั
มาตรา ๖๐ ผใู้ ดโดยเจตนาทุจริตใชจ้ า้ งวานยยุ งหรอื ดำเนินการให้สมาคมที่คณะกรรมการรับรองตามมาตรา
๔๐ ฟ้องร้องผูป้ ระกอบธุรกจิ คนใดเปน็ คดีแพ่งหรือคดอี าญาต่อศาล เพ่อื กล่นั แกล้งผปู้ ระกอบธุรกจิ น้นั ให้ไดร้ ับ
ความเสียหาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกนิ หกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหม่นื บาท หรือท้งั จำท้งั ปรบั
มาตรา ๖๑ ผู้ใดเปดิ เผยข้อเท็จจริงใดเกี่ยวกบั กิจการของผู้ประกอบธุรกิจอนั เป็นข้อเท็จจรงิ ทตี่ ามปกตวิ สิ ยั ของ
ผปู้ ระกอบธรุ กิจจะพงึ สงวนไว้ไมเ่ ปดิ เผย ซงึ่ ตนได้มาหรือลว่ งรูเ้ นอ่ื งจากการปฏบิ ัติการ พระราชบญั ญตั นิ ้ีต้อง
ระวางโทษจำคุกไมเ่ กินหนงึ่ ปี หรือปรบั ไม่เกินหน่ึงแสนบาท หรือท้ังจำทง้ั ปรับ เว้นแต่เปน็ การเปดิ เผยในการ
ปฏบิ ัติราชการหรือเพ่ือประโยชน์ในการสอบสวน หรือการพิจารณาคดผี ู้ใดไดม้ า ลว่ งรู้ข้อเท็จจริงใดจากบุคคล
ตามวรรคหนงึ่ เนอื่ งในการปฏิบตั ริ าชการหรอื การสอบสวนหรอื การพจิ ารณาคดี แลว้ เปดิ เผยขอ้ เทจ็ จรงิ นัน้ ใน
ประการที่น่าจะเสียหายแก่ผูห้ น่งึ ผใู้ ดตอ้ งระวางโทษเช่นเดียวกัน
มาตรา ๖๒ บรรดาความผดิ ตามพระราชบญั ญัติน้ี คณะกรรมการมีอำนาจเปรยี บเทยี บได้ และในการน้ีให้
คณะกรรมการมีอำนาจมอบหมายให้คณะกรรมการเฉพาะเรอื่ งหรือคณะอนุกรรมการพนักงานสอบสวนหรอื
พนักงานเจ้าหน้าที่ ดำเนินการเปรยี บเทยี บไดโ้ ดยจะกำหนดหลักเกณฑใ์ นการเปรียบเทยี บหรือเง่อื นไขประการ
ใดๆ ให้แก่ผู้ได้รับมอบหมายตามท่ีเหน็ สมควรดว้ ยก็ได้ ภายใตบ้ งั คบั ของบทบญั ญัติตามวรรคหนึ่งในการ
สอบสวนถ้าพนักงานสอบสวนพบวา่ บคุ คลใดกระทำความผดิ ตามพระราชบัญญัติน้ี และบคุ คลน้ันยินยอมให้
เปรยี บเทยี บ ใหพ้ นักงานสอบสวนสง่ เร่ืองมายังคณะกรรมการหรอื ผูซ้ ึ่งคณะกรรมการมอบหมายใหม้ ีอำนาจ
เปรยี บเทยี บตามวรรคหนึ่งภายในเจ็ดวัน นบั แต่วันท่ีผูน้ ้นั แสดงความยนิ ยอมใหเ้ ปรียบเทียบเมือ่ ผู้กระทำ
ความผดิ ไดเ้ สียค่าปรับตามทเี่ ปรียบเทยี บแลว้ ใหถ้ ือว่าคดเี ลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

ใบงานที่ 4
เร่ือง เศรษฐศาสตร์
1. ให้ผูเ้ รยี นศึกษาค้นคว้าเรื่อง สถานการณ์เศรษฐกจิ ไทยปจั จุบนั เป็นอย่างไร มจี ดุ อ่อน จุดแข็ง อยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. เพอ่ื ป้องกนั ถกู เอาเปรียบใชส้ นิ ค้าหรอื รับบรกิ ารทา่ นมีวิธปี ้องกนั หรือแก้ไขอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. พระราชบญั ญัติคุ้มครองผู้บรโิ ภคฉบับปัจจบุ ัน คอื
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. เพราะเหตุใดผผู้ ลติ ท้งั ภาคเกษตรกรรม ภาคอตุ สาหกรรม และภาคบรกิ ารจึงต้องให้ความสำคัญกับ
การบริหารทรัพยากร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……….

