หนังสือเรียนสาระการพฒั นาสังคม
รายวชิ าสงั คมศึกษา
(สค21001)
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน
หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
หามจําหนาย
หนงั สือเรียนเลมน้ี จัดพมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผนดนิ เพือ่ การศึกษาตลอดชีวติ สําหรบั ประชาชน
ลขิ สทิ ธิ์เปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
สํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธกิ าร
หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม
รายวชิ าสังคมศึกษา (สค21001)
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
เอกสารทางวิชาการลาํ ดับท่ี 36/2557
คาํ นาํ
สํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดด ําเนินการจัดทําหนังสือ
เรยี นชุดใหมน ีข้ ึน้ เพ่ือสาํ หรับใชใ นการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐานพทุ ธศักราช 2551 ท่ีมีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเ รียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา
และศักยภาพในการประกอบอาชีพการศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวติ อยูในครอบครัว ชมุ ชน สังคมได
อยา งมีความสุขโดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใชดว ยวิธีการศึกษาคน ควา ดวยตนเอง ปฏิบัติ
กิจกรรม รวมทัง้ แบบฝก หัด เพอ่ื ทดสอบความรูค วามเขาใจในสาระเน้อื หา โดยเม่ือศึกษาแลว ยังไมเ ขาใจ
สามารถกลับไปศึกษาใหมไ ด ผูเรยี นอาจจะสามารถเพ่ิมพูนความรูห ลังจากศึกษาหนังสือเรียนนี้ โดยนํา
ความรไู ปแลกเปลยี่ นกบั เพอ่ื นในชนั้ เรยี น ศึกษาจากภูมิปญ ญาทองถิน่ จากแหลงเรยี นรูและจากส่อื อื่น ๆ
ในการดาํ เนนิ การจดั ทาํ หนงั สอื เรยี นตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
พุทธศักราช 2551 ไดร บั ความรวมมอื ทด่ี จี ากผทู รงคุณวุฒิและผูเก่ียวขอ งหลายทา นท่ีคนควาและเรียบเรียง
เนื้อหาสาระจากส่ือตา ง ๆ เพื่อใหไดส ื่อท่ีสอดคลอ งกับหลักสูตรและเปนประโยชนต อผูเ รียนท่ีอยู
นอกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณ
คณะทปี่ รกึ ษา คณะผเู รียบเรยี ง ตลอดจนคณะผูจัดทาํ ทกุ ทานท่ีไดใหค วามรวมมือดว ยดีไว ณ โอกาสนี้
สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียนชุดน้ี
จะเปนประโยชนใ นการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน
สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอ มรบั ไวดวยความขอบคุณยิง่
สํานักงาน กศน.
กันยายน 2557
สารบัญ
หนา
คาํ นํา
คาํ แนะนํา
โครงสรางรายวชิ าสงั คมศึกษา (สค21001)
ขอบขา ยเนอื้ หา
บทที่ 1 ภูมิศาสตรก ายภาพทวีปเอเชีย...............................................................1
เรื่องที่ 1 ลกั ษณะทางภูมศิ าสตรก ายภาพของประเทศ
ในทวปี เอเชยี .............................................................................. 3
เรื่องที่ 2 การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพ.................................. 9
เร่ืองที่ 3 วิธีใชเคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตร ....................................................17
เร่ืองที่ 4 สภาพภมู ิศาสตรกายภาพของไทย
ทส่ี งผลตอทรัพยากรตาง ๆ .......................................................23
เร่ืองท่ี 5 ความสําคัญของการดาํ รงชวี ติ ใหส อดคลอ ง
กบั ทรัพยากรในประเทศ ...........................................................29
บทที่ 2 ประวัติศาสตรท วีปเอเชีย....................................................................41
เรือ่ งท่ี 1 ประวตั ศิ าสตรส ังเขปของประเทศในทวปี เอเชีย.........................43
เร่ืองที่ 2 เหตกุ ารณส าํ คัญทางประวตั ิศาสตรทีเ่ กิดขน้ึ ในประเทศไทย
และประเทศในทวีปเอเชยี .........................................................62
เรื่องท่ี 3 พระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช
(รชั กาลท่ี 9) และสมเดจ็ พระนางเจาสิริกติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ
ทส่ี งผลตอ การเปลีย่ นแปลงของประเทศไทย..............................82
บทที่ 3 เศรษฐศาสตร.................................... ...............................................109
เรือ่ งที่ 1 ความหมายความสําคญั ของเศรษฐศาสตรมหภาค
และจุลภาค.............................................................................110
เรอ่ื งที่ 2 ระบบเศรษฐกจิ ในประเทศไทย................................................112
เรอื่ งที่ 3 คุณธรรมในการผลิตและการบริโภค........................................125
เรอ่ื งที่ 4 กฎหมายและขอมูลการคมุ ครองผบู รโิ ภค................................127
เรอ่ื งท่ี 5 ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา ง ๆ ในเอเชีย...........................130
เรื่องท่ี 6 ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น....................................................135
สารบัญ (ตอ )
บทที่ 4 การเมืองการปกครอง.............................................................................. 146
เรื่องท่ี 1 การเมอื งการปกครองทใี่ ชอ ยูในปจ จบุ นั
ของประเทศไทย .....................................................................147
เรอ่ื งท่ี 2 เปรยี บเทยี บรปู แบบทางการเมอื งการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยและระบบอืน่ ๆ.....................................158
แนวเฉลยกจิ กรรม ……………………………………………………………………………………….167
บรรณานกุ รม ……………………………………………………………………………………….175
คณะผูจัดทาํ ……………………………………………………………………………………….179
คาํ แนะนาํ ในการใชห นงั สือเรยี น
หนังสือสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
เปนหนังสือเรียนที่จัดทําขึ้นสําหรับผูเรียนท่ีเปนนักศึกษานอกระบบในการศึกษาหนังสือสาระ
การพัฒนาสงั คม รายวิชาสงั คมศึกษา (สค21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ผเู รยี นควรปฏิบัติ ดังนี้
ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเ ขา ใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และขอบขาย
เน้อื หาของรายวิชานั้น ๆ โดยละเอยี ด
1. ศึกษารายละเอียดเนอ้ื หาของแตล ะบทอยางละเอียด และทํากจิ กรรมตามทกี่ าํ หนด
แลว ตรวจสอบกบั แนวตอบกจิ กรรมตามที่กําหนด ถา ผูเรยี นตอบผดิ ควรกลับไปศึกษาและทําความเขา ใจ
ในเน้อื หานน้ั ใหมใ หเขาใจ กอ นทจี่ ะศกึ ษาเรอื่ งตอ ๆ ไป
2. ปฏิบัติกิจกรรมทายเร่ืองของแตละเรื่อง เพื่อเปน การสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหา
ในเรอ่ื งนนั้ ๆ อีกครง้ั และการปฏิบัตกิ ิจกรรมของแตละเนอ้ื หา แตล ะเร่อื ง ผูเ รยี นสามารถนาํ ไปตรวจสอบ
กบั ครแู ละเพอื่ น ๆ ทรี่ ว มเรียนในรายวชิ าและระดับเดียวกนั ได
3. หนงั สอื เรยี นเลมน้มี ี 4 บท คอื
บทที่ 1 ภมู ศิ าสตรก ายภาพทวปี เอเชยี
บทท่ี 2 ประวตั ศิ าสตรทวีปเอเชีย
บทที่ 3 เศรษฐศาสตร
บทที่ 4 การเมอื งการปกครอง
โครงสรา งรายวชิ าสังคมศึกษา (สค21001)
สาระสาํ คญั
การศึกษาเรียนรูเก่ียวกับความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอ มทางกายภาพทั้งของประเทศไทย
และทวีปเอเชีย วิวัฒนาการความสัมพันธของมนุษยก ับส่ิงแวดลอ ม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยูอยา ง
จํากัด เพ่ือใหใ ชอยางเพียงพอในการผลิตและบริโภค การใชขอ มูลทางประวัติศาสตรเพื่อวิเคราะห
เหตกุ ารณใ นอนาคต การเรียนรเู รื่องการเมืองการปกครอง สามารถนําไปใชป ระโยชนในการดําเนินชีวิต
ประจาํ วันได
ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั
1. อธิบายขอ มูลเก่ียวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครองที่
เกี่ยวของกับประเทศในทวีปเอเชยี
2. นําเสนอผลการเปรียบเทียบสภาพภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง
การปกครองของประเทศในทวปี เอเชยี
3. ตระหนกั และวิเคราะหถ ึงการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนกับประเทศในทวปี เอเชยี ทมี่ ีผลกระทบตอ
ประเทศไทย
ขอบขา ยเนือ้ หา
บทท่ี 1 ภูมิศาสตรก ายภาพทวปี เอเชีย
เรอื่ งท่ี 1 ลักษณะทางภมู ศิ าสตรกายภาพของประเทศในทวปี เอเชีย
เร่อื งที่ 2 การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิศาสตรก ายภาพ
เรอ่ื งท่ี 3 วิธีใชเครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร
เรอ่ื งที่ 4 สภาพภูมิศาสตรกายภาพของไทยทส่ี งผลตอทรพั ยากรตาง ๆ
เร่ืองท่ี 5 ความสําคญั ของการดํารงชีวิตใหส อดคลอ งกับทรพั ยากรในประเทศ
บทที่ 2 ประวตั ศิ าสตรทวปี เอเชีย
เรื่องท่ี 1 ประวตั ศิ าสตรสังเขปของประเทศในทวีปเอเชีย
เรื่องที่ 2 เหตุการณสําคัญทางประวัตศิ าสตรทเี่ กดิ ขน้ึ ในประเทศไทยและ
ประเทศในทวปี เอเชยี
เรือ่ งท่ี 3 พระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช
(รัชกาลท่ี 9) และสมเดจ็ พระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ ท่ีสงผล
ตอการเปล่ียนแปลงของประเทศไทย
บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร
เร่อื งท่ี 1 ความหมายความสําคญั ของเศรษฐศาสตรมหภาคและจุลภาค
เรื่องที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในประเทศไทย
เรอ่ื งท่ี 3 คุณธรรมในการผลติ และการบรโิ ภค
เรื่องท่ี 4 กฎหมายและขอ มูลการคุมครองผูบรโิ ภค
เรื่องท่ี 5 ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศตา ง ๆ ในเอเชยี
เรอ่ื งท่ี 6 ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น
บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง
เรอ่ื งท่ี 1 การเมืองการปกครองทใ่ี ชอ ยใู นปจ จุบนั ของประเทศไทย
เรอ่ื งที่ 2 รูปแบบการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยและระบบอื่น ๆ
สื่อประกอบการเรียนรู
1. หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบและระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2. เครือ่ งมือทางภมู ศิ าสตร เชน แผนที่ ลูกโลก เข็มทิศ รูปถา ยทางอากาศและภาพถาย
จากดาวเทยี ม
3. เวบ็ ไซต
4. หนังสือพิมพ วารสาร เอกสารทางวิชาการตามหองสมุดและแหลงเรียนรูใ นชุมชน
และหองสมุดประชาชน หอ งสมุดเฉลิมราชกุมารใี นทองถิ่น
1
บทท่ี 1
ภมู ศิ าสตรกายภาพทวีปเอเชยี
สาระสําคัญ
ภูมิศาสตรกายภาพ คือวิชาท่ีเกี่ยวของกับลักษณะการเปล่ียนแปลงของสิ่งแวดลอม
ทางกายภาพ (Physical Environment) ท่ีอยูรอบตัวมนุษย ทั้งสวนท่ีเปนธรณีภาค อุทกภาค
บรรยากาศภาค และชีวภาค ตลอดจนความสัมพันธทางพื้นที่ (Spatial Relation) ของสิ่งแวดลอม
ทางกายภาพตาง ๆ ดงั กลาวขา งตน
การศกึ ษาภูมศิ าสตรท างกายภาพทวีปเอเชียทําใหสามารถวิเคราะหเหตุผลประกอบกับการ
สังเกตพิจารณาสิ่งที่ผันแปรเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคตาง ๆ ของทวีปเอเชียไดเปนอยางดี การศึกษา
ภูมิศาสตรกายภาพแผนใหมตองศึกษาอยางมีเหตุผล โดยอาศัยหลักเกณฑทางภูมิศาสตรหรือ
หลกั เกณฑสถติ ิ ซง่ึ เปน ขอ เทจ็ จริงจากวชิ าในแขนงท่ีเกยี่ วของกันมาพิจารณาโดยรอบคอบ
ผลการเรียนรูท่คี าดหวัง
1. อธิบายลกั ษณะทางภูมศิ าสตรก ายภาพของประเทศในทวีปเอเชียได
2. มคี วามรทู างดานภูมศิ าสตรก ายภาพ สามารถเขาใจสภาพกายภาพของโลกวา
มอี งคประกอบและมกี ารเปลยี่ นแปลงที่มผี ลตอสภาพความเปน อยูของมนษุ ยอ ยางไร
3. สามารถอธิบายการใชแ ละประโยชนของเคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตรไ ด
4. อธบิ ายความสมั พนั ธของสภาพภูมิศาสตรกายภาพของไทยที่สงผลตอทรัพยากรตาง ๆ
และสงิ่ แวดลอ มได
5. อธิบายความสัมพันธของการดํารงชีวิตใหสอดคลองกับทรัพยากรในประเทศไทย
และประเทศในทวปี เอเชียได
ขอบขายเนอื้ หา
เร่อื งท่ี 1 ลกั ษณะทางภูมศิ าสตรก ายภาพของประเทศในทวีปเอเชยี
1.1 ทต่ี งั้ และอาณาเขต
1.2 ลักษณะภมู ิประเทศ
1.3 สภาพภูมิอากาศ
เรอ่ื งที่ 2 การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมศิ าสตรก ายภาพ
2.1 การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมศิ าสตรก ายภาพทส่ี งผลกระทบตอ วิถีชวี ิต
ความเปนอยูของคน