แบบประเมนิ กลุ่ม

รายการพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพการปฏิบตั ิ
4321
1. มกี ารปรกึ ษาและวางแผนรว่ มกนั ก่อนทำงาน
2. มกี ารแบ่งหน้าทอ่ี ย่างเหมาะสมและสมาชิกทำตามหน้าทที่ ุกคน
3. มีการปฏบิ ตั ิงานตามขั้นตอน
4. มีการให้ความชว่ ยเหลอื กัน
5. ให้คำแนะนำกลมุ่ อน่ื ได้

รวม

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครัง้ หรอื ไมเ่ คยปฏิบัตเิ ลย

เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ

ช่วงคะแนน 4 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ
3 หมายถงึ
17-20 2 หมายถงึ ดมี าก
13-16 1 หมายถงึ ดี
9-12 พอใช้
5-8 ปรับปรงุ

แบบประเมนิ ผลงานกล่มุ

รายการ คุณภาพผลงาน
4321
1. ผลงานเป็นไปตามวตั ถุประสงค์ที่กำหนด
2. ผลงานเสรจ็ ทนั ตามกำหนดเวลา
3. ผลงานมคี วามคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์
4. ผลงานแสดงถงึ การนำความรู้ทีไ่ ด้มาประยุกตใ์ ช้
5. ผลงานเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย

รวม

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

ผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ สมบูรณ์ ชดั เจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ เปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 3 คะแนน
ผลงานสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นบางส่วน ให้ 2 คะแนน
ผลงานไม่สอดคล้องกบั รายการประเมนิ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน 4 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ
3 หมายถงึ
17-20 2 หมายถึง ดมี าก
13-16 1 หมายถงึ ดี
9-12 พอใช้
5-8 ปรับปรุง

แบบประเมินการนาเสนอผลงาน

รายการพฤตกิ รรม คุณภาพการปฏบิ ัติ
4321
1. นำเสนอเนือ้ หาของผลงานได้ถกู ต้อง
2. การนำเสนอมีความน่าสนใจ
3. มคี วามเหมาะสมกับเวลา
4. มีความกล้าแสดงออก
5. บคุ ลกิ ภาพดี ใชน้ ำ้ เสยี งเหมาะสม

รวม

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
การปฏบิ ตั สิ มบรู ณ์ ชัดเจน ให้ 3 คะแนน
การปฏบิ ัติยังมขี อ้ บกพรอ่ งในจดุ ทไ่ี ม่สำคัญ ให้ 2 คะแนน
การปฏบิ ัติยงั มขี อ้ บกพรอ่ งเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ปฏิบัติไมไ่ ดเ้ ลย

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ 4 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ
ช่วงคะแนน 3 หมายถึง
2 หมายถึง ดมี าก
17-20 1 หมายถงึ ดี
13-16 พอใช้
9-12 ปรบั ปรุง
5-8

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล

รายการพฤตกิ รรม คณุ ภาพการปฏบิ ัติ
4321
1. มกี ารวางแผนก่อนการทำงาน
2. ปฏบิ ตั งิ านด้วยความตง้ั ใจ
3. มีการปฏบิ ัติงานตามขัน้ ตอน
4. มกี ารให้ความชว่ ยเหลอื เพ่ือน
5. ใหค้ ำแนะนำเพื่อนคนอ่ืนได้

รวม

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครงั้ หรือไม่เคยปฏิบัติเลย

เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ระดบั คุณภาพ
ชว่ งคะแนน
ดมี าก
17-20 4 หมายถึง ดี
13-16 3 หมายถึง พอใช้
9-12 2 หมายถึง ปรับปรุง
5-8 1 หมายถึง

แผนการจดั การเรียนรู้
รายวิชา สังคมศึกษา รหัส สค21001
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 3 หน่วยกิต
ครง้ั ที่ ....... วันที่ ………………….. จำนวน …18.... ชั่วโมงการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.)
เร่ือง ภูมิศาสตร์กายภาพทวีปเอเชีย
ตวั ชี้วัด มคี วามรู้ ความเข้าใจ การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ศิ าสตรก์ ายภาพที่สง่ ผลกระทบต่อวิถชี ีวติ
ความเปน็ อยู่ของประชากรไทย และประเทศตา่ งๆ ในทวีปเอเชีย และมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกับ
ความสัมพันธ์ของสภาพภูมิศาสตรก์ ายภาพที่มีต่อการเกิดทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
ในทวปี เอเชยี
เน้ือหา หลักการเปล่ียนแปลงสภาพภูมศิ าสตร์กายภาพและสภาพภมู ศิ าสตรก์ ายภาพของ

ไทยที่ ส่งผลต่อทรัพยากรต่างๆ และสิง่ แวดล้อมตา่ งๆคือ สภาพปา่ ไม้ ดิน หนิ แร่ แม่น้ำ ภเู ขา ลำ

คลอง หนอง บึง ทะเล ชายฝั่ง สัตว์ป่า สตั ว์ทะเล สัตว์น้ำจืด เปลอื กหอย แนวปะการัง และอื่นๆส่งผล

ตอ่ ทรัพยากร และสง่ิ แวดลอ้ มตา่ งๆ คือ สภาพป่าไม้ ดนิ หนิ แร่ ภูเขา แม่น้ำลำคลอง หนอง บึงทะเล

ชายฝัง่ สตั ว์ป่า สตั วท์ ะเล สตั วน์ ำ้ จืด เปลือกหอย แนวปะการัง และอืน่ ๆ

ขั้นตอนการจดั กระบวนการเรยี นรู้
ขน้ั ที่ 1 การกำหนดสภาพ ปัญหา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ (O : Orientation)

1. ครูทกั ทายกล่าวนำและอธบิ ายเพอื่ สร้างความเข้าใจและชแี้ จงกระบวนการเรยี นรู้ในเรอื่ งหลกั การ

เปล่ียนแปลงสภาพภมู ศิ าสตร์กายภาพและสภาพภูมศิ าสตร์กายภาพของไทยทส่ี ่งผลต่อทรพั ยากร

ตา่ งๆ และสิ่งแวดล้อมต่างๆคือ สภาพปา่ ไม้ ดิน หิน แร่ แม่นำ้ ภเู ขา ลำคลอง หนอง บึง ทะเล

ชายฝ่งั สตั วป์ า่ สตั ว์ทะเล สัตว์น้ำจดื เปลือกหอย แนวปะการัง และอื่นๆส่งผลตอ่ ทรัพยากร

และส่งิ แวดลอ้ มต่างๆ คือ สภาพปา่ ไม้ ดนิ หิน แร่ ภูเขา แม่นำ้ ลำคลอง หนอง บงึ ทะเล ชายฝง่ั

สัตว์ป่า สัตว์ทะเล สัตวน์ ้ำจืด เปลือกหอย แนวปะการัง และอนื่ ๆ

2. ครูกำหนดเป้าหมายและการวางแผนการเรียนรู้เก่ียวกับเรื่องหลักการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิศาสตร์กายภาพและสภาพภูมิศาสตรก์ ายภาพของไทยทสี่ ่งผลตอ่ ทรพั ยากรต่างๆ และส่งิ แวดลอ้ ม
ต่างๆคือ สภาพป่าไม้ ดนิ หิน แร่ แมน่ ้ำ ภูเขา ลำคลอง หนอง บึง ทะเล ชายฝ่ัง สัตวป์ ่า สัตว์ทะเล
สัตว์น้ำจืด เปลือกหอย แนวปะการัง และอ่ืนๆส่งผลต่อทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมต่างๆ คอื สภาพ
ป่าไม้ ดิน หิน แร่ ภูเขา แม่น้ำลำคลอง หนอง บึงทะเล ชายฝั่ง สัตว์ป่า สัตว์ทะเล สัตว์น้ำจืด
เปลือกหอย แนวปะการัง และอื่นๆครูเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามข้อสงสัยก่อนเข้าสู่บทเรียนขั้น
ตอ่ ไป
ข้ันท่ี 2 การแสวงหาขอ้ มลู และการจัดการเรยี นรู้ (N : New Way of learning)