2
เรอื่ งท่ี 3 วิธใี ชเ คร่อื งมอื ทางภมู ิศาสตร
3.1 แผนท่ี
3.2 ลกู โลก
3.3 เข็มทิศ
3.4 รปู ถา ยทางอากาศและภาพถา ยจากดาวเทียม
3.5 เคร่อื งมอื เทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษาภมู ศิ าสตร
เร่อื งท่ี 4 สภาพภูมิศาสตรกายภาพของไทยทสี่ ง ผลตอทรพั ยากรตา ง ๆ และสง่ิ แวดลอม
เรือ่ งท่ี 5 ความสาํ คญั ของการดาํ รงชีวติ ใหส อดคลองกบั ทรพั ยากรในประเทศ
5.1 ประเทศไทย
5.2 ประเทศในเอเชยี
ส่ือประกอบการเรยี นรู
1. แบบเรียนรายวิชาสังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ึ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
2. เครื่องมือทางภมู ิศาสตร เชน แผนที่ ลกู โลก เข็มทิศ รูปถา ยทางอากาศและภาพถา ยจากดาวเทียม
3. เวบ็ ไซต
3
เร่อื งท่ี 1 ลักษณะทางภูมศิ าสตรก ายภาพของประเทศในทวปี เอเชีย
1.1 ทตี่ ้งั และอาณาเขต ทวปี เอเชียเปนทวีปทม่ี ีขนาดใหญท่ีสุดในโลก มีพื้นที่ประมาณ 44,648,953
ลานตารางกโิ ลเมตร มีดินแดนท่ตี อเนื่องกบั ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา แผนดินของทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย
ท่ีตอเน่ืองกัน เรียกรวมวา ยูเรเชีย พื้นที่สวนใหญอยูเหนือเสนศูนยสูตรมีทําเลท่ีตั้งตามพิกัดภูมิศาสตร คือ
จากละติจูด 11 องศาใต ถึงละติจูด 77 องศา 41 ลิปดาเหนือ บริเวณแหลมเชลยูสกิน (Chelyuskin)
สหพนั ธรัฐรสั เซีย และจากลองจิจูดท่ี 26 องศา 04 ลิปดาตะวนั ออก บริเวณแหลมบาบา (Baba) ประเทศตุรกี
ถงึ ลองจิจูด 169 องศา 30 ลิปดาตะวันตก ทีบ่ ริเวณแหลมเดชเนฟ (Dezhnev) สหพันธรัฐรสั เซีย โดยมอี าณา-
เขตตดิ ตอกับดนิ แดนตาง ๆ ดังตอ ไปนี้
ทิศเหนือ จรดมหาสมุทรอารกติก มีแหลมเชลยูสกินของสหพันธรัฐรัสเซียเปนแผนดินอยูเหนือสุด
ทีล่ ะตจิ ูด 77 องศาเหนือ
ทศิ ใต จรดมหาสมุทรอินเดีย มีเกาะโรติ (Roti) ของติมอร-เลสเต เปน ดินแดนอยูใตท่ีสุดท่ีละติจูด 11
องศาใต
ทศิ ตะวันออก จรดมหาสมทุ รแปซิฟก มแี หลมเดชเนฟของสหพันธรัฐรัสเซียเปน แผนดนิ อยูตะวันออก
ท่ีสุด ทล่ี องจิจูด 170 องศาตะวนั ตก
ทศิ ตะวนั ตก จรดทะเลเมดเิ ตอรเ รเนียนและทะเลดํา มีทวิ เขาอรู าลกนั้ ดนิ แดนกบั ทวีปยุโรป และมี
ทะเลแดงกับคาบสมุทรไซไน (Sinai) ก้ันดินแดนกับทวีปแอฟริกา มีแหลมบาบาของตุรกีเปนแผนดิน
อยตู ะวันตกสุด ทลี่ องจิจูด 26 องศาตะวนั ออก
1.2 ลักษณะภูมิประเทศ ทวีปเอเชียมีลักษณะภูมิประเทศแตกตางกันหลายชนิดในสวนที่เปน
ภาคพนื้ ทวปี แบง ออกเปน เขตตาง ๆ ได 5 เขต คอื
1) เขตท่รี าบต่ําตอนเหนอื เขตทรี่ าบตาํ่ ตอนเหนือ ไดแก ดนิ แดนทีอ่ ยูทางตอนเหนอื ของทวีปเอเชีย
ในเขตไซบีเรีย สวนใหญอยูในเขตโครงสรางแบบหินเกา ท่ีเรียกวา แองการาชีลด มีลักษณะภูมิประเทศ
เปนที่ราบขนาดใหญ มีแมน้ําออบ แมนํ้าเยนิเซและแมนํ้าลีนาไหลผาน บริเวณน้ีมีอาณาเขตกวางขวางมาก
แตไมคอยมีผูคนอาศัยอยู ถึงแมวาจะเปนที่ราบ เพราะเน่ืองจากมีภูมิอากาศหนาวเย็นมากและทําการ
เพาะปลูกไมได
2) เขตท่ีราบลุมแมน้ํา เขตที่ราบลุมแมนํ้า ไดแก ดินแดนแถบลุมแมนํ้าตาง ๆ ซึ่งมีลักษณะ
ภมู ิประเทศเปนท่ีราบและมกั มีดนิ อุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลกู สว นใหญอยทู างเอเชียตะวนั ออก เอเชียใต
และเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต ไดแ ก ทร่ี าบลุม ฮวงโห ท่รี าบลุมแมน า้ํ แยงซเี กียงในประเทศจีน ที่ราบลุมแมนํ้าสินธุ
ท่ีราบลุมแมน้ําคงคาและท่ีราบลุมแมนํ้าพรหมบุตรในประเทศปากีสถาน อินเดีย และบังกลาเทศ ท่ีราบลุม
แมน้ําไทกริส ที่ราบลุมแมน้ํายูเฟรทีสในประเทศอิรัก ท่ีราบลุมแมนํ้าโขงตอนลางในประเทศกัมพูชาและ
เวียดนาม ที่ราบลุม แมนํ้าแดงในประเทศเวียดนาม ท่ีราบลุมแมน้ําเจาพระยาในประเทศไทย ที่ราบลุมแมนํ้า
สาละวินตอนลาง ที่ราบลุมแมนํ้าอิระวดใี นประเทศสาธารณรัฐแหงสหภาพพมา
4
3) เขตเทอื กเขาสูง เปนเขตเทือกเขาหินใหมตอนกลาง ประกอบไปดวยท่ีราบสูงและเทือกเขา
มากมาย เทือกเขาสูงเหลาน้ีสวนใหญเปนเทือกเขาท่ีแยกตัวไปจากจุดรวม ที่เรียกวา ปามีรนอต หรือภาษา
พน้ื เมอื งเรียกวา “ปามรี ด ุนยา” แปลวา หลังคาโลกจากปามรี นอต มเี ทือกเขาสูง ๆ ของทวีปเอเชียหลายแนว
ซึง่ อาจแยกออกไดด งั น้ี
เทอื กเขาท่ีแยกไปทางทิศตะวนั ออก ไดแก เทอื กเขาหมิ าลยั เทือกเขาอาระกันโยมาและเทือกเขา
ทม่ี แี นวตอเน่อื งลงมาทางใต มีบางสวนทจ่ี มหายไปในทะเลและบางสว นโผลข ึ้นมาเปน เกาะในมหาสมุทรอนิ เดยี
และมหาสมุทรแปซิฟก ถัดจากเทือกเขาหิมาลัยข้ึนไปทางเหนือมีเทือกเขาที่แยกไปทางตะวันออก ไดแก
เทือกเขาคุนลุน เทือกเขาอัลตินตัก เทือกเขานานซานและแนวท่ีแยกไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก
เทือกเขาเทียนชาน เทือกเขาอัลไต เทือกเขาคินแกน เทือกเขายาโบลนอย เทือกเขาสตาโนวอยและ
เทือกเขาโกลีมา เทือกเขาทีแ่ ยกไปทางทศิ ตะวันตกแยกเปนแนวเหนือและแนวใต แนวเหนือ ไดแก เทือกเขา
ฮินดูกูช เทือกเขาเอลบูชร สวนแนวทิศใต ไดแก เทือกเขาสุไลมาน เทือกเขาซากรอส ซ่ึงเมื่อเทือกเขาท้ัง 2 นี้
มาบรรจบกันทีอ่ ารเ มเนยี นนอตแลว ยังแยกออกอีกเปน 2 แนวในเขตประเทศตรุ กี คือ แนวเหนือเปน เทือกเขา
ปอนติกและแนวใตเ ปน เทอื กเขาเตารัส
4) เขตท่รี าบสงู ตอนกลางทวปี เขตที่ราบสงู ตอนกลางเปน ทร่ี าบสูงอยูระหวางเทือกเขาหินใหม
ที่สําคัญ ๆ ไดแก ที่ราบสูงทิเบตซึ่งเปนที่ราบสูงขนาดใหญและสูงท่ีสุดในโลก ที่ราบสูงยูนนาน ทางใตของ
ประเทศจีนและที่ราบสูงท่ีมีลักษณะเหมือนแองช่ือ “ตากลามากัน” ซ่ึงอยูระหวางเทือกเขาเทียนซานกับ
เทอื กเขาคนุ ลนุ แตอ ยสู ูงกวาระดบั นา้ํ ทะเลมากและมีอากาศแหง แลง เปน เขตทะเลทราย
5
5) เขตที่ราบสูงตอนใตและตะวันตกเฉียงใต เขตที่ราบสูงตอนใตและตะวันตกเฉียงใต ไดแก
ที่ราบสูงขนาดใหญทางตอนใตของทวีปเอเชีย ซึ่งมีความสูงไมมากเทากับท่ีราบสูงทางตอนกลางของทวีป
ท่ีราบสูงดังกลาว ไดแก ที่ราบสูงเดคคานในประเทศอินเดีย ท่ีราบสูงอิหรานในประเทศอิหรานและ
อัฟกานสิ ถานท่ีราบสูงอนาโตเลียในประเทศตรุ กแี ละท่ีราบสูงอาหรับในประเทศซาอุดีอาระเบยี
1.3 สภาพภมู อิ ากาศ สภาพภมู ศิ าสตรและพชื พรรณธรรมชาติในทวปี เอเชยี แบงได ดังน้ี
1) ภูมิอากาศแบบปาดิบชื้น เขตภูมิอากาศแบบปาดิบช้ืน อยูระหวางละติจูดที่ 10 องศาเหนือ
ถึง 10 องศาใต ไดแก ภาคใตของประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส มีความแตกตางของ
อณุ หภูมริ ะหวางกลางวันและกลางคืนไมมากนกั มีปรมิ าณน้ําฝนมากกวา 2,000 มิลลิเมตร (80 นิ้ว) ตอป และมี
ฝนตกตลอดป
พืชพรรณธรรมชาตเิ ปน ปาดงดบิ ซึ่งไมม ีฤดูที่ผลัดใบและมีตนไมหนาแนน สวนบริเวณปากแมน้ํา
และชายฝง ทะเลมพี ืชพรรณธรรมชาตเิ ปนปาชายเลน
2) ภูมอิ ากาศแบบมรสมุ เขตรอ นหรือรอ นช้ืนแถบมรสุม เปน ดนิ แดนที่อยูเ หนือละตจิ ดู 10 องศา
เหนอื ขึ้นไป มฤี ดแู ลงและฤดฝู นสลับกนั ประมาณปล ะเดือน ไดแก บริเวณคาบสมทุ รอินเดีย และคาบสมุทร
อนิ โดจนี เขตนีเ้ ปน เขตท่ไี ดรับอิทธิพลของลมมรสุม ปริมาณน้ําฝนจะสูงในบริเวณดานตนลม (Winward side)
และมีฝนตกนอยในดานปลายลม (Leeward side) หรือเรยี กวา เขตเงาฝน (Rain shadow)
พืชพรรณธรรมชาติเปนปามรสุมหรือปาไมผลัดใบในเขตรอน พันธุไมสวนใหญเปนไมใบกวาง
และเปนไมเน้ือแข็งทมี่ คี าในทางเศรษฐกิจหรือปาเบญจพรรณ เชน ไมสัก ไมจ นั ทน ไมประดู เปนตน ปามรสุม
มีลักษณะเปนปาโปรงมากกวาปาไมในเขตรอนชื้น บางแหงมีไมขนาดเล็กข้ึนปกคลุมบริเวณดินช้ันลางและ
บางแหง เปน ปาไผหรือหญาปะปนอยู
3) ภูมิอากาศแบบทุงหญาเมืองรอน มีลักษณะอากาศคลายเขตมรสุม มีฤดูแลงกับฤดูฝน
แตปริมาณนํ้าฝนนอยกวา คือ ประมาณ 1,000 - 1,500 มิลลิเมตร (40 - 60 น้ิว) ตอป อุณหภูมิเฉล่ียตลอดป
ประมาณ 21 องศาเซลเซยี ส (70 องศาฟาเรนไฮต) อณุ หภูมกิ ลางคืนเย็นกวากลางวัน ไดแก บริเวณตอนกลาง
ของอินเดีย สาธารณรฐั แหง สหภาพพมา และคาบสมทุ รอินโดจีน
พืชพรรณธรรมชาติเปนปาโปรงแบบเบญจพรรณ ถัดเขาไปตอนในจะเปนทุงหญาสูงตั้งแต 60 -
360 เซนตเิ มตร (2 - 12 ฟุต) ซง่ึ จะงอกงามดีในฤดูฝน แตแ หง เฉาตายในฤดูหนาวเพราะชวงนอี้ ากาศแหงแลง
4) ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตอบอุน อยูในเขตอบอุนแตไดรับอิทธิพลของลมมรสุมมีฝนตก
ในฤดูรอน ฤดูหนาวคอนขางหนาว ไดแก บริเวณภาคตะวันตกของจีน ภาคใตของญ่ีปุน คาบสมุทรเกาหลี
ฮอ งกง ตอนเหนือของอนิ เดียในสาธารณรัฐประชาชนลาวและตอนเหนือของเวียดนาม
พืชพรรณธรรมชาตเิ ปนไมผลดั ใบหรอื ไมผสม มที ้ังไมใ บใหญท่ีผลดั ใบและไมสนท่ีไมผ ลดั ใบ ในเขต
สาธารณรฐั ประชาชนจนี เกาหลี ทางใตข องเขตนเี้ ปนปา ไมผ ลัดใบ สว นทางเหนอื มีอากาศหนาวกวาปาไมผสม
และปา ไมผ ลัดใบ เชน ตนโอก เมเปล ถา ขึ้นไปทางเหนืออากาศหนาวเยน็ จะเปนปา สนท่มี ีใบเขียวตลอดป
5) ภูมิอากาศแบบอบอุนภาคพ้ืนทวีป ไดแก ทางเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ
สาธารณรัฐประชาชนจีน เกาหลีเหนือ ภาคเหนือของญ่ีปุนและตะวันออกเฉียงใตของไซบีเรีย มีฤดูรอน
6
ทอี่ ากาศรอน กลางวันยาวกวากลางคืน นาน 5 - 6 เดือน เปนเขตปลูกขาวโพดไดดีเพราะมีฝนตกในฤดูรอน
ประมาณ 750 - 1,000 มม. (30 - 40 นวิ้ ) ตอ ป ฤดูหนาวอณุ หภูมเิ ฉล่ียถึง 7 องศาเซลเซียส (18 องศาฟาเรน
ไฮต) เปน เขตที่ความแตกตางระหวา งอุณหภมู ิมีมาก
พืชพรรณธรรมชาติเปนปาผสมระหวางไมผลัดใบและปาสนลึกเขาไปเปนทุงหญา สามารถ
เพาะปลกู ขาวโพด ขาวสาลแี ละเลี้ยงสัตวพวกโคนมได สว นแถบชายทะเลมีการทาํ ปาไมบางเลก็ นอ ย
6) ภูมิอากาศแบบทุงหญาก่ึงทะเลทรายแถบอบอุน มีอุณหภูมิสูงมากในฤดูรอนและอุณหภูมิ
ตํา่ มากในฤดหู นาว มฝี นตกบา งในฤดใู บไมผลแิ ละฤดูรอ น ไดแ ก ภาคตะวนั ตกของคาบสมทุ รอาหรับ ตอนกลาง
ของประเทศตรุ กี ตอนเหนอื ของภาคกลางของอิหรา น ในมองโกเลียทางตะวนั ตกเฉยี งเหนือของจีน
พืชพรรณธรรมชาตเิ ปน ทุงหญา สน้ั (Steppe) ทุงหญา ดงั กลาว มีการชลประทานเขาถงึ ใชเลี้ยงสตั ว
และเพาะปลกู ขาวสาลี ขาวฟาง ฝา ย ไดดี
7) ภูมอิ ากาศแบบทะเลทราย มคี วามแตกตางระหวา งอณุ หภูมิกลางวันกับกลางคืนและฤดูรอน
กบั ฤดูหนาวมาก ไดแก ดินแดนท่ีอยภู ายในทวปี ท่มี ีเทอื กเขาปดลอม ทําใหอิทธิพลจากมหาสมุทรเขาไปไมถึง
ปรมิ าณฝนตกนอ ยกวาปละ 250 มม. (10 นวิ้ ) ไดแ ก บริเวณคาบสมุทรอาหรับ ทะเลทรายโกบี ทะเลทรายธาร
และท่ีราบสงู ทิเบต ท่ีราบสูงอิหรา น บรเิ วณทีม่ ีนาํ้ และตน ไมข นึ้ เรยี กวา โอเอซสิ (Oasis)
พืชพรรณธรรมชาติเปนอินทผลัม ตะบองเพชรและไมประเภทมีหนาม ชายขอบทะเลทราย
สวนใหญเปนทุงหญาสลับปาโปรง มีการเล้ียงสัตวประเภทที่เลี้ยงไวใชเนื้อและทําการเพาะปลูกตองอาศัย
การชลประทานชว ย
8) ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน อากาศในฤดูรอน รอนและแหงแลงในเลบานอน ซีเรีย
อิสราเอลและตอนเหนอื ของอิรกั
พืชพรรณธรรมชาติเปนไมตนเต้ีย ไมพุมมีหนาม ตนไมเปลือกหนาท่ีทนตอความแหงแลง ในฤดู
รอนไดดี พชื ท่ีเพาะปลูก ไดแ ก สม องนุ และมะกอก
9) ภูมิอากาศแบบไทกา (กึ่งข้ัวโลก) มีฤดูหนาวยาวนานและหนาวจัด ฤดูรอนสั้น มีน้ําคางแข็ง
ไดท กุ เวลาและฝนตกในรปู ของหิมะ ไดแก ดนิ แดนทางภาคเหนอื ของทวปี บริเวณไซบเี รีย
พชื พรรณธรรมชาตเิ ปนปาสน เปน แนวยาวทางเหนือของทวีป ท่ีเรียกวา ไทกา (Taiga) หรือ
ปาสนของไซบีเรยี
10) ภมู อิ ากาศแบบทนุ ดรา (ขวั้ โลก) เขตนี้มีฤดหู นาวยาวนานมาก อากาศหนาวจัด มีหิมะปกคลุม
ตลอดป ไมม ีฤดรู อน พืชพรรณธรรมชาติเปน พวกตะไครนํา้ และมอสส
11) ภูมิอากาศแบบที่สูง ในเขตที่สูงอุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงในอัตราความสูงเฉลี่ย
ประมาณ 1 องศาเซลเซียสตอ ความสูง 10 เมตร จงึ ปรากฏวา ยอดเขาสงู บางแหงแมจะอยูในเขตรอน ก็มีหิมะ
ปกคลมุ ทั้งป หรอื เกอื บตลอดป ไดแก ที่ราบสงู ทเิ บต เทอื กเขาหมิ าลัย เทอื กเขาคุนลุน และเทือกเขาเทยี นชาน
ซึ่งมีความสูงประมาณ 5,000 - 8,000 เมตร จากระดับนํ้าทะเล มีหิมะปกคลุมและมีอากาศหนาวเย็นแบบ
ขวั้ โลก พชื พรรณธรรมชาติเปน พวกตะไครนํา้ และมอสส
7
การแบง ภูมิภาค
ทวีปเอเชียนอกจากจะเปน อนุภูมภิ าคของทวปี ยูเรเชีย ยงั อาจแบง ออกเปนสว นยอ ย ดังน้ี
เอเชียเหนือ หมายถึง รัสเซีย เรียกอีกอยางวาไซบีเรีย บางคร้ังรวมถึงประเทศทางตอนเหนือของ
เอเชียดว ย เชน คาซคั สถาน
เอเชยี กลาง ประเทศในเอเชียกลาง ไดแก
- สาธารณรฐั ในเอเชยี กลาง 5 ประเทศ คอื คาซัคสถาน อซุ เบกิสถาน ทาจกิ สิ ถาน เตริ ก เมนสิ ถาน
และคีรก ซี สถาน