3. ครแู ละผเู้ รยี นวางแผนวิธีการเรยี นรเู้ นื้อหาท่ีกำหนด
2. ครกู ำหนดใหผ้ เู้ รียนไปศึกษาเรยี นรู้ดว้ ยตนเองในเร่ืององค์ประกอบของภูมิศาสตร์
กายภาพของผเู้ รียนในแตล่ ะภูมภิ าค ดังนี้

1. ลักษณะภูมิประเทศ

2. ลกั ษณะภมู ิอากาศ

3.ทรพั ยากรธรรมชาติ

4. ผู้เรยี นคดิ วา่ ประเทศไทยมีทรัพยากรอะไรท่ีมากท่ีสุด บอกมา 5 ชนิด แต่ละชนิด

ส่งผลตอ่ การดำเนนิ ชีวิตของประชากรอยา่ งไรบ้าง

5.ปัจจัยทมี่ ีผลกระทบต่อทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
4. นำผลทไี่ ด้จากการศึกษามาบันทึกลงในแฟ้มสะสมงาน
5. ครใู หผ้ ู้เรยี นนำผลงานท่ไี ดจ้ ากการศึกษาคน้ ควา้ มานำเสนอในการพบกลุม่ ครั้งตอ่ ไป

ข้ันท่ี 3 การปฏบิ ตั แิ ละการนำไปประยกุ ตใ์ ช้ (I : Implementation)
1. ครแู ละผู้เรยี นสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน

ข้ันที่ 4 การประเมินผล (E : Evaluation)

สือ่ การเรียนรู้ 5. ครปู ระเมนิ ชิ้นงานจากแฟ้มสะสมงานของผ้เู รียน
6. ครูสังเกตจากการนำเสนอผลงานของผเู้ รยี น

1. อินเทอรเ์ น็ต
2. หนงั สือเรียนสงั คมศึกษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น หลักสตู รการศึกษานอกระบบ

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
3. หอ้ งสมุดประชาชน

การวดั และประเมนิ ผล
แฟ้มสะสมงาน
การสังเกต
การซักถาม
การนำเสนอ
การมีสว่ นรว่ มของผเู้ รียน

ใบงานท่ี........
เรอื่ ง ภมู ศิ าสตรก์ ายภาพทวีปเอเชีย
คำส่ัง ใหผ้ ู้เรียนไปศึกษาเรอื่ งต่อไปนแี้ ละบันทึกลงในแฟ้มสะสมงาน
1. ให้ผู้เรียนไปศึกษาเรยี นรดู้ ้วยตนเองในเร่ืององค์ประกอบของภูมิศาสตรก์ ายภาพของผูเ้ รียนในแต่ละภูมิภาค
ดังน้ี
1. ลักษณะภูมปิ ระเทศ
2. ลักษณะภูมิอากาศ

3.ทรัพยากรธรรมชาติ

4. ผูเ้ รยี นคิดว่าประเทศไทยมีทรัพยากรใดมากท่สี ุด บอกมา 5 ประเภท แตล่ ะประเภทสง่ ผลตอ่ การ

ดำเนินชวี ิตของประชากรอย่างไร

5.ปัจจัยท่มี ผี ลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

6. ใหผ้ ูเ้ รยี นอธบิ ายว่าการเกดิ แผน่ ดินไหวอยา่ งรนุ แรง จะส่งผลกระทบต่อประชากรและสงิ่ แวดล้อม
อย่างไรบ้าง

7.ใหบ้ อกความแตกต่างและผลกระทบที่เกดิ ต่อประชากรและส่ิงแวดล้อมของพายุฝนฟ้าคะนอง พายุ
หมุนเขตรอ้ น และพายทุ อร์นาโด