- ประเทศแถบตะวนั ตกของทะเลสาบแคสเปย น 3 ประเทศ คอื จอรเ จีย อารเ มเนียและ
อาเซอรไ บจานบางสว น
เอเชียตะวนั ออก ประเทศในเอเชียตะวันออก ไดแก
- เกาะไตหวันและญ่ีปนุ ในมหาสมุทรแปซฟิ ก
- เกาหลเี หนือและเกาหลีใตบ นคาบสมุทรเกาหลี
- สาธารณรัฐประชาชนจีนและมองโกเลีย
เอเชียตะวันออกเฉียงใต ดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ ประเทศบนคาบสมุทรมลายู
คาบสมุทรอินโดจีน เกาะตาง ๆ ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟก เอเชียตะวันออกเฉียงใต
ประกอบดวย
- ประเทศตาง ๆ ในแผนดินใหญ ไดแก สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา ไทย สาธารณรัฐ-
ประชาธิปไตยประชาชนลาว กัมพชู าและเวยี ดนาม
- ประเทศตาง ๆ ในทะเล ไดแก มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร อินโดนีเซีย บรูไนและติมอร
ตะวนั ออก (ตมิ อร - เลสเต) ประเทศอินโดนเี ซยี แยกไดเปน 2 สว น โดยมีทะเลจนี ใตค่ันกลาง ท้ังสองสวนมีทั้ง
พ้นื ท่ที ่ีเปนแผน ดินใหญและเกาะ
เอเชียใต เอเชียใตอ าจเรียกอกี อยางวา อนทุ วีปอินเดยี ประกอบดวย
- บนเทือกเขาหมิ าลัย ไดแ ก อินเดยี ปากสี ถาน เนปาล ภฏู านและบังกลาเทศ
- ในมหาสมทุ รอินเดยี ไดแก ศรลี ังกาและมลั ดีฟส
เอเชียตะวนั ตกเฉียงใต (หรือเอเชียตะวันตก) ประเทศตะวันตกโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกามักเรียก
ภูมิภาคน้ีวาตะวันออกกลางบางครั้ง “ตะวันออกกลาง” อาจหมายรวมถึงประเทศในแอฟริกาเหนือ เอเชีย
ตะวันตกเฉยี งใตแ บง ยอ ยไดเ ปน
- อะนาโตเลยี (Anatolia) ซ่ึงกค็ อื เอเชียไมเนอร (Asia Minor) เปนพ้ืนท่ีสวนที่เปนเอเชียของ
ตรุ กี
- ประเทศตรุ กี 97 % ของตุรกี
- ท่ีเปนเกาะ คอื ไซปรสั ในทะเลเมดเิ ตอรเรเนยี น
- กลุมเลแวนตหรือตะวันออกใกล ไดแ ก ซีเรยี อิสราเอล จอรแ ดน เลบานอนและอริ กั
8
- ในคาบสมุทรอาหรับ ไดแก ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส บาหเรน กาตาร โอมาน
เยเมนและอาจรวมถงึ คูเวต
- ท่ีราบสูงอิหรา น ไดแ ก อิหรา นและพ้นื ที่บางสว นของประเทศอืน่ ๆ
- อัฟกานิสถาน
กิจกรรมที่ 1.1 ลกั ษณะทางภูมศิ าสตรก ายภาพของประเทศในทวีปเอเชยี
1) ใหผเู รียนอธิบายจุดเดนของลกั ษณะภูมปิ ระเทศในทวปี เอเชีย ทั้ง 5 เขต
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2) ภูมอิ ากาศแบบใดทม่ี หี ิมะปกคลมุ ตลอดปและพชื พรรณทป่ี ลกู เปนประเภทใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
9
เร่อื งที่ 2 การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมศิ าสตรก ายภาพ
การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิศาสตรกายภาพ หมายถึง ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดลอม
ทางกายภาพที่อยูรอบตัวมนุษย ทั้งสวนที่เปนธรณีภาค อุทกภาค บรรยากาศภาคและชีวภาค ตลอดจน
ความสัมพันธทางพน้ื ท่ีของส่งิ แวดลอ มทางกายภาพตา ง ๆ ดังกลา วขางตน
การเปล่ียนแปลงทางภูมิศาสตรกอใหเกิดความเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ทั้งภูมิประเทศและ
ภมู อิ ากาศในประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชยี สวนมากเกิดจากปรากฏการณตามธรรมชาติและเกิดผล
กระทบตอประชาชนท่ีอาศยั อยู รวมท้ังสงิ่ กอ สรางปรากฏการณตา ง ๆ ทมี่ กั จะเกดิ มีดงั ตอ ไปน้ี
2.1 การเกิดแผนดินไหว แผนดินไหวเปนปรากฏการณธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของ
แผน เปลอื กโลก (แนวระหวางรอยตอธรณีภาค) ทําใหเกิดการเคลื่อนตัวของช้ันหินขนาดใหญเลื่อนเคลื่อนที่
หรือแตกหักและเกิดการโอนถายพลังงานศักยผานในช้ันหินท่ีอยูติดกัน พลังงานศักยน้ีอยูในรูปเคล่ือนไหว
สะเทือน จุดศูนยกลางการเกิดแผนดินไหว (focus) มักเกิดตามรอยเลื่อน อยูในระดับความลึกตาง ๆ ของ
ผวิ โลก สวนจุดท่อี ยูในระดับสงู กวา ณ ตาํ แหนง ผิวโลก เรยี กวา “จดุ เหนือศูนยก ลางแผน ดินไหว” (epicenter)
การสนั่ สะเทือนหรือแผน ดนิ ไหวน้จี ะถูกบันทกึ ดว ยเครือ่ งมือทเ่ี รียกวา ไซสโ มกราฟ
1) สาหตุการเกดิ แผนดินไหว
- แผนดินไหวจากธรรมชาติ เปนธรณีพิบัติภัยชนิดหน่ึง สวนมากเปนปรากฏการณ
ทางธรรมชาตทิ ่ีเกดิ จากการสน่ั สะเทือนของพื้นดิน อันเน่ืองมาจากการปลดปลอยพลังงานที่สะสมไว ภายใน
โลกออกมาอยา งฉบั พลัน เพื่อปรับสมดุลของเปลอื กโลกใหค งทีโ่ ดยปกติเกิดจากการเคล่ือนไหวของรอยเลื่อน
ภายในช้ันเปลือกโลกที่อยูดานนอกสุดของโครงสรางของโลก มีการเคลื่อนท่ีหรือเปลี่ยนแปลงอยางชา ๆ
อยเู สมอ แผน ดินไหวจะเกิดข้ึนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงมากเกินไป ภาวะน้ีเกิดข้ึนบอยในบริเวณขอบเขตของ
แผนเปลือกโลกที่แบงชั้นเปลือกโลกออกเปนธรณีภาค (lithosphere) เรียกแผนดินไหวที่เกิดขึ้นบริเวณ
ขอบเขตของแผนเปลือกโลกน้ีวา แผนดินไหวระหวางแผน (interpolate earthquake) ซ่ึงเกิดไดบอยและ
รุนแรงกวา แผน ดนิ ไหวภายในแผน (intraplate earthquake)
- แผน ดินไหวจากการกระทาํ ของมนษุ ย ซ่ึงมที ั้งทางตรงและทางออ ม เชน การทดลองระเบิด
ปรมาณู การทําเหมือง สรางอางเก็บนํ้าหรือเข่ือนใกลรอยเลื่อน การทํางานของเครื่องจักรกล การจราจร
เปน ตน
2) การวัดระดับความรุนแรงของแผนดินไหว โดยปกติจะใชมาตราริคเตอร ซึ่งเปนการวัดขนาด
และความสัมพันธของขนาดโดยประมาณกบั ความส่นั สะเทอื นใกลศูนยก ลาง
ระดับความรุนแรงของแผน ดินไหว
1 - 2.9 เลก็ นอย ผูคนเร่ิมรสู กึ ถึงการมาของคลืน่ มอี าการวงิ เวียนเพยี งเล็กนอ ยในบางคน
3 - 3.9 เลก็ นอย ผคู นทีอ่ ยใู นอาคารรสู ึกเหมือนมีอะไรมาเขยาอาคารใหส่นั สะเทือน
4 - 4.9 ปานกลาง ผทู ่อี าศัยอยทู ้ังภายในอาคารและนอกอาคาร รสู กึ ถึงการสนั่ สะเทือน วตั ถหุ อย
แขวนแกวงไกว
5 - 5.9 รุนแรงเปน บรเิ วณกวาง เคร่อื งเรอื นและวัตถุมกี ารเคล่ือนที่
10
6 - 6.9 รุนแรกมาก อาคารเรมิ่ เสียหาย พังทลาย
7.0 ขนึ้ ไป เกดิ การส่นั สะเทือนอยางมากมาย สงผลทําใหอาคารและสิ่งกอสรางตาง ๆ เสียหาย
อยา งรนุ แรง แผนดินแยก วัตถบุ นพ้ืนถูกเหวี่ยงกระเด็น
3) ขอ ปฏิบัติในการปอ งกันและบรรเทาภยั จากแผนดนิ ไหว
กอนเกิดแผนดินไหว
1. เตรียมเครื่องอุปโภคบริโภคท่ีจําเปน เชน ถานไฟฉาย ไฟฉาย อุปกรณดับเพลิง นํ้า
อาหารแหง ไวใชในกรณีไฟฟาดับหรือกรณฉี ุกเฉินอ่ืน ๆ
2. จัดหาเคร่ืองรับวิทยุที่ใชถานไฟฉายหรือแบตเตอรี่สําหรับเปดฟงขาวสาร คําเตือน
คําแนะนําและสถานการณตาง ๆ
3. เตรียมอุปกรณน ิรภัยสาํ หรบั การชว ยชวี ติ
4. เตรยี มยารักษาโรคและเวชภณั ฑใหพรอ มทจี่ ะใชในการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน
5. จัดใหมกี ารศึกษาถึงการปฐมพยาบาล เพื่อเปนการเตรียมพรอมที่จะชวยเหลือผูที่ไดรับ
บาดเจ็บหรอื อันตรายใหพ น ขดี อนั ตรายกอนท่ีจะถึงมือแพทย
6. จาํ ตาํ แหนงของวาลว เปด-ปดน้ํา ตําแหนงของสะพานไฟฟา เพ่ือตัดตอนการสงนํ้าและ
ไฟฟา
7. ยดึ เคร่อื งเรอื น เคร่ืองใชไ มสอยภายในบาน ทท่ี าํ งานและในสถานศกึ ษาใหม น่ั คง แนนหนา
ไมโยกเยกโคลงเคลงเพอื่ ไมใ หไปทําความเสียหายแกชวี ิตและทรพั ยส ิน
8. ไมควรวางสิ่งของทม่ี นี าํ้ หนกั มาก ๆ ไวในทสี่ ูง เพราะอาจรว งหลน มาทาํ ความเสยี หายหรอื เปน
อนั ตรายได
9. เตรียมการอพยพเคลื่อนยา ย หากถงึ เวลาท่ีจะตอ งอพยพ
10. วางแผนปองกันภัยสําหรับครอบครัว ท่ีทํางานและสถานที่ศึกษา มีการชี้แจงบทบาท
ท่ีสมาชกิ แตละบุคคลจะตองปฏิบัติ มีการฝกซอมแผนท่ีจัดทําไว เพื่อเพ่ิมลักษณะและความคลองตัว ในการ
ปฏิบัตเิ มอ่ื เกดิ เหตกุ ารณฉกุ เฉิน
ขณะเกดิ แผน ดินไหว
1. ต้งั สติ อยใู นที่ทแ่ี ข็งแรงปลอดภยั หา งจากประตู หนาตาง สายไฟฟา เปนตน
2. ปฏิบัติตามคําแนะนํา ขอควรปฏิบัติของทางราชการอยางเครงครัด ไมต่ืนตระหนก
จนเกินไป
3. ไมค วรทําใหเกิดประกายไฟ เพราะหากมีการรั่วซมึ ของแกสหรอื วตั ถไุ วไฟ อาจเกดิ ภัยพิบตั ิ
จากไฟไหม ไฟลวก ซ้าํ ซอ นกบั แผนดนิ ไหวเพ่ิมขนึ้ อีก
4. เปด วิทยุรบั ฟงสถานการณ คําแนะนาํ คาํ เตือนตาง ๆ จากทางราชการอยางตอ เนอ่ื ง
5. ไมค วรใชล ิฟต เพราะหากไฟฟา ดับอาจมีอันตรายจากการติดอยูภายในลิฟต
6. มุดเขาไปนอนใตเ ตียงหรอื ตงั่ อยาอยใู ตค านหรอื ทีท่ ีม่ ีนา้ํ หนักมาก
11
7. อยูใ ตโ ตะ ทแ่ี ขง็ แรง เพ่อื ปอ งกันอนั ตรายจากสง่ิ ปรักหกั พงั รวงหลน ลงมา
8. อยหู างจากสงิ่ ที่ไมม่นั คงแข็งแรง
9. ใหร ีบออกจากอาคารเมอื่ มกี ารสง่ั การจากผทู ่ีควบคุมแผนปองกนั ภยั หรอื ผทู ีร่ บั ผดิ ชอบในเร่ืองนี้
10. หากอยใู นรถ ใหห ยุดรถจนกวาแผนดินจะหยดุ ไหวหรอื สัน่ สะเทือนหลังเกิดแผน ดินไหว
11. ตรวจเช็คการบาดเจ็บและทําการปฐมพยาบาลผูท่ีไดรับบาดเจ็บ แลวรีบนําสง
โรงพยาบาลโดยดว นเพื่อใหแ พทยไ ดทาํ การรกั ษาตอ ไป
12. ตรวจเช็คระบบน้ํา ไฟฟา หากมีการรั่วซึมหรือชํารุดเสียหาย ใหปดวาลวเพื่อปองกันน้ําทวม
เออ ยกสะพานไฟฟา เพ่อื ปองกนั ไฟฟารัว่ ไฟฟาดูดหรอื ไฟฟาช็อต
13. ตรวจเช็คระบบแกส โดยวิธีการดมกล่ินเทานั้น หากพบวามีการร่ัวซึมของแกส (มีกล่ิน)
ใหเปดประตูหนาตา ง แลวออกจากอาคารแจงเจา หนา ทป่ี อ งกนั ภยั ฝายพลเรอื นผทู ร่ี ับผดิ ชอบไดทราบในโอกาส
ตอ ไป
14. ไมใชโ ทรศพั ทโ ดยไมจําเปน
15. อยา กดนํา้ ลางสวมจนกวาจะมีการตรวจเช็คระบบทอเปนทีเ่ รยี บรอยแลว เพราะอาจเกิด
การแตกหกั ของทอในสว มทาํ ใหนํ้าทวมเออ หรอื สงกลิ่นที่ไมพึงประสงค
16. ออกจากอาคารท่ีชํารุดโดยดวน เพราะอาจเกดิ การพังทลายลงมา
17. สวมรองเทายางเพ่อื ปองกันส่งิ ปรกั หกั พงั เศษแกว เศษกระเบือ้ ง
18. รวมพล ณ ที่หมายที่ไดตกลงนดั หมายกันไวแ ละตรวจนบั จํานวนสมาชิกวาอยูครบหรอื ไม
19. รวมมือกับเจาหนาที่ในการเขาไปปฏิบัติงานในบริเวณที่ไดรับความเสียหายและผูไมมี
หนาท่ีหรือไมเ กีย่ วของไมค วรเขาไปในบรเิ วณนั้น ๆ หากไมไ ดร บั การอนุญาต
20. อยาออกจากชายฝง เพราะอาจเกิดคล่นื ใตน าํ้ ซดั ฝง ได แมว าการส่นั สะเทือนของแผนดิน
จะสนิ้ สดุ ลงแลวก็ตาม
ผลกระทบตอ ประชากรท่ีเกดิ จากแผน ดนิ ไหว
จากเหตุการณแ ผนดนิ ไหวครง้ั รายแรงลา สุดในทวปี เอเชีย ในมณฑลเสฉวน ประเทศจีน เมื่อวันท่ี
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 มคี วามรนุ แรงอยูที่ขนาด 7.9 ริกเตอร ทคี่ วามลึก : 19 กิโลเมตร โดยจุดศูนยกลาง
การสน่ั อยทู ี่ เขตเหวินฉวน มณฑลเสฉวน ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ของนครเฉิงตู 90 กิโลเมตร แผนดินไหวครั้งน้ี
สรางความเสียหายใหกับประเทศจีนอยางมหาศาล ทั้งชีวิตประชาชน อาคารบานเรือน ถนนหนทาง โดยมี
ผูเสียชีวิต 68,516 คน บาดเจ็บ 365,399 คน และสูญหาย 19,350 คน (ตัวเลขอยางเปนทางการ วันที่ 29
พฤษภาคม พ.ศ. 2551)
นอกจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนแลว แผนดินไหวก็ยังสามารถรูสึกไดในประเทศ
เพอื่ นบานของจนี อาทเิ ชน ประเทศไทย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศอินเดีย ประเทศปากีสถาน
แมว า การเกดิ แผนดินไหวไมส ามารถปองกันได แตเราควรเรียนรูขอปฏิบัติในการปองกันท้ังกอน
การเกดิ แผน ดินไหวและขณะเกิดแผนดินไหว เพ่อื ปองกันความเสยี หายท่เี กดิ กบั ชีวติ
12
2.2 การเกิดพายุ พายุ คือ สภาพบรรยากาศท่ีถูกรบกวนแบบใด ๆ ก็ตาม โดยเฉพาะท่ีมีผลกระทบตอ
พนื้ ผิวโลกและบงบอกถึงสภาพอากาศทร่ี ุนแรง เมื่อพูดถึงความรุนแรงของพายุจะกลาวถึงความเร็วท่ีศูนยก ลาง
ซึ่งอาจสูงถึง 400 กม./ชม. ความเร็วของการเคล่ือนตัว ทิศทางการเคล่ือนตัวของพายุและขนาดความกวาง
หรือเสนผาศูนยกลางของตัวพายุ ซึ่งบอกถึงอาณาบริเวณท่ีจะไดรับความเสียหายวา ครอบคลุมเทาใด
ความรุนแรงของพายจุ ะมหี นว ยวัดความรุนแรงคลา ยหนว ยริกเตอรข องการวัดความรนุ แรงแผนดนิ ไหว มักจะมี
ความเร็วเพม่ิ ขึน้ เร่อื ย ๆ
ประเภทของพายุ พายแุ บง เปน ประเภทใหญ ๆ ได 3 ประเภท คือ
1) พายฝุ นฟา คะนอง มีลกั ษณะเปน ลมพดั ยอ นไปมาหรือพัดเคล่ือนตัวไปในทิศทางเดียวกัน อาจเกิด
จากพายุทีอ่ อนตัวและลดความรุนแรงของลมลงหรือเกดิ จากหยอ มความกดอากาศต่ํา รองความกดอากาศต่ํา
อาจไมมที ศิ ทางทีแ่ นน อนหากสภาพการณแ วดลอ มตา ง ๆ ของการเกิดฝนเหมาะสมกจ็ ะเกดิ ฝนตก มลี มพัด
2) พายุหมนุ เขตรอ นตา ง ๆ เชน เฮอรริเคน ไตฝุนและไซโคลน ซึ่งลวนเปนพายุหมุนขนาดใหญ
เชนเดยี วกันและจะเกดิ ขึ้นหรอื เรมิ่ ตนกอตัวในทะเล หากเกิดเหนือเสน ศนู ยสูตรจะมีทิศทางการหมุนทวนเข็ม
นาฬกิ าและหากเกิดใตเสน ศูนยส ตู รจะหมนุ ตามเข็มนาฬิกา โดยมีชอ่ื ตา งกนั ตามสถานท่เี กิด กลา วคอื
พายเุ ฮอรร เิ คน (Hurricane) เปน ชื่อเรยี กพายุหมุนทีเ่ กดิ บรเิ วณทิศตะวนั ตกของมหาสมุทร
แอตแลนติก เชน บริเวณฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อาวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน เปนตน รวมท้ังมหาสมุทร
แปซิฟกบรเิ วณชายฝงประเทศเมก็ ซิโก
พายไุ ตฝ นุ (Typhoon) เปนช่อื พายหุ มนุ ทเี่ กิดทางทศิ ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟกเหนือ
เชน บรเิ วณทะเลจีนใต อา วไทย อาวตงั เกย๋ี ประเทศญ่ปี นุ
พายุไซโคลน (Cyclone) เปนชื่อพายุหมุนที่เกิดในมหาสมุทรอินเดียเหนือ เชน บริเวณอาว
เบงกอล ทะเลอาหรับ เปนตน แตถาพายุนี้เกิดบริเวณทะเลติมอรและทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ
ออสเตรเลียจะเรียกวา พายุวิลลี - วิลลี (Willy - Willy)
พายุโซนรอน (Tropical Storm) เกิดขึ้นเม่ือพายุเขตรอนขนาดใหญออนกําลังลงขณะ
เคลอื่ นตัวในทะเลและความเรว็ ท่จี ุดศนู ยกลางลดลงเม่ือเคล่ือนเขาหาฝง มคี วามเรว็ ลม 62 - 117 กโิ ลเมตรตอ
ช่วั โมง
พายดุ เี ปรสช่ัน (Depression) เกิดข้นึ เมอื่ ความเร็วลดลงจากพายุโซนรอ น ซ่งึ กอ ใหเ กิดพายุ
ฝนฟา คะนองธรรมดาหรอื ฝนตกหนกั มีความเร็วลมนอยกวา 61 กิโลเมตรตอช่วั โมง
3) พายทุ อรนาโด (Tornado) เปนชื่อเรยี กพายุหมนุ ทเ่ี กิดในทวีปอเมริกา มีขนาดเนื้อทีเ่ ล็กหรอื
เสนผา ศนู ยกลางนอ ย แตห มุนดวยความเรว็ สูงหรือความเรว็ ที่จดุ ศนู ยกลางสูงมากกวา พายหุ มนุ อืน่ ๆ กอ ความ
เสียหายไดรุนแรงในบริเวณท่ีพัดผาน เกิดไดท้ังบนบกและในทะเล หากเกิดในทะเล จะเรียกวา นาคเลนน้ํา
(water spout) บางคร้งั อาจเกดิ จากกลุมเมฆบนทองฟาแตหมุนตัวยื่นลงมาจากทองฟาไมถึงพ้ืนดิน มีรูปราง
เหมือนงวงชาง จงึ เรียกกนั วา ลมงวงชาง
13
ความเร็วของพายุ สามารถแบง ออกเปน 5 ระดบั ไดแ ก
1) ระดับท่ี 1 มีความเร็วลม 119 - 153 กิโลเมตรตอช่ัวโมง ทําลายลางเล็กนอย ไมสงผลตอส่ิง
ปลกู สรา ง มนี า้ํ ทวมขังตามชายฝง
2) ระดับท่ี 2 มีความเร็วลม 154 - 177 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทําลายลางเล็กนอย ทําใหหลังคา
ประตู หนา ตา งบานเรอื นเสยี หายบาง ทําใหเกิดนา้ํ ทว มขงั
3) ระดับท่ี 3 มีความเร็วลม 178 - 209 กิโลเมตรตอช่ัวโมง ทําลายลางปานกลางทําลาย
โครงสรา งท่อี ยูอาศยั ขนาดเล็ก นา้ํ ทว มขังถึงพ้ืนบานช้นั ลาง
4) ระดับท่ี 4 มีความเร็วลม 210 - 249 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทําลายลางสูง หลังคาบานเรือน
บางแหงถกู ทาํ ลาย น้ําทว มเขามาถงึ พน้ื บา น
5) ระดับที่ 5 มีความเร็วลมมากกวา 250 กิโลเมตรตอช่ัวโมง จะทําลายลางสูงมาก หลังคา
บานเรือน ตึกและอาคารตา ง ๆ ถูกทาํ ลาย พังทลาย นํา้ ทวมขงั ปรมิ าณมาก ถึงขั้นทาํ ลายทรพั ยสินในบา น
อาจตอ งประกาศอพยพประชาชน
ลาํ ดบั ชนั้ การเกดิ พายุฝนฟา คะนอง
1) ระยะเจรญิ เตบิ โต โดยเร่ิมจากการที่อากาศรอนลอยตัวขึ้นสูบรรยากาศ พรอมกับการมีแรง
มากระทําหรือผลกั ดันใหมวลอากาศยกตวั ข้นึ ไปสูความสูงระดับหนึ่ง โดยมวลอากาศจะเย็นลงเมื่อลอยสูงข้ึน
และเร่ิมที่จะเคล่ือนตัวเปนละอองน้ําเล็ก ๆ เปนการกอตัวของเมฆคิวมูลัส ในขณะที่ความรอนแฝงจากการ
กล่นั ตัวของไอน้ําจะชว ยใหอ ัตราการลอยตัวของกระแสอากาศภายในกอนเมฆเร็วมากย่ิงขึ้น ซึ่งเปนสาเหตุให
ขนาดของเมฆคิวมูลัสมีขนาดใหญข้ึนและยอดเมฆสูงเพิ่มข้ึนเปนลําดับ จนเคล่ือนท่ีข้ึนถึงระดับบนสุดแลว
(จุดอ่มิ ตวั ) จนพฒั นามาเปนเมฆควิ มโู ลนิมบัส กระแสอากาศบางสวนก็จะเร่ิมเคลื่อนที่ลงและจะเพิ่มมากขึ้น
จนกลายเปน กระแสอากาศที่เคลอื่ นทีล่ งอยา งเดยี ว
2) ระยะเจริญเตบิ โตเตม็ ที่ เปน ชวงทีก่ ระแสอากาศมที งั้ ไหลข้นึ และไหลลงปริมาณความรอ นแฝง
ที่เกิดขึ้นจากการกล่ันตัวลดนอยลง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการท่ีหยาดน้ําฟาที่ตกลงมามีอุณหภูมิตํ่า ชวยทําให
อุณหภูมิของกลุม อากาศเยน็ กวา อากาศแวดลอม ดังน้นั อตั ราการเคลื่อนที่ลงของกระแสอากาศจะมคี าเพ่ิมขึ้น
เปน ลําดับ กระแสอากาศที่เคลื่อนท่ีลงมา จะแผขยายตัวออกดานขางกอใหเกิดลมกระโชกรุนแรง อุณหภูมิ
จะลดลงทนั ทที นั ใด และความกดอากาศจะเพ่ิมขึน้ อยา งรวดเร็วและยาวนาน แผอ อกไปไกลถึง 60 กโิ ลเมตร
ได โดยเฉพาะสวนที่อยูดานหนาของทิศทาง การเคลื่อนที่ของพายุฝนฟาคะนอง พรอมกันน้ันการท่ีกระแส
อากาศเคล่ือนที่ข้นึ และเคล่อื นท่ีลงจะกอ ใหเ กดิ ลมเชียรร ุนแรงและเกดิ อากาศปน ปว นโดยรอบ
3) ระยะสลายตัว เปนระยะที่พายุฝนฟาคะนองมีกระแสอากาศเคล่ือนที่ลงเพียงอยางเดียว
หยาดนา้ํ ฝนตกลงมาอยา งรวดเร็วและหมดไปพรอม ๆ กับกระแสอากาศทีไ่ หลลงก็จะเบาบางลง
การหลบเลี่ยงอันตรายจากพายุฝนฟาคะนอง เน่ืองจากพายุฝนฟาคะนองสามารถ ทําใหเกิด
ความเสียหายตอ ทรพั ยสินและอันตรายตอ ชีวิตของมนษุ ยไ ด จึงควรหลบเลีย่ งจากสาเหตุดังกลาว คือ
1) ในขณะปรากฏพายฝุ นฟาคะนอง หากอยูใกลอาคารหรือบานเรือนท่ีแข็งแรงและปลอดภัย
จากนาํ้ ทวม ควรอยแู ตภ ายในอาคารจนกวา พายฝุ นฟาคะนองจะยุตลิ ง ซงึ่ ใชเวลาไมนานนัก การอยูในรถยนต
14
จะเปน วิธีการทีป่ ลอดภยั วธิ ีหนง่ึ แตค วรจอดรถใหอยูหางไกลจากบริเวณท่ีน้ําอาจทวมได อยูหางจากบริเวณ
ที่เปน น้ําข้นึ จากเรอื ออกหา งจากชายหาดเมอื่ ปรากฏพายุฝนฟาคะนอง เพ่อื หลีกเลี่ยงอนั ตรายจากนํา้ ทว มและ
ฟาผา
2) ในกรณที ่ีอยูในปา ในทงุ ราบหรือในท่ีโลง ควรคุกเขาและโนมตัวไปขางหนา แตไมควรนอน
ราบกับพ้ืน เนือ่ งจากพืน้ เปย กเปน สือ่ ไฟฟา และไมควรอยใู นทีต่ ํา่ ซ่งึ อาจเกิดน้าํ ทวมฉับพลันได ไมควรอยูในท่ี
โดดเดีย่ วหรอื อยสู งู กวา สภาพสง่ิ แวดลอม
3) ออกหางจากวัตถุที่เปนสื่อไฟฟาทุกชนิด เชน ลวด โลหะ ทอน้ํา แนวร้ัวบาน รถแทรกเตอร
จักรยานยนต เครือ่ งมอื อปุ กรณทําสวนทุกชนิด รางรถไฟ ตนไมสูง ตนไมโดดเดี่ยวในที่แจง ไมควรใชอุปกรณ
ไฟฟา เชน โทรทศั น ฯลฯ และควรงดใชโทรศัพทช่วั คราว นอกจากกรณีฉุกเฉิน ไมควรใสเคร่ืองประดับโลหะ
เชน ทองเหลอื ง ทองแดง ฯลฯ ในทแ่ี จงหรือถือวัตถุโลหะ เชน รม ในขณะปรากฏพายฝุ นฟาคะนอง นอกจากน้ี
ควรดแู ลสงิ่ ของตา ง ๆ ใหอ ยูในสภาพที่แขง็ แรงและปลอดภยั อยูเสมอโดยเฉพาะส่ิงของท่ีอาจจะหกั โคนได เชน
หลังคาบา น ตน ไม ปายโฆษณา เสาไฟฟา ฯลฯ
ผลกระทบตอ ประชากรที่เกดิ จากพายุ
จากกรณีการเกดิ พายไุ ซโคลน “นารก สี ” (Nargis) ที่สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา ถือเปนขา วใหญ
ท่ีทั่วโลกใหความสนใจอยางยิ่ง เพราะมหันตภัยครั้งนี้ ไดคราชีวิตชาวพมาไปนับหม่ืนคน สูญหายอีกหลาย
หม่นื ชวี ิต บานเรอื น ทรพั ยส ินและสาธารณูปโภคตาง ๆ เสยี หายยบั เยิน
“นารกีส” เปนชื่อเรียกของพายุหมุนเขตรอน มีผลพวงมาจากการเกิดภาวะโลกรอน
มีความเร็วลม 190 กโิ ลเมตรตอช่วั โมง พายุ “นารก สี ” เริ่มกอตัว เมื่อวันท่ี 27 เมษายน 2551 ในอาวเบงกอล
ตอนกลางและพัดเขาบริเวณสามเหลี่ยมปากแมน้ําอิระวดี ที่นครยางกุงและบาสเซน สาธารณรัฐแหง
สหภาพพมา ในเชาวันท่ี 3 พฤษภาคม 2551
ความรุนแรงของไซโคลน “นารกีส” จัดอยูในความรุนแรงระดับ 3 คือ ทําลายลางปานกลาง
ทําลายโครงสรางที่อยูอาศัยขนาดเล็ก นํ้าทวมขังถึงพื้นบานช้ันลางพัดหลังคาบานเรือนปลิววอน ตนไมและ
เสาไฟฟาหักโคน ไฟฟาดับทั่วเมือง ในขณะที่ทางภาคเหนือและภาคใตของประเทศไทยก็เจอหางเลข
อิทธพิ ล “นารกสี ” เลก็ นอย ซึ่งทาํ ใหห ลายจงั หวดั เกดิ ฝนตกชุก มนี ้าํ ทว มขงั
พิบตั ภิ ยั ธรรมชาตไิ มม ีทางเลยี่ งได ไมวาจะประเทศไหนหรอื แผนดินใด แตม ีวิธปี องกนั ทด่ี ีท่ีสุด คอื
รัฐบาลตองมีหนวยงานซึ่งทําหนาที่ early warning คือ เตือนประชาชนคนของตนแตแรกดวยขอมูลที่มี
ประสิทธิภาพและทันการณ จากน้ันก็ตองรีบดําเนินการตาง ๆ อยางเหมาะสม เชน ยายผูคนใหไปอยูในที่
ปลอดภัย ท้ังนี้ นับเปนโชคดีของประเทศไทยท่ีเม่ือ นารกีส มาถึงบานเราก็ลดความแรงลงคงมีแตฝนเปน
สวนใหญ แมจะทําความเสียหายแกพืชไรของเกษตรกรไมนอยแตก็เพ่ิมประมาณนํ้าในเขื่อนสําคัญ ๆ
แตอยา งไรก็ตามผลพวงภัยพบิ ัติทางธรรมชาติที่เกดิ ขนึ้ ท้ังหมดมาจาก “ภาวะโลกรอ น” ซ่ึงก็เกิดจากฝมอื มนุษย
ทัง้ ส้ิน
15
2.3 การเกิดคล่ืนสนึ ามิ คลนื่ สนึ ามิ (Tsunami) คือ คลนื่ ในทะเลหรอื คลืน่ ยกั ษใ ตนาํ้ จะเกดิ ภายหลัง
จากการส่ันสะเทือนของแผนดินไหว แผนดินถลม การระเบิดหรือการปะทุของภูเขาไฟท่ีพ้ืนทองสมุทร
อยางรุนแรง ทําใหเกิดรอยแยก น้ําทะเลจะถูกดูดเขาไปในรอยแยกน้ี ทําใหเกิดภาวะนํ้าลดลงอยางรวดเร็ว
จากน้ันแรงอัดใตเปลือกโลกจะดันน้าํ ทะเลขึ้นมากอพลงั คลืน่ มหาศาล คล่ืนสนึ ามิอาจจะเคลื่อนท่ีขามมหาสมุทร
ซึ่งหางจากจุดท่ีเกิดเปนพัน ๆ กิโลเมตร โดยไมมีลักษณะผิดสังเกต เพราะมีความสูงเพียง 30 เซนติเมตร
เคลื่อนท่ีดวยความเร็ว 600 - 1,000 กิโลเมตรตอช่ัวโมง แตเมื่อเคลื่อนตัวเขามาในเขตน้ําต้ืน จะเกิดแรงดัน
ระดับน้ําใหสูงข้นึ อยา งรวดเร็วและมแี รงปะทะอยางมหาศาลกลายเปนคลนื่ ยักษท่ีมคี วามสงู 15 - 30 เมตร
สึนามิ สวนใหญเกดิ จากการเคลอ่ื นตัวของเปลอื กโลกใตท ะเลอยางฉบั พลัน อาจจะเปน การเกดิ แผน ดิน
ถลม ยุบตัวลงหรือเปลอื กโลกถูกดันขึน้ หรือยุบตัวลง ทาํ ใหมีน้ําทะเลปริมาตรมหาศาลถูกดันขึ้นหรือทรุดตัวลง
อยา งฉับพลนั พลังงานจํานวนมหาศาลก็ถา ยเทไปใหเ กิดการเคลือ่ นตัวของนาํ้ ทะเลเปนคลน่ื สนึ ามทิ เ่ี หนือทะเล
ลึก จะดูไมตางไปจากคล่ืนทั่ว ๆ ไปเลย จึงไมสามารถสังเกตไดดวยวิธีปกติ แมแตคนบนเรือเหนือทะเลลึก
ทคี่ ล่นื สึนามิเคลอื่ นผา นใตท องเรือไป กจ็ ะไมรูสกึ อะไรเพราะเหนือทะเลลึก คล่ืนน้ีสูงจากระดับนํ้าทะเลปกติ
เพยี งไมกฟี่ ุตเทานน้ั จึงไมส ามารถแมแ ตจ ะบอกไดด ว ยภาพถายจากเครื่องบนิ หรอื ยานอวกาศ
นอกจากนี้แลว สึนามิ ยงั เกดิ ไดจ ากการเกดิ แผน ดินถลมใตทะเลหรอื ใกลฝ ง ทท่ี ําใหม วลของดินและหนิ
ไปเคลอื่ นยา ยแทนทม่ี วลน้าํ ทะเลหรอื ภเู ขาไฟระเบดิ ใกลทะเล สง ผลใหเกิดการโยนสาดดินหนิ ลงน้ําจนเกิดเปน
คล่ืนสนึ ามิได ดังเชน การระเบดิ ของภเู ขาไฟกระกะตว้ั ในป ค.ศ. 1883 ซงึ่ สง คลื่นสนึ ามิออกไปทาํ ลายลางชีวติ
และทรัพยส ินของผคู นในเอเชยี มจี าํ นวนผตู ายถึงประมาณ 36,000 ชีวิต
16
คลืน่ สนึ ามกิ บั ผลกระทบตอสง่ิ แวดลอม การเกดิ คลน่ื สึนามกิ ระทบตอ สง่ิ แวดลอมและสังคม ในหลาย ๆ
ดาน เชน เกิดการเปลย่ี นแปลงของพน้ื ทชี่ ายฝง ในชวงเวลาอันสนั้ รวมทั้งการเปล่ียนแปลงทีอ่ ยอู าศยั ของสัตวนํา้
บางประเภท ปะการังถูกทาํ ลาย ประชาชนขาดทีอ่ ยูอ าศยั ไรทรพั ยส ินส้นิ เนอื้ ประดาตวั กระทบตอ อาชพี ไมว า จะเปน
ชาวประมง อาชพี ท่ีเกยี่ วกับการบรกิ ารดานทองเทย่ี ว สิง่ ปลกู สรา งอาคารบา นเรือนเสียหาย ฯลฯ
ผลกระทบตอ ประชากรที่เกิดจากคลื่นสึนามิ
จากกรณกี ารเกดิ คลน่ื สึนามิ ในวนั ที่ 26 ธนั วาคม 2547 เวลา 0:58:50 น. (UT) หรอื เวลา 7:58:50 น.
ตามเวลาในประเทศไทย ไดเกิดแผนดินไหวขนาด 8.9 ตามมาตราริกเตอร ท่ีนอกชายฝงตะวันตกทางตอน
เหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย จุดศูนยกลางอยูลึก 10 กม. หางจากเมืองบันดาเอเช ประมาณ
250 กม. และหางจากกรุงเทพฯ 1,260 กม. แผนดินไหวน้ีเปนแผนดินไหวที่ใหญเปนอันดับท่ี 5 นับตั้งแตป
ค.ศ. 1900 และใหญที่สุดนับต้ังแตแผนดินไหวอลาสกาในป ค.ศ. 1964 เหตุการณดังกลาวทําใหเกิดการ
ส่ันสะเทือนรับรูไดในประเทศมาเลเซีย สิงคโปรและไทย แรงคลื่นสูงประมาณ 6 เมตร ไดถาโถมตามแนว
ชายฝงสรางความเสียหายในวงกวาง ทําใหเกิดผูเสียชีวิตและบาดเจ็บเปนจํานวนมาก ในประเทศอินเดีย
ศรลี งั กา มาเลเซยี และจังหวัดทอ งเท่ียวทางใตของประเทศไทย มผี ูเสยี ชวี ติ นบั รอ ยและมผี ูบาดเจ็บเปนจํานวน
มากในจงั หวัดภเู ก็ต พังงา ตรังและกระบ่ี
กิจกรรมที่ 1.2 การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิศาสตรก ายภาพ
1) ใหผูเรียนอธิบายวาการเกิดแผนดินไหวอยางรุนแรงจะสงผลกระทบตอประชากรและ
ส่ิงแวดลอ มอยางไรบาง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.......................................................................
2) ใหบอกความแตกตา งและผลกระทบท่ีเกดิ ตอประชากรและส่งิ แวดลอมของพายฝุ นฟาคะนอง
พายหุ มุนเขตรอนและพายทุ อรนาโด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................
17
3) คล่ืนสึนามิกับผลกระทบตอสิ่งแวดลอมมากมายหลายอยาง ในความคิดเห็นของผูเรียน
ผลกระทบดา นใดที่เสยี หายมากท่ีสุด พรอมใหเ หตุผลประกอบ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................