8.คล่ืนสนึ ามิกบั ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมมากมายหลายอย่าง ในความคิดเหน็ ของผเู้ รยี นผลกระทบ
ด้านใดที่เสียหายมากทส่ี ดุ พร้อมให้เหตผุ ลประกอบ

การวัดและประเมนิ ผล

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล

รายการพฤตกิ รรม คุณภาพการปฏิบัติ
4321
1. มีการวางแผนก่อนการทำงาน
2. ปฏบิ ตั ิงานด้วยความตงั้ ใจ
3. มกี ารปฏิบตั งิ านตามขน้ั ตอน
4. มกี ารให้ความชว่ ยเหลือเพ่ือน
5. ใหค้ ำแนะนำเพื่อนคนอืน่ ได้

รวม

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้งั หรือไม่เคยปฏิบตั เิ ลย

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน 4 หมายถึง ระดับคุณภาพ
3 หมายถงึ
17-20 2 หมายถึง ดีมาก
13-16 1 หมายถึง ดี
9-12 พอใช้
5-8 ปรับปรงุ

แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา สังคมศึกษา รหัส สค21001
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จำนวน 3 หนว่ ยกติ
ครั้งที่ ....... วันที่ ………………….. จำนวน …8.... ชว่ั โมงการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (กรต.)
เรอื่ ง ภมู ิศาสตร์กายภาพทวปี เอเชีย
ตวั ช้วี ัด สามารถนำความรู้เกย่ี วกบั ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยและทวีปเอเชยี มาปรบั ใชใ้ น
การดำรงชีวติ และความมั่นคงของชาติ
เนื้อหา 1. ความสำคัญในการดำรงชวี ติ ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพทรัพยากรในประเทศไทย และ
ประเทศตา่ งๆในทวีปเอเชีย
2. กรณีตวั อย่างการปรับตัวในการดำรงชีวิตทสี่ อดคลอ้ งกับสภาพทรพั ยากรในประเทศไทย
และประเทศต่างๆในทวปี เอเชีย

ขั้นตอนการจดั กระบวนการเรยี นรู้
ขนั้ ท่ี 1 การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ (O : Orientation)

1. ครทู กั ทายกล่าวนำและอธบิ ายการกำหนดเป้าหมายและการวางแผนการเรยี นรูเ้ กย่ี วกับเรื่อง
ความสำคัญในการดำรงชวี ิต ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพทรัพยากรในประเทศไทย และประเทศต่างๆใน
ทวปี เอเชียและ กรณีตวั อยา่ งการปรบั ตัวในการดำรงชีวิตที่สอดคลอ้ งกบั สภาพทรพั ยากรในประเทศ
ไทยและประเทศตา่ งๆในทวีปเอเชยี

2. ครเู ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนซักถามขอ้ สงสัยก่อนเข้าสบู่ ทเรียนข้ันตอ่ ไป
ขน้ั ที่ 2 การแสวงหาข้อมูล และการจดั การเรยี นรู้ (N : New Way of learning)

6. ครแู ละผเู้ รียนวางแผนวิธกี ารเรียนรเู้ นอื้ หาทก่ี ำหนด
7. ครูกำหนดให้ผเู้ รยี นไปศึกษาเรียนรูด้ ว้ ยตนเองในเร่ืองความสำคัญในการดำรงชวี ติ ให้

สอดคลอ้ งกบั สภาพทรพั ยากรในประเทศไทย และประเทศตา่ งๆในทวปี เอเชยี และ กรณี
ตวั อย่างการปรับตัวในการดำรงชีวติ ทสี่ อดคล้องกับสภาพทรพั ยากรในประเทศไทยและ
ประเทศต่างๆในทวปี เอเชีย
8. นำผลท่ไี ดจ้ ากการศึกษามาบันทึกลงในแฟ้มสะสมงาน
9. ครูให้ผ้เู รียนนำผลงานท่ีได้จากการศึกษาคน้ ควา้ มานำเสนอในการพบกล่มุ ครั้งตอ่ ไป