เรอ่ื งที่ 3 วิธใี ชเ ครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร
เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร หมายถึง สิ่งท่ีมนุษยสรางขึ้นมาเพื่อตรวจสอบและบันทึกขอมูลทางดาน
ภมู ิศาสตร เครื่องมอื ภูมิศาสตรที่สําคญั ไดแ ก แผนที่ ลกู โลก เขม็ ทิศ รปู ถา ยทางอากาศ ภาพถายจากดาวเทียม
และเครื่องมือเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษาภูมิศาสตร ฯลฯ
3.1 แผนที่ เปนส่ิงท่ีมนุษยสรางขึ้นเพ่ือแสดงลักษณะที่ต้ังของส่ิงตาง ๆ ที่ปรากฏอยูบนพื้นผิวโลก
ทงั้ ทีเ่ กิดขน้ึ เองตามธรรมชาติและสง่ิ ทม่ี นษุ ยสรา งข้ึน โดยการยอสวนใหม ีขนาดเล็กลงตามทต่ี อ งการ พรอ มท้ังใช
เคร่อื งหมายหรือสัญลักษณแ สดงลกั ษณะแทนสง่ิ ตาง ๆ ลงในวสั ดุพืน้ แบนราบ
ความสําคัญของแผนท่ี แผนที่เปนท่ีรวบรวมขอมูลประเภทตาง ๆ ตามชนิดของแผนที่
จึงสามารถใชประโยชนจ ากแผนทไ่ี ดตามวัตถุประสงค โดยไมจําเปนตองเดินทางไปเห็นพ้ืนท่ีจริง แผนที่ชวยให
ผูใชส ามารถรูส่ิงทป่ี รากฏอยบู นพน้ื โลกไดอ ยางกวางไกล ถูกตองและประหยัด
ประโยชนข องแผนท่ี แผนที่มปี ระโยชนต อ งานหลาย ๆ ดาน คือ
1. ดานการเมืองการปกครอง เพื่อรักษาความม่ันคงของประเทศชาติใหคงอยูจําเปนจะตองมี
ความรูในเรื่องภูมิศาสตรก ารเมอื งหรอื ทเี่ รียกกันวา “ภมู ริ ฐั ศาสตร” และเครื่องมือทสี่ ําคญั ของนักภูมริ ฐั ศาสตร
กค็ อื แผนที่ เพือ่ ใชศึกษาสภาพทางภูมิศาสตรและนํามาวางแผนดําเนินการเตรียมรับหรือแกไขสถานการณ
ทเ่ี กดิ ขึ้นได
2. ดานการทหาร ในการพิจารณาวางแผนทางยุทธศาสตรของทหาร จําเปนตองหาขอมูลหรือ
ขาวสารทเี่ ก่ยี วกับสภาพภูมิศาสตรและตําแหนงทางส่ิงแวดลอมที่ถูกตองแนนอนเก่ียวกับระยะทาง ความสูง
เสน ทาง ลกั ษณะภูมิประเทศทส่ี าํ คัญ
3. ดานเศรษฐกจิ และสังคม ดานเศรษฐกิจ เปนเครือ่ งบงชคี้ วามเปน อยขู องประชาชนภายในชาติ
การดาํ เนนิ งานเพือ่ พัฒนาเศรษฐกจิ ของแตละภูมิภาคที่ผานมา แผนท่ีเปนส่ิงแรกท่ีตองผลิตขึ้นมาเพื่อการใช
งานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ กต็ องอาศัยแผนท่ีเปนขอมูลพ้ืนฐานเพ่ือใหทราบทําเล
ทต่ี ัง้ สภาพทางกายภาพแหลงทรัพยากร
18
4. ดานสังคม สภาพแวดลอมทางสังคมมีการเปล่ียนแปลงอยูเสมอที่เห็นชัดคือสภาพแวดลอม
ทางภมู ิศาสตร ซงึ่ ทาํ ใหส ภาพแวดลอ มทางสงั คมเปล่ียนแปลงไป การศึกษาสภาพการเปล่ียนแปลงตองอาศัย
แผนท่เี ปน สําคัญและอาจชวยใหการดําเนินการวางแผนพัฒนาสังคมเปนไปในแนวทางที่ถกู ตอง
5. ดานการเรียนการสอน แผนท่ีเปนตัวสงเสริมกระตุนความสนใจและกอใหเกิดความเขาใจ
ในบทเรียนดีข้ึน ใชเ ปน แหลงขอมลู ท้งั ทางดานกายภาพ ภูมิภาค วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สถติ ิและการกระจายของ
สง่ิ ตา ง ๆ รวมท้ังปรากฏการณท างธรรมชาติและปรากฏการณตา ง ๆ ใชเปนเครือ่ งชว ยแสดงภาพรวมของพืน้ ที่
หรอื ของภูมิภาค อนั จะนาํ ไปศกึ ษาสถานการณและวิเคราะหค วามแตกตา งหรอื ความสัมพันธของพ้ืนท่ี
6. ดา นสง เสรมิ การทองเท่ียว แผนทม่ี คี วามจําเปนตอนักทองเท่ียวในอันท่ีจะทําใหรูจักสถานที่
ทอ งเท่ียวไดงา ย สะดวกในการวางแผนการเดินทางหรอื เลอื กสถานทที่ องเที่ยวตามความเหมาะสม
ชนิดของแผนที่ แบง ตามการใชง านได 3 ชนดิ ไดแก
1. แผนทีภ่ ูมิประเทศ เปนแผนท่ีแสดงความสูงตํ่าของพื้นผิวโลก โดยใชเสนช้ันความสูงบอกคา
ความสูงจากระดับนา้ํ ทะเลปานกลาง แผนท่ชี นดิ น้ีเปน พืน้ ฐานท่ีจะนําไปทําขอ มูลอื่น ๆ เกี่ยวกับแผนที่
2. แผนท่ีเฉพาะเรื่อง เปนแผนท่ีท่ีแสดงลักษณะใดลักษณะหนึ่งโดยเฉพาะ ไดแก แผนท่ีรัฐกิจ
แสดงเขตการปกครองหรืออาณาเขต แผนทแ่ี สดงอณุ หภูมขิ องอากาศ แผนที่แสดงปริมาณนํ้าฝน แผนท่ีแสดง
การกระจายตัวของประชากร แผนทเี่ ศรษฐกจิ แผนท่ปี ระวตั ิศาสตร เปน ตน
3. เปน แผนทที่ รี่ วบรวมเรอ่ื งตา ง ๆ ทง้ั ลักษณะทางกายภาพ ทางเศรษฐกิจ ทางสังคม ทางดาน
ประชากร และอื่น ๆ ไวในเลม เดยี วกัน
องคป ระกอบของแผนทมี่ ีหลายองคป ระกอบ คือ
1. สัญลักษณ คอื เครอ่ื งหมายที่ใชแ ทนสิ่งตาง ๆ ตามที่ตองการแสดงไวในแผนที่ เพื่อใหเขาใจ
แผนทไี่ ดง า ยขึ้น เชน จุด วงกลม เสน ฯลฯ
2. มาตราสว น คือ อัตราสวนระยะหางในแผนทก่ี บั ระยะหางในภูมปิ ระเทศจริง
3. ระบบอางองิ ในแผนที่ ไดแก เสน ขนานละติจดู และเสน ลองตจิ ดู (เมรเิ ดยี น)
เสน ละติจดู เปนเสนสมมติที่ลากไปรอบโลกตามแนวนอนหรือแนวทิศตะวันออก ตะวันตก
แตละเสนหางกัน 1 องศา โดยมีเสน 0 องศา (เสนศูนยสูตร) แบงก่ึงกลางโลก เสนท่ีอยูเหนือเสนศูนยสูตร
เรยี กวา “เสนองศาเหนือ” เสน ทอ่ี ยใู ตเ สน ศูนยสูตร เรยี กวา “เสนองศาใต” ละติจูด มที งั้ หมด 180 เสน
เสน ลองตจิ ูด เปนเสนสมมตทิ ล่ี ากไปรอบโลกในแนวตั้งจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต แตละ
เสนหางกัน 1 องศา กําหนดใหเสนท่ีลากผานตําบลกรีนิช กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เปนเสน 0 องศา
(เมริเดยี นปฐม) ถา นับจากเสน เมริเดยี นปฐม ไปทางตะวันออก เรยี กเสนองศาตะวันออก ถา นบั ไปทางตะวันตก
เรยี กเสน องศาตะวนั ตก ลองตจิ ดู มีท้งั หมด 360 เสน
พิกัดภูมิศาสตร เปนตําแหนงที่ตั้งของจุดตาง ๆ บนพื้นผิวโลก เกิดจากการตัดกันของ
เสนขนานละตจิ ดู และเสนเมรเิ ดยี น โดยเสนสมมตทิ ัง้ สองนจี้ ะตง้ั ฉากซงึ่ กันและกนั
4. ขอบระวาง แผนท่ีทกุ ชนิดควรมขี อบระวาง เพอื่ ชว ยใหด เู รียบรอยและเปนการกําหนดขอบเขต
ของแผนท่ดี วย ขอบระวางมักแสดงดวยเสนตรงสองเสนหรอื เสนเดยี ว
19
5. ระบบอา งองิ บนแผนท่ี คือระบบที่กาํ หนดขน้ึ เพ่อื อาํ นวยความสะดวกในการคํานวณหาตําแหนง
ที่ตง้ั และคํานวณหาเวลาของตําแหนงตาง ๆ บนพนื้ ผิวโลก ซึง่ แยกไดดงั น้ี
การคํานวณหาตําแหนงท่ีต้ัง จะใชละติจูดและลองติจูดเปนเกณฑ วิธีนี้เรียกวา การพิกัด
ภูมิศาสตร
การคาํ นวณหาเวลา โดยใชหลักการวา 1 นาที = 15 ลิปดา และ 4 นาที = 1 ลองติจูด หรือ 1
องศา
6. สที ีใ่ ชในการเขียนแผนที่แสดงลกั ษณะภูมิประเทศ
สดี าํ หมายถงึ สง่ิ สาํ คญั ทางวฒั นธรรมท่มี นษุ ยส รางขึ้น เชน อาคาร วดั สถานท่รี าชการ
สีนํ้าตาล หมายถงึ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทม่ี คี วามสูง
สีนํา้ เงนิ หมายถึง ลกั ษณะภูมิประเทศทเ่ี ปนน้าํ เชน ทะเล แมน ํ้า หนองบงึ
สีแดง หมายถึง ถนนสายหลัก พื้นท่ยี า นชมุ ชนหนาแนน และลกั ษณะภมู ปิ ระเทศสาํ คัญ
สีเขียว พชื พนั ธุไ มต า ง ๆ เชน ปา สวน ไร
3.2 ลูกโลก เปนเครื่องมือทางภูมิศาสตรอยางหนึ่งที่ใชเปนอุปกรณในการศึกษาคนควาหรือใช
ประโยชนในดานอื่น ๆ ลกู โลกจําลองเปน การยอสว นของโลกมลี กั ษณะทรงกลม บนผิวของลูกโลกจะมีแผนท่ี
โลก แสดงพน้ื ดิน พืน้ น้าํ สภาพภูมปิ ระเทศ ท่ตี ั้งประเทศ เมืองและเสนพิกัดทางภูมิศาสตร เพ่ือสามารถบอก
ตําแหนง ตา ง ๆ บนพน้ื ผิวโลกได ลูกโลกจําลองสรา งคลา ยลกู โลกจริง แสดงสแี ทนลักษณะภูมิประเทศตา ง ๆ
20
องคประกอบของลกู โลก ไดแก
เสนเมรเิ ดยี น เปน เสน สมมติที่ลากจากขว้ั โลกเหนือไปยังข้ัวโลกใต ซง่ึ กําหนดใหม ีคาเปน 0 องศา
ทีเ่ มืองกรนี ชิ ประเทศอังกฤษ
เสน ขนาน เปนเสน สมมติท่ลี ากไปรอบโลกในแนวนอน ทุกเสนจะขนานกับเสนศูนยสตู ร
3.3 เข็มทิศ เปนเคร่ืองมือสําหรับใชในการหาทิศทางของจุดหรือวัตถุ โดยมีหนวยเปนองศา
เปรียบเทยี บกบั จุดเร่มิ ตน อาศยั แรงดงึ ดูดระหวา งสนามแมเ หลก็ ขั้วโลกกับเขม็ แมเหล็ก ซึ่งเปนองคประกอบที่
สาํ คัญท่สี ุด เข็มแมเหลก็ จะแกวง ไกวอสิ ระในแนวนอนเพอ่ื ใหแ นวเขม็ ชอ้ี ยใู นแนว เหนือ - ใต ไปยังข้ัวแมเ หลก็
โลกตลอดเวลา เข็มทิศมปี ระโยชนเพ่ือใชในการเดินทาง ไดแ ก การเดินเรอื ทะเล เคร่อื งบิน การใชเ ขม็ ทศิ จะตอง
มีแผนทปี่ ระกอบและตอ งหาทิศเหนอื กอน
3.4 รูปถายทางอากาศและภาพถา ยจากดาวเทียม เปนรูปหรือขอมูลตัวเลขท่ีไดจากการเก็บขอมูล
ภาคพน้ื ดินจากกลอ งทีต่ ดิ อยูกบั ยานพาหนะ เชน เครอื่ งบนิ หรือดาวเทียม
ประโยชนของรูปถายทางอากาศและภาพถายจากดาวเทียม รูปถายทางอากาศและภาพถาย
จากดาวเทียมใหขอมูลพื้นผิวของเปลือกโลกไดเปนอยางดี ทําใหเห็นภาพรวมของการใชพื้นท่ีและ
การเปลี่ยนแปลงตางๆ ตามที่ปรากฏบนพื้นโลกเหมาะแกการศึกษาทรัพยากรผิวดิน เชน ปาไม การใช
ประโยชนจากดิน หนิ และแร
3.5 เครือ่ งมอื เทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษาภมู ิศาสตร เทคโนโลยีท่สี าํ คญั ดานภมู ศิ าสตร คือ
1) ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร (GIS) หมายถงึ การเก็บ รวบรวมและบันทกึ ขอ มลู ทางภูมิศาสตร
ดว ยระบบคอมพวิ เตอรโดยขอ มูลเหลานี้สามารถปรับปรุงแกไขใหถูกตองทันสมัย และสามารถแสดงผลหรือ
นําออกมาเผยแพรเปนตัวเลข สถิติ รูปภาพ ตาราง แผนที่และขอความทางหนาจอคอมพิวเตอรหรือพิมพ
ออกมาเปน เอกสารได
21
ประโยชนข องระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร (GIS) คือชว ยใหป ระหยัดเวลาและงบประมาณ
ชวยใหเห็นภาพจําลองพ้ืนที่ชัดเจนทําใหการตัดสินใจวางแผนจัดการและพัฒนาพื้นท่ีมีความสะดวกและ
สอดคลอ งกับศกั ยภาพของพืน้ ที่น้ันและชวยในการปรบั ปรุงแผนท่ีใหทนั สมยั
2) ระบบพกิ ดั พ้นื ผิวโลก (GPS) เปน เครอ่ื งมอื รบั สัญญาณพกิ ัดพ้นื ผวิ โลกอาศัยระยะทางระหวา ง
เคร่ืองรับดาวเทียม GPS บนพ้ืนผิวโลกกับดาวเทียมจํานวนหน่ึงท่ีโคจรอยูในอวกาศและระยะทางระหวาง
ดาวเทยี มแตละดวง ปจ จุบันมดี าวเทยี มชนิดน้อี ยูป ระมาณ 24 ดวง เครื่องมือรับสัญญาณ มีขนาดและรูปราง
คลา ยโทรศพั ทม ือถือ เม่ือรับสัญญาณจากดาวเทียมแลวจะทราบคาพิกัด ณ จุดท่ีวัดไว โดยอาจจะอานคาเปน
ละตจิ ูดและลองจิจดู ได ความคลาดเคลือ่ นขึ้นอยูกบั ชนิดและราคาของเครือ่ งมือ
ประโยชนของเครื่องมือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาภูมิศาสตร จะคลายกับการใชประโยชน
จากแผนทสี่ ภาพภูมิประเทศและแผนท่ีเฉพาะเรือ่ ง เชน จะใหคาํ ตอบวาถาจะเดินทางจากจุดหน่ึงไปยังอีกจุด
หน่ึง ในแผนท่ีจะมีระยะทางเทาใด ถาทราบความเร็วของรถจะทราบวาใชเวลานานเทาใด บางครั้งขอมูล
มคี วามสับสนมาก เชน ถนนบางชว งมสี ภาพถนนไมเ หมือนกัน คอื บางชวงเปนถนนกวา งทสี่ ภาพผวิ ถนนดี
บางชวงเปน ถนนลกู รัง บางชวงเปนหลมุ เปนบอ ทาํ ใหการคิดคํานวณเวลาเดินทางลําบากแตระบบสารสนเทศ
ภมู ิศาสตรจะชว ยใหค ําตอบได
22
กจิ กรรมที่ 1.3 วิธีใชเครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตร
1) ถาตองการทราบระยะทางจากที่หน่ึงไปยังอีกที่หน่ึง ผูเรียนจะใชเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร
ชนดิ ใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................
2) ภาพถา ยจากดาวเทียม มีประโยชนอ ยา งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................
3) แผนที่มปี ระโยชนอยางไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................
4) ถาตองการทราบวาประเทศไทยอยูพิกัดภูมิศาสตรที่เทาไหร ผูเรียนจะใชเครื่องมือทาง
ภูมิศาสตรชนดิ ใดไดบา ง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................
23
เรอ่ื งท่ี 4 สภาพภมู ศิ าสตรกายภาพของไทยท่ีสง ผลตอ ทรัพยากรตาง ๆ และสิ่งแวดลอ ม
ประเทศไทยมีความแตกตางกันทางสภาพภูมิศาสตรกายภาพ เน่ืองจากมีปจจัยท่ีกอใหเกิดลักษณะ
ภมู ปิ ระเทศ คอื
1) การผันแปรของเปลือกโลก เกิดจากพลังงานภายในโลกท่ีมีการบีบ อัด ใหยกตัวสูงขึ้นหรือ
ทรดุ ตา่ํ ลง สวนที่ยกตัวสงู ขึน้ ไดแก ภเู ขา ภเู ขาไฟ เนินเขา ท่รี าบสูง สวนท่ีลดตา่ํ ลง ไดแก หุบเขา ท่รี าบลุม
2) การกระทาํ ของตวั กระทาํ ตา ง ๆ เมอื่ เกิดการผนั แปรแบบแรกแลว กจ็ ะเกดิ การกระทาํ จากตวั ตาง ๆ
เชน ลม น้าํ คล่ืน ไปกัดเซาะพังทลายภูมิประเทศหลัก ลักษณะของการกระทํามี 2 ชนิด คือ การกัดกรอน
ทาํ ลาย คอื การทําลายผวิ โลกใหตาํ่ ลง โดย ลม อากาศ นํา้ นํา้ แข็ง คลน่ื ลมและ การสะสมเสรมิ สรา ง คือ
การปรบั ผิวโลกใหราบโดยเปน ไปอยางชา ๆ แตตอ เนอ่ื ง
3) การกระทาํ ของมนุษย เชน การสรา งเข่ือน การระเบดิ ภูเขา
ดว ยเหตดุ งั กลาว นกั ภูมศิ าสตรไดใ ชห ลกั เกณฑค วามแตกตางทางดานกายภาพ เชน ภูมิประเทศ
ภูมิอากาศของทอ งถ่นิ มาใชในการแบง ภาคภมู ิศาสตร จงึ ทําใหประเทศไทยมีสภาพภมู ศิ าสตรท ่ีแบง เปน 6 เขต
คือ
1. เขตภูเขาและหุบเขาทางภาคเหนือ ลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขามากกวาภาคใด ๆ และ
เทือกเขาจะทอดยาวในแนวเหนือใตสลับกับท่ีราบหุบเขา โดยมีที่ราบหุบเขาแคบ ๆ ขนานกันไป อันเปนตน
กําเนิดของแมน้ําลาํ คลองหลายสาย แควใหญนอยในภาคเหนือทําใหเกิดท่ีราบลุมแมนํ้า ซึ่งอยูระหวางหุบเขา
อันอุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ ราษฎรสวนใหญประกอบอาชีพเพาะปลูก เล้ียงสัตวและทํา
เหมอื งแร นอกจากนที้ รพั ยากรธรรมชาตยิ งั เออื้ อาํ นวยใหเ กดิ อตุ สาหกรรมในครวั เรือนทมี่ ีชื่อเสยี ง เปนท่ีรูจกั กนั
มาชา นาน ภาคเหนอื จะอยูในเขตรอนท่มี ลี ักษณะภูมิอากาศคลายคลึงกับภูมิอากาศทางตอนใตของเขตอบอุน