ขั้นท่ี 3 การปฏิบัตแิ ละการนำไปประยกุ ต์ใช้ (I : Implementation)
2. ครูและผเู้ รียนสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน

ขัน้ ท่ี 4 การประเมินผล (E : Evaluation)
7. ครปู ระเมินชนิ้ งานจากแฟม้ สะสมงานของผ้เู รียน
8. ครูสังเกตจากการนำเสนอผลงานของผ้เู รยี น

สื่อการเรียนรู้
4. อนิ เทอรเ์ นต็
5. หนังสอื เรียนสงั คมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
6. ห้องสมดุ ประชาชน

การวัดและประเมินผล
แฟม้ สะสมงาน
การสงั เกต
การซักถาม
การนำเสนอ
การมสี ่วนร่วมของผู้เรยี น

ใบงานที.่ .......
เรื่อง ภมู ศิ าสตร์กายภาพทวีปเอเชยี
คำสัง่ ใหผ้ เู้ รยี นไปศึกษาเรอื่ งตอ่ ไปน้ีและบันทึกลงในแฟ้มสะสมงาน
1. ผเู้ รยี นคิดวา่ ภาคใดของไทยทสี่ ามารถสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวมากทีส่ ุด พร้อมใหเ้ หตผุ ล และสถานท่ี
ทอ่ งเทีย่ วดังกลา่ ว คืออะไรบา้ ง พรอ้ มยกตวั อย่าง
2. ผู้เรยี นคดิ วา่ ปจั จยั ใดที่ทำให้มปี ระชากรอพยพเขา้ มาอาศัยอยู่ในภาคตะวนั ออกของประเทศไทยมากขึ้น
3. ทวีปใดทก่ี ล่าวว่าเป็นทวปี “แหลง่ อารยธรรม” เพราะเหตใุ ดจงึ กล่าวเชน่ น้นั

การวัดและประเมินผล

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล

รายการพฤตกิ รรม คุณภาพการปฏิบตั ิ
4321
1. มกี ารวางแผนก่อนการทำงาน
2. ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความตั้งใจ
3. มกี ารปฏบิ ัติงานตามข้นั ตอน
4. มกี ารใหค้ วามชว่ ยเหลอื เพ่ือน
5. ใหค้ ำแนะนำเพ่ือนคนอน่ื ได้

รวม

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั้ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้ังหรือไม่เคยปฏบิ ตั เิ ลย

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน 4 หมายถึง ระดบั คณุ ภาพ
3 หมายถงึ
17-20 2 หมายถึง ดีมาก
13-16 1 หมายถงึ ดี
9-12 พอใช้
5-8 ปรับปรงุ

แผนการจัดการเรยี นรู้
รายวิชา สังคมศกึ ษา รหัส สค21001
ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 3 หน่วยกติ
ครง้ั ที่ ....... วันที่ ………………….. จำนวน …16.... ชั่วโมงการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (กรต.)
เรอ่ื ง ประวัติศาสตรท์ วปี เอเชยี
ตัวชว้ี ัด อธิบายความเปน็ มาของประวัตศิ าสตรป์ ระเทศในทวปี เอเชีย
เนอ้ื หา ประวัติศาสตรส์ งั เขปของประเทศในทวปี เอเชยี
- จีน
- อินเดีย
- เขมร
- ลาว
- มาเลเซยี
- พมา่
- อินโดนเี ซีย
- ฟิลิปปินส์
- ญี่ป่นุ ฯลฯ
ขัน้ ตอนการจดั กระบวนการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้ (O : Orientation)
1. ครทู ักทายกลา่ วนำและอธิบายการกำหนดเปา้ หมายและการวางแผนการเรยี นรเู้ ก่ยี วกับเรอ่ื ง
ประวัติศาสตร์สังเขปของประเทศในทวปี เอเชีย ดังนี้
- จีน
- อนิ เดยี
- เขมร
- ลาว
- มาเลเซยี
- พมา่
- อินโดนีเซยี
- ฟิลปิ ปนิ ส์
- ญี่ปนุ่ ฯลฯ
3. ครเู ปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นซักถามข้อสงสัยก่อนเขา้ สบู่ ทเรยี นขั้นต่อไป