ของประเทศทมี่ ี 4 ฤดู
2. เขตเทือกเขาทางภาคตะวันตก ลักษณะภูมิประเทศเปนพ้ืนที่แคบ ๆ ทอดยาวขนานกับ
พรมแดนประเทศพมา สวนใหญเปน ภเู ขา มีแหลง ทรัพยากรแรธาตแุ ละปาไมของประเทศ มีปริมาณฝนเฉล่ีย
ตํ่ากวาทุกภาคและเปนภูมิภาคที่ประชากรอาศัยอยูนอย สวนใหญอยูในเขตที่ราบลุมแมนํ้าและชายฝงและ
มักประกอบอาชีพปลกู พชื ไรแ ละการประมง ลกั ษณะภมู อิ ากาศโดยทัว่ ไป มีความแหง แลงมากกวา ในภาคอื่น ๆ
เพราะมีเทอื กเขาสงู เปน แนวกาํ บงั ลม ทําใหอ ากาศในฤดูรอนและฤดูหนาวแตกตางกันอยางเดนชัด เนื่องจาก
แนวเทือกเขาขวางกั้น ทิศทางลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต กอใหเกิดบริเวณเงาฝนหรือพ้ืนท่ีอับลม ฝนจะตก
ดา นตะวันตกของเทอื กเขามากกวา ดานภาคตะวันออก
3. เขตท่รี าบของภาคกลาง ลกั ษณะภูมปิ ระเทศสวนใหญเ ปน ท่รี าบลมุ แมน้าํ อันกวางใหญ
มีลักษณะเอียงลาดจากเหนือลงมาใต เปนท่ีราบที่มีความอุดมสมบูรณมากท่ีสุดเพราะเกิดการทับถมของ
ตะกอน เชน ที่ราบลมุ แมน้ําเจาพระยา และทาจีน เปน แหลง ทท่ี าํ การเกษตร (ทํานา) ที่ใหญท่ีสุด มีเทือกเขา
เปนขอบของภาค ทง้ั ดานตะวันตกและตะวนั ออก
4. เขตภเู ขาและท่ีราบบรเิ วณชายฝง ทะเลตะวันออก ลักษณะภูมปิ ระเทศเปน เทอื กเขาสงู และ
24
ทรี่ าบ ซึ่งสว นใหญเปน ท่รี าบลูกฟูกและมีแมน ํา้ ท่ีไหลลงสอู าวไทย แมนํ้าในภาคตะวันออกสวนมากเปนแมนํ้า
สายสน้ั ๆ ซ่งึ ไดพ ดั พาเอาดนิ ตะกอนมาทง้ิ ไว จนเกดิ เปนทร่ี าบแคบ ๆ ตามท่ีลุมลักษณะชายฝงและมีลักษณะ
ภูมิประเทศเปนเกาะ อาว และแหลม ลกั ษณะภูมิอากาศ ภาคตะวนั ออกมีชายฝง ทะเลและมเี ทือกเขาเปนแนว
ยาว เปด รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจากอาวไทยอยางเต็มที่ จึงทําใหภาคน้ีมีฝนตกชุกหนาแนนบางพื้นที่
ไดแ ก พนื้ ท่ีรับลมดานหนาของเทือกเขาและชายฝงทะเล อุณหภูมิของภาคตะวันออกจะมีคาสมํ่าเสมอตลอด
ทง้ั ปและมคี วามชื้นคอนขางสงู เหมาะแกการทาํ สวน
5. เขตทีร่ าบสงู ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ลักษณะภมู ิประเทศเปน ทรี่ าบสงู ขนาดตา่ํ ทางบริเวณ
ตะวันตกของภาคจะมีภูเขาสูง ทางบริเวณตอนกลางของภาคมีลักษณะเปนแองกะทะ เรียกวา “แองท่ีราบ-
โคราช” มีแมน ํ้าชีและแมนา้ํ มูลไหลผา น ยังมีทร่ี าบโลงอยูห ลายแหง เชน ทงุ กุลารอ งไห ทงุ หมาหิว ซึง่ สามารถ
ทํานาไดแตไ ดผลผลติ ตํา่ และมีแนวทวิ เขาภพู านทอดโคง ยาวคอ นไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของภาคถัดเลยจาก
แนวทวิ เขาภูพานไปทางเหนือมแี อง ทรุดต่ําของแผนดนิ เรยี กวา “แอง สกลนคร”
6. เขตคาบสมุทรภาคใต ลกั ษณะภูมิประเทศเปนคาบสมุทรย่ืนไปในทะเล มีเทือกเขาทอดยาว
ในแนวเหนือใต ท่ีเปนแหลงทับถมของแรดีบุก และมีความสูงไมมากนักเปนแกนกลางบริเวณชายฝงทะเล
ทั้งสองดา นของภาคใตเปนท่ีราบ มีประชากรอาศยั อยูหนาแนน ภาคใตไ ดร บั อิทธพิ ลความช้ืนจากทะเลท้ังสอง
ดา น มีฝนตกชกุ ตลอดป และมีปริมาณฝนเฉลยี่ สูง เหมาะแกการเพาะปลกู พืชผลเมืองรอน ที่ตองการความชื้นสูง
ลกั ษณะภมู อิ ากาศไดร ับอิทธพิ ลของลมมรสุมท้ังสองฤดู จึงเปนภาคท่ีมีฝนตกตลอดท้ังป ทําใหเหมาะแกการ
ปลูกพืชเมอื งรอนทีต่ อ งการความชุมชืน้ สูง เชน ยางพารา ปาลมนาํ้ มนั เปน ตน
องคประกอบของสิ่งแวดลอมทางกายภาพของไทย ที่สําคัญมี 3 องคประกอบ ไดแก ลักษณะ
ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมีความเกี่ยวพันซึ่งกันและกันและมีผลตอความเปนอยูของ
มนษุ ยท ้ังทางตรงและทางออม
1) ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะของเปลือกโลกทเ่ี หน็ เปนรปู แบบตา งๆ
แบงเปน 2 ประเภท คือ ลักษณะภูมิประเทศหลัก ไมเปล่ียนรูปงาย ไดแก ที่ราบ ที่ราบสูง ภูเขา
และเนนิ เขา ลักษณะภูมิประเทศรองเปลย่ี นแปลงรปู ไดง า ย ไดแ ก หบุ เขา หว ย เกาะ อาว แมน ้าํ สนั ดอนทราย
แหลม ทะเลสาบ
2) ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง คาเฉล่ียของลมฟาอากาศที่เกิดข้ึนเปนประจําในบริเวณใด
บริเวณหนง่ึ ในชว งระยะเวลาหนึง่ ซ่ึงมีปจจัยควบคุมอากาศ เชน ตาํ แหนงละตจิ ูด
3) ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและมนุษย
สามารถนําไปใชประโยชนในการดํารงชีวิตได แบงออกเปน 4 ประเภท คือ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา
ทรพั ยากรปาไมแ ละทรพั ยากรแรธ าตุ ทรัพยากรธรรมชาติ แบง เปน 3 ประเภท คือ
- ทรัพยากรทใ่ี ชแลวหมดไปไมสามารถเกิดมาทดแทนใหมไ ด เชน นํ้ามนั แรธ าตุ
- ทรพั ยากรท่ีใชแลว สามารถสรา งทดแทนได เชน ปา ไม สตั วบ ก สตั วน ํา้
- ทรพั ยากรทใ่ี ชแลวไมหมดไป เชน นาํ้ อากาศ เปน ตน
25
การอนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติ การอนรุ ักษ หมายถึง การรูจ ักใชท รพั ยากรธรรมชาตอิ ยางคมุ คา
และใหเกิดประโยชนมากทส่ี ุด โดยมวี ัตถุประสงค คอื
1. เพ่ือปรับปรุงคุณภาพชีวิตของมนุษย หมายถึง การใชประโยชนสูงสุด และรักษาสมดุลของ
ธรรมชาติไวดว ย โดยใชเทคโนโลยีทท่ี ําใหเกิดผลเสยี ตอสภาพแวดลอมนอยท่ีสุด
2. เพ่ือรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดลอมใหอยูในสภาพสมดุล โดยไมเกิดส่ิงแวดลอมเปนพิษ
(Polution) จนทําใหเ กดิ อันตรายตอมนุษยและส่งิ แวดลอม
1) ทรัพยากรดิน ดินเกิดจากการสลายตัวของหิน แรธาตุและอินทรียวัตถุตาง ๆ อันเน่ืองมาจากการ
กระทาํ ของลม ฟา อากาศและอน่ื ๆ สวนประกอบท่ีสาํ คัญของดนิ ไดแ ก อนินทรยี ว ัตถหุ รอื แรธ าตุ
ปญ หาของการใชท รัพยากรดนิ เกดิ จาก
1. การกระทําของธรรมชาติ เชน การสึกกรอนพังทลายท่ีเกิดจากลม กระแสนํ้าและ
การชะลางแรธ าตตุ า ง ๆ ในดิน
2. การกระทาํ ของมนุษย เชน การทาํ ลายปาไม การปลูกพชื ชนิดเดียวซ้ําซาก การเผาปาและ
ไรน า ทําใหสูญเสียหนา ดนิ ขาดการบาํ รุงรักษาดนิ
การอนรุ ักษทรัพยากรดิน โดยการปลกู พืชหมนุ เวยี น การปลูกพืชแบบข้นั บันไดปอ งกนั การเซาะ
ของนํา้ ปลกู พืชคลมุ ดิน ปอ งกนั การชะลางหนา ดนิ ไมตัดไมทาํ ลายปาและการปลูกปาในบริเวณท่ีมีความลาดชัน
เพ่ือปองกันการพงั ทลายของดิน
26
27
2) ทรัพยากรน้ํา น้ําเปนทรัพยากรที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษยและสิ่งมีชีวิต ใชแลว
ไมหมดส้ินไป แบงเปน
- นํา้ บนดนิ ไดแก แมน้ํา ลําคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ ปรมิ าณน้ํา ขึน้ อยูกบั ปริมาณนา้ํ ฝน
- น้ําใตด นิ หรือน้าํ บาดาล ปริมาณนาํ้ ขน้ึ อยูกบั นา้ํ ท่ไี หลซมึ ลงไปจากพื้นดิน และความสามารถ
ในการกกั นํ้าในชนั้ หนิ ใตดิน
- น้ําฝน ไดจากฝนตก ซ่ึงแตละบริเวณจะมีปริมาณนํ้าแตกตางกัน ซึ่งในประเทศไทย
เกดิ ปญ หาวิกฤตกิ ารณเก่ียวกับทรพั ยากรนาํ้ คอื เกิดภาวะการขาดแคลนน้าํ และเกิดมลพษิ ทางน้ํา เชน นํ้าเสีย
จากโรงงานอตุ สาหกรรม
การอนรุ ักษท รัพยากรนาํ้ โดยการ
1. การพฒั นาแหลงน้าํ ไดแก การขุดลอกหนอง คลองบึงและแมน้ําที่ต้ืนเขิน เพื่อใหสามารถ
กกั เก็บนา้ํ ไดม ากข้ึน ตลอดจนการสรางเขื่อนและอา งกักเก็บนํา้
2. การใชน ้ําอยางประหยัด ไมป ลอยใหน้าํ สญู เสยี ไปโดยเปลา ประโยชนและสามารถนาํ นํา้ ทีใ่ ช
แลวกลบั มาหมนุ เวยี นใชไดใ หมอีก เชน น้าํ จากโรงงานอตุ สาหกรรม
3. การควบคุมรักษาตนน้ําลาํ ธาร ไมม กี ารอนญุ าตใหม กี ารตดั ตนไมทาํ ลายปา อยางเดด็ ขาด
4. ควบคุมมิใหเกิดมลพิษแกแหลงน้ํา มีการดูแลควบคุมมิใหมีการปลอยส่ิงสกปรกลงไป
ในแหลงน้ํา
3) ทรพั ยากรปา ไม ปาไมม คี วามสําคัญตอมนุษยท ้งั ทางตรงและทางออม เชน ชวยรักษาสภาพ
ดนิ นาํ้ อากาศ บรรเทาความรุนแรงของลมพายุและยังไดรับผลิตภัณฑจากปาไมหรือใชเปนแหลงทองเท่ียว
พกั ผอนหยอ นใจได ปา ไม แบง เปน 2 ประเภท คือ
1. ปาไมไ มผลัดใบ เชน ปา ดงดิบ หรือปาดิบเปน ปา ไมบ รเิ วณท่ีมีฝนตกชุก พบมากทางภาคใต
และภาคตะวนั ออก ปาดิบเขา พบมากในภาคเหนอื ปาสนเขา พบทางภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปา ชายเลนนํ้าเคม็ เปนปาไมต ามดนิ เลน น้าํ เค็มและนาํ้ กรอ ย
2. ปาไมผลัดใบ เชน ปาเบญจพรรณ เปนปาผลัดใบผสม พบมากที่สุดในภาคเหนือ ปาแดง
ปาโคก ปาแพะ เปน ปา โปรงพบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปา ชายหาด เปน ตน ไมเลก็ ๆ ข้ึนตามชายหาด
ปาพรุ หรอื ปาบึง เปนปา ไมท ่ีเกิดตามดนิ เลน
การอนุรักษทรัพยากรปาไม สามารถทําไดโดยการออกกฎหมายคุมครองปาไม คือ
พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 การปองกันไฟไหมปา การปลูกปาทดแทนไมที่ถูกทําลายไป
การปอ งกันการลักลอบตัดไมแ ละการใชไมใ หเ กิดประโยชนและคมุ คามากท่ีสุด
4) ทรพั ยากรแรธ าตุ แรธ าตุ หมายถงึ สารประกอบเคมีทเ่ี กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ
แบง ออกเปน
- แรโ ลหะ ไดแ ก เหลก็ ทองแดง สังกะสี ดีบุก ตะกวั่
- แรอ โลหะ ไดแ ก ยิปซมั่ ฟลูออไรด โปแตช เกลือหนิ
- แรเ ช้อื เพลิง ไดแ ก ลกิ ไนต หินนํ้ามนั ปโ ตรเลยี ม กา ซธรรมชาติ
28
การอนรุ กั ษทรพั ยากรแรธ าตุ
1. ขดุ แรมาใชเ มอ่ื มีโอกาสเหมาะสม
2. หาวิธีใชแรใหมปี ระสิทธิภาพและไดผ ลคุมคา มากท่ีสดุ
3. ใชแรอยา งประหยดั
4. ใชว สั ดหุ รอื สง่ิ อ่นื แทนส่ิงท่จี ะตองทําจากแรธาตุ
5. นาํ ทรัพยากรแรกลบั มาใชใหม เชน นําเศษเหลก็ เศษอลูมเิ นียม มาหลอมใชใหม เปนตน
ปจ จยั ท่ีมีผลกระทบตอทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดแ ก
1. การเพ่ิมประชากรมผี ลทําใหตองใชทรัพยากรและส่ิงแวดลอมมากขึ้น จึงเกิดปญหาความ
เสือ่ มโทรมของสภาพแวดลอมตามมามากข้นึ
2. การใชเ ทคโนโลยที ันสมัย ซง่ึ อาจทําใหเกิดทัง้ ผลดแี ละผลเสยี ตอธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม
กจิ กรรมที่ 1.4 สภาพภูมศิ าสตรกายภาพของไทยที่สงผลตอ ทรัพยากรตา งๆ และส่งิ แวดลอม
1) ใหผเู รยี นอธบิ ายวาสภาพภมู ิศาสตรข องประเทศไทย ท้ัง 6 เขต มีอะไรบาง และแตละเขตสวนมาก
ประกอบอาชพี อะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2) ผูเรียนคิดวาประเทศไทยมีทรัพยากรอะไรท่ีมากท่ีสุด บอกมา 5 ชนิด แตละชนิดสงผลตอ
การดาํ เนินชีวิตของประชากรอยางไรบา ง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
29
เร่ืองที่ 5 ความสาํ คญั ของการดาํ รงชีวติ ใหส อดคลอ งกบั ทรพั ยากรในประเทศ
5.1 ความสาํ คัญของการดาํ รงชีวติ ใหสอดคลอ งกับทรัพยากรของประเทศไทย
จากที่ไดกลาวมาแลววา ประเทศไทยมีความแตกตางกันทางดานกายภาพ เชน ภูมิประเทศ
ภูมอิ ากาศของทองถิ่น จึงทําใหแตละภาคมีทรัพยากรท่ีแตกตางกันตามไปดวย สงผลใหประชากร ในแตละ
ภมู ภิ าคประกอบอาชพี ตางกนั ไปดว ย เชน
ภาคเหนือ ในภาคเหนือมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ จากการที่ลักษณะภูมิประเทศของ
ภาคเหนือสวนใหญเปนทิวเขาและมีท่ีราบหุบเขาสลับกันแตพ้ืนที่ราบมีจํากัด ทําใหประชากรต้ังถิ่นฐาน
อยา งหนาแนนตามทร่ี าบลมุ แมน ้าํ ทรัพยากรทสี่ าํ คัญ คือ
1) ทรพั ยากรดิน ทั้งดินที่ราบหบุ เขา ดินทมี่ นี ํ้าทว มถงึ และดินทเ่ี หลอื คา งจากการกัดกรอ น
2) ทรัพยากรนา้ํ แบงเปน 2 ประเภท คอื
1. นํ้าบนผิวดิน ไดแก แมนํ้าลําธาร หนองบึงและอางเก็บนํ้าตาง ๆ แมวาภาคเหนือจะมี
แมนา้ํ ลาํ ธาร แตบ างแหง ปรมิ าณน้าํ กไ็ มเพียงพอ เนอื่ งจากเปนแมนาํ้ สายเลก็ ๆ และปจจุบันปริมาณนํ้าในแมนํ้า
ลาํ ธารในภาคเหนือลดลงมาก ท้ังน้ีเนื่องจากการตัดไมทําลายปาในแหลงตนนํ้า แตอยางไรก็ตามยังมีแมน้ํา
หลายสาย เชน แมน้ําปง วัง ยม นาน แมนํ้าปงจังหวัดเชียงใหมและแมนํ้ากกจังหวัดเชียงรายท่ีมีนํ้าไหล
ตลอดป แมในฤดูแลงก็ยังมีน้ําท่ีทําการเกษตรไดบาง นอกจากน้ี ยังมีบึงนํ้าจืดขนาดใหญ คือ กวานพะเยา
จังหวดั พะเยา บงึ บอระเพด็ จังหวดั นครสวรรค
2. น้ําใตดิน ภาคเหนือมีน้ําใตดินที่อยูในรูปของนํ้าบอและบอบาดาล จึงสามารถใชบริโภค
และทาํ การเกษตรได
3) ทรัพยากรแร มเี หมอื งแรใ นทุกจังหวดั ของภาคเหนือ แรที่สําคัญไดแก ดีบุก ทังสเตน พลวง
ฟลอู อไรด ดนิ ขาว ถานลกิ ไนตแ ละนาํ้ มันปโ ตรเลยี ม
4) ทรพั ยากรปาไม ภาคเหนอื มีอัตราพืน้ ทปี่ า ไมต อ พ้ืนที่ทงั้ หมดมากกวาทกุ ภาค จังหวดั ที่มปี าไม
มากท่ีสดุ คือ เชียงใหม ปาไมส ว นใหญเปน ปา เบญจพรรณและปา แดง ไมท ส่ี ําคัญคือ ไมส ัก
5) ทรัพยากรดานการทองเท่ียว ภาคเหนือมีธรรมชาติที่สวยงาม สามารถดึงดูดนักทองเที่ยว
ใหม าชมวิวทิวทัศน มีทัง้ น้ําตก วนอุทยาน ถํ้า บอนํ้ารอน เชน ดอยอินทนนทจังหวัดเชียงใหม ภูช้ีฟาจังหวัด
เชยี งราย
ประชากร ภาคเหนือเปนภาคที่ประชากรอาศัยอยูเบาบาง เนื่องจากภูมิประเทศ เต็มไปดวยภูเขา
ประชากรสวนใหญอาศัยอยูหนาแนนตามที่ราบลุมแมน้ํา สวนใหญสืบเชื้อสายมาจากไทยลานนา นิยม
เรียกคนภาคเหนอื วา “คนเมือง” ประชากรในภาคเหนอื สามารถรักษาวัฒนธรรมดัง้ เดิมไวไดอยางเหนียวแนน
เชน ประเพณสี งกรานต ประเพณที านสลากหรอื ตานกว ยสลาก ประเพณีลอยกระทง
30
นอกจากน้ยี ังมชี าวไทยภเู ขาอาศัยอยูเปนจํานวนมาก เชน เผามง มเู ซอ เยา ลีซอ อกี อ กะเหร่ยี ง ฯลฯ
จังหวดั ท่ีมีชาวเขามากท่สี ุด คอื เชียงใหม แมฮองสอนและเชียงราย การอพยพของชาวเขาเขามาในประเทศ
ไทยจํานวนมากทําใหเกิดปญหาติดตามมา คือ ปญหาการตัดไมทําลายปา เพ่ือทําไรเล่ือนลอย ปญหา
การปลูกฝน รฐั บาลไดแกไ ขปญ หา โดยหามาตรการตาง ๆ ที่ทําใหชาวเขาหันมาปลูกพืชเมืองหนาว เชน ทอ
กาแฟ สตรอเบอร่ี บวย อะโวคาโด และดอกไมเมืองหนาว ฯลฯ นอกจากน้ีหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ยังไดจัด
การศกึ ษาเพอื่ ใหช าวเขาไดเ รียนภาษาไทย ปลูกจิตสาํ นึกความเปนคนไทย เพอื่ ใหเ ขา ใจถึงสิทธิหนาที่ การเปน
พลเมืองไทยคนหน่ึง
การประกอบอาชพี ของประชากรในภาคเหนอื ประชากรในภาคเหนือจะมีอาชีพทํานา ซ่ึงปลูกท้ัง
ขา วเจาและขาวเหนยี ว ในพื้นที่ราบลุมแมน ้ํา เนอื่ งจากมดี ินอดุ มสมบรู ณแ ละมกี ารชลประทานท่ีดี จึงสามารถ
ทํานาไดปล ะ 2 ครงั้ แตผลผลิตรวมยงั นอยกวาภาคกลางและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ นอกจากน้ี ยงั ประกอบ
อาชีพทําไร (ขาวโพด ถั่วเหลือง ถั่วลิสง หอม กระเทียม ออย) การทําสวนผลไม (ล้ินจี่ ลําไย) อุตสาหกรรม
(โรงบมใบยาสูบ การผลิตอาหารสาํ เรจ็ รปู และอาหารกระปอง) อุตสาหกรรมพ้ืนเมือง (เคร่ืองเขิน เคร่ืองเงิน
การแกะสลักไมสัก การทํารมกระดาษ) อุตสาหกรรมการทองเท่ียวเน่ืองจากภาคเหนือโดยเฉพาะจังหวัด
เชยี งใหม มที ศั นียภาพที่สวยงาม มโี บราณสถานมากมายและมวี ัฒนธรรมที่เกา แกทง่ี ดงาม
ภาคตะวนั ตก เนือ่ งจากทวิ เขาในภาคตะวันตกเปนทวิ เขาที่ทอดยาวมาจากภาคเหนือ ดังน้ันลักษณะ
ภมู ิประเทศจงึ คลา ยกับภาคเหนอื คอื เปนทิวเขาสูงสลบั กบั หุบเขาแคบ ซงึ่ เกิดจากการเซาะของแมน้ํา ลําธาร
31
อยางรวดเร็ว ทิวเขาสวนใหญเปนหินคอนขางเกา สวนใหญเปนหินปูน พบมากที่จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี
และเพชรบุรี ภเู ขาหนิ ปนู เหลานี้จะมยี อดเขาหยกั แหลมตะปมุ ตะปา นอกจากนย้ี งั มหี นิ ดนิ ดาน หินแกรนติ และ
หนิ ทราย และมที ร่ี าบในภาคตะวนั ตก ไดแ ก ท่รี าบลุม แมนาํ้ แควใหญ ท่ีราบลุมแมน า้ํ แควนอย ทร่ี าบลมุ แมน ํ้า
แมก ลองมที รพั ยากรทีส่ ําคญั คือ
1) ทรัพยากรดิน ดินในภาคตะวันตกสวนใหญเกิดจากการผุพังของหินปูน ดินจึงมีสภาพเปน
กลางหรือดา ง ซ่ึงถอื วาเปนดนิ ที่อดุ มสมบรู ณ เหมาะกับการเพาะปลูก
2) ทรพั ยากรนา้ํ ภาคตะวนั ตกเปนภาคท่ีมีฝนตกนอยกวาทุกภาคในประเทศ เพราะอยูในพื้นท่ี
อับฝน แบงเปน 2 ประเภท คอื
1. น้ําบนผิวดิน ไดแก แมนํ้า ลําธาร หนองบึงและอางเก็บนํ้าตาง ๆ แมวาจะมีฝนตกนอย
เพราะมที วิ เขาตะนาวศรแี ละทิวเขาถนนธงชัยขวางลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ดังนั้นฝนจึงตกมากบนภูเขา ซึ่งใน
ภาคตะวันตกมีปาไมและแหลงตนน้ําลําธารอุดมสมบูรณ จึงทําใหตนนํ้าลําธารมีนํ้าหลอเลี้ยงอยูเสมอ เชน
แมน้ําแควใหญ แมนาํ้ แควนอย และแมน า้ํ แมกลอง นอกจากน้ีลักษณะภูมิประเทศในภาคตะวันตก มีลักษณะ
เปนหบุ เขาจํานวนมาก จงึ เหมาะอยางย่งิ ในการสรา งเข่ือน เชน เขือ่ นภมู ิพล เขอื่ นศรนี ครนิ ทร เขื่อนวชิราลงกรณ
เขือ่ นเขาแหลม เขื่อนแกง กระจาน และเขือ่ นปราณบุรี
2. นํ้าใตดิน ภาคตะวันตกมีการขุดบอบาดาล ปริมาณนํ้าที่ขุดไดไมมากเทากับนํ้าบาดาล
ในภาคกลาง
3) ทรพั ยากรแร ภาคตะวันตกมีหินอคั นแี ละหนิ แปร มีดีบุกซ่ึงพบในหินแกรนิต ทังสเตน ตะก่ัว
สงั กะสี เหลก็ รัตนชาติ และหินนาํ้ มนั
4) ทรัพยากรปาไม ภาคตะวันตกมคี วามหนาแนนของปาไมรองจากภาคเหนือ จังหวัดท่ีมีปาไม
มากทส่ี ุด คือ จังหวดั กาญจนบุรี
5) ทรัพยากรดานการทอ งเทยี่ ว สถานที่ทอ งเทย่ี วสว นใหญเ ปนภูเขา ถํ้า น้ําตก เขื่อน อุทยาน-
แหง ชาติ ฯลฯ
ประชากร ภาคตะวันตกเปน ภาคท่มี ีความหนาแนนของประชากรนอยทส่ี ุด จงั หวดั ที่มีประชากร
หนาแนน ทส่ี ดุ คือ จงั หวัดราชบรุ ี เพราะมีพืน้ ทเี่ ปน ท่ีราบลมุ แมนํา้
การประกอบอาชีพของประชากร ภาคตะวันตกมีลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขาคลายกับ
ภาคเหนอื และมพี ืน้ ท่รี าบคลา ยกบั ภาคกลาง ประชากรสวนใหญจงึ อาศยั ในพ้ืนทรี่ าบและมอี าชีพเกษตรกรรม
อาชีพท่ีสําคัญคือการทําไรออย (โดยเฉพาะท่ีจังหวัดกาญจนบุรีและราชบุรี) ปลูกสับปะรด ขาวโพด
มนั สําปะหลัง ฝาย องนุ การทาํ นา ตามท่ีราบลุมแมน้ํา การเลี้ยงโคนม การทําโองเคลือบดินเผา ทํานาเกลือ
อาชีพการประมง การทําเคร่ืองจักสาน นอกจากนี้ยังมี การทําเหมืองแรดีบุก ทังสเตน ตะกั่ว สังกะสี เหล็ก
รตั นชาตแิ ละหินนํ้ามนั
ภาคกลาง ภมู ปิ ระเทศในภาคกลางเปนท่รี าบลมุ แมนาํ้ เพราะแมนํา้ หลายสายไหลผานทําใหเกิดการ
ทับถมของตะกอนและมภี เู ขาชายขอบ พน้ื ทีแ่ บงไดเ ปน 2 เขตยอ ย คือ ภาคกลางตอนบน เปนทร่ี าบลุมแมนํ้า
และท่ีราบลูกฟูก มีเนินเขาเต้ีย ๆ สลับเปนบางตอน ในเขตภาคกลางตอนลาง คือต้ังแตบริเวณจังหวัด
32
นครสวรรคลงมาจนถึงอา วไทย มลี ักษณะเปนท่ีราบลมุ น้าํ ทว มถงึ และเปน ลานตะพักลาํ นํ้า (Stream Terrace)
ทรพั ยากรที่สําคญั คอื
1) ทรพั ยากรดิน ภาคกลางมีดินที่อุดมสมบรู ณกวาภาคอ่นื ๆ เพราะเกดิ จากการทบั ถมของโคลน
ตะกอนที่มากบั แมน า้ํ ประกอบกบั มีการชลประทานทดี่ ี จึงทาํ การเกษตรไดด ี เชน การทาํ นา
2) ทรัพยากรนา้ํ ภาคกลางเปน ภาคที่มีนาํ้ อุดมสมบูรณ แบงเปน 2 ประเภท คือ
1. นํ้าบนผิวดิน มีแมนํ้าท่ีสําคัญหลอเลี้ยง คือ แมนํ้าเจาพระยา ซึ่งจะมีน้ําไหลตลอดท้ังป
เน่ืองจากมแี มน้าํ สายเล็ก ๆ จํานวนมากไหลลงมาสแู มน ้ําเจาพระยา มกี ารชลประทานที่ดี เพื่อกักเก็บนํ้าไวใช
ในฤดูแลง นอกจากน้ยี งั มีทะเลสาบขนาดใหญ คอื บึงบอระเพ็ด ซึ่งเปนแหลงเพาะพันธุปลาน้ําจืดที่ใหญท่ีสุด
ในโลก
2. นาํ้ ใตด นิ เนอ่ื งจากภาคกลางมีลักษณะเปนแองขนาดใหญ จงึ มีบรเิ วณนา้ํ บาดาลมากท่ีสุด
ของประเทศ
3) ทรัพยากรแร หนิ ในภาคกลางสวนใหญเ ปน หินเกิดใหมที่มีอายุนอย มีหินอัคนีซ่ึงเปนหินเกา
พบไดท างตอนเหนือและชายขอบของภาคกลางและมีน้าํ มนั ท่จี งั หวดั กาํ แพงเพชร
4) ทรัพยากรปาไม ภาคกลางมีพ้ืนที่ปาไมนอยมาก จังหวัดท่ีมีปาไมมากคือจังหวัดท่ีอยูทาง
ตอนบนของภาค คอื จงั หวดั เพชรบูรณ พษิ ณุโลก อุทยั ธานี สโุ ขทยั และกําแพงเพชร
5) ทรัพยากรดานการทองเที่ยว สถานท่ีทองเท่ียวสวนใหญเปนนํ้าตกและแมนํ้า ซึ่งปจจุบัน
แมนํ้าหลายสายจะมีตลาดนํ้าใหนักทองเที่ยวไดมาเย่ียมชมมีวนอุทยาน หวยขาแขง จังหวัดอุทัยธานี
นอกจากนี้ยงั มโี บราณสถานที่เปนมรดกโลก เชน อุทยานประวตั ิศาสตรท จ่ี งั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
ประชากร ภาคกลางเปนภาคท่ีมปี ระชากรมากเปน อนั ดับสองรองจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ประชากรสว นใหญจ ะหนาแนนมากในบริเวณท่ีราบลมุ แมนาํ้ เจาพระยา เพราะความอดุ มสมบรู ณเ หมาะแกก าร
เพาะปลกู จังหวดั ท่ตี ดิ กับชายทะเลก็จะมีประชากรอาศัยอยหู นาแนน นอกจากนี้ภาคกลางจะมีอตั ราการเพิม่ ของ
ประชากรรวดเรว็ มาก เน่อื งจากมกี ารอพยพเขา มาหางานทาํ ในเมอื งใหญก ันมาก
การประกอบอาชีพของประชากร ภาคกลางมีความอุดมสมบูรณ ท้ังทรัพยากรดิน และนํ้า
นับเปนแหลงอูขา วอนู ้ําของประเทศ ในภาคกลางตอนบนประกอบอาชีพทํานาขาวและทําไร (ขาวโพด ออย
มันสําปะหลัง) รองลงมาคือ อุตสาหกรรม ภาคกลางตอนลางจะมีอาชีพปลูกขาวในบริเวณราบลุมแมนํ้า
เนอ่ื งจากทด่ี นิ เปน ดนิ เหนียวมนี า้ํ แชขงั และมีระบบการชลประทานดี จึงสามารถทํานาไดปละ 2 ครั้ง นับเปน
แหลง ปลูกขา วทใี่ หญท สี่ ดุ ในประเทศและมีการทาํ นาเกลอื นากงุ ในแถบจงั หวดั ชายทะเล
ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเปนภาคท่ีเล็กท่ีสุด ตอนเหนือของภาคมีภูมิประเทศเปน ท่ีราบลุม
เกดิ จากการเคล่ือนไหวและการบีบอัดตัวของเปลือกโลก ทําใหตอนกลางของภาคโกงตัวเปนทิวเขาไปจนถึง
ดานตะวันออกเฉียงใต ขณะเดียวกันตอนเหนือของภาคเกิดการทรุดตัวเปนแองกลายเปนท่ีราบลุมแมนํ้า
และเกดิ การทบั ถมของโคลนและตะกอน ตอนกลางของภาคเปนทวิ เขา ภมู ปิ ระเทศสว นใหญเปนหุบเขาแคบ ๆ
33
มีท่ีราบตามหุบเขา เรียกวา ท่ีราบดินตะกอนเชิงเขาตอนใตของภาคเปนท่ีราบชายฝงทะเลภาคตะวันออก
มีทรัพยากรทส่ี าํ คัญ คอื
1) ทรพั ยากรดนิ ดินสว นใหญไมค อ ยสมบรู ณ เพราะเปนดินรวนปนทรายและน้ําฝน จะชะลาง
ดนิ เหมาะแกก ารปลูกพืชสวน เชน ทุเรียน เงาะ ระกํา สละ มังคุด ฯลฯ และใชปลูกพืชไร เชน มันสําปะหลัง
ออ ย ฯลฯ การทํานาก็มบี า งบริเวณตอนปลายของแมน ํา้ บางปะกง
2) ทรัพยากรน้ํา ภาคตะวันออกมีนํ้าอยางอุดมสมบูรณ แตเน่ืองจากแมน้ําในภาคตะวันออกเปน
แมน้ําสายส้ัน ๆ ทําใหการสะสมน้ําในแมน้ํามีนอย เม่ือถึงชวงหนาแลงมักจะขาดแคลนน้ําจืด เพราะเปน
ภมู ิภาคท่ีมนี ักทองเที่ยวจํานวนมาก นอกจากน้ีในหนา แลงนํา้ ทะเลเขามาผสมทาํ ใหเ กดิ น้าํ กรอ ย ซง่ึ ไมสามารถ
ใชบริโภคหรอื เพาะปลกู ได การสรางเขอื่ นกไ็ มสามารถทําไดเ พราะสภาพภมู ิประเทศไมอ าํ นวย
3) ทรัพยากรแร ภาคตะวันออกมีแรอยูบาง เชน เหล็ก แมงกานีส พลวง แตมีแรท่ีมีช่ือเสียง
คือ แรรตั นชาติ เชน พลอยสีแดง พลอยสนี ้ําเงินหรือไพลินและพลอยสเี หลอื ง โดยผลติ เปนสินคาสง ออกไปขาย
ยงั ตางประเทศ
4) ทรัพยากรปาไม ปาไมในภาคตะวันออกจะเปนปาดงดิบและปาชายเลน แตก็ลดจํานวนลง
อยา งรวดเร็ว เพราะมกี ารขยายพืน้ ทกี่ ารเกษตร สรา งนคิ มอตุ สาหกรรม ฯลฯ
5) ทรัพยากรดานการทอ งเทยี่ ว เปนภาคท่ีมที รพั ยากรทอ งเทยี่ วมากมาย โดยเฉพาะจังหวัด
ทอ่ี ยูชายทะเล เกาะตางๆ นาํ้ ตก ฯลฯ
ประชากร ภาคตะวนั ออกเปนอกี ภาคหนึ่งท่ีมีการเพิ่มของประชากรคอนขางสูง เน่ืองจากมีการ
ยายมาทํามาหากิน การเจริญเตบิ โตของเขตอตุ สาหกรรม รวมท้ังการทองเท่ียวเปนเหตจุ ูงใจใหคนเขามาตั้งถ่ิน
ฐานเพิ่มมากขึน้
การประกอบอาชีพของประชากร มีอาชพี ท่สี ําคัญ คอื
1. การเพาะปลูก มกี ารทาํ นา ทาํ สวนผลไม ท้งั เงาะ ทเุ รยี น มังคุด ระกาํ สละ สวนยางพารา
ทําไรอ อย และมนั สําปะหลัง
2. การเลยี้ งสตั ว เปน แหลงเล้ยี งเปดและไก โดยเฉพาะทจ่ี งั หวดั ชลบรุ แี ละฉะเชิงเทรา
3. การทําเหมืองแร ภาคตะวันออกเปนแหลงท่ีมีแรรัตนชาติมากท่ีสุด เชน ทับทิม ไพลิน
บษุ ราคัม สง ผลใหประชากรประกอบอาชีพเจยี รนยั พลอยดว ย โดยเฉพาะจงั หวัดจันทบรุ ีและตราด
4. อุตสาหกรรมในครวั เรือน เชน การผลติ เสอ่ี จันทบรุ ี เครอื่ งจักสาน
5. การทองเที่ยว เน่ืองจากมีทัศนียภาพที่สวยงามจากชายทะเลและเกาะตาง ๆ อุตสาหกรรมการ
ทอ งเทีย่ วจึงสรา งรายไดใ หก บั ภมู ิภาคนี้เปน อยางมาก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลกั ษณะภมู ิประเทศสวนใหญ เปน ที่ราบสูงแองกะทะและยังมีท่ีราบลุมแมน้ําชี
และแมนาํ้ มูลทเ่ี รยี กวา แอง โคราช ซ่งึ เปนทีร่ าบลมุ ขนาดใหญท ่สี ุดของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื เพราะมแี มน า้ํ
มลู และแมน ํ้าชีไหลผาน จึงมกั จะมนี าํ้ ทวมเมอื่ ฤดนู าํ้ หลาก มีทรัพยากรทีส่ าํ คัญ คอื
1) ทรัพยากรดิน ดินในภาคนี้มักเปนดินทราย ไมอุมน้ํา ทําใหการเพาะปลูกไดผลนอย
แตกส็ ามารถแบงไดต ามพนื้ ท่ี คือ
34
บริเวณทีร่ าบลุม แมนํ้า แมน าํ้ ชี แมน ้ํามลู และแมน้ําโขง จะมีความอุดมสมบูรณคอนขางมาก
นิยมปลกู ผักและผลไม สว นท่เี ปนนา้ํ ขงั มักเปน ดินเหนยี ว ใชทํานา
บรเิ วณลําตะพักลาํ นํา้ สว นใหญเปนดนิ ทราย ใชทํานาไดแตผลผลิตนอย เชน ทุงกุลารองไห
บริเวณท่ีสงู กวา น้ี นยิ มปลูกมนั สําปะหลงั
บริเวณท่ีสงู และภูเขา เนอ้ื ดินหยาบเปนลูกรัง ท่ดี ินน้ีมักเปนปา ไม
2) ทรพั ยากรนา้ํ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือจะมีปญ หาในเรอ่ื งของน้ํามากกวาภาคอน่ื ๆ แมวาฝน
จะตกหนกั แตใ นหนาแลงจะขาดแคลนน้าํ เพอ่ื การเกษตรและการบรโิ ภค นาํ้ ในภาคนี้ จะแบงเปน 2 ประเภท คือ
น้ําบนผิวดิน ไดแก น้ําในแมนํ้าชี แมนํ้ามูลและแมนํ้าสายตาง ๆ ในฤดูฝน จะมีปริมาณ
น้าํ มาก แตในฤดูแลงนํ้าในแมนํ้าจะมนี อย เนื่องจากพื้นดินเปน ดนิ ทราย เมื่อฝนตกไมสามารถอุมนํ้าได สวนนํ้า
ในแมน ํา้ ลําคลองก็มีปริมาณนอย เพราะน้ําจะซมึ ลงพื้นทราย แตภาคนถี้ ือวา โชคดีท่ีมเี ขอื่ น อางเก็บน้ําและฝาย
มากกวา ทุก ๆ ภาค
นํ้าใตด ิน ปริมาณนํ้าใตดนิ มมี าก แตม ปี ญหานํา้ กรอ ยและนํ้าเค็ม การขุดบอตองขุดใกลแหลง
แมน ้ําเทา นน้ั หรอื ตอ งขุดใหลกึ จนถงึ ช้นั หนิ แข็ง
3) ทรัพยากรแร ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมีแรโพแทชมากที่สุด จะมีอยูมากบริเวณตอนกลาง
และตอนเหนอื ของภาค นอกจากนยี้ ังมแี รเ กลือหนิ มากทส่ี ุดในประเทศไทย
4) ทรัพยากรปาไม ปาไมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเปนปาแดง ซึ่งเปนปาผลัดใบเปน
ปา โปรง ปาแดงชอบดนิ ลูกรังหรือดนิ ทราย เชน ไมเต็ง รัง พลวง พะเยา ฯลฯ
5) ทรัพยากรดานการทองเท่ียว มีแหลงทรัพยากรธรรมชาติและที่มนุษยสรางข้ึน เชน
วิวทิวทศั น (ภูกระดงึ ) เข่ือน ผาหนิ (จังหวดั อุบลราชธาน)ี หลกั ฐานทางโบราณคดี (จงั หวดั อุดรธานี)
ประชากร ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มปี ระชากรหนาแนนอาศัยอยูตามแองโคราชบรเิ วณทรี่ าบลมุ