ขน้ั ที่ 2 การแสวงหาข้อมูล และการจดั การเรียนรู้ (N : New Way of learning)
10. ครูและผูเ้ รียนวางแผนวธิ ีการเรียนรู้เน้อื หาท่ีกำหนด
2. ครกู ำหนดให้ผู้เรียนไปศึกษาเรียนรดู้ ว้ ยตนเองในเร่ืองประวัติศาสตร์สังเขปของประเทศ

ในทวีปเอเชีย ดังนี้
- จีน
- อินเดีย

- เขมร
- ลาว
- มาเลเซยี
- พม่า
- อินโดนเี ซยี
- ฟลิ ปิ ปินส์
- ญ่ีป่นุ
3. นำผลทีไ่ ด้จากการศึกษามาบนั ทกึ ลงในแฟ้มสะสมงาน

4. ครูให้ผเู้ รยี นนำผลงานที่ได้จากการศึกษาคน้ ควา้ มานำเสนอในการพบกลมุ่ ครั้งต่อไป

ข้ันท่ี 3 การปฏิบัตแิ ละการนำไปประยกุ ต์ใช้ (I : Implementation)
3. ครแู ละผู้เรยี นสรุปองค์ความรู้ร่วมกนั

ขั้นที่ 4 การประเมนิ ผล (E : Evaluation)
9. ครูประเมินชิ้นงานจากแฟ้มสะสมงานของผเู้ รียน
10. ครสู งั เกตจากการนำเสนอผลงานของผูเ้ รียน

สอ่ื การเรยี นรู้
7. อินเทอรเ์ นต็
8. หนงั สือเรียนสงั คมศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบ
ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
9. หอ้ งสมุดประชาชน

การวัดและประเมินผล
แฟม้ สะสมงาน
การสงั เกต
การซกั ถาม
การนำเสนอ
การมสี ่วนร่วมของผู้เรยี น

ใบงานท่ี........
เร่อื ง ประวตั ศิ าสตร์ทวีปเอเชยี
คำสง่ั ใหผ้ เู้ รียนไปศกึ ษาเร่ืองตอ่ ไปนี้และบันทึกลงในแฟ้มสะสมงาน
1. ผเู้ รียนศกึ ษาประวตั ศิ าสตรข์ องแตล่ ะประเทศในทวปี เอเชียและสรุปยอ่ ๆของแตล่ ะประเทศท่ีกำหนด
ดงั น้ี
- จนี
- อินเดยี
- เขมร
- ลาว
- มาเลเซีย
- พม่า
- อินโดนเี ซยี
- ฟิลิปปนิ ส์
- ญีป่ ุน่
2. ผเู้ รียนศึกษาเร่ืองชนชาติตา่ งๆในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตร้ ะบุวา่ “ ชาวไทย ชาวอินโดนีเซยี ชาว
เวียดนามชาวฟิลปิ ปนิ ส์ มีบรรพบุรษุ ดง้ั เดิมเปน็ พวกเดยี วกัน” นกั ศกึ ษาเห็นด้วยหรือไมก่ ับแนวคิด
ดงั กล่าว พรอ้ มระบุเหตุผลประกอบ

การวดั และประเมนิ ผล

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล

รายการพฤติกรรม คณุ ภาพการปฏบิ ัติ
4321
1. มกี ารวางแผนก่อนการทำงาน
2. ปฏบิ ตั งิ านด้วยความตัง้ ใจ
3. มีการปฏบิ ัติงานตามข้นั ตอน
4. มกี ารให้ความชว่ ยเหลือเพ่ือน
5. ใหค้ ำแนะนำเพื่อนคนอน่ื ได้

รวม

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั้ ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครง้ั หรอื ไมเ่ คยปฏิบัติเลย

เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ

ชว่ งคะแนน 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพ
3 หมายถึง
17-20 2 หมายถงึ ดมี าก
13-16 1 หมายถึง ดี
9-12 พอใช้
5-8 ปรบั ปรุง


Click to View FlipBook Version