ของแมน้ําชีและแมน า้ํ มลู
การประกอบอาชีพของประชากร ประชากรประกอบอาชีพทีส่ าํ คญั คอื
- การเพาะปลกู เชน การปลกู ขาว การทาํ ไร (ขาวโพด มันสําปะหลัง ออย ปอ ยาสบู )
- การเลย้ี งสัตว เชน โค กระบือ และการประมงตามเขอื่ นและอางเกบ็ นา้ํ
- อุตสาหกรรม สวนใหญเ ปน การแปรสภาพผลผลิตทางการเกษตร เชน โรงสีขา ว
โรงงานมนั สาํ ปะหลงั อัดเม็ด โรงงานทําโซดาไฟ (จากแรเ กลอื หนิ และแรโ พแทช)
ภาคใต ลักษณะภมู ปิ ระเทศของภาคใตเ ปน คาบสมุทร มีทิวเขาสูงทอดยาวจากเหนือจรดใต มีทะเล
ขนาบทง้ั 2 ดา น ทิวเขาทส่ี าํ คญั คอื ทวิ เขาภูเก็ต ทิวเขานครศรีธรรมราชและทิวเขาสันกาลาคีรี และมีแมนํ้า
ตาปซึ่งเปนแมนํ้าท่ียาวและมีขนาดใหญท่ีสุดของภาคใต ที่เหลือจะเปนแมนํ้าสายเล็กๆ และส้ัน เชน แมน้ํา
ปต ตานี แมนา้ํ สายบุรี และแมนํ้าโก-ลก มีชายฝงทะเลท้ังทางดานอาวไทย ซึ่งมีลักษณะเปนชายฝงแบบยกตัว
เปน ท่ีราบชายฝงทเ่ี กิดจากคลนื่ พัดพาทรายมาทบั ถม จนกระท่งั กลายเปนหาดทรายทสี่ วยงาม และมีชายฝง ทะเล
ดา นทะเลอันดามันทีม่ ีลักษณะเวา แหวงเพราะเปน ฝง ทะเลทจ่ี มนํ้าและมปี า ชายเลนข้ึนอยา งหนาแนน
35
1) ทรัพยากรดิน ลกั ษณะดินของภาคใตจ ะมี 4 ลักษณะ คือ
1. บรเิ วณชายฝง เปนดนิ ทราย ที่เหมาะแกการปลูกมะพราว
2. บริเวณที่ราบ ดินบริเวณที่ราบลุมแมนํ้า เกิดจากการทับถมของตะกอนเปนชั้นๆ
ของอนิ ทรียว ัตถุ นยิ มทํานา
3. บรเิ วณที่ดอนยังไมไดบ อกลักษณะดิน นิยมปลกู ปาลม นํ้ามนั และยางพารา
4. บริเวณเขาสูง มีลกั ษณะเปน ดินท่มี หี นิ ติดอยู จึงไมเหมาะแกการเพาะปลูก
2) ทรัพยากรน้ํา แมน ้าํ สวนใหญในภาคใตเ ปนสายสั้น ๆ แตก็มีนํา้ อุดมสมบูรณ เนื่องจากมฝี นตก
เกือบตลอดป แตบ างแหง ยังมีการขดุ นา้ํ บาดาลมาใช
3) ทรัพยากรแร แรทส่ี าํ คญั ในภาคใต ไดแก ดบี กุ (จงั หวัดพังงา) ทังสเตน เหล็ก ฟลูออไรด ยิปซ่ัม
ดนิ ขาว ถา นหนิ ลิกไนต
4) ทรัพยากรปาไม ปา ไมใ นภาคใตเปนปาดงดิบและปา ชายเลน
5) ทรัพยากรดานการทองเที่ยว มีทรัพยากรดานการทองเที่ยวมาก เชน ทิวทัศนตามชายฝงทะเล
เกาะ และอุทยานแหงชาตทิ างทะเล นาํ้ ตก สสุ านหอยลา นปที่จงั หวัดกระบี่
ประชากร ประชากรอาศยั อยหู นาแนนตามท่ีราบชายฝงตั้งแตจังหวัดนครศรีธรรมราชลงไปถึง
จังหวัดปตตานี เพราะเปน ท่ีราบผืนใหญ
การประกอบอาชีพของประชากร อาชพี ทส่ี าํ คัญ คือ
- การทาํ สวน เชน ยางพารา ปาลม นํ้ามนั และสวนผลไม
- การประมง ทํากนั ทกุ จังหวัดท่ีมีชายฝง ทะเล
- การทาํ เหมอื งแรด บี กุ
- การทองเที่ยว ภาคใตมีภูมิประเทศที่สวยงาม ทําใหมีแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติมากมาย
หลายแหง เชน ทิวทัศนชายฝงทะเล เกาะแกงตาง ๆ ฯลฯ สามารถทํารายไดจากการทองเท่ียวมากกวา
ภาคอื่น ๆ
5.2 ความสาํ คัญของการดาํ รงชีวิตใหส อดคลอ งกบั ทรพั ยากรของประเทศในเอเชีย
ลกั ษณะประชากรของทวีปเอเชยี เอเชยี เปนทวีปที่ใหญแ ละมีประชากรมากเปน อันดบั 1 ของโลก
ถือเปนทวีปแหลงอารยธรรม เพราะเปน ดินแดนทีค่ วามเจริญเกิดขึ้นกอนทวีปอ่ืน ๆ ประชากรรูจักและตั้งถ่ิน
ฐานกันมากอน สวนใหญอาศัยอยูหนาแนนบริเวณชายฝงทะเลและท่ีราบลุมแมน้ําตาง ๆ เชน ลุมแมน้ํา
เจาพระยา ลุมแมน้ําแยงซีเกียง ลุมแมนํ้าแดงและลุมแมนํ้าคงคา สวนบริเวณที่มีประชากรเบาบางจะเปน
บรเิ วณทแ่ี หง แลง กนั ดารหนาวเยน็ และในบริเวณที่เปนภเู ขาซับซอน ซ่ึงสว นใหญจะเปน บรเิ วณกลางทวปี
ประชากรในเอเชียประกอบดว ยหลายเชื้อชาติ ดงั น้ี
1) กลมุ มองโกลอยด มีจํานวน 3 ใน 4 ของประชากรท้งั หมดของทวีป มีลักษณะเดน คอื
ผวิ เหลือง ผมดําเหยยี ดตรง นยั นตารี จมกู แบน อาศยั อยูในประเทศ จีน ญ่ปี นุ เกาหลี และไทย
2) กลมุ คอเคซอยด เปน พวกผวิ ขาว หนา ตารปู รา งสงู ใหญเหมือนชาวยโุ รป ตา ผมสดี าํ สวนใหญ
อาศยั อยูในเอเชยี ตะวันตกเฉยี งใตและภาคเหนือของอินเดีย ไดแ ก ชาวอาหรับ ปากีสถาน อินเดยี เนปาล
36
3) กลุม นกิ รอยด เปนพวกผิวดาํ ไดแ ก ชาวพื้นเมืองภาคใตของอินเดีย พวกเงาะซาไก มีรูปราง
เล็ก ผมหยกิ นอกจากน้ียงั อยูในศรลี ังกาและหมูเกาะในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต
4) กลุมโพลิเนเซยี น เปนพวกผิวสีคลํา้ อาศยั อยตู ามหมเู กาะแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดแก
ชนพื้นเมอื งในหมเู กาะของประเทศอินโดนีเซีย
ประชากรของทวปี เอเชียจะกระจายตวั อยตู ามพ้นื ทตี่ าง ๆ ซงึ่ ขึ้นอยูก บั ความอดุ มสมบรู ณข องพ้ืนที่
ความเจรญิ ทางดานวิชาการในการนําเทคโนโลยีมาใชกับทรัพยากรธรรมชาติ เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดและ
ทําเลที่ต้ังของเมืองท่ีเปนศูนยกลาง สวนใหญจะอยูกันหนาแนนบริเวณตามที่ราบลุมแมนํ้าใหญ ๆ ซึ่งท่ีดิน
อดุ มสมบรู ณ พื้นที่เปนทรี่ าบเหมาะแกการปลกู ขา วเจา เขตประชากรที่อยกู นั หนาแนน แบง ไดเ ปน 3 ลกั ษณะ คอื
1. เขตหนาแนนมาก ไดแก ท่ีราบลุมแมนํ้าฮวงโห แมน้ําแยงซีเกียง ชายฝงตะวันออก ของจีน
ไตหวนั ปากแมน้ําแดง (ในเวียดนาม) ท่รี าบลุมแมน ้ําคงคา (อินเดยี ) ลุมแมน้ําพรหมบุตร (บังคลาเทศ) ภาคใต
ของเกาะฮอนชู เกาะควิ ชู เกาะซโิ กกุ (ในญ่ปี นุ ) เกาะชวา (ในอนิ โดนเี ซยี )
2. เขตหนาแนน ปานกลาง ไดแ ก เกาหลี ภาคเหนือของหมูเกาะญ่ีปุน ที่ราบดินดอนสามเหลี่ยม
ปากแมนํ้าโขงในเวียดนาม ที่ราบลุมแมนํ้าเจาพระยา ที่ราบปากแมนํ้าอิระวดีในพมา คาบสมุทรเดคคาน
ในอินเดยี ลมุ แมน าํ้ ไทกริส-ยูเฟรตีสในอิรัก
3. เขตบางเบามาก ไดแ ก เขตไซบเี รยี ในรัสเซยี ทะเลทรายโกบีในมองโกเลีย แควนซินเกียงของจีน
ท่รี าบสงู ทิเบต ทะเลทรายในคาบสมุทรอาหรับ ซง่ึ บรเิ วณแถบนีจ้ ะมอี ากาศหนาวเย็นแหงแลง และทุรกนั ดาร
ลักษณะการตงั้ ถน่ิ ฐาน
ประชากรสวนใหญ อาศัยอยูหนาแนนบริเวณชายฝงทะเลและที่ราบลุมแมน้ําตาง ๆ เชน ลุมแมน้ํา
เจาพระยา ลุม แมนํา้ แยงซีเกยี ง ลมุ แมน าํ้ แดงและลุม แมน ้ําคงคา และในเกาะบางเกาะท่มี ดี ินอดุ มสมบรู ณ เชน
เกาะของประเทศฟล ปิ ปน ส อนิ โดนเี ซยี และญปี่ ุน สวนบริเวณท่ีมปี ระชากรเบาบาง จะเปนบริเวณท่ีแหงแลง
กันดาร หนาวเย็นและในบริเวณท่ีเปนภูเขาซับซอน ซ่ึงสวนใหญจะเปนบริเวณกลางทวปี มเี พียงสว นนอ ย
ที่อาศัยอยูในเมือง เมืองที่มีประชากรอาศัยเปนจํานวนมาก ไดแก โตเกียว บอมเบย กัลกัตตา โซล มะนิลา
เซียงไฮ โยะโกะฮะมะ เตหะราน กรุงเทพมหานคร เปนตน
ลักษณะทางเศรษฐกิจ ประชากรของทวีปเอเชียประกอบอาชีพท่ีตางกันขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม
ทางธรรมชาติ ไดแก ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอมทางวัฒนธรรม ไดแก
ความเจรญิ ในดานวชิ าการ เทคโนโลยี การปกครองและขนบธรรมเนยี มประเพณี แบงได 3 กลุมใหญ ๆ คือ
1) เกษตรกรรม
การเพาะปลูก นับเปนอาชีพที่สําคัญในเขตมรสุมเอเชีย ไดแก เอเชียตะวันออก เอเชีย
ตะวันออกเฉยี งใตแ ละเอเชียใต ทําการเพาะปลกู ประมาณรอ ยละ 70 - 75 % ของประชากรทัง้ หมด เน่ืองจาก
ทวปี เอเชียมีภูมิประเทศเปนทร่ี าบลุมแมนํ้าอนั กวางใหญหลายแหง มีท่ีราบชายฝงทะเล มีภูมิอากาศท่ีอบอุน
มคี วามชนื้ เพียงพอ นอกจากนีย้ ังมกี ารนาํ เทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาชวย หลายประเทศกลายเปนแหลง อาหาร
ท่สี าํ คญั ของโลก จะทําในท่ีราบลุม ของแมนาํ้ ตา ง ๆ พืชทีส่ าํ คัญ ไดแก ขา ว ยางพารา ปาลม ปาน ปอ ฝาย ชา
กาแฟ ขาวโพด สม มนั สําปะหลัง มะพรา ว
37
การเลี้ยงสตั ว เล้ียงมากในชนบท มีทั้งแบบฟารมขนาดใหญแ ละปลอยเลี้ยงตามทุงหญา ขึ้นอยู
กับลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศและความนยิ ม ซึง่ เล้ียงไวใ ชเ น้ือและนมเปนอาหาร ไดแก อฐู แพะ แกะ สกุ ร
โค กระบือ มาและจามรี
การทําปาไม เน่ืองจากเอเชียตั้งอยูในเขตปาดงดิบ มรสุมเขตรอนและเขตอบอุน จึงไดรับ
ความช้นื สงู เปน แหลงปาไมท ่ีใหญแ ละสําคญั ของโลกแหงหน่งึ มที งั้ ปาไมเ นอื้ ออ นและปา ไมเน้ือแข็ง
การประมง นบั เปน อาชีพที่สําคัญของประชากรในเขตริมฝงทะเล ซ่ึงมีหลายประเภท ไดแก
ประมงน้ําจดื ประมงนํ้าเค็ม การงมหอยมกุ และเล้ยี งในบริเวณลาํ คลอง หนองบงึ และชายฝง ทะเล
2) อุตสาหกรรม ไดแ ก
1. การทาํ เหมืองแร ทวีปเอเชียอุดมสมบูรณไปดวยแรธาตุและแรเชื้อเพลิง ไดแก แรเหล็ก
ถา นหนิ ปโ ตรเลยี มและกา ซธรรมชาติ ซง่ึ จนี เปน ประเทศทม่ี ีการทาํ เหมืองแรมากที่สุดในทวีปเอเชีย สวนถานหิน
เอเชียผลิตถานหินมากที่สุดในโลก แหลงผลิตสําคัญคือ จีน อินเดีย รัสเซีย และเกาหลี แรเหล็ก ผลิตมาก
ในรสั เซีย อนิ เดยี และจนี สวนนาํ้ มนั ดิบและกา ซธรรมชาติ เอเชยี เปน แหลงสํารองและแหลง ผลิตนํ้ามันดิบและ
กาซธรรมชาติมากทีส่ ดุ ในโลก ซงึ่ มมี ากบรเิ วณอาวเปอรเ ซยี ในภมู ิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต ไดแก อิหราน
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส อิรัก คูเวต โอมาน กาตาร ประเทศที่ผลิตน้ํามันดิบมาก คือ ซาอุดิอาระเบียและจีน
นอกจากน้ียังพบในอินโดนเี ซยี มาเลเซีย บรไู น ปากีสถาน พมา อุซเบกิสถาน เติรก เมนิสถาน อาเซอรไ บจาน
2. อตุ สาหกรรมทอผา ผลิตภณั ฑจ ากไมแ ละหนังสตั ว ซ่งึ อตุ สาหกรรมเหลา น้ี หลายประเทศ
ในเอเชียเริ่มจากอุตสาหกรรมในครัวเรือน แลวพัฒนาขึ้นเปนโรงงานขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ
นอกจากนยี้ ังมีอุตสาหกรรมอาหารสําเร็จรปู เครอ่ื งจกั รกล ยานพาหนะ เคมี
38
3) พาณชิ ยกรรม ไดแก การสงสินคาออกและสินคานําเขาประเทศ สินคาที่ผลิตในทวีปเอเชีย
ท่เี ปน สินคา ออกสวนมากจะเปน เครือ่ งอุปโภคบรโิ ภคและวัตถดุ ิบ ไดแก ขาวเจา กาแฟ ชา นํ้าตาล เคร่ืองเทศ
ยางพารา ฝาย ไหม ปอ ปาน ขนสัตว หนังสัตว ดีบุก ฯลฯ ญี่ปุนและจีนมีปริมาณการคากับตางประเทศ
มากทีส่ ุดในทวปี
สนิ คา ออก จะเปน ประเภทเครอ่ื งจกั ร ประเทศทส่ี ง ออกมาก คอื ญ่ีปนุ สว นประเภทอาหาร เชน ขาวเจา
ขา วโพด ถว่ั เหลือง ไดแ ก ไทย พมา และเวียดนาม
สว นสินคา นาํ เขา ประเทศ สวนมากจะส่ังซ้ือจากยุโรปและอเมริกา ไดแก ผลิตภัณฑจากอุตสาหกรรม
เครอ่ื งโลหะสาํ เร็จรปู เชน เคร่ืองจกั ร เครอื่ งยนต เคร่ืองไฟฟา เคมี เคมีภณั ฑ เวชภณั ฑต าง ๆ
กจิ กรรมที่ 1.5 ความสาํ คญั ของการดํารงชีวิตใหส อดคลองกบั ทรพั ยากรในประเทศ
1) ใหผ ูเ รียนอธิบายวาในภาคเหนือของไทย ประชากรจะอาศัยอยูหนาแนนในบริเวณใดบาง พรอมให
เหตผุ ล ประชากรสวนใหญป ระกอบอาชีพอะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.........................................................
39
2) ผูเรียนคิดวาภาคใดของไทยท่ีสามารถสรางรายไดจากการทองเที่ยวมากท่ีสุด พรอมใหเหตุผล
และสถานทีท่ องเทยี่ วดงั กลาว มอี ะไรบาง พรอมยกตวั อยา ง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.........................................................
3) ปจ จัยใดทท่ี าํ ใหมีประชากรอพยพเขามาอาศยั อยใู นภาคตะวันออกมากขึ้น
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................
4) ทวปี ใดทก่ี ลาวกนั วา เปน ทวปี “แหลง อารยธรรม” เพราะเหตุใดจงึ กลาวเชนนนั้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
40
5) ในทวปี เอเชีย ประชากรจะอาศยั อยกู ันหนาแนน บริเวณใดบา ง เพราะเหตใุ ด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
41
บทท่ี 2
ประวัติศาสตรทวีปเอเชีย
สาระสําคัญ
ทวีปเอเชียประกอบดว ย ประเทศสมาชิกหลายประเทศ ในท่นี จี้ ะกลาวถึงประวัติศาสตรของประเทศ
ในแถบเอเชียท่ีมีพรมแดนติดและใกลเคียงกับประเทศไทย ไดแก ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแหง สหภาพพมา อินโดนเี ซยี ฟลิปปนส และประเทศญปี่ ุน
โดยสงั เขป นอกจากนี้ไดเ กิดเหตกุ ารณสําคัญ ๆ ในประเทศไทยและประเทศในทวปี เอเชยี ที่นาสนใจ เชน ยุคลา
อาณานิคม และยุคสงครามเยน็ เปน ตน
ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง
หลงั จากผูเรียนเรียนเรื่องประวตั ศิ าสตรทวปี เอเชียจบแลว ทาํ ใหผ ูเรียนสามารถ
1. บอกถึงประวัติศาสตรโดยสังเขปของสาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว สาธารณรฐั แหง สหภาพพมา อนิ โดนีเซยี ฟลปิ ปน สแ ละประเทศญ่ปี นุ ได
2. บอกเหตกุ ารณส าํ คัญทางประวัตศิ าสตรทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชยี ได
ขอบขายเนือ้ หา
เรอื่ งท่ี 1 ประวัตศิ าสตรส ังเขปของประเทศในทวปี เอเชีย ไดแ ก
1.1 ประวตั ิศาสตรป ระเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
1.2 ประวตั ศิ าสตรประเทศอินเดยี
1.3 ประวัตศิ าสตรสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
1.4 ประวตั ศิ าสตรป ระเทศสาธารณสาธารณรัฐแหง สหภาพพมา
1.5 ประวตั ศิ าสตรประเทศอินโดนีเซยี
1.6 ประวตั ิศาสตรประเทศฟล ิปปนส
1.7 ประวตั ิศาสตรป ระเทศญี่ปนุ
เร่ืองที่ 2 เหตุการณส ําคัญทางประวตั ิศาสตรท ี่เกดิ ขน้ึ ในประเทศไทยและประเทศใน
ทวีปเอเชยี
2.1 ยุคลา อาณานิคม
2.2 ยคุ สงครามเยน็